Thainess

Page 1

มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย The heritage of intellectual property adding value to Thailand’s economy

โครงการสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าด้วยทรัพย์สินทางปัญญา โดยกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ Value-adding by Intellectual Property Project By Department of Intellectual Property, Ministry of Commerce THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

1


โครงการสร้าง มูลค่าเพิ่มสินค้า ด้วยทรัพย์สิน ทางปัญญา ปีงบประมาณ 2557 “สินค้าที่เกิดจากภูมิปัญญาไม่ เพียงสามารถสนองความต้องการ ของผู้ผลิตหรือผู้บริโภคเท่านั้นแต่ ยังทำ�ให้เกิดคุณค่าต่อเศรษฐกิจ ชุมชน สังคม และประเทศชาติอีก ด้วย”

2

กรมทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา กระทรวง พาณิ ช ย์ ไ ด้ ต ระหนั ก ถึ ง ความสำ � คั ญ ใน การนำ�ความคิดสร้างสรรค์มาใช้ประโยชน์ ในการพั ฒ นาและขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ของประเทศเพื่ อ สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ทาง เศรษฐกิจให้แก่สินค้าของชุมชนในท้อง ถิน่ รวมถึงส่งเสริมการท่องเทีย่ วในจังหวัด ต่างๆ ทั่วทุกภูมิภาค เป็นการสร้างรายได้ ให้แต่ละพื้นที่ด้วยการต่อยอดทางด้าน ภูมปิ ญ ั ญา ศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี และ อุตสาหกรรมท้องถิ่น ซึ่งจะช่วยยกระดับ ให้สินค้าหรือบริการของไทยมีศักยภาพ สามารถแข่ ง ขั น ในระดั บ สากลได้ อ ย่ า ง ทัดเทียมกัน และโดยที่การส่งเสริมการ พัฒนาอุตสาหกรรมบนแนวคิดเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ เป็นหนึ่งในหัวข้อสำ�หรับการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ซึ่งตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 11 (2555 – 2559) ได้ กำ � หนดทิ ศ ทางการปรั บ โครงสร้ า ง เศรษฐกิจของประเทศบนฐานความรู้ที่ เน้นการใช้ความคิดสร้างสรรค์และการ สร้างนวัตกรรมเพื่อสร้ า งสรรค์ ส ิ น ค้ า รวมถึ ง การพั ฒ นาปั จ จั ย แวดล้ อ ม ต่ า งๆ ที ่ เ อื ้ อ ต่ อ การพัฒนาเครือข่าย ธุรกิจให้มีเอกลักษณ์และสามารถสะท้อน ถึงตัวตนของพื้นที่ดังกล่าวให้ดึงดูดการ ลงทุนเข้ามายังพื้นที่หรือเพิ่มช่องทางการ แสดงออกของผู ้ ส ร้ า งสรรค์ ใ นสาขา ต่ า งๆ กรมทรัพย์สินทางปัญญา จึงมุ่งให้ ผูป้ ระกอบการระดับกลางยกระดับตนเอง ให้มีขีดความสามารถในการแข่ ง ขั น มี

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

ศักยภาพด้านการออกแบบ และพัฒนา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ด้ ว ยการสร้ า งสรรค์ ต ราสิ น ค้ า และบรรจุ ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ สร้ า งอั ต ลั ก ษณ์ ให้ แ ก่ สิ น ค้ า ของตน ซึ่ ง จะก่ อ ให้ เ กิ ด คุ ณ ค่ า ในตั ว สิ น ค้ า ซึ่ ง ผู้ บ ริ โ ภคสามารถ รั บ รู้ แ ละสั ม ผั ส ได้ กรมทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา ดำ � เนิ น งาน โครงการสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม สิ น ค้ า ด้ ว ย ทรัพย์สนิ ทางปัญญา เพือ่ เสริมสร้างความ สามารถในการนำ�ทรัพย์สินทางปัญญาใน ท้องถิ่นของไทยที่มีอยู่ไปใช้อย่างคุ้มค่า และเกิดประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ ภาย ใต้แนวคิด “มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทาง ปัญญาสร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย” ทั้งนี้ ยังเป็นการสร้างต้นแบบของการยกระดับ คุณภาพมาตรฐานสินค้าจากภูมิปัญญา ไทยตั้งแต่ต้นนำ�้ กลางนำ�้ และปลายนำ�้ ให้เป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและต่าง ประเทศ

วัตถุประสงค์ 1)เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ แ ก่ สิ น ค้ า ให้ มี อั ต ลั ก ษณ์ มี ค วาม โดดเด่ น สามารถดึ ง ดู ด การค้ า การ ลงทุนและการท่องเที่ยวสู่ท้องถิ่นได้มาก ขึ้น 2)เพื่ อ กระตุ้ น ให้ ผู้ ป ระกอบ การและผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนให้เห็น ถึ ง ความสำ � คั ญ ของการเพิ่ ม ศั ก ยภาพ สินค้าเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน


ทางการค้า โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ โดย การออกแบบตราสินค้าและพัฒนาบรรจุ ภัณฑ์ให้สอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของ สิ น ค้ า เพื่ อ เพิ่ ม มู ล ค่ า ให้ แ ก่ สิ น ค้ า ของ ตน 3)เพื่อให้ผู้ประกอบการ และผู้ เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนเห็นถึงคุณค่าของ ความคิ ด สร้ า งสรรค์ และร่ ว มกั น สร้ า ง แบบอย่ า งที่ ดี ใ ห้ แ ก่ ผู้ ป ระกอบการราย อื่นในการสร้างสรรค์สินค้ารวมทั้งต่อย อดไปสู่ระดับสากล 4) เพื่อให้ผู้ประกอบการ และผู้ เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนตระหนักถึงความ สำ � คั ญ ของการปกป้ อ งคุ้ ม ครองสิ ท ธิ ใ น ทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา และสามารถนำ � ทรัพย์สินทางปัญญาที่มีอยู่ไปประยุกต์ ใช้พร้อมกับการพัฒนาสินค้าจนเกิดภาพ ลั ก ษณ์ ที่ ดี ใ ห้ แ ก่ ผู้ ป ระกอบการอย่ า ง ยั่งยืน

การดำ�เนินงาน การดำ � เนิ น งานในโครงการประกอบ ด้ ว ยกิ จ กรรมหลากหลายเริ่ ม จากการ คั ด เลื อ กกลุ่ ม ผู้ ป ระกอบการขนาดเล็ ก และขนาดกลางที่ผลิตสินค้าสิ่งบ่งชี้ทาง ภูมศิ าสตร์ สินค้าหนึง่ ตำ�บลหนึง่ ผลิตภัณฑ์ และสิ น ค้ า ภู มิ ปั ญ ญาที่ มี ศั ก ยภาพจาก ทั่ ว ประเทศโดยคณะกรรมการที่ มี ประสบการณ์ ใ นธุ ร กิ จ นำ � ร่ อ ง 3 กลุ่ ม ธุรกิจ คือ

• ธุรกิจผ้าทอ • ธุรกิจักสาน • ธุรกิจขนมไทย โดยพิจารณาจากเกณฑ์ต่าง ๆ คือ จาก ภาพรวมของสิ น ค้ า และศั ก ยภาพของ ผู้ประกอบการ เช่น การควบคุณภาพ มาตรฐานสินค้า การนำ�เทคโนโลยีมาใช้ ในการผลิต ความสามารถในการออกแบบ พั ฒ นาสิ น ค้ า การสร้ า งตราสิ น ค้ า การ คิ ด ค้ น นวั ต กรรมด้ า นเทคนิ ค การผลิ ต และการพั ฒ นาบรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ มี คุ ณ ภาพ มาตรฐานสอดคล้องกับภาพลักษณ์สินค้า และผูป้ ระกอบการทีไ่ ด้รบั คัดเลือกจำ�นวน ทัง้ หมดรวม 15 ราย ได้เข้าร่วมสร้างมูลค่า เพิ่มสินค้าด้วยทรัพย์สินทางปัญญาโดย การอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเชิงลึก เน้นการเรียนรูแ้ บบปฏิบตั กิ ารจริงร่วมกับ ทีมผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน และเสริมสร้าง ประสบการณ์ตรงจากการศึกษาดูงานใน สถานประกอบการชั้นนำ�ในประเทศและ ต่างประเทศ

รูปแบบวีดีทัศน์ การจัดทำ� Corporate Identity การจัดทำ�หนังสือ Catalog สินค้า และการจัดทำ�เว็บไซต์ www.thainess. in.th การจัดร้านค้าต้นแบบในลักษณะ POP UP SHOP ในศูนย์การค้า Central World ระหว่างวันที่ 22-30 กันยายน 2557 ณ บริเวณชั้น 1 โซนเอเทรี่ยมและปิดท้าย ด้วย กิจกรรมการเสวนาการถ่ายทอดองค์ ความรูไ้ ปสูผ่ ปู้ ระกอบการและสาธารณชน เพื่อเป็นต้นแบบในการปรับประยุกต์ใช้ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจและความ ตระหนั ก ถึ ง ความสำ � คั ญ ของการสร้ า ง มูลค่าเพิ่มสินค้าด้วยทรัพย์สินทางปัญญา อย่ า งกว้ า งขวาง ซึ่ ง จะเป็ น ประโยชน์ ต่ อ การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ เชิ ง สร้ า งสรรค์ ของประเทศต่ อ ไป

นอกจากนี้ ในโครงการยังมีกิจกรรมการ พั ฒ นาสิ น ค้ า หรื อ บรรจุ ภั ณ ฑ์ ใ หม่ ขึ้ น จำ�นวน 45 ชิ้นงาน ที่มีความพิเศษเหนือ กว่าสินค้าทั่วๆ ไป คือ สินค้าที่สร้างสรรค์ ขึ้นในโครงการได้รับการสนับสนุนการยื่น ขอรับความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา การสร้างตราสินค้า (Brand) การนำ�ผล งานไปประชาสัมพันธ์ในนิตยสารชั้นนำ� ของไทย การจัดทำ� Brand Story ใน THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

3


Value-adding by Intellectual Property Project Fiscal Year 2014 “Not only can the products made from local wisdom meet the demands of manufacturers, they can also add value to the economy, communities, societies and the nation as well.”

4

The Department of Intellectual Property, Ministry of Commerce, realizes the importance of using creativity to develop and drive the country’s economy, adding value to local community’s products as well as promoting tourism nationwide and enhancing Thailand’s products and their values to meet international demands. A creative economy is one of the country’s economic and social development agendas, according to Thailand’s Eleventh National Economic and Social Development Plan (20122016) that outlines the restructuring of the country’s economy based on creative and innovative knowledge to develop products and supporting factors that foster unique business networks and reflect the distinct identity of the locals in order to attract investment or provide more channels of expressions for innovative creators. The Department of Intellectual Property is thus, focusing on empowering medium-sized entrepreneurs to be more competitive with strong capacities in product design and

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

development, using branding and packaging to create an identity that can be perceived and acknowledged by consumers. The Department of Intellectual Property has organized “Value-adding by Intellectual Property Project” in the fiscal year B.E. 2557, to enhance the capability of exploit Thailand’s local intellectual property and create an economic advantage under the theme of “the heritage of intellectual property adding value to Thailand’s economy”. This also works as an example of how to enhance local wisdom-based products at the upstream, midstream and downstream stages that would be acknowledged at both national and global levels. Objectives 1) Adding value to the product by creating identity and uniqueness in order to attract investment and tourism opportunities for the local communities.


2) Encouraging manufacturers and relevant parties to see the importance of product capacity enhancement, using creativity to add competitive value through branding and packaging that match the product’s characteristics. 3) Making manufacturers and relevant parties realize the value of creativity and become an inspiring model for other entrepreneurs in developing their products for the global market. 4) Making manufacturers and relevant parties realize the importance of protecting their own intellectual property and capable of using these to develop sustainable product identity. Procedures

The project involved various activities by selecting potential small and medium-sized manufacturers with geographic-specific products, OTOP (One Tambon One Product) and local wisdom-based products from all over the country under 3 key business types:

• woven fabric • wickerwork • Thai snacks

A total of 15 companies took part in an intensive workshop focusing on hands on practice with a team of experts and visits to leading businesses in Thailand and abroad.

product value with intellectual property which will benefit the country’s creative economy as a whole.

The project also involved developing 45 new products or packaging from the 3 key businesses above. These products were created under legitimate intellectual property protection with their own branding. The project also provided support for the creation of brand story videos, corporate identity guidelines, product catalogues and features on www.thainess.in.th and in various leading Thai magazines. In addition to this, a prototype pop-up store was set up at Central World Shopping Centre on the 1st floor, Atrium Zone, in front of Zen Department Store from 22-30 September 2014. Part of this activity was a talk to promote awareness of creating

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

5


บทสรุปและข้อเสนอแนะ Conclusions and Recommendations

(P.104-123) รายชื่อกลุ่มผู้ประกอบการ ที่เข้าร่วมโครงการ Directory

(P.124-127

6

2.“ความคิดสร้างสรรค์ที่มากับความ มุ่งมั่น” กลุ่มหัตถกรรมแม่บ้านกิ่วแล จังหวัดเชียงใหม่ “Creativity along with Chattong Thaisilk, Nakornrachasima determination”

(P. 8-9) (P.10-15) กลุ่มธุรกิจจักสาน WICKERWORK

(P.2-5)

1.“ความทันสมัยที่มาจาก ประสบการณ์และภูมิปัญญา” ฉัตรทองไหมไทย จังหวัดนครราชสีมา “Modernity from experiences and wisdom” Province

6.“ปั้นดินให้เป็นดาว” สุขขี แฮนดิคราฟท์ จังหวัดราชบุรี “From the Mud to the Stars” Sukkee Handicraft Ratchaburi Province

(P. 40- 41) (P.42-47) กลุ่มธุรกิจขนมไทย THAI SNACKS

โครงการสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม สิ น ค้ า ด้วยทรัพย์สินทางปัญญา ปีงบประมาณ 2557 Value-adding by Intellectual Property Project Fiscal Year 2014

กลุ่มธุรกิจผ้าทอ WOVEN FABRIC

สารบัญ Contents

(P. 7273)

11.“พัฒนาด้วยหัวใจ” กลุ่มข้าวแต๋นทวีพรรณ จังหวัดลำ�ปาง “From the Heart “ Khaotan Thaweephan Lampang Proince

(P.74-79)

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

Ban Kio Lae Handicraft Community, Chiang Mai Province

(P.16-21)

7.“สู้และยืนหยัดที่จะสร้างสรรค์” กลุ่มหัตถกรรมพื้นบ้านผักตบชวา จังหวัดนครปฐม “Endless Creativity”

Water Hyacinth Local Handicraft Community, Nakhon Pathom Province

(P.48-53) 12.“แบรนด์ที่แข็งแกร่งผลักดันสินค้า คุณภาพ” กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านริมร่อง จังหวัดลำ�พูน “Strong branding and high quality product”

Ban Rim Rong Community Enterprise Lamphun Province

(P.80-85)


3.“แบรนด์กับความเป็นไทย” กลุ่มวิสาหกิจถักทอไหมพรม จังหวัดขอนแก่น “Branding and Thainess”

Knitting Wool Community Enterprise, Khon Kaen Province

4.“ภูมิปัญญาดั้งเดิมกับการ เปิดใจรับสิ่งใหม่ๆ” กลุม่ มัดย้อมสีธรรมชาติบา้ นคีรวี ง จังหวัดนครศรีธรรมราช “Traditional wisdom and new innovation”

Mad Yhom Kiriwong Community Nakhon Sithammarat Province

5.“พัฒนาแต่ไม่ทิ้งภูมิปัญญา” กลุ่มทอผ้าย้อมครามบ้านโนนเรือ จังหวัดสกลนคร “Developing but folk wisdom remains”

Ban Nonn Ruea Indigo Cotton Fabric Community, Sakon Nakhon Province

(P.28-33)

(P.34-39)

8.“พัฒนาอย่างมีกลยุทธ์” กลุ่มหัตถกรรมกระจูดวรรณี จังหวัดพัทลุง “Developing with new strategy”

9.“ผสมผสานสร้างแรงบันดาลใจ” กลุ่มแม่บ้านสวนตาล จังหวัดชลบุรี “Combination and Inspiration”

10. “วิถีไทยผ่านงานจักสาน” กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรศรีพราน จังหวัดอ่างทอง “Thai way through basketry”

(P.54-59)

(P.60-65)

13.“สินค้าดี เกษตรกรยั่งยืน” กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม “Good Product for Good Agriculture”

14.“กล้วยหอมไทยไปต่างประเทศ” กลุ่ ม อาชี พ ผลไม้ ส ดและผลผลิ ต เกษตร แปรรูปบ้านดอนทอง จังหวัดนครปฐม “World Class Thai Banana”

Sanamjan Community Enterprise Nakhonpathom Province

Processed Fresh Fruit and Farm Products Community Nakornpathom Province

15.“ก้าวช้าๆ แต่มั่นคง” ซองเดอร์ ไทยออกานิคฟูด จังหวัดนนทบุรี “Slow but Steady”

(P.86-91)

(P.92-97)

(P.98-103)

(P.22-27)

Suantan Community Krajude Wannee Handicraft Community Chonburi Province Patthalung Province

Sripran Farmer Community Ang Thong Province

(P.66-71)

Xongdur Organic Food Nonthaburi Province

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

7


เสื้อผ้าไหม THAISILK FABRIC

8

ตุ๊กตาผ้า FABRIC DOLL

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

กระเป๋าผ้า FABRIC BAG


กลุ่ม ธุรกิจ ผ้าทอ Woven Fabric ผ้าย้อมสีธรรมชาติ NATURAL DYE FABRIC

ผ้าย้อมคราม INDIGO FABRIC THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

9


สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น

1. “ความทันสมัยที่มาจาก ประสบการณ์และภูมิปัญญา” ฉัตรทองไหมไทย จังหวัดนครราชสีมา

นางสาววชิราพรรณ นวลศรี

10

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

การทอผ้าเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของ ชาวอำ�เภอปักธงชัยจังหวัดนครราชสีมา มาแต่ดงั้ เดิม ผ้าซิน่ ทอมือเสมือนของขวัญ ที่ ค นเฒ่ า คนแก่ ม อบให้ บุตรหลานเวลา ออกเรือน และสำ�หรับ วชิราพรรณ นวล ศรี เจ้าของบริษทั ฉัตรทองไหมไทย จำ�กัด ก็เช่นเดียวกัน เธอมียายทวดทีท่ งั้ เลีย้ งไหม และทอผ้าใช้เองใต้ถนุ บ้าน ลูกหลานจะได้ รับการฝึกหัดทอผ้ากันมาตั้งแต่ยังเด็ก รุ่น ของเธอถือว่าเป็นรุ่นที่ 4 ในการสืบทอด การทอผ้าไหมแบบดั้งเดิมที่มีมากว่า 98 ปี เดิมทีมีกี่ทอผ้าอยู่เพียง 2-3 หลัง แล้ว เพิม่ จำ�นวนมาเรือ่ ยๆ จนเป็นหลายสิบหลัง จากนัน้ จึงได้มกี ารทอผ้าเพือ่ ขายในรุน่ ของ แม่ โดยส่วนใหญ่เป็นผ้าสีพื้นและเพิ่มเติม เป็นผ้าไหมมัดหมี่ในภายหลัง ซึ่งนอกจาก จะนำ�ผ้าไหมทอออกขายภายในหมู่บ้าน และจังหวัดนครราชสีมาแล้ว ยังมีการนำ� ไปขายในจังหวัดใกล้เคียงใน อุดรธานี อุบลราชธานี ขอนแก่น และเมื่อทำ�ไปได้ สักพัก ผ้าไหมจากปักธงชัยก็ได้กลายเป็น สินค้าขึ้นชื่อและมีการสั่งซื้อเข้ามามาก จำ�นวนกี่ทอผ้าได้เพิ่มขึ้นเป็น 200 กว่า หลัง ทั้งนี้จะเป็นกี่ที่อยู่ในโรงงาน 50 หลัง ส่วนทีเ่ หลือเป็นการกระจายให้ชาวบ้านใน พืน้ ทีช่ ว่ ยกันผลิตซึง่ ช่วยสร้างงานให้คนใน พื้นที่ได้เป็นอย่างดี จุดเด่นของผ้าไหมทอของฉัตรทองไหม ไทย คื อ จะเป็ น ผ้ า ไหมทอมื อ ที่ ใ ส่ ใจ


ทุกรายละเอียดของการย้อมสีไหมปรับสี ไหมที่เป็นเอกลักษณ์ เนื้อผ้านุ่มใส่สบาย ในส่ ว นที่ เ ป็ น เสื้ อ ผ้ า สำ � เร็ จ รู ป นั้ น เป็ น ชุดผ้าไหมดีไซน์ให้สามารถใส่ได้ในชีวิต ประจำ � วั น และสามารถเปลี่ ย นกระเป๋ า หรือรองเท้าแล้วเป็นชุดสำ�หรับออกงาน ได้

เน้นที่หน้าร้าน

ฉั ต รทองไหมไทยทำ � ผ้ า ไหมส่ ง จำ � นวน มากอยู่นานหลายปี ส่วนใหญ่เป็นผ้าพื้น และมีการสั่งซื้อเข้ามามาก จนราวปี พ.ศ. 2540 ซึ่งเป็นช่วงที่ประเทศไทยประสบ วิกฤตทางเศรษฐกิจอย่างหนัก ลูกค้าที่สั่ง ทำ�ผ้าไหมเริ่มมีปัญหาในการจ่ายเงินซึ่งมี มูลค่าหลักล้าน ทางฉัตรทองไหมไทยเอง ประสบผลกระทบด้วยเช่นกัน จึงตัดสิน ใจลดความเสี่ยงด้วยการลดจำ�นวนการ ขายส่งลง และหันมาขายทางหน้าร้าน มากขึ้น ทั้ ง นี้ ฉั ต รทองไหมไทยนั้ น มี ห น้ า ร้ า น มานานแล้ ว แต่ เ พราะเน้ น การขายส่ ง มากกว่าจึงไม่ค่อยให้ความสำ�คัญกับการ ขายทางหน้าร้านเท่าไรนัก แต่เมือ่ ตัดสินใจ ลดการขายส่งจำ�นวนมากลงโดยสิน้ เชิง จึง จำ�เป็นต้องกลับมาทำ�การขายที่หน้าร้าน ให้ดขี นึ้ รวมถึงมีการลดจำ�นวนกีท่ อผ้าทีม่ ี กว่า 200 ลงเหลือเพียง 20 หลัง เพื่อจะมี เพียงพอต่อการขายหน้าร้าน รับการสัง่ ซือ้ จำ�นวนไม่มากได้ และเน้นการขายเสื้อผ้า

สำ � เร็ จ มากขึ้ น อย่ า งไรก็ ดี การงดรั บ การสั่งซื้อจำ�นวนมากนี้กลับมีข้อดี คือ นอกจากจะทำ�ให้ธุรกิจสามารถดำ�เนินไป ได้แล้ว ยังทำ�ให้มีเวลาในการสร้างสรรค์ ผลงานมากขึ้นด้วย จากที่ทำ�ได้เพียงการ ออกแบบสี ปัจจุบัน สามารถออกแบบ ลายมัดหมี่ ทำ�ผ้าริ้ว ผ้าลายสก็อต รวมถึง มีการเวลาศึกษาเรื่องการออกแบบเพิ่ม เติมด้วย

แนวทางพัฒนา การพั ฒ นาสิ น ค้ า ให้ มี จุ ด ขาย (Point of sale: POS) ที่ แ ตกต่ า งจากสิ น ค้ า ผ้าไหมในท้องถิ่นและสร้างภาพลักษณ์ ของตราสิ น ค้ า ให้ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ มี ก าร เพิ่ ม ช่ อ งทางการจำ � หน่ า ยสิ น ค้ า แบบ ใหม่ๆ ให้เข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายมาก ขึ้น

ผ้าไหมทันสมัย ด้วยประสบการณ์และภูมิปัญญาที่สั่งสม มาเป็นเวลานานถึง 98 ปี ขณะนี้ฉัตร ทองไหมไทยได้รบั การต้อนรับอย่างดีจาก ลูกค้า และกำ�ลังจะส่งต่อจากรุน่ ที่ 4 ไปยัง รุ่นที่ 5

จุดเด่นของสินค้า ผ้ามัดหมี่โบราณที่ถูกลดทอนลวดลายลง และเพิ่มเติมลายแบบใหม่ลงไป จนกลาย เป็นลายมัดหมี่เฉพาะตัว บวกกับรสนิยม ด้านการใช้สีคุมโทนในสไตล์ยุโรป ทำ�ให้ สิ น ค้ า มี ค วามแตกต่ า งจากท้ อ งตลาด สามารถออกแบบเป็นเสื้อผ้า ผ้าคลุมไหล่ แนวแฟชัน่ เจาะกลุม่ ลูกค้าเฉพาะคนเมือง ทีต่ อ้ งการงานผ้าทอมือแบบทันสมัย ใช้ได้ ในชีวิตประจำ�วัน

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

11


1. “Modernity from experiences and wisdom” Chattong Thaisilk Nakornrachasima Province

12

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


Generation to generation

The storefront

Silk weaving is part of the way of life of the people of Pak Thong Chai, Nakornrachasima Province. Hand weaving ‘Sinhs’ is a precious gift from parents for their daughter’s wedding. For Vashirapan Naulsri, owner of Chattong Thaisilk, silk weaving is also a precious gift. Her great grandmother also raised silkworms and wove her own silk. All her descendants have learned how to weave from childhood. She is the fourth generation to practise this traditional silk weaving that has been passed down for more than 98 years.

Chattong Thaisilk did wholesale for many years until the Asian financial crisis in 1997, when wholesale customers began to be late with payments. This problem cost the business millions of baht. Vashirapan decided to decrease the risk by reducing wholesale orders and started to emphasize selling at the storefront. Chattong Thaisilk had had a storefront for a long time, but emphasis on the wholesale market made it unimportant. Now they started paying more attention to the storefront, reduced the number of looms and focused on making readymade clothes.

Initially, Vashirapan only had 2-3 looms in her house, and then increased to more than 10. In her mother’s generation they began selling, at first only in their village, Nakornrachasima Province and other provinces nearby. Pak Thong Chai’s silk gained in reputation and large numbers of orders came in. Now they have over 200 looms, making jobs for local people. Chattong Thaisilk’s products are hand woven, punctiliously unique coloured silk, with a soft, smooth and gentle texture. Their readymade clothes are designed to wear in daily life and ready to turn into party gowns.

Chattong Thaisilk want to create new and more modern designs with original Thaisilk as well as combining other soft and smooth textured fabrics to create products that the next generation will love.

Product Highlight

Reducing the ancient mat mee silk’s design and adding new design into the fabric creating individual mat mee designs and using European style colours. This will make an outstanding product. For readymade clothes, they design especially for urbanites who want to wear hand woven fabric with modern designs in their everyday Reducing wholesale orders not life. only saved the business, but also gave her more free time to design Developing Trail new colours and patterns. Develop product’s point of sale (POS) to create differences from other local silk and create a new Modern Thai silk image for the brand that can be With more than 98 years of ex- accepted. Also create rooms for periences and wisdom, Chattong target group to see the product. Thaisilk always receives good feedback and respons from customers and is now ready to pass on to the fifth generation.

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

13


ตราสินค้าก่อนการพัฒนา Original Brand

ฉัตรทองไหมไทย ChattongThaisilk เลือกใช้ชอื่ กิจการทีม่ มี านานกว่า 20 ปี มา เป็นตราสินค้า เนื่องจาก ลูกค้าจดจำ�ชื่อ ได้แล้ว แต่ต้องการปรับปรุงภาพลักษณ์ ใหม่ให้สอดคล้องกับสินค้าและสมัยนิยม มากขึ้น Choosing the name ‘Chattong Thaisilk’ that more than 20 established family business name because customers already familiar. Chattong still have to adjust their image conforming to more modern product. (1)

14

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


(2)

สินค้าที่พัฒนา

(3)

(4)

บริษัท ฉัตรทองไหมไทย จำ�กัด

นางสาว วชิราพรรณ นวลศรี ผลิตภัณฑ์เสื้อคลุมผ้าไหมลายตาราง (1,2) และเสื้อคลุมผ้าไหมพื้นเรียบ (3,4) 78/1 หมู่ 8 ศูนย์วัฒนธรรมผ้าไหม ปักธงชัย อ.ปักธงชัย จ.นครราชสีมา 30150 Developed Product checked fabric (1,2) and Plain coat พิกัด : 14.742206,102.032819 โทรศัพท์ product (3,4) 081-8767101,081-8784285, 044-284465, 044 284664 โทรสาร 044-284663

CHATTONG THAISILK CO.,LTD. Miss. Wachiraphan NuanSri 78/1 M.8 Cultural Center thaisilk pakthongchai A. pakthongchai Nakhon Ratchasima 30150 GPS : 14.742206,102.032819 Tel. +6681-8767101, +6681-8784285, +6644-284-465,+6644 284664 Fax. +6644-284663

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

15


เพิ่มรายได้ด้วยอาชีพเสริม

2. “ความคิดสร้างสรรค์ ที่มากับความมุ่งมั่น” กลุ่มหัตถกรรมแม่บ้านกิ่วแล จังหวัดเชียงใหม่

นางอำ�พร ยาวิลาศ

16

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

หลังจากจบการศึกษาด้านการเย็บปักถัก ร้อยและมีโอกาสได้เป็นผู้ฝึกสอนส่งเสริม อาชีพให้ชาวบ้านได้ระยะหนึ่ง อำ�พร ยาวิลาส ประธานกลุ่มหัตถกรรมแม่บ้านกิ่ว แล อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ ก็ได้มอง เห็นช่องทางสร้างรายได้เพิ่มให้กับชาว บ้านจากความสามารถในงานเย็บปักถัก ร้อยที่มีอยู่แต่เดิมโดยชาวบ้านส่วนใหญ่ ในพื้นที่มีอาชีพหลัก คือ การทำ�นา หลัง หน้านาแต่ละปีจะมีเวลาว่าง จึงพยายาม รับงานมาให้ชาวบ้านทำ�ในช่วงนัน้ โดยเริม่ จากการรับทำ�เสือ้ ผ้าเด็ก แต่กต็ อ้ งประสบ กับปัญหาในเรื่องมาตรฐานสินค้า จึงมอง หางานเย็บในรูปแบบอื่นที่ไม่ใช่เสื้อผ้ามา ลองทำ� และท้ายที่สุดก็มาลงเอยที่การ เย็บตุ๊กตา เมื่อตัดสินใจว่าจะเย็บตุ๊กตา จึงมองหาสิ่งที่บ่งบอกความเป็นเชียงใหม่ และความเป็นไทย ซึ่งดูเหมือนจะไม่มีสิ่ง ไหนที่จะเหมาะกว่า “ช้าง” สัตว์คู่บ้านคู่ เมืองมาช้านาน เธอเริ่มทำ�ตุ๊กตาช้างและ ให้ชื่อว่า “ช้างดวงดี” ตามชื่อของบิดา ก่อนรวมกลุ่มตั้ง “กลุ่มหัตถกรรมแม่บ้าน กิ่วแล” ขึ้นตามคำ�แนะนำ�จากเจ้าหน้าที่ รั ฐ ที่ แ นะนำ � ให้ ตั้ ง กลุ่ ม ที่ มั่ น คงเพื่ อ ให้ มี อำ�นาจต่อรองกับลูกค้ามากขึน้ สินค้าของ ช้างดวงดี คือ ตุ๊กตาดูดกลิ่น เป็นตุ๊กตา ช้างในอิริยาบถต่างๆ และสัตว์อื่นๆ เช่น สุนัข หมี ทำ�จากผ้าฝ้ายยัดไส้ในด้วยใบ ชา และสมุนไพรต่างๆ ของคนในพื้นที่ ส่ ง ขายตามที่ ต่ า งๆ


ผู้นำ�ที่ไม่ยอมแพ้

แรงบันดาลใจซึ่งกัน

จุดเด่นของสินค้า

ในช่วงแรกที่จัดตั้งกลุ่มหัตถกรรมแม่บ้าน กิ่วแลขึ้นนั้นค่อนข้างยากลำ�บากเพราะ รายได้ที่เข้ามาไม่แน่นอน และตุ๊กตาดูด กลิ่ น นั้ น ขายได้ อ ยู่ เ พี ย งระยะเวลาหนึ่ ง เท่านั้น หากแต่อำ�พรยังมีความมุ่งมั่นที่ จะทำ�ให้สำ�เร็จ จึงได้ออกแบบตุ๊กตาเพื่อ นำ�ไปเสนอกับบริษัททัวร์ในเชียงใหม่และ ทางบริษัททัวร์ได้ตกลงสั่งซื้อไว้เพื่อขาย ให้นักท่องเที่ยว จากนั้นยอดการสั่งซื้อ ก็ เ พิ่ ม ขึ้ น มาเรื่ อ ยๆ จนแทบผลิ ต ไม่ ทั น เพราะเครื่องมือที่ใช้ล้วนเป็นเครื่องมือ ที่ มี อ ยู่ แ ต่ เ ดิ ม บวกกั บ แรงงานคนที่ มี ก็ ไม่มากพอ กระนั้น เมื่อมีโอกาสได้เข้า อบรมกับทางภาครัฐ จึงเขียนโครงการ ยื่นขอทุนสนับสนุนและได้รับเครื่องจักร ตั ด ผ้ า มาทุ่ น แรง รวมถึ ง มี ภ าคเอกชน ยื่นมือเข้าช่วยเหลือ และมีโอกาสได้ทำ� สั ญ ญาซื้ อ ขายต่ อ เนื่ อ ง อี ก ทั้ ง ยั ง ได้ ไ ป ออกงานแสดงสินค้าด้วย จึงทำ�ให้มีคำ� สั่ ง ซื้ อ เพิ่ ม มากขึ้ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ตุ๊ ก ตาของกลุ่ ม นั้ น นอกจาก จะมี จุ ด เด่ น ที่ สิ น ค้ า ทุ ก อย่ า งเป็ น สิ น ค้ า ทำ�มือ เย็บจากผ้าไหมและผ้าฝ้ายของ ท้ อ งถิ่ น แล้ ว ยั ง มี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ ออกแบบตุก๊ ตารูปแบบใหม่อยูเ่ สมอทำ�ให้ มี ค วามหลากหลายสร้ า งสรรค์ ใ นเนื้ อ งาน เป็นที่ถูกใจทั้งคนไทยและชาวต่าง ชาติ

หลังจากทีไ่ ด้รบั ความช่วยเหลือจากหน่วย งานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนเข้ามา ช่วยเหลือทำ�ให้งานเย็บตุ๊กตาของกลุ่ม นั้ น เป็ น ไปด้ ว ยความราบรื่ น ผลิ ต งาน ออกมาได้ มากขึ้ น ซึ่ง ขณะนี้ผลิต ภั ณฑ์ นั้นมีรูปแบบหลากหลาย และยังมีความ พยายามพัฒนารูปแบบให้เป็นเอกลักษณ์ และออกแบบใหม่ ๆ อยู่ อ ย่ า งสมำ่ � เสมอ

สามารถผลิตตุ๊กตาผ้าฝ้าย ผ้าไหม รูป สัตว์ต่างๆ ได้หลากหลายแบบ ด้วยการ ผสมผสานทักษะฝีมือที่มีความประณีต ของชาวบ้ า นกั บ เครื่ อ งจั ก รทั น สมั ย จน เป็นที่ยอมรับของลูกค้าทั้งชาวไทยและ ต่างชาติ จนมีการสั่งผลิตสินค้าอย่างต่อ เนื่อง

นับจากวันแรกมาจนวันนี้ “ช้างดวงดี” ได้ ดำ�เนินการมานานถึง 18 ปี กลุ่มได้แสดง ฝีมือ ความสามารถ และภูมิปัญญาที่มีอยู่ เดิมมาสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ตกุ๊ ตาให้เป็นที่ รู้จัก จากการสร้างอาชีพเสริมให้กับชาว บ้านสุดท้ายกลายเป็นอาชีพหลัก จนทุก วันนีช้ าวบ้านในกลุม่ ต่างกล่าวว่ามีชวี ติ ทีด่ ี ขึน้ จากการทำ�ตุก๊ ตา นอกจากจะมีชวี ติ ทีด่ ขี นึ้ แล้ว การทีไ่ ด้เห็น ว่าลูกค้าชืน่ ชอบผลงานทำ�ให้ สมาชิกกลุม่ ทุกคนมีแรงบันดาลใจที่จะสร้างผลงาน ดี ๆ ต่ อ ไปตามเป้ า หมายที่ จ ะถ่ า ยทอด ภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น และเพื่ อ ให้ ผู้ ไ ด้ รั บ สินค้ามีความสุข และนึกถึงบ้านกิ่วแลที่ พร้อมสร้างสรรค์งานให้ทั้งคนไทยและ คนทั้งโลกได้ชื่นชม

สร้างตราสินค้าและมุ่งเน้นการออกแบบ สร้ า งสรรค์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ ๆ สร้ า ง เอกลักษณ์ของสินค้าให้เป็นที่จดจำ�ของ ลูกค้า และขยายช่องทางการตลาดแบบ B2C ให้มากยิ่งขึ้น

แนวทางพัฒนา

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

17


2. “Creativity along with determination” Ban Kio Lae Handicraft Community Chiang Mai Province

18

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


Extra income After graduating and working as an occupational trainer for a while, Amporn Somsuay, leader of Ban Kio Lae Handicraft Community, Doi Saket District, Chiang Mai Province, saw the opportunity to make extra income for local folk by using their sawing skills.

Never give up leader

In the beginning, the Community was troubled by uncertain income and a short product shelf life, but Amporn never gave up. She designed new dolls and put them up for sale at travel and business got better. Then Amporn arked for supporting funds from the public and private sectors and bought Most local folk are farmers. At the new machines to help them cut end of the season they all have the fabric. plenty of free time so Amporn started to seek needlework such As well as the strong points of all as children clothes, but faced handmade products made with a product standard problem. In local fabric, Chang Duangdee conthe end she decided they should stantly design new dolls and cremake dolls. In order to indicate ate more variety in the product Chiang Mai and Thailand, she de- range for domestic and internacided to go with the ‘elephant tional customers. doll’, representative of Thailand and Chiang Mai. Chang Duangdee was founded to make them . Ac- Inspire on another cording to government officer’s advice, Amporn also founded the With the support from the public Ban Kio Lae Handicraft Communi- and private sectors, Chang Duangty so they were able to negotiate dee run their business smoothly with customers. and continue creating new unique designs. Chang Duangdee’s primary product was odor absorber elephants Chang Duangdee has been in the in various postures, and other business for 18 years, they pertype of dool such as dog and bear form and present skills and wismade with local cotton fabric. dom through their products. They started to make dolls for

extra income, but now Chang duangdee has become the main income for local folk. Moreover, seeing customers loving their products inspired Amporn and the Community’s members to continue create more beautiful products, passing on their wisdom and making customers happy so that their product would always remind them of Ban Kio Lae Handicraft Community.

Product Highlight There are various products: animals shaped cotton and silk dolls, by combining local worker’s keen skills with modern machines.

Developing Trail Creating their brand and designing new unique and signature products and expanding more B2C (Business-To-Consumer) marketing channels.

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

19


ตราสินค้าก่อนการพัฒนา Original Brand

ช้างดวงดี Chang Dwng Di เจ้าของแบรนด์เลือกใช้ชื่อ ดวงดี ซึ่งเป็น ชือ่ ของคุณพ่อ รวมกับ สถานทีต่ งั้ ของกลุม่ คือ จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งถือว่า ช้าง เป็น สัตว์คู่บ้านคู่เมือง Brand owner chose to name the brand ‘Dwng Di’ after her father’s name and ‘Chang’, the Thai word for ‘elephant’,the national animal of Thailand and also a strong representative Chiang Mai Province.

20

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


สินค้าที่พัฒนา

หมอนอิงตุ๊กตากุญชรวารี (1) โมบาย (2) และตุ๊กตากุญชรวารียัดใบชา (3)

Developed Product

Designed new doll from Thai literature’s Kunchonwaree, which is a half elephant half fish creature. There are pillow (1), doll mobile (2), and Tea leaves stuffed doll. (3)

กลุ่มหัตถกรรมแม่บ้านกิ่วแล (1)

(2)

นางอำ�พร ยาวิลาศ 58 หมู่ที่ 11 บ้านกิ่วแล ต. เชิงดอย อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ 50220 พิกัด : 18.931593,99.201404 เบอร์โทรศัพท์ : 053-865421, 081-9522238 Ban Kio Lae Handicraft Community

Ms. Amporn Yawilad 58 M.11 Ban Kiolae T. ChoengDoi A. DoiSaket Chiang Mai 50220 GPS : 18.931593,99.201404 Tel.+6681-952-2238, +6653-865421

(3)

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

21


3. “แบรนด์กับความเป็นไทย” กลุ่มวิสาหกิจถักทอไหมพรม จังหวัดขอนแก่น

นางสาวชุติมา ชุบไธสง

22

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


ฝีมือบวกอัตลักษณ์ การได้เห็ นคุ ณแม่แ ละกลุ่มชาวบ้านถัก หมวกและเสือ้ ไหมพรมด้วยฝีมอื ทีป่ ระณีต ละเอี ย ดอ่ อ นเพื่ อ นำ � ไปขายในช่ ว งฤดู หนาวของทุกปี ทำ�ให้ ชุติมา ชุบไธสง ได้ เรียนรู้ว่า การถักหมวกและเสื้อไหมพรม นั้ น ไม่ ส ามารถต่ อ ยอดในทางธุ ร กิ จ ได้ เพราะประเทศไทยเป็นประเทศร้อน เธอ จึ ง ปรึ ก ษากั บ คนในครอบครั ว เพื่ อ ปรั บ เปลี่ ย นจากการถั ก หมวกและเสื้ อ ไหม พรมมาสู่ ก ารเย็ บ ผ้ า โดยจะเริ่ ม ต้ น จาก การเย็บกระเป๋าในแบบง่ายๆ เป็นอันดับ แรกและแม้ว่าลูกค้าที่ซื้อกระเป๋าผ้าจะ ชื่นชมในฝีมือที่ประณีตสวยงาม หากแต่ ไม่ มี ใ ครพู ด ถึ ง รู ป แบบเพราะยั ง ไม่ มี รู ป แบบที่เป็นเอกลักษณ์ เธอตัดสินใจรวม กลุ่มชาวบ้านในท้องถิ่นที่มีฝีมือเย็บปัก ถักร้อยมาช่วยกันเย็บกระเป๋าออกขาย และในขณะเดี ย วกั น ก็ พ ยายามหาอั ต ลักษณ์ของสินค้าโดยเลือกใช้ผ้าในท้อง ถิ่ น มาตั ด เย็ บ ด้ ว ย

ถิ่ น ของตั ว เองและท้ อ งถิ่ น อื่ น ที่ เ ป็ น ผ้ า ทอมื อ มาใช้ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ ในการเย็ บ กระเป๋ า ซึ่ ง นอกจากจะเพิ่ ม ความ เป็ น เอกลั ก ษณ์ ใ ห้ กั บ สิ น ค้ า แล้ ว ยั ง สามารถช่วยสมาชิกในชุมชนต่างๆ ให้ มี ร ายได้ เ พิ่ ม ด้ ว ย

สร้างแบรนด์เพื่อเพิ่มการจดจำ� แม้ ว่ า ปั จ จุ บั น สิ น ค้ า ของกลุ่ ม วิ ส าหกิ จ ถักทอไหมพรมจะมีหลากหลายแบบ แต่ ยั ง ไม่ ส ามารถทำ � ให้ ลู ก ค้ า จดจำ � สิ น ค้ า ของกลุ่ ม ได้ ดั ง นั้ น สิ่ ง ที่ สำ �คั ญ ที่ สุ ด ใน ขณะนี้คือการทำ�ให้สินค้าของกลุ่มเป็น ที่ จ ดจำ � ของลู ก ค้ า และมี เ อกลั ก ษณ์ ที่ ชัดเจน โดยเริ่มทำ�แบรนด์เป็นของตัวเอง และออกแบบเป็ น คอลเลคชั่ น มากขึ้ น รวมถึง การแปรรูปสินค้าจากผ้าไทยทั่ว ประเทศให้มากขึ้นด้วย ให้คนตระหนัก ถึ ง คุ ณ ค่ า ของผ้ า ไทยในสิ น ค้ า ต่ า งๆ และที่ สำ � คั ญ คื อ การดึ ง ความเป็ น ไทย ออกมาให้ ชั ด เจน

แตกต่างด้วยวัตถุดิบในท้องถิ่น

จุดเด่นของสินค้า

การเย็บกระเป๋าผ้าถือเป็นงานที่ไม่ยากจึง ทำ�ให้มคี แู่ ข่งในตลาดมาก กลุม่ วิสาหกิจถัก ทอไหมพรมจึงประสบปัญหาในเรื่องของ การออกแบบ เนือ่ งจากงานไม่มคี วามแตก ต่างจากกระเป๋าผ้าของที่อื่น จึงพยายาม ออกแบบให้ทันสมัยและโดดเด่นกว่าเดิม มีการคิดนำ�ผ้าแบบต่างๆ ทีม่ อี ยูท่ งั้ ในท้อง

จุดเด่นหลักของกลุ่ม คือ ฝีมือการเย็บที่ ประณีตและมี คุ ณ ภาพมาตรฐานระดั บ สากล แต่สนิ ค้าของกลุม่ ยังขาดเอกลักษณ์ เป็นของตนเอง เพราะโดยมากจะเป็นการ รับจ้างผลิต ให้กับลูกค้าองค์กรภาครัฐ และเอกชนต่าง ๆ สินค้าหลักของกลุ่ม เช่ น กระเป๋ า ผ้ า รู ป แบบ ต่ า งๆ ตาม

ที่ลูกค้าออกแบบมาให้ หรือกลุ่มนำ�เสนอ แบบให้ลูกค้า

แนวทางพัฒนา การพั ฒ นาสิ นค้ า เด่ นของกลุ่ ม (Product Hero) ที่มีจุดเด่น แตกต่าง และ เป็นที่ต้องการของลูกค้าเป้าหมาย เพื่อ ที่จะเป็นประตูนำ�ไปสู่การสร้างตราสิน ค้ า และการสร้ า งภาพลั ก ษณ์ การรั บ รู้ และจุ ด จดจำ � ให้ กั บ ลู ก ค้ า ซึ่ ง มี ตั ว เลื อ กในการซื้ อ สิ น ค้ า กระเป๋ า ที่ มี อ ยู่ มากมายในตลาด

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

23


3. “Branding and Thainess” Knitting Wool Community Enterprise Khon Kaen Province

24

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


Skill and identity

Start branding

Developing Trail

Seeing her mother and local folk knitted hats and coats every winter, Chutima Chupthaisong came to the realization that there were no chances to develop any new products, so she decided stop knitting and started other needlework, beginning with simply patterned handbags. Customers always gave good feedback for the product and about how neatly they had been made, but no one talked about the design because nothing was unique. Chutima tried to make their products unique by using local handmade fabrics.

The Community Enterprise has a variety of products but they are still not well known. The most important thing right now is to create a product signature, beginning with their own brand, designing a collection and making people realize the value of Thai handmade fabric and Thainess.

Developing new product hero that is unique, different and hits the target group. Therefore the product could lead them to new brand, image, recognition and allow them to remain competitive with many bags products in the market.

Using local fabrics Making fabric bags isn’t hard and their products are too plain so there are lots of competitors. The Community Enterprise had the idea of using local handmade fabrics from every part of Thailand to make their product. This way, they not only imparted identity to the product but were also to help increase income for other communities as well.

Product Highlight The highlights of the Community Enterprise are their fine skills and conformity with universal standards, but they lack of their own identity. The reason is they have always produced to order for others in the government and private sectors. Most of the products are differently design bags produced to customers order or developing unique designs for specific customer needs.

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

25


ตราสินค้าก่อนการพัฒนา Original Brand

(1)

อิหล่า ILA เกิดจากการนึกถึงจังหวัดขอนแก่นเป็น ถิ่นกำ�เนิดในภาคอีสาน และการเริ่มต้น ของธุ ร กิ จ ผลิ ต กระเป๋ า ผ้ า ซึ่ ง เกิ ด จากพี่ สาวและน้ อ งสาว จึ ง ทำ � ให้ นึ ก ถึ ง คำ � ว่ า “อิหล่า” ที่ชาวอีสานใช้เรียกหญิงสาว เป็ น คำ � ที่ ส ะท้ อ นถึ ง ถิ่ น กำ � เนิ ด แต่ แ ฝง ไปด้วยความหมายที่ดี และเพื่อให้ดูทัน สมัยขึ้นจึงใช้คำ�ว่า ILA แทน เป็นการ สร้ า งเรื่ อ งราวของแบรนด์ ไ ด้ เ ป็ น อย่ า ง ดี Khon Kaen Province is in the northeastern part of Thailand. It’s where the sisters’ business began, and northeastern dialect for girl is ‘i-lha’, so they decided to use this word but spelled ‘ILA’, which is more modern.

26

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

(2)

(3)


(4)

สินค้าที่พัฒนา

ผลิตภัณฑ์กระเป๋าผ้ามัดหมี่ (1,2,3,4) ผ้า ขิดอีสาน (5,6,7,8)

Developed Product

Mad Mhee (1,2,3,4) and Northeast Khid fabric bags (5,6,7,8)

กลุ่มวิสาหกิจถักทอไหมพรม

(5)

(6)

(7)

(8)

นางสาวชุติมา ชุบไธสง 41/9 หมู่ที่ 2 ต.ชุมแพ อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น 40130 พิกัด : 16.537412,102.103875 เบอร์โทรศัพท์ : 043-312923 02-895-4167 แฟกซ์ 02-417-1715 Knitting Wool Community Enterprise Miss. Chutima Chukthongsong 41/9 M. 2 T.ChumPhae A.ChumPhae KhonKaen 40130 GPS : 16.537412,102.103875 Tel.+6681-8367463,+662-5752379 Fax +662-5752380 THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

27


อาชีพที่สองต้องยั่งยืน

4. “ภูมิปัญญาดั้งเดิม กับการเปิดใจรับสิ่งใหม่ๆ” กลุ่มมัดย้อมสีธรรมชาติบ้านคีรีวง จังหวัดนครศรีธรรมราช

นางอารีย์ ขุนทน

28

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

เมื่อปี พ.ศ. 2539 ได้เกิดวิกฤตภัยแล้งขึ้น ในหมูบ่ า้ นคีรวี ง จ.นครศรีธรรมราช ทำ�ให้ เกิดความเสียหายกับชาวบ้าน อย่างมาก เนือ่ งจากไม่สามารถเก็บผลไม้จากสวนอัน เป็นรายได้หลักเพียงปีละครัง้ ได้ อารีย์ ขุน ทน ประธานกลุ่มมัดย้อมธรรมชาติบ้าน คีรีวงเล็งเห็นว่า ภัยธรรมชาติไม่สามารถ หลีกเลี่ยงได้ รายได้จากสวนผลไม้เพียง อย่างเดียวอาจไม่เพียงพอ จึงเริ่มมองหา อาชีพที่สองที่จะสามารถตอบโจทย์ความ ยั่ ง ยื น ของวิ ถี ชี วิ ต โดยอาชีพสำ�รองนี้จำ�เป็นต้องสอดคล้อง กับวิถีชีวิตและอาชีพการทำ�สวนมาแต่ เดิม ได้ใช้ความรู้และภูมิปัญญาของคนใน ชุมชนในท้องถิ่นที่มีอยู่ ใช้วัตถุดิบที่หา ได้ในชุมชน หากต้องพึ่งพาจากภายนอก ต้องพึ่งพาให้น้อยที่สุด และที่สำ�คัญคือ กระบวนการผลิตต้องหลีกเลีย่ งการใช้สาร เคมี เพราะหมู่บ้านคีรีวงเป็นหมู่บ้านป่า ต้นนำ�้และมีอากาศดี ชุมชนอยู่ท่ามกลาง ธรรมชาติ จึ ง จำ � เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะรั ก ษา สิ่ ง แวดล้ อ มและธรรมชาติ นั้ น ไว้ ใ ห้ ค ง สภาพเดิมมากที่สุด ตามจุ ด ประสงค์ ข้ า งต้ น จึ ง พยายาม หาภู มิ ปั ญ ญาเก่ า ๆ ของคี รี ว งจากคน เฒ่าคนแก่ในชุมชน จนในที่สุด พบว่า ในช่ ว งสงครามโลกครั้ ง ที่ ส องหมู่ บ้ า น คี รี ว งสามารถทอผ้ า ใช้ เ องได้ โ ดยใช้ ใ บ


ไม้ เปลือกไม้ เป็นสีย้อม จึงตัดสินใจทำ�สี ธรรมชาติ และได้คน้ หาสีเพิม่ เติมนอกจาก สองสีที่มีอยู่เดิม คือ สีย้อมแก่นไม้ขนุน และใบคราม ต่อมาได้สีจากใบมังคุด ฝัก สะตอ เปลือกลูกเนียง เปลือกเงาะ อัน ล้วนแล้วแต่เป็นพืชที่ปลูกอยู่แล้ว นี่คือ หนทางอันยัง่ ยืนทีส่ ดุ เพราะหากไม่เลิกวิถี ชีวติ การทำ�การเกษตร สีธรรมชาติยอ่ มยัง คงอยูก่ บั คีรวี ง ตลอดไป จุดเด่นของผ้ามัด ย้อมคีรีวง คือ ใช้สีจากธรรมชาติเท่านั้น ส่ ว นความแตกต่ า งที่ สั ง เกตเห็ น ได้ คื อ การใช้ไม้ไผ่เป็นตัวหนีบผูกให้เกิดลวดลาย ที่ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์

เปิดใจเพื่อพัฒนา

ก่อนหน้านี้ การทำ�งานของกลุม่ มัดย้อมสี ธรรมชาติบ้านคีรีวงมีสมาชิกจำ�นวนมาก แต่ด้วยธรรมชาติของคนใต้ที่มีความเป็น ตัวตนสูง มัน่ ใจในตัวเอง ทุกคนล้วนมีความ ชำ�นาญในงาน เมือ่ มีผรู้ เู้ ข้ามาในพืน้ ทีเ่ พือ่ แนะนำ� อบรมในเรือ่ งการพัฒนาผลิตภัณฑ์ สมาชิกส่วนใหญ่จะไม่ค่อยยอมรับและ เปิ ด ใจรั บ สิ่ ง ใหม่ ๆ งานจึ ง ดำ � เนิ น ไปได้ ช้าในฐานะหัวหน้ากลุ่มจึงต้องพยายาม บอกให้ทุกคนในกลุ่มเปิดใจมากขึ้นเพื่อ การพั ฒ นาต่ อ ไป หลั ง จากใช้ เวลาทำ � ความเข้ า ใจกั น อยู่ ราว 3-4 ปี ทุ ก คนเริ่ ม เปิ ด ใจรั บ สิ่ ง ใหม่ ทำ � ให้ ก ารทำ � งานสนุ ก ขึ้ น มาก ทั้ ง

ยังเปิดเป็นศูนย์เรียนรู้ให้คนเข้ามาศึกษา จุดเด่นของสินค้า ดูงาน และสามารถออกไปเป็นวิทยากร ด้วย ทั้งนี้ เมื่อมีการปรับความคิด กลุ่ม สิ น ค้ า ผ้ า แปรรู ป ย้ อ มสี จ ากวั ต ถุ ดิ บ ก็แข็งแรงมากยิ่งขึ้น ธรรมชาติ ใ นชุ ม ชน มี ก ารคิ ด ค้ น ใช้ ใ บ ไม้ เปลือกผลไม้ มาผลิตเป็นสี แล้วนำ� ต่อยอดด้วยภูมิปัญญาดั้งเดิม มามัดย้อม เขียนลาย ระบายสี ให้เกิด กลุม่ มัดย้อมสีธรรมชาติบา้ นคีรวี งสามารถ ลวดลายจนเป็ น เอกลั ก ษณ์ ข องสิ น ค้ า นำ�สีธรรมชาติมาย้อมเย็นเป็นบาติกได้ ผ้า สินค้าผ้าแปรรูปของบ้านคีรีวงจัดอยู่ เรี ย กได้ ว่ า เป็ น เจ้ า แรกของเมื อ งไทยที่ ในกลุ่ ม สิ น ค้ า สี เขี ย ว มี ผู้ นำ � กลุ่ ม มุ่ ง มั่ น ทำ � ผ้ า บาติ ก จากสี ธ รรมชาติ ปั จ จุ บั น และพร้อมที่จะถ่ายทอดภูมิความรู้ให้กับ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องกลุ่ ม มั ด ย้ อ มสี ธ รรมชาติ สมาชิ ก ในชุ ม ชน รวมทั้ ง ยั ง พร้ อ มที่ จ ะ บ้านคีรีวงมีทั้ง ผ้าบาติก ผ้ามัดย้อมจาก ส่งต่อไปยังกลุ่มผู้บริโภคทั้งในประเทศ สี ธ รรมชาติ และเสื้ อ ผ้ า สำ � เร็ จ รู ป เสื้ อ และต่ า งประเทศ เชิ้ต กางเกง กระโปรง หมวก กระเป๋า แนวทางพัฒนา ผ้าพันคอ ผ้าคลุมไหล่ ปลอกหมอน ทั้งนี้ ยังมีเป้าหมายที่จะนำ�ไปทำ�ของตกแต่ง การค้ น หาอั ต ลั ก ษณ์ ข องสิ น ค้ า ทั้ ง ด้ า น บ้ า น เช่ น เก้ า อี้ บุ โซฟา เครื่ อ งนอน ลวดลาย เทคนิคการระบายสี หรือวัสดุ เป็นต้น ที่ใช้สีต่างๆ ตลอดจนการออกแบบสินค้า และการแปรรู ป ให้ ส อดคล้ อ งกั บ การ บ้ า นคี รี ว งมี ค วามภาคภู มิ ใจอย่ า งยิ่ ง ใน ใช้ ง านของกลุ่ ม ลู ก ค้ า เป้ า หมาย ทั้ ง นี้ การสร้างสรรค์งานของชุมชน กลุ่มก่อตั้ง เพื่ อ ไปสู่ ก ารสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ของสิ น ค้ า มาได้นานถึง 18 ปี การจุดประกายนำ� ตั้งแต่กระบวนการจากต้นนำ�้ กลางนำ�้ เอาภูมิปัญญาดั้งเดิมกลับมาใช้และทำ�ให้ และปลายนำ�้ ส่วนการสร้างภาพลักษณ์ ทุกคนเห็นว่าถึงความสวยงามของผ้า มัด ของสินค้า ตราสินค้าการเชื่อมต่อช่อง ย้อมสีธรรมชาติ ซึ่งต่อจากนี้ไปอาจมีการ ทางจั ด จำ � หน่ า ยหรื อ นำ � เสนอสิ น ค้ า สู่ ใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาร่วมบ้าง แต่ กลุ่ ม เป้ า หมาย เพื่ อ ให้ รั บ รู้ ถึ ง คุ ณ ค่ า สิ่งสำ�คัญคือ การไม่ลืม รากฐานเดิมอัน เรื่ อ งราวของวิ ถี ชุ ม ชน กระบวนการ เป็นสีธรรมชาติ ความเป็นงานหัตถกรรม ผลิต จะนำ�ไปสู่การสร้างมูลค่าในใจของ และความเป็นวิถีชีวิตที่จะดำ�เนินต่อไป ลูกค้า ไม่สิ้นสุด THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

29


4. “Traditional wisdom and new innovation” Mad Yhom Kiriwong Community Nakhon Sithammarat Province

30

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


Secured extra job In 1996, the drought badly damaged Kiriwong, Nakhon Sithammarat Province so that agricultural products couldn’t be harvested and people are suffered. At that time, Aree Khunton, Mad Yhom Kiriwong Community leader, became aware of unavoidable drought and the agricultural income might not be enough, so she started seeking extra jobs for the villagers. This job must match their farmers’ way of life, use folk knowledge and wisdom, the community’s material and, most importantly avoid all chemical composition because Kiriwong is a watershed forest village needing to maintain it’s natural environment. Aree found that back to World War 2, Kiriwong villagers were able to make their own clothes, using color from leaves and barks to dye them. She decided to search for more natural colours other than original dark orange from the jackfruit and blue from the indigo. She found more colours from mangosteen trees, pakria pods and, rambutan skin, all of which were already on their orchard. Kiriwong’s tie-dye fabric used only natural dyed and bamboo stick to create beautiful and unique designs.

Developing with opened been working for more than 18 years until now, inspired by tramind Large numbers of people joined Mad Yhom Kiriwong Community but it was still hard to run. Every member possessed good skills and high self-esteem, so they refused to acknowledge new advice on product development that outsiders gave them. As the leader, Aree, tried to convince them to understand and open their minds to new knowledge. After 3-4 years, all members started to be more open-minded and enjoy their work. They also opened a learning centre and have been inuited as guest speakers for workshops. When attitudes changed, morale was also boosted.

Innovate with traditional wisdom Mad Yhom Kiriwong Community was the first group making batik fabric using all natural dying color. Other products include: readymade clothes, bags and scarves, Pillow caseds are popular among customers as well. Kiriwong Community is proud to present their way of life through their product. The Community has

ditional wisdom and showing the beauty of natural tie-dye fabric. New technology will be used from now on but they will never forget their traditional ways.

Product Highlight As products are made from natural dying colour from local material, using leaves and peel of fruits to, tie-dyeing, drawing and colouring create individual designs, the green products from Kiriwong. The leader is ready to pass on her wisdom to other members in the village including domestic and international customers.

Developing Trail Searching for product identity: designs, colouring techniques, materials and processed ways to match target group’s needs. This way will lead to creating more product value all the way. Also to create products and brand image presented to target group, to make them acknowledge the value of the local way of life and the processing which leads to creating the product.

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

31


ตราสินค้าก่อนการพัฒนา Original Brand

คิรี Ki-ree การนำ�ชื่อของหมู่บ้านคีรีวงมาผสมกับชื่อ เจ้าของแบรนด์ คือ อารีย์ กลายเป็น คิรี พ้องเสียงกับคำ�ว่า คีรี หมายถึงภูเขา จึงเป็น คำ�ที่มีความหมายแฝงในหลายมิติ แต่ให้ ความน่าสนใจกับผู้อ่าน สร้างเรื่องราวเล่า ขานถึงชือ่ แบรนด์ได้ Combining the name of the village ‘Kiriwong’ and the brand owner’s name ‘Aree’ into ‘Ki-ree’ , a homophone of ‘keeree’, meaning mountain in Thai, gave them this meaningful name. It’s also interesting and creates stories related to the brand.

32

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

(1)


(4)

(2)

สินค้าที่พัฒนา

ผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าสตรี (1,2,3) และผ้าผืน ลายมังคุด (4) เงาะ (5) และสะตอ (6)

(3)

กลุ่มมัดย้อมสีธรรมชาติบ้านคีรีวง

(5)

นางอารีย์ ขุนทน 373 หมู่ 10 ต.กำ�โลน อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช 80230 Developed Product พิกัด : 8.443534,99.779528 Womens clothing (1,2,3) and plain เบอร์โทรศัพท์ : 086-9467786 fabric from mangos teen (4), rambutan (5) and pakria (6) Mad YhomKiriwong Community Ms. Piyaporn Sompoung 288 M.7 T.MakhueaChae A. Mueang Lamphun51000 GPS : 8.443534,99.779528 Tel.+6684-613-6368

(6) THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

33


ภูมิปัญญาสีคราม

5. “พัฒนาแต่ไม่ทิ้งภูมิปัญญา” กลุ่มทอผ้าย้อมครามบ้านโนนเรือ จังหวัดสกลนคร

นางอัมพรพรรณ ทองไชย

34

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

อั ม พรพรรณ ทองไชย เติ บ โตมากั บ การเห็ น แม่ ทำ � และใส่ ผ้ า ย้ อ มครามมา ตลอด ทั้ ง นี้ พื้ น ฐานครอบครั ว ของ เธอเป็นชาวนา ปลูกต้นครามไว้เพื่อใช้ และทำ�ผ้าย้อมครามเพื่อใช้ใส่เอง การ ย้ อ มผ้ า ครามนั้ น เป็ น ภู มิ ปั ญ ญาดั้ ง เดิ ม มาตั้งแต่โบราณที่ส่งต่อกันมารุ่นต่อรุ่น เป็ น การย้ อ มสี ธ รรมชาติ ที่ ไ ด้ จ ากต้ น ครามที่ปลูกในพื้นที่ ครั้ น เมื่ อ ชาวบ้ า นในพื้ น ที่ ต.นาหั ว บ่ อ จ.สกลนคร รวมตัวกันเป็น “กลุม่ ทอผ้าย้อม ครามบ้านโนนเรือ” เพื่อทำ�ผ้าย้อมคราม ขาย ในช่วงแรกจะเป็นผ้าพื้นย้อมสีคราม ผ้ า มั ด หมี่ ที่ ย้ อ มเส้ น ฝ้ า ยด้ ว ยต้ น คราม ตามธรรมชาติแล้วนำ�ไปทอ ทำ�ให้มีคน สนใจผ้าย้อมครามมากขึ้นสมาชิกในกลุ่ม จึ ง เพิ่ ม มากขึ้ น ด้ ว ย หลั ง จากที่ ไ ด้ ข ายผ้ า ย้ อ มครามแบบผื น มาได้สักพัก กลุ่มทอผ้าย้อมครามบ้าน โนนเรื อ จึ ง คิ ด แปลงเป็ น อย่ า งอื่ น เช่ น ผ้าปูโต๊ะ เป็นต้น และการที่ได้เข้าร่วม โครงการของรัฐบาลก็ได้พัฒนารูปแบบ ผ้ า ให้ ห ลากหลายต่ อ มาเรื่ อ ยๆ ความ โดดเด่ น ของผ้ า ย้ อ มครามของกลุ่ ม ทอ ผ้าย้อมครามบ้านโนนเรือ คือ ใช้สีจาก ต้ น ครามธรรมชาติ ทั้ ง หมด เนื้ อ ผ้ า นุ่ ม และใช้เทคนิคในการย้อมที่หลากหลาย ได้ ผื น ผ้ า สวยงาม


พัฒนาจากเสียงของลูกค้า

งานผ้ า ย้ อ มครามของกลุ่ ม ทอผ้ า ย้ อ ม ครามบ้ า นโนนเรื อ มาจากการลองผิ ด ลองถูก ทั้งเรื่องของเนื้อคราม เนื้อฝ้าย สีที่จะออกมา รายละเอียดทั้งหมด เกิด จากการศึ ก ษา และทดลองจนได้ ผ ลดี ตามที่พอใจ แต่อาจจะยังไม่ตรงกับความ ต้ อ งการของตลาด การไปออกร้านในที่ต่างๆ ทำ�ให้มีโอกาส ที่จะได้คุยกับลูกค้า ได้สอบถามความคิด เห็น และความต้องการของลูกค้า หลัง จากนั้นกลุ่มจึงพยายามสร้างและพัฒนา สิน ค้า ใหม่ มานำ � เสนอ การออกงานใน แต่ละครั้งจึงไม่ใช่เป็นการไปขายของเพื่อ ให้ได้เม็ดเงินเพียงอย่างเดียว แต่เป็นการ เรียนรู้ความต้องการของตลาด ส่งผลให้ งานที่ อ อกมาในช่ ว งหลั ง ตรงกั บ ความ ต้องการของตลาดมากขึน้ และแม้จะปรับ พัฒนาต่อยอดรูปแบบของงานผ้าอย่างไม่ หยุดนิ่ง ทางกลุ่มก็ยังไม่ทิ้งผ้าย้อมคราม ในแบบดั้ ง เดิ ม ไป ปั จ จุ บั น การทำ � ผ้ า ย้ อ มครามที่ เ คยทำ � เป็ น เพี ย งอาชี พ เสริ ม ของชาวบ้ า นช่ ว ง ว่างหลังจากการทำ�นาได้กลับกลายเป็น อาชีพทีส่ ามารถทำ�รายได้ให้กบั สมาชิกได้ เท่ากับการทำ�นาทีเ่ ป็นอาชีพหลัก สมาชิก ในกลุ่ ม ล้ ว นมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น และ ยังคงรักษาสืบทอดภูมิปัญญาที่มีมาแต่ เดิมไว้ได้เป็นอย่างดี

คือความภาคภูมิใจ

เอกลั ก ษณ์ เ ฉพาะผื น ไม่ ซำ �้ กั น สิ น ค้ า เด่ น ของกลุ่ ม ได้ แ ก่ ผ้ า พั น คอ คลุ ม กลุ่มทอผ้าย้อมครามบ้านโนนเรือมีสินค้า ไหล่ ผ้ า ผื น ตั ด ชุ ด ขึ้นชื่อ คือ ผ้าผืน ผ้าพันคอ และผ้าคลุม ไหล่ โดยภายหลังมีเสื้อ กางเกง และ แนวทางพัฒนา ผ้ า มั ด ย้ อ ม รวมถึ ง รั บ ทำ � ผ้ า ย้ อ มคราม ในทุ ก รู ป แบบที่ ลู ก ค้ า ต้ อ งการอี ก ทั้ ง ยั ง เน้นงานออกแบบเพื่อแปรรูปสินค้าตอบ อยู่ในช่วงพัฒนาและทดลองนำ�ผ้าไปทำ� สนองไลฟ์สไตล์ของกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ที่ชัดเจนมากขึ้น เน้นกลุ่มสินค้าเสื้อผ้า เครือ่ งใช้ในบ้านด้วย และเครื่องแต่งกาย ที่สำ�คัญคือต้องสร้าง การทำ � ผ้ า ย้ อ มครามให้ เ ป็ น ที่ รู้ จั ก ถื อ ตราสินค้าไปพร้อมกับการสร้างนวัตกรรม เป็นความภาคภู มิ ใจของกลุ่ ม เพราะผ้ า การผลิตใหม่ๆ เพือ่ สร้างความแตกต่างและ ย้อมครามบอกทั้งภูมิปัญญาและวิถีชีวิต จุดจดจำ�ให้กบั ลูกค้า ของคนในพื้ น ที่ ไ ด้ เ ป็ น อย่ า งดี แม้ บ าง ครั้ ง จะถู ก มองว่ า เป็ น ผ้ า ของชาวนาแต่ นี่ คือ ความภาคภูมิใจอย่างที่สุด และ ต่อจากนี้ไปกลุ่มมีเป้าหมายที่จะพัฒนา ให้ เ ป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ บ อกกล่ า วความ เป็ น คนพื้ น ถิ่ น ส่ ง ต่ อ ความรั ก ในงานที่ ทำ � และภู มิ ปั ญ ญาที่ สื บ ทอดมาให้ กั บ คนรุ่ น หลั ง ต่ อ ไป

จุดเด่นของสินค้า สินค้าของกลุม่ มีจดุ เด่นทีก่ รรมวิธกี ารผลิต ครามแบบดั้งเดิมผสานกับความรู้ใหม่ที่ เกิดจากการทดลองใหม่ เป็นผ้าครามที่สี ไม่ตก มีการปรับเปลี่ยนเส้นฝ้ายผสมเพื่อ ให้เนื้อผ้ามีความนุ่มน่าสัมผัสมากขึ้น การ พัฒนาสร้างสรรค์การมัดหมีแ่ บบใหม่ๆ จน เกิ ด ลายผ้ า ที่ มี ล าย THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

35


5. “Developing but folk wisdom remains”

Ban Nonn Ruea Indigo Cotton Fabric Community Sakon Nakhon Province

36

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


Indigo wisdom

Their pride

Developing Trail

Ampornpan Tongchai is a farmer. Growing up, she saw her mother make and wear indigo fabric that used indigo tree dyed handmade f abric. Indigo dyed fabric is traditional wisdom passed on through generations. Folks gathered and founded the Ban Nonn Ruea Indigo Cotton Fabric Community, making and selling their indigo fabric. Apart from plain fabric they also developed readymade clothes as well.

Ban Nonn Ruea Indigo Cotton Fabric Community’s well known products are plain fabric, scarves and shawls. Now they are designing readymade clothes and developing house decorations.

Design the product to answer the target group’s lifestyle mainly in clothing but the most important thing is to create a new brand along with innovations in the method to make an outstanding product.

Costumer’s voice

Product Highlight

Developing indigo fabric, Ampornpan experimented with every detail and technique by herself. As a result she developed exquisite colours and designs but that was not enough for the market’s need. Ampornpan found her missing pieces by listening to customers she met and continued to develop and present new products at every exhibition.

The highlight of the community product is their original indigo dyeing method combined with new experimental methods. The indigo colour is fadeless. To create new mat mee designs and make individual unique products. The highlight products are scarves, shawls and plain fabric.

The Community is proud to present the farmer’s way of life and local wisdom through their product, and pass on the love of their work and wisdom to the next generation.

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

37


ตราสินค้าก่อนการพัฒนา Original Brand

มอคราม Morkram เลือกใช้คำ�ว่า “มอ” ซึ่งหมายถึง สีฟ้า มาผสมกั บ คำ � ว่ า “คราม” ผลิ ต ภั ณ ฑ์ หลักของแบรนด์ ทั้งนี้ คำ�ว่า “มอ” ยังมี ความหมายพ้องเสียงกับคำ�ว่า More ใน ภาษาอังกฤษที่แปลว่า มาก ด้วย เพื่อ สื่อให้เห็นถึงคุณประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ ผ้ า ย้ อ มครามที่ มี คุ ณ สมบั ติ พิ เ ศษ คื อ สามารถป้องกันแสงยูวีได้ และหากสวม ใส่ในฤดูร้อนผ้าจะเย็น ถ้าสวมใส่ในฤดู หนาวก็ จ ะอบอุ่ น ‘Mor’ and ‘kram’ both mean ‘blue’, and represents their main product. Also, ‘mor’ is a homophone with ‘more’ in English, which means many in number, which relates to the number of product uses such as: UV protection, keep you chill in the hot summer and keep you warm in the cold winter.

38

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

(1)


(3) (2)

สินค้าที่พัฒนา

ผลิตภัณฑ์เสื้อสตรีย้อมคราม (1,5) ผ้าพันคอ (2) เสื้อสูทชาย (3) กางเกงขายาว (4)

Developed Product

Indigo dyed women’s clothing (1,5) , scarves (2) , men’s suit (3) and pants (4)

(4)

กลุ่มทอผ้าย้อมครามบ้านโนนเรือ

นางอัมพรพรรณ ทองไชย 43/1 หมู่ 3 ต.นาหัวบ่อ อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร 47220 พิกัด : 17.256548, 103.923755 เบอร์โทรศัพท์ 087-2231679, 042-861092

(5)

Ban Nonn Ruea Indigo Cotton Fabric Community Ms. Aumpornparn Thongchai 43/1 M.1 T.nahuabo A.Phannanikhom, SakonNakhon 47220 GPS : 17.256548, 103.923755 Tel. +6687-223-1679, +6642-861092

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

39


จักสานเถาวัลย์ VINE WICKERWORK

40

จักสานผักตบชวา WATER HYACINTH WICKERWORK

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

จักสานกระจูด KRAJUDE WICKERWORK


กลุ่ม ธุรกิจ จักสาน

WICKERWORK

จักสานไม้ไผ่ BAMBOO WICKERWORK

จักสานเส้นพลาสติก PLASTIC STRIPES WICKERWORK THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

41


6.“ปั้นดินให้เป็นดาว” สุขี แฮนดิคราฟท์ จังหวัดราชบุรี

นางสาวศิริวรรณ สุขขี

42

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


จากเป็นเพียงวัชพืช

นำ�้ มีอายุการใช้งานคงทนหลายสิบปี และ ด้วยคุณสมบัตนิ เี้ องจึงทำ�ให้ผลงานจักสาน สุขขี แฮนดิคราฟท์ เริ่มต้นขึ้นเมื่อ 30 ปี จากเถาวัลย์เป็นทีต่ อ้ งการของลูกค้าอย่าง ก่อน โดย สลัด สุขขี ผู้เคยรับราชการเป็น มาก หั ว หน้ า ฝ่ า ยฝึ ก วิ ช าชี พ ผู้ ต้ อ งขั ง ในกรม ราชทัณฑ์ ผู้นำ�เถาวัลย์มาผลิตเป็นงาน หั ต ถกรรมออกขายสร้ า งรายได้ ใ ห้ กั บ พลิกวิกฤตเป็นโอกาส กรมราชทั ณ ฑ์ ไ ด้ ร าวเดื อ นละ 3 แสน บาท จากนั้น จึงรวมตัวกับกลุ่มชาวบ้าน สำ�หรับการทำ�จักสานจากเถาวัลย์เพียง ในพื้นที่ ต.พงสวาย อ.เมือง จ.ราชบุรี ที่มี อย่างเดียวนั้นเป็นไปได้ด้วยดีเพราะเป็น ความรูเ้ รือ่ งหัตถกรรมจากไม้ไผ่มาผลิตผล ทั ก ษะที่ มี ค วามชำ � นาญ แต่ เ มื่ อ ลู ก ค้ า งานจักสานจากเถาวัลย์เป็นแห่งแรกของ ต้องการใช้วัสดุอื่น เช่น เครื่องปั้นดินเผา มาผสมผสานกั บ เถาวั ล ย์ จ ะเกิ ด ปั ญ หา ประเทศไทย เนื่องจากเครื่องปั้นดินเผาที่สั่งมาไม่ได้ ต่อมา ศิรวิ รรณ สุขขี บุตรสาวของสลัด สุข คุณภาพจนทำ�ให้ลกู ค้าส่งคืนสินค้าจำ�นวน ขี ผูร้ บั ช่วงต่อกิจการเป็นรุน่ ทีส่ อง ได้มกี าร มาก จึ ง ได้ คิ ด แก้ ปั ญ หาโดยออกแบบ พัฒนารูปแบบของงานจากความต้องการ ผลิตภัณฑ์ให้เป็นของแตก เช่น โอ่งแตก ของลูกค้าต่างประเทศ โดยจากเดิมที่มี แล้วนำ�เถาวัลย์ที่มีมาผูกเป็น หูจับ ถือ เพียงการสานตะกร้า และกระเช้าดอกไม้ เป็นงานรูปแบบใหม่ที่ไม่เคยมีที่ไหนมา จากเถาวัลย์แต่เพียงอย่างเดียว มาเป็นการ ก่อนและเป็นที่สนใจจากลูกค้าต่างชาติ สานที่มีการนำ�วัสดุอื่นมาใช้ควบคู่ไปด้วย อย่างมาก เช่น กะลา แก้ว กระถาง เครื่องปั้นดินเผา เป็นต้น พัฒนาสู่การเป็นแหล่งท่องเที่ยว ทั้งนี้ เถาวัลย์แดงที่ใช้ในชิ้นงานนั้น เดิมที เป็นเพียงวัชพืชที่กรมป่าไม้ต้องกำ�จัดทิ้ง เพราะมีผลเสียต่อไม้ใหญ่ แต่คุณสมบัติที่ โดดเด่นของเถาวัลย์แดง คือ มีลักษณะ คล้ า ยหวายแต่ มี ค วามโค้ ง เป็ น เกลี ย ว ที่ ดู ธ รรมชาติ ม ากกว่ า ไม่ มี ม อดแมลง สามารถล้ า งทำ � ความสะอาดได้ ด้ ว ย

ปั จ จุ บั น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องสุ​ุ ข ขี แฮนดิ คราฟท์ มีทั้งของใช้ในครัว ถาดวางผล ไม้ ตะกร้า ของตกแต่งบ้าน แจกันใหญ่ ตะเกียง กระถางแต่งสวน เฟอร์นิเจอร์ เก้าอี้ โต๊ะรับแขก และอีกมากมาย โดย เน้ น การนำ � เสนอรู ป แบบใหม่ ๆ อย่ า ง ส มำ่ � เ ส ม อ แ ล ะ เ พื่ อ พั ฒ น า ต ล า ด

จากกลุ่มลูกค้าต่างประเทศ 100% มา ให้ ค วามสนใจเปิ ด ตลาดในประเทศ มากขึ้น สุขขี แฮนดิคราฟท์ จึงเปิดเป็น แหล่งท่องเที่ยวให้ลูกค้าได้ศึกษาดูงาน จักสานเถาวัลย์และสินค้าที่ผลิต เพื่อให้ ลูกค้าได้เห็น และชมสินค้าได้อย่างเต็มที่ นอกจากนี้ยังพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เหมาะ สมและเป็ น ที่ ส นใจของคนในประเทศ มากขึ้น

จุดเด่นของสินค้า เป็ น งานจั ก สานกระเช้ า ตะกร้ า โคม ไฟ เฟอร์นิเจอร์ ด้วยวัสดุที่มีเอกลักษณ์ เฉพาะตัว อีกทั้งยังมีการผสมผสานเข้า กับวัสดุโครงเหล็ก ดินเผา และเส้นใยพืช อื่นๆ ทั้งนี้ จุดเด่นที่แท้จริง คือ การคิด สร้างสรรค์สินค้าใหม่ๆ อยู่เสมอจนเป็นที่ ยอมรับของตลาดทั้งในประเทศและต่าง ประเทศ

แนวทางพัฒนา ส ร้ า ง ส ร ร ค์ สิ น ค้ า ข อ ง ใช้ ใ น บ้ า น ที่ มี ค วามหลากหลายขึ้ น รวมถึ ง พั ฒ นา เทคนิคการย้อมสีเถาวัลย์ให้สอดคล้อง ต า ม แ น ว ท า ง ก า ร ต ก แ ต่ ง บ้ า น ใ น ปัจจุบัน

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

43


6. “From the mud to the stars” Sukkee Handicraft Ratchaburi Province

44

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


From the weeds Sukkee Handicraft was established 30 years ago by Salad Sukkee, a former government officer who worked at the Department of Corrections as a chief of Prisoners’ Occupation Training Section. He produced and sold vine basketry, making a profit of over 300,000 baht per month for the Department. After that he gathered local folks from Pong Sawai, Ratchaburi Province who had knowledge of traditional bamboo basketwork and produced the first vine basketry in Thailand. Sukkee Handicraft passed on to a second generation, Siriwan Sukkee, Salad’s daughter. She developed new designs using foreign customers’ needs. Formerly, Sukkee Handicraft mainly produced vine baskets, and then Siriwan came up with the idea of combining other materials such as coconut shell, glass, pottery and, earthenware with original vine basketry. The vine used in the product is Toxocurpus Villosus (known as red vine). It’s weeds cause damage to big trees but has remarkable qualities: naturally curved, no weevils, washable and it can last for more than 10 years.

Turning crisis into opportunity With its great skill in basketry, Sukkee Handicraft’s products are highly successful. However, combining other materials with vine work caused problems since the quality of ordered material wasn’t good enough, and customers returned most products. So Siriwan presented the product as a broken piece: broken earthen jar with vine basketry handles. It’s became a unique new design and the customers were very pleased.

Product Highlight The products are baskets, lamps and, furniture made with unique materials combined with a steel structure, earthenware and other plant fibre. However the real highlight is their creativity that never stops creating new designs.

Developing Trail Create a wider range of houseware products and also improve dyeing techniques which fit today’s popular house decoration.

Developing into tourist attraction Sukkee Handicraft offers various products: baskets, trays, house decorations, lamps, vases, garden accessories and furniture. They also regularly offer new unique designs. With the hope of expanding the domestic market, Sukkee Handicraft have decided to open their factory as a tourist attraction, to show all their products and develop product designs suited to local needs.

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

45


ตราสินค้าก่อนการพัฒนา Original Brand

สุขขี แฮนดิคราฟ Sukee Handicraft นำ�ชือ่ ของกิจการมาใช้เป็นชือ่ แบรนด์ เพือ่ สร้างการจดจำ�ไปพร้อมๆ กัน ทั้งนี้ ชื่อ สุขขี นี้ เป็นชือ่ ของพ่อทีบ่ กุ เบิกงานจักสาน เถาวัลย์มากว่า 30 ปี ‘Sukkee Handcraft’ has been used as the name of the business for a long time. However, the name ‘Sukkee’ is named after their father who started vine basketry more than 30 years ago.

46

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

(1)


สินค้าที่พัฒนา

ผลิตภัณฑ์ โคมไฟหัวหอม (1) ตะกร้า ทรงสูงสีดำ� (2,3) ตะกร้าทรงเตี้ยสีนำ�้ ตาล (4,5,6) นก (7) และไก่ (8,9)

Developed Product

onion lamp (1), High shaped baskets black (2,3), basket brown (4,5,6), bird (7) and chicken (8,9)

(4)

ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด สุขขี แฮนดิคราฟท์

(2)

นางสาวศิริวรรณ สุขขี 12 ม.3 ต.พงสวาย อ.เมือง จ.ราชบุรี 70000 พิกัด : 13.543908,99.828673 เบอร์โทรศัพท์ 081-763-8317, 032-317459

(5)

Sukkee Handicraft (3)

(7)

Miss Siriwan Sukkee 12 M.3 T. PhongSawa A. Mueang Ratchaburi 70000 GPS : 13.543908,99.828673 Tel. +6681-763-8317, +6632-317459

(6)

(8)

(9) THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

47


7. “สู้และยืนหยัดที่จะสร้างสรรค์” กลุ่มหัตถกรรมพื้นบ้านผักตบชวา จังหวัดนครปฐม

นางกันดา สระทองแยง

48

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


เพราะความตั้งใจของแม่ งานจักสานผักตบชวาเริ่มจากการที่ชาว บ้านต้องการรายได้เสริมในช่วงว่างจาก การทำ � ไร่ ทำ � นา และเห็ น ว่ า ผั ก ตบชวา เป็นพืชนำ�้ที่มีอยู่มากและขยายพันธุ์ได้ อย่างรวดเร็วจึงนำ�มาดัดแปลงแปรรูปทำ� เป็นงานสาน ทั้งนี้ กันดา สระทองแยง ประธานกลุ่มหัตถกรรมพื้นบ้าน ผักตบ ชวาคนปัจจุบัน ได้เล่าถึงจุดเริ่มต้นของ “เคดี แฮนด์แมด” ว่า มารดาของตน ทำ�งานจักสานผักตบชวาเป็นธุรกิจของ ครอบครัวมาตัง้ แต่ปี พ.ศ.2532 ซึง่ กิจการ เป็นไปได้ดว้ ยดี แต่เมือ่ เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ในปี พ.ศ.2540 สินค้าทีผ่ ลิตออกมาจึงขาย ได้ยากทำ�ให้มสี นิ ค้าคงเหลืออยูม่ าก ตนได้ เห็นถึงความตัง้ ใจของมารดาทีต่ อ้ งการให้ สืบทอดความรูใ้ นงานจักสานผักตบชวาส่ง ต่อไปให้ถงึ รุน่ ลูกรุน่ หลาน กันดาจึงตัดสิน ใจลาออกจากงานเพื่อมาช่วยขายสินค้า จั ก สานผั ก ตบชวา การนำ � สิ น ค้ า ออกขายตามสถานที่ ต่างๆและการทำ�หน้าร้านที่ตลาดนำ�้วัด ลำ�พญาแหล่งท่องเที่ยวสำ�คัญในชุมชน เป็นไปได้ด้วยดี ในขณะเดียวกัน เธอก็ใช้ เวลาในการฝึกฝนและเรียนรู้จากมารดา จนสามารถสานได้อย่างคล่องแคล่วและ แกะลายสานได้ทุกรูปแบบ จนในที่สุดได้ มีการเปลี่ยนชื่อเครื่องหมายการค้าจาก เดิมคือ “แม่ลั้ง” มาเป็น “เคดี แฮนด์ แมด”เช่นเดียวกับสินค้าอืน่ ๆ เมือ่ เดินทาง

มาถึงจุดหนึ่งแล้ว ก็ควรมีการคิดพัฒนา สิ น ค้ า รู ป แบบใหม่ เธอจึ ง เริ่ ม ศึ ก ษา หาความรู้ ขอคำ�แนะนำ�จากสถาบันการ ศึกษาต่างๆ ในเรื่องการออกแบบ รวม ถึ ง หาที่ ป รึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นางานให้ ดี ขึ้ น จากนั้ น ทางกลุ่ ม หั ต ถกรรมพื้ น บ้ า นผั ก ตบชวาจึงมีการพัฒนาในเรื่องฝีมือรวม ถึงลวดลายและรูปแบบต่างๆ ด้วยความ มุ่ ง มั่ น ตั้ ง ใจจริ ง จึ ง ทำ � ให้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ข อง กลุ่มมีรูปแบบที่หลากหลาย อีกทั้งยังมี การใช้วัสดุอื่นๆ ที่หาได้ในท้องถิ่น เช่น ไม้ไผ่ ผ้าป่าน หนัง มาผสมผสานลงในชิ้น งานเพื่อเพิ่มคุณค่าให้กับชิ้นงานได้เป็น อย่างดี

แต่ ยั ง ขาดซึ่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ท างกลุ่ ม เป็ น เจ้ า ของความคิ ด ปั จ จุ บั น จึ ง ได้ มี ก าร พัฒนาดีไซน์ของสินค้าให้ดูแปลกตา มี ไอเดี ย สร้ า งสรรค์ และมี สิ น ค้ า ในรู ป แบบใหม่ ๆ มากขึ้ น เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความ โดดเด่ น ในตลาด

ไม่ยอมแพ้ต่ออุปสรรค

จุดเด่นของสินค้า

การเป็ น ผู้ นำ � ของแรงงานจำ � นวนมาก ต้ อ งอาศั ย ความสามารถในการบริ ห าร จัดการ ต้องใช้เวลาในการเรียนรู้ความ สามารถของคนงานแต่ ล ะคนเพื่ อ จ่ า ย งานได้ตรงกับความถนัดแต่ในส่วนของ ชิ้ น งาน จำ � เป็ น ต้ อ งมี ก ารหาความรู้ ใหม่ ๆ มาเพิ่ ม เติ ม ตลอดเวลา แม้ จ ะ ไม่ใช่เรื่องง่าย แต่กันดาก็ไม่ลดละที่จะ พยายาม

สินค้าของกลุ่มมีความหลากหลาย แต่ สินค้าหลักของกลุม่ ประกอบด้วย กล่องใส่ ของเอนกประสงค์ ตะกร้า 3 ใบชุด บ้าน สัตว์เลี้ยงทั้งสุนัข แมว และกระเป๋าผักตบ ผสมหนัง โดยจะเน้นสินค้าที่ไม่ย้อมสีซึ่ง กำ�ลังเป็นกระแสนิยมผลิตภัณฑ์จากวัสดุ ธรรมชาติแท้

ยืนหยัดในสิ่งที่รัก

การสร้างความหลากหลายของสินค้าให้ สอดคล้องกับกลุม่ เป้าหมายโดยนำ�เส้นใย ผักตบชวาสังเคราะห์มาใช้ในผลิตภัณฑ์ เพื่อเพิ่มคุณสมบัติในการกันนำ�้ เข้าไปใน สินค้าบ้านสัตว์เลี้ยง ทำ�ให้สะดวกในการ ล้างทำ�ความสะอาด

แม้ ก ลุ่ ม จะมี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ห ลากหลาย ทั้ ง ของชิ้ น เล็ ก ๆ เช่ น ตะกร้ า ใส่ ข อง กระจุ ก กระจิ ก บ้ า นสุ นั ข ไปจนถึ ง เฟอร์นิเจอร์ภายในบ้าน เช่น เก้าอี้นั่ง

ปั จ จุ บั น งานจั ก สานผั ก ตบชวาได้ เข้ า มาผสานเป็ น หนึ่ ง เดี ย วกั บ วิ ถี ชี วิ ต และ จิ ต ใจของทุ ก คนในกลุ่ ม พวกเขาจึ ง ยื น หยั ด ในการที่ จ ะสร้ า งสรรค์ ผ ลงาน ในชิ้ น งานที่ รั ก รวมถึ ง พร้ อ มที่ จ ะเผย แพร่ แ ละถ่ า ยทอดภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น สืบไป

แนวทางพัฒนา

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

49


7. “Endless Creativity”

Water Hyacinth Local Handicraft Community Nakhon Pathom Province

50

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


Mother’s intention Water Hyacinth Local Handicraft Community, Bang Len District, Nakhon Pathom Province began with local farmers who wanted to earn extra income. They realized that water hyacinth weed is quick growing and can be found everywhere, so they used it to create beautiful and useful basketry. Kunda Srathongyang’s mother have been making water hyacinth basketry as a family business since 1989. Business went well until 1997’s Asian financial crisis when finished products couldn’t be sold. Kunda became aware of her mother’s intention to pass on the knowledge of water hyacinth basketry to the next generation, so she decided to quit her job and join the family business.

KD Handmade had come to a product developing point. Kunda had to create new designs for their basketry. She started to study new things, asked for an educational institution’s advice in product design, and searched for an adviser who was willing to help her develop better products. Now, KD Handmade offers various designs and also combines other local materials: bamboo, burlap and, leather with water hyacinth basketry to increase the product’s value.

they weren’t able to create their own unique products line. Nowadays they have been working on designing new creative products to attract buyers’ attention. Water hyacinth basketry has become a way of life everyone at KD Handmade. They’ll keep on creating products they love and are willing to disseminate their wisdom to the next generation.

Product Highlight

The community’s products are Never give up various: bandboxes, basket sets, pet beds and water hyacinth with Leading large number of work- leather bags. The products are ers,she had to develop manage- made from natural materials withment skills and closely studied her out dyeing which is popular now. workers’ abilities to understand them well enough. For KD Hand- Developing Trail made’s products, Kunda never stops learning with the hope of Create various products to match developing her products. new target groups by using water hyacinth’s fibre waterproof ability Keep on doing what they such as pet beds that need to be love cleaned and flowerpots.

Kunda put all inventoried stocks on the market and also opened a storefront at Wat Lumphaya Floating Market, the main local tourist attraction, and business went better. Meanwhile, Kunda she studied and practised skills in basketry Even though KD Handmade have learned from her mother until she various products such as small became an expert at weaving. Fi- baskets, dog beds and , furniture, nally, she decided to change their brand’s name from ‘Mae Lung’ to ‘KD Handmade’.

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

51


ตราสินค้าก่อนการพัฒนา Original Brand

กันดา Kunda ต้องการนำ�ชื่อคุณแม่มาใช้ แต่เนื่องจาก ไม่ ส ามารถจดเครื่ อ งหมายการค้ า ได้ จึ ง นำ � ชื่ อ ตั ว เอง “กั น ดา” มาใช้ แทน At first Kanda wanted to use her mother’s name for the brand but couldn’t register it as a trademark, so she decided to use her own name.

52

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


สินค้าที่พัฒนา

ผลิตภัณฑ์ถังใส่ผ้า (1,2,3) บ้านสัตว์เลี้ยง (4,5) โรงศพสัตว์เลี้ยง (6)

Developed Product

Clothes baskets (1,2,3), pet beds & houses (4,5), pet’s coffin (6)

กลุ่มหัตถกรรมพื้นบ้านผักตบชวา

นางกันดา สระทองแยง 47 ม.6 ต.ไทรงาม อ.บางเลน จ.นครปฐม 73130 พิกัด : 14.099613,100.173605 เบอร์โทรศัพท์ 084-551-4644 Water Hyacinth Local Handicraft Community Ms. Kunda Satongyeang 47 M.6 T.Saingam A.banglen NakhonPathom 73130 GPS : 14.099613,100.173605 Tel. +6684-551-4644

(1)

(4)

(2)

(3)

(5)

(6) THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

53


8. “พัฒนาอย่างมีกลยุทธ์” กลุ่มหัตถกรรมกระจูดวรรณี จังหวัดพัทลุง

นายมนัทพงศ์ เซ่งฮวด

54

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


ประโยชน์ของพืชท้องถิ่น

เป้าหมายที่มาพร้อมกลยุทธ์

จุดเด่นของสินค้า

กระจู ด เป็ น พื ช ตระกู ล กกที่ พ บมากใน ภาคตะวั น ออกและภาคใต้ ข องไทย โดยเฉพาะพื้ น ที่ ท างภู มิ ศ าสตร์ ข อง อ.ควนขนุ น จ.พั ท ลุ ง เป็ น พื้ น ที่ ท่ี มี ต้ น กระจูดขึ้นอยู่มาก คนโบราณจึงมักนำ�มา ดัดแปลงเป็นกระสอบใส่ข้าวสาร และ เสื่ อ ปู น อนและสื บ ทอดต่ อ มายั ง คนรุ่ น หลัง กลุม่ หัตถกรรมกระจูดวรรณี ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ.2553 เริ่มจาก วรรณี เซ่งฮวด ได้มี โอกาสเข้าอบรมในโครงการของศูนย์ศลิ ป าชีพด้านการสานลายกระจูด และจากการ อบรมครั้งนั้นทำ�ให้ได้แรงบันดาลใจใหม่ๆ ในการสานกระจูด จึงรวบรวมชาวบ้าน มาทำ�การตลาด ผลิต และขายเองมาจน ปัจจุบัน ซึ่งในช่วงแรกมีชาวบ้านเข้าร่วม เพียง 20 กว่าคน และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จน ขณะนีม้ รี าว 45 คน โดยทัง้ หมดเป็นคนใน พื้นที่

กลุ่มหัตถกรรมกระจูดวรรณี ถูกก่อตั้งขึ้น เมือ่ ปี พ.ศ.2553 ด้วยการนำ�ผลิตภัณฑ์ไป ฝากวางตามสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วต่างๆ แต่ไม่ โดดเด่นนัก อย่างไรก็ดี ปัจจุบันงานสาน กระจูดเป็นทีร่ จู้ กั ในวงกว้าง งานหัตถกรรม การจักสานกระจูดจึงได้รบั ความสนใจเพิม่ ขึ้นมาก

ความรูด้ า้ นศิลปะในระดับปริญญาโทจาก รั้วมหาวิทยาลัยศิลปากรของผู้นำ�กลุ่มคน ปัจจุบันเป็นที่มาของแนวคิดสร้างสรรค์ ในรูปแบบใหม่และมีการผสมผสานวัสดุ ที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาสินค้าจักสาน กระจู ด ที่ มี ลั ก ษณะการใช้ ง านที่ ห ลาก หลาย ทั้งของใช้ของตกแต่งบ้าน ตลอด จนเฟอร์นิเจอร์ นับเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ ในตลาดที่แตกต่างจากผู้ผลิตกระจูดใน ท้องถิ่น จนกลายเป็นจุดเด่นของสินค้า และสร้ า งภาพลั ก ษณ์ ข องกลุ่ ม ให้ เ ป็ น Design Studio ที่สร้างสรรค์งานจักสาน กระจู ด รู ป ลั ก ษณ์ ใ หม่ ที่ จ ะสร้ า งคุ ณ ค่ า และมูลค่าเพิ่มในทางเศรษฐกิจและสังคม ต่อไป

แค่ความชำ�นาญไม่พอ เ นื่ อ ง จ า ก ก า ร จั ก ส า น ก ร ะ จู ด เ ป็ น หั ต ถกรรมพื้ น บ้ า นที่ ทำ � กั น มาต่ อ เนื่ อ ง ยาวนาน คนในท้องถิน่ จึงมีฝมี อื และความ ชำ � นาญเป็ น อย่ า งดี แต่ ปั ญ หาที่ พ บคื อ เรื่องเงินทุนหมุนเวียนที่มีอยู่อย่างจำ�กัด ทั้งนี้ จึงมีการกู้เงินเพื่อนำ�มาใช้เป็นเงิน ทุนและทำ�ให้งานเดินหน้าต่อไปได้อย่าง ราบรื่น

กลยุ ท ธ์ ใ นการพั ฒ นาธุ ร กิ จ ของกลุ่ ม คือ • ดึงสรรพคุณในการรักษาโรคของ กระจูดขึ้นมาเป็ นจุ ด เด่ น เนื่ อ งจากผล วิจัยที่ได้ทำ�ร่วมกับมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ชี้ว่าเสื่อกระจูดสามารถรักษา แผลกดทับจากโรคที่เกี่ยวกับอัมพฤกษ์ อัมพาตได้โดยการให้ผู้ป่วยนอนบนเสื่อ กระจูด กลุ่มหัตถกรรมกระจูดวรรณี จึงมี เป้าหมายในการขยายตลาดเข้าสู่กลุ่มคน รักสุขภาพ ซึง่ นอกจากเสือ่ แล้วยังมีชดุ รอง นั่ ง และที่ น อนด้ ว ย • เพิ่มงานเฟอร์นิเจอร์ และงานชิ้นใหญ่ ที่ทันสมัย รวมถึงการออกแบบลวดลาย สานเพิ่มมากขึ้น วันนี้ กลุ่มมีเป้าหมายในการสร้างแบรนด์ ให้แข็งแกร่งและขยายสูต่ ลาดต่างประเทศ มากขึ้ น เพื่ อ ให้ หั ต ถกรรมพื้ น บ้ า นอั น เป็นเอกลักษณ์เพื่อให้อนาคตกระจูดไทย สวยงามต่อไป

แนวทางพัฒนา นำ�จุดเด่นของสินค้าที่แตกต่างจากสินค้า ประเภทเดี ย วกั นในตลาดมาสร้ างภาพ ลักษณ์ให้เป็นสินค้าในกลุ่มงานออกแบบ โดยเจาะกลุม่ ลูกค้าสมัยใหม่ทชี่ อบงานทำ� มือ ทีม่ ดี ไี ซน์สวยทันสมัย มีประโยชน์ และ ใช้งานได้จริง รวมถึงการสร้างสินค้าทีต่ อบ สนองผู้บริโภคที่รักสุขภาพโดยการนำ�ผล งานวิจยั ในคุณประโยชน์ของเสือ่ กระจูดที่ ช่วยลดแผลกดทับมาสร้างสรรค์เป็นสินค้า ใหม่ในตลาด

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

55


8. “Developing with new strategy” Krajude Wannee Handicraft Community Patthalung Province

56

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


Utility of local plant

Goal and strategy

Product Highlight

‘Saltmarsh Bullrush’ or ‘Krajude’ is a species of plant in the sedge family often found in the eastern and southern part of Thailand, especially in Khuan Khanun District, Patthalung Province. Ancient people used it to make rice sacks and matting.

Varni Southern Basketry was established in 2010 and began by putting their products on sale at tourist attractions but they did not initially prove popular. Today, however, Krajude basketry is widely known.

With a Master’s degree from Silpakorn University, the current leader of the community tries to create new designs and combine original products with various materials in order to improve their krajude basketry product. Traditional krajude products turn into new design with various uses such as decorations and furniture which are unlike any product on the market. They also turn their community into a design studio, creating new designs and images for original krajude basketry that will help them to increase its economic and social value.

Varni Southern Basketry’s develKrajude Wannee Basketry Commu- oping strategies: nity was established in 2010, by Wannee Senghoud, who gained - Present krajude basketry’s a place on the Support Founda- healing properties. Research tion of Her Majesty Queen Sirikit with Prince of Songkla University of Thailand’s training programme showed that, krajude mats have in krajude basketry. The training properties to heal bedsores, which inspired Wannee to create more happen in paralysed patients, by designs for Krajude basketry. She letting the patient lay down on the founded the Community, and has mat. For this reason Varni Southbeen making and selling basketry ern Wickery intend to expand their ever since. At first there were only market to health lovers and create 20 local people in the Communi- new mattress products. ty but now the number has more than doubled to 45, still all local - Create more product lines such as furniture and bigger products, people. with modern designs as and create new weave’s designs to make the Skills are not enough product unique. Krajude basketry is actual folk wisdom that has been practised for Varni Southern Wickery’s goal is to a long time, therefore local folks build their own strong brand and are already very skillful: but skills expand their product to the interaren’t enough for business. They national market. needed money to expand the business, and took on a loan.

Developing Trail Using different products in the market to create their own unique product. Design their product to hit young customers who like craft work with beautiful modern designs and which is and functional. According to research that shows krajude mats have the ability to heal bedsores, they also create new product for health lovers.

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

57


ตราสินค้าก่อนการพัฒนา Original Brand

วรรณี Varni เป็ น การนำ � ชื่ อ ของคุ ณ แม่ ม าใช้ ซึ่ ง เ จ้ า ข อ ง แ บ ร น ด์ เ ป็ น รุ่ น ส อ ง ที่ สื บ ท อ ด พั ฒ น า ภู มิ ปั ญ ญ า จั ก ส า น กระจูด The brand is named after their mother’s name. The current owner is the second generation of Krajude basketry.

58

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


สินค้าที่พัฒนา

ผลิตภัณฑ์กระเป๋า (1) ปลอกหมอนผสม ผ้า (2) งานหมอนอิงพิมพ์ลายสกรีน (6,7,8) และหมอนอิงสานลายโบราณ (3,4,5)

Developed Product

Bags (1), pillow cases combined with fabric (2), screen designed backrest pillows (6,7,8) and woven pattern backrest pillows (3,4,5)

(1)

หัตถกรรมกระจูดวรรณี

นายมนัทพงศ์ เซ่งฮวด 152 ม.10 ต.พนางตุง อ.ควนขนุน จ.พัทลุง 93150 พิกัด : 7.791239,100.097482 เบอร์โทรศัพท์ 087-760-9879

(2)

Krajude Wannee Handicraft Community (3)

(6)

(4)

(7)

(5)

Mr. Manattapong Senghuad 152 M.10 T.Phanangtung A.KhuanKhanun Patthalung93150 GPS : 7.791239,100.097482 Tel. +6687-760-9879

(8) THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

59


9. “ผสมผสานสร้างแรงบันดาลใจ” กลุ่มแม่บ้านสวนตาล จังหวัดชลบุรี

นางสาวรัชนีกร มะมี

60

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


ผสมผสานสองเทคนิค การจักสานไม้ไผ่ถือเป็นภูมิปัญญาตั้งแต่ ดั้ ง เดิ ม ของคนท้ อ งถิ่ น อ.พนั ส นิ ค ม จ.ชลบุรี ซึ่ง รัชนีกร มะมี และครอบครัว ทำ�งานจักสานไม้ไผ่เป็นอาชีพมานาน ทุก คนในครอบครัวจึงรู้จักวิธีการ ขั้นตอน และเทคนิคต่างๆ ของการทำ�จักสานเป็น อย่ า งดี จนเมื่ อ ได้ พ บกั บ กลุ่ ม ที่ ทำ � งาน จักสานและกลุม่ ทีท่ �ำ งานทอผ้าซึง่ สามารถ นำ�มาใช้กับงานจักสานได้จึงเกิดการรวม กลุ่มกลายเป็นกลุ่ม “กลุ่มแม่บ้านสวน ตาล” เพื่ อ สร้ า งสรรค์ ชิ้ น งานที่ แ ปลก ใหม่ขึ้น เช่น ตะกร้าสานไม้ไผ่บุผ้าฝ้าย เป็นต้น งานจั ก สานของกลุ่ ม มี ค วามโดดเด่ น ที่ รู ป แบบและเทคนิ ค ที่ แ ปลกใหม่ ทั้ ง เรื่องของการเลือกใช้สี การย้อมสี การ ขึ้นรูป การประกอบ ชิ้นงานส่วนใหญ่ เป็ น การสานสองชั้ น เพื่ อ ความแข็ ง แรง คงทน ส่ ว นวิ ธี ก ารนำ � เสนอลวดลาย ใหม่นั้น จะเป็นการปักสองลายในงาน เดี ย วเพื่ อ แสดงถึ ง ความแตกต่ า งอย่ า ง ชัดเจน

สำ�คัญที่เปิดใจ ในช่วงเริ่มต้น การหาแรงบันดาลใจและ วิธีการใหม่ในการพัฒนางานจักสานนั้น ทางกลุ่ ม แม่ บ้ า นสวนตาลได้ พ ยายาม ค้ น หาเทคนิ ค การสานแบบดั้ ง เดิ ม

แต่ ไ ม่ พ บบุ ค คลที่ ส ามารถถ่ า ยทอด เทคนิ ค เหล่ า นั้ น ได้ แต่ เ มื่ อ ได้ เ ทคนิ ค ใหม่ๆ เพื่อนำ�มารวมกับเทคนิคเดิมใน การทำ�งานสานไม้ไผ่ ก็มักจะพบปัญหา ในการถ่ายทอดสิ่งใหม่ๆ ให้กับชาวบ้าน ที่ทำ�งานสานไม้ไผ่ในรูปแบบเดิม ซึ่งทาง กลุ่มแม่บ้านสวนตาลต้องให้ความรู้เพื่อ ให้ ช าวบ้ า นเปิ ด ใจกั บ การสร้ า งงานรู ป แบบใหม่ๆ มีการแยกชิ้นงานตามความ ถนัดของแต่ละคน แล้วก็เอาผลงานใหม่ๆ ที่ได้มาปรับให้เข้ากันและสร้างสรรค์ชิ้น งานใหม่ ๆ เพิ่ ม ขึ้ น

สู่การเป็นแรงบันดาลใจ สินค้าของกลุ่มมีหลากหลาย ตั้งแต่ของ ดั้งเดิม เช่น ชะลอม ตะกร้า ตลอดจนของ ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาอย่าง กระเป๋าถือ แจกัน และกำ�ลังมุ่งพัฒนาจักสานของกลุ่มให้ เป็นของตกแต่งบ้านชิ้นใหญ่มากขึ้น รวม ถึ ง พั ฒ นาลายสานให้ เ ป็ น รู ป สั ต ว์ ต่ า งๆ จากการนำ�ลายเรขาคณิตไปขึ้นรูป เช่น กวาง ช้าง ไก่ กระต่าย เพื่อให้เกิดความ แปลกใหม่ อย่างไรก็ดี เป้าหมายระยะยาวของกลุ่ม คือ การเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีร้านขาย สินค้าของกลุ่ม มีการสร้างชิ้นงานเพื่อ ดึ ง ดู ด นั ก ท่ อ งเที่ ย ว และเพื่ อ เป็ น แรง บันดาลใจให้คนรุ่นต่อไปได้ตระหนักถึง คุ ณ ค่ า ของภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ที่ สื บ ทอด กันมา

จุดเด่นของสินค้า สินค้าของกลุ่มมีจุดเด่นที่ ลายดอกพิกุล ลายสานอันเป็นเอกลักษณ์ คือ มีการเข้า ขอบไม้ดัดโค้งงอ ประณีตสวยงามเป็น ความชำ�นาญของช่างเฉพาะถิน่ และมีการ เก็บรายละเอียดเล็กน้อยของสินค้าอย่าง เรียบร้อย สินค้าหลักของกลุ่มประกอบ ด้วย จักสานไม้ไผ่ปนิ่ โต ตะกร้าไปวัด ซึง่ จะ มีการผลิตกันทัง้ ปี จำ�หน่ายในพืน้ ทีอ่ �ำ เภอ พนัสนิคมเป็นหลัก

แนวทางพัฒนา สร้ า งสรรค์ รู ป แบบสิ น ค้ า ให้ ส อดคล้ อ ง กั บ แนวทางการตกแต่ ง บ้ า น อาคาร โรงแรม หรือรีสอร์ท ในปัจจุบัน โดยนำ� ภูมปิ ญ ั ญาดัง้ เดิมมาต่อยอดพัฒนาเป็นสิน ค้าใหม่ๆ ที่มีขั้นตอนการผลิตสั้นลง เพิ่ม ปริมาณการผลิต รวมถึงลดปริมาณการ ใช้วัตถุดิบด้วย นอกจากนี้ ยังต้องสร้าง ตราสินค้าเพื่อสะท้อนบุคลิกของสินค้า อีกด้วย

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

61


9. “Combination and Inspiration” Suantan Community Chonburi Province ไ

62

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


Combining techniques

often refused to accept it. It’s important for the team to keep an Bamboo basketry is traditional open mind and be able to invent Panat Nikhom District’s wisdom. new creative products and learn Ratchanee Mamee and family to develop them further. have been in this business for a long time, so all family members know all the procedures, steps and Becoming inspiration techniques. Apart from the existing skills, they met groups of people The Community’s Products are doing other handicraft works, like very diverse from original products cotton cloths, that could be com- like bamboo baskets to new debined with bamboo work. They es- veloped ones such as handbags tablished the Suantan Community and vases. The home decoration and started creating new exotic items, as well as creating basketry products. shaped like deer, elephant, chicken or rabbit. Suantan Community’s basketry products show outstanding design However, Suantan Community’s and are full of new techniques: long term goal is to turn the area colouring, dyeing, moulding and into tourist attractions with large composition. The products are strorefronts and impressive disfirmly double woven and use plays to attract customers. This is more than one weave pattern to also going to inspire a new youngmake different products. er generation to realise the value of local wisdom.

Product Highlight The Spanish cherry weaving design (lai dok pikul) is a local unique weaving design. The neatly woven beautiful curved rim is unique, made by local skilled craftsman. The highlight products are: bamboo woven and, baskets, which are made and sold all year in Phanat Nikhom District.

Developing Trail Creating new designs to go with house, hotel and resort decoration, using the original knowledge developed into new products which have shorter steps, increase production number, decrease material and create self reflection brand at the same time.

Open-mind Seeking for inspiration and new techniques, at the beginning they tried to find old traditional techniques but they weren’t able to locate someone who possessed such knowledge. And when they tried to incorporate new production technique, members THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

63


ตราสินค้าก่อนการพัฒนา Original Brand

ยอนดอก Yorndok เดิ ม ใช้ ชื่ อ แบรนด์ ว่ า “ตาลคู่ ” แต่ ไ ม่ สะท้อนภาพลักษณ์ของสินค้า จึงมีการ คิดชื่อใหม่ “ยอนดอก” ซึ่งเป็นหนึ่งใน กระบวนการผลิตจักสานไม้ไผ่ คือ การนำ� เส้นตอกสอดสลับขึน้ ลงทับซ้อนกันจนเกิด ลวดลายที่สวยงาม The former name was ‘tankhuu’ which didn’t reflect any image of the product so they created the new name, ‘Yorndok’, that’s mean weaving process of bamboo wickerwork. (S1)

64

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

(M2)


สินค้าที่พัฒนา

ผลิตภัณฑ์โคมตั้งพื้น ห้อยเพดาน (S1,M2,L3)

Developed Product

Standing lamp and ceiling lamp (S1,M2,L3)

กลุ่มแม่บ้านสวนตาล

นางสาวรัชนีกร มะมี 21 ม.1 ต.ไร่หลักทอง อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี 20140 พิกัด : 13.490709,101.181947 เบอร์โทรศัพท์ 086-838-9176 , 038-463261 Suantan Community Miss Ratchaneegon Mame 21 M.1 T.Railuckthong Panusnikom,chonburi 20140 GPS : 13.490709,101.181947 Tel. +6686-838-9176, +6638-463261

(L3) THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

65


10. “วิถีไทยผ่านงานจักสาน” กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรศรีพราน จังหวัดอ่างทอง

นางสาวพิมพ์วิสาร์ อินทร์โต

66

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


จากกล้วยเป็นสาน

การลอกเลียนแบบเป็นอุปสรรค

จุดเด่นของสินค้า

“กลุ่ ม แม่ บ้ า นเกษตรกรศรี พ ราน” จ.อ่างทอง เริ่มก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 และจดทะเบียนเป็นกลุ่มแม่บ้าน ในปี พ.ศ.2525 ซึ่งในขณะนั้น สามารถ แปรรูปได้ทั้ง กล้วยตาก กล้วยเบรกแตก ดอกไม้ประดิษฐ์ กระดาษสา นำ�ย้ างพารา แต่ ก ลั บ ประสบปั ญ หาในเรื่ อ งราคากั บ คู่ แข่ ง จากต่ า งประเทศ จึ ง ได้ ผั น ตั ว มา ทำ�งานจักสานหวายสอดดอกพิกุล และ ไม้แขวนเสื้อจากไม้มะขาม ต่อมาเปลี่ยน มาทำ�กะลามะพร้าวใส่เทียน ซึ่งแม้จะได้ รับเสียงตอบรับจากลูกค้าเป็นอย่างดี แต่ ก็ตอ้ งประสบปัญหาในเรือ่ งมาตรฐานของ วัตถุดิบ

หลั ง จากสิ น ค้ า ของกลุ่ ม เป็ น ที่ รู้ จั ก ใน วงกว้ า ง ปั ญ หาที่ ต ามมาคื อ สิ น ค้ า ถู ก ลอกเลี ย นแบบ ซึ่ ง เป็ น ที่ ม าของคู่ แข่ ง ที่ เ พิ่ ม จำ � นวนมากขึ้ น ทั้ ง ในและต่ า ง ประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การผลิต ในต่ า งประเทศที่ มี ค่ า แรงราคาถู ก กว่ า เรา

สิ น ค้ า ของกลุ่ ม จะมี ก ารพั ฒ นารู ป แบบ สินค้าตามความต้องการของลูกค้าในต่าง ประเทศ โดยรูปแบบและสีสันจะเปลี่ยน ไปในแต่ละช่วงฤดูกาล ทัง้ นี้ กลุม่ มีการนำ� หนั ง เข้ า มาผสมผสานกั บ งานจั ก สาน พลาสติ ก เพื่ อ สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ประเภท สินค้ากระเป๋า

จนเมื่อ พ.ศ. 2538 ได้มีชาวเดนมาร์ก นำ�เส้นพลาสติกมาให้สานเหมือนหวาย ทางกลุ่มจึงตกลงสานเส้นพลาสติกลาย ธรรมดา ซึง่ ข้อดีของการสานเส้นพลาสติก คือ นำ�มาสานได้ง่ายกว่าหวาย จนเมื่อ เข้าสู่ปีที่ 5 มีลูกค้าสนใจสินค้ามากขึ้น จึ ง มี ก ารเริ่ ม ทำ � ส่ ง ให้ ที่ อื่ น รวมถึ ง ชาว บ้านในละแวกก็เข้ามาร่วมกลุ่มมากขึ้น เนื่ อ งจากมี ร ายได้ มั่ น คงและดี ก ว่ า การ ทำ�นา ด้ ว ยความแข็ ง แรงคงทนของชิ้ น งาน เส้ น พลาสติ ก และฝี มื อ อั น ประณี ต ละเอี ย ดอ่ อ น สิ น ค้ า ของกลุ่ ม จึ ง ได้ ส่ ง ออกสู่ ต ลาดประเทศฮอลแลนด์ ญี่ ปุ่ น สหรัฐอเมริกา

ได้เปรียบเพราะเชี่ยวชาญ ปั จ จุ บั น สิ น ค้ า ของกลุ่ ม มี ทั้ ง ของเล็ ก ๆ อย่างเช่น กระเป๋าถือ กระบุง ถังผ้า กล่อง ใส่ของ ไปจนถึงเฟอร์นิเจอร์ภายในบ้าน โซฟา เก้าอี้ และยังพยายามคิดค้นชิ้น งานใหม่ออกมาเรื่อยๆ ความได้เปรียบ ของคนในพื้นถิ่น จ.อ่างทอง คือ ความ คุ้นเคยต่องานจักสานหวายและสามารถ นำ � มาผสมผสานกั บ งานสานพลาสติ ก ได้ เ ป็ น อย่ า งดี ทางกลุ่ ม จึ ง ตั้ ง ใจผสม ผสานวัตถุดิบมากกว่าหนึ่งในหนึ่งชิ้นงาน โดยอาจนำ � งานผ้ า มาบุ ภ ายในงานสาน พลาสติก หรือ นำ�หวายมาสานรวมกับ เส้นพลาสติกเป็นเฟอร์นิเจอร์ ซึ่งจะทำ�ให้ งานแตกต่างจากที่อื่น ทั้งยังมีการนำ�งาน ลวดลายและรูปแบบงานสานอย่างการผูก จูงนาง การสานปลาช่อน อันเป็นวิถชี วี ติ ที่ คนไทยทำ�กันมากเป็นร้อยปีมาผสมผสาน มุง่ เน้นทำ�ให้วถิ ไี ทยเป็นทีร่ จู้ กั ผ่านชิน้ งาน อันเป็นเอกลักษณ์

แนวทางพัฒนา กลุ่มมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากการเรียน รู้ จ ากลู ก ค้ า แบรนด์ ใ นต่ า งประเทศ จึ ง เรียนรู้วิธีการออกแบบสร้างสรรค์สินค้า อย่างเป็นระบบ แต่เมื่อรับจ้างผลิตสินค้า ให้ลูกค้ามากขึ้น สินค้าของกลุ่มจึงไม่เป็น ที่ รู้ จั ก ของลู ก ค้ า รายย่ อ ย จึ ง ต้ อ งสร้ า ง ภาพลั ก ษณ์ ข องสิ น ค้ า และตราสิ น ค้ า ของตนเองเพื่อสร้างมูลค่าทางการค้าใน อนาคต

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

67


10. “Thai way through basketry” Sripran Farmer Community Ang Thong Province

68

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


From banana to handicraft

Skills are an advantage

Developing Trail

Sripran Community was established in 1979 and officially registered in 1982. By that time they were producing all processed banana products, artificial plants, mulberry paper and rubber tree latex, but then faced serious foreign competitors. They turned to make rattan basketry, tamarind tree coat hangers and coconut shell candles instead, but also faced material standard problems.

The Community’s products are various: handbags, baskets, buckets, sofas, and chairs, and they’re trying to create more new designs. Ang Thong local folks skill and familiarity in weaving and basketry have an advantage over others. Now they’re trying to create new products by combining other materials, such as rattan basketry with handmade fabric into the piece, creating Thai product.

Develop their product by studying foreign customers’ needs so that the community learns how to create and produce their product in system. This is because their product couldn’t be remembered by their minor customers. They need to build their product image as well as their brand to increase product value in the future.

In 1995, one Danish man brought over plastic stripes and ordered basketry from them. Plastic strips are easier to use in basketry. Entering the fifth year, customers increased, and the product came out strong and neatly made.

Product Highlight Developing product design for foreign customers needs. The design and colour are changed according to the season and also combine leather with plastic strip basketry to increase product value.

Being copied After Sripran Community’s products became well known, they again faced another big problem: their products were copied by competitors, especially in countries with lower labour costs.

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

69


ตราสินค้าก่อนการพัฒนา Original Brand

อินโต Into มาจากนามสกุ ล “อิ น ทร์ โ ต” แต่ ตั ด คำ � ตั ว อั ก ษร “ทร์ ” ออกเพื่ อ ให้ ดู ทั น สมัย และสะกดทับศัพท์ภาษาอังกฤษว่า “INTO” Named after their surname ‘Intor’ but with the ‘R’ removed to make it more modern.

70

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


สินค้าที่พัฒนา

ผลิตภัณฑ์ตะกร้าทรงสี่เหลี่ยมเป็นชุด 5 ใบ (1,3) ตะกร้าทรงสูง (2) สตูล (4) และกระบุง (5,6) โคมไฟ (7)

Developed Product

5 sets of square shaped basket (1,3), tall basket (2), stool (4), Thai basket (5,6), and standing lamp designs (7)

กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรศรีพราน นางสาวพิมพ์วิสาร์ อินทร์โต 118 ม.2 ต.ศรีพราน อ.แสวงหา จ.อ่างทอง 14150 พิกัด : 14.727480,100.331925 เบอร์โทรศัพท์ 083-094-5072

Sripran Farmer Community

(1)

(2)

(3)

(4)

(5)

(6)

Ms. Pimvisa Into 118 M.2 T.Sriphan A.Saweang-ha Angthong 14150 GPS : 14.727480,100.331925 Tel. +6681-4942763

(7)

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

71


ช้าวแต๋น RICE CRACKER

72

ผลิตภัณฑ์จากลำ�ไย LONGAN PRODUCTS

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

ผักผลไม้อบกรอบ FRUIT & VEGETABLE CHIP


กลุ่ม ธุรกิจ ขนมไทย THAI SNACKS กล้วยทอดกรอบ BANANA CHIP

ผลิตภัณฑ์ธัญพืช CEREAL PRODUCT THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

73


จากความชอบส่วนตัว

11. “พัฒนาด้วยหัวใจ” กลุ่มข้าวแต๋นทวีพรรณ จังหวัดลำ�ปาง

นายชาญยุทธ อินทร์พรหม

74

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

“ข้าวแต๋น” หรือ ภาคกลางเรียกว่า ข้าว นางเล็ด เป็นขนมโบราณที่ถูกคิดขึ้นจาก ภู มิ ปั ญ ญาชาวบ้ า นเพื่ อ เป็ น การถนอม อาหารในแบบชาวเหนือ โดยจะนำ�ข้าว เหนี ย วที่ เ หลื อ อยู่ ใ นกระติ๊ บ มาปั้ น เป็ น ก้อน ตากแดดให้แห้งเก็บไว้ เมื่อถึงเวลา รับประทาน จะนำ�ไปทอดแล้วราดด้วยนำ�้ อ้อย ส่วนใหญ่จะทำ�เป็นขนมในงานมงคล ช่วงฤดูหนาว เช่น งานปอยหลวง (งานบุญ ใหญ่ของปี) งานบวชลูกแก้ว งานขึ้นบ้าน ใหม่ เป็นต้น เมื่ อ ปี พ.ศ. 2530 ชาญยุ ท ธ อิ น ทร์ พรหม เจ้ า ของกิ จ การ “ข้ า วแต๋ น ทวี พรรณ” ทำ � งานอยู่ ที่ ธ นาคารแห่ ง หนึ่ ง ใน อ.เกาะคา จ.ลำ�ปาง ซึ่งเป็นบ้านเกิด ด้วยความชอบส่วนตัวที่มีมาตั้งแต่เยาว์ วั ย เขาจึ ง มั ก ซื้ อ ข้ า วแต๋ น ไปฝากลู ก ค้ า เสมอ ซึ่งในขณะนั้นข้าวแต๋นมีลักษณะ เป็ น แผ่ น ใหญ่ ข นาดเท่ า ลู ก ปิ่ น โต และ รับประทานยาก เขาจึงมีความคิดที่จะ ทำ�ข้าวแต๋นที่มีขนาดรับประทานได้ง่าย เป็ นของฝากสำ � หรั บจั ง หวั ด ลำ � ปางโดย เฉพาะ เริ่ ม แรก ชาญยุ ท ธตั้ ง ใจจะทำ � ข้ า วแต๋ น ในรู ป แบบแท่ ง เล็ ก ๆ หยิ บ กิ น ได้ ง่ า ย แต่ทำ�ไม่สำ�เร็จ จนเมื่อได้รับคำ�ปรึกษา จากมารดา นางพรรณี อิ น ทร์ พ รหม ให้ ล องทำ � ข้ า วแต๋ น เป็ น แผ่ น สี่ เ หลี่ ย ม


แทน จึงทำ�ได้สำ�เร็จ เขาวางขายข้าวแต๋น แผ่นสี่เหลี่ยมตามสถานีรถไฟและสถานี ขนส่ง ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี ข้าว แต๋นทวีพรรณจึงถือเป็นข้าวแต๋นสีเ่ หลีย่ ม ทีบ่ รรจุกล่องกระดาษขายเป็นเจ้าแรกของ ประเทศไทย ข้าวแต๋นทวีพรรณมีเอกลักษณ์โดดเด่น ที่ หอม มัน กรอบ อร่อย มีประโยชน์ต่อ ร่างกาย และสามารถเก็บไว้ได้นาน โดย ใช้แต่วัตถุดิบชั้นดี เช่น ข้าวเหนียวพันธุ์ กข.6 ที่มีเมล็ดยาวและขนาดใหญ่ มีกลิ่น หอม และอ้ อ ยที่ ป ลู ก โดยวิ ธี ธ รรมชาติ ส่วนกระบวนการผลิตก็ปราศจากสารพิษ สารเคมี และสีผสมอาหาร ถุงกระดาษ บรรจุภัณฑ์พิมพ์เนื้อหาถ่ายทอดเรื่องราว ต่างๆ ของคนเมืองเหนือให้เป็นทีร่ จู้ กั เช่น ภาษาล้านนา ศิลปะ วรรณกรรม อาหาร ค่ า ว (โคลงกลอน) เรื่ อ งตลก สุ ภ าษิ ต เป็นต้น

หลายคู่แข่ง ข้ า วแต๋ น ทวี พ รรณได้ ข ยายตลาดไป ยั ง ต่ า งจั ง หวั ด รวมถึ ง ต่ า งประเทศทั้ ง สหรัฐอเมริกา ไอร์แลนด์ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น ไต้หวัน ฮ่องกง และ จีน จึงได้ตั้งผู้แทนจำ�หน่ายขึ้น แต่ด้วย กำ�ลังการผลิตข้าวแต๋นทวีพรรณไม่เพียง พอต่อการส่งสินค้าทางตัวแทนจำ�หน่าย จึงผลิตขึ้นขายเอง จากนั้นจึงมีข้าวแต๋น ยี่ห้ออื่นเกิดขึ้นอีกมากมาย ในเมื่อความ

ต้องการของตลาดต่างประเทศลดลง ข้าว จุดเด่นของสินค้า แต๋นทวีพรรณจึงเริ่มคิดหาวิธีขยายตลาด ในประเทศมากขึ้น เป็ น ข้ า วแต๋ น จากข้ า วอิ น ทรี ย์ ที่ มี ห ลาย รูปแบบและมีรสชาติไม่เหมือนใคร อาทิ หลากรสชาติชวนลอง ข้าวแต๋นรสวาซาบิ ข้าวแต๋นทรงโดนัท นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารพั ฒ นาบรรจุ ภั ณ ฑ์ ปั จ จุ บั น ข้ า วแต๋ น ทวี พ รรณมี ก ารผลิ ต พร้อมเรื่องเล่าอันเป็นเอกลักษณ์ของทวี ข้ า วแต๋ น ในหลากหลายรสชาติ ได้ แ ก่ พรรณด้วย ข้าวแต๋นนำ�้อ้อย ข้าวแต๋นกระเทียมพริก ไทย ข้ า วแต๋ น หน้ า สาหร่ า ย ข้ า วแต๋ น แนวทางพัฒนา หน้าธัญพืช ข้าวแต๋นครีมงาดำ� ข้าวแต๋น ต้มยำ� ข้าวแต๋นสาหร่าย ข้าวแต๋นหน้า เนื่องจากทวีพรรณเป็นชื่อที่เริ่มจำ�หน่าย ปลา ข้าวแต๋นหมูหยองนำ�้พริกเผา ข้าว สินค้าเป็นของฝากในตลาดนักท่องเที่ยว แต๋น วาซาบิ ข้าวแต๋นสมุนไพร และไม่ ท้องถิ่น ทำ�ให้ภาพลักษณ์แบรนด์อยู่ใน เพียงเท่านั้น ข้าวแต๋นทวีพรรณ ยังตั้งใจ ตลาดระดับท้องถิ่น ไม่สามารถยกระดับ พัฒนาสูตรข้าวแต๋นอื่นๆ เพิ่มเติมอีก เช่น ไปสู่สินค้าของฝากระดับพรีเมี่ยมที่เป็น ข้าวแต๋น ลำ�ไย ข้าวแต๋นทุเรียน และมี ของฝากจากเมืองไทยในสายตาชาวต่าง การพั ฒ นาบรรจุ ภั ณ ฑ์ ใ ห้ ส วยงามเพื่ อ ชาติได้ จึงต้องการการพัฒนาสินค้าให้มี เพิ่มคุณค่าของข้าวแต๋นทวีพรรณให้มาก อัตลักษณ์ท้องถิ่น การสร้างบุคลิกสินค้า และการสร้างภาพลักษณ์แบรนด์สินค้า ขึ้นด้วย ใหม่ ข้าวแต๋นทวี พ รรณดำ � เนิ นธุ ร กิ จมานาน 20 ปี และที่มีวันนี้ได้ก็เนื่องจากคุณภาพ ของข้ า วแต๋ น ที่ ไ ม่ เ คยเปลี่ ย น ด้ ว ยการ เลือกใช้แต่วัตถุดิบอย่างดี ปลอดสารเคมี ไร้สีผสมอาหาร เพื่อให้มีประโยชน์ เพื่อ ผู้บริโภคทุกคน ซึ่งจากนี้ต่อไปข้าวแต๋น ทวี พ รรณมี เ ป้ า หมายที่ จ ะทำ � ให้ “ข้ า ว แต๋น” เป็นที่รู้จักของคนไทยและคนทั่ว โลก

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

75


11. “From the Heart” Khaotan Thaweephan Lampang Proince

76

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


Personal passion

without chemical substances or food colouring. The packaging con‘Khaotan’ is an ancient snack tains northern stories: language, made with the food preparation art, literature and food. wisdom of northern folk. Left over sticky rice is moulded and dried in Facing competitors the sunbefore being topped with molasses.Khaotan was made to Khaotan Thaweephan expanded entertain guests at traditional par- their market to other provinces and countries such as USA, Ireland, ties. Australia, New Zealand, Japan, In 1987, Chaiyuth Inprom, the own- Taiwan, Hong Kong and China. er of Khaotan Thaweephan, was a However, they were low on probanker in his hometown in Ko Kha ductivity because their distributor District, Lampang Province. He al- decided to make their own brand. ways bought khaotan, a snack that Khaotan’s business was becoming he loves, as a gift for his clients. At popular but there many competthat time, khaotan was large and itors. International demand dedifficult to eat so he had the idea creased, so Khaotan Thaweephan to make it easier to eat and turn started to expand in the domestic khaotan into a perfect gift from market.Various Flavours Lampang. Khaotan Thaweephan offered At first, Chanyuth intended to various flavours: molasses syrup, make khaotan in small bar shapes, garlic and pepper, seaweed, cerebut failed. He took his mother’s al, black sesame, tom yam, dried advice to make it in a rectangle shredded pork with chili paste, and was successful. He put his wasabi and, herb, and they crekhoatan on sale at Lampang train ated new recipes like longan and station and other transport hubs, durian and developed new outpackaged in paper bags and it be- standing packaging as well. came very popular among the customers.

Khaotan Thaweephan has been in business for more than 20 years with high quality ingredients. Now they are ready to be well known not only in Thailand, but internationally too.

Product Highlight Khaotan made from organic rice in various designs and flavours: khaotan wasabi and doughnut shaped khaotan. They also improve packaging to tell the unique story of Thaweephan.

Developing Trail Thaweephan started their brand as a local souvenir which made their image in the local market so they want to develop their brand to appeal to the international market with unique products and a new brand image.

Khaotan Thaweephan is crisp, yummy, healthy and can be stored for a long time. They use high quality ingredients THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

77


ตราสินค้าก่อนการพัฒนา Original Brand

ฉัตรคำ� Chatkum แบรนด์เดิม คือ ทวีพรรณ เป็นแบรนด์ ยุคเริ่มต้นของสินค้าข้าวแต๋นเมืองลำ�ปาง แต่ เ พราะเริ่ ม ทำ �ตลาดในระดั บ ท้ อ งถิ่ น ทำ�ให้ภาพลักษณ์ของสินค้าไม่สามารถ ยกระดั บ ขึ้ น ได้ แ ละถู ก จำ � กั ด ด้ ว ยราคา เจ้าของแบรนด์จึงต้องการสร้างแบรนด์ ที่ฉีกออกไปจากเดิม เพื่อยกระดับสินค้า ขึ้ น ไป รวมทั้ ง สามารถสร้ า งมู ล ค่ า ได้ มากกว่าเดิม จึงเกิดชื่อ “ฉัตรคำ�” ที่สื่อ ถึ ง สิ่ ง สู ง อั น เป็ น มงคลสำ � หรั บ คนภาค เหนือ The formal name was ‘Thaweephan’ which is the brand that started Lampang Province’s khaotan. Started do the marketing in local cause them disadvantage by couldn’t upgrade the product

78

and it’s price so the owner need new brand to improve their product and value. Finally they decided on the name of ‘Chatkum’, which is highly propitious for northern folks.

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


สินค้าที่พัฒนา

ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้า ลำ�ไย (1) ข้าวแต๋นรสถ่านมะพร้าว (2) และข้าวแต๋นแกงฮังเล (3)

Developed Product

Longan khaotan (1), coconut charcoal khaotan (2) and kang hung lae khaotan (3) product and packaging

ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด ทวีพรรณ โปรดักส์

นายชาญยุทธ อินทร์พรหม 20/258 ถ.ประชาชื่น ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 พิกัด : 18.140453,99.362175 เบอร์โทรศัพท์ : 081-8367463, 02-5752379 โทรสาร : 02-5752380 Khaotan Thaweephan Products Partnership Mr.Chanyut Inphrom

(1)

(2)

(3)

20/258 Prachacheun Rd. T.Bangtalard A.Parkret Nontaburi 11120 GPS : 18.140453,99.362175 Tel.+6681-8367463,+662-5752379 Fax. +662-5752380

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

79


12. “แบรนด์ที่แข็งแกร่งผลักดันสินค้าคุณภาพ” กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านริมร่อง จังหวัดลำ�พูน

นางสาวปิยะภรณ์ สมพงษ์

80

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


ลำ�พูนคือลำ�ไย

กระบวนการผลิตเริ่มต้นจากการคัดเกรด ลำ�ไยพันธุอ์ ีดอลูกใหญ่ สด มาปอกเปลือก ลำ�พูนเป็นจังหวัดที่ปลูกลำ�ไยมากที่สุดใน เอาเม็ดออก นำ�มาล้างนำ�ก้ อ่ นเรียงในถาด ประเทศไทย ทั้งลำ�ไยอีดอ ลำ�ไยสีชมพู และเข้าอบในอุณหภูมิ 70 องศา จนได้ ลำ�ไยกะโหลก และลำ�ไยเบี้ยวเขียว แต่ ลำ�ไยอบแห้งสีทอง ลำ�ไยที่ปลูกมากที่สุด และนำ�มาแปรรูป เป็ น ลำ � ไยอบแห้ ง เนื้ อ สี ท องได้ ส วยงาม ผนึกกำ�ลังต่อรอง เพียงพันธุ์เดียว คือ ลำ�ไยพันธุ์อีดอ เพราะ พืน้ ทีใ่ นแถบ ต.มะเขือแจ้ อ.เมือง จ.ลำ�พูน หลังจากที่มีการแปรรูปลำ�ไยสดเป็นลำ�ไย นั้นเป็นดินร่วนปนทรายปลูกลำ�ไยพันธุ์ อบแห้งแล้วชาวบ้านทีท่ �ำ สวนลำ�ไยก็มรี าย ได้เพิ่มมากขึ้น และเริ่มมีการทำ�ลำ�ไยอบ อีดอได้ดีมีคุณภาพ แห้งกันอย่างกว้างขวาง และเป็นที่นิยม ปิยะภรณ์ สมพงษ์ เลขานุการกลุ่มและ ของผู้บริโภคมากขึ้น ครอบครัวของเธอทำ�สวนลำ�ไยมาตั้งแต่ ดั้งเดิมเช่ น เดี ย วกั บ คนในพื้นที่ แต่เ มื่อ แต่ ต้ อ งเผชิ ญ กั บ ปั ญ หาในการกำ � หนด ลำ�ไยสดราคาตก คนในครอบครัวจึงช่วย ราคา คือ ผูผ้ ลิตไม่สามารถต่อรองราคาได้ กั น คิ ด หาทางออกโดยการนำ � ลำ � ไยมา ทำ�ให้ล�ำ ไยอบแห้งสีทองทีค่ วรขายได้ราคา แปรรูปเป็นลำ�ไยอบแห้งเพื่อเพิ่มราคาให้ ดีกลับขายได้ในราคาไม่สงู นัก เมือ่ เล็งเห็น กับลำ�ไยที่มีอยู่แต่เดิม จึงเป็นจุดเริ่มต้น ปัญหานี้ผู้ผลิตลำ�ไยอบแห้งจึงตกลงรวม ของ “สวัสดีลำ�ไย” ลำ�ไยอบแห้งเนื้อสี กลุ่มกันเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่ บ้านริมร่อง เพื่อกู้เงินจากธนาคารเพื่อ ทองขึ้น การเกษตรและสหกรณ์มาแปรรูปลำ�ไยอบ ทั้งนี้การทำ�ลำ�ไยอบแห้งเป็นภูมิปัญญา แห้งให้ได้มาตรฐานมากขึน้ เพิม่ อำ�นาจใน แต่ดั้งเดิมของชาวบ้านที่สืบทอดกันมา การต่อรองกับคู่ค้า และสามารถกระจาย จากรุ่นสู่รุ่น ชาวบ้านจะนำ�ลำ�ไยสดไป สินค้าคุณภาพดีสู่ตลาดในประเทศและ อบโดยใช้ เ ตาถ่ า นเพื่ อ ถนอมให้ ลำ � ไย ต่างประเทศ เก็บได้นาน ซึ่งวิธีการนี้ยังคงมีใช้จนถึง สร้างแบรนด์ให้แข็งแกร่ง ปั จ จุ บั น “สวั ส ดี ลำ � ไย” เองก็ เริ่ ม อบ ลำ�ไยโดยวิธีนี้เช่นกัน ก่อนจะเปลี่ยนมา ขณะนีท้ างกลุม่ มีความตัง้ ใจในการพัฒนา ใช้แก๊สอบในเตาสังกะสี และพัฒนามา ผลิตภัณฑ์จากลำ�ไยและบรรจุภัณฑ์เพื่อ เป็นการใช้เตาระบบอินฟาเรตอย่างใน วางขายทัง้ ในและต่างประเทศ รวมถึงการ ปัจจุบัน พัฒนาแบรนด์ของตัวเองเพื่อเพิ่มคุณค่า

ให้กบั ผลิตภัณฑ์ได้มากขึน้ โดยก่อนหน้านี้ ขายลำ�ไยอบแห้งได้ราคากิโลกรัมละ 100200 บาท แต่เมื่อมีแบรนด์ “สวัสดีลำ�ไย” สามารถขายได้ถึงกิโลกรัมละ 500 บาท การมีแบรนด์เป็นของตัวเองทำ�ให้ตอ่ สูก้ บั ชาวต่างชาติที่เริ่มเข้ามาสร้างโรงงานใน ประเทศไทยมากขึ้น นอกจากนี้ ท างกลุ่ ม ยั ง มี เ ป้ า หมายที่ จ ะ เป็นตัวอย่างในการสร้างแบรนด์ลำ�ไยอบ แห้งให้กลุ่มอื่นๆ ในท้องที่เพื่อส่งสินค้า ออกขายต่างประเทศได้ด้วยตัวเอง เพื่อ ยำ�้เตือนว่า จ.ลำ�พูน คือ ต้นกำ�เนิดของ ลำ�ไยอบแห้งสีทองที่มีคุณภาพที่สุดและ สามารถถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้ให้ คนรุ่นหลังต่อไป

จุดเด่นของสินค้า ลำ�ไยทุกเม็ดคัดเกรด 3 เอ คือ ขนาดใหญ่ สุดมาผ่านกระบวนการผลิตทีไ่ ด้มาตรฐาน ทุกขั้นตอนเสร็จภายในวันเดียว จึงมั่นใจ ในรสชาติของลำ�ไยแท้ 100 เปอร์เซ็นต์ ที่ไม่มีการแต่งเติมสีสันและรสชาติ ทั้งนี้ ทางกลุ่มยังมีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์และ ตราสินค้าให้แตกต่างโดดเด่นจากสินค้าคู่ แข่งในท้องถิ่นด้วย

แนวทางพัฒนา การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่ใช้ลำ�ไย เป็นจุดขาย เพื่อเพิ่มความหลากหลายให้ กับสินค้า

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

81


12. “Strong branding and high quality product” Ban Rim Rong Community Enterprise Lamphun Province 82

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


Lamphun is longan

Enterprise, and borrowed money Product Highlight to increase the process’ standards Lamphun Province is the largest and be able to negotiate with trad- They choose 3A grade longan, the biggest one, processed through area of longan farms in Thailand. ing partners. high standard production within Edor longan is the most popular Strong branding one day. They are 100 percent species growing in Makhuajae Disconfident in the undisguised taste trict. It’s the only species that can produce golden coloured dried Ban Rim Rong Community Enter- and colour and they also improve prise intended to develop longan their packaging to differentiate longan. products and packaging for do- from other local products. Piyaporn Sompong, secretary of mestic and international sale. Ban Rim Rong Community EnterDeveloping Trail prise, and her family have always Foreseeing how much profit they had a longan farm as well as other could make, the Community En- Create new products using longan local folk, but when longan’s price terprise decided to create their as a selling point and introduce dropped they decided to bring in own brand and took an example more variety to the product. the ‘Sawaddee Longan’ process from Sawaddee Longan that could by turning fresh longan into golden more than double the original dodried longan to increase the price. mestic price from 200 to 500 baht per kilogram and also could be Making dried and preserved lon- able to fight the superpower that gan is traditional wisdom passed had started building their own facon through generations. Sawaddee tories in Thailand. Longan began in the original way, using a stove and then infrared The Community Enterprise also oven, roasted at 70C until it is per- wanted to be a good example for other communities about branding fectly golden dried longan. to represent that their province. Lamphun Province is the origin of Assemble for better high quality golden dried longan. negotiation Dried longan is popular with both Thai and foreign customers but the vendors couldn’t fix the price themselves. They decided to found Ban Rim Rong Community THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

83


ตราสินค้าก่อนการพัฒนา Original Brand

ริมเดอรอง Rim De’ Rong ที่มาของชื่อมาจากชื่อ บ้านริมร่อง ซึ่ง เป็นที่ตั้งของกลุ่ม และเป็นแหล่งที่ปลูก ลำ�ไยพันธุ์อีดอที่สำ�คัญของจังหวัดลำ�พูน ทั้งนี้ ชื่อ ริมร่อง ถูกแผลงเสียงเป็น ริมเด อรอง ฟังดูคล้ายแบรนด์ต่างชาติแต่ยังสื่อ ถึงแหล่งผลิตลำ�ไยของบ้านริมร่องและยก ระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์เทียบเท่าระดับ สากล ด้วยเทคโนโลยีการอบที่ถูกหลัก อนามัย ได้มาตรฐาน The name is based on ‘Ban Rim Rong’, the area of the Community Enterprise and the source of Edor longan at Lamphun Province. Rim Rong was adapted to sound more international but remains true to the original area and upgrades the brand with high technology standard.

84

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


สินค้าที่พัฒนา

ผลิตภัณฑ์พร้อมบรรจุภัณฑ์ นำ�้ตาล กรวดลำ�ไย (1) ลำ�ไยเคลือบช็อคโกแลต (2) และขนมผิงหน้าลำ�ไย (3)

Developed Product

Longan crystalline sugar (1), chocolate coat longan (2) and kanom ping longan (3)

วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านริมร่อง นางสาวปิยะภรณ์ สมพงษ์ 288 ม.7 ต.มะเขือแจ้ อ.เมือง จ.ลำ�พูน 51000 พิกัด : 18.622914,99.099006 เบอร์โทรศัพท์ 084-613-6368

Ban Rim Rong Community Enterprise Miss.Piyaporn Sompoung 288 M.7 T.MakhueaChae A. Mueang Lamphun 51000 GPS : 18.622914,99.099006 Tel.+6684-613-6368 (2) (1)

(3)

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

85


13. “สินค้าดี เกษตรกรยั่งยืน” กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม

นางกัลยา จึงสมานญาติ

86

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


วัตถุดิบในท้องถิ่นคือกุญแจสำ�คัญ วัตถุดิบสดใหม่ในท้องถิ่นของ จ.นครปฐม นำ�เสนอแต่สิ่งดีๆ เพื่อความยั่งยืน ในช่วงเศรษฐกิจตกตำ่� พ.ศ.2540 มีคนว่าง งานเพิ่มจำ�นวนมากขึ้น กัลยา จึงสมาน ญาติ จึงได้จดั ตัง้ กลุม่ วิสาหกิจชุมชนสนาม จันทร์ขนึ้ โดยเริม่ จากการทำ�ไวน์ผลไม้ แต่ ก็ไม่ประสบความสำ�เร็จ จากนั้นจึงได้หัน ไปสนใจเรื่องสุขภาพแล้วเริ่มผลิตชาใบ หม่อน แต่กต็ อ้ งประสบปัญหาในเรือ่ งการ ต่อยอดสินค้า อย่ า งไรก็ ดี กลุ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนสนาม จันทร์ก็ไม่ได้ลดละความตั้งใจพยายาม จึงเริ่มมองหาวัตถุดิบในตลาดท้องถิ่น ซึ่ง จ.นครปฐม มีผกั และผลไม้จ�ำ นวนมาก จึง นำ�มาทดลองทำ�ผักและผลไม้อบกรอบ ทัง้ ขนุน สับปะรด กล้วย ข้าวโพดอ่อน และ กระเจีย๊ บเขียว นำ�ออกขายในงานออกร้าน ต่างๆ พบว่า เป็นที่ชื่นชอบของลูกค้าโดย เฉพาะกระเจี๊ยบเขียว เมื่อหาข้อมูลเพิ่ม เติมจึงได้พบว่า กระเจีย๊ บเขียวเป็นอาหาร ทีม่ ปี ระโยชน์และรับประทานเป็นยาได้ มี สรรพคุณสร้างเม็ดเลือดแดง บำ�รุงสมอง และกระดูก เคลือบแผลในกระเพาะ และ อีกมากมาย จึงตัดสินใจพัฒนาต่อมา รวม ถึงมีการคัดเลือกผักอื่นที่มีประโยชน์ต่อ สุขภาพ เช่น บร็อคโคลี่ เห็ดหอม และเห็ดโ คนญี่ปุ่น มาทำ�ด้วย จุ ด เด่ น ของผั ก อบกรอบไพรทิ พ คื อ วัตถุดิบสดใหม่ในท้องถิ่นของ จ.นครปฐม มี ค วามหวานของผั ก ตามธรรมชาติ

มีความหวานของผักตามธรรมชาติอยู่ใน ตัว กระบวนการผลิตผ่านเครื่องอบและ เครือ่ งทอดสุญญากาศ ทอดในอุณหภูมติ �ำ ทำ�ให้น�ำ ม้ นั ่ ติดอยูใ่ นผักเพียง 2 เปอร์เซ็นต์ เท่ า นั้ น คงคุ ณ ค่ า ทางอาหารไว้ ไ ด้ ม าก รสชาติกลมกล่อม

สู้ไม่ถอย แรกเริ่ ม ทางกลุ่ ม ได้ รั บ ทุ น ในการซื้ อ เครื่องจักรทั้งเครื่องทอดสุญญากาศและ เครื่องอบสุญญากาศ แต่เนื่องด้วยค่าใช้ จ่ายในการซ่อมบำ�รุงและค่าอะไหล่ของ เครือ่ งจักรมีราคาแพง จึงทำ�ให้ตอ้ งหาเงิน ทุนเพิ่มมากขึ้น ในขณะเดียวกัน แรงงาน ที่มีเป็นคนในท้องถิ่นทั้งหมดจึงมีจำ�นวน ไม่มาก ทำ�ให้ไม่สามารถตอบรับการสัง่ ซือ้ จำ�นวนมากได้ ส่วนปัญหาที่ใหญ่ท่ีสุด คือ เมื่อครั้งมหา อุทกภัยปี พ.ศ.2553 กระเจี๊ยบเขียวใน คลังหมด ทำ�ให้ไม่สามารถผลิตสินค้าได้ แต่ยังคงต้องจ่ายค่าแรง ต้องใช้เงินทุน ที่เตรียมไว้สำ�หรับการปรับปรุงโรงงาน จนเมื่อนำ�้ลด แทนที่กระเจี๊ยบที่ปลูกจะ งอกงามแต่กลับถูกแมลงลงทำ�ให้ผลผลิต เสี ย หาย โรงงานไม่ มี วั ต ถุ ดิ บ สำ � หรั บ การผลิตเป็นระยะเวลานานถึง 5 เดือน อย่ า งไรก็ ดี หลั ง จากสถานการณ์ เริ่ ม ดี ขึ้น กลุ่มก็เริ่มกลับมาส่งสินค้าให้ลูกค้าได้ เหมือนเดิม ด้วยความหวังว่ามีโอกาสจะ ขยายโรงงานต่อไป

ปัจจุบนั กระเจีย๊ บเขียวอบกรอบของกลุม่ มี หลากรสให้เลือกรับประทาน ทัง้ รสดัง้ เดิม สาหร่าย ต้มยำ� วาซาบิ ลาบ ถึงแม้จะทำ� กระเจี๊ยบเขียวเป็นหลักแต่ก็มีการทดลอง ทำ�ผักอื่นๆ เพิ่มเติมอยู่เสมอ รวมถึงตั้งใจ จะพัฒนาผักทีน่ �ำ มาแปรรูปทัง้ หมดให้เป็น ออแกนิคต่อไป กลุ่ ม ยั ง คงก้ า วต่ อ ไปอย่ า งมั่ น คงเพื่ อ นำ � เสนอสิ น ค้ า คุ ณ ภาพและส่ ง เสริ ม เกษตรกรและแรงงานในพื้ น ที่ ไ ด้ อ ย่ า ง ยั่งยืน

จุดเด่นของสินค้า ผัก ผลไม้ อาทิ กระเจีย๊ บเขียว ขนุน บร็อค โคลี่กรอบ เห็ด ที่ผ่านการทอดด้วยระบบ สุ ญ ญากาศที่ จ ะคงรสชาติ สี สั น ของ วัตถุดิบไว้ได้ ทั้งนี้อาจมีการเพิ่มการปรุง รสเพื่อเพิ่มรสชาติ

แนวทางพัฒนา ต้องการสร้างบุคลิกของผลิตภัณฑ์หรือ ผลิตภัณฑ์ใหม่ในแนวเพือ่ สุขภาพทีม่ คี วาม น่าสนใจ น่ารับประทาน ตลอดจนเป็นใช้ ของขวัญของฝากในงานเทศกาลสำ�คัญได้ รวมถึงการสร้างตราสินค้าใหม่ที่แตกต่าง ไปจากแบรนด์ไพรทิพทีใ่ ช้อยูเ่ พือ่ เพิม่ ช่อง ทางการตลาด

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

87


13. “Good Product for Good Agriculture” Sanamjan Community Enterprise Nakhonpathom Province

88

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


Local ingredients are the key of these health benefits from their Nevertheless, the situation got products, they tried using other vegetables such as broccoli, shitake mushroom, and Yanagi Mutsutake as well. Prai Tip Crispy Baed vegetables were made from Nakhonpathom local ingredients full of natural sweetness. The vacuum bake and fry machines were used to keep the quality, health benefits, and the great taste of vegetables.

Because of the economic depression in 1997, the number of unemployed people was greatly increased. Kalaya Jungsamanyard decided to establish Sanamjan Community Enterprise. They started with a wine business, but it did not yield a successful result. Therefore, they turned to the health business by producing Mulberry tea, yet they still faced a problem with the product devel- Keep fighting opment. At first the Community Enterprise However, with high spirits, Sanam- purchased both the vacuum bake jan Community Enterprise contin- and fry machines. This caused ued to search for raw ingredients them a problem since the maintefrom local markets. Nakhonpath- nance budget of the machines was om had a lot of fruits and vege- high. Also there was not enough tables, Sanamjan Community En- local labour so they were not able terprise tried to produce crispy to deal with the high demand of baked fruits and vegetables from the market. The biggest problem jackfruit, pineapple, banana, baby was when there was a big flood in corn and, okra and introduced 2010 which caused a lack of okra their products at local fairs. This in their stock making them unable time, the customers were very to produce the product, but still pleased with their products espe- having to pay for the labour. A cially the best-selling crispy baked fund for building a new factory okra. After much research, Sanam- was used to fix the problem. Unjan Community Enterprise found fortunately, after the flood, the that okra had many health bene- damage to the okra field was refits such as increasing haemoglo- vealed so the factory was short of bin, nurturing brain and skeletons, okra for 5 months. and preventing gastric ulcers. Because

better and the Sanamjan Community Enterprise regained their customers with the hope of expanding the business.

Strong branding Sanamjan Community Enterprise offered various flavours of crispy fried okra: Original, Seaweed, Wasabi, and Larb, and products from other vegetables along with the idea of developing their vegetables into organic food. Sanamjan Community Enterprise continued to introduce good quality products and support local farmers and labour as they always do.

Product Highlight Cooked fruits and vegetables: okra, jackfruit, broccoli, mushroom etc. through vacuum bake and fry machines to keep the quality, health benefits, colour and the great taste of vegetables.

Developing Trail Create an interesting healthy product personality which is delicious and suitable to be a souvenir for special occasions. They also create new outstanding brands to increase market channels.

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

89


ตราสินค้าก่อนการพัฒนา Original Brand

ไดจี Daijie ไดจิเกิดจากคำ�ว่า “ดีใจ” โดยเจ้าของ แบรนด์ได้แรงบันดาลใจมาจากแบรนด์ เดิมที่ใช้อยู่ ภายใต้ชื่อไพรทิพ (Pritip) ซึ่ง ไม่สามารถจดตราสินค้าได้เพราะเป็นคำ� สามัญ จึงต้องหาคำ�ทีค่ วามหมายดีและสือ่ ถึงผลิตภัณฑ์ คำ�ว่า ดีใจ จึงเกิดขึ้น โดยมี การผวนคำ�เป็น ไดจี Inspired by the former name ‘Pritip’ that couldn’t be registered, ‘Daijie’ is a spoonerism of ‘Dejai’ which means delightful in Thai.

90

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


สินค้าที่พัฒนา

ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ชุดของขวัญ ผัก 5 สี (1) ผักอบกรอบ 5 สี (2) ผักอบ กรอบแยกรส (3) และผลไม้รวม (4)

Developed Product

baked vegetable gift set (1), 5 Colours baked vegetable product and packaging (2), baked vegetable (3), and Mixed fruits (4)

วิสาหกิจชุมชนสนามจันทร์

นายพิชยา จึงสมานญาติ 4/30 หมู่ที่ 2 ต. สนามจันทร์ อ. เมือง จ. นครปฐม 73000 พิกัด : 13.804018,100,047555 เบอร์โทรศัพท์ 034-218367, 087-6777477, 089-8818438 แฟกซ์ 034-218368

(1)

(2)

(3)

(4)

Sanamchan Community Enterprise Mr.Pichaya Chnengsamarnyart 4/30 M.2 T.Sanamchan A.Mueng Nakonpatom 73000 GPS : 13.804018,100,047555 Tel. +6634-218367, +6687-6777477, +6689-8818438 Fax +6634-218368

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

91


14. “กล้วยหอมไทยไปต่างประเทศ” กลุ่มอาชีพผลไม้สดและผลผลิตเกษตรแปรรูป จังหวัดนครปฐม

นางวันดี ไพรรักษ์บุญ

92

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


เรื่องกล้วยๆ ที่ไม่กล้วย วั น ดี ไพรรั ก ษ์ บุ ญ กรรมการกองทุ น หมู่บ้าน คิดหาวิธีการเพิ่มรายได้ให้กับ สมาชิก ในกองทุ น โดยเริ่มจากของที่มี อยู่ในท้องถิ่น อ.สามพราน จ.นครปฐม พบว่าเป็นท้องที่ที่สามารถปลูกผลไม้ได้ นานาชนิด จึงได้มีการทดลองทำ�ผลไม้มา แปรรูปขึ้น แม้ในท้องถิ่นจะมีผลไม้อยู่นานาชาติ แต่ “กล้วย” เป็นผลไม้ที่มีมาก แปรรูปง่าย และกินง่ายสำ�หรับคนทุกวัย แต่ในขณะ นัน้ มีกล้วยนำ�ว้ า้ และกล้วยไข่ในท้องตลาด มาก จึงเลือกนำ� “กล้วยหอม” มาแปรรูป เป็นกล้วยหอมทอดซึ่งนอกจากจะแตก ต่างจากกล้วยชนิดอื่นที่มีอยู่ในท้องตลาด แล้ว ยังเป็นการช่วยเกษตรกรอีกทางหนึง่ ด้วย เพราะกล้วยหอมจะขายได้ราคาดีใน ช่วงเทศกาลเท่านั้น การนำ�มาแปรรูปจะ ทำ�ให้เกษตรกรสามารถขายกล้วยหอมได้ ตลอดทั้งปี ต่อมามีการก่อตั้ง “กลุ่มอาชีพผลไม้สด และผลผลิตเกษตรแปรรูป” ขึ้นมา เริ่ม แรกมีสมาชิกเพียงไม่กี่คน ทดลองทอด และกินกันเองในกลุม่ อยูห่ ลายเดือน ซึง่ ใน ช่วงนั้นต้องแบกรับค่าใช้จ่ายและขาดทุน อยูม่ ากพอสมควร จนกระทัง่ ได้ไปออกงาน วันวิชาการของโรงเรียนนาคประสิทธิ์ ซึ่ง ได้ รั บ เสี ย งตอบรั บ เป็ น อย่ า งดี ทั้ ง จาก นักเรียนและผูป้ กครอง และยังได้รบั เลือก เป็นสินค้าโอทอป

จุ ด เด่ น ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ คื อ การเลื อ กใช้ กล้ ว ยหอมเท่ า นั้ น ในการนำ � มาแปรรู ป เป็ น “กล้ ว ยหอมอบเนย” เนื่ อ งจาก กล้วยหอมเป็นกล้วยที่ไม่เคยมีใครนำ�มา แปรรูปในลักษณะนี้มาก่อน โดยจะคัด เลือกกล้วยหอมทองที่มีคุณภาพ เพื่อให้ ได้ ก ล้ ว ยทอดออกมาเป็ น สี เ หลื อ งทอง กล้วยต้องไม่แก่จัด เนื้อเนียนและมีความ หอมมันพอดี และเน้นการทำ�เป็นกล้วย สุ ข ภาพเพื่ อ ให้ กิ น แทนขนมขบเคี้ ย ว ได้

กล้วยไทยโกอินเตอร์

ปัจจุบัน กล้วยหอมอบเนยเพลิน มีทั้ง รสธรรมชาติ รสหวาน และรสเค็ม และ กำ�ลังพัฒนาสูตรใหม่เพื่อให้ได้กล้วยอบ ห้าสี และดัดแปลงเป็นซีเรียลธัญพืชเพื่อ ให้เข้ากับกระแสรักสุขภาพมากขึน้ รวมถึง นำ�กล้วยชนิดอื่นๆ เช่น กล้วยไข่ กล้วยนำ�้ ว้า มาผสมในผลิตภัณฑ์ด้วย ในเวลาเพียง 4 ปีกว่า กล้วยหอมอบเนยเพลินเติบโตขึน้ อย่างรวดเร็ว มีการนำ�เครื่องจักรเข้ามา ในการผลิต มีเงินทุนที่จะนำ�มาใช้ต่อยอด เสียงตอบรับที่ท่วมท้น มากขึ้น ต่อจากนี้กล้วยหอมอบเนยเพลิน มี ค วามมุ่ ง มั่ น ที่ จ ะเติ บ โตในตลาดต่ า ง กลุ่ ม เพิ่ ง ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ ต้ น ปี พ .ศ.2553 ประเทศต่อไป และประสบความสำ�เร็จในช่วงปลายปี บวกกับการสั่งซื้อที่เข้ามามากหลังได้ไป จุดเด่นของสินค้า ออกร้านในงานต่างๆ ทำ�ให้งานเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ว แรงงานและวัตถุดิบที่มีจึง กล้วยหอมทองดิบหั่นบางกรอบ ไม่อมนำ�้ ไม่ เ พี ย งพอ จึ ง ต้ อ งพยายามหาเงิ น ทุ น มัน มีรสชาติหลากหลาย โดยทีไ่ ด้รบั ความ นิยมมากทีส่ ดุ คือ กล้วยหอมอบเนย อีกทัง้ เพิ่ม บรรจุภัณฑ์ยังสามารถดึงดูดใจลูกค้าและ ต่อมาเมือ่ ได้เงินทุนมาสร้างโรงเรือนทำ�ให้ สร้างความเชือ่ มัน่ ในคุณภาพของสินค้าได้ การทำ�งานเป็นไปได้ง่ายขึ้น ทั้งยังได้ทุน เป็นอย่างดีด้วย ในการทำ � บรรจุ ภั ณ ฑ์ เ พิ่ ม เติ ม ด้ ว ย แต่ แนวทางพัฒนา ราคานำ�้มันปาล์มที่ใช้ในการทอดกล้วย ขึ้นราคา จึงต้องลดจำ�นวนในการผลิต การพั ฒ นาสิ น ค้ า ใหม่ จ ากเศษกล้ ว ยที่ และรับคำ�สั่งซื้อให้น้อยลง แต่ทางกลุ่ม แตกหักจากกระบวนการผลิต การเพิ่ม ยังคงผลิตต่อไปเพื่อรักษาฐานลูกค้าที่มี ลู ก เล่ นในผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ ให้ เกิ ด สี สั น แต่ อยู่แต่เดิมไว้ให้ได้มากที่สุด จนในที่สุด ก็ ยังคงไว้ซึ่งความเป็นสินค้าแนวธรรมชาติ สามารถผ่านช่วงยากลำ�บากนั้นมาได้โดย เพื่อเป็นการเพิ่มทางเลือกให้กับลูกค้าใน ยังรักษาลูกค้าเดิมไว้ได้และมีลูกค้าเพิ่ม แต่ละกลุ่มที่มีความต้องการสินค้าแตก มากขึ้น ต่างกัน THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

93


14. “World Class Thai Banana” Processed Fresh Fruit and Farm Products Community Nakornpathom Province

94

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


Not easy

The unique selling point of the product is their use of high qualSampran District, Nakorn Pathom ity golden banana that give crisp, Province has a strong Village Fund, lightly sweet, tasty and healthy but Wandee Prirakbun, one of the golden chips snacks. fund committee, was still seeking extra income for members. Since Overwhelming Welcome fruits are easy to grow in the area, Wandee decided to make more Starting in 2009 and becoming successful in the same year, increasprocessed fruits, starting with ing orders resulted in insufficient banana. labour and ingredients, so they Banana is easily processed and had to look for more budget. They popular among consumers, but built new buildings and designed that time, there was excess supply new packaging and, the business of banana in the market, so they ran smoothly. chose to produce fried golden banana because no one had made When the palm oil price increased, them before. Golden banana only making banana chips cost more has a good price during the festival money so they had to reduce seasons (like Chinese New Year),- large orders but still produced in a so to process golden banana is to non-profit way for customer retention. Finally they got through that help farmers as well. hard time. Later, the Processed Fresh Fruit and Farm Products Communitywas founded. At first few people International Thai Banana joined. They tried and tasted banana chips by themselves. In the Plearn Banana Chips offers varimeantime, the Community suf- ous flavours: original, sweet and fered from costs and loss until salty. They are also developing they won OTOP Plus and business new products such as 5 coloured got better. banana chips, banana cereal and combining other kinds of banana in one product.

In only 4 years, Plearn Banana Chips have grown quickly to become strong in the domestic market and they are now ready to present in the international market.

Product Highlight Golden banana thinly sliced and fried with various flavours. The most popular one is golden banana buttery chips. The packaging helps attract and inspire confidence in customers regarding product quality.

Developing Trail Developing from broken pieces of banana chips create new tactics in the product while remaining natural.

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

95


ตราสินค้าก่อนการพัฒนา Original Brand

เพลย์-ลิน Playlin เดิมเจ้าของใช้ชื่อแบรนด์ว่า เพลิน แต่ ต้ อ งการมี ชื่ อ แบรนด์ ใ หม่ ว่ า “กล้ ว ย หรรษา” แต่ เ ป็ น ชื่ อ ที่ ไ ม่ ส ามารถจด เครื่องหมายการค้าได้ จึงใช้ชื่อว่า “เพลิน” มาจากคำ�ว่าเพลินชื่อแบรนด์เดิม แต่ เขี ย นเป็ น ภาษาอั ง กฤษว่ า “PLAYLIN” ต้องการสื่อถึงคำ�ว่า Play ที่แปล ว่าเล่น The former name of golden banana chips is ‘Plearn.’ but they wanted to create a new name, ‘Hansa Banana’, but couldn’t register it so they came up with the name ‘Playlin’. Playlin came from the former name ‘Plearn’ but uses the thai homophone ‘Play-lin’ in English instead.

96

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


สินค้าที่พัฒนา

ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์กล้วย 5 อย่าง (1) กล้วยสุก (2) และกล้วยซีเรียล (3)

Developed Product

5 kinds of banana snack (1), ripened banana (2) and banana cereal (3)

กลุ่มอาชีพผลไม้สดและผลผลิต เกษตรแปรรูปบ้านดอนทอง

นางวันดี ไพรรักษ์บุญ 88/1 หมู่ที่ 4 ต.คลองใหม่ อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110 พิกัด : 13.732343,100.187143 เบอร์โทรศัพท์ 034-980189, 087-4002667, 090-1405205 Bann Donthong Processed Fresh fruit and Farm Products Community Ms. Wandee Phrairakboon 88/1 M.4 T. Klongmai A.samphran NakhonPathom 73110 GPS : 13.732343,100.187143 Tel.+6687-400-2667, +6634-980189, +6690-1405205 (1)

(2)

(3)

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

97


15. “ก้าวช้าๆ แต่มั่นคง” ซองเดอร์ ไทยออกานิคฟูด จังหวัดนนทบุรี

นางสุวรรณา จิวัฒนไพบูลย์

98

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


เริ่มจากวัตถุดิบคุณภาพ เริ่มแรก ผลิตภัณฑ์ธัญพืชเกษตรอินทรีย์ ชื่อ ซองเดอร์ มีสินค้าเพียงขนมธัญพืช เท่ า นั้ น ซึ่ ง ต่ อ มาได้ มี ก ารพั ฒ นาทั้ ง ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์เพิ่มขึ้น ทั้งใน รูปแบบแท่ง โจ๊กข้าวกล้องเต็มเม็ด ข้าว กล้องงอกสำ�หรับเด็ก โดยทุกผลิตภัณฑ์ จะเลื อ กใช้ แ ต่ คุ ณ ภาพวั ต ถุ ดิ บ ที่ ดี ที่ สุ ด เท่านั้น ความโดดเด่นของซองเดอร์จึงเป็นเรื่อง ของการคั ด สรรวั ต ถุ ดิ บ ในท้ อ งถิ่ น ที่ ห า ง่ายและไร้สารพิษ การใช้ข้าวและธัญพืช คุณภาพดีจากเกษตรกรภายในประเทศ ทั้งหมด

เสริมสร้างกำ�ลังใจให้กัน ในช่ ว งแรกซองเดอร์ ป ระสบปั ญ หา เล็ ก น้ อ ยในการบริ ห ารจั ด การภายใน สำ�นักงาน เนื่องจากซองเดอร์ให้ความ สำ�คัญกับระบบภายในเพื่อให้ผลที่ออก มาดีที่สุดทั้งสำ�หรับซองเดอร์เองและผู้ มาติดต่อ ปัจจุบันแม้การบริหารงานของ ซองเดอร์จะเป็นระบบระเบียบแล้ว หาก แต่ซองเดอร์ยังไม่หยุดยั้งการพัฒนาเพื่อ เป็ น เป็ น โรงงานที่ เ ป็ น มาตรฐานสากล ต่ อ ไปและในขณะเดี ย วกั น นี้ เ องคุ ณ สุ วรรณา จิวัฒนไพบูลย์ ผู้ก่อตั้งซองเดอร์

ก็ ยั ง ต้ อ งใช้ ค วามพยายามอย่ า งมาก ในการผลั ก ดั น เกษตรกรให้ ทำ � เกษตร อิ น ทรี ย์ เนื่ อ งจากเกษตรกรส่ ว นใหญ่ เห็นว่าเกษตรอินทรีย์ไม่เห็นผลที่ชัดเจน ในเร็ววัน แต่เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน จึง ไม่หยุดความพยายาม สร้างกำ�ลังใจให้ เกษตรกรต่อไป ซึ่งทำ�ให้ขณะนี้มีจำ�นวน เกษตรกรที่เดินตามแนวทางเพิ่มมากขึ้น เรื่อยๆ

เดินหน้าสู่ความยั่งยืน จากวันแรกจนถึงวันนี้ซองเดอร์ได้ดำ�เนิน ธุรกิจมา 12 ปีแล้ว ด้วยเป้าหมายทีจ่ ะเป็น ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศ ด้วยวัตถุดิบ ในประเทศและต้องการให้คนในประเทศ ได้รับประทาน

จุดเด่นของสินค้า สิ น ค้ า ธั ญ พื ช แปรรู ป หลากหลายชนิ ด ทั้ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ สำ � หรั บ เด็ ก ซี เรี ย ลชงดื่ ม ขนมขบเคี้ ย ว ทั้ ง หมดล้ ว นแล้ ว แต่ มี ประโยชน์ ต่ อ ร่ า งกาย เหมาะสำ � หรั บ กลุ่มลูกค้าที่รักสุขภาพ มีการผลิตและ บรรจุภัณฑ์ที่ได้มาตรฐานสากล มีภาพ ลักษณ์และตราสินค้าที่ดีเป็นที่รู้จักของ ลูกค้า

แนวทางพัฒนา

ต้องการเพิ่มผลิตภัณฑ์ท่ีสะท้อนวิถีไทย และสร้างการยอมรับในสินค้าในสายตาผู้ บริโภคชาวต่างชาติ จึงนำ�ธัญพืชมาผสม ผสานกับรสชาติอาหารไทยพื้นบ้านที่ได้ รับความนิยมในต่างประเทศ อาทิ ต้มยำ� ทั้ ง นี้ สิ่ ง ที่ ซ องเดอร์ คำ � นึ ง ถึ ง เสมอ คื อ แกงเขียวหวาน เมีย่ งคำ� ฯลฯ และสะท้อน ความยั่งยืนของสังคม เพราะซองเดอร์ ศิลปวัฒนธรรมไทยในบรรจุภัณฑ์ที่ร่วม ดำ�เนินธุรกิจบนพื้นฐานชองเศรษฐกิจพอ สมัย เพียง ดังนั้น นอกจากมอบความสุขให้กับ ผู้ที่ได้ลิ้มรสผลิตภัณฑ์แล้ว ก็ยังเป็นการ สร้ า งความยั่ ง ยื น ให้ กั บ เกษตรกรด้ ว ย โดยซองเดอร์ได้มีการส่งเสริมเกษตรกร ให้ ทำ � เกษตรอิ น ทรี ย์ อั น มี ร ากฐานที่ มั่นคงตามเป้าหมายหลัก คือ การขยาย พื้ น ที่ เ กษตรอิ น ทรี ย์ ผู้ ค น สั ง คม สิ่ ง แวดล้ อ มต้ อ งเติ บ โตและมี ค วามสุ ข ไป ด้วยกัน THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

99


15. “Slow but Steady” Xongdur Organic Food Nonthaburi Province

100 THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


High quality ingredients

Path to sustainable way

At first, Xongdur Organic Food only produced cereal snacks then developed to cereal bars, whole grain porridge and germinated brown rice for children. They only select high quality ingredients for every product. Xongdur chooses high quality, pesticide residue free ingredients only produced by Thai farmers.

Xongdur Organic Food has been in business for more than 12 years with strong will to produce health products from local ingredients for Thai people.

Developing Trail

Create more products that represent Thai ways and are internationally accepted. They use international popular Thai food like Tom Yam, green curry, meang kam mix in cereal representing Thai Xongdur Organic Food always culture in modern packaging. considers Thai society and does business based on the sufficiency economy. Aside from offering deliciousness and health to customers, they also lay the foundation for farmers, expanding organic Encourage one another farming areas for the happiness of At the beginning, Xongdue faced people, society and the environinternal management system ment. problems but all have been solved and they continue to meet Product Highlight international standards of management. The products are various: kids ceIn the meantime, Suwanna Jiwat- real, brew cereal and snacks full tanapaiboon, founder of Xongdur of health benefits for health lovOrganic Food, encourages Thai ers. High standard processing and Farmers to turn to organic farming, packaging with a good image. which is the way to sustainable life development. Now more farmers have joined and are making their own path in organic farm life.

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย 101


ตราสินค้าก่อนการพัฒนา Original Brand

อู่ข้าวอู่นำ�้ U-kao U-nam คำ � ว่ า “อู่ ข้ า วอู่ นำ �้ ” เป็ น คำ � ที่ เจ้ า ของ แบรนด์ ซ องเดอร์ ต้ อ งการใช้ เ ป็ น ชื่ อ แบรนด์ สิ น ค้ า ใหม่ ด้ ว ยแนวคิ ด ที่ จ ะ นำ � ธั ญ ญาหารของเมื อ งอู่ ท องจั ง หวั ด สุพรรณบุรี ที่ตั้งของโรงงาน มาเป็นจุด เริ่ม ต้น ของเรื่ องราวความอุดมสมบูร ณ์ ของดินแดนถิ่นกำ�เนิด ให้กับผู้บริโภคได้ รับรู้ Xongdur Organic Food’s owner wants to use the words ‘U-kao U-nam’ as their new brand. With the idea of bringing U Thong District, Suphanburi Province’s food grain to tell the story of the richness of their hometown.

102 THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


สินค้าที่พัฒนา

ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบรรจุ ภั ณ ฑ์ ธั ญ พื ช อบ กรอบรสต้มยำ� (1) รสแกงเขียวหวาน (2) และรสเมี่ยงคำ� (3)

Developed Product

Tom yam (1), green curry (2) and meang kam (3) flavoured baked cereal

บริษัท ซองเดอร์ ไทยออร์กานิคฟูด จำ�กัด นางสุวรรณา จิวัฒนไพบูลย์ 106 ถ.สนามบินน้ำ� ต.ท่าทราย อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 พิกัด : 13.881132,100.501543 เบอร์โทรศัพท์ 02-967-1200, 02-526-8459

XongdurThai OrganicFoods Co.,Ltd Ms. Suwanna jiwatanapiboon 106 R.Sanam Bin Nam T. ThaSai A. Meuang Nonthaburi 11000 GPS : 13.881132,100.501543 Tel.+662-967-1200,+662-526-8459

(1)

(2)

(3)

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย 103


thainess

บทสรุป และข้อเสนอแนะ

104 THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


ภาพงานแถลง ข่าวเปิดตัว โครงการสร้าง มูลค่าเพิ่มสินค้า ด้วยทรัพย์สิน ทางปัญญา วัน ที่ 18 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุม ชั้น 8 กรม ทรัพย์สินทาง ปัญญา กระทรวง พาณิชย์

การดำ�เนินงานโครงการสร้างมูลค่าเพิ่ม ด้วยทรัพย์สนิ ทางปัญญา ในปีงบประมาณ 2557 โดยกรมทรัพย์สนิ ทางปัญญา มีความ เข้มข้นแข่งขันกับเวลา โดยผูป้ ระกอบการ ทุกรายในหมวดสินค้าผ้าทอ จักสาน และ ขนมไทย ที่ เข้ า ร่ ว มโครงการต้ อ งผ่ า น การคั ด เลื อ กผู้ ป ระกอบการจากคณะผู้ เชี่ยวชาญในแต่ละสาขา ทั้งชาวไทยและ ชาวต่างชาติและได้เข้าร่วม กิจกรรมการ อบรม การศึกษาดูงานในสถานประกอบ การต้นแบบที่ประสบความสำ�เร็จในการ สร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้า โดยใช้ตราสิน ค้าและการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่แสดง ตัวตนของสินค้า ทั้งในประเทศและต่าง ประเทศ การลงพืน้ ทีเ่ ข้าไปศึกษาศักยภาพ กลุ่มเพื่อดึงอัตลักษณ์เด่นมาสร้างสรรค์ เป็นสินค้าและตราสินค้าให้สอดคล้องกับ ความต้องการของตลาด การได้รับความ รู้ เชิ ง ลึ ก ในการคุ้ ม ครองทรั พ ย์ สิ น ทาง

ปัญญา การนำ�นำ�สินค้าไปทดสอบตลาด และการเผยแพร่องค์ความรู้ ประสบการณ์ ที่ได้รับจากโครงการไปสู่ผู้ประกอบการ และผู้สนใจได้มีส่วนร่วมเรียนรู้ และนำ� ไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในธุรกิจของ ตน หัวใจของการดำ�เนินงานโครงการนี้ คือ การมุ่ ง ส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ ป ระกอบการที่ เข้ า ร่วมโครงการได้ตระหนักถึงคุณค่าของ ทรัพย์สินทางปัญญาที่มีอยู่แล้วในแต่ละ ท้องถิ่นและสามารถนำ�มาใช้ผสมผสาน กับวัตถุดิบดั้งเดิมเพื่อนำ�มาสร้างสรรค์ เป็นสินค้าเชิงพาณิชย์ด้วยการออกแบบ ทั้งผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อให้สนองตอบต่อ ความต้องการของตลาด และออกแบบ บรรจุภัณฑ์ใหม่ให้ดึงดูดความสนใจของ ลูกค้า รวมทั้งสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้า ด้วยการสร้างตราสินค้า เพื่อให้เป็นที่น่า

จดจำ� สูก่ ารทดลองจัดจำ�หน่ายจริงในห้าง สรรพสินค้าชั้นนำ�ของเมืองไทย ระหว่าง วันที่ 22-30 กันยายน 2557 ณ บริเวณโซน เอเทรี่ยม ชั้น 1 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพมหานคร โดยมีกลุ่มผู้บริโภคเป้า หมายคือลูกค้าชาวต่างชาติโดยเฉพาะชาว จีน ญีป่ นุ่ สิงคโปร์ สวีเดนทัง้ ทีเ่ ป็นนักท่อง เที่ยว และที่พักอาศัยอยู่ในประเทศไทย ในขณะที่ ลู ก ค้ า คนไทยจะเป็ น กลุ่ ม พนักงานบริษัท ที่มีรายได้ในระดับปาน กลางขึ้นไป และกลุ่มลูกค้าองค์กรหรือ บริษัทต่างๆ ผลการนำ � สิ น ค้ า ใหม่ ไ ปทดสอบตลาด ของผู้ ป ระกอบการ ทั้ ง 15 ราย เมื่ อ พิ จ า ร ณ า จ า ก ย อ ด จำ � ห น่ า ย เรี ย ง ลำ�ดับ

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย 105


การประชุมคัดเลือกผู้ประกอบการเข้าร่วม โครงการ จำ�นวน 15 ราย จากกลุ่มสินค้า ผ้าทอ จักสาน และขนมไทย ในวันที่ 26 มิถุนายน 2557 ณ โรงแรมลักซอร์ จังหวัดนนทบุรี

จากมากไปน้อย คือ กลุม่ สินค้าผ้าทอ กลุม่ สินค้าจักสาน และกลุ่มสินค้าขนมไทย ตามลำ�ดับ โดยทั้ง 3 กลุ่มสินค้ามีทั้งส่วน จำ�หน่ายปลีกหน้าร้าน (Retail) และการ รับคำ�สั่งซื้อแบบค้าส่ง (Wholesale) ที่ ต้องมีการผลิตเพิ่มและจัดส่งสินค้าภาย หลั ง จากวั น จั ด แสดงงาน โดยมี มู ล ค่ า รวมทั้งสิ้น 2,834,719 บาท แบ่งเป็นก ลุ่มผ้าทอ 1,253,120 บาท กลุ่มจักสาน 1,008,819 บาท และกลุ่ ม ขนมไทย 572,780 บาท

สิ น ค้ า ใหม่ ที่ ไ ด้ รั บ ความ นิยมในกลุ่มผู้บริโภค สิ น ค้ า ใหม่ ข องผู้ ป ระกอบการในกลุ่ ม สินค้าผ้าทอ จักสาน และขนมไทย ของผู้ ประกอบการแต่ละรายจะได้รบั ความนิยม จากกลุ่มผู้บริโภคแตกต่างกันออกไป มี รายละเอียดดังนี้ 1. กลุ่มสินค้าผ้าทอ ที่มียอจำ�หน่ายเรียงลำ�ดับจาก มากไปน้อย คือ 1)สินค้าผ้าย้อมครามของกลุม่ ทอ ผ้าย้อมครามบ้านโนนเรือ จังหวัดสกลนคร สินค้าใหม่ที่ได้รับการตอบรับจากลูกค้า มากที่สุด คือ ผ้าคลุมไหล่ ซึ่งมีจุดเด่น ที่เนื้อผ้ามีความนิ่ม ทิ้งตัว ลายผ้า สีสัน สวยงาม ใช้ได้หลายรูปแบบสามารถซื้อ เป็นของขวัญ ของฝากชาวต่างชาติหรือ ให้ในโอกาสต่างๆ กลุ่มลูกค้าเป็นคนไทย

106 THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

และชาวญี่ปุ่น 2)ผ้าไหมแปรรูปของบริษัท ฉัตร ทองไหมไทย จำ�กัด จังหวัดนครราชสีมา สินค้าใหม่ที่ได้รับการตอบรับจากลูกค้า มากที่ สุ ด คื อ เสื้ อ คลุ ม ผ้ า ไหม เพราะ มีการออกแบบที่ทันสมัย ใส่ได้ทั้งแบบ ทางการและลำ�ลอง ดูหรูหรามีรสนิยม เนื้อผ้านิ่ม น่าสวมใส่ กลุ่มลูกค้าเป็นคน ไทย 3)สิ น ค้ า เสื้ อ ผ้ า ของกลุ่ ม มั ด ย้ อ มสี ธ รรมชาติ บ้ า นคี รี ว ง จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช สินค้าใหม่ที่ได้รับการ ตอบรับจากลูกค้ามากที่สุด คือ เสื้อคลุม มีแขนทีพ่ ฒ ั นามาจากแบบเสือ้ กิโมโนของ ญีป่ นุ่ สามารถสวมใส่ได้หลายโอกาส มีการ ออกแบบและตัดเย็บที่ประณีต เนื้อผ้ามี ลวดลายเฉพาะลูกค้าที่สนใจมีท้ังชาวไทย และชาวญี่ปุ่น


คณะทำ�งานและผู้เชี่ยวชาญลงพื้นที่สำ�รวจ และให้คำ�ปรึกษาแก่ผู้ประกอบการที่เข้า ร่วมโครงการกลุ่มสินค้าจักสาน ระหว่าง วันที่ 30 มิถุนายน - 4 กรกฎาคม 2557 และ 3-16 สิงหาคม 2557

4)สิ น ค้ า ตุ๊ ก ตาผ้ า ของกลุ่ ม หัตถกรรมแม่บ้านกิ่วแล จังหวัดเชียงใหม่ สินค้าใหม่ที่ได้รับการตอบรับจากลูกค้า มากที่สุด คือ ตุ๊กตากุญชรวารีทั้ง 3 รูป แบบ เพราะรูปแบบใหม่ไม่เหมือนใคร เนื้อผ้าไหมที่มีความมันวาวจะขายดีกว่า ผ้าฝ้าย ลูกค้าซื้อไปเป็นของที่ระลึก ของ ฝาก กลุม่ ลูกค้าทีซ่ อื้ เป็นชาวต่างชาติเกือบ ทั้งหมด 5)สินค้ากระเป๋าผ้ากลุ่มวิสาหกิจ ถักทอไหมพรม จังหวัดขอนแก่น สินค้า ใหม่ ที่ ไ ด้ รั บ การตอบรั บ จากลู ก ค้ า มาก ที่สุด คือ กระเป๋าผ้าลายขิด และลายมัด หมี่ เพราะมีการตัดเย็บที่ประณีต เนื้อผ้า ลวดลาย สีสันโทนนำ�้ตาล ดำ� สามารถนำ� ไปใช้ได้ในหลายโอกาสกลุ่มลูกค้าเป็นคน ไทยเกือบทั้งหมด

2.กลุ่มสินค้าจักสาน ที่มียอดจำ�หน่ายเรียงลำ�ดับจาก มากไปน้อย คือ 1) สินค้าจักสานจากเส้นพลาสติก ของกลุ่ ม แม่ บ้ า นเกษตรกรศรี พ ราน จังหวัดอ่างทอง สินค้าใหม่ทไี่ ด้รบั การตอบ รับจากลูกค้ามากทีส่ ดุ คือตะกร้าสีเ่ หลีย่ ม ชุด (Box set) เพราะมีลวดลายทีแ่ ปลกตา ไม่เหมือนลายจักสานจากเส้นพลาสติก แบบเดิ ม ๆ ประกอบกั บ สิ น ค้ า มี ค วาม คงทน ใช้งาน ได้นาน และไม่ต้องดูแล รักษามาก ลูกค้าส่วนใหญ่เป็นคนไทย และ เป็นคนที่เคยใช้สินค้ามาแล้ว ส่วนลูกค้า ชาวต่างชาติที่สนใจซื้อเป็นชาวญี่ปุ่น แต่ ติดปัญหาเรือ่ งการขนส่งกลับเพราะสินค้า มีขนาดใหญ่ 2)สิ น ค้ า จั ก สานผั ก ตบชวา ของกลุ่ ม หั ต ถกรรมพื้ น บ้ า นผั ก ตบชวา จังหวัดนครปฐม สินค้าใหม่ที่ได้รับการ ตอบรั บ จากลู ก ค้ า มากที่ สุ ด คื อ บ้ า น

สัตว์เลี้ยง เพราะตอบสนองวิถีชีวิตคน รักสัตว์ได้ สามารถนำ�ไปใช้กับสัตว์เลี้ยง ขนาดเล็ ก ทั้ ง สุ นั ข และแมว มี รู ป แบบ สวยงามเสมื อ นเป็ น ของตกแต่ ง บ้ า น ชิ้ น หนึ่ ง มี ก ารนำ � ผ้ า นวมมาบุ ภ ายใน ทำ � ให้ ค นรั ก สั ต ว์ รู้ สึ ก ว่ า สั ต ว์ เ ลี้ ย งนอน สบาย 3)สิ น ค้ า จั ก สานกระจู ด ของ หั ต ถกรรมกระจู ดวรรณี จั ง หวั ด พั ท ลุ ง สินค้าใหม่ที่ได้รับการตอบรับจากลูกค้า มากที่สุด คือชุดหมอนอิงสานลายโบราณ เพราะมีลวดลายที่แปลกตาและร่วมสมัย ลูกค้าส่วนใหญ่เป็นชาวญี่ปุ่น สวีเดน จีน และสิงคโปร์ โดยเฉพาะชาวสิงคโปร์สนใจ สัง่ ซือ้ สินค้าไปตกแต่งโรงแรม นอกจากนีผ้ ู้ ประกอบการยังมีการผลิตสินค้ารองเท้าที่ สวมใส่ในบ้าน และกระเป๋าใส่สตางค์ที่มี การสานลายเดียวกับหมอน ทำ�ให้สินค้า มีความน่าสนใจเพิ่มมากขึ้น ลูกค้าจึงชอบ ซื้อยกชุด

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย 107


คณะทำ�งานและผู้เชี่ยวชาญลงพื้นที่สำ�รวจ และให้คำ�ปรึกษาแก่ผู้ประกอบการที่เข้า ร่วมโครงการกลุ่มสินค้าขนมไทย ระหว่าง วันที่ 30 มิถุนายน - 4 กรกฎาคม 2557 และ 3-16 สิงหาคม 2557

4)สินค้าจักสานเถาวัลย์ของ ห้าง หุ้นส่วนจำ�กัด สุขขี แฮนดิคราฟท์จังหวัด ราชบุรี สินค้าใหม่ที่ได้รับการตอบรับจาก ลูกค้ามากที่สุด คือ โคมไฟ เพราะมีรูป ทรงที่แปลกตา แต่ให้แสงสว่างที่มีความ พิเศษแตกต่างจากวัสดุโคมไฟอื่นๆ ลูกค้า ส่วนใหญ่เป็นเจ้าของธุรกิจที่ต้องการนำ� ของแต่งบ้านทีเ่ ป็นธรรมชาติเข้าไปตกแต่ง ภายในกิจการ 5)สิ น ค้ า จั ก สานไม้ ไ ผ่ ข องกลุ่ ม แม่ บ้ า นสวนตาล จั ง หวั ด ชลบุ รี ตาม ลำ�ดับ สินค้าใหม่ที่ได้รับการตอบรับจาก ลูกค้ามากที่สุด คือ โคมไฟระฆัง ได้รับ ความสนใจจากกลุ่มลูกค้ากลุ่มเจ้าของ กิจการ สนใจนำ�ไปประดับตกแต่งสถาน ที่ ขณะนี้อยู่ในระหว่างเจรจาเนื่องจาก สิ น ค้ า ต้ อ งใช้ ร ะยะเวลาในการผลิ ต นาน

3. กลุ่มสินค้าขนมไทย ที่มียอดจำ�หน่ายเรียงลำ�ดับจาก มากไปน้อย คือ 1 ) สิ น ค้ า ลำ � ไ ย อ บ แ ห้ ง ข อ ง วิสาหกิจชุมชนกลุม่ แม่บา้ นริมร่องจังหวัด ลำ�พูน สินค้าใหม่ที่ได้รับการตอบรับจาก ลู ก ค้ า มากที่ สุ ด คื อ นำ �้ ต าลกรวดลำ � ไย ที่ให้กลิ่นลำ�ไยแท้ เพราะมีความแปลก ใหม่ ใช้ชงกับนำ�้เป็นชาลำ�ไยใส่ในกาแฟ ร้อน หรือสามารถอมเป็นลูกอมก็ได้ และ มีอายุเก็บไว้ได้นาน ลูกค้าเป็นชาวไทย และชาวจีน ส่วนสินค้าขนมผิงลำ�ไย และ ช็อคโกแลตลำ � ไยก็ ไ ด้ รั บความนิ ย มเช่ น กัน และมีคำ�สั่งซื้อให้จัดส่งหลังงานแสดง สินค้า

108 THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

2)สินค้าผักผลไม้อบกรอบของ วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนสนามจั น ทร์ จั ง หวั ด นครปฐม สินค้าใหม่ที่ได้รับการตอบรับ จากลูกค้ามากที่สุด คือผักอบกรอบ 5 สี เพราะมีคุณประโยชน์ของผัก สามารถ รั บ ประทานได้ ง่ า ย เหมาะสำ � หรั บ ลู ก ค้ า ที่ ช อบทานผั ก และช่ ว งเทศกาล กิ น เจ กลุ่ ม ลู ก ค้ า มี ทั้ ง คนไทยและชาว ญี่ปุ่น 3)สินค้ากล้วยอบหลากรสของ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มอาชีพผลไม้สดและ ผลผลิตการเกษตรแปรรูปบ้านดอนทอง จังหวัดนครปฐม สินค้าใหม่ที่ได้รับการ ตอบรั บ จากลู ก ค้ า มากที่ สุ ด คื อ กล้ ว ย 5 อย่ า ง รวมกล้ ว ยไทย 5 ชนิ ด ไว้ ใ น ซองเดี ย วกั น ทำ � ให้ ลู ก ค้ า รู้ สึ ก ว่ า ได้ รั บ คุ ณ ค่ า อาหารจากกล้ ว ยที่ ม ากขึ้ น จาก เดิม กลุ่มลูกค้ามีทั้งคนไทยและคนจีน


คณะทำ�งานและผู้เชี่ยวชาญลงพื้นที่สำ�รวจ และให้คำ�ปรึกษาแก่ผู้ประกอบการที่เข้า ร่วมโครงการกลุ่มสินค้าผ้าทอ ระหว่างวัน ที่ 30 มิถุนายน - 4 กรกฎาคม 2557 และ 3-16 สิงหาคม 2557

4)สิ น ค้ า ข้ า วแต๋ น ของห้ า งหุ้ น ส่ ว นสามั ญ ข้ า วแต๋ น ทวี พ รรณจั ง หวั ด ลำ � ปาง สิ น ค้ า ใหม่ ที่ ไ ด้ รั บ การตอบรั บ จากลู ก ค้ า มากที่ สุ ด คื อ ข้ า วแต๋ น หน้ า ลำ�ไย เพราะมีส่วนผสมที่หลากหลายทั้ง ถั่วเหลือง งาดำ� งาขาว และเนื้อลำ�ไย อบแห้งที่มีความกรอบ สดใหม่ ลูกค้า ส่ว นใหญ่ เป็ น ชาวจี น ที่นิยมการบริโภค ลำ�ไย 5)สินค้าธัญพืชแปรรูปของบริษทั ซองเดอร์ไทยออร์กานิคฟูด จำ�กัด จังหวัด นนทบุรี สินค้าใหม่ทไี่ ด้รบั การตอบรับจาก ลู ก ค้ า มากที่ สุ ด คื อ ธั ญ พื ช อบกรอบรส ต้มยำ� และเมี่ยงคำ� เป็นกลุ่มลูกค้ามังสะ วิรตั ทัง้ ชาวไทยและชาวญีป่ นุ่ ให้ความเห็น ว่า รับประทานแล้วให้รสชาติของอาหาร ไทยแท้ๆ แต่อยู่ในรูปแบบของธัญพืชอัด แท่ง (Snack Bar) ที่สะดวกในการรับ ประทาน

ผลลั พ ธ์ จ ากการดำ � เนิ น โครงการ ผู้ประกอบการทุกรายที่เข้าร่วมโครงการ ได้ รั บ ความรู้ และประสบการณ์ ทั้ ง ภาคทฤษฎีและการปฏิบัติจริงอย่างเข้ม ข้ น ทั้ ง ด้ า นรู ป ธรรม (Tangible) และ นามธรรม (Intangible) ซึ่งสามารถสรุป ได้ดังนี้ 1 . ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ส า ม า ร ถ สร้างสรรค์สนิ ค้าใหม่ได้กลุม่ ละไม่นอ้ ยกว่า 3 ผลิตภัณฑ์ ขึ้นอยู่กับประเภทสินค้าและ ศักยภาพความพร้อมของกลุ่มผู้ประกอบ การ 2.การพัฒนาตราสินค้าใหม่ให้ผู้ ประกอบการทั้ง 15 ราย พร้อมการยื่น ขอรับความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ประเภทเครื่ อ งหมายการค้ า ให้ กั บ ผู้ ประกอบการทุกราย

3 . ก า ร นำ � เ ส น อ เ รื่ อ ง ร า ว ความเป็ น มาของสิ น ค้ า ในรู ป แบบ ของการจั ด ทำ � วี ดี โ อนำ � เสนอ (Brand S t o r y ) ข อ ง ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ทั้ ง 15 ราย 4.การนำ � สิ นค้ า ใหม่ ไ ปทดสอบ ตลาดในศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ระหว่าง วั น ที่ 22-30 กั น ยายน 2557 พบว่ า ผู้ ป ระกอบการทั้ ง 15 รายมี ค วามพึ ง พอใจในการเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมทุ ก ราย สามารถจำ�หน่ายสินค้าได้เป็นอย่างดี มี ยอดขายปลี ก และยอดการสั่ ง ซื้ อ ต่ อ เนื่ อ งมี มู ล ค่ า รวมไม่ ต่ ำ � กว่ า 2.8 ล้ า น บาท 5.เกิ ด การเชื่ อ มโยงเครื อ ข่ า ย วั ต ถุ ดิ บ การผลิ ต และการตลาดจาก กลุ่ ม ผู้ ป ระกอบการที่ เข้ า ร่ ว มโครงการ เกิ ด ความรั ก การช่ ว ยเหลื อ เกื้ อ กู ล แก่กัน

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย 109


การอบรมให้ความรู้ด้านการพัฒนาสินค้า การขอรับการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา และการให้คำ�ปรึกษาการพัฒนาสินค้า บรรจุภัณฑ์ การสร้างตราสินค้าให้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ

110 THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

การศึกษาดูงานในสถานประกอบการภายใน ประเทศ ในวันที่ 16 กรกฎาคม 2557


การศึกษาดูงานในสถานประกอบการ ณ เมืองโอซาก้า - เกียวโต ประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 21-25 กรกฎาคม 2557 THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย 111


การจัดตกแต่ง และการจัดวาง สินค้าในงานจัด แสดงสินค้า POP UP SHOP ระหว่างวัน ที่ 22-30 กันยายน 2557 ณ บริเวณชั้น 1 ศูนย์การค้า Central World

6.ได้ รั บ ทราบประสบการณ์ และองค์ความรู้ด้านการบริหารตราสิน ค้าหรือแบรนด์ การจัดตกแต่งหน้าร้าน การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ จากกรณี ตั ว อย่ า งจากสถานประกอบ การมืออาชีพทั้งภายในประเทศและต่าง ประเทศ 7.ประสบการณ์ แ บบเข้ ม ข้ น ด้ า นการออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ การ คิ ด ชื่ อ และการออกแบบตราสิ น ค้ า แบบมี ส่ ว นร่ ว มในทุ ก ขั้ น ตอน ตลอด จนการขอรั บ ความคุ้ ม ครองทรั พ ย์ สิ น ทางปัญญาเพื่อที่จะเป็นอาวุธสำ�คัญใน การขับเคลื่อนธุรกิจไปสู่อนาคตได้อย่าง มั่นคง 8.ประสบการณ์การเจรจาธุรกิจ กั บ ผู้ บ ริ โ ภคที่ มี กำ � ลั ง การซื้ อ สู ง ทั้ ง ชาว ไทยและชาวต่างชาติ ที่ต้องการสินค้า ที่ มี อั ต ลั ก ษณ์ คุ ณ ภาพสู ง จะสั ง เกต ได้จ ากลั ก ษณะการซื้ อสินค้าของลูก ค้า

ที่ไม่มีการต่อรองราคา แต่มุ่งที่คุณค่าของ สินค้าที่ตอบสนองรสนิยม ความต้องการ ของผู้ซื้อเป็นปัจจัยสำ�คัญ (Emotional benefit) 9.ประสบการณ์การทำ�งานร่วม กับนักออกแบบ และนักการตลาด ซึง่ ร่วม เป็นทีมที่ปรึกษาทั้งชาวไทยและชาวต่าง ชาติ ซึ่งจะเป็นประสบการณ์ที่ผู้ประกอบ การทุกรายในโครงการจะได้รบั ซึง่ จะเป็น บทเรียนให้กับผู้ประกอบการในการร่วม งานกับนักออกแบบในโอกาสอื่นๆ ต่อ ไป 10.ผู้ ป ระกอบการสามารถนำ � เสนอภู มิ ปั ญ ญาแต่ ล ะท้ อ งถิ่ น สู่ ก ลุ่ ม ผู้ บริโภคโดยผ่านตัวสินค้าที่พัฒนาขึ้นมา ใหม่ จึ ง เป็ น เสมื อ นการสื บ ทอด และ ถ่ า ยทอดภู มิ ปั ญ ญาไปสู่ ม วลชน ช่ ว ย ให้สังคมและประเทศชาติยังคงมีสินค้า หัตถกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของชาติได้อีก ช่องทางหนึ่ง

112 THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

สภาพปัญหาและอุปสรรค อย่ า งไรก็ ต ามการดำ � เนิ น งาน ยั ง พบ ปัญหาหลายประการทั้งจากการสื่อสาร ระหว่างผู้ประกอบการและทีมที่ปรึกษา กิจกรรมที่หลากหลายที่ต้องดำ�เนินงาน ให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาอันสั้น ส่ง ผลให้ ก ารดำ � เนิ น งานติ ด ขั ด บ้ า ง แต่ ก็ สามารถร่ ว มกั น ขจั ด ปั ญ หาเหล่ า นี้ ใ ห้ สำ�เร็จลุล่วงผ่านพ้นไปด้วยดีสามารถสรุป ได้ดังนี้ 1.เจ้ า ของกิ จ การบางรายไม่ สะดวกเข้าร่วมในบางกิจกรรม เนื่องจาก ติดภารกิจอื่นๆ และส่งตัวแทนทำ�ให้การ เรียนรู้ไม่ครบถ้วน 2.การทำ � งานให้ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ล ในระยะเวลาจำ�กัด ผู้ประกอบการหลาย ท่ า นยั ง ไม่ พ ร้ อ มกั บ การทำ � งานแบบมี ข้อจำ�กัดเรื่องเวลา จึงมีความเครียดใน


ภาพบรรยากาศ กิจกรรมทำ� ผ้ามัดย้อมสี คราม และการ เลือกซื้อสินค้า ในงานแสดง สินค้า POP UP SHOP ระหว่าง วันที่ 22-30 กันยายน 2557 ณ บริเวณชั้น 1 ศูนย์การค้า Central World

การออกแบบสร้ า งสรรค์ สิ น ค้ า และ การจั ด ทำ � ต้ น แบบใหม่ ใ ห้ ทั น กั บ เวลาที่ กำ�หนดไว้ 3.จากการที่ ร ะยะเวลาการ ทำ�งานของโครงการค่อนข้างสั้น ในขณะ ที่กลุ่มผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ มีภูมิลำ�เนาอยู่ทั้งภาคเหนือ กลาง ตะวัน ออก ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ และภาค ใต้ ทำ � ให้ ก ารลงพื้ น ที่ ก ลุ่ ม ค่ อ นข้ า งมี เวลาน้ อ ย จึ ง ไม่ ส ามารถให้ คำ � ปรึ ก ษา แนะนำ� และติดตามการทำ�งานได้อย่าง เต็มที่ เพราะระยะทางแต่ละแห่งห่างไกล กัน 4. ผู้ประกอบการส่วนมากขาด ความพร้ อ มในด้ า นภาษา การสื่ อ สาร กั บ ชาวต่ า งชาติ ใ นกิ จ กรรมการนำ � สิ น ค้ า ไปจั ด แสดงและจำ � หน่ า ย จึ ง มี อุปสรรคบ้าง ซึ่งภาษาเป็นองค์ประกอบ สำ � คั ญ ในการพั ฒ นาตลาดไปสู่ ร ะดั บ นานาชาติ

ข้อเสนอแนะ การดำ�เนินงานในโครงการนี้ นับว่าเป็น จุดเริ่มต้นของการส่งเสริมให้ผู้ประกอบ การสินค้าจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ก้าวเข้า สูว่ ถี ขี องการประกอบธุรกิจแบบมืออาชีพ ที่มุ่งการสร้างตราสินค้าหรือแบรนด์ให้ เป็นกลไกในการขับเคลื่อนธุรกิจในระดับ สากล ผูป้ ระกอบการทัง้ 15 รายทีเ่ ข้าร่วม โครงการได้มโี อกาสเรียนรู้ มีประสบการณ์ เน้นปฏิบัติจริง (Learning by doing) ในระยะเวลาอันจำ�กัด ซึ่งผู้ประกอบการ บางรายก็ประสบความสำ�เร็จ แต่บางราย ต้องใช้เวลาในการส่งเสริมสนับสนุนต่อย อดให้เข้มแข็ง เพื่อนำ�พาธุรกิจในชุมชน ให้เกิดความยั่งยืนต่อไป จึงมีข้อแนะนำ� สำ�หรับการดำ�เนินโครงการส่งเสริมกลุ่ม ผู้ประกอบ

การเก่าและใหม่ ดังนี้ 1.ควรมีการต่อยอดโครงการเชิง ลึกในปีต่อไป เพื่อส่งเสริม ผลักดันให้ผู้ ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการเหล่านี้ ได้มีโอกาสได้ก้าวไปสู่โลกธุรกิจที่แท้จริง ในการนำ�พาสินค้าและแบรนด์ที่เกิดจาก การนำ�ทรัพย์สินทางปัญญาไปใช้ในตลาด ระดับนานาชาติ ทั้งใน AEC หรือตลาด อืน่ ๆ จากการดำ�เนินงานในโครงการฯ พบ ว่าผู้ประกอบการบางรายมีศักยภาพและ ความพร้อมด้านการผลิต เงินทุน บุคลากร ในการนำ�ทรัพย์สินทางปัญญาไปสู่ตลาด ต่างประเทศ การดำ�เนินงานในโครงการ นีเ้ ป็นเพียงจุดเริม่ ต้นของการพัฒนาระบบ ธุรกิจสินค้าจากชุมชน ควรมีกจิ กรรมต่อย อดการบริหารตราสินค้าให้ยั่งยืน การนำ� แบรนด์ ไ ปใช้ ใ นรู ป แบบต่ า งๆ การจั ด ตกแต่งภาพลักษณ์

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย 113


ภาพพิธีมอบ ประกาศนียบัตร ผู้เข้าร่วม โครงการ ปี พ.ศ. 2557 ในวันที่ 26 กันยายน 2557 ณ บริเวณงาน จัดแสดงสินค้า POP UP SHOP ณ บริเวณชั้น 1 ศูนย์การค้า Central World

สินค้า หน้าร้าน ห้องจัดแสดงสินค้าการ จัดทำ� Corporate Identity การตั้งราคา สินค้า สิง่ เหล่านีเ้ ป็นองค์ประกอบของการ สร้างแบรนด์ที่ยั่งยืนให้กับผู้ประกอบการ สินค้าชุมชนต่อไป 2.การดำ � เนิ น โครงการต่ อ เพื่ อ เปิ ด โอกาสสำ � หรั บ ผู้ ป ระกอบการราย ใหม่ ที่ มี ศั ก ยภาพทางธุ ร กิ จ แต่ ยั ง ขาด การสร้ า งตราสิ น ค้ า และการพิ จ ารณา ผลิตภัณฑ์ให้ตรงกับความต้องการของ ตลาด ให้สามารถต่อยอดการสร้างมูลค่า เพิ่มสินค้าด้วยทรัพย์สินทางปัญญาในรุ่น ต่อๆ ไป โดยอาจขยายกลุ่มสินค้าค้าเป็น ประเภทผลิตภัณฑ์อนื่ ๆ ให้ครอบคลุมมาก ยิ่งขึ้น 3 . ก า ร ข ย า ย ข อ บ เข ต ข อ ง โครงการให้ กั บ ผู้ ป ระกอบการรายใหม่ ที่ อ่ อ นด้ อ ย หรื อ ยั ง ขาดความพร้ อ ม ในการสร้ า งสรรค์ ต ราสิ น ค้ า ได้ ด้ ว ย ตนเอง

ควรมีการจัดโครงการพัฒนาตราสินค้า ร่วม (Collective Brand) ส่งเสริมให้ ผู้ประกอบการมีการสร้างเครือข่ายการ ผลิ ต อาจเป็ น สิ น ค้ า ประเภทเดี ย วกั น หรือต่างกลุ่มสินค้ามารวมกลุ่มกันอย่าง น้ อ ย 5 รายหรื อ ตามความเหมาะสม เพื่ อ ร่ ว มกั น พั ฒ นาตราสิ น ค้ า ที่ ใช้ ร่ ว ม กั น ในลั ก ษณะเครื อ ข่ า ย (Cluster) ที่ ร่ ว มกั น คิ ด สร้ า งสรรค์ สิ น ค้ า บรรจุ ภั ณ ฑ์ และตราสิ น ค้ า ภายใต้ แ บรนด์ เดียวกัน

114 THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

บทสรุป การสร้างมูลค่าเพิม่ สินค้าท้องถิน่ ด้วยการ สร้างสรรค์สินค้าใหม่ที่มีอัตลักษณ์ ทั้ง ในด้านการพัฒนาตราสินค้า การสร้าง ภาพลั ก ษณ์ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพและ มาตรฐานของสินค้า รวมทั้งการปรับปรุง รู ป แบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ และการนำ � เสนอ ประสบการณ์ทางภูมิปัญญาจากผู้ผลิตใน ท้องถิ่นที่เป็นเจ้าของสินค้ามาเจรจา พูด คุย เล่าเรื่องสินค้า (Story Telling) ให้ กับผู้บริโภคโดยตรง สามารถสร้างความ เชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคทั้งชาวไทยและชาว ต่างชาติได้ดีกว่าการนำ�เสนอสินค้าจาก ท้องถิ่นในรูปแบบเดิมๆ ที่มุ่งส่งเสริมการ ผลิตเพื่อจำ�หน่ายจำ�นวนมาก ขาดการ พัฒนารูปแบบสินค้า บรรจุภัณฑ์ และ ที่สำ�คัญ คือ ขาดการดึงอัตลักษณ์เด่น ของสินค้าของแต่ละชุมชนมาเป็นจุดขาย


การสัมมนา เพื่อถ่ายทอด ความรู้และ ประสบการณ์ใน การพัฒนาสินค้า ให้กับผู้สนใจ ทั่วไป ในวันที่ 1 ตุลาคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี

ให้ชัดเจน ขาดการสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้า ในภาวะที่วัตถุดิบในการผลิตและแรงงาน ลดน้อยลง การสร้างความยั่งยืนในมิติ ของทรัพย์สินทางปัญญาซึ่งจะเป็นพลัง ขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ของชาติ ใ ห้ พ ร้ อ ม เข้ า สู่ ก ารแข่ ง ขั น ของโลกธุ ร กิ จ แบบไร้ พรมแดน จากผลการนำ�สินค้าไปทดสอบตลาดจะ เห็นได้ชัดว่า การสร้างตราสินค้า และ บรรจุภณ ั ฑ์ทโี่ ดดเด่นมีอทิ ธิพลสำ�คัญอย่าง ยิง่ ในการยกระดับคุณค่า (Value Up) ของ สินค้าจากภูมิปัญญาได้จริง สามารถสร้าง มูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าของผู้ประกอบการ ทั้งคุณภาพ ภาพลักษณ์ และความเชื่อ มัน่ ให้กบั ผูบ้ ริโภค ผูป้ ระกอบการสามารถ จำ � หน่ า ยสิ น ค้ า ได้ ใ นราคาพิ เ ศษสมกั บ ความมุง่ มัน่ ตัง้ ใจในการพัฒนารูปแบบสิน ค้าใหม่ๆ ที่มีลักษณะเฉพาะ (Unique) มี ความแตก

ต่างจากสินค้าอืน่ ในตลาดและเป็นทีจ่ ดจำ� ของผู้บริโภคว่า “แบรนด์สินค้าชุมชน (Community Brand) มนต์ เ สน่ ห์ จากภูมิปัญญาท้องถิ่น นอกจากมีมูลค่า เชิ ง พาณิ ช ย์ แ ล้ ว ยั ง มี คุ ณ ค่ า ทางศิ ล ป วัฒนธรรม ต่อชุมชน สังคมและประเทศ ชาติ ให้คงเอกลักษณ์ความเป็นไทยต่อไป ในอนาคตอีกด้วย”

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย 115


116 THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


thainess

Conclusions and Recommendations

Value-adding by Intellectual Property Project in the fiscal year 2014 was intensively implementedby the Department of Intellectual Property with race against the clock. All participating operators in the categories of woven fabric, wickerwork and Thai snacks products were necessarily selected by a panel of experts in each field, including both Thai and foreigners. Also, they took part in the activities related to training, study trip at the exemplary business places that have succeeded in creating added value to the products by unique branding and design of packaging both domestically and abroad. Besides, the implementation consisted of getting into the areas to study the potential of groups so as to pick the outstanding identity for creating the products and brands consistent with the market demand. The operation has resulted in gaining in-depth knowledge of intellectual propertyprotection. Also, the products were brought to market testing. Moreover, there was the dissemination of knowledge, experience acquired from the project to the operators and anyone interested to participate in learning and deploy this to benefit one’s own business.

The heart of this project implementation lies in the aim to encourage the participating operators to recognize the value of intellectual property already available in each locality. Also, this can be used to blend with traditional raw materials for creating commercial products by designing new products to meet the market demand and new packaging to attract the attention of customers. The method also includes the creating of added value to the products through branding to be memorable up until the testing of real distribution in a leading department store of Thailand from 22-30 September 2014 at Atrium Zone, 1st Floor, Central World Shopping Center, Bangkok Metropolis. The target consumers are foreign customers, especially Chinese, Japanese, Singaporean, Swedish, as tourists and residents in Thailand. Meanwhile, Thai customers are company employees with moderate income or above and corporate customers or various companies.

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย 117


There are the results of bringing new goods of all 15 companies to market testing on the basis of sales arranged in descending order, i.e. the groups of woven fabric products, wickerwork products and Thai snacks products, respectively. All three groups of products included the parts of retailing at storefront (Retail) and wholesale orders (Wholesale) which required additional production and delivery after the exhibition days. The total value is 2,834,719 baht by division into woven fabric group, accounting for 1,253,120 baht; wickerwork group, representing 1,008,819 baht and Thai snacks group, equaling 572,780 baht.

New products with popularity among consumers New products in textile, woven and Thai dessert groups of each operator have won popularity with consumers differently, the details of which are as follows:

and casual wearing, arrogant and tasteful appearance, soft texture of fabric pleasant for wearing. The customer group is Thai people.

3) Mad YhomKiriwong Community, Nakhon Si Thammarat Province. The new product, which has beenmost accepted by customers, is coat with sleeves developed from Japanese kimono. It 1. Woven fabric products with can be worn on many occasions the sales arranged in descending with exquisite design and clothorder below making, specific patterns of texture. The customers interested are 1) Ban NonnRuea Indigo Thai and Japanese people. Cotton Fabric Community, Sakon Nakhon Province . The new prod- 4) Ban Kio Lae Handicraftuct, which has been most accept- Community, Chiang Mai Province. ed by customers, is shawl. Its dis- The new product that has been tinctive features lie in soft texture, most accepted by customers is beautiful patterns, colors of fabric, Kunchon Warih (Water Elephant) possible uses in many forms. This doll of all 3 styles due to uniqueproduct can be bought as gift, ness. The shiny silk fabric can be souvenir for foreigners or offered sold better than cotton. The cuson different occasions. The cus- tomers have bought this product tomer groups are Thai and Japa- as souvenir, gift. Almost all of nese people. buying customers are foreigners. 2) Chattong thaisilk Co.,Ltd., 5) Cloth bag product of Nakhon Ratchasima Province. The Yarn Weaving Enterprise Group, new product, which has been Khon Kaen Province. The new most recognized by customers, is product, which has been most silk robe. Its distinctiveness lies in accepted by customers, is kit and modern design, possibly formal mudmee-patterned cloth bag due

118 THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


to exquisite cloth-making, fabrics, patterns, colors of brown, black tones. The product can be used on several occasions. Almost all of customers are Thai people.

can be applied to small pets, including dogs and cats. The style is beautiful like a home décor item. The inside is padded with quilt. As a result, animal lovers feel that the pet can comfortably sleep in.

2. Wickerwork products with the sales arranged in descending order 3) Krajude Wannee Handas follows icraft Community, Phatthalung Province. The new product, which 1) Sripran Farmer Commu- has been most accepted by cusnity, Ang Thong Province. The new tomers, is pillow set of ancient product, which has been most rec- pattern due to unusual and conognized by customers, is square temporary designs. The majority of basket set (Box set). The distinc- customers are Japanese, Chinese, tiveness lies in unusual patterns Swedish and Singaporean. Espeunlike traditional designs woven cially, the Singaporeans are interfrom plastic strands. Besides, the ested in placing orders for decoproduct is durable, long-lasting rating the hotels. Additionally, the and does not require much care. operators have produced shoes The majority of customers are for wearing in the house and walThai people who have ever used lets with woven patterns as the the product. Foreign customers pillow, thus making the products interested in buying are Japanese. more attractive. So, the customers However, there is the problem of prefer buying as a set. transportation back due to large size of the product. 4) Sukkee Handicraft Ltd., Part., Ratchaburi Province. The 2) Water Hyacinth Local new product, which has been Handicraft Community, Nakhon most accepted by customers, is Pathom Province. The new prod- lamp. Remarkable qualities lie in uct, which has been most accept- unique shape, but producing speed by customers, is pet house cial lighting different from other because of the ability to meet lamp materials. Most customers the lifestyle of pet lovers. The are business owners who demand

to use natural home decor items for decorating the interior of business places. 5) Suantan Community, Chonburi Province. The new product, which has been most recognized by customers, is the bell lamp. The product has attracted the attention of customers who are business owners interested in using it for decoration. Currently, they are in the process of negotiating because the product takes a long time to be made. 3. Thai dessert products with the sales arranged in descending order as follows 1) Ban Rim Rong Community Enterprise, Lamphun Province. The new product that has been most accepted by customers is longan rock sugar with genuine longan aroma and novelty. It is used for brewing with water as tea to put in hot coffee, or can also be eaten as toffee. The product has long lifespan and storage period. The customers are Thai and Chinese. Besides, longan baked dessert (Khanom Phing) and

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย 119


longan chocolate products have become popular as well. Also, there were orders to be delivered after the exhibition. 2) Sanamchan Community Enterprise, Nakhon Pathom Province. The new product, which has enjoyed popularity among most customers, is 5-colored crispy dried vegetables. This product contains the benefits of vegetables and can be eaten easily with suitability for customers fond of eating vegetables and Vegetarian Festival. The customers are Thai and Japanese people. 3) Processed Fresh fruit and Farm Products Community, Nakhon Pathom Province. The new product that has gained popularity among most customers is 5-type banana. Five sorts of Thai banana are gathered in the same pack, thus making customers feel that they get more nutritional value from banana. The customers are Thai and Chinese.

4) Khaotan Thaweephan Products Partnership, Lampang Province. The new product that has been most accepted by customers is rice cracker with longan. It contains various ingredients, including soybean, white, black sesame and dried longan flesh that is crispy and fresh. Most customers are Chinese with preference for consuming longan. 5) XongdurThai OrganicFoods Co.,Ltd, Nonthaburi Province. New products that have been most popular with customers are crispy roasted cereals (Tom Yum flavor) and leaf-wrapped appetizer (Mieng Kham). The customers are Thai and Japanese vegetarians. They consider that such products give the real taste of Thai food, but exist in the form of cereal bars (Snack Bar) which are convenient to eat.

120 THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

Results of Project Implementation All operators participating in the project have gained intensively theoretical and practical knowledge as well as experience in both Tangible and Intangible terms, which can be summarized as follows. 1. The companies could create at least 3 new products of each group. This depends on the types of products, potential, preparedness of operators. 2. Development of new brands for all 15 companies and submission of application for intellectual property protection of brand type, which can be actually deployed by all operators. 3. Presentation of the products’ story in the form of video presenting Brand Story of all 15 companies. 4. Bringing new products to market testing in Central World Shopping Center between 22-30 September 2014. All 15 companies were found to be


satisfied with participation in the activities. The products could be sold well with continuous retail sales and orders with total value of not less than 2.8 million baht.

high quality. This is indicated by the purchase nature of customers without bargaining. Instead, the emphases are mainly placed on the value of goods that meet the taste, the needs of buyers (Emo 5. There is the linked net- tional benefit). work of raw materials, production and marketing of operators partic- 9. Experience of working ipating in the project with mutual with Thai and foreign designers love, assistance and support. as well as marketers that joined a team of consultants. This expe 6. Gaining experience and rience has been gained by every knowledge of brand management operator participating in the projor brand, storefront decoration, ect. This would be an experience product and packaging designing of operators for collaborating with from the exemplifying cases of the designers in other opportuniprofessional establishments in the ties further. country and abroad 10. The operators could 7. Intensive experience re- present the wisdom of each lolated to the design of new prod- cality to consumers through the ucts, brand, naming in the manner newly developed products. Thereof participation in every step as fore, this method is like continuwell as application for intellectu- ation and transfer of wisdom to al property protection to be a key the general public. This is anothtool for driving the businesses to- er channel of allowing the society wards the future securely. and the nation to continue having craft products that are the nation 8. Experience related to al identity. business negotiations with Thai and foreign consumers who have high purchasing power with demand for unique products of

Problems and Obstacles However, the implementation was faced with several problems, including the issue of communication between operators and team of consultants. Besides, various activities needed to be conducted completely within a short time, hence some operational difficulties. Nevertheless, by joint effort these problems could be eliminated so that the implementation achieved success. The relevant problems can be summarized as follows. 1. A number of business owners were unable to participate in some activities because of commitment to other tasks and thus sent the representatives. As a result, learning was incomplete. 2. Working to achieve effectiveness within the limited time. Many operators were not ready to work under time restrictions. As a result, there was stress related to designing creatively the products and preparing the new model to meet the deadline.

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย 121


3. The duration of conducting the project was relatively short while the participating operators lived in the Northern, Central, Eastern, Northeastern and Southern regions. As a result, the time of getting into the areas was not much, hence inability to give advice and follow up the work fully because of great distance between each area.

businesses internationally. All 15 participating operators had the opportunity to learn, gain experience with emphasis on Learning by doing within the limited time. A number of operators achieved success while some needed to take time for promoting, supporting further to become strong for leading the community businesses towards sustainability onwards. Consequently, there are recommenda 4. Most operators lacked tions for the conduct of project preparedness in terms of language, to encourage the new and existing communication with foreigners in operators as follows. the activities related to bringing goods for display and sale. There- 1. It is advisable to further fore, there were some obstacles. the project in an in-depth way The language is an important ele- during the subsequent years. The ment for developing the market to purposes are to encourage, push, international level. allow these operators participating in the project to step into the real business world for bringing the Suggestions products and the brands caused applying intellectual property The implementation of this proj- by to international markets, including ect is considered to be the start AEC or other markets. conof encouraging the operators of duct of this project has The revealed products made from local wisdom that some operators are ready and to step into the professional way have potential in terms of producof running businesses. This way fo- tion, capital, personnel for taking cuses on branding or brand to be intellectual property to a mechanism for driving the

122 THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

foreign markets. The implementation of this project is just the start of developing the business system of community products. There should be the activities for furthering brand management towards sustainability, deploying brands in various forms, decorating the product image, business places, storefront, exhibition room, preparing Corporate Identity, pricing. All this are the elements of building sustainable brand for operators of community products onwards. 2. It is wise to continue the implementation of the project to provide opportunities for new operators with business potential, but lack of branding and considering the products to meet the market demand. The aim is to enable such operators to further the adding of value to the products with intellectual property in the next generations. In this regard, it is possible to expand the merchandise groups to other product categories in order to be more comprehensive.


3. Extending the scope of the project for new operators that are vulnerable or still lack readiness to create the brand on their own. It is advisable to arrange the Collective Brand development project in order to encourage the operators to establish the production network. At least 5 operators or as appropriate of the products in the same types or different groups may gather to jointly develop the shared brand in the manner of network (Cluster). They would join in creating the brand, products, packaging under the same brand.

Conclusions This method of adding value to local products is based on creating new products with uniqueness interms of brand development, image building, improving the quality, standard, packaging forms and presenting the wisdom experience of local manufacturers, owners of products through negotiations, talk, Story Telling directly to consumers. Such approach can create confidence of Thai and foreign

consumers better than the traditional style of presenting local products with focus on boosting production for selling in large quantities, but lack of developing the forms of products, packaging. Above all, the conventional way fails to pick the distinctiveness of products of each community as selling point clearly. Besides, the traditional approach is lacking in adding value to the products under the circumstances of reduced raw materials and labor. Building sustainability in terms of intellectual property would be the force of driving national economy towards readiness to enter the competitive business world without borders.

confidence. The operators can sell the products at special prices. This is worth the determination, intention to develop the styles of new products with uniqueness (Unique) that are different from other goods in the market and recognized by consumers as the following. “Community Brand, Charm of Local Wisdom. Apart from commercial value, there is also artistic, cultural value to the community, society and nation, which also allows the unique Thainess to remain in the future.”

According to the results of bringing products to market testing, obviously the distinctive branding and packaging have crucial influence on elevating the value (Value Up) of wisdom-based products truly. Such distinctiveness can create added value to the products of operators in terms of quality, image and consumer xx

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย 123


thainess

Directory รายชื่อผู้ประกอบการ ที่เข้าร่วมโครงการ

124 THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


กลุ่มหัตถกรรมแม่บ้านกิ่วแล นางอำ�พร ยาวิลาศ 58 หมู่ที่ 11 บ้านกิ่วแล ต.เชิงดอย อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ 50220 โทรศัพท์ : 053-865421,081-9522238

Ban Kio Lae Handicraft P. 16 Community Ms. Amporn Yawilad 58 M.11 Ban Kiolae T. ChoengDoi A. DoiSaket Chiang Mai 50220 Tel. +6681-952-2238, +6653-865421

บริษัท ฉัตรทองไหมไทย จำ�กัด นางสาววชิราพรรณ นวลศรี 78/1 หมู่ 8 ศูนย์วัฒนธรรมผ้าไหม ปักธงชัย อ.ปักธงชัย จ.นครราชสีมา 30150 โทรศัพท์ 081-8767101,0818784285,

Chattongthaisilk Co.,Ltd P. 10 Miss. Wachiraphan NuanSri 78/1 M.8 cultural Centerthaisilkpakthongchai A. pakthongchai Nakhon Ratchasima 30150 Tel. +6681-8767101, +6681-8784285, +6644-284-465, +6644 284664

กลุ่มทอผ้าย้อมครามบ้านโนนเรือ นางอัมพรพรรณ ทองไชย 43/1 หมู่ 3 ต.นาหัวบ่อ อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร 47220 โทรศัพท์ 087-2231679,042-861092

P. 34 Ban NonnRuea Indigo Cotton Fabric Community Ms. Aumpornparn Thongchai 43/1 M.1 T.nahuabo A.Phannanikhom SakonNakhon 47220 Tel. +6687-223-1679, +6642-861092

กลุ่มวิสาหกิจถักทอไหมพรม นางสาวชุติมา ชุบไธสง 41/9 หมู่ที่ 2 ต.ชุมแพ อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น 40130 โทรศัพท์ : 043-312923 02-895-4167

P. 22 Knitting Wool Community Enterprise Miss. Chutima Chukthongsong 41/9 M. 2 T.ChumPhae A.ChumPhae KhonKaen 40130 Tel.+6681-8367463,+662-5752379

กลุ่มมัดย้อมสีธรรมชาติบ้านคีรีวง นางอารีย์ ขุนทน 373 หมู่ 10 ต.กำ�โลน อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช 80230 โทรศัพท์ : 086-9467786

Mad YhomKiriwong P. 28 Community Ms. Piyaporn Sompoung 288 M.7 T.MakhueaChae A. Mueang Lamphun51000 Tel.+6684-613-6368

WOVEN FABRIC

ผ้าทอ

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย 125


WICKERWORK

จักสาน

หัตถกรรมกระจูดวรรณี นายมนัทพงศ์ เซ่งฮวด 152 ม.10 ต.พนางตุง อ.ควนขนุน จ.พัทลุง 93150 โทรศัพท์ 087-760-9879

Krajude Wannee P. 54 Handicraft Community Mr. Manattapong Senghuad 152 M.10 T.Phanangtung A.KhuanKhanun Patthalung93150 Tel. +6687-760-9879

กลุ่มแม่บ้านสวนตาล นางสาวรัชนีกร มะมี 21 ม.1 ต.ไร่หลักทอง อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี 20140 โทรศัพท์ 086-838-9176 , 038-463261

P. 60 Suantan Community Miss Ratchaneegon Mame 21 M.1 T.Railuckthong Panusnikom,chonburi 20140 Tel. +6686-838-9176, +6638-463261

กลุ่มหัตถกรรมพื้นบ้านผักตบชวา นางกันดา สระทองแยง 47 ม.6 ต.ไทรงาม อ.บางเลน จ.นครปฐม 73130 โทรศัพท์ 084-551-4644

Water Hyacinth Local P. 48 Handicraft Community Ms. Kunda Satongyeang 47 M.6 T.Saingam A.banglen NakhonPathom 73130 Tel. +6684-551-4644

ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด สุขขี แฮนดิคราฟท์ นางสาวศิริวรรณ สุขขี 12 ม.3 ต.พงสวาย อ.เมือง จ.ราชบุรี 70000 โทรศัพท์ 081-763-8317, 032-317459

P. 42 Sukkee Handicraft ltd.,part Miss Siriwan Sukkee 12 M.3 T. PhongSawa A. Mueang Ratchaburi 70000 Tel. +6681-763-8317, +6632-317459

กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรศรีพราน นางสาวพิมพ์วิสาข์ อินทร์โต 118 ม.2 ต.ศรีพราน อ.แสวงหา จ.อ่างทอง 14150 โทรศัพท์ 083-094-5072

126 THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย

Sripran Farmer Community Ms. Pimvisa Into 118 M.2 T.Sriphan A.Saweang-ha Angthong 14150 Tel. +6681-4942763

P. 66


กลุ่มอาชีพผลไม้สดและผลผลิตเกษตร แปรรูปบ้านดอนทอง นางวันดี ไพรรักษ์บุญ 88/1 หมู่ที่ 4 ต.คลองใหม่ อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110 โทรศัพท์ 034-980189, 087-4002667, 090-1405205

Processed Fresh fruit and P. 92 Farm Products Community Ms. Wandee Phrairakboon 88/1 M.4 T. Klongmai A.samphran NakhonPathom 73110 Tel.+6687-400-2667, +6634-980189 +6690-1405205

บริษทั ซองเดอร์ ไทยออร์กานิคฟูด จำ�กัด นางสุวรรณา จิวัฒนไพบูลย์ 106 ถ.สนามบินน้ำ� ต.ท่าทราย อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทรศัพท์ 02-967-1200,02-526-845 044-284465, 044 284664

P. 98 XongdurThai Organic Foods Co.,Ltd Ms. Suwanna jiwatanapiboon 106 R.Sanam Bin Nam T. ThaSai A. Meuang Nonthaburi 11000 Tel.+662-967-1200, +662-526-8459

วิสาหกิจชุมชนสนามจันทร์ นางกัลยา จึงสมานญาติ 4/30 หมู่ที่ 2 ต. สนามจันทร์ อ. เมือง จ. นครปฐม 73000 โทรศัพท์ 034-218367,087-6777477, 089-8818438

Sanamchan Community P. 86 Enterprise Mr.Kunlaya Chnengsamarnyart 4/30 M.2 T.Sanamchan A.Mueng Nakonpatom 73000 Tel. +6634-218367, +6687-6777477, +6689-8818438

ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด ทวีพรรณ โปรดักส์ นายชาญยุทธ อินทร์พรหม 20/258 ถ.ประชาชื่น ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 โทรศัพท์ : 081-8367463,02-5752379 โทรสาร : 02-5752380

P. 74 Khaotan Thaweephan Products Partnership Mr.Chanyut Inphrom 20/258 Prachacheun Rd. T.Bangtalard A.Parkret Nontaburi 11120 Tel.+6681-8367463, +662-5752379

วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านริมร่อง นางสาวปิยะภรณ์ สมพงษ์ 288 ม.7 ต.มะเขือแจ้ อ.เมือง จ.ลำ�พูน 51000 โทรศัพท์ 084-613-6368

Ban Rim Rong P. 80 Community Enterprise Miss Piyaporn Sompoung 288 M.7 T.MakhueaChae A. Mueang Lamphun 51000 Tel.+6684-613-6368

thai snacks

ขนมไทย

THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย 127


กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์

44/100 ถนนนนทบุรี 1 ตำ�บลบางกระสอ อำ�เภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท์ 02 547 4621-25

Department of Intellectual Property, Ministry of Commerce 44/100 Nonthaburi Rd., T.Bangkrasor, A.Mueang, Nonthaburi 11000, Thailand Tel : +662 547 4621-25 www.ipthailand.go.th

128 THAINESS : มรดกแผ่นดิน ทรัพย์สินทางปัญญา สร้างมูลค่าเศรษฐกิจไทย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.