ผูจัดทำ นายชัยสิทธิ์ ใจกลา 59020011 นายซันมาน แวอูมา 59020014 นายพีรวิชญ ออกประเสริฐ 59020044 นายรชรินทร อินธุระ 59020054 นายรวิภัทร กระจางทิม 59020055 นายวิศรุต รอดเกิด 59020060 นายศิริโรจน วุฒิสกนธิ์ 59020064 นายอิทธิพจน พจนพรชัย 59020072
คำนำ วิชาเทคโนโลยีทางอาคาร 6 (Building Technology VI) เปนวิชาสำคัญในชั้นปที่4 ของคณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง เนื้อหาสำคัญคือการศึกษาหลักการและระบบของอาคารที่ใชโครงสรางพาดชวงกวาง (Wide – Span Structure) ศึกษาพฤติกรรมการรับแรงในแนวดิ่ง – ระนาบ และแนวเฉียงเชิง 3 มิติดวยองคประกอบโครงสรางเชิงเสน (Active Linear Structure) เชิงพื้นที่ (Active Area Structure) เชิงหนาตัด (Active Surface Structure) และเชิง รูปทรง (Active Form Structure) ทั้งวัสดุแข็งเกร็ง (Rigid Materials) วัสดุยืดหยุน (Flexible Materials) และ วัสดุเมมเบรน (Membrane Materials) ศึกษาระบบโครงสรางพิเศษประกอบงานสถาปตยกรรม (Special Structure for Architecture and Para-Architecture) ที่สามารถใชกับสถานการณปจจุบัน พรอมทั้งศึกษา วิธีการเลือกใชโครงสรางชนิดตางๆ กรรมวิธีการกอสรางติดตั้งองคประกอบของอาคาร งานระบบอุปกรณ ประกอบอาคารที่เกี่ยวของฝกทักษะดวยการสรางแบบจำลองและการเขียนแบบ โดยไดนำโครงการรถไฟความเร็วสูง สถานีหนองคาย เขามาศึกษาและออกแบบเปนโครงการที่ใชโครงสรางพาดชวงกวาง โดยศึกษาถึงนโยบาย มาตรฐานการออกแบบ วิเคราะหพื้นที่ โครงสรางที่เหมาะสมกับพื้นที่ รวมถึงทำการทดลองและพัฒนาแบบเปนขั้นตอน เพื่อใหเรียนรู เขาใจในระบบโครงสรางพาดชวงกวาง ฟงคชั่น, ระเบียบแบบแผนไและงานระบบภายในโครงการสถานีรถไฟความเร็วสูง
คณะผูจัดทำ
01
07
19
บทที่ 3 ทบทวนวรรณกรรม
41
บทที่ 4 แนวความคิด
49
บทที่ 5 การออกแบบรางและ การทดลองการออกแบบ
บทที่ 1 บทนำ ที่มาและความสำคัญ / วัตถุประสงคของกาศึกษา / ขอบเขตของการดำเนินงาน และพื้นที่การศึกษา / ขอบเขตผูใชโครงการ / ขอบเขตดานเวลา / ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ / ผลสำเสร็จที่คาดวาจะไดรับ / ขั้นตอนและวิธีการ ดำเนินการออกแบบ / การทบทวนวรรณกรรม หรือสารสนเทศที่เกี่ยวของ / เอกสารอางอิงการ ออกแบบ
บทที่ 2 รายละเอียดโครงการ นโยบายการสรางรถไฟความเร็วสูง / ขอมูลจังหวัดหนองคาย / ลักษณะทางกายภาพสถานีรถไฟหนองคาย / ขอมูลที่ตั้งโครงการสถานีรถไฟหนองคาย / องคประกอบโครงการตามนโยบาย / ขอกำหนดที่ใชในการออกแบบ / การประเมิณจำนวนผูใชโครงการ / Area requirement / flow diagram
ทฤษฏีโครงสราง ทฤษฏีโครงสราง ทฤษฏีโครงสราง ทฤษฏีโครงสราง ทฤษฏีโครงสราง CASE STUDY
ARCH / TENT,CABLE / RIGID / LAMELLA / BOX SEGMENTAL /
Architecture Form / Structure Concept
ออกแบบรางโดยวิธีการทดลองทำsketch design / พัฒนาแบบรางโดยมีเงื่อนไขคืออาคารสถานนีรถไฟที่ พาดชวงกวางเกิน 30 เมตร และตัดหุนจำลอง / นำจุดเดน ของแตละชิ้นงานมาพัฒนาแบบตอเปน โครงการโดยใสฟงกชัน เขาไป / นำขอดีและขอดอยของทั้งสองแบบรางมา พัฒนา ตอเปนแบบรางชิ้นที่หนึ่ง / พัฒนาแบบรางจากการ ตรวจแบบครั้งที่ 1 นำขอดอยมาแกไข / แบบพัฒนาขั้นสุดทายจากการตรวจแบบครั้งที่2
89
61
บทที่ 6 ผลงานการออกแบบ Axonometric / Layout Plan / Ground Floor Plan / 2nd Floor Plan / Platform Floor Plan / Elevation 1,2,3,4 / Section A, B / แบบขนาย Tentsile, Rigid Truss, Approach, Bus terminal / Diagram ระบบ ไฟฟา,ประปา,ดับเพลิง,ขนสงทางตั้ง, อัศคีภัย,รักษาความปลอดภัย
บทที่ 7 บทสรุป ภาพรวมแบบสุดทาย / ผลสรุปการศึกษา / ขอเสนอแนะ / อางอิง/ภาคผนวก
บทที่ 1 บทนำ
1
ที่มาและความสำคัญ
บทนำ
หลักการกรอบยุทธศาสตรการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานคมนาคมขนสงของไทย(พ.ศ.2558-2565) พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานคมนาคมขนสงทางราง โดยการวางมาตรฐานใหมสำหรับอนาคต โดยมีสถานีที่สำคัญในการขนสงและรับสินคาและบุคลากรเขาและออกประเทศ หนึ่งในสถานีหนาดานที่สำคัญ คือ สถานีหนองคาย ซึ่งเชื่อมตอออกไปสูประเทศลาว และยาวไปถึงประเทศจีน ในอนาคต ทำใหภาพลักษณของสถานีหนองคายจำเปนตองมีความเปนเอกลักษณทั้งดวยวัฒนธรรม ประเพณี
วัตถุประสงคของการศึกษา เพื่อไดเรียนรูและมีความเขาใจในระบบโครงสรางประเภทรับแรงอัดและแรงดึง ที่ใชกับอาคารที่มีลักษณะพาดชวงกวาง (Wide-Span Structure) หรือโครงสราง พาดชวงยาว (Long-Span Structure)และงานระบบภายในโครงการสถานีรถไฟความเร็วสูง หนองคายโดยที่ออกแบบใหสวยงามในภาพลักษณความเปนสถานีหนาดานระหวางประเทศ โดยจะเปนการศึกษาทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่จะมีการเขียนแบบรายละเอียด และการทำหุนจำลอง
ขอบเขตของการดำเนินงานและพื้นที่การศึกษา ขอบเขตของพื้นที่การศึกษา ศึกษาในพื้นที่สถานีรถไฟ ความเร็วสูงหนองคายเพียง หนึ่งสถานี ตามแบบแผนการ สรางสถานีรถไฟความเร็วสูง
2
ขอบเขตดานเนื้อหา ศึกษาโครงสรางสถานีรถไฟความเร็วสูงดวยโครงสราง Wide span ในตัว โครงสรางหลักโดยมีขอกำหนดตองมีระยะ พาดชวงกวาง 30 เมตรขึ้นไป และตองมี ประเภทของโครงสราง 3 ชนิดขึ้นไปโดยจะ ผสานกันในหนึ่งโครงสรางหรือแยกกันก็ได
ขอบเขตผูใชโครงการ ผูใชโครงการหลัก ผูมาใชงานรถไฟ โดยที่แบงเปน 1. บุคคลในประเทศ 2. บุคคลตางประเทศ ผูใชโครงการรอง พนักงานในโครงการ โดยที่แบงเปน 1. พนักงานฝายการรถไฟ 2. พนักงานฝายบริหาร
ขอบเขตดานเวลา ระยะเวลาการดำเนินการ ไดรับโปรแกรมและเริ่มออกแบบตั้ง แตวันที่ 6 สค. 62และมีการนำเสนอ 1 แบบที่พัฒนา2ครั้ง ครั้งที่ 1 ในวันที่ 3 กย. 62 ครั้งที่ 2 ในวันที่ 22 ตค. 62 และกำหนดสงผลงานขึ้นสุดทายใน 2 วันที่ 19 พย. 62 โดยที่ตลอดชวงระยะเวลา 3 เดือนมีการนัดตรวจแบบกับ อาจารยผูเชี่ยวชาญ
วันที่ 6 สค. 62
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ วันที่ 3 กย. 62
สามารถเขาใจในระบบโครงสรางประเภทรับแรงอัดและแรงดึง ที่ใชกับอาคาร ที่มีลักษณะพาดชวงกวาง (Wide-Span Structure) หรือโครงสรางพาดชวงยาว (Long-Span Structure)และงานระบบภายในโครงการสถานีรถไฟความเร็วสูง
วันที่ 22 ตค. 62
ผลสำเร็จที่คาดวาจะไดรับ วันที่ 19 พย. 62
มีความรูและทักษะในการเลือกใชระบบโครงสรางแบบพิเศษตาง ๆ ตามที่ระบุในวัตถุประสงครายวิชา และรูหลักการที่จะนำไปสูการพัฒนา การออกแบบใชงานกับโครงสรางอาคาร ที่มีลักษณะพาดชวงกวาง หรือพาดชวงยาว (Wide-Span or Long-Span Structure)
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการออกแบบ (1) ออกแบบรางโดยวิธีการทดลองทำ sketch design โครงสรางทั้งหมดที่เปนไปได (2) พัฒนาแบบรางโดยมีเงื่อนไขคืออาคารสถานนีรถไฟที่ พาดชวงกวางเกิน 30 เมตร ที่จังหวัดหนองคาย และตัดหุนจำลองเพื่อแสดง Space รวมไปถึงการ ทดลองขั้นตน (3) นำ จุดเดน ของแตละชิ้นงานมา พัฒนาแบบ ตอเปน โครงการสถานนีรถไฟความเร็วสูงโดย ใสฟงกชัน เขาไป (4) นำขอดีและขอดอยของทั้งสองแบบรางมา พัฒนา ตอเปนแบบรางชิ้นที่หนึ่ง (5) พัฒนาแบบรางจากการตรวจแบบครั้งที่ 1 นำขอดอยมาแกไข (6) แบบพัฒนาขั้นสุดทายจากการตรวจแบบครั้งที่2
3
การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศที่เกี่ยวของ - รายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม ฉบับผูบริหาร (Executive Summary Final EIA Report) - โครงการปรับแบบรายละเอียดระบบรถไฟฟาสีแดง ชวงบางซื่อ - รังสิต รวมสถานีบางซื่อ - โครงการศึกษาและออกแบบโครงการระบบการขนสงทางรถไฟในกรุงเทพมหานครสายเหนือ (ชวงบางซื่อ-รังสิต)และยานสถานีรถไฟบางซื่อ - https://www.detail.de/ - http://www.architen.com/ - http://www.birdair.com/ - https://www.ronstantensilearch.com/ - http://www.fastech.co.th/
เอกสารอางอิงของโครงการออกแบบ -
4
รายงานฉบับสรุปสำหรับผูบริหาร (Executive Summary Report) Technical memorandum Highspeed train station Platform Geometric Design Code of Design Highspeed Railway(Trial) 2009 Intermodal Concept in Railway Station Design Neufert Architects’ Data Highspeed train station Platform Geometric Design Station design on high speed railway in Scandinavia
บทที่ 2 รายละเอียดโครงการ
7
นโยบายการสรางรถไฟความเร็วสูง
เชียงใหม
หนองคาย
คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบและเห็นชอบตามที่ประชุมรวมภาครัฐและเอกชน เพื่อแกไขปญหาทางเศรษฐกิจในภูมิภาค(กรอ.) โดยคณะรัฐมนตรีไดมีนโยบาย โครงการรถไฟความเร็วสูงเพื่อ 1.) เพิ่มศักยภาพทางดานเศรษฐกิจ 2.) พัฒนาพื้นฐานการขนสง 3.) สงเสริมการคมนาคม
นครราชสีมา
เสนทางรถไฟ ระยอง
กรุงเทพมหานคร - เชียงใหม
ห
ช
กรุงเทพมหานคร - หนองคาย
กทม.
หัวหิน
กรุงเทพมหานคร - ปาดังเบซาร
ป
ร
กรุงเทพมหานคร - ระยอง แลวเสร็จป พ.ศ.
2569
สายกรุงเทพมหานคร - หนองคาย เสนทางสายกรุงเทพฯ-หนองคายไดมีการวางแผนไว 2 phase ปาดังเบซาร
8
โดยในphaseแรกสรางในชวง กทม. - นครราชสีมา เสร็จในป 2566 และ เฟสที่สองไดสรางไปถึงหนองคายและสถานีที่ สำคัญคือ สถานีหนาดานหนองคาย เพื่อใหสามารถรองรับระบบรถไฟความเร็วสูง ที่จะผานขึ้นไปสูประเทศลาว และรับคน เขามาสูประเทศไทย
แลวเสร็จป พ.ศ.
2566
หนองคาย จังหวัดหนองคาย เปนจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ตั้งอยูในแองสกลนคร เปนจังหวัดชายแดนซึ่งมีพื้นที่สวนใหญติด แมนํ้าโขงตรงขามกับประเทศลาว มีพื้นที่แคบแตยาว และมีชื่อเสียง ดานการทองเที่ยว โดยเฉพาะการชมบั้งไฟพญานาคในวันออกพรรษา พื้นที่ 3,027.28 ตร.กม. ประชากร 522,103 คน ความหนาแนน 172.39 คน/ตร.กม. (อันดับ 20)
สถานีรถไฟหนองคาย
บั้งไฟพญานาค หรือกอนป พ.ศ. 2529 เรียก บั้งไฟผี เปนปรากฏการณที่กลาว กันวาเห็นที่แมนํ้าโขง ลักษณะเปนลูกกลม เรืองแสงลอย ขึ้นจากนํ้าขึ้นไปใน อากาศจำนวนลูกไฟมี รายงานระหวางหลายสิบ ถึงหลายพันลูกตอคืนบั้งไฟ พญานาคเกิดชวงวันออก พรรษาทุกป
เปนสถานีรถไฟปลายทางของขบวนรถไฟโดยสารภายในประเทศเสนทางรถไฟ สายตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน และเปนสถานีสุดทายของเสนทางรถไฟ สายตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนกอนออกจากอาณาเขตประเทศไทย โดยเปนสถานีรถไฟประจำจังหวัดหนองคาย ซึ่งใชแทนสถานี(ที่หยุดรถไฟ) ตลาดหนองคาย ที่เปนสถานีรถไฟประจำจังหวัดเดิม สถานีรถไฟหนองคาย เปนสถานีรถไฟในเสนทางรถไฟ สายหนองคาย–ทานาแลง(เวียงจันทน) ซึ่งเปนสวนหนึ่งของโครงการ ทางรถไฟผานทวีปเอเชียขององคการสหประชาชาติ
9
ลักษณะทางกายภาพ สถานีรถไฟหนองคาย ตำบล มีชัย อำเภอเมืองหนองคาย หนองคาย 43000 LOCATION
ดานพรมแดนหนองคาย
รพ.สงเสริมสุขภาพตำบล
สวนสาธารณะหนองถิ่น
ดานตรวจคนเขาเมืองหนองคาย
TOPOGHAPHY
SITE
CLIMATE
โรงเรียนหนองคายวิทยาการ สวนมิตรภาพไทย-เวียดนาม
ถนนเสนหลักในการเขาถึงโครงการ สถานที่สำคัญโดยรอบ site
10
สภาพภูมิประเทศของจังหวัดหนองคายมีลักษณะทอดยาว ตามลำนํ้าโขง จังหวัดหนองคายเปนจังหวัดชายแดน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน มีอาณาเขตติดกับ กรุงเวียงจันทน ซึ่งเปนเมืองหลวงของประเทศลาว โดยมีแมนํ้าโขงเปนเสนกั้นเขตแดน จังหวัดหนองคาย เปนจังหวัดชายแดนที่มีเอกลักษณพิเศษโดยมีพื้นที่ทอด ขนานยาวไปตามลำนํ้าโขง ความกวางของพื้นที่ทอดขนาน ไปตามลำนํ้าโขงโดยเฉลี่ยประมาณ 20 – 25 กิโลเมตร ลักษณะอากาศจัดอยูในจำพวกฝนแถบรอนและแหงแลง (ธ.ค. - ม.ค.) ในฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ อุณหภูมิจะเริ่มลดในเดือนพฤศจิกายนและตํ่าสุดในชวง เดือนธันวาคมถึงมกราคม ในชวงเดือนมีนาคมถึง พฤษภาคม เปนชวงเปลี่ยนฤดู อุณหภูมิจะสูงขึ้น อยางรวดเร็วในเดือนมีนาคม และรอนจัดในเดือนเมษายน ในฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงใต (มิ.ย.- ก.ค.) อุณหภูมิ โดยทั่วไปจะลดลง และในเดือนตุลาคมอุณหภูมิจะเริ่ม ลดลงจนอากาศหนาวเย็น อุณหภูมิตํ่าสุดรายปอยูที่ 9.50 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดรายปอยูที่ 40.60 องศาเซลเซียสเฉลี่ยรายปอยูที่ 26.46 องศาเซลเซียส ปริมาณนํ้าฝนทั้งปอยูที่ 1,843.6 มิลลิเมตรตอป
ขอมูลที่ตั้งโครงการ สถานีรถไฟหนองคาย ลักษณะการวางโครงการวิ่งตาม แนวรถไฟเดิม ซึ่งชวยเพิ่ม ศักยภาพการเชื่อมตอและลดคาใช จายในการเวนคืนที่ดิน
SITE DATA 340 m.
สปป.ลาว สะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว
แมน้ำโขง
1200 m. 408,000 sq.m. 1200 m.
15
0
m.
ดานพรมแดน หนองคาย
ถนนมิตรภาพ
ขนาดที่ดินโครงการ พื้นที่ทั้งหมด 408,000 ตารางเมตร
340 m.
มุมมองจากถนนมิตรภาพ แนวสถานีวางขนานกับถนน มิตรภาพ
ที่ตั้ง ดานทิศตะวันตกของสถานีรถไฟหนองคาย ตำบลมีชัย อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย
11
องคประกอบโครงการตามนโยบาย อางอิง
สวนชานชะลา สวนบนสุดของอาคาร เปนพื้นที่เทียบของรถไฟ เปนพื้นที่คอยขบวนรถไฟ
อาคารผูโดยสาร อาคารสำหรับผูที่มาใชบริการรถไฟความเร็วสูงและญาติ เปนพื้นที่ซื้อตั๋ว คัดกรองและรอขบวนรถไฟความเร็วสูง
สวนตรวจคนเขาเมือง พื้นที่คัดกรองสำหรับผูโดยสารตางชาติที่เดินทางเขามา และผูที่เดินทางออกนอกประเทศ และเปนสวนสินคาปลอดภาษี รายงานฉบับสรุปสำหรับผูบริหาร (Executive Summary Report)
หัวขอที่ศึกษา ศึกษาขอมูลนโยบายการออกแบบรถไฟ ความเร็วสูงสายอีสาน การเลือกที่ตั้ง แนวทางการเดินรถ การประเมิณจำนวนผูใช มาตรฐานที่ใชในการออกแบบสถานี ขอกำหนดดานการออกแบบ
สวนสนับสนุนโครงการ พื้นที่ทางเทคนิคและพื้นที่เชาสำหรับธุรกิจ
อาคารผูโดยสารรถโดยสารประจำทาง พื้นที่พักคอยสำหรับผูโดยสารรถประจำทาง พื้นที่สำหรับจอดรถโดยสาร ทั้งรถบัส รถตู ฯลฯ
12
ขอกำหนดทางนโยบาย ลักษณะการเดินรถ สถานี ขอนแกน
สถานีซอมบำรุง หนองสะอาด
สถานีซอมบำรุง หวยสัมพัธน
สถานี อุดรธาณี
ศุลกากร สถานีนาธา
เชื่อมตอกับโครงขาย รถไฟความเร็วสูง สปป.ลาว
ไป กทม.
1 2 3 4 5 6
China
Laos
Control
สถานี หนองคาย
ลักษณะการเดินรถ ประกอบดวย 6 ชองชานชะลา สถานีหนองคายเปนสถานีปลายทางรถไฟความเร็วสูงสายอีสาน อีกที่งยังเปน สถานเชื่อมตอไปยังรถไฟความเร็วสูง สปป.ลาว จนถึงจีน จึงมีจำนวนชานชะลา ที่ีมากกวาสถานีอื่น เพื่อใหสามารถคัดกรอง การเขาสูประเทศโดยมีทั้งหมด 6 ชอง ชานชะลา ในประเทศ 4ชานชะลา และรถไฟระหวางประเทศ 2 ชานชะลา
ขอกำหนดดานการใชงานอาคารสถานี
ขอกำหนดในการออกแบบดานสถาปตยกรรม
-สถานีหนองคายเปนสถานีเชื่อมตอไปยัง โครงขายรถไฟความเร็วสูงของ สปป.ลาว จนถึงประเทศจีน ในอนาคต
-ลักษณะสถานี เปนสถานียกระดับ ชั้นอาคารผูโดยสาร ยกระดับจากพื้นดิน และชั้นชานชะลาอยูชั้นบนสุด
-สถานีหนองคายจึงตองสามารถทำหนา ที่เปนดานตรวจคนเขาเมืองได
-การออกแบบที่สามารถแสดงเอกลักษณ ของจังหวัดที่ีตั้งสถานี
Nongkhai Thailand
13
ขอกำหนดและมาตรฐานที่ใชในการออกแบบ มาตรฐานความสูงสถานี เพื่อตองการหลีกเลี่ยงผลกระทบตอชุมชนและ การจราจร โดยรอบสถานจากนโยบายจึงเลือก ใชชานชะลายกระดับ ซึ่งมีความสูงประมาณ 20.00 เมตร จากความสูงถนน
มาตรฐานขบวนรถไฟและขนาดราง ขบวนรถไฟที่ใช รุน CR400AF มาตรฐานขนาดราง 1.435 เมตร ตามมารตฐานสากล 1435 mm.
ขบวนรถไฟรุน CR400AF 20.00
ตัวถังกวาง ตูปลายยาว: ตูกลางยาว: กวาง: ความสูง:
27,910 มม. 25,650 มม. 3,360 มม. 4,050 มม.
ความยาวรวม
ความเร็วสูงสุด
ที่คำนวณ: ยาวจริง:
ทดสอบ: 420 กม./ชม. ออกแบบ: 430 กม./ชม.
209.72 เมตร 209 เมตร
มาตรฐานความยาวชานชะลา ความยาวชานชะลาโดยทั่วไปจะยาวสุดศักยภาพ ของรถไฟ พรอมระยะเผื่อ อยูที่ 400 เมตร
ความจุที่นั่ง 556 ที่นั่ง (แบงเปน 10 ชั้นธุรกิจ, 28 ชั้นหนึ่ง และ 518 ชั้นมาตรฐาน) 576 ที่นั่ง (แบงเปน 10 ชั้นธุรกิจ, 28 ชั้นหนึ่ง และ 538 ชั้นมาตรฐาน).
กำลังขับเคลื่อน (ที่กำลังไฟ 25 kV) 10.40 MW (13,900 แรงมา)
14
400 เมตร
ระยะที่เกี่ยวของกับการออกแบบ
การประเมิณจำนวนผูใชโครงการ ผลการคาดการณ์ปริมาณผู้โดยสาร รถไฟความเร็วสูง กรณีมีโครงข่ายเชื่อมต่อไปยังประเทศจี к น
มาตรฐานความกวางชานชะลา 1.70 เมตร
ความกวางสวนราง
ความกวางชานชะลา
ความกวางสวนรางจะไดจากข นาดมาตรฐานของรางและระยะ ปลอดภัยตามการคำนวณทาง วิศกรรม
ในสวนความกวางชานชะลาขึ้นอยู กับจำนวนผูใชโครงการ และองคประกอบที่มีบนชานชะลา
4.50 เมตร
20000 18000 16000 14000 12000 10000 8000 6000 4000 2000 0
1.70 เมตร
7.90 เมตร
ความกวางขั้นต่ำสวนชานชะลาสถานีรถไฟความเร็วสูงหนองคาย
2022
2032
2042
2052
total
4250
6160
7510
8980
lineload
2580
3790
4700
5740
aligh�ng
840
1190
1410
1630
board
830
1180
1400
1610
board
aligh�ng
lineload
total
ขอมูลจากรายงานฉบับผูบริการ โครงการรถไฟความเร็วสูง กรุงเทพฯ-หนองคย เฟส2
3.95
14.98
7.90
14.98
7.90
14.98
68.64
3.95
8,980 คน/วัน เวลาทำการ 06.00-00.00 น. 18 ชั่วโมง
มาตรฐานรูปแบบโครงสรางและวิธีการกอสรางที่เลือกใช โครงสรางรองรับพื้นอาคารสถานี เลือกใชโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก
โครงสรางรองรับรางรถไฟ เลือกใช Box Girder
498 คน/ชั่วโมง
15
Flow Diagram Abroad Waiting platform
ผูโดยสารภายในประเทศ สถานีหนองคายเปนสถานีตนและสถานี สิ้นสุดรถไฟความเร็วสูงสายอีสาน
Immigration
Customs Procedure
Customs Procedure
Immigration
Domestic Waiting platform
Duty free
Security check Exit gate
Ticket check
Exit gate
ผูโดยสารระหวางประเทศ สถานีหนองคายเปนสถานีที่สามารถเชื่อมตอ กับโครงขายรถไฟความเร็วสูงตางประเทศเปนประตู ออกตางประเทศ และประตูเขาสูประเทศ
Ticket
Main hall
Concession
Curb Platform
Area requirement
Bus terminal
ผูโดยสารที่ยืนรอ 1/3 ของผูโดยสารใชโถงนี้
166 คน (1.2)
199.2 ตรม.
ผูโดยสารที่นั่งรอ 2/3 ของผูโดยสารทีใชโถงนี้
322 คน (1.2)
398.4 ตรม. Bus Platform
พื้นที่สวนโถง 776.88 ตร.ม. (จะเปนตัวกำหนดฟงคชั่นอื่นตอไป)
16
Ticket
บทที่ 3 ทบทวนวรรณกรรม
19
ทฤษฎีหลักการทางโครงสรางพาดชวงกวาง FORM - ACTIVE STRUCTURE SYSTERMS
ARCH
คือโครงสรางลักษณะโคงที่ใชรองรับนํ้าหนักของสิ่งกอสรางดานบนเหนือ ตัวมันเองเทคนิคการสรางอารชถูกพัฒนาขึ้นในเมโสโปเตเมียอัสซีเรียอียิปต และอีทรูเรียแตถูกปรับปรุงและใชอยางแพรหลายในโรมันโบราณ หลังจาก นั้นอารชกลายเปนโครงสรางสำคัญของอาคารโบสถในศาสนาคริสตและใน ปจจุบันยังมีการใชอารชในสวนของโครงสรางสะพาน ประโยชนของอารชคือใชเปนโครงสรางในการเชื่อมตอบริเวณชองของสวน โครงสรางอื่น ออกแบบเพื่อรับแรงอัดในแนวดิ่งโดยการเปลี่ยนแรงอัด ในแนวดิ่งเปนแรงอัดในแนวระนาบของอารชและถายแรงลงสูฐานทั้งสองขาง ของอารช
1/2 DEAD WEIGHT
CH AR SS
RE
ST
VERTICAL REACTION
DEAD WEIGHT
HORIZONTAL REACTION
20
ทฤษฎีหลักการทางโครงสรางพาดชวงกวาง FORM - ACTIVE STRUCTURE SYSTERMS
CABLE - TENT โครงสรางผาใบที่มีเสน cable ขึงตรึงจนสามารถทำหนาที่หลังคากันแดดกันฝนได ใ น โ ค ร ง ส ร า ง ข อ ง ผ า ใ บ จ ะ มี เ ส น ด า ย ( Ya r n ) ท อ ยึ ด กั น เ ป น ต า ข า ย ซึ่ ง มั น ก็ จ ะมี ห น า ที่ ใ นการรั บ แรงดึ ง กรณี ข องเต็ น ท แ รงดึ ง ในผ า ใบจะมี น อ ย ทำให เ ส น ใยเสี ย ดสี กั น ได เ มื่ อ เกิ ด ลมพั ด ตั ว พลาสติ ก ที่ เ คลื อ บบนผิ ว ผ า ใบนั้ น ไมไดมีสวนในการรับแรงแตอยางใดดังนั้นความหนาของผาใบจึงไมไดบงบอกถึงความ แข็งแรงของผา
21
SECTION - ACTIVE
STRUCTURE SYSTERMS
RIGID โครงสรางขอแข็ง Rigid frame มีหลักการพื้นฐานเชนเดียวกับโครงสรางตอเนื่อง หรือโครงสรางที่มรรอยตอแบบแข็งเกร็ง(Rigidjoint) คือการออกแบบรอยตอระหวางเสาและคานใหมีความตอเนื่องเปนโครงสรางอันเดียวกัน โครงสรางทั้งหมดทำหนาที่รับแรงหรือโมเมนตดัดรวมกันซึ่งตางกับคานที่อยูบนหัวเสาตา มปกติ ในกรณีหลังนี้คานจะรับแรงกระทำแยกจากเสาโดยอิสระ เสารับแรงตามแนวแกน(Axail force) จึงถือวาไมมีโมเมนตเกิดที่หัวเสา
22
SECTION - ACTIVE
STRUCTURE SYSTERMS
LAMELLA หลังคา LAMELLA หรืออีกชื่อคือ หลังคาZOLLINGER (ตั้งตาม FRIEDRICH ZOLLINGER ผูจดสิทธิบัตรหลังคา LAMELLA) เปนหลังคาที่สรางดวยโครงสรางพื้นฐาน ที่มีสวนประกอบที่เรียบงายจากชิ้นสวนสำเร็จรูป มีรูปแบบการสานกันเปนทรงโคง สามารถสรางพื้นที่วางภายใตหลังคาไดเปนชวงกวาง ชิ้นสวนแตละชิ้นถูกยึดติดกันเปนรูปแบบสี่เหลียมดานขนาน สวนใหญวัสดุที่ทำจากไมจะถูกยึดดวย BOLTS หรือ PLATES
23
PREFABRICATED STRUCTURE SYSTERMS
BOX SEGMENTAL โครงสรางแบบ BOX SEGNEMT ใชชิ้นสวนคอนกรีตสำเร็จรูปชนิดกลวง (HOLLOW SECTION) นำมาเรียงตอกัน แลวยึดเขาหากันดวย EXTERNAL TENDON มีชิ้นสวน PIER SEGMENT วางอยูบนหัวเสาทั้งสองฝง เปนตัวรับแรงที่ถายมาจาก TENDON ANCHORAGE และในแตละ SEGMENT จะมี SHEAR KEY ทำหนาที่รับแรงเฉือน (SHEAR FORCE) ที่เกิดขึ้น
องคประกอบหลักของสะพาน สะพานแบบ Viaduct นั้น มีองคประกอบหรือชิ้นสวนยอยๆ หลายสวนทำหนาที่แตกตางกัน หากแตสามารถแยกออกเปนองคประกอบหลักได ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
24
Viaduct Segment Longitudinal Tendon Tendon Anchorage Laminated Bearing Bearing Plinth Seismic Buffer Pier
1.Viaduct Segment เปนชิ้นสวนคอนกรีตสำเร็จรูปชนิดกลวง (Hollow Section Precast) ที่ทำการผลิตมาจากโรงงาน (Casting Yard) โดยกรรมวิธีการผลิตแบบ Short Cell Method ซึ่งเปนการใชชิ้นสวนที่ทำการผลิต ไปแลว มาเปนแมแบบในการสราง Shear Key ของตัวถัดไป ในแตละ Segment จะมี Shear Key 2 ตำแหนง ไดแก Web Key และ Top/Bottom Key โดย Web Key ถือวาเปน Key ที่สำคัญที่สุด เนื่องจากมีหนาที่รับ Shear Strength ของ Joint สวน Top/Bottom Key จะทำหนาที่สำหรับ Alignment และ Local Shear Transfer นอกจากนี้ Shear Key ขางตน ยังแบงออกไดเปน Male Shear Key หรือที่ในบรรดาผูผลิต มักเรียกกันวา Shear Key ตัวผู และ Female Shear Key หรือ Shear Key ตัวเมีย ทั้งนี้ ชนิดของ Segment ที่ประกอบกันอยูในสะพาน สามารถแบงออกไดเปน 3 ชนิดหลัก ทำหนาที่แตกตางกัน ดังนี้ 1.1 Pier Se gment เปนชิ้นสวนที่วางอยูบนหัวเสา ทำหนาที่รับแรงที่ถายมาจาก Tendon โดยมี Tendon Anchorage ที่ติดตั้งอยูดาน Fixed Bulkhead เปนตัวยึดปลาย Tendon ทั้ง 2 ดาน และยังทำหนาที่ถายนํ้าหนัก Dead Load และ Live Load ของสะพานลงบน Pier แตละตนอีกดวย โดยทั่วไป Pier Segment จะตองใชเหล็กและคอนกรีตจำนวนมากกวาปกติ นอกจากนี้ ยังมีของฝง (Embeded Part) จำนวนมาก เชน ทอ Spiral Duct ซึ่งทำหนาที่เปน Sleeve ในการสรางรูสำหรับสอดทอ Tendon หรือ Bearing Plate ที่ติดตั้งในดาน Fixed Bulkhead
1.2 Deviator Segment เปนชิ้นสวนที่พื้นดานในมี Deviator Block ทำหนาที่เปลี่ยนแนวของ Tendon ที่รอยมาจาก Pier Segment ทำใหเกิด Lift-Up Force โดยจำนวนของ Deviator Segment ในแตละชวงสะพาน ขึ้นอยูกับ Span Type ที่ผูออกแบบไดกำหนดไว
1.3 Typical Segment หรือ Standard Segment เปนชิ้นสวนที่อยูระหวางPier Segment และ DeviatorSegment เปนชิ้นสวนที่มีจำนวน ในสัดสวนที่มากที่สุด ในชวงของสะพาน และเปนชิ้นสวนที่ใชคอนกรีตและเหล็กเสริมในปริมาณนอยที่สุด ทั้งนี้ ViaductSegment ทุกชนิดขางตน ปกติจะมีทอ Tendon แนวขวาง (Transverse Tendon) ใน Top Slab เพื่อเสริมความแข็งแรงของโครงสรางของ Top Slab ใหสามารถรองรับนํ้าหนักใชงาน ตามที่ออกแบบ อยางไรก็ดี บางโครงการมีการออกแบบ Segment ใหใชปกสั้น เพื่อรองรับรถไฟฟาทางเดียว (Single Track) ในชวงที่มีทางแยก หรือหากเปนกรณีของทางดวน ก็มักใชเพื่อเพิ่มชองทางการจราจรพิเศษ กรณีนี้ Top Slab มักจะไมมี Transverse Tendon ดังกลาว
25
2. Longitudinal Tendon ทำหนาที่ยึด Viaduct Segment เขาดวยกัน โดย Tendon แตละเสนจะประกอบไปดวย ทอ PE หุมลวดแรงดึงสูง (Strand) และมีการ Grout ปด หลังจากที่ดึงลวดเสร็จแลว เพื่อปองกันไมใหอากาศเขาไปสัมผัส Strand อันจะเปนสาเหตุใหเกิดสนิมตามมา โดยปลายทั้ง 2 ขางของ Tendon จะมี Tendon Anchorage อยูที่ฝง Bulkhead ของ Pier Segment ปญหาที่พบของ Longitudinal Tendon นี้ มักพบวาในระหวางการใชงาน ลวด Strand ที่ฝงอยูภายใน มักเกิดสนิมจากการปดรู Grout หรือ Vent Hole ที่ไมดีพอ โดยเฉพาะในตำแหนงระหวาง Deviator Segment เปนสาเหตุให Tendon เสนดังกลาวไดรับความเสียหาย และตองถูกเปลี่ยนในที่สุด 3. Tendon Anchorage ทำหนาที่ยึดรั้ง Tendon ทั้งสองดาน ติดตั้งอยูบน Bearing Plate ที่ฝงอยูบน Pier Segment ฝง Bulkhead โดย Anchorage แตละชุดจะประกอบไปดวย Anchor Head, Wedge และ Grout Cap ทั้งนี้ จำนวนของ Anchorage ในแตละ Span ขึ้นอยูกับ Span Type ของสะพาน เชน ผูออกแบบอาจกำหนดวา Span Type D21 มี Anchorage จำนวน 12 ชุด Bearing Plate ที่ฝงอยูบน Pier Segment นั้น จะมี Type แตกตางกันไปตามที่ผูออกแบบกำหนดไว บอยครั้งที่พบปญหาในระหวางการผลิต Segment วา มีการติดตั้ง Bearing Plate ผิด Type
4. Laminated Bearing มีชื่อเต็มวา Elastomeric Laminated Bearing เปน Component ที่ทำมาจากยางธรรมชาติหรือยางเทียม ทำหนาที่รองรับสะพาน โดยภายในยางจะมีแผนโลหะซอนอยูเปนชั้นๆ ตามที่ผูออกแบบกำหนดไว ทั้งนี้ Laminated Bearing จะวางอยูบน Bearing Plinth ที่เตรียมไวบน Pier Cap อยางไรก็ดี ในบางตำแหนงของสะพาน เชน ตำแหนงที่มีทางโคงมาก ผูออกแบบจะเลือกใช Pot Bearing แทน Laminated Bearing เพื่อรับแรงหนีศูนยที่เกิดขึ้น มิเชนนั้น Pier Segment จะเกิดการลื่นไถลออกจากตำแหนงของ Laminated Bearing หรือที่เรียกกันวา “Bearing Slippage” เกินกวาคาที่กำหนดไว ความผิดปกติของ Laminated Bearing นี้ มักพบวา ในระหวางการใชงาน แผนยางมีการบวม (Bulging) หรือฉีกขาด (Splitting) จากการรับแรงหรือจากคุณภาพของวัสดุ ซึ่งจะไดกลาวถึงรายละเอียดในตอนการบำรุงรักษาสะพาน
26
5. Bearing Plinth เปนโครงสรางที่อยูบน Pier Cap ทำหนาที่รองรับนํ้าหนักที่ถายลงมาจากสะพาน โดยในแตละ Pier จะมี Bearing Plinth ทั้งหมด 4 ตำแหนง ซึ่งหลอขึ้นมาพรอมกับ Pier นอกจากนี้ ในระบบการติดตั้ง Segment บางประเภท ในชวงระหวางการกอสราง Bearing Plinth ยังใชประโยชนเพื่อประกอบการติดตั้งอีกดวย 6. Seismic Buffer เปนโครงสรางที่อยูบนหัวเสา ทำหนาที่ Lock สะพาน มิใหมีโอกาสหลุดออกจากหัวเสา โดยดานขางของ Seismic Buffer จะติดตั้ง Neoprene Pad ไว เพื่อรองรับแรงกระแทก ทั้งนี้ ในบางจุดที่เปนทางโคง บอยครั้งพบวา สะพานไถลไปจน Pier Segment เบียดกับ Seismic Buffer
7. Pier เปนโครงสรางเสาที่รองรับนํ้าหนักจากสะพาน โดยถายนํ้าหนักผานลงไปสูฐานราก ทั้งนี้ ในแตละ Pier จะมี Pier Cap หรืออาจมี Pier Bracket ตามที่ผูออกแบบกำหนดไว นอกจากนี้ ยังมีการฝงทอระบายนํ้าอยูดวย
8. Expansion Joint เปนองคประกอบที่ติดตั้งบน Top Slab เพื่อเชื่อมระหวาง Pier Segment ที่อยูบนหัวเสาทั้งคู ทำหนาที่หลักเพื่อรองรับการขยายหรือหดตัวของสะพาน โดยทั่วไปจะพบเห็นกันอยู 2 ประเภทหลัก คือ Finger Joint และ Strip Seal Joint โดยใน 2 ประเภทนี้ Finger Joint จะถูกออกแบบใหมีระยะที่รองรับการขยายหรือหดตัวมากที่สุด ทั้งนี้ ในแตละ Expansion Joint จะมียางรองรับขางใต เพื่อปองกันเศษวัสดุ/ฝุน/นํ้า ลงไปบน Pier Cap ซึ่งเศษวัสดุนี้เอง จะเปนเหตุที่ทำใหระบบทอระบายนํ้าที่ติดตั้งอยูในเสาอุดตัน ความผิดปกติของ Expansion Joint ในระหวางการใชงาน มักพบวา บางตำแหนงของสะพาน มีเสียงดังผิดปกติ อันเกิดเนื่องมาจากปญหาในการติดตั้ง หรือพบวา Expansion Joint มีระดับ 2 ดานแตกตางกันเกินคาที่ยอมรับได (Tolerance) หรือพบวายางเกิดการฉีกขาดจากเคลื่อนตัวของสะพาน
27
CASE STUDY
Infinity Bridge
2009
28
Stockton-on-Tees, England, United Kingdom
โครงสรางที่นาสนใจคือเสา RIGID ARCH ที่ทำหนาที่พาดชวงและ แขวนสะพานในระยะที่ยาวมากสังเกต ชวงของกลางสะพานจะยิ่งสูง เพื่อรับโมเมนตที่เกิดขึ้น และรอยตอใชเปน hinge joint เพื่อลดขนาดของตัวโครงสรางใหเล็กลง
29
Ponte Sul Crati 2018 CASE STUDY
Location : 87100 Consenza CS Italy
30
โครงสรางที่นาสนใจคือ CABLE ในการยกพื้นในระยะพาดชวงกวาง ซึ่งในตัวอยางมีขนาดและจำนวนเหล็ก ที่เยอะกวาเพื่อใหเหมาะสมกับการพาดชวง
CONSTRUCTION : CABLE
31
CASE STUDY
Santiago Calatrava
Bac de Roda Bridge 1987 Rambla de Guipúscoa, 25, 08018 Barcelona Spain
CONSTRUCTION : RIGID , CABLE โครงสรางที่นาสนใจคือ CABLE และ RIGID ARCH ในการพาดชวง สายสลิงทำหนาที่ดึงพื้นใหลอยโดยใชเสา
32
33
CASE STUDY
Liège-Guillemins 2009 Railway Station
Place des Guillemins, Liège Belgium
CONSTRUCTION : RIGID ใชหลักการของ Rigid เปนเสาพาดชวงกวาง 157 เมตร เพื่อทำการรครอบคลุมพื้นที่บริเวณ Platform ทั้งหมดของรถไฟ
34
Place des Guillemins, Liège Belgium
Detail Arch Section
Diagram Moment Construction
35
CASE STUDY
The Perfect Wave 62020 Reggio nell’Emilia (RE) Italy
2009 D ro p O f f Co n s t r u ct i o n : Ri g i d F ra m e ก า ร ใ ช โ ค ร ง ส ร า ง เ ป น r i g i d ยื่นออกมาจากอาคาร เ ร ี ย ง ตั ว ก ั น ใ ห เ ก ิ ดเ ป น ร ู ป ค ล ื ่ น
CONSTRUCTION : RIGID
36
SECTION 37
World Trade Center Location : 70 Vesey Street New York City
2016
CASE STUDY
CONSTRUCTION : RIGID โครงสรางที่นาสนใจคือ Rigid ซึ่งเปนจุดเดนของโครงการและใชประโยชน จากโครงสรางเพื่อความสวยงามและเปนเอกลักษณของเมือง
38
39
บทที่ 4 แนวความคิด
41
แนวความคิด Architecture Form
แนวความคิดของโครงการมาจากที่เมืองหนองคาย เปนเมืองแหงพญานาคหรือ นาคานคร จึงเกิดไอเดียพญานาค วายนํ้าเลนในแมนํ้าโขง โดยที่ตัวโครง ARCH หลักเปนตัว พญานาคไดเปน wide span หลักของโครงการ และมีปกที่ขยาย ออกดานขางทั้งสองขางเปนคลื่นนํ้าที่กระเพื่อมจากการวายนํ้า ภาพรวมการรับนํ้าหนักของโครงการจะมีลักษณะคลายสะพานแขวน ที่ใชตัวโครงสรางหลักรับโครงสรางรอง สวนของวัสดุปดผิวใชผาใบ เนื่องจากมีความพริ้วไหวและบางเบามากกวาวัสดุอื่น และมีการใช Chameleon Aluminum Composite ซึ่งเปนสีคลายสีมุก เพราะตำนานกลาววาพญานาคยิ่งมีสีมากยิ่งมีอิทธิฤทธิ์มากและ แสดงถึงความมั่นคั่งยิ่งใหญ
42
Structure Concept
RIGID ARCH โครงสราง RIGID ARCH เปนโครงสราง เสาหลักที่ปกคลุมพื้นที่สวน Platform ที่รองรับผูคนจาก ทั้งขาเขาและขาออกจากประเทศ และตองครอบคลุมรางรถ ไปทั้ง6รางที่จะมาพักจอดในโครงการสวนนี้จำเปน ตองพาดชวงกวางรองรับการใชงานที่เกิดขึ้น
พาดชวง 84 ม.
43
Structure Concept
TENTSILE
โครงสราง tentsile ทำหนาที่หลังคาปกคลุมพื้นที่ ปกของสวน Platform รองรับการใชงานกันแดดและฝนใหกับ พื้นที่รองรับคนจากรถไฟ ทั้งนี้เลือกใชเพื่อลดภาระโมเมนตที่เกิด ขึ้นกับโครงสราง และเพื่อความโปรงเบาในตัวอาคาร
พาดชวง 30 ม. 11.00 m
PLAN SCALE 1 : 2000
30.00 m
60.00 m
ALUMINUM CLADDING TENT
44
STEEL ROD Ø 0.25 m 69.00 m
PLAN SCALE 1: 1000
Structure Concept
RIGID TRUSS โครงสราง RIGID TRUSS เปนโครงสรางรอง ที่ทำหนาที่เปนหลังคารองรับ Finishing กระจก Low-E และ Aluminum พาดชวงระหวางเสา Arch ที่ปลายขาหางกัน และอีกชวงยื่นเปนปกหลังคา กันแดดและฝน
พาดชวง 38 ม. และ 14 ม. STEEL PLATE (HINGE JOINT) STEEL GLASS FRAME 100 X 50 mm LOW - E GLASS STEEL BRACING Ø 0.30 m STEEL FRAME 50 X 50 mm
ALUMINUM GUTTER THICK 2 mm
STEEL TRUSS Ø 0.15 m
DETAIL SECTION SCALE 1 : 125
45
Structure Concept
GRID SHELL โครงสราง Lamella ทำหนาที่หลังคาปกคลุมพื้นที่ โถงรองรับคนของ Bus station เปนจุดรวมคนจำเปนตองการ พื้นที่กวาง ไมวาจะคอยขึ้นรถ หรือ รอระหวางจะเขาสูสถานีรถไฟ
พาดชวง 30 ม.
46
30.00 m
บทที่ 5 ขั้นตอนการออกแบบ
49
บทที่ 5 การออกแบบร่างและการทดลองการออกแบบ 5.1 ออกแบบร่างโดยวิธีการทดลองทํา sketch design โครงสร้างทัง้ หมดที่เป็นไปได้
5.1.1 Tensile structure
5.1.2 Thinshell , Gridshell structure
5.1.3 Rigid frame
5.1.4 Truss,Space truss Space frame
50
5.2 พัฒนาแบบร่างโดยมีเงื่อนไขคืออาคารสถานนีรถไฟที่ พาดช่ วงกว้างเกิน 30 เมตร ที่จังหวัดหนองคาย และตัดหุ่นจําลองเพื่อแสดง Space รวมไปถึงการทดลองขัน้ ต้น
จุดเดน :
คอนเซปชัดเจนแมสลงตัวและมีความหนาสนใจของการ พาดชวง
จุดเดน :
การพาดชวงกวางทำใหเกิด space ที่กวางขวางและรองรับ ฟงกชันไดคลอบคลุม
จุดเดน :
การนำความเปนไทยมาประยุกตเปนโครงสรางประเภท Truss และนำแนวคิดของการระบายอากาศของอาคารในเขตรอนมาใช
จุดเดน :
แนวคิดของการทำใหโครงสรางที่หนักดูเบาลงดวยการ ออกแบบใหมีเคเบิลมาชวยดึง Truss ใหลอย
จุดเดน :
การเคลื่อนไหว ของโครงสราง
จุดเดน : ออกแบบโดยคำนึงถึง ประสบการณของผูเขาใชงาน
จุดเดน : ออกแบบ Rigid ใหออกมาในรูแบบของเรือนไทย
จุดเดน : ออกแบบโดยคำนึงถึงทาง เขาของรถไฟที่มาจากตางประเทศ
51
5.3 นํา จุ ดเด่น ของแต่ละชิ้ นงานมา พัฒนาแบบ ต่อเป็นโครงการสถานนีรถไฟความเร็วสูงโดย ใส่ฟังก์ชัน เข้าไป
1
ขั้นตอนแรกในการคิด คือเริ่มจากการวาง ฟงคชั่นที่พยายามใช ทางเขาเดิมจากถนน หลักจึงเกิดเปน terminal ที่คอม ตัวรางเกาทและตัว แมสที่มีแนวความคิด ของคลื่นนํ้าซัดสาด ผสมผสานกับความ พริ้วไหวของ
1
พญานาค เกิดเปนแมสดังภาพ
HIGHT SPEED TRAIN PLATFORM
DEPORTED
DROP OFF
TICKET DEPORTED
TRAIN PLATFORM
PLAZA
TICKET BUS TERMINAL OFFICE TERMINAL
PLAZA
SERVICE GROUND FLOOR
DROP OFF
2nd FLOOR
ENTRANCE 3rd FLOOR PARKING
3D MASS จุดเดน / จุดดอย จุดเดน : การออกแบบใหมีความตอเนื่องของเสนสาย ของโครงสราง Wide span จาก platform ลงมาถึงเทอมินอลและ appoach ที่อยู ดานลาง จุดดอย : ความซับซอนทางโครงสรางและการออกแบบ ขาดความลงตัวทางเรขาคณิต
52
FUNCTION
ตัดสินใจเลือกแบบที่ 2 พัฒนาตอ..
2
ขั้นตอนแรกในการคิด คือเริ่มจากการวาง ฟงคชั่นที่เปดทางเขา ใหมมาจากตรงขามกับ ทางเขาเกาเพื่อใหมีทาง เขาที่สวยงามและไม cross กับตัวรางเกา ทำใหสามารถมองเห็น จากระยะไกลอีกดวย และตัวแมสที่มีแนว ความคิดพญานาค เลนนํ้าใชวงกลมลอ กับความพริ้วไหว
HIGHT SPEED TRAIN PLATFORM
DEPORTED
TRAIN PLATFORM
OLD STATION
TICKET
DEPORTED
TICKET
BUS TERMINAL
OFFICE TERMINAL
PLAZA
SERVICE
GROUND FLOOR
DROP OFF ENTRANCE
2nd FLOOR
3rd FLOOR PARKING
3D MASS
FUNCTION
จุดเดน / จุดดอย จุดเดน : ความเปนไปไดในการกอสราง ความลื่นไหลเปนสัดสวนตามแนวความคิด
จุดดอย : ลักษณะโครงสรางดานบน ตัดขาดกับดานลาง
53
5.4 นําข้อดีและข้อด้อยของทัง้ สองแบบร่างมา พัฒนา ต่อเป็นแบบร่างชิ้ นที่หนึ่ง
72 m ROOF STRUCTURE PLAN
54
60 m 56 m STRUCTURE ELEVATION
48 m
36 m
CONCRETE ARC D = L/20 65 m
45 m
ROUND STELL
ROUND STELL SPACE TRUSS D = 3.5 L = 92 m
10 m
20 m
10 m
10 m
40 m
60 m
40 m
55
5.5 พัฒนาแบบร่างจากการตรวจแบบครัง้ ที่ 1 นําข้อด้อยมาแก้ไข
56
PROBLEM
AND
SOLUTION
ปั ญหา และ การแก้ไขปั ญหา
ปญหาความซํ้าซอนทางโครงสรางเกิดจากการ ที่มีโครงสรางหลังคาซอนกัน 2 layer และไมไดเกิดประโยชนทางดานการใชงาน หลังคา จึงแกปญหาดวยการทำระดับ layer หลังคาเปนระดับเดี่ยวกัน ทำใหความชันของปกดานขางตํ่าลงและ ใช ROUND STEEL BOX ขึงตามองศาของเสาเพื่อเสริมใหปก ที่ยื่นออกแข็งแรง
ปญหา
ปญหา
ความซํ้าซอน
ลม
ทาง โครงสราง
และ
ฝน
ปญหาความแข็งแรงสวนเสากลางที่รวมอยู จุดเดียวและตองทำหนาที่รับภาระจากปก 2 ขางที่ยื่นสูงขึ้นไป จึงแกปญหาโดยทำใหขา ทั้ง2ขางหางกันขึ้นในลักษณะเสาตัว A และปรับ span เสาใหมจากเดิมที่ระยะไมเทากัน เปนเทากันทุกระยะ 83 เมตร 4ชวง และตอเนื่องเหล็กเสา ARCH จากเสาตอมอ
ปญหา
ปญหา
ความแข็งแรง
ความไมชัดเจน
ของเสา ARCH
ปญหาเรื่องลมที่สงผลตอตัวโครงสรางและ ฝนที่สาดเขาสูสวนพื้นที่ใชงานเพราะโครงสราง ปกดานขางยกสูงและมีองศาที่มากเกินไปทำให โครงสรางตองรับโมเมนตมากขึ้นอีก จึงแกโดยการลดความสูงสวนนี้ทำใหจำเปน ตองปรับ span เสาใหมใหเทาๆกันนอกจาก จะทำใหการจัดงายขึ้นยังทำใหขั้นตอนการ กอสรางงายขึ้นดวยและปรับองศาลงใหลาดขึ้น
ปญหาความไมชัดเจนของ APPROACH แบบเกาคือมีทั้งขนาดที่ใหญเกินความจำเปน มีโครงสรางที่พาดชวงผานตัว platform ที่ไมไดใชประโยชน จึงเปลี่ยนรูปแบบของ approach เปนแยกโครงสรางจาก ตัวอาคารหลัก ลดระยะใหเหมาะสมกับ การใชงานเปนโครงสราง Rigid ที่ตอขึ้นมา จากพื้นและใช hinge joint ตอกับ ตัวอาคารเพื่อเวลารถไฟวิ่งแรงสั่นจะไมกระทบ ตอโครงสราง
ของ APPROACH
57
5.5 แบบพัฒนาขัน� สุดท้ายจากการตรวจแบบครัง� ที่2
30.00 m
58
จุดแรกที่ไดรับการพัฒนาแกไขคือการเปลี่ยนตำแหนงของเสาหลัก ARCH ดานบนใหมีระยะหางมากขึ้น โดยที่ใหปลายลางเสาไปลงบนตำแหนงตอมอที่support ซายขวาแทน เพื่อความแข็งแรงของตัว ARCH ที่ทำหนาที่รับโมเมนตของโครงสรางรอง ในสวนดปลายดานบนของโครงสรางยึดดวย TRUSSและใชเปดชองแสง
RESULT ผลลัพธ์ Finishing ไดเปลี่ยนไปเปน 3 ประเภท คือ กระจก,ผาใบ และ Aluminum Composite กระจก ใชเพื่อเพิ่มชองแสงในตัวอาคารโดยใสไวที่ ตำแหนงชองระหวางเสา ARCH ผาใบ ใสในสวนของโครงสรางรองที่เปนปกหลัง คายื่นจากเสาARCH เพื่อลดภาระนํ้าหนัก ที่กระทบตอโครงสรางและไดความโปรงอีก ดวย Aluminum Composite ใชเปนสี Chameleon ใหตรงตาม concept และเปนเอกลักษณของ จังหวัดหนองคาย
โครงสรางปกที่ยื่นออกมาในสวนหลังคา ตรงชวงกลางของ platform จะใช โครงสราง Rigid Trussยื่นเขาหาเพื่อ คํ้ากันจากทั้งสองฝงและมีติดตั้ง Finishing 2 ชนิด 1. มีการปดผิวดวย aluminum cladding ที่ rigid truss ใหมีภาพลักษณ ที่เรียบและบน rigid truss เพื่อทำหนาที่เปนหลังคาโดยมีแปเหล็กรับ 2. หลังคากระจก low - E ที่บริเวณ ชวงกลางของหลังคาเพื่อใหแสงเขามา ในอาคาร ซึ่งโครงของหลังคาก็จะเปน โครงเหล็กที่วางอยูบน rigid truss และตอเนื่องไปกับ aluminum cladding
59
บทที่ 6 ผลงานการออกแบบ
61
AXONOMETRIC Scale 1:750
63
5 5
1 2 3 4 5
64
Existing Nongkai Station Nongkai Highspeed Train Station Drop off Bus Terminal Parking lot
N
โครงการสถานีรถไฟฟาความเร็วสูง หนองคาย ตั้งอยูทางทิสตะวันตกของสถานีรถไฟหนองคายเดิม ประกอบไปดวยสวนสถานีรถไฟความเร็วสูง และสถานีขนสงรถประจำทาง ซึ่งสามารถเชื่อมตอถึงกัน
Layout Plan Scale 1:1000
1
2
3 5 5 4
65
1
2 28.00
6
A
3 28.00
4 28.00
5 28.00
6
7
28.00
8
28.00
28.00
7 8
37.50
5 1
4
2
9
3 9
B
A N
ชั้น1 เปนสวนเชื่อมตอกับสถานีรถไฟหนองคาย เปนบริเวณจัดสรรสำหรับรานคา และเปนสวนของงานระบบ
Plan floor1 Scale 1:750
1 2 3 4 5
66
Waiting hall Commercial Canteen Pump Room Chiller room
6 7 8 9
RMU Generator room EE room MDB & EMDB WC
1
2 28.00
3
4
28.00
5
28.00
28.00
6
7
28.00
8
28.00
28.00
5
A 6 16
12
5
6
10
37.50
7
11
8
10
4
3
2
1
9
14
B 15
10
13 10
Public zone 17
Passenger zone Abroad Passenger zone
ชั้นอาคารผูโดยสาร เปนสวนใชงานหลักของโครงการ เปนโถงตอนรับ สถานที่พักคอยสำหรับผูโดยสาร เปนสวนจำหนายตั๋ว เปนสวนคัดแยกประเภทผูโดยสาารในประเทศและระหวางประเทศ สามารถเขาไดจาก 2ทาง คือสวนเทียบรถ และทางเชื่อมกับสถานีรถไฟหนองคาย 1 2 3 4
Waiting hall Ticket check Security check Passenger Waiting hall
5 6 7 8 9
Immigration Customs Procedure Abroad Passenger waiting hall Duty free Exit gate
10 11 12 13
WC Canteen Commercial Office
14 15 16 17
Storage Control room Cooling Tower Drop off
N
A
Plan floor2 Scale 1:750
67
2
1
28.00
3
28.00
5
4
28.00
28.00
6
28.00
8
7
28.00
28.00
3.95
A
12.00
37.56
7.90 12.00
59.70
7.90
B
12.00 3.95
สถานีรถไฟความเร็วสูงหนองคาย ประกอบไปดวย 6 ชองชานชะลา สามารถเชื่อมตอไปยังโครงขายรถไฟความเร็วสูง ลาว-จีน ในอนาคต การจัดการพื้นที่ชานชะลาจะแยกระหวางผูโดยสารในประเทศ และตางประเทศ
N
A
Platform Plan Scale 1:200
ชานชะลาผูโดยสารระหวางประเทศ ชานชะลาผูโดยสารในประเทศ
68
ELEVATION 2 Scale 1:750
ELEVATION 4 Scale 1:750
69
70
ELEVATION 1 Scale 1:750
ELEVATION 3 Scale 1:750
71
STEEL PREFABRICATION COLUMN (BUS TERMINAL)
GRID SHELL Ø 0.15 m
ROOFING ALUMINUM CLADDING
A
RIGID STEEL COLUMN (DROP OFF) ROOFING LOW - E GLASS (DROP OFF)
30.00 m 50.00 m 10.00 m 10.00 m
30.00 m
72
15.00 m
24.00 m
30.00 m
MAIN ARCH (STEEL BOX) PREFABRICATION
ROOFING LOW - E GLASS
ROOFING ALUMINUM CLADDING
TENTSILE PTFE STEEL TRUSS Ø 0.15 m
65.00 m 200.00 m
36.00 m
SECTION A SCALE 1 : 500 73
MAIN ARCH (STEEL BOX) PREFABRICATION
STEEL ROD Ø 0.25 m
TENTSILE PTFE
30.00 m 50.00 m 10.00 m 10.00 m
84.00 m
74
84.00 m
STEEL TRUSS Ø 0.15 m FINISHING ALUMINUM CLADDING
ROOFING LOW - E GLASS STEEL ROOFING FRAME 100 X 50 mm ISOMETRIC SECTION B
STEEL BRACING Ø 0.30 m
SECTION B SCALE 1 : 500 84.00 m 336.00 m
84.00 m
75
TENTSILE STRUCTURE IN PLATFORM
11.00 m
PLAN SCALE 1 : 2000
30.00 m
60.00 m
ALUMINUM CLADDING
STEEL ROD Ø 0.25 m
TENT
69.00 m
MATERIAL
SECTION SCALE 1 : 500
CASE STUDY
GLASS FIBER COATED PTFE (TEFLON)
CLAMPING SYSTEM
MOSES MABHIDA STADIUM
COLOR
DETAIL JOINT FORM ARCH + TENT
THERMAL STABILITY
ALUMINUM CLAMPING PLATE MAIN ARCH (STEEL BOX)
POLYLETRAFLUOROETHYLENE PROPERTY
TENT
MATERIAL
76
PLAN SCALE 1: 1000
SELF CLEANING PEARL WHITE
WEATHER AND FIRE RESISTANCE DURABILITY
RIGID TRUSS IN MAIN STRUCTURE (MAIN ARCH) 1.20 m
9.50 m
19.00 m
SECTION PLATFORM
14.00 m
SECTION CASE STUDY
SCALE 1 : 250 STEEL PLATE (HINGE JOINT) STEEL GLASS FRAME 100 X 50 mm LOW - E GLASS STEEL BRACING Ø 0.30 m STEEL FRAME 50 X 50 mm
WOHLEN HIGH SCHOOL WOHLEN
ALUMINUM GUTTER THICK 2 mm
STEEL TRUSS Ø 0.15 m
RIGID FRAME CAVTILIVE BRACING FINISHING
DETAIL SECTION SCALE 1 : 125
77
DROP OFF - APPROACH
ALUMINUM CLADDING
RIGID
LOW - E GLASS
GLASS STEEL FRAME
15 m
STEEL BRACING
ALUMINUM CLADDING STEEL FRAME
I STEEL BEAM
RIGID STEEL COLUMN STEEL FRAME I STEEL BEAM LOW - E GLASS BRACING
ALUMINUM CLADDING
DROP OFF - APPROACH ISOMETRIC
78
DROP OFF - APPROACH AXONOMETRIC
RIGID STEEL COLUMN
DROP OFF - APPROACH
ALUMINUM CLADDING PLATFORM
CASE STUDY
0.50 m
RIGID STEEL COLUMN (PRE-FABRICATION)
20 m
Drop offREGGIO EMILIA train station Santiago caratrava
BRACING
BRACING
T E R M I N A L
BRACING
8m
30 m DETAIL JOINT A - A
SILICONE SEALANT WITH BOCKER ROD
DETAIL JOINT B - B
GLASS STEEL FRAME 100 x 200 mm
BRACING ROUND STEEL ROD Ø 0.50 m
LOW - E GLASS
SECTION SCALE 1: 250
I STEEL BEAM 250 x 125 mm LOW-E GLASS
MODULA SYSTEM
STEEL PLATE 3 mm
MIDDLE SECTION THE SIZE IS UP TO HIGH
PRE-FABRICATION
JOINT BOLT
20 PIECE OF RIGID FRAME
RIGID STEEL COLUMN (PRE-FABRICATION)
X2
DETAIL JOINT A-A
DETAIL JOINT B-B
SCALE 1: 50
SCALE 1: 50
20 m HIGH
18 m HIGH
79
BUS TERMINAL DETAIL STRUCTURE
CASE STUDY
LAMELLA
GRAZ TRAIN STATION, AUSTRIA STRUCTURE
GRID SHELL
BRACING
MATERIAL
COLUMN
DETAIL
LAYOUT
GRID SHELL STRUCTURE RO O FR FING AM E 5 STEE 0X L 150 mm
STEEL BRACING Ø 0.3 m
STRUCTURE ANALYSIS P
RO U FR ND S AM E Ø TEEL 0.15 m
P
10.00 m
AXOMETRIC ISOMETRIC
SCALE 1:500
SCALE 1:500
80
SECTION 30.00 m
SCALE 1:500
COLUMN IN BUS TERMINAL
ROOFING / CEILING ALUMINUM CALDDING STEEL COLUMN Ø 0.4 m STEEL WING (PREFABRICATION) STEEL BRACING Ø 0.6 , 0.15 , 0.1 m
ISOMETRIC RIDGE ALUMINUM PLATE 3 mm
COLUMN STRUCTURE 10.00 m
ALUMINUM CLADDING 5.00 m STEEL 50 X 50 mm FRAME
DETAIL A STEEL WING (PREFABRICATION)
STEEL BRACING Ø 0.3 m
DETAIL B DETAIL C
GUTTTER
DETAIL A SCALE 1:10 6.00 m
STEEL 50 X 50 mm FRAME STEEL COLUMN Ø 0.40 m
SECTION SCALE 1:100
ALUMINUM CLADDING
DETAIL B
DETAIL C
SCALE 1:10
SCALE 1:10
81
Sanitary System ระบบสุขาภิบาล C W
C W
ระบบน้ำประปา C W
C W
V
W SW
CW
C W
mp
m
k
tic
p Sa
tan
เลือกใชระบบสูบขึ้น(up feed) เพื่อหลีกเลี่ยงการติดตั้งถังน้ำในชั้น ชานชะลา ใชถังขนาด 28 ลบ.ม.
น้ำทิ้งจากการใชงานในอาคาร จะผานระบบบำบัดเพื่อนำกลับมาใช ประโยชนในสวนที่ไมตองการความ สะอาดของน้ำมาก เชน น้ำสำหรับรดน้ำตนไม
Pu
o Ro mp
GW
Pu
C W k
an rT
te Wa
c
pti
Sa
t en atm k e r n T ta k tan
ter
Me
า
ระป
ป การ
น้ำทิ้งจากการใชงานในอาคาร จะผานระบบบำบัดเพื่อนำกลับมาใชประโยชนในสวนที่ไมตอง การความสะอาดของน้ำมาก เชน น้ำสำหรับรดน้ำตนไม
82
HVAC ระบบปรับอากาศ U
AH
U
AH
U
AH
U
AH
U
AH
U
AH
U
AH U AH
U
AH U
AH
U
AH
U
AH
ER
G
LIN
L RO NT CO OOM R
W TO
O CO
U
CD
ild Fe
ระบบปรับอากาศ เนื่องจากพื้นที่ตองปรับอากาศมีขนาดใหญ มากกวา 500 ton. และมีเวลาการใชงานพรอมกัน จึงเลือกใชระบบ Water cooled water chiller ซึ่งมีประสิทธิภาพที่เหมาะสม สวน บริเวณที่ใชงานชวงเวลาไมตรงกัน ใชระบบ VRF ซึ่งสามารถแยกชวงเวลาใชงานได
U FC
M
OO RR
E ILL
CH
Water cooled water chiller
VRF
83
Electric System ระบบไฟฟากำลัง DB DB DB DB DB
L RO NT CO OOM R
DB
B MD & B D EM
N
GE
U
RM
S.
AN
TR
84
DB
DB
ใชไฟฟากำลังทั่วไปจากการไฟฟาสวนภูมิภาค สวนไฟฟาสำหรับขับเคลื่อนรถไฟความเร็วสู งไดจากสายสงจากสถานีเฉพาะ
Vertical Circulation ระบบขนสงทางตั้ง เลือกใชบันไดเลื่อนเนื่องจากมีระยะ หางระหวางชั้นสูง 10 เมตร บันไดเลื่อนจะชวยในการขนถายคน จำนวนมาก
ลิฟท Elevator
ใชลิฟทเพื่อตอนสนองการใชงานผูใ ชทุกรูปแบบ Universal Design
ลิฟท สำหรับโดยสารในประเทศ
85
Fire Protection ระบบปองกันอัคคีภัย
C
FH
C
FH
C
FH
C
FH
C
FH
C
FH
C
FH
C
FH
C
FH C
FH
C
FH
C
FH C
FH
C
FH
C
FH
C
FH
DB
EM
k tan Oil n. k Ge tan mp Pu y c en erg Em
C
FH
fire sprinkler เลือกใชแบบเปยก กระจายอยูทั่วบริเวณฝา เพดาน อาคารผูโดยสาร
C
FH
Fire hose cabinet (FHC)
86
กระจาย FHC ไปในตำแหนงตางๆทั่วทั้งสถานี เพื่อใหนักดับเพลิงสามารถใชน้ำดับเพลิงในกรณีฉุกเฉิน
e
ty
yri ec
n zo
S
Security System ระบบความปลอดภัย
e
m
ty uri
roo
ty yri ec
n zo
S
ec
S
e
ty
S
yri ec
n zo
Entrance Access gate เพื่อคัดกรองผูโดยสารที่มีตั๋วเทานั้น ที่สามารถไปยังชั้นชานชะลา
Garbage check เพื่อตรวจสอบสิ่งตองหามในกระเปาสัมภาระ เพื่อความปลอดภัยของการใชงานสถานี
Metal Detector gate เพื่อตรวจสอบอาวุธหรือโลหะ ในตัวผูโดยสาร
87
บทที่ 7 บทสรุป
89
90
91
บทสรุป ผลสรุปการศึกษา โครงการรถไฟความเร็วสูง สายกรุงเทพ-หนองคาย : กรณีศึกษาโครงสรางพาดชวงกวางวัตถุประสงคการวิจัยมุงศึกษา “อาคารพาดชวงกวาง สถานีรถไฟความเร็วสูง” โดยคัดเลือกจาก สถานีในสายกรุงเทพ-หนองคายทั้งหมด โดยไดคัดเลือกสถานีรถไฟความเร็วสูงหนองคายเปนแผนศึกษา เนื่องจากเปนสถานีหนาดานเขา-ออกไปสูสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึ่งมีความนาสนใจทางดานวัฒนธรรมอันเปนเอกลักษณ และ การใชงานที่ตางจากสถานีอื่นคือตองเปนตัวกรองในการเขา-ออกคนเขาสูตางประเทศ ผูวิจัยไดทำการสำรวจและศึกษาเพิ่มเติมถึงมาตรฐานที่เกี่ยวของ รูปแบบและระบบโครงสรางรวมถึงงานระบบ มาออกแบบพัฒนาความเปนไปไดโดยสะทอนถึงความเปนเอกลักษณของจังหวัดหนองคาย เพื่อนำมาสูอาคารพาดชวงกวางที่ถูกตองตามการใชงาน ในกระบวนการศึกษา จะทำการทดลองออกแบบตามขั้นตอนตั้งแตเก็บขอมูลวิเคราะหขอมูลพื้นฐานไปสูแบบราง และมีการพัฒนาจากอาจารยผูเชี่ยวชาญจนมาสูแบบสุดทายที่สมบูรณตามวัตถุประสงค โดยมีการดำเนินการศึกษา 6 ขั้นตอนดังนี้ 1.) ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของและออกแบบรางโดยวิธีการทดลองทำ sketch design เบื้องตนโดยคำนึงถึงโครงสรางพาดชวงกวาง 2.) พัฒนาแบบรางโดยมีเงื่อนไขคืออาคารสถานนีรถไฟที่พาดชวงกวางเกิน 30 เมตร และตัดหุนจำลอง 3.) นำจุดเดน ของแตละชิ้นงาน(2)มาพัฒนาแบบตอเปนโครงการโดยใสฟงกชันเขาไปเพื่อใหสมบูรณทางการใชงาน 4.) นำขอดีและขอดอยของทั้งสองแบบราง(3)มาพัฒนาตอเปนแบบรางชิ้นที่หนึ่ง 5.) พัฒนาแบบราง(4)จากการตรวจแบบครั้งที่หนึ่ง นำขอดอยมาแกไข 6.) แบบพัฒนาขั้นสุดทายจากการตรวจแบบครั้งที่สอง ผลสรุปในขั้นตอนการออกแบบสถานีรถไฟความเร็วสูงหนองคาย รูปแบบโครงการใชโครงสรางเสา Rigid รูปแบบ Arch พาดชวงเปนหลักตอขึ้นมาจากเสาตอมอรถไฟ เพื่อปกคลุมพื้นที่ใชงานตัว platform และใชโครงสรางรองเปน Rigid รูปแบบ Truss ในการรับหลังคาและเปดชองแสง สวนของ Bus terminal ใชโครงสราง Lamella ปกคลุมพื้นที่จอดรถโดยสาร ทั้งหมดนี้เปนการออกแบบที่ผานกระบวนการคิดและพัฒนาโดยมีการใชเงื่อนไขขอมูลอาคารพาดชวงกวางมาใหเกิดรูปแบบที่นาสนใจเปน เอกลักษณโดยเกิดสามารถสวยงามผานโครงสราง ขอเสนอแนะ โครงการรถไฟความเร็วสูงที่จะเกิดขึ้นควรคำนึงถึงงบประมาณของวัสดุของการกอสรางรวมถึงความสามารถของชางกอสราง และโครงสรางที่จะเกิดขึ้น วาสามารถจะเกิดไดไหมหากการออกแบบที่เปนสากล เทคโนโลยีและเทคนิคการกอสรางของประเทศไทย อาจยังไมสามารถสรางไดจริง และอาคารพาดชวงกวางในประเทศที่สวยงามอาจจะยังมีไมมากพอการแข็งขันเชิงความงามจึงยังไมเกิด
92
อางอิง / ภาคผนวก -
รายงานฉบับสรุปสำหรับผูบริหาร (Executive Summary Report) Technical memorandum Highspeed train station Platform Geometric Design Code of Design Highspeed Railway(Trial) 2009 Intermodal Concept in Railway Station Design Neufert Architects’ Data Highspeed train station Platform Geometric Design Station design on high speed railway in Scandinavia รายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม ฉบับผูบริหาร (Executive Summary Final EIA Report) โครงการปรับแบบรายละเอียดระบบรถไฟฟาสีแดง ชวงบางซื่อ - รังสิต รวมสถานีบางซื่อ โครงการศึกษาและออกแบบโครงการระบบการขนสงทางรถไฟในกรุงเทพมหานครสายเหนือ (ชวงบางซื่อ-รังสิต)และยานสถานีรถไฟบางซื่อ https://www.detail.de/ http://www.architen.com/ http://www.birdair.com/ https://www.ronstantensilearch.com/ http://www.fastech.co.th/ https://web.itu.edu.tr/haluk/steel/ https://www.dallasnews.com/ http://www.solaripedia.com/ http://www.planarchitect.com/ http://eiadoc.onep.go.th/ https://www.tci-thaijo.org/ https://btsapp1.bts.co.th/ https://www.scottbrownrigg.com/
93