โทมัส ในภาษาอารามัยหมายความว่า “คู่แ ฝด” และด้ว ยเหตุนี้เ องที่นัก บุ ญ ยอห์ น อั ค รสาวก เรี ย กท่ า นเป็ น ภาษากรีกว่า “ดิดิม” (ยน 11:16 ; 20:24 )
ผู้ นิ พ นธ์ พ ระวรสาร 3 ท่ า นแรกคื อ นั ก บุ ญ มั ท ธิ ว , นั ก บุ ญ มาระโก, และ นักบุญลูกา พอใจที่จะนับนักบุญโทมัส ให้ อ ยู่ ใ นจ านวนอั ค รสาวก 12 องค์ (มธ 10:3; กจ 1:13)
ตรงข้ามกับนักบุญยอห์นซึ่งพระวรสาร ของท่านจะออกมาในรูปแบบที่แตกต่าง กันออกไป
คือ การที่มนุษย์จะยอมรับรู้หรือว่าจะ ไม่ยอมรับข่าวสารของพระคริสตเจ้า ดังนั้นดูเ หมือ นว่า นักบุญยอห์นจะให้ ความส าคั ญ มากในพระวรสารของ ท่า นที่จ ะแสดง ให้เ ห็น ถึง ปฎิกิริย าที่ บรรดาอั ค รสาวกได้ แ สดงออกใน ชีวิตประจาวัน โดยนัยนี้นักบุญยอห์น จึ ง ถื อ ว่ า นั ก บุ ญ โทมั ส เป็ น เหมื อ น สัญ ลัก ษณ์ ข องการเป็น คน เชื่อ ยาก ของบรรดาอัครสาวก
คื อ นั ก บุ ญ โทมั ส สามารถเล็ ง เห็ น ความยากลาบากและภัยอันตรายที่จะ เดิน ทางมุ่ง หน้า ไป สู่ก รุ ง เยรูซ าเล็ ม โดยที่ท่านไม่เ ข้าใจถึง ความหมายอัน ลึกซึ้งของการเดินทางนี้ (ยน 11:16)
และอาจจะเป็นเพราะความจริงใจของ ท่านที่ท่านเองไม่รส ู้ กึ จะมีความกระตือ รือร้นในทรรศนะต่างๆ ที่พระเยซูเจ้าได้ ท ร ง แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ใ น สุ น ท ร พ จ น์ ระหว่างการรับประทานอาหารค่า ครั้ง สุดท้าย (ยน 14:1-6)
ดั ง นั้ น หลั ง จากที่ พ ระเยซู เ จ้ า ได้ เ สด็ จ กลับคืนชีพแล้ว ท่านก็อยากจะทดลอง ดูว่า พระองค์ ท รงเป็น พระคริ ส ตเจ้ า จริงๆ หรือเปล่าโดยอาศัย การสัมผัส พระองค์ ทั้ ง ๆ ที่ เ วลานั้ น ต้ อ งอาศั ย ความเชื่อในการรู้จักพระเยซูคริสตเจ้า ผู้เสด็จกลับคืนชีพแล้ว (ยน 20:24-29 )
แต่ว่า ไม่กี่วันให้ห ลังขณะที่ท่า นได้อ ยู่ พร้ อ มๆ กั บ บรรดาอั ค รสาวกองค์ อื่นๆ ท่านเหล่านี้ได้รู้จักพระคริสตเจ้า ผู้ได้กลับคืนชีพแล้ว ส่วนท่านเองเพิ่ง จะสามารถรู้จักพระองค์ แต่ท่านก็ไ ด้ ยืนยันความเชื่อที่น่าทึ่งมาก
“องค์พระเจ้าของข้าพเจ้า และพระผูเ้ ป็น เจ้าของข้าพเจ้า (ยน 20:28) ในชีวต ิ ของนักบุญโทมัสเปรียบเสมือน การเดินทางทีย่ าวนานทีผ ่ า่ นจากความ จริงใจตามประสามนุษย์ ไปสูค่ วามรูใ้ น พระจิตเจ้า
เราไม่ รู้ ถึ ง สภาพแวดล้ อ มของงาน ธรรมทูตของ ท่านหลังจากที่ บรรดา อัครสาวกได้ทรงรับพระจิตแล้ว น่าจะ เ ป็ น ไ ป ไ ด้ ที่ ท่ า น ไ ด้ เ ดิ น ท า ง ข้ า ม พรมแดนของอาณาจักรโรมันมุ่งหน้า ไปสู่เปอร์เซียและอินเดีย
แต่ว่าธรรมประเพณีในสมัยกลางมักจะ ยกพื้ น ที่ ท างภู มิ ศ าสตร์ ส่ ว นใดส่ ว น หนึ่งให้กับอัครสาวกองค์ ใดองค์หนึ่ง อันเป็นการเสี่ยงต่อการที่จ ะบิดเบือ น ไปจากความเป็ น จริ ง อย่ า งไรก็ ต าม บรรดาอั ค รสาวกมีห น้ า ที่รั บ ผิด ชอบ ต่ อ การแพร่ ธ รรมไปทั่ ว ทุ ก มุ ม โลก เพราะว่าได้รับคาสั่งจากพระเยซูเจ้า
คาภาวนาทูลขอและข้อปฏิบต ั ิ 1. ให้ เ ราได้ แ สดงออกซึ่ ง ความเชื่ อ ของเราในองค์พระคริส ตเจ้า โดย กล่ า วว่ า “ข้ า แต่ อ งค์ พ ระผู้ เ ป็ น เจ้าของข้าพเจ้า และพระเจ้าของ ข้าพเจ้า” 2. ในท่ามกลางความชื่นชมยินดี และ ในการทดลองก็ขอให้เราได้กล่าว เช่นเดียวกันว่า “ข้าแต่องค์พระผู้ เป็ น เจ้ า ข องข้ า พเจ้ า แ ละ พระ เจ้าของข้าพเจ้า”
3. ให้ เ รากล่ า วส าหรั บ คนที่ ไ ม่ เ ชื่ อ เช่นเดียวกันว่า “ข้าแต่องค์พระผู้ เป็ น เจ้ า ของข้ า พเจ้ า และพระ เจ้าของข้าพเจ้า” 4. ให้เราประกาศพระวรสารด้วยคา กล่ า วอั น เดี ย วกั น นี้ ว่ า “ข้ า แต่ องค์ พ ระผู้ เ ป็ น เจ้ า ของข้ า พเจ้ า และพระเจ้าของข้าพเจ้า”