ประเพณีสงกรานต์

Page 1

ประเพณีสงกรานต์ แนวทางปฏิบัติตนของคาทอลิกในการร่วมพิธีของศาสนาอื่น


ความเป็นมา สงกรานต์ เป็นประเพณีเก่าแก่ของไทย ที่สืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ คาว่า "สงกรานต์" เป็นภาษาสันสกฤต แปลว่า ก้าวขึ้น ย่างขึ้น หรือการเคลื่อนที่ ย้ายที่ หมายถึง เวลาที่ดวงอาทิตย์เคลื่อนจากราศีมีนเข้าสู่ราศีเมษในเดือนเมษายน ถือเป็น ช่วงสงกรานต์เดือนโดยวิธียับทสงสุริยคติ (วิธีนับวันและเดือนถือกาหนดตาแหน่งดวง อาทิตย์เป็นหลัก) การกาหนดวันขึ้นปีใหม่แต่เดิมของไทยสมัยโบราณ ใช้วิธีนับทาง จันทรคติ ดังนั้นแต่ละปีจะไม่ตรงกัน จนลุถึงสมัยรัชกาลที่ 5 ได้กาหนดให้ วันที่ 1 เมษายน เป็นวันปีใหม่ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2432 ดังนั้น การกาหนดนับวันสงกรานต์ จึงตกอยู่ ระหว่างวันที่ 13 , 14 และ 15 เมษายน ซึ่งทั้ง 3 วันจะมีชื่อเรียกเฉพาะดังนี้คือ วันที่ 13 เมษายน เรียกว่า มหาสงกรานต์ วันที่ 14 เมษายน เรียกว่า วันเนา วันที่ 15 เมษายน เรียกว่า วันเถลิงศก


สงกรานต์ คือ ปีใหม่ทางสุริยคติ หมายความว่า นับตามพระอาทิตย์ ในสมัยโบราณ เมื่อเขาจะสอนให้คนที่ไม่ได้เรียนตารา เดือนดาวรู้ปฏิทิน ในเรื่องวันเดือนปีเปลี่ยนไปตามวิถีอย่างนั้น เนื่องแต่สงกรานต์เป็น ช่วงเวลาฤดูร้อน เขาจึงให้พรกันด้วยน้า เพือ่ ให้ร่มเย็นเป็นสุข ปัจจุบัน รัฐบาลไทยได้กาหนดในวันที่ 13 เมษายน เป็นวันผู้สูงอายุ และ 14 เมษายน เป็นวันครอบครัว


ความสาคัญของวันสงกรานต์ ความสาคัญของวันสงกรานต์ สงกรานต์ เป็นประเพณีวันขึ้นปีใหม่ของไทย ซึ่งได้ ยึดถือปฏิบตั ิเป็นเวลาช้านานบรรพบุรุษของเราได้ ปฏิบัติสืบทอดกันต่อ มาจนกลายเป็นวัฒนธรรม ประจาชาติ และบ่งบอกถึงคุณลักษณะของความ เป็นไทย


ขั้นตอนของพิธี 1. ทาบุญตักบาตรตอนเช้า หรือนาอาหารไปถวายพระที่วัดเพื่อสืบทอด และ ทานุบารุงพระพุทธศาสนา 2. การสรงน้าพระมี 2 แบบ คือการสรงน้าพระภิกษุสงฆ์ และการสรงน้า พระพุทธรูป 3. การก่อพระเจดีย์ทรายจะทาในวันใดวันหนึ่งระหว่างวันที่ 13 - 15 เมษายน โดยการขนทรายมาก่อเป็นเจดีย์ขนาดต่างๆในบริเวณวัด โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้วัดได้ใช้ประโยชน์ในการก่อสร้าง หรือถมพื้นที่ต่อไป 4. การปล่อยนกปล่อยปลา เป็นการอภัยบาปและการขยายพันธุ์สัตว์ 5. การรดน้าขอพรผู้ใหญ่ เป็นการแสดงความเคารพต่อผู้ใหญ่ของครอบครัว หรือผู้ใหญ่ที่เคารพนับถือ 6. การเล่นรดน้า เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างญาติมิตร เป็นการรดน้ากัน ด้วยความสุภาพประเพณีปฏิบัติเหล่านี้อาจมีความแตกต่างกันออกไปบ้าง ตามแต่ละท้องถิ่น ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและความต้องการของชุมชนเป็น สาคัญ


แนวทางการปฏิแนวทางการปฏิ บัติของคริสตชนคาทอลิ สิ่งที่ปฏิส บัตตชนคาทอลิ ิกันในประเพณีสกงกรานต์ คือ บัตก ิของคริ 1. การตักบาตร และกรวดน้า คริสตชนคาทอลิกทั่วไปไม่สามารถกระทาการตัก บาตรและการกรวดน้าในรูปแบบทางการที่คนพุทธทั่วไปปฏิบัติ คริสตชน คาทอลิกควรเลือกหาวิธีการทาบุญ ซึ่งมีหลากหลายวิธีเพื่อหลีกเลี่ยงการ เข้าใจผิดหรืออาจเป็นที่สะดุดได้ คริสตชนที่มีหน้าที่ต้องเข้าไปเกี่ยวข้อกับการ จัดงานในวันนี้สามารถช่วย เหลือจัดการต่างๆอย่างเต็มที่ แต่มอบหมายหน้าที่ การตักบาตรและการกรวดน้าให้แก่คนพุทธ 2. การสรงน้าพระภิกษุสงฆ์ และการรดน้าขอพรผู้ใหญ่ คริสตชนคาทอลิก สามารถกระทาได้ 3. การสรงน้าพระพุทธรูป เป็นเรื่องของคนพุทธโดยเฉพาะ


4. การก่อพระเจดีย์ทราย คริสตชนคาทอลิกสามารถกระทาได้ พุทธศาสนิกชนจะทาใน เขตวัดหรืออาจจะประยุกต์โดยการซื้อทรายไปบริจาคให้กับวัดเพื่อเป็นการทาบุญ 5. การปล่อยนกปล่อยปลา คริสตชนคาทอลิกสามารถกระทาได้ เพราะเป็นการทาบุญ ทาทาน 6. การเล่นรดน้าสงกรานต์ คริสตชนคาทอลิกสามารถกระทาได้ เพราะเป็นการสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างญาติมิตร และชุมชน แต่ควรรดน้าอย่างสุภาพเพื่ออนุรักษ์ ประเพณีของไทยไว้


โรงเรียนคาทอลิก เนื่อง จากวันสงกรานต์จะอยู่ช่วงปิดเทอม แต่อาจจะมีบาง โรงเรียนจัดกิจกรรมพิเศษภายในโรงเรียน เพราะเป็นการ ส่งเสริมประเพณีที่สืบทอดกันมา เช่น การรดน้าขอพรผู้ใหญ่ ทางโรงเรียนควรจะกระทาตามคาแนะนาเหมือนคริสตชน คาทอลิกทั่วไปในข้างต้นที่ กล่าวไปแล้ว

ที่มา : คู่มือแนวทางการปฏิบัติตนของคาทอลิกในการร่วมพิธีของศาสนาอื่น


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.