ชื่ อ หนั ง สื อ
: การจั ด ทาบทเรี ย นออนไลน์ ด้ ว ย LMS MOODLE V. 91
โดย ปรั บ ปรุ ง ครั้ ง ที่ 2
: สรวง ศรี แ ก้ ว ทุ ม : ธั น วาคม 2555
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นออนไลน์ ด้ ว ย LMS MOODLE
คานา สาระสาคัญในการปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทยตามพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ ได้ให้ความสาคัญและบทบาทของสื่อในหลายมาตรา โดยระบุให้การจัด การศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนามนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ สติปัญญา ความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดารงชีวิต กระบวนการเรียนรู้มุ่งปลูกฝังให้ ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ เรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง การจัดการศึกษา ต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถือว่า ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ มีเป้าหมายของการจัดการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย มีการระบุให้การจัดกระบวนการเรียนรู้ เน้นการจัดเนื้อหา สาระและกิจกรรมที่สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัดของผู้เรียน โดยคานึงถึงความ แตกต่างระหว่างบุคคล จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ ทุกเวลา ทุกสถานที่ ทั้งนี้เพื่อส่งเสริม ให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ สาหรับหนังสือการจัดทาบทเรียนออนไลน์ด้วย LMS MOODLE ได้จดั ทา อย่างกระชับเน้นการจัดทาบทเรียนในระดับเบื้องต้น นาเสนอเฉพาะเรื่องที่จาเป็น เช่น การจัดทาเนื้อหาด้วย เพจ การอัพโหลดไฟลและลิงค์ แบบทดสอบ เป็นต้น แต่หาก ศึกษาและทดลองทาอย่างจริงจังแล้ว ก็สามารถได้บทเรียนที่มีประสิทธิภาพได้ สรวง ศรีแก้วทุม
โดยนายสรวง ศรีแก้วทุม ศน.ชานาญการพิเศษ สพป.ลาปาง เขต 3
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นออนไลน์ ด้ ว ย LMS MOODLE
สารบัญ ตอนที่ 1 e-Learning ความหมายของอีเลิร์นนิ่ง
1
ความหมายของ LMS
2
ตอนที่ 2 การเข้าระบบอีเลิร์นนิ่ง การเปิดอีเลิร์นิ่งของ สพป.ลาปาง เขต 3
3
การสมัครสมาชิก
4
การเข้าสู่ระบบ
6
ตอนที่ 3 เพิ่มรายวิชา การเพิ่มรายวิชา
7
ตอนที่ 4 เพิ่มสาระในบทเรียน แนะนาเครื่องมือที่จาเป็น
11
การจัดการเนื้อหาโดยใช้หน้าเว็บเพจ
13
การแทรกภาพ
15
การจัดทาเนื้อหาโดยการลิงค์ไปยังเว็บไซต์
18
ตอนที่ 5 แบบทดสอบ การจัดทาประเภทของแบบทดสอบ
19
การจัดทาแบบทดสอบ
20
การนาเข้าแบบทดสอบ
22
การนาข้อสอบจากคลังข้อสอบไปใช้
26
บรรณานุกรม
30
โดยนายสรวง ศรีแก้วทุม ศน.ชานาญการพิเศษ สพป.ลาปาง เขต 3
การจั ด ท าบทเรี ย นอี เ ลิ ร์ น นิ่ ง ด้ ว ย LMS MOODLE
ตอนที่ 1
ง ่ ิ น น ์ ร ิ ล เ ี อ บ ั ก เริ่มต้น
ความหมายของอีเลิร์นนิ่ง
ความหมายของ LMS
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3
การจั ด ท าบทเรี ย นออนไลน์ ด้ ว ย LMS MOODLE
1
e-Learning e-Learning (อีเลิร์นนิ่ง) มาจากคาว่า Electronic Learning มีผู้ให้ความหมายไว้ จานวนมาก เช่น ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2545: 4-5) อธิบายว่า อีเลิร์นนิ่งสามารถให้ความหมาย ได้ 2 ลักษณะด้วยกัน ได้แก่ความหมายโดยทั่วไป และความหมายเฉพาะเจาะจง สาหรับความหมายโดยทั่วไป อีเลิร์นนิ่งจะครอบคลุมความหมายที่กว้างมาก กล่าวคือ จะหมายถึงการเรียนลักษณะใดๆ ก็ได้ ซึ่งใช้การถ่ายทอดเนื้อหาผ่านทางอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซ์ทรา เน็ต หรือทางสัญญาณโทรทัศน์ หรือสัญญาณดาวเทียม (Satellite) ก็ได้ ซึ่งเนื้อหา สารสนเทศอาจอยู่ในรูปแบบการเรียนที่เราคุ้นเคยกันมาพอสมควร เช่น คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (Computer-Assisted Instruction) การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction) การเรียนออนไลน์ (Online Learning) การเรียนทางไกลผ่านดาวเทียม หรืออาจอยู่ในลักษณะที่ยังไม่ค่อยเป็นที่นิยมแพร่หลายนัก เช่น การเรียนจากวีดิทัศน์ ตามอัธยาศัย (Video -On-Demand) เป็นต้น สาหรับความหมายเฉพาะเจาะจงนั้น คนส่วนใหญ่เมื่อกล่าวถึง อีเลิร์นนิ่ง จะหมายเฉพาะถึงการเรียนเนื้อหาหรือสารสนเทศสาหรับการสอนหรือการอบรม ซึ่งใช้ การนาเสนอด้วยตัวอักษร ภาพนิ่ง ผสมผสานกับการใช้ภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศน์และ เสียง โดยอาศัยเทคโนโลยีของเว็บ (Web Technology) ในการถ่ายทอดเนื้อหา รวมทั้ง การใช้เทคโนโลยีระบบการจัดการคอร์ส (Course Management System) ในการ บริหารจัดการสอนด้านต่างๆ เช่น การจัดให้มีเครื่องมือการสื่อสารต่าง ๆ เช่น E-mail, Web Board สาหรับตั้งคาถาม หรือแลกเปลี่ยนแนวคิดระหว่างผู้เรียนด้วยกัน หรือกับ วิทยากร การจัดให้มีแบบทดสอบหลังจากเรียนจบเพื่อวัดผลการเรียน โดยผู้เรียนที่เรียน จากอีเลิร์นนิ่งนี้ส่วนใหญ่แล้วจะศึกษาเนื้อหาในลักษณะออนไลน์ ซึ่งหมายถึงจาก เครื่องมือที่มีการเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชัยยงค์ พรหมวงศ์ 2546: 4) อธิบายว่า เป็นการเรียนผ่านคอมพิวเตอร์และ โทรคมนาคมเพื่อสนับสนุนปฏิกิริยาสองทางระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน และผู้เรียนกับ โดยนายสรวง ศรีแก้วทุม ศน.ชานาญการพิเศษ สพป.ลาปาง เขต 3
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นออนไลน์ ด้ ว ย LMS MOODLE 2 โดยระบบถ่ายทอดการสอนในระบบดิจิทัลหรือระบบแอนาลอก ต่างเวลากันหรือพร้อม กันและตามสายหรือไร้สาย นิรชราภา ทองธรรมชาติ และบุญเลิศ อรุณพิบูลย์ (2545: 35-36) ได้ให้ ความหมายของอีเลิร์นนิ่งว่าคือการนาเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะบริการด้านเว็บ เพจเข้ามาช่วยในการเรียนการสอน การถ่ายทอดความรู้ และการอบรม นอกจากนั้นยัง มีระบบการบริหารและติดตามผลการเรียน หรือ Learning Management System (LMS) จากข้อมูลดังกล่าวสามารถสรุปความหมายของอีเลิร์นนิ่งได้ว่า เป็นการศึกษา เรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต (Intranet) เป็นการ เรียนรู้ด้วยตัวเองกับระบบบริหารการเรียนผู้เรียนจะได้เรียนตามความสามารถความ สนใจตลอกจนสามารถควบคุมบทเรียนได้เอง ครูเจ้าของวิชาและผู้เรียนทุกคน สามารถ ติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้โดยอาศัยเครื่องมือการติดต่อ
ระบบบริหารการเรียน ((LMS) LMS) ระบบบริหารการเรียน หรือ LMS (Learning Management System) เป็น ระบบศูนย์กลางในการกาหนดลาดับของเนื้อหาในบทเรียน มีขั้นตอนการประเมินผล การควบคุม ตลอดจนสนับสนุนการให้บริการทั้งหมดแก่ผู้เรียน ระบบบริหารการเรียน จะทาหน้าที่ตั้งแต่ผู้เรียนเริ่มเข้าเรียน เมื่อผู้เรียนได้เริ่มต้นบทเรียนแล้วระบบจะทางาน โดยส่งบทเรียนตามคาขอของผู้เรียนผ่านเครือข่ายฯ จากนั้นระบบก็จะติดตามและ บันทึกความก้าวหน้า รวมทั้งสร้างรายงานกิจกรรม ผลการเรียนของผู้เรียนในทุก กิจกรรมอย่างละเอียด จนกระทั่งจบหลักสูตร นอกจากนั้นยังมีส่วนช่วยในการสื่อสาร หลากหลายรูปแบบ ระบบบริหารการเรียน มีหลากหลายรูปแบบทั้งองค์จัดทาขึ้นมาเอง จัดซื้อ หรือ ระบบที่มีการเผยแพร่ให้นาไปใช้ได้ฟรี ซึ่งในคู่มือฉบับนี้ใช้ระบบบริหารการเรียน Moodle ซึ่งเป็นระบบในกลุ่ม Opensource มีประสิทธิภาพในประเทศไทยมีผู้นามาใช้ จานวนมาก สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3
การจั ด ท าบทเรี ย นออนไลน์ ด้ ว ย LMS MOODLE
ตอนที่ 2
ง ่ ิ น น ์ ร ิ ล เ ี อ บ บ การเข้าระ
การเปิดอีเลิร์นิ่งของ สพป.ลาปาง เขต 3
การสมัครสมาชิก
การเข้าสู่ระบบ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 3
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นออนไลน์ ด้ ว ย LMS MOODLE 3
การเปิดเว็บไซต์ของกลุ่มนิเทศฯ สพป.ลาปาง เขต 3 การเว็บไซต์ ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 เปิดได้ สองวิธีโดยจะเปิดไปที่เว็บไซต์หลักของ สพป.ลาปาง เขต 3 แล้วคลิกที่ กลุ่มนิเทศ หรือ จะใช้ URL ดังต่อไปนี้ก็ได้ http://nites.lpg3.go.th/web1 จะปรากฏหน้าเว็บไซต์ กลุ่มนิเทศฯ สพป.ลาปาง เขต 3 ดังภาพ
หมายเหตุ หน้าเว็บไซต์ กลุ่มนิเทศ สพป.ลาปาง เขต 3 อาจมีการเปลี่ยนแปลงไปจากภาพนี้ เมื่อผู้ดูแลระบบมีการ ปรับแต่งเพิ่มเติม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นอี เ ลิ ร์ น นิ่ ง ด้ ว ย LMS MOODLE
4
การสมัครสมาชิก ก่อนที่จะมีสิทธิ์ในการสร้างบทเรียนได้จะต้องสมัครสมาชิกก่อน จากนั้นให้แจ้ง ผู้ดูแลระบบเพื่อกาหนดบทบาทให้เป็นผู้ที่มีสิทธิ์ในการสร้างบทเรียนทางอีเมล์ สาหรับ
1. คลิกที่ สมัครเป็นสมาชิก 1
รอสักครูจะปรากฏหน้าต่าง บัญชีผู้ใช้ ให้กาหนด 2
3
2. พิมพ์ที่ช่องชื่อผู้ใช้โดยใช้ภาษาอังกฤษ, ตัวเลข หรือทั้งสองอย่างรวมกัน (ไม่ได้ กาหนดจานวนตัวอักษรไว้) 3. กาหนดรหัสผ่าน โดยใช้ภาษาอังกฤษ, ตัวเลข หรือทั้งสองอย่างรวมกันไม่น้อย กว่า 5 ตัวอักษร
หมายเหตุ ต้องจดหรือจา ชื่อผู้ใช้ และ รหัสผ่าน ให้ดีเพราะจะต้องใช้ในการ เข้าระบบต่อไป
โดยนายสรวง ศรีแก้วทุม ศน.ชานาญการพิเศษ สพป.ลาปาง เขต 3
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นออนไลน์ ด้ ว ย LMS MOODLE 5
4
5 6
4. พิมพ์อีเมล์และใส่อีเมล์เดิมอีกครั้ง เพื่อป้องกันการผิดพลาด 5. พิมพ์ชื่อและนามสกุล (เป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษก็ได้) 6. พิมพ์จังหวัดของผู้สมัคร
7
7. หากปรากฏหน้าต่างดังภาพก็ให้คลิกที่ปุ่ม ขั้นต่อไป ซึ่งจะกลับไปเป็นหน้าเว็บ
จากนั้นให้ส่งอีเมล์ไปยังผู้ดูแลระบบ ตามอีเมล์นี้ lampang301@gmail.com จนกว่าผู้ดูแลระบบจะกาหนดสิทธิ์ให้ท่าน จึงจะสามารถเข้าสู่ระบบและสร้างบทเรียนได้
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นอี เ ลิ ร์ น นิ่ ง ด้ ว ย LMS MOODLE
6
การเข้าสู่ระบบ เมื่อได้รับอีเมล์จากผู้ดูแลระบบแจ้งถึงการกาหนดสิทธิ์ให้สามารถสร้างรายวิชา แล้ว ท่านสามารถเข้าสู่ระบบได้และมีสิทธิ์ตั้งแต่การสร้างรายวิชาได้ไม่จากัดจานวน ใน แต่ละวิชายังสามารถจัดทาสิ่งต่างๆ จนเป็นบทเรียนอีเลิร์นนิ่งที่สมบูรณ์ นักเรียน สามารถเข้ามาเรียน รู้ ทาแบบทดสอบได้ วิธีการเข้าสู่ระบบมีดังนี้
1 2
1. พิมพ์ ชื่อผู้ใช้ และรหัสผ่าน 2. คลิกที่ปุ่ม เข้าสู่ระบบ
หากชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านถูกต้อง ก็สามารถเข้าระบบได้แล้ว ซึ่งสังเกตได้โดย ด้านบน ขวามือของเว็บฯ และล่างสุดของเว็บตรงกลางจะปรากฏชื่อที่ใช้ในการสมัคร ปรากฏอยู่ ดังภาพ ภาพด้านบนของเว็บมุมขวามือ ภาพล่างสุดของเว็บตรงกลาง
หมายเหตุ ต้องออกจากระบบเมื่อทากิจกรรมต่างๆ ในเว็บเสร็จ โดยคลิกที่ (ออก จากระบบ)
โดยนายสรวง ศรีแก้วทุม ศน.ชานาญการพิเศษ สพป.ลาปาง เขต 3
การจั ด ท าบทเรี ย นอี เ ลิ ร์ น นิ่ ง ด้ ว ย LMS MOODLE
ตอนที่ 3
เพิ่มรายวิชา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3
การเพิ่มรายวิชา
การจั ด ท าบทเรี ย นออนไลน์ ด้ ว ย LMS MOODLE
7
การเพิม ่ รายวิชา แม้ท่านจะได้รับสิทธิ์ของครู แต่สิทธิ์นั้นจะมีในรายวิชาที่สร้างขึ้น หรือรายวิชาที่ ถูกกาหนดสิทธิ์ให้เป็นครูเท่านั้น ต่อไปนี้จะเป็นการแนะนาให้เพิ่มรายวิชา ซึ่งครูแต่ละ คนสามารถเพิ่มวิชาได้เท่าที่ต้องการ โดยดาเนินการตามขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ 1
1. ในหน้าหลักของอีเลิร์นนิ่งให้คลิกที่ กลุ่มสาระที่จะสร้างรายวิชา 2. คลิกที่ปุ่ม จะปรากฏหน้าต่างแก้ไขรายวิชา
3
3. ช่องประเภทคือกลุ่มสาระ สามารถกาหนดใหม่ได้
4 5
4. ช่องชื่อเต็ม ให้พิมพ์ชื่อ วิชา และรายละเอียดอื่นๆ เช่น สาหรับนักเรียนชั้น ม.3 ฯลฯ เพื่อให้เกิดความชัดเจน
6
7
5. ช่องชื่อย่อ ให้พิมพ์ชื่อวิชา สั้นๆ 6.
ช่องรหัสวิชา ให้พิมพ์รหัสวิชา หรือจะเว้นว่างไว้ก็ได้
7.
ช่องบทคัดย่อ ให้พิมพ์รายละเอียดของวิชา
โดยนายสรวง ศรีแก้วทุม ศน.ชานาญการพิเศษ สพป.ลาปาง เขต 3
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นออนไลน์ ด้ ว ย LMS MOODLE 8 หมายเหตุ ต่อไปนี้จะกล่าวถึงเฉพาะช่องหรือส่วนที่จาเป็นเท่านั้น 8
9 10
11
8. ช่องรูปแบบ กาหนดเป็นแบบหัวข้อ 9. ช่องจานวนสัปดาห์ สามารถกาหนดได้ตามต้องการ ถ้ายังแม่แน่ใจใช้ 5 สัปดาห์ ไปก่อน แล้วหากจาเป็นค่อยกลับมาเพิ่มหรือลดในภายหลัง 10. กาหนด วันเดือนปีในการเริ่มต้นรายวิชา (สามารถกาหนดย้อนหลังได้) 11. กาหนดขนาดไฟล์ที่นักเรียนสามารถอัพโหลดได้ ควรกาหนดไว้สูงเท่าที่ระบบจะ เอื้ออานวย และกาหนดหน้ากากบทเรียนหรือ Theme ที่ช่อง บังคับการใช้รูปแบบเว็บ ตามต้องการ ซึ่งมีให้เลือกจานวนมาก (ลองไปก่อนแล้วกลับมาเปลี่ยนในภายหลังได้) 12
13 14
12. กาหนดว่าจะให้นักเรียนสมัครเข้าเรียนได้หรือยัง 13. จะกาหนดวันเริ่มต้นอย่างเดียว หรือกาหนดทั้งวันเริ่มต้นและวันหมดเขตเข้า เรียนได้ โดยคลิกที่เครื่องหมาย หน้าปิดการใช้งาน 14. กาหนดระยะเวลาการเข้าเรียนของนักเรียนแต่ละคนว่าจะมีสิทธิ์เรียนใน บทเรียนได้กี่วัน ปกติจะใช้ค่าที่กาหนดไว้คือ ไม่จากัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นอี เ ลิ ร์ น นิ่ ง ด้ ว ย LMS MOODLE
9 15 16 18
15. ช่อง รายวิชาที่มีอยู่ สามารถกาหนดว่าจะให้ผู้เรียนเข้าเรียนได้หรือยัง 16. ช่อง รหัสผ่านเข้าเรียน หากต้องการให้เฉพาะผู้ที่ทราบรหัสผ่านเท่านั้นจึงจะเข้า เรียนได้ ก็ให้กาหนดในช่องนี้ 17. ช่อง ให้บุคคลทั่วไปเข้าชม ตามที่กาหนดไว้คือ ไม่อนุญาตให้บุคคลทั่วไปเข้าอ่าน หมายถึงถ้าจะเข้ามายังบทเรียนต้องสมัครสมาชิกระบบเสียก่อน แต่หากจะให้เข้ามา อ่านบทเรียนได้โดยไม่ต้องสมัครสมาชิกมนระบบอีเลิร์นนิ่ง ให้กาหนดเป็น อนุญาตให้ บุคคลทั่วไปเข้าได้ 18. คลิกที่ปุ่ม หมายเหตุ ถ้าคลิกที่ปุ่มบันทึกการเปลี่ยนแปลงแล้ว ยังไม่ปรากฏหน้าต่างต่อไป ให้ ตรวจสอบว่าได้กาหนดอะไรที่ไม่สอดคล้องกับความต้องการหรือไม่ ได้พิมพ์ข้อมูล
19
จะปรากฏหน้าต่าง Locally assigned roles ขึ้น สามารถเพิ่มครูที่จะร่วมจัดทาบท ด้วยกัน หรือเพิ่มผู้เรียนที่เป็นเป้าหมายได้โดยตรง แต่ทั้งนี้จะต้องมีชื่อในระบบอยู่ก่อน แล้ว (ในระดับเบื้องต้น ให้ข้ามส่วนนี้ไปก่อน) 19. ให้คลิกที่ปุ่ม คลิกที่นี่เพื่อเข้าไปยังรายวิชาของคุณ โดยนายสรวง ศรีแก้วทุม ศน.ชานาญการพิเศษ สพป.ลาปาง เขต 3
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นออนไลน์ ด้ ว ย LMS MOODLE 10
ตัวอย่างหน้าบทเรียนที่สร้างเสร็จ โดยกาหนดที่ช่องบังคับการใช้รูปแบบเว็บ
หมายเหตุ สามารถย้อนกลับไปกาหนดค่าต่างๆ ได้โดยคลิกที่ การตั้งค่า ในกรอบ การจัดการระบบ (ด้านซ้ายมือ กรอบที่ 3)
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3
การจั ด ท าบทเรี ย นออนไลน์ ด้ ว ย LMS MOODLE
ตอนที่ 4
น ย ี ร เ ท บ น ใ ะ เพิ่มสาร
แนะนาเครื่องมือที่จาเป็น
การจัดการเนื้อหาโดยใช้หน้าเว็บเพจ
การแทรกภาพ
การจัดทาเนื้อหาโดยการลิงค์ไปยังเว็บไซต์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 3
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นออนไลน์ ด้ ว ย LMS MOODLE 11 เมื่อเข้าสู่ระบบในบทบาทของครูแล้ว ถ้าจะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงใดๆ ในบทเรียน จะต้องคลิกที่ปุ่ม (ด้านบนมุมขวามือ) หรือคลิกที่ เริ่มการแก้ไขใน หน้านี้ ซึ่งอยู่ในกรอบการจัดการระบบ (ด้านซ้ายมือ กรอบที่ 3) เมื่อคลิกที่ใดที่หนึ่งตามที่กล่าวมาแล้วในบทเรียนจะปรากฏเครื่องมือต่างๆ ส่วนที่เราจะสามารถปรับแต่งหรือเพิ่มเติมสิ่งต่างๆ ในบทเรียน ดังภาพ
ใน
แนะนาเครื่องมือที่จาเป็น เครื่องมือในการจัดทา เพิ่มเติมสิ่งต่างๆ ในบทเรียนของ LMS MOODLE มีไม่มาก แต่ก็เพียงพอต่อการจัดทาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง สาหรับเอกสารนี้จะใช้ภาพไอค่อนเฉพาะ ของหน้ากาก AVBM ซึ่งอาจจะแตกต่างกันบ้างในแต่ละรูปแบบเว็บหรือในแต่ละ หน้ากาก แต่ส่วนใหญ่จะคล้ายกันมาก หากอยากทราบว่าเครื่องมือชื่ออะไรให้เลื่อน
เรียนร่วมกันไม่แบ่งกลุ่ม เป็นการกาหนดสิทธิ์
ซ่อน/แสดง เป็นเครื่องมือที่จะซ่อนหรือแสดงวัตถุให้นักเรียนเห็น หรือไม่
ลบ คลิกเพื่อลบวัตถุ
อัพเดท คลิกเพื่อแก้ไขวัตถุ
ย้าย คลิกเพื่อย้ายวัตถุ
ย้ายไปทางขวา คลิกเพื่อเยื้องวัตถุนี้
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นอี เ ลิ ร์ น นิ่ ง ด้ ว ย LMS MOODLE
12
เครื่องมือเกี่ยวกับบล็อค
Hide คลิกเพื่อซ่อนหรือแสดงบล็อก
ย้ายไปทางขวา คลิกเพื่อย้ายบล็อกไปฝั่งขวาของบทเรียน
เลื่อนลง คลิกเพื่อการเลื่อนบล็อกลง
เลื่อนขึ้น คลิกเพื่อการเลื่อนบล็อกขึ้น
ลบ คลิกเพื่อลบบล็อค
ซ่อน คลิกเพื่อซ่อนหรือแสดงบล็อค
โดยนายสรวง ศรีแก้วทุม ศน.ชานาญการพิเศษ สพป.ลาปาง เขต 3
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นออนไลน์ ด้ ว ย LMS MOODLE 13
การจัดทาเนือ้ หาโดยใช้หน้าเว็บเพจ ก่อนที่จะเพิ่มหรือเติม/ปรับแต่งใดๆ ได้จะต้องคลิกที่ปุ่ม เริ่มการแก้ไขหน้านี้ก่อน ซึ่งจะสังเกตได้จากมีไอค่อนต่างๆ ปรากฏขึ้น สาหรับการจัดทาเนื้อหา/ข้อความโดยใช้ หน้าเว็บเพ็จ เมื่อจัดทาเสร็จจะมีหัวข้อ ให้คลิกเพื่อเปิดหน้าเนื้อหาหรือข้อความนั้นๆ มีวิธีการทาดังนี้
1
2
1.คลิกที่ เพิ่มแหล่งข้อมูล ในตาแหน่งที่ต้องการเพิ่มจุดลิงค์หรือจุดเชื่องโยงที่จะ เข้าสู่เนื้อหา 2.คลิกที่ หน้าเว็บเพจ 3
4
3. พิมพ์ชอ่ื เรือ่ งหรือหัวข้อในช่อง ชื่อ 4. พิมพ์บทคัดย่อเกี่ยวกับเรื่องหรือเนื้อหาที่จะทา หรือจะคัดลอกจากช่องชื่อมา วางก็ได้
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นอี เ ลิ ร์ น นิ่ ง ด้ ว ย LMS MOODLE
14
5
5. พิมพ์เนื้อหาสาระที่ต้องการ หรืออาจคัดลอกจากแหล่งข้อความที่ได้จัดเตรียม ไว้ เช่น จากไฟล์เอกสาร จากเว็บไซต์ เป็นต้น แต่ไม่สามารถคัดลอกรูปภาพจากเครื่อง คอมพิวเตอร์มาวางได้ ยกเว้นการคัดลอกรูปภาพจากเว็บไซต์ แต่ต้องระวังเพราะถ้า เว็บไซต์ที่เราคัดลอกภาพมาถูกลบไป ภาพนั้นๆ จะหายไปทันที วิธีที่ถูกต้องควรแทรก ภาพเข้าสู่เนื้อหา จึงจะมั่นใจว่ารูปภาพนั้นๆ จะอยู่คู่บทเรียนตลอดไป 6
7
6. กาหนดว่าจะให้เรื่องหรือหัวข้อนี้ปรากฏในหน้าต่างเดิมหรือหน้าต่างใหม่ 7. คลิกที่ปุ่ม Save and display เพื่อบันทึกและดูหน้าที่จัดทาขึ้น จะปรากฏ ดังภาพ 8
8. คลิกที่ชื่อวิชา เพื่อกลับมาหน้าหลักของรายวิชา จะปรากฏหัวข้อ ดังภาพ
โดยนายสรวง ศรีแก้วทุม ศน.ชานาญการพิเศษ สพป.ลาปาง เขต 3
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นออนไลน์ ด้ ว ย LMS MOODLE 15
การแทรกภาพ ภาพมีความสาคัญต่อการเรียนรู้ทั้งนี้เพราะให้รายละเอียดได้จานวนมากผู้เรียน เข้าใจได้ง่าย ดังที่ปราชญ์จีนเคยกล่าวไว้ว่า ภาพวาดเพียงภาพเดียวให้รายละเอียดได้ มากกว่าถ้อยคาหลายร้อยหลายพันคา ในบทเรียนที่สร้างใน LMS MOODLE สามารถแทรกภาพได้ทุกที่ที่มีสัญลักษณ์ การแทรกภาพ ปรากฏ ตัวออย่างการแทรกภาพที่จะนาเสนอต่อไปนี้ จะแทรกในหัวข้อหรือเรื่องที่จัดทา เนื้อหาโดยใช้หน้าเว็บเพจ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ที่ฝึกตามเอกสารนี้สามารถเข้าใจวิธีการแก้ไข เนื้อหาได้ในคราวเดียว 1
1. คลิกที่ไอค่อน อัพเดท
3
2
2. คลิกตาแหน่งที่จะแทรกภาพ 3. คลิกที่ไอค่อน แทรกภาพ 4. คลิกที่ปุ่ม Browse เพื่อไปยัง ไฟล์ภาพ
4
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นอี เ ลิ ร์ น นิ่ ง ด้ ว ย LMS MOODLE
16
5. คลิกไปยังที่เก็บภาพไว้
6. คลิกที่ภาพ
6
7. คลิกที่ปุ่ม Open
7
8. คลิกที่ปุ่ม อัพโหลด
8
11 10
9
9. คลิกที่ไฟล์ภาพ 10. พิมพ์ข้อความอธิบายภาพ ว่าเป็นภาพอะไร 11. คลิกที่ปุ่ม ตกลง
โดยนายสรวง ศรีแก้วทุม ศน.ชานาญการพิเศษ สพป.ลาปาง เขต 3
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นออนไลน์ ด้ ว ย LMS MOODLE 17
12
12
12
12. อาจปรับขนาดภาพให้เหมาะสม โดยคลิกจุดสี่เหลี่ยม ที่อยู่โดยรอบภาพ (จานวน 8 จุด) ให้คลิกจุดใดจุดหนึ่งแล้วลากเข้า (ลดขนาด) หรือลากออก (ขยายขนาด) ตาม ต้องการ 13. เมื่อแทรกภาพครบตามต้องการแล้วให้คลิกที่ปุ่ม
14
14. คลิกที่ชื่อรายวิชา เพื่อกลับไปยังหน้าหลักของวิชา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3
เพื่อบันทึกการ
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นอี เ ลิ ร์ น นิ่ ง ด้ ว ย LMS MOODLE
18
การจัดทาเนือ้ หาโดยการลิงค์ไปยังเว็บไซต์ ในการจัดทาเนื้อหา นอกจากจะทาขึ้นมาเองแล้ว ยังสามารถที่จะเชื่อมโยงหรือ ลิงค์ไปยังเว็บไซต์ต่างๆ ได้อีกด้วย ซึ่งจะทาให้การจัดทาบทเรียนมีความรวดเร็วตลอดจน มีเนื้อหาที่หลากหลาย 1. ไปค้นหาเว็บไซต์ที่ต้องการแล้วคัดลอก ที่อยู่ของเว็บไซต์หรือที่อยู่ของเนื้อหาสาระ ที่ที่ต้องการ 2. กลับมาที่บทเรียนแล้วคลิกที่ เพิ่ม แหล่งข้อมูล
2
3
3. คลิกที่ ไฟล์หรือเว็บไซต์ 4
5
6
4. พิมพ์เรื่องหรือหัวข้อที่ช่อง ชื่อ 5. พิมพ์บทคัดย่อหรือหัวข้อ 6. วางเว็บไซต์ที่ต้องการเชื่อมโยงเข้าหา ในช่อง ที่ตั้ง 7. คลิกที่ปุ่ม จะปรากฏหัวข้อที่จะให้นักเรียนคลิกเข้าสู่ รายละเอียด ดังภาพ > โดยนายสรวง ศรีแก้วทุม ศน.ชานาญการพิเศษ สพป.ลาปาง เขต 3
การจั ด ท าบทเรี ย นอี เ ลิ ร์ น นิ่ ง ด้ ว ย LMS MOODLE
ตอนที่ 5
แบบทดสอบ
การจัดทาประเภทของแบบทดสอบ
การจัดทาแบบทดสอบ
การนาเข้าแบบทดสอบ
การนาข้อสอบจากคลังข้อสอบไปใช้
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3
การจั ด ท าบทเรี ย นออนไลน์ ด้ ว ย LMS MOODLE
19
การจัดทาแบบทดสอบ LMS Moodle มีชนิดของแบบทดสอบให้เลือกจัดทาได้หลากหลายชนิด เช่น เลือกตอบ เติมคาในช่องว่าง จัดลาดับ ถูก/ผิด เป็นต้น นอกจากนั้นยังบันทึกร่องรอย นักเรียนในการทาแบบทดสอบทั้ง วัน เวลา จานวนครั้ง ตลอดจนมีการวิเคราะห์ คุณภาพของแบบทดสอบในแต่ละข้อให้ด้วย สาหรับคู่มือฉบับนี้จะกล่าวถึงวิธีการเฉพาะที่สาคัญเบื้องต้นเท่านั้น ทั้งนี้เพื่อให้ คู่มือกระชับ ในส่วนปลีกย่อยอื่นๆ เมื่อทดลองทาในระดับเบื้องต้นชานาญแล้ว ค่อย ศึกษาเพิ่มเติมในภายหลังได้เองโดยไม่ยากนัก ในการจัดทาแบบทดสอบจะมีขั้นตอนจานวนมาก ดังนั้นจึงจะแบ่งการนาเสนอ ออกเป็นขั้นตอนย่อยๆ ได้แก่ 1)การจัดทาประเภทของ 1. การจัดทาประเภทของแบบทดสอบ 2
1. คลิกที่ คาถาม
1
2. คลิกที่ ประเภท 3 4 5
3. พิมพ์ชื่อประเภทที่ช่อง ชื่อ เช่น ผลการเรียนรู้ที่ 1 เป็นต้น 4. พิมพ์รายละเอียดเพิ่มเติมของประเภทนี้ในช่อง ข้อมูลประเภทนี้
หมายเหตุ สามารถจัดทาประเภทของแบบทดสอบไว้ล่วงหน้าได้เท่าที่ต้องการ โดยนายสรวง ศรีแก้วทุม ศน.ชานาญการพิเศษ สพป.ลาปาง เขต 3
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นออนไลน์ ด้ ว ย LMS MOODLE 20 2. การจัดทาแบบทดสอบ การจัดทาแบบทดสอบมีทั้งการทาแบบทีละข้อ และสามารถจัดเตรียมแล้วนาเข้า คราวละหลายๆ ข้อได้ ดังนี้ การจัดทาแบบทดสอบ (ทีละข้อ) 2
1
3
1. คลิกที่ แบบทดสอบ 2. เลือกประเภทหรือหมวดหมู่ของแบบทดสอบที่ช่อง ประเภท 3. คลิกที่เลือก เพื่อกาหนดชนิดของแบบทดสอบที่ช่อง สร้างคาถามใหม่ทีละ คาถาม ในขั้นตอนนี้ให้เลือกชนิด ปรนัย 4
5
4. พิมพ์ชอ่ื คาถาม หรืออาจพิมพ์คาถามเลยก็ได้ถา้ คาถามนัน้ ไม่ยาวจนเกินไป ซึ่ง ชื่อคาถามจะแสดงให้ครูเห็นเท่านั้น 5. พิมพ์คาถามทั้งหมดในช่อง Question text โดยไม่ต้องพิมพ์เลขข้อ (สามารถ แทรกภาพได้) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นอี เ ลิ ร์ น นิ่ ง ด้ ว ย LMS MOODLE
21 6 7
8
6. พิมพ์ข้อความตัวเลือกลงในช่องคาตอบ โดยไม่ต้องพิมพ์ ก. หรือ ข. ทั้งนี้ เพราะระบบจะกาหนดให้เอง 7. หากตัวเลือกนี้เป็นตัวเลือกที่ถูกต้องให้กาหนดคะแนนที่ได้เป็น 100% แต่ถ้า เป็นตัวเลือกที่ผิดให้กาหนดเป็นไม่มี 8. จะมี Feedback หรือไม่ก็ได้ (Feedback จะปรากฏเมื่อนักเรียนเลือกคาตอบ นี้ เช่น ถ้าเป็นตัวเลือกที่ถูกอาจพิมพ์ว่า ถูกต้องเก่งมาก เป็นต้น 9. พิมพ์ตัวเลือกตัวต่อไปในในกรอบของ Choice 2, Choice 3, Choice 4 หรือ จนครบจานวนตัวเลือกของข้อสอบข้อนั้นๆ (ขั้นตอนที่ 6-8) 10. เมื่อพิมพ์ตัวเลือกครบทุกตัวเลือกแล้วให้คลิกที่ปุ่ม
การจัดทาข้อสอบเสร็จไปแล้วจานวน 1 ข้อ สาหรับวิธกี ารจัดทาข้อสอบข้อต่อๆ ไป มีวิธีการเหมือนเดิมโดยเริ่มตั้งแต่ขั้นตอนที่ 3-10 ทาไปเรื่อยๆ จนได้ข้อสอบครบ ตามที่ต้องการ แต่หากจะจัดทาข้อสอบในประเภทอื่นต่อไปให้เริ่มตั้งแต่ขั้นตอนที่ 2-10 หมายเหตุ
แก้ไขแบบทดสอบให้คลิกที่ไอค่อน
ของข้อสอบข้อนั้นๆ
ลบแบบทดสอบให้คลิกที่ไอค่อน
ของข้อสอบข้อนั้นๆ
โดยนายสรวง ศรีแก้วทุม ศน.ชานาญการพิเศษ สพป.ลาปาง เขต 3
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นออนไลน์ ด้ ว ย LMS MOODLE 22 การนาเข้าแบบทดสอบ การนาเข้าแบบทดสอบมีหลายวิธี และก่อนที่จะนาเข้าจะต้องจัดเตรียมให้ เรียบร้อยถูกต้องตามข้อกาหนดของรูปแบบที่จะนาเข้า สาหรับการนาเข้าที่จะแนะนา ต่อไปนี้คือการนาเข้าในรูปแบบ Aiken การจัดทาหรือการจัดเตรียมแบบทดสอบ ในการจัดเตรียมแบบทดสอบนี้เหมาะกับผู้ที่มีแบบทดสอบอยู่ก่อนแล้วในรูปของ ไฟล์เอกสาร เช่น Microsoft Word และข้อสอบทั้งหมดนั้นจะต้องไม่มีรูปภาพหรือ สัญลักษณ์พิเศษใดๆ อยู่ ในขั้นตอนแรกให้บันทึกไฟล์เอกสารข้อสอบที่จัดทาด้วยโปรแกรม Microsoft Word ให้เป็นไฟล์ชนิด .txt ก่อน ดังนี้ 1.
เปิดไฟล์ข้อสอบขึ้นมาด้วยโปรแกรม Microsoft Word
2.
คลิกที่ปุ่ม Office
3.
คลิกที่ บันทึกเป็น
4.
คลิกที่ รูปแบบอื่นๆ 2
3
4
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นอี เ ลิ ร์ น นิ่ ง ด้ ว ย LMS MOODLE
23 5. กาหนดที่เก็บแฟ้ม (File) 6. ตั้งชื่อแฟ้ม เป็นภาษาอังกฤษหรือตัวเลข 7. กาหนดชนิดของแฟ้มเป็น Plain Text ที่ช่อง บันทึกเป็นชนิด 8. คลิกที่ปุ่ม บันทึก
6 7
8
9. คลิกที่ การนาเข้ารหัสอื่นๆ 10. กาหนดการเข้ารหัสเป็น Unicode (UTF-8) 11. คลิกที่ปุ่ม ตกลง
10
9 11
จากนั้นให้เปิดแฟ้มข้อสอบด้วยโปรแกรม Notepad และปรับแต่งแก้ไขต่อไป
โดยนายสรวง ศรีแก้วทุม ศน.ชานาญการพิเศษ สพป.ลาปาง เขต 3
24 การจัดทาแบบทดสอบหรือการปรับแต่งแก้ไขแบบทดสอบที่ได้จากการบันทึก แฟ้มข้อสอบจาก Microsoft Word มาเป็นชนิด .txt ด้วยโปรแกรม Notepad 1. การพิมพ์คาถาม ให้พิมพ์ข้อความคาถามเลย ไม่ต้องพิมพ์เลขข้อ เพราะระบบ จะกาหนดให้เอง (ในระบบของ Moodle) ถ้ามีอยู่แล้วให้ลบทิ้งทั้งหมด 2. ในแต่ละข้อการพิมพ์คาถามให้พิมพ์ต่อเนื่องกันไปจนจบ (เว้นวรรคได้ตามปกติ) หากคาถามยาวกว่า 1 บรรทัด ให้โปรแกรมตัดคาให้เอง ห้ามกดปุ่ม Enter 3. ตัวเลือกให้ใช้ A. B. C. D. หรือ A) B) C) D) ห้ามใช้ ก. ข. ค. ง. อาจมี ตัวเลือกมากกว่า 4 ตัวเลือกก็ได้ แล้วตามด้วยข้อความของตัวเลือก ระหว่างตัวเลือกกับ ข้อความของตัวเลือกให้เว้นวรรค 1 ตัวอักษร เช่น A. xxxx A) xxxxx เป็นต้น 4. แต่ละตัวเลือกต้องอยู่คนละบรรทัดและระหว่างโจทย์กับตัวเลือก ให้บรรทัด ต่อเนื่องกัน (ไม่เว้นบรรทัด) 5. กาหนดตัวเลือกที่ถูกต้องที่บรรทัดต่อจากตัวเลือกสุดท้าย โดยพิมพ์คาว่า ANSWER ตามด้วยเครื่องหมาย colon (:) แล้วเคาะเว้นว่าง 1 ตัวอักษรตามด้วย ตัวเลือกที่ถูกต้อง เช่น ANSWER: B หรือ ANSWER: B เป็นต้น
ดังตัวอย่าง
หมายเหตุ สาหรับผู้ที่มีความรู้ในการแก้ไขข้อความด้วยการแทนที่สามารถกระทาได้ ซึ่งจะช่วยให้การแก้ไขจาก ก. ข. ค. ง. เป็น A. B. C. D. หรือ A) B) C) D) ได้ รวดเร็วยิ่งขึ้น
25 การแทรกแบบทดสอบใน LMS Moodle หลังจากเตรียมไฟล์เสร็จแล้วให้ดาเนินการดังนี้ 1.
เข้าระบบและไปยังรายวิชาของตนเอง
2.
คลิกที่ไอค่อน คาถาม ในกรอบการจัดการระบบ 2
4
3. กาหนดประเภทของแบบทดสอบ 4. คลิกที่แถ็บ นาเข้า
3
5. คลิกที่ รูปแบบ Aiken 6. คลิกที่ปุ่ม เรียกดู เพื่อไปยัง แฟ้มข้อสอบที่ได้จัดเตรียมไว้ เมื่อพบแล้วให้คลิกที่แฟ้ม ข้อสอบ
5
7. คลิกที่ปุ่ม อัพโหลดไฟล์นี้ 6
7
หากไม่ปรากฏดังภาพ ทั้งนี้เพราะอาจเกิดจากการการ จัดเตรียมแฟ้มข้อสอบผิดไปจากรูปแบบของ Aiken จะ ปรากฏข้อความเตือน ให้แก้ไขแล้วนาขึ้นใหม่ 8. คลิกที่ปุ่ม ขั้นต่อไป
8
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นออนไลน์ ด้ ว ย LMS MOODLE 26 3. การนาข้อสอบจากคลังข้อสอบไปใช้ 3.1 การกาหนดค่าพื้นฐานให้กับชุดข้อสอบ การที่คุณครูจัดทาข้อสอบในแต่ละประเภท ประเภทละ 5 หรือ 10 ข้อก็ตาม ข้อสอบจานวนดังกล่าวถูกเก็บไว้ในคลัง สามารถนาออกมาใช้ได้ โดยเริ่มต้นที่หน้าหลัก ของบทเรียน ดังนี้ 1
1. คลิกที่ เพิ่มกิจกรรม 2. คลิกที่ แบบทดสอบ 3. พิมพ์ชอ่ื แบบทดสอบทีช่ อ่ ง ชือ่ เช่น แบบทดสอบก่อน เรียนหน่วยที่ 1, หรือแบบฝึกหัดเรื่อง....... เป็นต้น 4. พิมพ์รายละเอียดเพิ่มเติมในช่องคานา หรืออาจคัดลอก 2 ข้อมูลในช่องชื่อมาวางก็ได้ 3
4
5
6
5.ถ้าจะให้มีการกาหนดระยะเวลาในการทาแบบทดสอบ ให้คลิกที่ปิดการใช้งาน ก็จะสามารถกาหนดได้ว่าจะให้เข้าทาแบบทดสอบได้ในช่วงเวลาใด 6. ถ้าจะให้มีการกาหนดเวลาในการทาแบบทดสอบ ให้คลิกสี่เหลี่ยมหน้า เปิด การใช้งาน จากนั้นให้กาหนดเวลาตามต้องการ (เวลามีหน่วยเป็นนาที) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นอี เ ลิ ร์ น นิ่ ง ด้ ว ย LMS MOODLE
27 7.1 7.2
8
9
7. กาหนดการแสดงผลตามต้องการ เช่น 7.1 ในหนึ่งหน้าเว็บเพจจะให้ปรากฏ แบบทดสอบจานวนกี่ข้อ 7.2 จะสลับคาถามหรือไม่ (ถ้าเลือก เป็นใช่ ข้อสอบจะถูกสุ่มแสดงไม่เป็นไป ตามลาดับที่จัดทาไว้
7.3 การสลับคาตอบหมายถึงคาตอบหรือตัวเลือกจะเปลี่ยนการจัดเรียงใหม่จาก ที่เคยเป็นข้อ A. ก็อาจเปลี่ยนเป็น ข้อ B. หรือ C. เป็นต้น 8. กาหนดครั้งตามต้องการ เช่น จะให้สอบได้กี่ครั้ง ซึ่งจะเกี่ยวกับวิธีตัดเกรด (ข้อ 9) 9. กาหนดในกรอบคะแนนตามต้องการ เช่น คะแนนเฉลี่ย คะแนนสูงสุด หรือ คะแนนครั้งแรก คะแนนครั้งสุดท้าย เป็นต้น ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับจานวนครั้งที่ให้ตอบ เช่น หากกาหนดให้ตอบได้ไม่จากัดจานวนครั้ง แล้วกาหนดวิธีตัดเกรดเป็นค่าเฉลี่ย หรือ กาหนดวิธีตัดเกรดเป็นคะแนนสูงสุด เป็นต้น หมายเหตุ ในส่วนที่ไม่ได้กล่าวถึงให้ใช้ค่าที่โปรแกรมกาหนดไว้ก็ได้
10. ในกรอบ Review options เป็นการกาหนดค่าต่างๆ ว่าจะให้ผู้ทา แบบทดสอบรับทราบสิ่งใดในขณะใด ซึ่งสามารถกาหนดได้ตามต้องการโดยคลิกให้มี เครื่องหมาย √ หน้าตัวเลือกนั้นๆ หรืออาจใช้ค่าที่กาหนดไว้ก็ได้ 11. คลิกที่ปุ่ม โดยนายสรวง ศรีแก้วทุม ศน.ชานาญการพิเศษ สพป.ลาปาง เขต 3
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นออนไลน์ ด้ ว ย LMS MOODLE 28 3.2 การนาข้อสอบจากคลังไปใช้ เมื่อกาหนดค่าพื้นฐานให้กับแบบทดสอบแล้ว ต่อไปจะเป็นการนาข้อสอบจาก คลังข้อสอบมาใช้ในแบบทดสอบนี้ มีวิธีการดังนี้
2 1
3
4
1. คลิกที่แถ็บ แบบทดสอบ 2. เลือกประเภทหรือหมวดหมู่ของแบบทดสอบ 3. คลิกเลือกข้อสอบแต่ละข้อตามต้องการ (เมื่อคลิกแล้วจะมีเครื่องหมาย √ 4. คลิกที่ปุ่ม เพิ่มเข้าไปในแบบทดสอบ *** หากมีข้อสอบหลายประเภท ให้ดาเนินการขั้นตอนที่ 2-4 อีกครั้ง จนได้จานวน ข้อสอบตามต้องการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3
คู่ มื อ การจั ด ท าบทเรี ย นอี เ ลิ ร์ น นิ่ ง ด้ ว ย LMS MOODLE
29
5 6
5. กาหนดคะแนนเต็มโดยการพิมพ์ 6. คลิกที่ปุ่ม บันทึกการเปลี่ยนแปลง ดูตัวอย่างได้โดยคลิกที่แถ็บ ดูตัวอย่าง เมื่อกลับมายังหน้าหลักของรายวิชาจะพบ หัวข้อให้นักเรียนได้คลิกเพื่อเข้าทา แบบทดสอบ สามารถแก้ไขการตั้งค่า และลบหัวข้อนี้ทิ้งได้โดยไม่กระทบกับแบบทดสอบที่จัดทา ไว้ในคลังข้อสอบ
โดยนายสรวง ศรีแก้วทุม ศน.ชานาญการพิเศษ สพป.ลาปาง เขต 3
30
บรรณานุกรม ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2546) การผลิตชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์: Production of E -Learning Packages กรุงเทพมหานคร เอมพันธ์ ถนอมพร (ตันพิพัฒน์) เลาหจรัสแสง (2545) Designing e-Learning : หลักการ ออกแบบและสร้างเว็บเพจเพื่อการเรียนการสอน เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ อรุณการพิมพ์ นิรชราภา ทองธรรมชาติ บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ (2545) สร้างสื่อ (e) กรุงเทพมหานคร UNION PRINT & DESIGN