magazine

Page 1

Issue 1

magazine.indd 1

P.9 SHOW ARTS

P.23 GRAFFITI

P.27 TALK’A TIST

รวบรวÁ¼Åงานภาพ»ระ¡อบ สุดเจ๋ง

บุกเบิกกำเนิดของกราฟิตี้ และประวัติความเป็นมา

ชวนพิศ สุวรรณภาณุ

100 BATH

9/16/2011 2:53:00 PM


magazine.indd 2

9/16/2011 2:53:01 PM


N I LL

A

S ’ K N

I H T

วันนี้เราก็จะมาพูดถึง THINK’s MAGAZINE กัน นะ ครับ ก่อนอื่นต้องบอกก่อนว่า THINK’s ของเรานั่นไม่ เหมือนใคร เพราะหนังสือของเราจะมุ่งเน้นและ ส่งเสริมผลงานของศิลปิน รุ่นใหม่ ที่กำาลัง มีผลงานน่า สนใจและฮิตในตอนนี้ เพื่อที่จะนำาพาพวกเขาเล่านั่น เดินทางสู้โลกความจริง และประสบการณ์ใหม่ๆกับ หนังสือ แต่ไม่ใช่แค่ แนะนำาผลงานศิลปินอย่างเดียว นะครับ หนังสือของเราก็ นำาเสนอ หลายหัวข้อกันเลย ทีเดียว เช่น SHOW ART , THE BEST POPULAR GADGET . กลอนให้แง่คิดดีๆ กับ ระบายใจ และอื่นๆ อีกมากมาย และแล้วก็มาถึงบทของ บก. ก่อนอื่นเรยแนะนำาตัว ก่อน ผมชื่อ บก.Subport ในหนังสือเล่มนี้นั่นเอง ผม มาเป็น บก. ได้ยังไงอยากรู้ละเส่ๆ 55 คือ ทางมหาลัย มีโปรเจ็คทำางานหนึ่งโปรเจคก็คือทำา แม๊กกาซีนนี้เอง จึงได้เพื่อนสหายคู่ซี้ มาทำางานด้วยเขาคนนั่นชื่อ!!!!!! บก.Thy ซึ่งนิสัยส่วนตัวเป็นคนซ่าบ้า ระห่ำา ขยัน ทำางาน เรยได้มาร่วมงานกันในหนังสือเลืมนี้ นี้ ถามว่าคาดหวังอะไรในหนังสือไหม บอกเลยว่า นิด น่อยครับ เพราะพวกผมสองคนอยาก ส่งเสริม ศิลปิน รุ่นใหม่ที่ยังไม่มีที่อยู่ เอ้ย 555 ไม่ดังนั่นเอง ที่สำาคัญคือ พวกผมอยากดัง ขอเกาะแขนไปด้วย น้าๆๆครับ555 บายครับ

magazine.indd 3

9/16/2011 2:53:12 PM


magazine.indd 4

9/16/2011 2:53:13 PM


Contents D ng

he

T

r

ne

g esi

ou wY e N

The

Bes t Po

pul

ar G

adg et

นุ

รรณภา

สุว ชวนพิศ ู คุยกับ ด

all about

Issue 1

ระบ

าย

ใจ

What is GRAFFITI

e

c odu

r

Int

w

o Sh

5

n o i t ra

t

s Illu

s

Art

t

e dg

Ga

9

i

fit f a r

G

19 23

ร 25

ใ ย า ะบ

k Tal

t

is T a

27

magazine.indd 5

9/16/2011 2:53:14 PM


illustration INTRODUCE ILLUSTRATION

5 magazine.indd 6

9/16/2011 2:53:14 PM


‘‘ความชอบ

เป็นสิ่งจำ�เป็น พื้นฐานที่ทำ�ให้เรามีแรงขับเคลื่อน เป็นแรง พลักดันในงานที่เราสร้างสรรค์ทุกๆ อย่าง.. ’’ “ ภาพประกอบ ในหลาย ๆ สิ่งที่คนยังไม่รู้ ”

ภาพวาดและภาพถ่ายต่างก็ใช้เพื่อสื่อความหมาย เช่นเดียวกับตัวอักษร แต่มีลักษณะพิเศษคือให้ราย ละเอียดได้มากและสามารถทำ�ให้เห็น ภาพได้เหมือน จริง การได้มองเห็นภาพจะทำ�ให้เกิดความเข้าใจได้ ภาพประกอบงานพิมพ์ หมายถึงเนื้อหาส่วนที่เป็น ทันทีโดยไม่ต้องใช้ เวลาตีความหรือทำ�ความเข้าใจ ภาพซึ่งปรากฏในเอกสาร สิ่งพิมพ์ต่างๆ นอกเหนือ นอกจากนี้ภาพยังถือว่าเป็นภาษาสากล แม้คนไม่รู้ จากเนื้อหาข้อความที่เป็นตัวอักษร ภาพเหล่านี้อาจ หนังสือ ก็สามารถดูรู้เรื่องได้ การใช้ภาพประกอบจึงมี เป็นภาพวาด หรือภาพถ่ายก็ได้ และยังนับรวมถึงภาพ ความหมายและสำ�คัญต่องานพิมพ์ไม่น้อย ไปกว่าตัว กราฟิกต่างๆ เช่น จุด เส้น สี แถบกราฟิกหรือ ภาพ พิมพ์ ลายเส้นเรขาคณิตอื่นๆ ที่ใช้ในการตกแต่งงานพิมพ์ อีกด้วย

ความหมายของภาพประกอบงาน พิมพ์

ในอดีตที่ผ่านมาภาพประะกอบถูกนำ�มาใช้เพื่อ วัตถุประสงค์ในการตกแต่ง อธิบาย และเป็นเอกสาร อ้างอิง ความสำ�คัญของภาพประกอบคือสามารถ แสดงสิ่งที่ผู้เขียนไม่สามารถ อธิบายออกมาเป็นภาษา เขียนได้ เราเกิดมาพร้อมพัฒนาการของภาพประกอบ ภาพประกอบเป็นกุญแจสำ�คัญ ที่จะไขสู่การอธิบาย สิ่งที่อยู่ในจินตนาการ เริ่มตั้งแต่ภาพประกอบที่ใช้ใน หนังสือสำ�หรับเด็ก

ความสำ�คัญของภาพประกอบ งานพิมพ์ ภาพประกอบมีความสำ�คัญต่องานพิมพ์มาก เพราะ สามารถให้รายละเอียด และความเหมือนจริงเกินคำ� บรรยาย ให้ความสวยงามและความประทับใจ พอสรุป ความ สำ�คัญของภาพประกอบงานพิมพ์ได้ดังนี้ เราเกิดมาพร้อมพัฒนาการของภาพประกอบ ภาพ ประกอบเป็นกุญแจสำ�คัญ ที่จะไขสู่การอธิบายสิ่งที่อยู่ ในจินตนาการ เริ่มตั้งแต่ภาพประกอบที่ใช้ในหนังสือ สำ�หรับเด็ก จนถึงภาพประกอบที่แปลกออกไปด้วย เทคนิคอันก้าวหน้ามากมาย นอกจากนี้ภาพประกอบงานพิมพ์ยังกลาย มาเป็นส่วน หนึ่งในชีวิตประจำ�วันของผู้คนในปัจจุบัน

magazine.indd 7

9/16/2011 2:53:15 PM


“ตั้งใจพยายามทำ�งาน ไม่มีอะไรเสียหายหรอก ไม่ว่าจะต้องใช้เวลามากน้อย ขนาดไหน ตราบใดที่มีความพยายามสักวันเราก็จะประสบความสำ�เร็จเอง ดี กว่าที่จะไม่พยายามอะไรเลย แล้วเอาแต่เฝ้ารอแบบปลายทางที่วาดหวังไว้คงไ่ม่ มีทางเกิดขึ้นแน่ๆ ใช้เวลาเก็บเกี่ยวประสบการณ์ ใช้ชีวิตให้คุ้นค่าครับ’’

ใช้เสริมความเข้าใจ

ภาพถ่าย

ภาพพิมพ์

ในกรณีที่ข้อความสามารถสร้างความเข้าใจได้ระดับ หนึ่งแล้วแต่ยังไม่ชัดเจน จึงจำ�เป็นต้องใช้ภาพ ประกอบเพื่อเสริมความเข้าใจให้ชัดเจนยิ่งขึ้นเช่นการ อธิบายพุทธลักษณะ ของพระพุทธรูปสมัยต่างๆ ถ้ามี ภาพประกอบเพื่อเสริมความเข้าใจในรายละเอียดเพิ่ม เติม ก็จะทำ�ให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น

ภาพถ่ายเป็นภาพที่เกิดจากกรรมวิธีทางการถ่าย ภาพ ใช้ประโยชน์ได้ดีในงาน พิมพ์ เพราะภาพถ่ายมี คุณลักษณะเฉพาะตัวหลายอย่าง ทั้งในแง่ความเหมือน จริงและความ ละเอียดลออ สามารถสร้างสรรค์ได้ตาม ความรู้สึกการถ่ายภาพเพือ่ นำ�มาใช้ภาพประกอบใน งานพิมพ์ ปัจจุบันนิ ย มใช้ ก ล้ อ งดิ จ ิ ต อลผลที ่ ไ ด้ ส ่ ว น ใหญ่ จ ึ ง ออกมาเป็ น ภาพส ี(colour print) แต่ถ้า ต้องการภาพขาว - ดำ� มักใช้คอมพิวเตอร์ช่วยแปลง ภาพจากภาพสีให้เป็นภาพขาว - ดำ�

ภาพพิมพ์ในที่นี้หมายถึงภาพที่ผ่านการพิมพ์มาแล้ว มีทั้งชนิดที่พิมพ์เป็น ภาพลายเส้นและพิมพ์เป็นภาพ เม็ดสกรีน ภาพทั้งสองประเภทนี้สามารถนำ�มาพิมพ์ ซ้ำ�ได้ ถ้าเป็นภาพลายเส้นจะได้คุณภาพใกล้เคียงของ เดิม แต่ภาพที่เป็นเม็ดสกรีนรายละเอียดอาจหาย ไป บ้าง

ใช้เป็นหลักฐานเพื่อบ่งบอกบุคคล การนำ�เสนอภาพเพื่อบ่งบอกถึงตัวบุคคล ไม่อาจใช้ ข้อความอธิบายให้เห็นได้ว่า บุคคลผู้นี้มีหน้าตาเป็น อย่างไร แต่ถ้าพิมพ์ภาพลงแล้วบอกชื่อ ผู้ที่เห็นก็จะ รู้จักและจดจำ�ได้ทันที

ใช้ตกแต่งหน้าสิ่งพิมพ์ ภาพประกอบช่วยให้งานพิมพ์สวยงามน่าอ่านมาก ยิ่งขึ้น เทคโนโลยีการถ่าย ภาพ ตกแต่งภาพและ การพิมพ์ในปัจจุบัน เอื้ออำ�นวยให้การทำ�งานกับภาพ ประกอบสะดวก ยิ่งขึ้น การถ่ายภาพทำ�ได้ง่ายขึ้น ลด ขั้นตอนการตกแต่งภาพลง ใช้เวลาน้อยลง การจำ�ลอง ภาพอย่างการถ่ายเอกสารหรือการกราดภาพ(scan)ก็ ทำ�ได้คุณภาพดีและสะดวกรวดเร็ว อีกทั้งเทคโนโลยี ด้านคอมพิวเตอร์ยังช่วยให้ตกแต่งดัดแปลงภาพทำ�ได้ หลายรูปแบบ

ประเภทของภาพประกอบงานพิมพ์ การใช้ภาพประกอบงานพิมพ์นน้ั อาจกล่าวได้วา่ ใช้ภาพ ได้ทกุ ประเภท เพราะ เทคโนโลยีทางการพิมพ์สามารถ ถ่ายทอดภาพประเภทใดๆ ก็ได้ลงบนงานพิมพ์ ซึ่ง อาจจำ�แนก ประเภทภาพประกอบทางการพิมพ์เป็น ประเภทต่างๆ ได้ดังนี้

ภาพดิจิตอล

หมายถึงภาพที่ผ่านกระบวนการสร้างสรรค์โดย คอมพิวเตอร์มาแล้ว ด้วยพัฒนาการของเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน ทำ�ให้ภาพทุกชนิดที่จะ ภาพวาดลายเส้นเป็นภาพที่ใช้ประกอบงานพิมพ์มา เข้าสู่ ระบบการพิมพ์ตอ้ งผ่านกระบวนการแปลงรูปภาพ ตั้งแต่ยุคแรกๆ และยังคง ได้รับความนิยมอยู่จนถึง นัน้ ให้เป็นภาพดิจิตอล เช่น การกราดภาพ (scan) การ ปัจจุบันมีการใช้เทคนิคการวาดภาพผสมผสานกัน ถ่ายภาพด้วยกล้องดิจิตอลและการสร้างภาพขึ้นใหม่ หลายอย่าง เช่น การวาดลายเส้นแบบภาพการ์ตูน โดยการใช้ดินสอ พู่กันปากกาหมึกดำ� รวมทั้งการผสม ด้วยคอมพิวเตอร์ เป็นต้น สกรีน หรือการสร้างพื้นผิวลวดลายต่างๆ ร่วมกับภาพ ลายเส้นด้วย

ภาพวาดลายเส้น

ภาพวาดน้ำ�หนักสีต่อเนื่องและภาพ ระบายสี ภาพวาดน้ำ�หนักสีต่อเนื่องกับภาพระบายสี ภาพ ทั้งสองชนิดมีลักษณะภาพ คล้ายคลึงกัน คำ�ว่า “ภาพ วาดน้ำ�หนักสีต่อเนื่อง” ใช้เรียกภาพวาดสีเดียวที่มีน้ำ� หนักอ่อนแก่ ลดหลั่นกัน สำ�หรับ ”ภาพระบายสี” จะประกอบด้วยสีต่างๆมากมายหลายสี โดยการเขียน หรือระบายสีด้วยกรรมวิธีหรือเทคนิคต่างๆกันไป ภาพวาดอาจเป็นภาพที่วาดในมุมมองและรายละเอียด เหมือนกับภาพถ่ายได้และยัง สามารถวาดในมุม ทีภ่ าพถ่ายอาจทำ�ไม่ได้อีกด้วย ภาพวาดจึงเป็นภาพอีก

ชนิดหนึ่งที่ใช้เป็น ภาพประกอบได้อย่างดี

7 magazine.indd 8

9/16/2011 2:53:15 PM


magazine.indd 9

9/16/2011 2:53:15 PM


SHOW ARTS

9 magazine.indd 10

G G N N U U O O Y Y E E TTHH R R E E N N G I G I S S E E D D Y Y BBOO 9/16/2011 2:53:15 PM


TTHHEE YYO OUUNNGG GGIIRRLL D DEESSIIGGNNE ERR magazine.indd 11

9/16/2011 2:53:16 PM


แรงบันดาลใจ : ภาพถ่ายเป็นภาพที่เกิดจาก กรรมวิธีทางการถ่ายภาพ ใช้ประโยชน์ได้ดีใน งาน พิมพ์ เพราะภาพถ่ายมีคุณลักษณะเฉพาะ ตัวหลายอย่าง ทั้งในแง่ความเหมือนจริงและ ความ ละเอียดลออ สามารถสร้างสรรค์ได้ ตามความรูส้ กึ ทั้งในแง่ความเหมือนจริงและ ความ ละเอียดลออ สามารถสร้างสรรค์ได้ ตามความรู้สึก การถ่ายภาพเพื่อนำ�มาใช้ภาพ ประกอบในงานพิมพ์

แนวความคิดในการทำ�งาน : สำ�หรับงาน เหล่านี้ อยากแสดงให้รู้สึกถึงความคิดที่อยู่ ในบุคคลนี้ แตกออกมาด้วยลายเส้นที่หลาก หลาย เทคนิค : เขียนด้วยปากกา กับ คอลลาจ

ภาพวาดอาจเป็นภาพที่วาดในมุมมองและ รายละเอียดเหมือนกับภาพถ่ายได้และยัง สามารถวาดในมุมที่ภาพถ่ายอาจทำ�ไม่ได้อีก ด้วย ภาพวาดจึงเป็นภาพอีกชนิดหนึ่งที่ใช้ เป็น ภาพประกอบได้อย่างดี

ชื่อ : ทรัพย์ทวี เพ็งกระจ่าง ( ซับ )

การศึกษา : มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปี 3 คณะ ศิลปกรรมศาสตร์ สาขา ออกแบบนิเทศศิลป์ อายุ : 20 ปี ติดต่อ : subdesign@hotmail.com

BLACK & WHITE ILLUSRATION

11 magazine.indd 12

9/16/2011 2:53:17 PM


magazine.indd 13

9/16/2011 2:53:17 PM


CHARACTER ILLUSRATION

ชื่อ : ทศวรรÉ เล่าเป‚›ยม ( เจ็ด)

áรงบÑน´าÅใจ : งาน Character เป็นงานที่ผม แนวความคิดในการทำงาน : ในก�รทำ�ง�น ชอบมาตั้งแต่จำาความได้ ผมสนุกสนานไปกับ แต่ละครั้ง ผมชอบทำ�ง�นให้สุดคว�มส�ม�รถ มัน มีความสุขที่ได้ทำา ผมจะเริ่มสังเกตุสิ่งรอบ เต็มที่ไปกับง�น สนุกและมันส์ไปด้วยกัน ใช้หัว ๆ ตัวก่อน และมาพัฒนาทำามาเป็นงานแต่ละ ใจในก�รทำ�ง�น ชิ้น ใส่กราฟิตี้ลงไปในงานเพื่อให้เกิดความ เทคนิค : Adobe Illustrator Cs5 และแต่งแสง มันส์กับงาน เงาใน Adobe Photoshop Cs6 เล็กน้อย

สำาเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยกรุงเทพ คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาออกแบบนิเทศศิลป์ อายุ 24 ปี ติดต่อ : http://facebook.com/solid.sthun solid1@windowslive.com

13 magazine.indd 14

9/16/2011 2:53:23 PM


magazine.indd 15

9/16/2011 2:53:26 PM


15 magazine.indd 16

9/16/2011 2:53:26 PM


GIRL ILLUSRATION แรงบันดาลใจ : เราไม่ชอบวาดแบบมีคอนเซป เท่าไหร่ งานนี้เป็นงานที่ชอบที่สุด แล้วก็กลับ มาวาดไม่ได้แล้ว ไม่รู้ว่าเพราะอะไร เหมือน สไตล์งานเราเปลี่ยนไปเรื่อยๆ แต่ถ้ามีเวลาได้ ทำ�งานอีกก็อยากจะทำ�ให้ดีกว่าเดิม และทำ�

ชื่อ : พนิดา รัตนคำ� ( สโนว์ )

การศึกษา : มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปี 3 คณะ ศิลปกรรมศาสตร์ สาขา ออกแบบนิเทศศิลป์ อายุ : 20 ปี ติดต่อ : snowsolid@hotmail.com

magazine.indd 17

9/16/2011 2:53:28 PM


Drawing Vintage Illustrator

ชื่อ : วณิชชา สระทองออย ( Îัท ) การศึกษา : มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปี 3 คณะ ศิลปกรรมศาสตร์ สาขา ออกแบบนิเทศศิลป์ อายุ : 19 ปี ติดต่อ : hut_kainow@hotmail.com

17 magazine.indd 18

9/16/2011 2:53:46 PM


magazine.indd 19

9/16/2011 2:53:46 PM


GADGET

The Best Popular

F A S T HP TouchSmart310 – 1125y

ใครที่สนใจ PC ที่ไม่มี Case ใหญ่ๆ แล้วไม่อยากซื้อ Mac นี้คือทางเลือกอีกตัวนึ่ง HP TochSmart 310 – 1125y มัน คือ PC All – in – One ซึ่งมีสเป็คเครื่อง CPU AMD Athlon ll X2 / Graphics Caed ATI Radeon HD 4270 / RAM 4 GM และยังมีจอแบบ Touch Screen ขนาด 21 นิ้ว โดย รองรับระบบการใช้ 2 นิ้ว ในการควบคุมคำ�สั่ง ข้อดี : แน่นอนว่าประหยัดเนื้อที่ ไม่จำ�เป็นต้องหาที่วาง สำ�หรับ Case ข้อเสีย : สเป็คเครื่องอยู่ในระดับกลาง ถ้าจะซื้อมาเล่นเกมก็ คงแค่พอทน โดยรวม : ถือว่าแรงมากสำ�หรับคอมพิวเตอร์สำ�เร็จรูป ไม่ จำ�เป็นต้องมานั่งปวดหัวเวลาเลือกซื้อคอมพิวเตอร์เลย

GADGET

Pen Mouse

นี่คือนวัตกรรมใหม่ล่าสุดของค่าย Genius มันคือปากกา เมาส์ (Pen Mouse) ที่จะช่วยให้คุณเปิดประสบการณ์ ใหม่ในการควบคุมเคอร์เซอร์ เพื่อความสะดวกสบายมาก ขึ้นกว่าการใช้เมาส์แบบปกติ มาพร้อมเทคโนโลยีการ ติดตามที่มีความละเอียดสูงถึง 1200 dpi และสามรถสลับ กันระหว่าง 400 และ 800 dpi สามารถเอียงเมาส์ได้ถึง 85 องศาสามารถทำ�งานได้บนพื้นผิวที่ไม่เรียบได้อย่างมี ประสิทธิภาพ มีความแม่นยำ�สูง แถมยังมีโหมดประหยัด พลังงานแบบอัติโนมัติ และยังสามารถใช้งาน Fiying scroll เพื่อเปิดดูไฟร์งานและหน้าเว็บเพจได้อย่างมี Plug - and – forget Pico receiver เป็นฟีเจอร์ที่จะช่วยให้การใช้งานของ คุณเป็นเรื่องสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น ข้อดี :ใช้ง่ายสะดวกและใช้ได้กับพื้นผิวที่ไม่เรียบได้อย่างมี ประสิทธิภาพมีความแม่นยำ�สูง พกพาสะดวก ข้อเสีย : ถ้าใช้เล่นเกมคงจะไม่เป็นที่ชื่นชอบของเหล่าเกมเม อร์ดีไซร์ดูไม่ค่อยทันสมัยเท่าไหร่ โดยรวม : ถ้าใช้งานหรือเปิดหน้าเว็บอย่างเดียวก็โอเคเลย ครับ

19 magazine.indd 20

9/16/2011 2:53:47 PM


Seagate GoFlex Slim 320 GB

คนที่บ่นว่า HDD External ใหญ่ไป พกพาไม่สะดวก Seagate ได้ปล่อย HDD ขนาดเล็กมีความความยาวเพียง แค่ 2.5 นิ้ว หนา 0.9 เซนติเมตร!! นอกจากนั่นยังรองรับ USB3.0 ส่วนการดีไซน์นั่นมาในการดีไซน์นั่นมาในแบบ เรียบแต่ดูหรูมีสีให้เลือก 2 สีคือขาวและดำ� ข้อดี : ขนาดเล็กพอๆ กับดินสอแห่งหนึ่ง จะพกพาไปไหน ก็สะดวก ข้อเสีย : ความจุไม่เท่าขนาด 3.5 นิ้ว ที่ปาไป 1 TB แล้ว โดยรวม : อย่าคิดว่าขนาดเล็กแล้วจะช้านะ มีรอบหมุนถึง 7200 RPM เลยเดียวใครอยากเปลี่ยนจาก Flash Drive มา ใช้ตัวนี้ก็ถือว่าดีเลยทีเดียว

Vostro V130

ขอแนะนำ� โน๊ตบุ๊กซีรีย์ใหม่ V 130 ของบริษัท เดลล์ คอร์ปอเรชั่น ดีไซน์บางเฉียบเรียบหรู มีหน่วยประมวลผลใหม่ล่าสุดจากอินเทล Core Processor ULV i5-470 UM เจนเนอเรชั่น 2 มาพร้อมกับ lntel Turbo Boost Technology 2.0 ที่ช่วยเร่งความเร็วในการทำ�งานให้สูงขึ้น หน้า จอทีขนาด 13.3 นิ้ว แบบ HD WEED Anti – Glaer ที่มีความละเอียด 1366*768 พิกเซล มีฮาร์ดดิสขนาด 500 GB 7200 RTM ใช้วัสดุที่ทำ�จา กอลูมิเนียมหรูหราสวยงามและทนทานในทุกสถานการ ระบบปฎิบัติการ Genuine Windowe 7 Home Basic 32 bit ข้อดี : ทน ดีไซน์สวยหรูบางเฉียบ ราคาประหยัด ข้อด้วย : หน้าจอเล็กไปหน่อย โดยรวม : ก็เป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ดีสำ�หรับนักธุรกิจขนาดย่อมที่ใช้ใน การทำ�งานพิมพ์เอกสารท้องเว็บ หรือจะดูหนังฟังเพลงก็ใช้ได้เลย

ASUS P86Z8 – V PRO

สำ�หรับคนที่ต้องการต่อการ์ดจอแบบ SLI พ่วงด้วยกัน 3 Slot นี้เป็น M/B ที่แนะนำ�เลย ด้วยการดีไซน์ที่มันสมัย ออกมาใน โทนสีฟ้าดำ� ตัวระบายความร้อนที่ทำ�เป็นรูปคลื่น เหมาะมาก สำ�หรับคนเล่น Case ใส ส่วน Slot ต่างๆ นั่นแต่ละส่วนให้มา เยอะมากเช่น SATA 8 Slot USB 10 Slot ข้อดี : ไม่ต้องกลัวเลยว่า Slot ต่าง นั่นจะไม่พอ ทั่งยังรับ อุปกรณ์ต่างๆ ได้ในระดับสูง ข้อเสีย : ด้วยเปคที่สูง จึงไม่มีรุ่นสำ�หรับ Case ขนาดเล็ก โดยรวม : เกมเมอร์ที่ M/B มารองรับอุปกรณ์ระดับเทพนี่เป็น ตัวเลือกที่ดีเลยทีเดียว

magazine.indd 21

9/16/2011 2:53:47 PM


THE POPULAR GADGET

LG CINEMA 3D

ถ้าคุณกำ�ลังมองหา จอมินิเตอร์ ที่เป็นสามมิติที่สมจริง ขอเสนอ LG CINENMA 3D (D2342P) ที่มาพร้อมเทคโนโลยี FPR แบบเดียวกับโรง ภาพยนต์ 3 มิติ ภาพมีความสดใสคมชัดสบายตา โดยจอ มอนิเตอร์ตัวนี้ใช้เทคโนโลยีสามมิติ FPR ที่ LG ได้พัฒนา ขึ้นเป็นรายแรกของโลก เป็นเทคโนโลยีที่ปราศจากการก ระพริบของภาพ จึงทำ�ให้ไม่รู้สึกปวดตาขณะรับชมทำ�งาน ร่วมกับแว่นโพลาไรซ์ในการแยกสัญญาณภาพ ตัวแว่น ถูกออกแบบมาเป็นพิเศษให้ใช้ได้อย่างอิสระ โดยไม่ต้อง เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ส่งสัญญาณจากจอภาพ ใช้งานร่วมกับ คอมพิวเตอร์ปกติได้ทันที โดยไม่จำ�เป็นต้องติดตั้งการ์ด จอ 3 มิติเพิ่มเติม มีความละเอียดระดับ Full HD (1920 x 1080)

ข้อดี : ดีไซน์สวยปราศจากการกระพริบของภาพจึงทำ�ให้ ไม่รู้สึกปวดตาขณะรับชม ตัวแว่นมีน่าหนักเบา และเป็น อิสระสามารถใช้งานร่วมกับคอมพิวเตอร์ปกติได้ทันที โดย ไม่ต้องติดตั้งการ์ดจอ 3 มิติเพิ่มเติม ข้อด้วย : โดยรวม : ใครที่ชอบเทคโนโลยีที่ล้ำ�สมัย ก็สามารถจับจอง เป็นเจ้าของกันได้ครับ จะดูหนังหรือจะเล่นเกมก็เยี่ยมไปเลย เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ได้ทันทีไม่ต้องไปซื้อหาการ์ดจอมา ติดตั้งเพิ่ม ที่สำ�คัญราคาก็ไม่สูงมาก

21 magazine.indd 22

9/16/2011 2:53:49 PM


What is

GRAFFITi magazine.indd 23

9/16/2011 2:53:49 PM


GRAFFITI

ประเภทของกราฟฟิตี้ กราฟฟิต้ีในประเทศไทย

ชื่อ : ทศวรรษ เล่าเปี่ยม สำ�เร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยกรุงเทพ คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาออกแบบนิเทศศิลป์

• “Tag” คือการเซ็นลายเซ็นหรือนามแฝงของแต่ละคนโดย สเปรย์กระป๋อง หรือ ปากกา ส่วนมากใช้สีเดียว บางคน อาจพ่นเป็นตัวอักษรธรรมดา ขณะที่บางคนดีไซน์ให้เป็น ตัวอักษรที่เกาะเกี่ยวกันจนอ่านไม่ออก เน้นให้ดูแปลก• “Throw-ups” คือการเขียนเร็ว ๆ ด้วยสีพื้นฐาน จำ�นวนน้อย สีนิยมใช้สีขาวดำ� แสดงให้เห็นเส้นสายที่รวดเร็ว เป็นการ เขียนตัวอักษรน้อยตัว มีเส้นตัดขอบเพื่อให้ดูมีมิติ ไม่เน้น ความสวยงาม เพราะต้องทำ�แข่งกับเวลา • “Fill-in” หรือ “Piece” คือ “Throw-ups” ที่ซับซ้อนขึ้น เป็น ผลงานของไรเตอร์คนเดียว เป็นการพ่นสีสเปรย์ให้เป็นภาพ หรือตัวอักษรที่สวยงาม ใช้เวลานานในการสร้างสรรค์ เพื่อ ให้ผลงานออกมาสมบูรณ์ • “Block” หรือ “Bubble” การเขียน Tag ที่ดูมีมิติมากขึ้น ใช้ สีประมาณ 3 สี หรือมากกว่านั้น • “Wildstyle” หรือ “Wickedstyle” เป็นสไตล์ที่ซับซ้อนขึ้น มี การเกาะเกี่ยวกันของตัวหนังสือ ลักษณะการเขียนประเภท นี้จะอ่านค่อนข้างยาก • “Blockbuster” คือ “Fill-in” ที่เขียนที่ตั้งใจเขียนทั้งผนัง • “Character” คือการพ่นเป็นรูปคน หรือ คาแร็กเตอร์ต่าง ๆ ไม่วาจะเป็นตัวการ์ตูน หรือเป็นภาพเสมือนจริงของดารานักร้องในดวงใจ หรืออาจเป็นตัวการ์ตูนที่ไรเตอร์ออกแบบ เองเพื่อเป็นสัญลักษณ์ประจำ�ตัวของไรเตอร์คนนั้น ๆ • “Production” คือ การรวมกราฟฟิตีทุกรูปแบบไว้ด้วย กัน เกิดจากการรวมที่ไรเตอร์หลายคนหรือหลายกลุ่มนัด กันสร้างผลงานร่วมกัน โดยมีธีมไปในทิศทางเดียวกันหรือ สอดคล้องกัน เช่น นัดกันพ่นคาแร็กเตอร์ประจำ�ตัวของไร เตอร์แต่ละคนหรือพ่นชื่อกลุ่ม ชื่อตัวเอง

กราฟฟิตีในประเทศไทยมีให้เห็นเป็นจำ�นวนมาก โดย เฉพาะกรุงเทพมหานคร ซึ่งจะพบเห็นตามอาคารหรือ กำ�แพงที่ถูกทิ้งร้าง รวมถึงกำ�แพงและอาคารที่ยังมีผู้อยู่ อาศัยด้วย ส่วนใหญ่กราฟฟิตีในประเทศไทยยังเป็นการ แสดงออกทางศิลปะเท่านั้น ยังไม่มีการเสียดสีหรือล้อเลียน เรื่องราวต่างๆ ในสังคมมากนัก หลังจากที่กราฟฟิตีครองความนิยมในหมู่วัยรุ่นไทยและ ได้พัฒนาขึ้นมาก ได้มีการประกวดกราฟฟิตีหรืองานแสดง สินค้า งานอีเวนต์ต่าง ๆ ที่นำ�กราฟฟิตีไปแสดง ไม่ว่าจะ เป็นงาน Battle of the year ที่งานจัดประกวดกราฟฟิตี งาน MBK Graffitti Lesson 1 ที่จัดประกวดแข่งขันโชว์ การพ่นกราฟฟิตีแนวสตรีทอาร์ต และเว็บไซต์กระปุกดอต คอมและพันธมิตรได้เคยร่วมจัดประกวดกราฟฟิตีพระบรม ฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รวมถึงงานแสดง นิทรรศกาลศิลปะ Keep on Keeping on เป็นต้น ซึ่งจาก การจัดงานประกวดนี้เอง ไรเตอร์จำ�นวนไม่น้อยสามารถยึด กราฟฟิตีเป็นอาชีพหาเลี้ยงตัวเองได้อย่างสุจริต เช่นการนำ� กราฟฟิตีมาใช้ออกแบบร้านเสื้อผ้าแนวสตรีทอาร์ต ออกแบ บร้านสเก็ตบอร์ด ในช่วงเหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 ที่เกิดเหตุ ระเบิดกลางกรุง 8 จุด เจ้าหน้าที่ตำ�รวจได้แถลงข่าวว่าพบ เบาะแสที่น่าจะเป็นของคนร้าย คือตัวอักษรซึ่งถูกเขียนบน ตู้โทรศัพท์ คาดว่าอาจเป็นร่องรอยที่กลุ่มมือวางระเบิดทิ้ง เอาไว้เพื่อส่งสัญญาณบางอย่าง คือตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ คล้าย IRK เกาะเกี่ยวกัน ส่งผลให้เจ้าหน้าที่ตำ�รวจวิเคราะห์ ว่า สัญลักษณ์ดังกล่าวจะเป็นของ JI หรือกลุ่มเจมาห์ อิสลา มิยาห์ กลุ่ม RKK

23 magazine.indd 24

9/16/2011 2:53:51 PM


จากตำ�รากราฟฟิตีไม่น้อยระบุไว้ตรงกันว่า กราฟฟิตีเริ่ม ต้นขึ้นในเมืองฟิลาเดลเฟียในช่วงทศวรรษที่ 60 ก่อนจะ แพร่เข้ามายังนิวยอร์กในทศวรรษต่อมา สาเหตุการเกิด ของกราฟฟิตีนั้น ในยุคสมัยที่การเหยียดสีผิวเป็นไปอย่าง เข้มข้น ไม่ว่าจะเป็นเหตุการณ์ในปี ค.ศ. 1954 ที่ผู้ปกครอง นักเรียนผิวสีรวมตัวเรียกร้องขอความเป็นธรรม กรณีที่ คณะกรรมการโรงเรียนแห่งรัฐแคนซัสปฏิเสธที่จะรับเด้กผิว สีเข้าศึกษา และในปีถัดมา สตรีผิวสีนาม โรซา พาร์กส ที่ เธอถูกตัดสินมีความผิดฐานละเมิดกฎหมายที่จะสละที่นั่ง ของเธอให้บุรุษผิวขาวตามที่กฎหมายของรัฐกำ�หนด เป็น ที่มาของการเคลื่อนไหวให้เกิดการปฏิรูปกฎหมายว่าด้วย สิทธิพลเมือง จนกระทั่งเกิดกฎหมายนี้ขึ้นในปี ค.ศ. 1964 แต่ว่าคนผิวสีก็ยังตกอยู่ในสภาพคนชายขอบของสังคม ได้ เป็นแรงผลักดันให้พวกเขาสร้างสรรค์งานศิลปะ ทั้งเพลง บลูส์ แจ๊ซ และเร้กเก้ และอีกด้านหนึ่งของคนผิวสีที่ต้อง เผชิญ พวกเขาได้แสดงออกมาอย่างเกรี้ยวกราด ดิบหยาบ ประกาศให้เห็นถึงความ ขบถ ดังเช่น ดนตรีแร็ปที่เต็มไป ด้วยคำ�ด่าทอสังคมอย่างไม่เกรงกลัว กราฟฟิตีถือกำ�เนิดมา ในยุคสมัยนี้ในช่วยปลายทศวรรษที่ 60 กราฟฟิตีเดินทาง เข้าสู่นิวยอร์ก โดย JULIO204 ไรเตอร์จากสลัมย่านบรองซ์ นำ�เข้าไปเผยแพร่ ต่อมาในปี ค.ศ. 1969 ที่นิวยอร์ก “ทากิ” ไรเตอร์ชื่อดังที่ได้รับการกล่าวขานว่าเป็นสัญลักษณ์แห่งการ เริ่มต้นยุคสมัยของเหล่าไรเตอร์หรือนักเขียนกราฟฟิตีโดย แท้จริง เมื่อคำ�ว่า TAKI 183 ของเขา ได้รับการสัมภาษณ์ และเปิดเผย ตีพิมพ์ภาพลายเซ็นของเขาในหนังสือพิมพ์ นิวยอร์กไทม์ส คำ�ว่า TAKI 183 ที่เขาเขียนปรากฏให้เห็น ทั้งในรถไฟใต้ดินและสถานที่สำ�คัญอย่างบรอดเวย์ สนาม บินเคนเนดี รวมทั้งที่ต่าง ๆ ทั้งในนิวเจอร์ซีย์ คอนเนตทิคัต และสถานที่อื่น ๆ ทั่วนิวยอร์ก

magazine.indd 25

หลังจากหนังสือพิมพ์ฉบับนี้ได้วางแผง วัยรุ่นจำ�นวนไม่ น้อยต่างประทับใจในชื่อเสียงของทากิ พวกเขาจึงเริ่มเขียน ชื่อของตัวเองตามสถานที่สาธารณะ จนค่อย ๆ ได้รับความ นิยมและคึกคักในเวลาต่อมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงต้น ทศวรรษที่ 70 กราฟฟิตีได้ถูกเขียนเต็มไปหมดจากไรเตอร์ อย่าง TRACY168 StayHigh149 และ PHASE2 เริ่มเขียน “tag” (แท็ก) หรือลายเซ็นของตนตามโบกี้รถไฟ ในปี ค.ศ. 1972 TOPCAT ได้นำ�เทคนิคใหม่ เข้าสู่นิวยอร์ก คือตัวอักษรยาว ๆ เก้งก้างเต็มพื้นที่คอนเทนเนอร์รถไฟ ต่อมารูปแบบนี้ได้รับความนิยมจากเหล่าไรเตอร์นิวยอร์ก และเรียกว่าเป็น “Broadway Elegant” ซึ่งมีลักษณะเป็นตัว อักษรที่เขียนต่อก่อเป็นแถวยาว ๆ ปี ค.ศ. 1973 กราฟฟิตีปรากฏอยู่แทบทุกซอกมุมตึกใน นิวยอร์ก ดังที่ ริชาร์ด โกด์สไตน์ เขียนลงนิวยอร์กแม็กกา ซีนไว้ว่า “ดูเหมือนเหล่าวัยรุ่นหนุ่ม ๆ แทบจะไม่สนใจอะไร เลย นอกจากมองหาทำ�เลที่พวกเขาจะพ่นกราฟฟิตี” โกลด์ส ไตน์เองได้จัดให้มีการประกวดรางวัล “ทากิอวอร์ด” ขึ้นเพื่อ คัดเลือกกราฟฟิตีที่เขาคิดว่าดีที่สุดในขณะนั้น โกลด์สไตน์ กล่าวอีกว่า กระแสความคลั่งไคล้กราฟฟิตีในขณะนั้น ไม่ ต่างจากความบ้าคลั่งที่พวกเขามีต่อดนตรียุคร็อกแอนด์โรล ในยุคทศวรรษที่ 50 เลย กราฟฟิตีได้รับความนิยมขึ้นอีก เมื่อไรเตอร์จากประเทศ ต่าง ๆ หรือแต่ละท้องถิ่นนำ�ผลงานของตนไปเผยแพร่ตาม ที่ต่างๆ จากทั่วสหรัฐอเมริกาถูกส่งต่อไปหลายประเทศใน ยุโรป นอกจากนั้นยังมีการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับกราฟฟิตีขึ้น อย่างต่อเนื่องที่ แอลเอ

นิวยอร์ก หรือย่านมิดเวสต์ โดยงานแรก ๆ ที่ถูกบันทึกไว้ คืองาน Frame Exhibition ที่แอลเอราวปี ค.ศ. 1988 และใน ปี ค.ศ. 1993-1996 Chicago Transit Authority (CTA) รับ เป็นผู้สนับสนุนหลักในการจัดการแข่งขันกราฟฟิตี โดยผู้ ชนะเลิศจะได้ทุนการศึกษาและได้เข้าเรียนในโรงเรียนสอน ศิลปะ นับเป็นตัวอย่างแรก ๆ ของการนำ�กราฟฟิตีเข้าสู่ “พื้นที่จัดวาง” อย่างเป็นระบบ กระแสกราฟฟิตีในระดับสากลได้เกิดขึ้นเมื่อเว็บไซต์กราฟ ฟิตี ที่ชื่อ Art Crimes ในโลกออนไลนด์เกิดขึ้นเป็นครั้งแรก เมื่อเดือน กันยายน ปี ค.ศ. 1994 โดยในปี 1999 อาร์ตไค รมส์อ้างว่าเว็บไซต์็ของเขามีภาพกราฟฟิตีมากกว่า 3,000 ภาพจาก 205 เมือง ใน 43 ประเทศทั่วโลก ซึ่งการเกิดของ อาร์ตไครมส์ได้เกิดไรเตอร์หน้าใหม่และนิตยสารเกี่ยวกับ กราฟฟิตีแพร่หลายขึ้น ทุกวันนี้กราฟฟิตีพัฒนากลายเป็นแฟชั่นที่พบเห็นในชีวิต ประจำ�วัน ทั้งลวดลายแท็กที่พบตามเสื้อผ้าแนวสตรีตอาร์ต ไม่ว่าจะเป็นรองเท้าผ้าใบ ไปจนถึงมิวสิกวิดีโอโดยศิลปิน ฮิปฮอปในเอ็มทีวี ซึ่งมักมีภาพกราฟฟิตีปรากฏเป็นแบ็กก ราวด์

What is GRAFFITI 9/16/2011 2:53:52 PM


ระบายใจ

ระบายใจ

ตั้งแตเรามี’’ แรงบันดาลใจ” เราก็มีอะไรที่เป็นตัวบ่ง บอกถึง “ความชอบ” สิ่งที่เราทำ�อยู่นี้คือความชอบ เรา รู้ว่าเราชอบสิ่งนี่มากกว่าสิ่งไหนๆ เราจะทำ�มันให้ได้ เราจะทำ�มันอย่างสุดฝีมือ เราจะทำ�ด้วยความตั้งใจ เรา จะไม่ไปทำ�ในสิ่งอื่นใด ที่ไม่เกี่ยวกับความชอบของเรา ตั้งแต่วันนั่น เราก็มีความมุ่งมั่น และมั่นใจ ในเส้นทาง ที่เราชอบ พอมีคนถามไถ่ เราก็บอก ว่าความชอบของ เราคือเส้นทางไหน เราจะเดินไปเส้นทางนี้ และได้สารยายความชอบของเรามากมายแก่ใครๆ เรา จะเดินไปด้วยความพากเพียรที่พอใจ และจะไม่มีใครจะมาขัดขวางเส้นทางนี้ของเรา แต่การ ออกเดินไป มันไม่ได้เป็นไปอย่างที่ใจคิด เพราะการ เดินทางของมนุษย์ในทุกช่วงของชีวิต ก็มั่กจะมีคนอื่นๆเดินเข้ามาผสมคนรอบกายเรามักจะ เดินเข้ามาดึงเรา คนนี้มาดึงส่วนนั่น คนนั่นมาดึงส่วนนี้ คนนั่นเดินเข้าปะ คนนี้เดินเข้ามา ปน เขาจะเดินเข้ามาดึงเราจนล้ม

เราได้แต่นั่งลงก้มมองเส้นทางของเราไกลๆ พอมีคนเข้ามาในชีวิตเรามากไหร่ เขาก็ดึงเราออกไป ไกลจากสิ่งที่เราชอบอย่างช้าๆ จากเส้นทางที่ชัดเจนใน แววตา ก็เริ่มจะพร่ามัวไม่ถึงไหน ปลายางที่แจ่มชัด ก็ ค่อยๆจืดจางไป สุดท้ายเราก็เหลือหนทางที่เราชอบอีก ต่อไป เพราะมีแต่ใครๆดึงรั้งเราไว้ไม่ให้ออกเดิน ความชอบของคนเรา บางครั้งก็แข็งแรง บางครั้งก็ เบาบาง ขึ้นอยู่กับเราใช่หรือปล่าว? ก็ได้แต่ตั้งคำ�ถาม เป็นเงา ว่าทำ�ไมคนอื่นๆที่อยู่รอบตัวเรา ถึงชอบทำ�ให้ เส้นทางของเราต้องยุ่งเหยิง เรารู้ว่าความชอบของเรา คืออะไร และเรามีความตั้งใจ แล้วทำ�ไมพวกเขาต้อง มารั้งเราไว้ตรงนั่น ดึงเราตรงนี้ มากมายเกิน และสุด ท้ายพเราเดินไปไม่ถึงไหน ก็ไม่เห็นมีใครสักคนมาร่วม เสียใจ ความชอบที่เราอยากทำ�มันจะวิเศษแค่ไหน ไม่มี ใครเขาอยากจะรู้หรอก แต่ถ้าเรายังแยกแยะระหว่าง “ ความชอบ “ และ “ ความรัผิดชอบ ’’ ไม่ออก

เรื่อง สหธัช ปิตตะรงค์ / ภาพ Pyp Vcs www.sahatarch.com ตรา ถนนบนกระสอบทราย หัวใจเราก็ยังอยู่ในวังวนระล่ำ�ไหว หน้าที่ทีเราได้รับ และสมควรได้รับ ที่คนอื่นๆเขามอบ จะชอบหรือไม่ ชอบ ถึงอย่างไหร่ก็ต้องรับไป ไม่ใช่เรื่องที่เราต้องหลีก เลี่ยงไห้ไกล เพราะไม่ว่าจะนานแค่ไหน อย่างไรเราก็ ต้องนำ�มันทำ�มันอยู่ดี เส้นทางของเรา จะไม่แผ่วจาง เบาบางลงไป ถ้าเรารู้จักแยกความชอบที่เราฝันใฝ่ไว้ ‘’ ข้างใน ” และแยกความรับผิดชอบที่เราได้รับจากใครๆ เอาไว้ “ ข้างนอก “ ข้างในตั้งมันคือความชอบ ส่วนข้าง นอก คือความรับผิดชอบที่เราต้องรับเอาไว้ ข้างในคือ สิ่งที่เราอยากทำ� และข้างนอกคือสิ่งที่เราต้องทำ� เราก็ แบ่งให้มันขาดออกจากกันไป มิเช่นนั่น เราก็จะมีชีวิต อยู่กับความคาใจ ว่าความรับผิดชอบกองใหญ่ ทำ�ไม ต้องมาทำ�ให้ความชอบเราไม่ได้ทำ� คนเรานั่นยากจะ หมายมั่น ปั้นความชอบทำ�อะไรกตามแต่ แต่สุดท้าย แท้ เราก็เลือกได้บ้าง เท่าที่เราจะเลือกไหว ส่วนอะไรที่ เราไม่ได้เลือก บางครั้ง เราก็ต้องยอมรับมัน ด้วยความ จริงอย่างเข้าใจ

คนเรานั่นยากจะหมายมั่น ปั้นความชอบทำ�อะไรกตามแต่ แต่สุดท้ายแท้ เราก็เลือกได้บ้าง เท่าที่เราจะเลือกไหว ส่วนอะไรที่เราไม่ได้เลือก บางครั้ง เราก็ต้องยอมรับมัน ด้วยความจริงอย่างเข้าใจ เพราะไม่มีใครที่สามารถเลือกอะไร ใส่ตนเองได้ทั้งหมด โดยไม่มีสิ่งที่คนอื่นเลือกมาให้ เพราะมนุษย์เราต้องอาศัยอยู่ร่วมกัน จะชอบอะไรฝันถึงสิ่ง ใด ก็เลือกเส้นทางไปตามใจเราปรารถนาเถิด แต่อะไรคือสิ่งภาพนอกที่มาเหนี่ยวรั้งความชอบของเราให้ชะลอการเกิด เราก็ควรจะใคร่รู้เอาไว้ แยกมันให้ออกระหว่างความ ชอบที่เราหมายมั่น และความรับผิดชอบที่เราได้รับมัน โดยที่เรานั่นไม่ได้ตั้งใจ ไม่มีเส้นทางที่ชอบทำ�ของใคร ที่จะสามารถสำ�เร็จได้ดั่งใจ โดยที่ยังไม่ผ่านแบบทดสอบ การ ยอมรับความรับผิดชอบที่คนรอบข้างเขาหอบกระสอบทรายมาให้ ถ้าไม่อดทน

25 magazine.indd 26

9/16/2011 2:53:52 PM


magazine.indd 27

9/16/2011 2:53:52 PM


TALK’A TIST

27 magazine.indd 28

9/16/2011 2:53:54 PM


Talk’a Tist with

ชวนพิศ สุวรรณภาณุ

Cheunpis Suwanbhanu magazine.indd 29

9/16/2011 2:53:55 PM


ชวนพิศ สุวรรณภาณุ

Cheunpis Suwanbhanu

เธอตกลงยุติความสัมพันธ์ทางการ±ูต ก่อนหันมาเปิดสมุด สเก็ตช์จับดินสอแล้วก็ลงมือลากเส้น นั ก ว�ดภ�พประกอบฟรี แ ลนซ์ แ ละเจ้ � ของแบรนด์ pluspart+ ที่หลังรับพระร�ชท�นปริญญ�บัตรใน ส�ข�คว�มสัมพัสธ์ระหว่�งประเทศ มห�วิทย�ลัย ธรรมศ�สตร์ ก็ลังเลใจว่�จะเรียนต่อปริญญ�โทด้�น เดิมหรือเปลี่ยนทิศไปด้�นเดิมหรือเปลี่ยนทิศไปด้�น ศิลปะ จนไปเรียนส�รพัด วิช�ออกแบบที่สม�คมฝรั่ง เศษ กรุงเทพฯ ที่ทำ�ให้ตัดสินใจแน่วแน่ว่�เปลี่ยนส�ย ก�รเรียนแน่นอน ก่อนลัดฟ้�เรียนและรับ Advanec Diploma จ�ก School of Graphic Arts ที่ Billy Blue

“จริงๆ เร�ว�ดพืชผักเยอะม�กๆ ’’ ชวนพิศ สุวรรณ ภ�ณุ บอกกลั้วเสียงหัวเร�ะพร้อมหยิบคอมพิวเตอร์ขึ้น ม�และเปิดง�นให้ดูแบบเรียงชิ้น ซึ่งก็เป็ฯตริงอย่�งที่ เธอว่�เพร�ะนับเวล�ก�รออกม�เป็นฟรีแลนซ์เต็มตัว ประม�ณ 1 ปีกว่� ชวนพิศก็เหม�ร�นอ�ห�รเกือบครึ่ง โหล บวกกับอีกหนึ่งโรงแรมในประเทศล�วม�ว�ดซะ หมด ไม่ว่�จะเป็นในรูปแบบโลโก้ น�มบัตร เมนูอ�ห�ร แผนที่ร้�น และเว็บไซต์ ถ้�ว่�กันว่�ใบปริญญ�ชวนพิศคือรัฐศ�สตร์บัณฑิต ส�ข�คว�มสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ � งประเทศมห�วิ ท ย�ลั ย ธรรมศ�สตร์ คณะที่เด็กมัธยมปล�ยหล�ยคนฝัน ต้อง แลกม�ด้วยคะแนนเอนทร�นซ์ขั้นสูง

‘‘ตอนนั่นมุ่งมั่นที่จะไม่เรียนพิเศษ ไม่ว่�วิช�ใด ๆ รวม ทั่งศิลปะด้วย อินทีเรียคือสิ่งที่คุ้นที่สุดแล้วสำ�หรับส�ย ศิลปะ ก็คิดว่�ตัวเองชอบกระด�ษ ชอบทำ�ก�รด์ ก็ไม่ น่�จะแบบภ�ยในได้ ก็เลยเรียนรัฐศ�สตร์ก�รฑูตนี่ แหละ ซึ่งพ่อกับแม่แฮปปี้ม�ก ลูดชั้นตั้งใจเรียน เนิร์ด สุดๆ’’ ส�วที่ตอนนี้น่�จะทำ�ง�นในแวดวงก�รฑูตบอก กับเร�อย่�งอ�รมณ์ดี ซึ่งจุดหักเหครั้งใหญ่ของเธอเกิด ขึ้นเมื่อตัดสินใจเรียนต่อปริญญ�โท ‘‘สับสนอย่�งรุนแรงในชีวิตว่�จะไปเรียนต่อด้�น เดิมหรือไปเรียนศิลปะ ก็เลยไปเรียนคอร์สดีไซน์ที่ สม�คมฝรั่งเศษพร้อมๆ กับฝึกโปรแกรมคอมพิวเตอร์ พอได้ Diploma ก็ตัดสินใจได้ว่�จะไปเรียนต่อโทด้�น กร�ฟฟิกดีไซน์ ’’ และในช่วงแรกที่ต้องเรียนภ�ษ� เธอ ก็เปลี่ยนใจคิดว่�เรียนปริญญ�ตรีน่�จะดีกว่� ‘‘ โชค ดีม�กที่พ่อแม่เข้�ใจแม้เข�จะมีคว�มอึดอัดอยู่บ้�ง ที่ นอกจ�กลูกจะเปลี่ยนไปเรียนกร�ฟิกดีไซน์ และยังจะ เปลี่ยนจ�กปริญญ�โทเป็ฯตรีอีก’’

29 magazine.indd 30

9/16/2011 2:53:56 PM


01 ‘Bounce to the future’ ผลงานที่คว้าอันดับ 3 มา ครองจากการประกวดของ sport Wear ชื่อดังสัญชาติ อิตาลีที่เพึ่งครบรอบ 50 ปีไปหมาดๆ อย่างแบรนด์ ellesse งานนี้จะผลิตมาเป็นกระเป๋าผ้าด้วย

“ยังไม่รู้จัก อิลลัสเตชั่นนะรู้แค่ว่า ฉันอยากทำ�ภาพ’’ ‘

ซึ่ ง เหตุ การณ์ ครั้ ง นั่ น ทำ � ให้ เ ธอถู ก ส่ ง ตั ว กลั บ ประเทศ โดยไวเนื่องจากเมื่อเปลี่ยนระดับการเรียน วีซ่าก็ต้อง เปลี่ยนสถาณะไปด้วย แต่เธอก็สามารถสมัครเข้าเรียน ได้ทันเวลาที่ School of Graphic Arts ณ Billy Blub College ประเทศออสเตเลีย ‘‘ด้วยความที่เราไม่มีพื้นฐาน เราก็ไม่ใช้ทักษะการใช้ มือเลย เน้นการทำ�งานในคอมพิวเตอร์พวกเว็กเตอร์’’ โดยเธอเกือบจะตกในวิชาอิลลัวเตรชั่น ‘‘อย่างที่บอก ว่าวาดรูปไม่เป็น ไม่เคยเรียนวาดรูปมาก่อน แล้ววิชา อิลัสเตรชั่นที่นั่นคล้ายๆการดออิ้งของไทย เราชอบวาด รูปแต่เมื่อเจอการวาดรูปอย่างงี้ก็ไม่ค่อยเข้าใจ บวกกับ อาจารย์ค่อนข้างมีอายุ แต่ก็ผ่านมาได้แบบไม่ค่อยเข้า ใจน่ะ’’ หลังเรียนจบกลับมาไทยเธอก็ได้มีโอกาสเป็นก ราฟิกดีไซเนอร์ฟรีแลนซ์ ทำ�งานในบริษัทอินทีเรีย เป็น ผู้ ช่ ว ยอาร์ ต ไดเร็ ก เตอร์ ข องแม๊ ก กาซี น รายสั ป ดาห์ ที่ ทำ�ให้เธอมีโอกาสได้ทำ�งานภาพประกอบพร้อมๆ กับ การรู้ตัวว่าไม่ชอบงานสายกราฟิกแน่ๆ “เริ่มรู้ตัวว่า ชอบทำ�ภาพ

magazine.indd 31

9/16/2011 2:53:56 PM


ไปต่อยอดสินค้าทำ�มือสู่ตลาดทำ�กิน : เปลี่ยนภาพประกอบแสนหวานเป็นสื่อการสอน เมื่อปรับตัวการ์ดกันจนลงตัวแล้ว ขวัญหทัยขอ ให้ชวนพิศลองคิดถึง “กล่อง” สำ�หรับใส่การ์ดคำ�ศัพท์ เหล่านี้ (เพื่อไม่ให้กระจัดกระจายสูญหาย) โดยมีโจทย์ ว่าต้องเชื่อมโยงกับตัวการ์ดภายในด้วย ชวนพิศเลือก “ถุงผ้าดิบพิมพ์ลาย” มาออกแบบเป็นห่อบรรจุ ซึ่งสร้าง อารมณ์ต่อเนื่องกับภาพประกอบของเธอได้ดี ทั้งยัง มีความคล้ายถุงผ้าจ่ายตลาด สอดคล้องกับความเป็น ผักผลไม้อีกด้วย นี่จึงเป็นทางเลือกที่ลงตัว ทำ�ให้การ ต่อยอดผลิตภัณฑ์จากภาพประกอบครั้งนี้เสร็จสมบูรณ์ อย่างงดงาม สำ�หรับชวนพิศแล้ว การเข้าโครงการต่อยอดสินค้า ทำ�มือสู่ตลาดทำ�กินได้เปิดมุมมองให้กับเธอหลายอย่าง ชวนพิศมีความตั้งใจที่จะต่อยอดผลงานภาพประกอบ ของเธอออกไปอีก อาจเป็นสินค้าของแต่งบ้าน ผ้า พิมพ์ลาย ฯลฯ การได้ทดลองพัฒนาสินค้าใหม่พร้อม คำ�ปรึกษาและการคำ�นึงถึงปัจจัยด้านการขายจริงนั้น ทำ�ให้เธอได้เรียนรู้ถึงการเข้าสู่ตลาด ซึ่งเป็นเครื่องมือ สำ�คัญอีกชิ้นสำ�หรับการสร้างสรรค์ผลงานของเธอใน อนาคต

ภาพประกอบน่ารักกลายเป็นการ์ดผัก-ผลไม้หลังจาก คิดพิจารณาดูแล้ว ชวนพิศเลือกออกแบบ “การ์ดคำ� ศั พ ท์ ซึ่ ง อาจปรั บ เป็ น แม่ เ หล็ ก ติ ด ตู้ เ ย็ น ก็ ไ ด้ า นหลั ง เป็นสูตรการทำ�) ภาษาอังกฤษ” เป็นชุดผักและผลไม้ โดยเรียงลำ�ดับชื่อผัก-ผลไม้ตามตัวอักษร พร้อมมีคำ� อธิบายลักษณะของผัก-ผลไม้นั้นๆ กำ�กับไว้ งานนี้ชวน พิศสอบผ่านฉลุยในด้านสไตล์การออกแบบ เพราะเธอ ทำ�ได้น่ารักสวยงามดีอยู่แล้ว อาจมีการปรับเปลี่ยนบ้าง เพียงเล็กน้อย เช่น การเลือกผักผลไม้ชนิดที่คนไทย รู้จักในกว้าง หรือแก้ไขภาพบางภาพที่ยังดูไม่ชัดเจน ฯลฯ ด้วยสไตล์ที่อ่อนหวาน โทนสีนุ่มนวล ลายเส้น อบอุ่น ดูแล้วคล้ายภาพประกอบนิทานตะวันตก ภาพ ประกอบฝีมือชวนพิศ สุวรรณภาณุ นั้น “ชวนมอง” สม ชื่อ เธอตัดสินใจเข้าร่วมโครงการต่อยอดสินค้าทำ�มือฯ ครั้งนี้ เพราะต้องการขยายผลงานภาพประกอบไปสู่ ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ

เริ่มแรกขวัญหทัย ตัณฑ์เกยูร ที่ปรึกษาโครงการฯ แนะนำ�ให้ชวนพิศลองไปคิดดูก่อนว่า ภาพประกอบของ เธอจะทำ�เป็นสินค้าอะไรได้บ้าง เช่น สมุดโน้ต, ปฏิทิน พก, ปฏิทินตั้งโต๊ะ, ตุ๊กตากระดาษ, การ์ดสูตรอาหาร/ สูตรค็อกเทล (ที่อาจปรับไปเป็นแม่เหล็กติดตู้เย็นด้วย) เพราะสินค้าที่ยกตัวอย่างมาเหล่านี้มีข้อดีที่ผลิตได้ง่าย แถมผู้ซื้อก็ซื้อง่าย ถ้าน่ารักถูกใจก็ซื้อได้โดยไม่ต้อง คิดมาก อย่างไรก็ดี ด้วยลายเส้นและการใช้สีที่นุ่มนวล ของชวนพิศ ทำ�ให้ขวัญหทัยนึกไปถึง “สินค้าสำ�หรับ เด็ก” ประเภทบัตรคำ�ศัพท์ หรือนิทานแผ่นพับที่อ่านจบ ได้ภายใน 16 หน้า และสไตล์ที่ภาพที่ดูเป็น “ตะวันตก” นั้น ก็น่าจะเหมาะสำ�หรับสื่อการสอนภาษาอังกฤษ โดย สามารถกำ�หนดกลุ่มเป้าหมายไปที่ผู้ปกครอง โรงเรียน สอนพิเศษภาษาอังกฤษ หรือแม้กระทั่งโรงเรียน นานาชาติ

สำ�หรับชวนพิศแล้ว การเข้าโครงการต่อยอดสินค้า ทำ�มือสู่ตลาดทำ�กินได้เปิดมุมมองให้กับเธอหลายอย่าง ชวนพิศมีความตั้งใจที่จะต่อยอดผลงานภาพประกอบ ของเธอออกไปอีก อาจเป็นสินค้าของแต่งบ้าน ผ้า พิมพ์ลาย ฯลฯ การได้ทดลองพัฒนาสินค้าใหม่พร้อม คำ�ปรึกษาและการคำ�นึงถึงปัจจัยด้านการขายจริงนั้น ทำ�ให้เธอได้เรียนรู้ถึงการเข้าสู่ตลาด ซึ่งเป็นเครื่องมือ สำ�คัญอีกชิ้นสำ�หรับการสร้างสรรค์ผลงานของเธอใน อนาคต

31 magazine.indd 32

9/16/2011 2:53:56 PM


หนึ่งวันของ ชวนพิศ สุวรรณ นักวาดภาพประกอบ 9:00am ตื่นนอน แปรงฟัน อาบน้ำ� ทานอาหารเช้า 1:00pm กินข้าวกลางวันที่บ้าน ดูทีวีสักพักแล้วก็ขับรถ พร้อมกับนั่งเช็ค to – do list ที่เขียนไว้เมื่อคืน พร้อมกับ ไป TCDC แต่ระหว่างทางแวะหาซัพพลายที่ป้ายยี่ห้อ จัดความสำ�คัญงานต่างๆ ว่าจะทำ�อะไรก่อนหลัง สินค้าก่อนเพราะตอนนี้กำ�ลังจะทำ�โปรดักต์ของตัวเอง ด้วยชื่อ pluspart + 9:45am จัดการกับงานเอกสารต่างๆ อันนี้ทำ�ทั่งของ งานที่บ้านและก็งานของตัวเอง ซึ่งก็จะเป็นพวกใบเสนอ ราคาและบัญชีต่างๆและก็เป็นเวลาเช็คเมลรวมถึงโทร 2:30pm ถึง TCDC ก็หารูปภาพสำ�หรับวาดซึ่งที่นี้ คุยงานกับซัพพลายเออร์ด้วย มี6:00pm กินข้าวเย็นและก่อนกลับบ้านและดูหนังสือที่ อะไรน่าวาดเยอะมาก จริงๆ ชอบที่จะมาดูรูปและอ่าน 11:00am เริ่มทำ�งานจริงๆ ซึ่งช่วงเช้ามักให้เวลากับ หนังสือที่นี่เป็นประจำ�อยู่แล้ว เพราะมีอะไรหลากหลาย อะไรที่ต้องใช้สมองสักหน่อย เพราะว่าถ้าเอาไปทำ� ให้ดู อย่างช่วงนี้ ชอบดูหนังสือที่เกี่ยวกับดอกไม้และ บ่ายๆ อาจจะล้าเกินไป ตอนนี้กำ�ลังรีเสิร์ดเรื่องของการ พวกแฟชั่นเพราะจะเอามาวาดพวกปฏิทินปี 2011 ออกแบบโลโก้และเมนูอาหาร เครื่องดื่มของร้านที่กำ�ลัง หาภาพสักชั่วโมงก็เริ่มสเก็ตและก็ลงหมึก จะเปิดกลางเดือนมกราคม พยายามเครียร์ไอเดียต่างๆ 3:30pm ให้มากที่สุดทั่ง look and feel หรือคอนเซ็ปต์ เพื่อที่ จริงๆ เวลาทำ�งานจริงจะได้ไม่หลุด

magazine.indd 33

8:30pm กลับถึงบ้าน ก็เริ่มตักกระดาษและเย็บสมุด ทำ�มือ เพราะช่วงนี้ขะมีออร์เดอร์เข้ามาเพือจะแลกเป็น ของขวัญอยู่พอสมควร 10:00pm เอางานที่วาดวันนี้มาสแกนและลงสี 12:00pm อาบน้ำ�เตรียมเข้านอน ก่อนนอนมักจะเล่น อินเตอร์เน็ต ดูเว็บไซต์ต่างๆพวกบล๊อคที่น่าสนใจเกี่ยว กับออกแบบหรือตกแต่ง และสุดท้ายจะเช็กว่าวันนี้ทำ� อะไรไปบ้างและยังเหลืออะไรค้างคาอยู่บ้าง รวมถึงจะ เช็กไทม์ไลน์ของโปรเจ็กต์ต่าง ที่มีอยู่และก็ทำ� to-do list สำ�หรับวันพรุ่งนี้ไปด้วย

9/16/2011 2:53:57 PM


“ นิยามของฉัน ” คำ�ว่านักวาดภาพประกอบอาจจะดูเท่เกินไป เราก็ไม่ อยากประกาศตัวขนาดนั่นเราแค่แฮปปี้กับงานด้านวาด รูปมากกว่า” ตอนที่ทำ�แม๊กกาซีน เรามีความสุขเพราะเราได้ทำ�งาน เว็กเตอร์ทำ�ภาพประกอบคอลัมน์กุ๊กกิ๊กของเราไปเรื่อย ซึ่งมันคงเป็นตัวช่วยให้เราพอจะรู้เชป รู้รูปทรง ในการ วาดรูปขึ้นบ้าง แต่ก็ยังไม่รู้จักอิลลัสเตรชั่นนะ รู้แค่ว่า ฉันอยากทพภาพด้วยเหตุผล นี้ทำ�ให้เธอต้องเก็บเสื้อผ้าใส่กระเป๋าอีกครั้งเพื่อกลับ ไปหางานทำ�ที่ประเทศออสเตเลี ย ซึ่ งเมื่ อไปแล้ ว เธอ ก็ได้ทำ�งานประจำ� เป็นคนวาดภาพในคลีนิกจิตวิทยา เด็กไปพร้อมๆ กับเริ่มหัดจับดินสอลงมือลาดเส้นด้วย ตัวเอง และกลับมาพร้อมพอร์ตงานวาดรูปเล่มโต ที่ เป็นจุดเริ่มต้นของงานภาพประกอบ

เมื่อถูกถามว่าเป็ฯนักวาดภาพประกอบเต็มตัวหรือยัง “เราอาจจะไม่มีความสุขกับงานกราฟิกดีไซน์จริงๆ ด้วย ลักษณะของงานบวกกับงานกราฟิกดีไซน์จริงๆ ด้วย ลักษณะของงานบวกกับนิสัยตามใจคนของเราเอง ถ้า ถูกค้าแก้งาน อย่างบางทีทำ�เสร็จแล้วเขามาบอกว่าพี่ ไปเจองานแบบนี้ขอเปลี่ยนสไตล์ได้ไหมเราจะพูดได้แค่ “ได้ค่ะ” แต่ในใจทรมานมาก แต่งานวาดรูปลูกค้าจะเคย เห็นงานเรามาก่อน แล้วถ้าเขาเข้ามาเปลว่าเขาคงชอบ งานเราจริงๆ มันก็เลยมีการฟังความคิดเห็น เปิดกว้าง ให้เราตัดสินใจมากขึ้น” เธอบอกยิ้มๆ พร้อมชวนเราดู งาน Self promotion ที่เธอทำ�ขึ้นเป็นปฏิทินสีสวย และ การ์ด A – Z ที่จะแจกลูกค้ารับปีใหม่ ก่อนบอกปิดท้าย อย่างขำ�ๆว่า “ ปีนี้เรากะจะฉีกตัวเองพอประมาณเพราะ เราเจอเรื่องการกดราคาขั้นรุนแรง น่ากลัวร้ายกาจแต่ พอเจอโปรเจ็กต์ที่น่าสนใจและเราอยากทำ�จริงๆก็จะ ยอมทำ�ทุกที”

สำ�หรับชวนพิศแล้ว การเข้าโครงการต่อยอดสินค้าทำ� มือสู่ตลาดทำ�กินได้เปิดมุมมองให้กับเธอหลายอย่าง ชวนพิศมีความตั้งใจที่จะต่อยอดผลงานภาพประกอบ ของเธอออกไปอีก อาจเป็นสินค้าของแต่งบ้าน ผ้า พิมพ์ลาย ฯลฯ การได้ทดลองพัฒนาสินค้าใหม่พร้อม คำ�ปรึกษาและการคำ�นึงถึงปัจจัยด้านการขายจริงนั้น ทำ�ให้เธอได้เรียนรู้ถึงการเข้าสู่ตลาด ซึ่งเป็นเครื่องมือ สำ�คัญอีกชิ้นสำ�หรับการสร้างสรรค์ผลงานของเธอใน อนาคต

33 magazine.indd 34

9/16/2011 2:53:57 PM


magazine.indd 35

9/16/2011 2:53:58 PM


เทคนิคและวิธีง่าย ที่ทำ�ให้งานของคุณ

เจ๋ง !

จนกลายเป็นที่น่าจับตามองในแวดวงกราฟิคดีไซน์

... แล้วก็มาถึงยุค ของ 3D Pixel Art ใครเคยทำ� Pixel Art แบบ isometric คงจะต้อง มี ค วามรู้ สึ ก ที่ อ ยากจะหาวิ ธี ที่ ดี ก ว่ า การจิ้ ม ที ล ะจุ ด ไปเรื่อยๆจน กว่าจะเสร็จ เพราะค่อนข้างจะเปลือง พลังงานและเวลาเอาซะมากๆ แต่ตอนนี้ปัญหาเหล่า นั้นจะหมดไป เมื่อพบโปรแกรม Qubicle Constructor ที่จะช่วยคุณทำ� Pixel Art ด้วยวิธีแบบ 3 มิติ คือ เราสามารถ import รูป Pixel Art แบนๆเข้าไป แล้ว สามารถ ดึงส่วนต่างๆให้กลายเป็น 3 มิติได้อย่างง่ายๆ (เหมือนทำ�ด้วยโปรแกรม Sketup!) แล้ว Render เป็น แบบ Pixel Art isometric ได้ทันที แถมยังสามารถทำ� เป็น Animation ได้อีกด้วยนะ... ชนิดของวัสดุส่งออก Obj Qubicle ในปัจจุบันสนับสนุน ทั้งสองชนิดของวัสดุที่แตกต่างกัน -- พื้นผิวที่เรียบง่าย และวัสดุหลายความแตกต่ า งหลั กระหว่ า งสองโหมด เป็นวิธีที่ข้อมูลเป็นสีที่ให้ไว้สำ�หรับทั้งผู้ส่งออกชนิดของ วัสดุที่สร้าง colormap ของสีที่ใช้ทั้งหมดในวัตถุที่ส่ง ออก ชนิดเนื้อเรียบง่ายสร้างวัสดุเดียวที่ใช้หนึ่ง. ไฟล์ภาพ อันนี้ชอบเป็นพิเศษ เป็นการ export ไป Render ใน PNG เป็นเนื้อ พื้นผิวที่มีขนาดเล็กมากเพราะมีเพียง โปรแกรม 3D อีกทีนึง : www.qubicle-constructor. หนึ่งพิกเซลต่อสีของ colormap com ประเภทวัสดุหลายวัสดุสร้างหนึ่งต่อสีของ colormap ที่ สร้างขึ้น ดังนั้นในกรณีของรูปแบบตัวอย่างของเราที่ใช้ 5 สีที่แตกต่างกัน 5 วัสดุที่ถูกสร้างขึ้น ในกรณีส่วนใหญ่เนื้ อวั สดุ ประเภทที่ เ รี ย บง่ า ยเป็ นตั ว เลือกที่ดีที่สุดเพราะห้องสมุดวัสดุของซอฟต์แวร์ที่ผู้นำ� เข้าของคุณจะไม่ได้รับเต็มไปด้วยวัสดุที่นับไม่ถ้วน การ ใช้ ช นิ ด ของวั ส ดุ ห ลายถ้ า คุ ณ ต้ อ งการที่ จ ะจั ด การกั บ แต่ละสีในซอฟต์แวร์ผู้นำ�เข้าของคุณสมมุติว่าโดยการ เพิ่มหรือเปลี่ยนพื้นผิวทึบ

มีตัวอย่างของผลงานจากโปรแกรมนี้ ทั้งภาพนิ่งและ VDO ให้ดูด้วย และที่เจ๋งที่สุดคือ มีโปรแกรมตัวอย่าง ให้โหลดฟรี! แต่ถ้าอยาก export เป็นไฟล์ object3D ก็ อาจจะต้องจ่ายเงินซื้อตัวจริงกันหน่อย... นอกจากนี้ ผมว่าถ้าใครอยากจะทำ�ภาพ isometric เจ๋งๆ เพื่อเอาไปเป็น element ประกอบภาพกราฟิก ของตัวเอง หรือเอาไปทำ�เกมส์ นี่เป็นอีกหนึ่งทางเลือก ที่แจ๋วไปเลย ลองนึกดูสิ ว่าคุณจะสามารถทำ�อะไรกับ มันได้บ้าง แค่คิดก็สนุกแร้ว... ^0^

35 magazine.indd 36

9/16/2011 2:53:59 PM


By Tim Wesoly, developer of Qubicle Constructor What you need: Qubicle Constructor v1.08+ Master or Education Edition

magazine.indd 37

9/16/2011 2:54:00 PM


รายเดือน ราคา ราคา รายปี

¢ŒÍÁÙÅ·Ñ่Çä» ชื่อ _____________________ นามสกุล ______________________ อายุ _______________________ เพศ ______________________ อาชีพ _______________________________

ʶҹ·Õ่¨Ñ´Ê‹§ เลขที่ ___________________ หมู่ ____________________ ตรอก / ซอย ___________________ ถนน ___________________ แขวง / ตำบล ________________ เขต / อำเภอ ________________ จังหวัด __________________ รหัสไปรษณีย์ __________________ โทรศัพท์ _________________ โทรศัพท์มือถือ _________________ อีเมลล์ ________________________________________________

ªÓÃÐà§Ô¹â´Â โอนเงินผ่านบัญชี ออมทรัพย์ ในนาม THINK’s Magazine ธนาคารกสิกรไทย เลขบัญชี 738 - 2 - 37642 - 5 หรือทางเว็บไซต์ www.thinksmagazine.in.th

µÔ´µÒÁ¼Å§Ò¹ www.thinksmagazine.in.th ตามร้านหนังสือ ดอกหญ้า SE-ED BOOK ฯลฯ http://facebook.com/thinks.magazine/

magazine.indd 38

9/16/2011 2:54:02 PM


Issue 2

N S G T I R S E A D W R O E T H S C A R A H C R O T VEC

magazine.indd 39

P.9 SHOW ARTS

P.23 GRAFFITI

P.27 TALK’A TIST

โชว์งานเว็คเตอร์ด้วยคาแรคเตอร์ สุ´áนว

เ¼ยเคล็ดลับในการพ่น และอุปกรณ์

วีรชัย ดวงพลา

100 BATH

9/16/2011 2:54:06 PM


magazine.indd 40

9/16/2011 2:54:07 PM


magazine.indd 41

9/16/2011 2:54:08 PM


TURN ON CREATIVE

BANGKOK UNIVERSITY CREATIVE UNIVERSITY

magazine.indd 42

9/16/2011 2:54:08 PM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.