SUCHANUCH BURMEE’S
PORTFOLIO
INDEX About Me
01
River Ping Fusion Boutique Hotel
05
Public Library
09
Thai Chapel
10
Thai JD
13
Fifteen Mins City for The Elderly
17
Green Hub
20
Thai Chada
22
Thai Serpentine Pavilion
24
SUCHANUCH BURMEE Thai Architecture Faculty of Architecture Silpakorn University
Personal
Computer Software
Date/ Place of Birth
16 /11 / 2001 Bangkok
Nationality
Thai
Languages
Thai English (B2)
Contact 67/931 Phra Pin 3, Kanchanaphisek Rd, Bang Mae Nang, Bang Yai, Nonthaburi 11140 Phone
(+66) 097-132-3402
bm.suchanuch@gmail.com
Education 2004 - 2005 Sang Arun Kindergarten 2005 - 2014 Sang Arun School 2014 - 2020 Suksanari School 2020 - Now Silpakorn University
01
Autodesk AutoCAD Autodesk Revit Adobe Photoshop Adobe Illustrator Microsoft Word Microsoft Excel Microsoft Publisher Microsoft Powerpoint Canva V-ray Enscape
Skills Delineation Hand Drawing Architecture Drawing Cartoon Drawing Watercolor Model
CONTENT
RIVER PING FUSION BOUTIQUE HOTEL
R CONCEPT
LOCATION
GROUND GRADIENT
CHANG MOI SUB-DISTRICT MUEANG CHIANG MAI DISTRICT CHIANG MAI
SUPERIOR PLAN
JUNIOR SWEET PLAN
RIVER VILLA PLAN
SITE PLAN
05
ELEVATION
Suchanuch Burmee Silpakorn U.
DETAIL
SECTION
06
MODEL
07
UNDERNEATH THE TREE
underneath the
TYPICAL SECTION
TREE
CONCEPT DENDROPHILE (TREE LOVER)
LOCATION WANG BURAPHA PHIROM, PHRA NAKHON, BANGKOK 10200
1ST FLOOR
2ND FLOOR
พื้นที่ไซต์
คลอง
พื้นที่บ้านพักอาศัย
ทางเดินเท้า
ทางเดินรถ
พื้นที่ว่าง
3RD FLOOR
TYPICAL SECTION
SECTION 1
SECTION 2
Phli Ban BLOSSOM หน้าบันและเครื่องลำยอง CONCEPT
คันทวย LOCATION อาคารของวัดพระยาทำ ที่พักอาศัยของคนในชุมชน สำนักงาน กศน. กทม. และศูนย์ดิจิทัลชุมชน กศน.แขวงบ้านช่างหล่อ โรงเรียนวัดพระยาธรรม พื้นที่สร้างอุโบสถ ลานประทักษิณ
บัวหัวเสา
ซอยวัดพระยาทำ และซอยบ้านช่างหล่อ
MODEL
เสาหัวบันได
ประตู
หน้าต่าง
จระนำหลังโบสถ์
10
PHLI BAN THAI CHAPEL
LOTUSES THAI JD
L otuses CONCEPT FOUR KINDS OF LOTUSES
ห้องบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ศาลาบันได เจดีย์ทิศ
LOCATION WAT AWUT WIKASITARAM BANG PHLAT, BANGKOK 10700 N
ทางเข้าหลัก ช่องหน้าต่างไม้ บานเปิดคู่ ห้องวางรูปปั้ นอุบาสิกา บุณเรือน โตงบุญเติม และนิทรรศการอัตชีวประวัติ พื้นที่ประดิษฐานท้าวจตุโลกบาล
PLAN 1ST FLOOR
PLAN 2ND FLOOR
อุคฆฏิตัญญู
วิปจิตัญญู
เนยยะ
ปทปรมะ
13
MODEL
14
15 MINUTES CITY FOR THE ELDERLY
15 MINUTES CITY FOR THE ELDERLY
USER ANALYSIS
LOCATION
Ages
60 - 70 years
SIRIRAJ SUBDISTRICT, BANGKOK NOI DISTRICT, BANGKOK
Requirements
Average population 80 %
15
10
จากการสำรวจ พบว่า 80 % ของผู้สูงอายุ ทั้งหมด ในย่านชุมชนบ้านบุ มีช่วงอายุอยู่ที่ 60 - 70 ปี
Activity
800 M
400 M
200 M
ที่ตั้งโครงการอยู่ที่ ซอยศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ จุดที่เลือกตั้งโครงการคือบริเวณใกล้ชุมชนบ้านบุ
SITE
รัศมีจากที่ตั้งโครงการ แบ่งได้เป็น 800 400 200 เมตร เรียงจากวงกว้างไปแคบ โดยทำการสโคปรัศมีมาจากเมือง 15 นาที โดยอ้างอิงจากสมธนะทางร่างกายของผู้สูงอายุ
ACCESS
Requirements
Average population 15 %
15
จากการสำรวจ พบว่า 15 % ของผู้สูงอายุ ทั้งหมด ในย่านชุมชนบ้านบุ มีช่วงอายุอยู่ที่ 70 - 80 ปี
Activity
5
ซื้อของอุปโภค บริโภค
ย า ก ดภั างเท้ ลอ ะดว ง การ หาท บริ ามป ามส ปัญ ารณะ คว ารเข้าถึ การ สุขภาพ คว นที่ ในพื้ สาธ ในก ด้าน
70 - 80 years
10
5
0
Ages
ออกกำลังกาย
ระยะทางจาก center ตีรัศมีโดยรอบ ที่คาดว่าผู้สูงอายุในช่วงอายุ 60-70 ปีสามารถเดินได้ 200 m 400m 800m
ซื้อของอุปโภค บริโภค
ทำงานใกล้บ้าน / บริเวณหน้าบ้าน 0
ย า ก ดภั าร างเท้ ลอ ะดว ง หาท บริก ามป ามส ปัญ ารณะ คว ารเข้าถึ การ สุขภาพ คว นที่ ในพื้ สาธ ในก ด้าน
Ages
80 - 90 years
Requirements
การบริการ ด้านสุขภาพ
พื้นที่สาธารณะ พื้นที่พบปะผู้คน
ระยะทางจาก center ตีรัศมีโดยรอบ ที่คาดว่าผู้สูงอายุในช่วงอายุ 60-70 ปีสามารถเดินได้ 200 m 400m
Average population 5%
จากการสำรวจ พบว่า 5 % ของผู้สูงอายุ ทั้งหมด ในย่านชุมชนบ้านบุ มีช่วงอายุอยู่ที่ 80 - 90 ปี
20
PROBLEMS
15
Activity
10
ความสะดวก
ความปลอดภัย
17
เดินทางลำบาก
มีพื้ นที่ในการประกอบ อาชีพ หน้าที่พั กอาศัย
ซอยแคบ
ไม่มีฟุ ตบาท
ไม่มีที่จอดรถ
ซอยเปลี่ยว
5
0
ย า ก ดภั างเท้ ลอ ะดว ง การ หาท บริ ามป ามส ปัญ ารณะ คว ารเข้าถึ การ สุขภาพ คว นที่ ในพื้ สาธ ในก ด้าน
การบริการ ด้านสุขภาพ
การเดินทาง ที่ง่ายขึ้น
ระยะทางจาก center ตีรัศมีโดยรอบ ที่คิดว่าผู้สูงอายุในช่วงอายุ 60-70 ปี สามารถเดินได้ 200 m 400m
พื้นที่สาธารณะ พื้นที่พบปะผู้คน
Suchanuch Burmee Silpakorn U.
DESIGN PROCESS
PLAN การแบ่ง ZONING ของงานแบ่งตามความ PUBLIC ,PRIVATE ทางเข้าของ โครงงาน มี DROP OFF สำหรับจอดมอเตอร์ไซต์เนื่องจากในชุมชนนี้ใช้ มอเตอร์ไซต์เป็นหลัก ไม่ว่าจะไปที่ใดก็ตาม เช่น ตลาด โรงพยาบาล ร้านค้า
ELEVATION
โครงการมีบริบทโดยรวมทั้ง บ้านและสนามกีฬา อีกทั้งยัง มีต้นไม้ขนาดใหญ่สร้างร่มเงา MATERIALS เนื่องจากต้องการสื่อถึง ความเข้าถึงง่ายและเป็นมิตร จึงเลือกวัสดุระแนงไม้เป็น วัสดุหลักของแต่ละฟังก์ชั่น รวมถึงการใช้เส้นโค้ง วงกลม ที่แสดงเชิงสัญญะ ของความปลอดภัย และ ความเข้าถึงจ่ายมากกว่าเส้น ตรง DETAIL มีที่นั่งพั กเป็นระยะสำหรับผู้ สูงอายุ และมีพื้ นที่นั่งรอวิน มอเตอร์ไซต์ รวมทั้ง ราวจับ บริเวณทางเดิน
18
GREEN HUB
GREEN HUB ที่ตั้ง: 98 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
Zoning
Accessibility
User Activityes
User Analysis
Semi Public
Shopping
Gym/Fitness
Chong Nonsi Station
student
worker
Site Analysis
traveler
Meeting
Residentials
RELAXING PAVILION
Restaurant
Saint Louis Station
Problem
ลมหนาว
EVENT
ฝนตกและน้ำท่วมขังถนนสาทร
แดดช่วงเช้า
NORTH ติดคอนโด The Infinity Sathorn
Circulation
Footpath
ติดถนน ฝั่ งตรงข้ามเป็นรถไฟฟ้า
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น เส้นทาง BTS
06.00 น. - 08.30 น.
11.30 น. - 13.00 น.
ต้นไม้เดิม มุมมองเข้ามาในไซต์
ต้นสาธร
ต้นหงอนนาค
ต้นยางนา
ต้นปืนนกไส้
จากข้อมูลจำนวนประชากรในเขตสาทร
4,000
3,000
2,000
Focal point ใช้ตำแหน่งที่อยู่โซนด้านหน้าสุด ตรงกับพื้นที่ที่ เป็น Drop - off โดยใช้พื้นที่ทำเป็น Focal Point
E vent Plaza
Event Plaza เป็นลานเปิดโล่ง และเป็นบริเวณ Iconic มาใช้ ประโยชน์ โดยพื้นที่ตรงนี้ เหมาะแก่การเป็น Event Plaza
R elaxing Pavilion
Relaxing Pavilion พื้นที่มีลักษณะมีความลึกเข้ามาจากทางด้าน หน้า site จึงทำให้มีความเป็นส่วนตัวเกิดขึ้น จึงทำเป็นที่ตั้งของ Relaxing Pavilion และ Dining Area AFTERNOON
1,000
0
EVENT
Entrance ( walk )
MEETING
FOCUS POINT
Entrance ( car )
GREEN HUB พื้นที่ FUNCTION และมิติของเวลา ก่อนอื่นเราต้องคำนึงถึงมิติของ FUNCTION คือ การเชื่อมต่อของคนที่ใช้พื้นที่ภายในและนอกอาคาร (รถไฟฟ้า คนที่นั่ง รถไฟฟ้า ฟุตบาท และรถยนต์) เชื่อมต่อมุมมอง และ CIRCULATION มิติที่2 ในเรื่อง ของเวลา จากการศึกษาย่านสาทรในอดีตเคยเป็นย่านการค้าที่มีชาวจีนมาทำการค้า จำนวนมาก เราจึงนำลักษณะของสวนจีนมาผสมในการออกเเบบให้มีความร่วมสมัยเพื่อ สะท้อนภาพของย่านสาธรในปัจจุบัน ที่ได้รับอิทธิพลของวัฒนธรรมจีนในย่านสาทรเดิม มาผสมกับความ MODERN
6,000
5,000
F ocal point
RELAXING PAVILION
Concept
ต้นหลิว
W aiting จุดพักคอย ใช้ตำแหน่งที่ตั้งเดิม ที่ติดกับทางเดินเท้า และทาง สัญจรของรถ มาใช้ประโยชน์ โดยให้พื้นที่นั้นเป็นจุดพักคอย
MORNING
DROP - OFF
16.00 น. - 19.00 น.
ปัจจุบันย่านสาทรนี้กลายเป็นแหล่งที่ตั้ง ของโครงการต่างๆมากมาย ทั้งออฟ ฟิตที่มีผู้ประกอบการเป็นคนไทย และ ชาวต่างชาติ สถานศึกษา ร้านอาหาร และแหล่งสินค้าต่างๆ เป็นส่วนหนึ่งใน การเพิ่มประชากรบนท้องถนน ทำให้ เกิดการจราจรติดขัดในช่วงเวลาเร่ง ด่วน เช่น ในช่วงเช้าและช่วงเย็น
เส้นทางเดินรถ
Sun Path
HALL
DINING
WEST ติดโรงแรม W Bangkok
SITE POTENTIAL
FOCUS POINT
Entrance ( car )
Motorcycle delivery
ปัญหาการจราจรติดขัดย่านสาทร
SOUTH
DROP - OFF
North Sathon Road Narathiwat Rajanagarindra Road
ในช่วงฝนกันยายน ถึงพฤจิกายน ปริมาณ ฝนสูงสุดเขตสาทร 100.5 มม. สูง ประมาณ 20-30 ซม. เหนือพื้นถนน ปัญหา หลักมาจากขยะอุดตัน ในท่อระบายน้ำ จึงไม่ สามารถระบายได้ทัน
ลมประจำฤดู /ฝน
EAST
MEETING
Entrance ( walk )
แดดช่วงบ่าย
ติดถนน และตึก Sathorn Nakhon Tower
DINING
Public
2563
2564
2565
ประชากรในเขตนี้ลดลงอย่างต่อเนื่อง แต่การลดลงนี้ก็ยังถูกทดแทนโดยประชากร ใหม่แม้ว่าจะไม่ถึงร้อยเปอร์เซ็นต์ ส่งผลให้แหล่งที่อยู่อาศัยกลายเป็นแหล่งอสังหาริมทรัพย์ คอนโดมิเนียม เพื่อรองรับความทันสมัยและจำนวนประชากรที่อาจจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ใน อนาคต ซึ่งเป็นผลจากการดึดดูดของกิจกรรมต่างๆในย่าน สังคมนี้ถูกผสมผสานไปด้วยผู้คนที่หลากหลายวัย ซึ่งในส่วนใหญ่แล้วจะเป็นวัยรุ่น และวัยทำงานมากที่สุดและยังมีความหลากหลายเชื้อชาติ และในการเลือก CONCEPT “ GREEN HUP ” เพื่อต้องการใช้เชื่อมโยงมิติต่างๆ ทั้งมิติทางฟังก์ชัน และมิติเวลา ที่ใช้ใน การเปลี่ยนถ่ายพื้นที่ภายในและภายนอก มีพื้นที่ในการตอบโจทย์กิจกรรมต่างๆที่สามารถ ใช้ได้จริง และช่วยแก้ปัญหาสังคมได้ แต่ก็ยังคงสะท้อนถึงกลิ่นอายบรรยากาศเก่าๆในอดีต ในเวลาที่ใหม่ ผ่านย่านสาทรนี้ได้
EVENING
N
20
NAMPHA NIPPHAN THAI CHADA
22
PA KON KOR SONG THAI SERPENTINE PAVILION
Pa Kon Kor Song
CONCEPT
“ REARRANGE ”
MATERIAL
นำลักษณะเด่นเรือนไทยในจุดต่าง ๆ เช่น ฝาปะกน คอสอง หน้าบัน มาจัดเรียงเป็ นฟอร์มใหม่ โดยยังคงวัสดุเดิมของเรือนไทยไว้ นั่นก็คือ ไม้ คอสอง นำมาจัดไว้ที่ส่ วนฐานของอาคารให้เหมือนคอสองล่างตาม ผนังเรือนไทยปกติ มีน้ำล้อมรอบอาคารสื่ อถึงการตั้งถิ่นฐานในสมัยก่อน ฝาปะกน ปกติแล้วฝาปะกนจะมี 2 เลเยอร์ เลเยอร์เรียบและเลเยอร์ ไม้ขัด ได้นำองค์ประกอบมาแกะออก เรียงใหม่ และบิดฟอร์ม จนเกิดเป็ น 4 เลเยอร์ เลเยอร์ที่ 1 และ 2 ลักษณะจะคล้ายกัน เลเยอร์ที่ 3 และ 4 ตั้งใจทำให้เป็ นแบบนี้เพื่อต้องการให้แสงลอดผ่านมาได้เหมือนคอสองบน เมื่อถึงเวลา แดดจะลอดผ่านเข้ามาและต้องการให้ลมโกรก โล่ง ไม่ร้อน ภายใน PAVILLION สาเหตุที่ทำแปลนเป็ นลักษณะแคบไปกว้าง เนื่องจากได้แรงบันดาลใจ จากเวลาเดินผ่านประตูเล็ก ๆ ที่ระเบียงคดไปสู่ อุโบสถขนาดใหญ่ภายใน โดยผนังด้านหลังทำเป็ นลายต้นโพธิ์ที่มีหน้าต่างวงกลม 3 บาน สื่ อถึงแก้ว 3 ประการในพระพุ ทธศาสนา คือ พระพุ ทธ พระธรรม พระสงฆ์
INSPIRATION
WOOD
FROSTED GLASS
MARBLE
CONCRETE
PLAN
ISO ELEVATION
FORM
LAYER 1
EXTERIOR
LAYER 2
LAYER 3
LAYER 4
INTERIOR
AMBIANCE
24
630210091 SUCHANUCH BURMEE