Canon eos 60d thai manual

Page 1

    


บทนำ EOS 60D เปนกลองดิจิตอลแบบ DSLR ที่มีคุณสมบัติดีเยี่ยม ใชเซนเซอร CMOS ความ ละเอียด 18.0 ลานพิกเซล ประมวลผลดวยโพรเซสเซอร ‘DiGiC 4 มีจุดโฟกัส 9 จุด ถาย ภาพตอเนื่องไดดวยความเร็ว 5.3 เฟรมตอวินาที มีระบบ Live View และสามารถถาย ภาพยนตรคุณภาพสูงระดับ Full HD(Full High-Definition) กลองรุนนี้ยังเพียบพรอมดวยคุณสมบัติที่มีประโยชนตอการถายภาพอีกมากมาย พรอม ด ว ยฟ ง ก ชั่ น ที่ เ ป น ประโยชน อี ก มากมายสำหรั บ การถ า ยภาพในระดั บ ก า วหน า

ทดลองใชเพื่อสรางความคุนเคย

จุดเดนประการหนึ่งของกลองดิจิตอลก็คือการเห็นภาพที่ถายแลวไดในทันที ดังนั้นเมื่อ คุณกำลังทำความเขาใจกับกลองดวยการอานคูมือฉบับนี้ คุณสามารถทดลองปรับตั้ง ควบคุม และทดลองถายภาพตามที่คูมือนี้แนะนำเพื่อดูผลของภาพที่ทดลองถายไดใน ทั น ที ซึ่ ง จะช ว ยให คุ ณ เข า ใจการใช ก ล อ งได เ ร็ ว ขึ้ น อี ก มาก อยางไรก็ตาม เพื่อปองกันความผิดพลาดในการนำกลองไปถายภาพจริงและอุบัติเหตุ อื่นๆ ควรอาน “คำเตือนเกี่ยวกับความปลอดภัย” (น.305, 306) และ “คำเตือนในการ ใชกลอง” (น.12, 13) กอนนำกลองไปใช

ลองใชกลองกอนนำไปใช และขอบเขตของความรับผิดชอบ

หลังจากถายภาพ ดูภาพ และตรวจสอบแลววาภาพไดถูกบันทึกลงในการดแลว หาก หลังจากนั้น กลองหรือการดบันทึกขอมูลเกิดความบกพรอง และไมสามารถบันทึกภาพ ลงในการดได หรือไมสามารถถายโอนภาพจากการดไปสูคอมพิวเตอรได แคนนอนไม อาจรับผิดชอบตอความเสียหายใดๆ เกี่ยวกับภาพและความไมสะดวกที่เกิดขึ้น

ลิ ข สิ ท ธิ์

กฎหมายเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ในบางประเทศอาจมีขอหามเกี่ยวกับการถายภาพคน ตลอด จนสิ่ ง ต า งๆ เว น แต ถ า ยในลั ก ษณะของความสุ ข ส ว นตั ว ดั ง นั้ น จึ ง ควรระมั ด ระวั ง เมื่ อ ถายภาพสิ่งตางๆ อันอาจละเมิดสิทธิสวนบุคคลหรือลิขสิทธิ์ทางปญญา เชน การถาย ภาพผลงานสิ่งประดิษฐ ฯลฯ รวมไปถึงสถานที่บางแหงที่ไมอนุญาตใหถายภาพดวย ในคูมือเลมนี้ “การด” จะหมายถึง SD card , SDHC card และ SDXC card * การดสำหรับบันทึกขอมูลภาพจะไมใหไปพรอมกับกลอง เป น อุ ป กรณ ที่ ผู ใ ช ต อ งซื้ อ เองต า งหาก


รวจสอบอุปกรณ

กอนนำกลองออกมาใช ควรตรวจสอบภายในกลองวา มีอุปกรณครบถวนตามรายการตอไป นี้ ห รื อ ไม และหากมี ก ารสู ญ หาย ให ติ ด ต อ กั บ ตั ว แทนจำหน า ยที่ ท า นซื้ อ กล อ งมา

9y;d]hv

ตัวกลอง

(มี ย างครอบช อ งเล็ ง ภาพ และฝาป ด ตั ว กล อ ง)

สายคลองคอ

Battery Pack LP-E6

(พร อ มฝาครอบสำหรั บ ป อ งกั น )

สายเชื่ อ มต อ

EW-EOS60D

Battery Chatger LC-E6/LC-E6E*

สาย Stereo AV AVC-DC400ST

EOS DIGITAL CD-ROM Solution Disk คูมือการใชซอฟทแวร (ซอฟทแวร)

(1) คูมือการใชกลอง (เอกสารฉบับนี)้ (2) คมู อื ฉบับพกพา * ในกลองบรรจุ จะมีเครื่องประจุไฟแบตเตอรี LC-E6 หรือ LC-E6E มาให(สำหรับรุน LC-E6E จะมีสายไฟมาใหดวย) หากซื้ อ กล อ งที่ มี เ ลนส ม าให ( KIT) ตรวจสอบภายในกล อ งด ว ยว า มี เ ลนส ม าพร อ มหรื อ ไม คู มื อ ของเลนส จะขึ้ น อยู กั บ รุ น ของเลนส KIT ที่ เ ลื อ กใช และบรรจุ ไ ว ใ นกล อ งบรรจุ ด ว ย เช น กั น ตรวจสอบให ร อบคอบว า ได อุ ป กรณ ต า งๆ ครบถ ว นตามรายการเหล า นี้ แ ล ว

คูมือการใชซอฟทแวร

คูมือการใชซอฟทแวรของกลองซึ่งมาในรูปของ CD-ROM จะเปนไฟลชนิด PDF สำหรั บ คำแนะนำเและรายละเอี ย ดของคู มื อ อ า นได จ ากหน า 316


ญลักษณและเครือ่ งหมายทีใ่ ชในคมู อื สั ญ ลั ก ษณ ใ นคู มื อ ฉบั บ นี้

หมายถึง วงแหวนควบคุมหลัก หมายถึง วงแหวนควบคุมแบบเร็ว หมายถึ ง ปุ ม เลื อ กแบบทิ ศ ทาง หมายถึ ง ปุ ม ยื น ยั น การปรั บ ตั้ ง หมายถึง ระยะเวลาในการตอบสนองของฟงกชั่น ภายหลั ง จากที่ ย กนิ้ ว ออกจากปุ ม ปรั บ ฟ ง ก ชั่ น นั้ น ๆ ในคูมือฉบับนี้ สัญลักษณและเครื่องหมายที่เปนตัวแทนของปุม วงแหวนควบคุม และการ ปรั บ ตั้ ง ต า งๆ จะมี ค วามเกี่ ย วข อ งกั บ สั ญ ลั ก ษณ แ ละเครื่ อ งหมายที่ อ ยู บ นตั ว กล อ งและที่ ปรากฎในจอ LCD แสดงฟงกชนั่ ทีส่ ามารถปรับตัง้ ไดดว ยการกดปมุ แลวจึงปรับเปลีย่ น คาตามทีต่ อ งการ เมื่ อ เครื่ อ งหมายนี้ ป รากฎอยู ที่ มุ ม ขวาบนของหน า หมายความว า จะปรับตัง้ ฟงกชนั่ นัน้ ไดเมือ่ ถายภาพดวยโปรแกรมภายใน Creative Zone (น.20) มี ข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม แสดงอยู ใ นหน า ที่ อ า งอิ ง ถึ ง คำแนะนำและเคล็ดลับเพื่อใหถายภาพไดดีขึ้น คำแนะนำในการแก ไ ขป ญ หา คำเตื อ น เพื่ อ ช ว ยป อ งกั น ป ญ หาในการถ า ยภาพ ข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม

สมมติฐาน การอธิบายวิธีปรับตั้งควบคุมการทำงาน ตั้งอยูบนสมมติฐานวา กลองไดเปดสวิตซไวที่ ตำแหนง แลว (น.28) การปรับตั้งทุกๆ ระบบในเมนูและ Custom Functions ไดถูกตั้งไวที่คามาตรฐาน (ไมมีการเปลี่ยนแปลงจากคาที่ตั้งไวเมื่อเปดกลองครั้งแรก) เพื่ อ ใช ภ าพเป น เพี ย งตั ว อย า งในการอธิ บ าย รู ป ภาพของกล อ งทุ ก ๆ ภาพที่ แ สดงอยู ใ น คูมือจะติดเลนส EF-S15-135mm f/3.5-5.6 IS


ทในคูมือ สำหรั บ ผู ใ ช ที่ เ ป น นั ก ถ า ยภาพมื อ ใหม บทที่ 1 และ 2 จะอธิ บ ายวิ ธี ป รั บ ตั้ ง ควบคุ ม กล อ งตั้ ง แต ขั้ น พื้ น ฐาน และวิ ธี ใ ช ก ล อ งอย า งถู ก วิ ธี

บทนำ เริ่ ม ทำความรู จั ก กั บ กล อ ง การถ า ยภาพเบื้ อ งต น เลือกระบบออโตโฟกัสและระบบขับเคลื่อน ปรับตั้งลักษณะของภาพ การควบคุมกลองในแบบกาวหนา การใชแฟลช การเล็งภาพดวยจอ LCD (ระบบ Live View) การถายภาพยนตร การเล น ดู ภ าพ การประมวลผลและจั ด การภาพที่ ถ า ยแล ว การทำความสะอาดเซนเซอร การพิมพภาพ ปรับกลองใหทำงานในลักษณะที่ตองการ อางอิง บทสงทาย : คูมือการเริ่มตนใชซอฟทแวร และดัชนีคนหาของคูมือ


ารบาญ บทนำ ตรวจสอบอุปกรณ..................................................................................................... 3 สัญลักษณและเครื่องหมายที่ใชในคูมือ..................................................................... 4 บทในคูมือ................................................................................................................ 5 ดัชนีแสดงคุณสมบัติ .............................................................................................. 10 ขอควรระวังในการใชกลอง..................................................................................... 12 เริ่มใชกลองอยางรวดเร็ว......................................................................................... 14 สวนตางๆ ของตัวกลอง........................................................................................... 16

เริ่ ม ทำความรู จั ก กั บ กล อ ง

การประจุไฟแบตเตอรี่............................................................................................. 24 ทำความร ู จั ก กั บ กล่.......................................................................................... อง การใสและถอดแบตเตอรี 26 การใชจอภาพ LCD ............................................................................................... 27 การเปดสวิตซกลอง .................................................................................................. 28 การตั้งวันที่และเวลา .............................................................................................. 30 การเลือกภาษา ...................................................................................................... 31 วิธีใสและนำการดออกจากกลอง.............................................................................. 32 วิธีใสและถอดเลนส.................................................................................................. 34 การใชฮูดของเลนส .................................................................................................. 37 เกี่ยวกับระบบ Image Stabilizer(IS) ........................................................................ 38 พื้นฐานการปรับควบคุมกลอง.................................................................................. 39 การใชจอภาพในการปรับตั้งควบคุมอยางรวดเร็ว…….....….........…............……. 44 การปรับตั้งควบคุม MENU …………………………..….........................…….. 46 กอนเริ่มใชกลอง ……………………………………………………..........................…48 การฟอรแมทการด............................................................................................... 48 ตั้งเวลาใหกลองปดพลังงาน / ปดการทำงานอัตโนมัติ ……...……….............…….. 50 ตั้งเวลาในการแสดงภาพที่ถายเสร็จแลว .....................……...……….............…….. 50 ตั้งคา ฟงกชั่น และระบบการทำงาน ใหกลับสูคาเริ่มตน ........................................ 51

การถายภาพเบื้องตน

ถายภาพในแบบอัตโนมัติสมบูรณแบบ ............................................................... 54 เทคนิคการถายภาพดวยระบบอัตโนมัติสมบูรณแบบ ......................................... 56 ถายภาพโดยไมใชแฟลช ................................................................................ 58 สรางสรรคภาพดวยระบบอัตโนมัติแบบสรางสรรค ............................................ 59 ระบบถายภาพบุคคล ........................................................................................ 62 ระบบถายภาพทิวทัศน ....................................................................................... 63 ระบบถายภาพระยะใกล ................................................................................... 64 ระบบถายภาพกีฬา ภาพที่มีการเคลื่อนไหว ....................................................... 65 ระบบถายภาพบุคคลกับแสงสีกลางคืน .............................................................. 66 จอภาพสำหรับการปรับตั้งแบบเร็ว .................................................................... 67 การเลือกปรับเปลี่ยนลักษณะของภาพ ........................................................... 68


ารบาญ ถายภาพโดยเลือกปรับเปลี่ยนชนิดของแหลงกำเนิดแสง ................................. 71

เลือกระบบออโตโฟกัสและระบบขับเคลื่อน

การเลือกระบบออโตโฟกัส ............................................................................... 76 การเลือกจุดโฟกัส .......................................................................................... 78 เมื่อระบบออโตโฟกัสไมสามารถจับภาพได ...................................................... 80 การปรับภาพใหชัดโดยการปรับเอง .............................................................. 80 การปรับเลือกระบบขับเคลื่อน ……………………………….........…..............…. 81 การใชระบบหนวงเวลาถายภาพ ....................................................................... 82

ปรับตั้งลักษณะของภาพ ปรับตั้งคุณภาพของภาพ ....................................................................................... 84 ปรับตั้งความไวแสง (ISO) .............................................................................. 88 เลือกใช PictureStyle ...................................................................................... 90 ปรับเปลี่ยนคาใน PictureStyle ......................................................................... 92 บันทึก PictureStyle ที่ปรับเปลี่ยนแลว .............................................................. 94 ปรับตั้งสมดุลสีขาว (White Balance) ....................................................................... 96 สมดุลสีขาวแบบปรับตั้งเอง ………….............................................................. 97 ปรับตั้งอุณหภูมิสี …………............................................................................. 98 การปรับแกสมดุลสีขาว..………….................................................................... 99 ระบบ Auto Lighting Optimizer …………................................................................. 101 ระบบปรับแสงที่ขอบภาพอัตโนมัติ ………………………..............................……... 102 สรางโฟลเดอรใหม และการเลือกโฟลเดอร ……………..........................………….. 104 เลือกรูปแบบของการเรียงลำดับไฟลภาพ ……………….............….............……… 106 การปรับตั้งขอมูลของลิขสิทธิ์ภาพ ......................................................................... 108 การปรับระบบสี (Color Space) ………………..............……………............……... 110

การควบคุมกลองในแบบกาวหนา Program AE................................................................................................. 112 Shutter-Priority AE ..................................................................................... 114 Aperture-Priority AE.................................................................................... 116 ตรวจสอบชวงความชัด ................................................................................ 117 Manual บันทึกภาพดวยการปรับตั้งเอง............................................................ 118 การเลือกระบบวัดแสง................................................................................... 119 การปรับชดเชยแสง .............................................................................................. 120 ระบบถายภาพครอมอัตโนมัติ (AEB) .............................................................121 ล็อคคาแสง .....................................................................................................122 ชัตเตอร B (Bulb Exposures).........................................................................123 ล็อคกระจกสะทอนภาพ .........................................................................................125 ถายภาพดวยรีโมท ............................................................................................126 การแสดงเสนระดับ .......................................................................................127


ารบาญ การใช แ ฟลช การใชแฟลชในตัวกลอง ................................................................................. 130 การปรับตั้งแฟลช ................................................................................................. 135 การใชแฟลชระบบไรสาย ...................................................................................... 139 การใชแฟลชภายนอก ............................................................................................ 148

การเล็งภาพดวยจอ LCD (ระบบ Live View) การถายภาพโดยการเล็งดวยจอ LCD ............................................................. 152 ปรับตั้งฟงกชั่นเพื่อถายภาพ ................................................................................. 156 ปรับตั้งฟงกชั่นของเมนู ................................................................................... 157 ปรับภาพใหชัดดวยระบบออโตโฟกัส ..................................................................... 160 ปรับภาพใหชัดดวยการหมุนปรับเอง ...................................................................... 167

การถ า ยภาพยนตร การถายภาพยนตร …………………………………....................……....………. 172 ปรั บ ตั้ ง ฟ ง ก ชั่ น ของการถ า ยภาพยนตร ………………………………………….....…179 ปรับตั้งความละเอียดในการถายภาพยนตร ............................................................180 ปรับตั้งฟงกชั่นของเมนู ........................................................................................ 182

การเล น ดู ภ าพ เลนดูภาพที่ถายแลว ........................................................................................ 190 การแสดงขอมูลการถายภาพ .................................................................... 191 คนหาภาพที่ตองการดวยความรวดเร็ว ....................................................... 194 ขยายดูภาพ .......................................................................................... 196 หมุนภาพ ....................................................................................................... 197 ปรับตั้งอันดับ(Rating) ภาพนิ่งและภาพยนตร ....................................................... 198 ใชปุมควบคุมแบบเร็วขณะเลนดูภาพ ............................................................ 200 สนุกกับภาพยนตร ......................................................................................... 202 ดูภาพยนตร ............................................................................................... 204 ตัดตอตอนตนและตอนทายของภาพยนตร .................................................. 206 เลนภาพอัตโนมัติ (สไลดโชว) ............................................................................... 207 ดูภาพจากจอโทรทัศน .......................................................................................... 209 ปองกันภาพถูกลบ ...................................................................................... 213 การลบภาพ ............................................................................................... 215 เปลี่ยนรูปแบบของการแสดงภาพ ........................................................................ 217 ปรับความสวางของจอ LCD ............................................................................... 217 หมุนภาพแนวตั้งโดยอัตโนมัติ ................................................................. ............218

การประมวลผลและการจั ด การภาพที่ ถ า ยแล ว ฟลเตอรสรางสรรคภาพ ………………………………...................…....………. 220


ารบาญ การลดขนาดภาพ ........................................................................................ 222 การประมวลผลไฟลแบบ RAW ภายในตัวกลอง ................................................. 224

การทำความสะอาดเซนเซอร ระบบทำความสะอาดเซนเซอรอัตโนมัติ............................................................ 230 การแนบขอมูลตำแหนงของเม็ดฝุนไปกับไฟลภาพ ..................................................... 231 เมื่อตองการทำความสะอาดเซนเซอรเอง .................................................................. 233

การพิ ม พ ภ าพ

เตรียมการพิมพภาพ ……………………………………………..............………...…. 236 การพิมพภาพ ……………………………………………..............…………..….. 238 การตัดขอบภาพ …………………………………………...............………..……… 243 พิมพจากกลองโดยตรงดวย Digital Print Order Format (DPOF) …................. 245 การพิมพภาพโดยตรงดวย DPOF ………………………………............…..……. 248

ปรับกลองใหทำงานในลักษณะที่ตองการ การปรับตั้ง Custom Functions ...............................................................................250 Custom Functions ................................................................................................ 251 การปรับตั้ง Custom Function ............................................................................... 252 C.Fn I : Exposure ............................................................................................. 252 C.Fn II : Image .................................................................................................. 254 C.Fn III : Autofocus/Drive ................................................................................. 255 C.Fn IV: Operation/Others.................................................................................. 257 การบันทึกคาใน My Menu ...................................................................................... 261 การบันทึกชุดคาของระบบ เมนู และฟงกชั่นตางๆ .............................. .......... 262

อางอิง

ฟงกชั่นของปุม INFO ............................................................................... 266 การตรวจสอบขอมูลของแบตเตอรี่.......................................................................... 268 การใชพลังงานจากปลั๊กไฟ .................................................................................... 272 การใชการด Eye-Fi .............................................................................................. 273 ตารางแสดงฟงกชั่นที่ใชงานได .............................................................................. 276 การปรับตั้งเมนู .................................................................................................... 278 คำแนะนำเมื่อเกิดปญหา ....................................................................................... 283 ความหมายของรหัสแสดงความผิดพลาด ............................................................... 291 แผนผังของระบบอุปกรณ ....................................................................................... 292 รายละเอียดของกลอง ........................................................................................... 294 คำเตือนเกี่ยวกับความปลอดภัย ............................................................................. 305

บทส ง ท า ย : คู มื อ การเริ่ ม ต น ใช ซ อฟท แ วร และดั ช นี ค น หาของคู มื อ คำแนะนำในการเริ่มใชซอฟทแวร ......................................................................... 314 ดัชนี ..................................................................................................................... 317


ชนีแสดงคุณสมบัติ พลังงาน แบตเตอรี่

การประจุไฟ การตรวจสอบแบตเตอรี่ ตรวจสอบขอมูลแบตเตอรี่ การใชพลังงานจากปลั๊กไฟ ระบบตัดพลังงานอัตโนมัติ

น.24 น.29 น.268 น.272 น.50

เลนส การติ ด ตั้ ง / การถอด ซู ม ระบบปองกันภาพสั่น (IS)

น.34 น.35 น.38 น.31 น.30 น.27 น.217 น.278 น.32

การบั น ทึ ก ไฟล ภ าพ การฟอร แ มท

การสร า งและเลื อ กโฟลเดอร

ลำดั บ ไฟล

น.101 น.102 น.254 น.254 น.255

ออโตโฟกัส น.76 น.78 ปรับภาพดวยการหมุนปรับเอง น.80

ระบบขับเคลื่อน ระบบขับเคลื่อน ความเร็วสูงสุด

น.84 น.88 น.90

น.81 น.87

ถ า ยภาพ ระดับอีเลคทรอนิคส หนาจอควบคุมแบบเร็ว ระบบอั ต โนมั ติ แ บบสร า งสรรค

น.48 น.104 น.106

คุณภาพของภาพ

คุณภาพของภาพที่บันทึก ความไวแสง Picture Style

ปรั บ ความเข ม สว า งอั ต โนมั ติ ปรั บ แก ค วามสลั ว ที่ ข อบภาพ ซึ่ ง เป น ผลจากเลนส ลดสัญญาณรบกวน เมื่ อ เป ด รั บ แสงนาน ลดสัญญาณรบกวน เมื่อความไวแสงสูง เพิ่มรายละเอียดในสวนสวาง

ระบบออโตโฟกัส เลื อ กจุ ด โฟกั ส

การปรับตั้งเบื้องตน

ภาษา วันที่/เวลา การใชจอ LCD การปรับ ความสวางของจอ LCD สัญญาณเสียงเตือน ลั่ น ชั ต เตอร โดยไม มี ก าร ด

น.96 สมดุ ล สี ข าว น.110 ระบบสี คุณสมบัติในการปรับแตงภาพ

Program AE Shutter-priority AE Aperture-priority AE Manual ชั ต เตอร B ล็อคกระจกสะทอนภาพ ระบบวัดแสง

น.127 น.44 น.59 น.112 น.114 น.116 น.118 น.123 น.125 น.119


ชนีแสดงคุณสมบัติ ระบบหนวงเวลาถายภาพ ถ า ยภาพด ว ยรี โ มท

น.82 น.126

ควบคุมคาการเปดรับแสง ชดเชยแสง ถ า ยภาพคร อ มอั ต โนมั ติ ล็ อ คค า แสง

น.120 น.121 น.122

แฟลช แฟลชในตัวกลอง ชดเชยแสงแฟลช

น.130 น.132

ล็อคคาแสงแฟลช แฟลชภายนอก ควบคุมแสงแฟลช แฟลชแบบไรสาย

น.134 น.148 น.135 น.139

ถายภาพแบบ Live View ถายภาพดวย Live View การโฟกั ส

การปรับอัตราสวนของดาน

การจำลองคาแสง การแสดงเสนตาราง ถายภาพดวยระบบเก็บเสียง

น.151 น.160 น.157 น.158 น.157 น.159

ถ า ยภาพยนตร

การถ า ยภาพยนตร Manual Exposure การบันทึกเสียง

น.171 น.174 น.184

แสดงภาพที่ถายแลว

ระยะเวลาการแสดงภาพ แสดงครั้งละภาพ การแสดงข อ มู ล การ ถ า ยภาพ ดู ภ าพยนตร ตัดตอตอนตนและทาย ของภาพยนตร แสดงภาพแบบดัชนี คนหาภาพ (แบบกระโดดขาม) ขยายดู ภ าพ เลนภาพอัตโนมัติ ดูภาพจากโทรทัศน ปองกันภาพถูกลบ ลบภาพ

น.50 น.190 น.191 น.204 น.206 น.194 น.195 น.196 น.207 น.209 น.213 น.215

ปรับแตงภาพ

ฟ ล เตอร ส ร า งสรรค ภ าพ เปลี่ยนขนาดภาพ ประมวลผลไฟลแบบ RAW

น.220 น.222 น.224

ปรั บ แต ง การทำงาน

Custom Function (C.Fn) My Menu ปรับแตงและบันทึกคา Camera user

น.250 น.261 น.262

ชองเล็งภาพ

ปรั บ แก ส ายตา ระดับอีเลคทรอนิคส การถอดเปลี่ยน โฟกั ส สกรี น

น.39 น.128 น.259


อควรระวังในการใชกลอง

การดูแลรักษากลอง

กล อ งเป น อุ ป กรณ ที่ ป ระกอบด ว ยชิ้ น ส ว นที่ ซั บ ซ อ นและละเอี ย ดอ อ น การทำตกหรื อ เกิ ด การ กระทบกระแทกอย า งรุ น แรงจะทำให เ กิ ด ความเสี ย หายต อ ชิ้ น ส ว นเหล า นี้ กล อ งรุ น นี้ ไ ม ไ ด อ อกแบบให กั น น้ำ และไม ส ามารถใช ง านใต น้ำ ได หากท า นทำกล อ งตกน้ำ โดย อุ บั ติ เ หตุ ให รี บ เช็ ด กล อ งด ว ยผ า แห ง และรี บ ส ง กล อ งไปที่ ศู น ย บ ริ ก ารของแคนนอนที่ ใ กล ที่ สุ ด และหากกล อ งตกลงไปในน้ำ ทะเล ให เ ช็ ด กล อ งด ว ยผ า ชุ บ น้ำ บิ ด หมาดๆ ไม ค วรวางกล อ งทิ้ ง ไว ใ กล ๆ กั บ แหล ง ที่ มี ส นามแม เ หล็ ก ไฟฟ า ที่ มี พ ลั ง งานสู ง เช น แม เ หล็ ก และ มอเตอร ตลอดจนบริ เ วณใกล กั บ แหล ง คลื่ น วิ ท ยุ ค วามถี่ สู ง เช น เสาส ง วิ ท ยุ ข นาดใหญ บริ เ วณ ที่ มี พ ลั ง งานจากสนามแม เ หล็ ก ไฟฟ า จะทำให ก ล อ งทำงานผิ ด ปกติ ห รื อ อาจทำลายข อ มู ล ของ ไฟล ภ าพได ไม ค วรทิ้ ง กล อ งไว ใ นที่ ซึ่ ง มี อุ ณ หภู มิ สู ง มาก เช น ภายในรถที่ จ อดตากแดดไว ซึ่ ง ทำให ก ล อ ง ทำงานผิ ด ปกติ ห รื อ มี ชิ้ น ส ว นที่ เ สี ย หาย กล อ งมี แ ผงวงจรอี เ ลคทรอนิ ค ส ที่ มี ค วามละเอี ย ดอ อ นมาก ไม ค วรถอดชิ้ น ส ว นประกอบใดๆ ดวยตัวทานเอง เมื่ อ มี ฝุ น เกาะอยู บ ริ เ วณเลนส ช อ งเล็ ง ภาพ กระจกสะท อ นภาพ โฟกั ส สกรี น ท า นสามารถใช ลูกยางเปาลมเพื่อเปาฝุนใหหลุดออกไป ไมควรใชน้ำยาที่เจือปนสารเคมีเปนตัวทำละลายหรือ สารที่ ท า นไม แ น ใ จในการเช็ ด ตั ว กล อ งและเลนส สำหรั บ สิ่ ง สกปรกที่ เ ป า ไม อ อก ให นำไป ทำความสะอาด ห า มใช นิ้ ว มื อ สั ม ผั ส บริ เ วณจุ ด สั ม ผั ส อี เ ลคทรอนิ ค ส เพื่ อ ป อ งกั น จุ ด สั ม ผั ส เกิ ด การสึ ก กร อ น ซึ่ ง อาจทำให ก ล อ งทำงานผิ ด ปกติ เมื่ อ นำกล อ งออกจากที่ ๆ มี อ ากาศเย็ น ไปสู ที่ ๆ มี อุ ณ หภู มิ อุ น ขึ้ น โดยฉั บ พลั น จะเกิ ด การควบ แน น ของหยดน้ำ หยดเล็ ก ๆ ขึ้ น ทั้ ง ภายนอกและชิ้ น ส ว นภายในของตั ว กล อ ง เพื่ อ ป อ งกั น การ ควบแน น ควรจะนำกล อ งใส ใ นถุ ง พลาสติ ก ที่ มี ร ะบบป ด ผนึ ก ได แ น น ก อ นนำกล อ งออกไป และ ทิ้ ง ไว ใ นอุ ณ หภู มิ ที่ สู ง กว า สั ก ครู ห นึ่ ง ก อ นจะนำกล อ งออกไปใช ง าน หากกลองมีความชื้นเกิดขึ้นจากการควบแนน ไมควรรีบใชกลองในทันที เพื่อปองกันความเสีย หายที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น ให ถ อดเลนส การ ด และแบตเตอรี่ อ อกจากตั ว กล อ ง และให ร อจนกว า ไอ น้ำ และหยดน้ำ จะระเหยไปหมด จึ ง ใช ง านได ต ามปกติ หากไม ไ ด ใ ช ก ล อ งเป น เวลานานๆ ควรถอดแบตเตอรี่ อ อก และเก็ บ กล อ งไว ใ นที่ แ ห ง เย็ น และ มี อ ากาศถ า ยเท และเมื่ อ เก็ บ กล อ งไว ใ นที่ จั ด เก็ บ แล ว ให นำกล อ งออกมากดชั ต เตอร บ า งเป น ระยะเพื่ อ ตรวจสอบว า กล อ งยั ง ทำงานได ต ามปกติ หลี ก เลี่ ย งการเก็ บ กล อ งไว ใ นบริ เ วณที่ มี ไ อระเหยของสารเคมี เช น ในห อ งมื ด สำหรั บ ล า งอั ด รู ป และในห อ งแล็ บ ทางเคมี เมื่ อ ไม ไ ด ใ ช ก ล อ งเป น เวลานานมาก ก อ นนำกล อ งไปใช ควรทดสอบฟ ง ก ชั่ น การทำงานของ ระบบต า งๆ และเมื่ อ ต อ งถ า ยภาพงานที่ มี ค วามสำคั ญ มาก ควรนำกล อ งไปตรวจสอบที่ ศู น ย บริ ก ารหรื อ ตรวจสอบด ว ยตั ว ของท า นเองว า ฟ ง ก ชั่ น ทุ ก ๆ อย า งทำงานเป น ปกติ


อควรระวังในการใชกลอง แผง LCD และจอภาพ LCD

ถึ ง แม ว า จอ LCD ของกล อ งจะผลิ ต ด ว ยเทคโนโลยี ที่ มี ค วามแม น ยำสู ง ทำให ม องเห็ น ภาพที่ ถายไดจริงถึง 99.99% แตก็อาจจะมีพิกเซลจำนวนหนึ่งในพิกเซล 0.01% ที่เหลือที่ไมสามารถ แสดงผลที่ ถู ก ต อ งได โดยมั ก จะปรากฎเป น จุ ด เล็ ก ๆ ที่ มี สี ดำหรื อ สี แ ดง หรื อ อาจเป น สี อื่ น ซึ่ ง ไม ใ ช ค วามผิ ด ปกติ และไม มี ผ ลเสี ย ต อ ภาพ ถ า จอ LCD ไม ไ ด ทำการแสดงผลเป น เวลานาน เมื่ อ เป ด กล อ งและแสดงผล อาจจะเห็ น ความ บกพร อ งในการแสดงผลในลั ก ษณะของความพร า มี ร ายละเอี ย ดที่ ข าดหายไปบางส ว น ซึ่ ง จะเกิ ด ขึ้ น เพี ย งชั่ ว ครู เ ท า นั้ น และจอภาพก็ จ ะแสดงผลได ดี เ ช น เดิ ม ในที่ ซึ่ ง มี อุ ณ หภู มิ สู ง หรื อ ต่ำ มาก จอ LCD อาจจะแสดงผลช า กว า ปกติ หรื อ เปลี่ ย นเป น สี ดำ ซึ่ ง จะหายเป น ปกติ เ มื่ อ ใช ง านในอุ ณ หภู มิ ห อ ง

การด

เพื่ อ รั ก ษาการ ด และข อ มู ล ที่ เ ก็ บ อยู ใ นการ ด อ า นข อ ความต อ ไปนี้ โ ดยละเอี ย ด การดบันทึกขอมูลภาพเปนอุปกรณที่ละเอียดออนมาก ไมควรทำตกหลนหรือวางไวบนพื้นที่ซึ่ง มี ค วามสั่ น สะเทื อ น ซึ่ ง อาจทำให ข อ มู ล ภาพเสี ย หาย ไม ค วรเก็ บ หรื อ วางการ ด ไว ใ กล กั บ บริ เ วณที่ มี ส นามแม เ หล็ ก ไฟฟ า ที่ มี พ ลั ง งานสู ง เช น เครื่ อ ง รั บ โทรทั ศ น ลำโพง หรื อ อุ ป กรณ ที่ มี แ ม เ หล็ ก ขนาดใหญ และเลี่ ย งการเก็ บ หรื อ วางไว ใ นบริ เ วณ ที่ มี ไ ฟฟ า สถิ ต เพราะอาจทำให ข อ มู ล ในการ ด เสี ย หาย ไม ค วรทิ้ ง การ ด ตากแดด หรื อ วางไว ใ กล กั บ แหล ง ความร อ น ซึ่ ง อาจทำให ชิ้ น ส ว นของการ ด เสี ย หายและใช ง านต อ ไปไม ไ ด เมื่ อ ถอดการ ด ออกจากกล อ ง ควรเก็ บ ในที่ บ รรจุ ไม ค วรเก็ บ การ ด ไว ใ นที่ ซึ่ ง มี ฝุ น มาก ร อ น และมี ค วามชื้ น สู ง

จุ ด สั ม ผั ส

เลนส

เมื่อถอดเลนสออกจากกลอง ควรใสฝาปดดานทายของเลนสทันที เพื่อ ป อ งกั น การขู ด ขี ด ที่ ผิ ว เลนส แ ละจุ ด สั ม ผั ส อี เ ลคทรอนิ ค ส

ขอควรระวังหลังจากใชกลองตอเนื่องมาเปนเวลานาน

เมื่อทานไดถายภาพดวยระบบตอเนื่องหรือใชระบบ Live View มาเปนเวลานาน ตัวกลองจะมี ความร อ นสะสมเกิ ด ขึ้ น แม ว า เรื่ อ งนี้ จ ะไม ใ ช ค วามผิ ด ปกติ แต ก ารจั บ ถื อ ตั ว กล อ งที่ ร อ นเป น เวลานานๆ อาจจะทำให ท า นเกิ ด ความระคายเคื อ งผิ ว หนั ง


ริม่ ใชกลองอยางรวดเร็ว ใสแบตเตอรี่ (น.26)

เมื่อตองการเปลี่ยนแบตเตอรี่ ดู ที่ ห น า 24

ติดตั้งเลนส (น.34)

ทาบเครื่ อ งหมายบนเลนส ( สี แ ดงหรื อ สี ข าว) ใหตรงกับดัชนีสีขาวหรือสีแดงที่ตัวกลอง

ปรั บ สวิ ต ซ บ นกระบอกเลนส ไ ปที่ ตำแหนง <AF> (น.34)

เปดฝาปดชองใสการด และเสียบการด (น.32) หันฉลากของการดเขาหาตัว แลวเสียบลงในชองจนสุด

ปรั บ สวิ ต ซ ไ ปที่ ตำแหน ง <ON> (น.28) และขณะใชนิ้วกดปุมที่กึ่ง กลางของวงแหวนเลือกระบบ หมุน วงแหวนไปที่ (Full Auto) (น.54)


ริม่ ใชกลองอยางรวดเร็ว เปดจอ LCD ออกมา (น.27)

เล็งภาพและโฟกัส (น.40)

เล็ ง ภาพผ า นช อ งมองภาพและให ช อ งมอง ภาพอยู ใ นตำแหน ง กึ่ ง กลางของวั ต ถุ ที่ ต อ ง การถ า ยภาพ กดปุ ม ชั ต เตอร ล งครึ่ ง หนึ่ ง กล อ งจะโฟกั ส ภาพให ชั ด ถ า มี ค วามจำเป น แฟลชในตั ว กล อ งจะยกขึ้ น ทำงานโดย อัตโนมัติ

ถ า ยภาพ(น.40)

กดชัตเตอรลงจนสุด กลองจะถายภาพนั้นไว อย า งสมบู ร ณ

ดูภาพที่ถายแลว (น.50)

ภาพที่ ถ า ยแล ว จะแสดงอยู ที่ จ อภาพเป น เวลาประมาณ 2 วินาทีและดับไป ถาตอง การดูภาพนั้นอีก ใหกดปุม (น.190) หากตองการถายภาพโดยดูจากจอ LCD ดูหนา น.57 หากต อ งการดู ภ าพที่ ถ า ยแล ว นานขึ้ น ดู “เล น ดู ภ าพที่ ถ า ยแล ว ” (น.190) เมื่อตองการลบภาพ ดู “การลบภาพ” (น.215)


วนตางๆ ของตัวกลอง

สำหรั บ ข อ มู ล และรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ให ดู จ ากเลขหน า ที่ กำกั บ ไว (น.**) ปมุ ปรับตัง้ ระบบขับเคลือ่ น (น.81) ปมุ ปรับตัง้ ความไวแสง (น.88) ปมุ ปรับตัง้ ระบบ วัดแสง (น.119)

ปมุ เลือกระบบโฟกัส (น.76) จอ LCD (น.18) ดัชนีสำหรับเลนส EF (น.34) แฟลชในตัวกลอง / ไฟชวยหาโฟกัสอัตโนมัติ (น.130/79) ดัชนีสำหรับเลนส EF-S (น.34) จุดสัมผัสแฟลช ฐานติดตัง้ แฟลช (น.148) ไมโครโฟน (น.172) ปมุ ปลดล็อควงแหวนเลือก ระบบ (น.41) วงแหวนเลือกระบบ (น.20)

วงแหวน ควบคุมหลัก (น.41) ปมุ เปดไฟ สองจอ LCD (น.43) ปมุ ชัตเตอร (น.40)

ลำโพง (น.204)

ไฟลดตาแดง/ ไฟหนวงเวลา (น.131/82)

ชองรอยสายคลองคอ (น.23)

เซนเซอรรบั สัญญาณ จากรีโมท (น.126) กริป (บรรจุแบตเตอรี)

ปุมแฟลช (น.129) ฝาปดชองเสียบ

ชองเสียบไฟ กระแสตรง (น.272) ปมุ ตรวจสอบความชัดลึก (น.117) กระจกสะทอนภาพ (น.125,233) จุดสัมผัส (น.13)

ปมุ ปลดล็อคเลนส (น.35) สลักล็อคเลนส เมาทเลนส ชองเสียบไมโครโฟน (น.184) ชองเสียบ HDMI mini OUT (น.209) ชองเสียบ AV out / Digital (น.212,236)

ฝาปดกลอง (น. 34)

ชองเสียบสายรีโมท (น.124)


วนตางๆ ของตัวกลอง < > สวิตซถา ยภาพดวย Live View /

ปมุ AF start (น.40, 153, 173)

ถายภาพยนตร (น.152/172) ระนาบความชัด ปมุ menu (น.46)

ปมุ ล็อคคาแสง/ ล็อคแสงแฟลช/ ดัชนีภาพ/ลดขนาดภาพ (น.122/134/194/196, 243)

ลูกบิดปรับแกสายตา (น.39) ยางครอบชองเล็งภาพ (น.124) เลนสของชองเล็งภาพ

ปมุ เลือกจุดโฟกัส/ ปมุ ขยายภาพ (น.78/196, 243) ชองรอยสาย คลองคอ (น.23)

สวิตซเปดปดกลอง (น.28) ปมุ ลบ ภาพ (น.215)

ปมุ Quick Control (น.44) ฝาปดชอง ใสการด (น.32) กระเดือ่ งล็อค ฝาปด (น.26)

จอภาพ LCD (น.27, 217) ชองสกรูยดึ ขาตัง้ กลอง

ฝาปดชองใส แบตเตอรี (น.26) ไฟแสดงสถานะ ของการด (น.33) ปมุ Multi-controller (น.43) วงแหวนควบคุมแบบเร็ว (น.42)

ปมุ เลนดูภาพ (น.190) ปมุ Info. (น.127, 154, 176, 190, 266) ปมุ ล็อควงแหวนควบคุมแบบเร็ว/ ปมุ Direct Print (น.42/241) ปมุ ปรับตัง้ (น.46) ชองใสการด (น.32)


วนตางๆ ของตัวกลอง จอ LCD ปรับความเขมสวางอัตโนมัติ (น.255) ระบบขับเคลือ่ น (น.81) ถายภาพแบบครัง้ ละภาพ ถายภาพตอเนือ่ งความเร็วสูง ถายภาพตอเนือ่ งความเร็วต่ำ หนวงเวลา 10 วินาที / ถายภาพดวยรีโมท หนวงเวลา 2 วินาที / ถายภาพดวยรีโมท ออโตโฟกัส (น.76)

ความไวแสง (น.88) ความไวแสง (น.88) จำนวนภาพทีถ่ า ยตอไปได จำนวนภาพถายครอมสมดุลสีขาว ทีย่ งั คงเหลือ นับถอยหลัง หนวงเวลาถายภาพ ระยะเวลาในการเปดรับแสง ชัตเตอร B ระบบวัดแสง (น.119) ระบบวัดแสงแบบเฉลีย่ ระบบวัดแสงแบบเฉพาะสวน ระบบวัดแสงแบบเฉพาะจุด ระบบวัดแสงแบบเฉลีย่ เนนกลางภาพ

ระบบถายภาพครอม (น.121) พลังงานของแบตเตอรี (น.29) ถายภาพขาวดำ (น.91)

ปรับแกสมดุลสีขาว (น.99) ชดเชยแสงแฟลช (น.132) ความไวชัตเตอร กำลังทำงาน (buSY) แฟลชในตัวกำลังประจุไฟ (buSY)

จะมีการแสดงผลในขณะที่กำลังทำการปรับตั้ง

ตัวแสดงคาแสง ระดับการชดเชยแสง (น.120) ระดับการถายภาพครอม (น.121) ระดับการชดเชยแสงแฟลช (น.132)

บันทึกขอมูลลงในการด เสนระดับอีเลคทรอนิคส ชองรับแสง แสดงจุดโฟกัสที่เลือก ( ) เตือนเมือ่ การดเต็ม (FuLL CF) เตือนความผิดพลาดจากการด (Err CF) เตือนเมือ่ ไมมกี ารด (no CF) รหัสความผิดพลาด (Err) ทำความสะอาดเซนเซอร (CLn)


วนตางๆ ของตัวกลอง การแสดงขอมูลในชองเล็งภาพ โฟกัสสกรีน

จุดโฟกัส (สวางขึน้ เมือ่ จุดนัน้ ๆ ทำงาน) พืน้ ทีว่ ดั แสงเฉพาะจุด

ความไวแสง ปรับแกสมดุลสีขาว ตรวจสอบ พลังงาน ล็อคคาแสง / แสดงระบบ AEB แฟลชพรอม / เตือนเมือ่ FE Lock ไม สามารถทำงานได แฟลชสัมพันธ ชัตเตอรสงู ล็อคคาแสงแฟลช / FEB ชดเชยแสงแฟลช ความไวชัตเตอร ล็อคคาแสง(FEL) กำลังทำงาน (buSY) แฟลชในตัวกำลังประจุไฟ

จะมีการแสดงผลในขณะที่กำลังทำการปรับตั้ง

สัญญาณยืนยันภาพชัด จำนวนภาพถายตอเนือ่ งสูงสุด ถายภาพขาวดำ ความไวแสง เนนรายละเอียดในสวนสวาง แสดงระดับแสง ระดับการชดเชยแสง ระดับการชดเชยแสงแฟลช ระดับการถายภาพครอม แสดงวาไฟชวยลดตาแดงกำลังทำงาน เตือนเมือ่ การดเต็ม (FuLL) เตือนความผิดพลาดจากการด (Err ) เตือนเมือ่ ไมมกี ารด (Card) ชองรับแสง


วนตางๆ ของตัวกลอง วงแหวนเลือกระบบ

กดปมุ ปลดล็อคของวงแหวนทีก่ งึ่ กลาง พรอมกับหมุนวงแหวนเพือ่ เลือกระบบการทำงาน ปรับตัง้ โดยผใู ช ผใู ชสามารถบันทึกระบบบันทึก ภาพทีต่ อ งการ (P/Tv/Av/M/B) ระบบออโตโฟกัส และการปรับตัง้ ตางๆ ไวในระบบบันทึกภาพนี้ เพือ่ ใหถา ยภาพตามตองการไดทนั ที (น.262)

ระบบบันทึกภาพสรางสรรค ระบบบันทึกภาพเหลานี้ จะเปดโอกาสใหผใู ชปรับควบคุมได อยางอิสระมากขึน้ เพือ่ ใหเหมาะสมกับการถายภาพในรูป แบบทีแ่ ตกตางกันไป ระบบ Program AE (น.112) ระบบ Shutter-priority AE (น.114) ระบบ Aperture-priority AE (น.116) ระบบแมนนวล (น.118) ชัตเตอร B (น.123) ระบบบันทึกภาพพืน้ ฐาน ระบบบันทึกภาพทีใ่ ชงา ยๆ สำหรับมือใหม เพียงกดชัตเตอร กลองจะปรับตัง้ ระบบตางๆ และถายภาพทีส่ มบูรณใหโดย อัตโนมัติ (น.54) (น.58) (น.59)

ระบบถายภาพยนตร (น.171)

ระบบโปรแกรมรูปภาพ ถายภาพบุคคล (น.62) ถายภาพทิวทัศน (น.63) ถายภาพระยะใกล (น.64) ถายภาพกีฬา ภาพเคลือ่ นไหว(น.65) ถายภาพบุคคล กับแสงไฟกลางคืน (น.66)


วนตางๆ ของตัวกลอง เลนส

เลนสที่มีสเกลบอกระยะโฟกัส สวิตซเลือกระบบโฟกัส (น.34)

รองสำหรับติดตัง้ ฮดู (น.37)

ความยาวโฟกัสของซูม (น.35) สเกลแสดงระยะโฟกัส

เกลียวสำหรับติดตัง้ ฟลเตอร ดานหนา ของเลนส (น.301) วงแหวนซูม (น.35) วงแหวนโฟกัส (น.80, 167)

จุดสัมผัส (น.13) ดัชนีสำหรับติดตัง้ เลนส (น.34)

สวิตซของระบบปองกันภาพสัน่ (น.38)

เลนสที่ไมมีสเกลบอกระยะโฟกัส วงแหวนโฟกัส (น.80, 167) รองสำหรับติดตัง้ ฮดู (น.37)

สวิตซเลือกระบบโฟกัส (น.34) ความยาวโฟกัสของซูม (น.35)

เกลียวสำหรับติดตัง้ ฟลเตอร ดานหนา ของเลนส (น.301) วงแหวนซูม (น.35) สวิตซของระบบปองกันภาพสัน่ (น.38) ดัชนีสำหรับติดตัง้ เลนส (น.34)

จุดสัมผัส (น.13)


วนตางๆ ของตัวกลอง เครื่องประจุไฟ LC-E6

สำหรับประจุไฟ Battery Pack LP-E6 (น.24) ปลัก๊ ไฟ ชองใสแบตเตอรี่ ไฟแสดงสถานะการประจุไฟ

เครือ่ งประจุไฟรนุ นี้ ถูกออกแบบใหวางในแนวตัง้ หรือวางราบกับพืน้ คำเตือนเพือ่ ความปลอดภัย : เพือ่ ลดความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดขึน้ จากการเกิดประกายไฟและไฟฟาลัดวงจร ใหอานและปฏิบัติตามคูมืออยางละเอียดและใชงานดวยความระมัดระวัง

สำหรับการใชกบั ปลัก๊ ไฟทีม่ ลี กั ษณะตางจากประเทศสหรัฐ สามารถจะใชตวั แปลงเพือ่ เสียบสายไฟของเครือ่ งใหเขา กับรูปแบบของปลั๊กในแตละประเทศได

เครื่องประจุไฟ LC-E6E

สำหรับประจุไฟ Battery Pack LP-E6 (น.24) สายไฟ ไฟแสดงสถานะการประจุไฟ

ชองใสแบตเตอรี่

ชองเสียบสายไฟ


·Ó¤ÇÒÁÃŒ¨Ù ¡ Ñ ¡Ñº¡ÅŒÍ§ ในบทนี้ จะอธิ บ ายการเตรี ย มกล อ งสำหรั บ นำออกไปใช ง าน และความรู พื้ น ฐานในการปรั บ ควบคุ ม กล อ งในขั้ น เบื้ อ งต น

วิธีรอยสายคลองคอ

สอดปลายสายเข า กั บ ช อ งร อ ยสายคล อ งคอ โดยสอดผานทางดานลาง จากนั้นสอดผาน แถบรัด ดังภาพ แล ว จึ ง สอดสายผ า นหั ว เข็ ม ขั ด จากนั้ น ปรั บ สายที่ อ ยู ใ นบริ เ วณดั ง กล า วให ตึ ง และมี ความยาวพอเหมาะ และตรวจสอบดูวาสาย ไดยึดกับกลองดีแลว ฝาครอบชองเล็งภาพจะติดตั้งมากับสาย คลองคอ (น.124)

ฝาครอบชองเล็งภาพ


ารประจุไฟแบตเตอรี่ ถอดฝาครอบออกตามทิศทางของลูกศร

ใสแบตเตอรี่เขากับรองของแทนประจุไฟ ใสแบตเตอรี่ตามลำดับขั้นตอนโดยมีทิศทางตาม ศรชี้ และตรวจดูวาแบตเตอรี่เขาที่อยางแนนหนา เมื่ อ ต อ งการถอดแบตเตอรี่ อ อก ให ทำตามขั้ น ตอน โดยใชลำดับและทิศทางยอนกลับ การประจุไฟแบตเตอรี่ สำหรั บ รุ น LC-E6 ดึงขาของปลั๊กออกมาตามทิศทางของลูกศร และเสียบเขากับปลั๊กไฟที่ผนัง สำหรั บ รุ น LC-E6E เสียบตอสายไฟเขากับชองเสียบของเครื่องประจุ ไฟ จากนั้นเสียบปลายอีกดานหนึ่งเขากับปลั๊กไฟ ที่ ผ นั ง เครื่องประจุไฟจะทำการประจุไฟทันที โดยไฟแสดงสถานะจะติดสวางเปนสีสม ระดั บ การประจุ ไ ฟ 0-49% 50-74% 75% หรื อ มากกว า ประจุ ไ ฟจนเต็ ม

สี ส ม เขี ย ว

ไฟของเครื่ อ งประจุ ไ ฟ ลั ก ษณะที่ แ สดง กระพริ บ ทุ ก ๆ หนึ่ ง วิ น าที กระพริ บ สองครั้ ง ในหนึ่ ง วิ น าที กระพริ บ สามครั้ ง ในหนึ่ ง วิ น าที ติ ด สว า งตลอดเวลา

การประจุไฟจนเต็ม จะใชเวลาประมาณ 2.5 ชม. ที่อุณหภูมิ 23 ํC/73 ํF โดย ระยะเวลาในการประจุไฟจะขึ้นอยูกับอุณหภูมิในเวลานั้น และระดับพลังงานที่ ตองการประจุ ด ว ยเหตุ ผ ลในด า นความปลอดภั ย เมื่ อ ประจุ ไ ฟในอุ ณ หภู มิ ต่ำ 5-10 ํ C/41-50 ํF จะใชเวลานานกวาปกติ (อาจนานถึง 4 ชั่วโมง)


ารประจุไฟแบตเตอรี เคล็ดลับการใชแบตเตอรี่และเครื่องประจุไฟ ประจุไฟแบตเตอรีก่ อ นนำกลองไปใช 1 วัน หรือประจุไฟในวันทีจ่ ะใช

ถึงแมวา จะไมไดใชกลอง หรือเก็บกลองไวในทีจ่ ดั เก็บ แบตเตอรีจ่ ะมีการคายประจุออกไปอยางชาๆ ทีละนอย ทำใหพลังงานในแบตเตอรีค่ อ ยๆ ลดระดับลงไป

ภายหลังจากประจุไฟเต็มแลว ถอดแบตเตอรี่ออกจากเครื่องประจุไฟ และถอดสาย ไฟของเครือ่ งประจุไฟออกจากปลัก๊ ไฟ

ผูใชสามารถใสฝาครอบแบตเตอรี่กลับทาง เพื่อเปนที่สังเกตสวนตัว วาแบตเตอรี่กอนนั้น ได ป ระจุ ไ ฟแล ว หรื อ ไม

ถาแบตเตอรี่กอนนั้นไดถูกประจุไฟเต็มแลว ใหใสฝาปด แบตเตอรี่โดยใหสัญลักษณแบตเตอรี อยูดาน เดี ย วกั น กั บ สติ๊ ก เกอร สี น้ำ เงิ น บนก อ นแบตเตอรี่ และเมื่ อ ใช แ บตเตอรี่ จ นพลั ง งานหมด แลว ใหใสฝาครอบในดานตรงขามกัน ถอดแบตเตอรีอ่ อกจากตัวกลอง เมือ่ ไมไดใชกลองเปนเวลานาน ถาแบตเตอรีถ่ กู ใสไวในตัวกลองทีเ่ ก็บและไมไดใชงานเปนเวลานาน ประจุไฟฟาในแบตเตอรี่ จะคายออกทีละนอยๆ ทำใหอายุการใชงานของแบตเตอรี่สั้นลง ควรถอดแบตเตอรี่ออก จากกลองกอนจะนำไปเก็บ และควรจะเก็บแบตเตอรีโ่ ดยใชฝาครอบไว การนำแบตเตอรีไ่ ปเก็บ ไวเปนเวลานานหลังจากการประจุไฟเต็มก็จะทำใหประสิทธิภาพของแบตเตอรีเ่ สือ่ มลงไดเร็ว ขึ้น เครือ่ งประจุไฟนีส้ ามารถนำไปใชในประเทศตางๆ ได เครื่องประจุไฟรุนนี้ออกแบบใหใชงานไดกับระบบไฟฟากระแสสลับที่มีแรงดันไฟฟาตั้งแต 100 V. จนถึง 240 V. และมีความถีใ่ นชวง 50-60 Hz. ซึง่ ครอบคลุมระบบการจายไฟฟาของ ทุกๆ ประเทศ หามดัดแปลง รือ้ ถอดชิน้ สวนใดๆ โดยเฉพาะหมอแปลงทีอ่ ยใู นเครือ่ งประจุไฟ เพราะจะทำใหเครื่องประจุไฟเกิดความเสียหาย

ถาแบตเตอรี่หมดเร็วมาก แมจะเพิ่งประจุไฟใหมๆ แบตเตอรี่นั้น เสื่ อ มประสิ ท ธิ ภ าพในการเก็ บ ไฟแล ว ตรวจสอบประสิทธิภาพในการประจุไฟของแบตเตอรี่ (น.268) และซือ้ แบตเตอรีก่ อ นใหม

หลังจากถอดเครื่องประจุไฟ หรือสายไฟของเครื่องประจุไฟออกจากปลั๊กไฟแลว ไม ควรใช นิ้ ว สั ม ผั ส ส ว นที่ เ ป น โลหะของเครื่ อ งประจุ ไ ฟทั น ที ควรพั ก ไว 3 วิ น าที หากพลังงานที่เหลืออยูในแบตเตอรี่มีระดับสูงกวา 94% (น.268) เครื่องประจุไฟ จะไมประจุไฟ เครื่องประจุไฟนี้ จะไมสามารถประจุไฟแบตเตอรี่รุนอื่น นอกจาก LP-E6


ารใสและถอดแบตเตอรี่ การใสแบตเตอรี่ ใสแบตเตอรี่ LP-E6 ที่ประจุไฟเต็มแลวเขากับชองใสของตัวกลอง

เปดฝาปดชองใสแบตเตอรี่ ดันสลักของฝาปดไปตามทิศทางของลูกศร ในภาพและเปดฝาออก

ใสแบตเตอรี่เขาสูชองใส หั น แบตเตอรี่ ด า นที่ เ ป น จุ ด สั ม ผั ส เข า ด า นใน ใชนิ้วดันเขาจนสุด กระทั่งแบตเตอรี่ถูกล็อค จนแน น ภายในช อ ง

ป ด ฝากลั บ เข า ที่ ป ด ฝาเข า ที่ เ ดิ ม

ใชไดเฉพาะแบตเตอรี่รุน LP-E6

การถอดแบตเตอรี่ เปดฝาปดและนำแบตเตอรี่ออก ผลักสลักล็อคแบตเตอรี่ตามทิศทางของลูกศรและ นำแบตเตอรี่ออก เพื่อปองกันการลัดวงจร ควรใสฝาครอบแบตเตอรี่ ไวเสมอหลังจากที่นำออกจากกลอง


ารใชจอภาพ LCD

เมื่อเปดจอ LCD ออกมาแลว ผูใชสามารถปรับตั้งฟงกชั่นตางๆ จากเมนู, เล็งภาพดวยระบบ Live View, ใชดูภาพยนตรที่กำลังถาย และเลนดูภาพและภาพยนตรที่ถายมาแลว จอ LCD ของกลองรุนนี้ถูกออกแบบใหปรับทิศทางและมุมมองไดตามที่ตองการ

เปดจอ LCD ออกในทิศทางตามภาพ

หมุนจอ LCD

เมื่ อ เป ด จอ LCD ออกมาแล ว ผู ใ ช ส ามารถ จะหมุ น พลิ ก ขึ้ น -ลง หรื อ หมุ น ไปทางด า นหน า ของกลองก็ได มุ ม ที่ ร ะบุ นั้ น เป น ค า โดยประมาณ

หันจอ LCD เขาหาตัว

สำหรับการถายภาพปกติ จะหันจอ LCD เขาหา ตั ว (ดั ง ภาพ)

ระมั ด ระวั ง อย า ฝ น บิ ด หรื อ ใช แ รงบิ ด ข อ ต อ มากเกิ น ไป อาจทำให ข อ ต อ ของจอเสี ย หาย เมื่ อ ไม ไ ด ใ ช ก ล อ ง ให พั บ จอ LCD เข า ด า นใน โดยให ห น า จอ LCD กลั บ เข า หาตั ว กล อ ง เพื่ อ ป อ งกั น จอภาพ เมื่อเล็งภาพโดยใชระบบ Live View หรือถายภาพยนตร การหันหนาจอ LCD ไปทางดาน หน า จะทำให ตั ว แบบมองเห็ น ภาพของตั ว เองได กลองจะปดการแสดงเมนูกอนที่จะพับเก็บจอภาพในตำแหนงเก็บ โดยขึ้นอยูกับการปรับ มุ ม ของจอ LCD ในขณะนั้ น


ารเปดสวิตซกลอง

เมื่อเปดสวิตซ และกลองแสดงระบบปรับตั้งวันที่และเวลาปรากฏขึ้น ดูหนา 30 เพื่อ ปรับตั้งวันที่/เวลา ใหเรียบรอยเสียกอน กลองถูกเปดการทำงาน กลองถูกปด และไมสามารถปรับควบ คุ ม ใดๆ ให ป รั บ มาที่ ตำแหน ง นี้ เ สมอ เมื่อไมไดใชกลอง

เกี่ยวกับระบบทำความสะอาดเซนเซอรโดยอัตโนมัติ ทุกๆ ครั้งที่สวิตซเปด /ปด ถูกปรับไปที่ และ ระบบทำความสะอาดพื้นผิวของ เซนเซอร จ ะเริ่ ม ทำงานโดยอั ต โนมั ติ ( อาจได ยิ น เสี ย งเบาๆ) และขณะที่ กำลั ง ทำความสะอาด สัญลักษณ จะปรากฎบนจอ LCD ขณะที่ ร ะบบทำความสะอาดเซนเซอร กำลั ง ทำงาน ก็ ส ามารถถ า ยภาพได ทั น ที เ มื่ อ ใช นิ้ ว แตะ ชั ต เตอร เ บาๆ (น.40) เพื่ อ หยุ ด การทำงานของระบบทำความสะอาดเซนเซอร เ สี ย ก อ น

หากผูใชปรับสวิตซ สลับกันอยางรวดเร็ว สัญลักษณ / ปรากฏขึ้ น ถื อ เป น ความปกติ แ ละไม ใ ช ป ญ หาแต อ ย า งใด

จะไม

เกี่ ย วกั บ ระบบป ด การทำงานอั ต โนมั ติ เพื่อความประหยัดพลังงาน กลองจะปดการแสดงผลและการทำงานโดยอัตโนมัติหลังจากไม มีการปรับควบคุมใดๆ ติดตอกันเปนเวลา 1 นาที เมื่อตองการใชกลองอีก ผูใชเพียงแตแตะ ชัตเตอรลงครึ่งหนึ่ง จอภาพจะแสดงผลและกลองจะกลับสูการทำงานตามปกติ (น.40) ผู ใ ช ส ามารถปรั บ เปลี่ ย นระยะเวลาในการป ด การทำงานของกล อ งได จ ากการปรั บ ตั้ ง ใน Auto Power Off] (น.50) เมนู [ เมื่อสวิตซถูกปรับไปที่ตำแหนง <OFF> ในขณะที่กลองกำลังบันทึกขอมูลลงในการด สั ญ ลั ก ษณ [Recording.....] จะปรากฎขึ้นบนจอภาพ และกลองจะปดการทำงาน ภายหลังจากที่ไดบันทึกไฟลของภาพนั้นลงในการดจนเสร็จสมบูรณ


ารเปดสวิตซกลอง การตรวจสอบระดับพลังงานของแบตเตอรี่ เมื่อปรับสวิตซไปที่ตำแหนง จอ LCD จะแสดงระดับพลังงานหนึ่งใน 6 ระดับ และถ า ปรากฎเป น สั ญ ลั ก ษณ แ บตเตอรี่ ก ระพริ บ ( ) หมายถึงแบตเตอรี่ใกลจะหมด พลังงานแลว สั ญ ลั ก ษณ ระดั บ (%)

อายุการใชพลังงานของแบตเตอรี่ อุ ณ หภู มิ ไม ใ ช แ ฟลช ใช แ ฟลช 50%

ประมาณ 1600 ภาพ ประมาณ 1100 ภาพ

ประมาณ 1400 ภาพ ประมาณ 1000 ภาพ

ตั ว เลขในตารางข า งต น ได ม าจากการทดสอบด ว ยแบตเตอรี่ LP-E6 ที่ ป ระจุ ไ ฟเต็ ม โดยไม ไ ด ใ ช ระบบ Live View และทดสอบตามการทดสอบมาตรฐานของสมาคมกล อ งและการถ า ย ภาพ(CIPA) จำนวนภาพที่ ถ า ยได เ มื่ อ ใช Battery Grip BG-E9 เมื่ อ ใช LP-E6X2 จะได จำนวนภาพเพิ่ ม ขึ้ น 2 เท า เที ย บกั บ เมื่ อ ไม ไ ด ใ ช Battery Grip เมื่ อ ใช แ บตเตอรี่ อั ล คาไลน AA/LR6 ที่ 23 ํ C / 73 ํ F : ประมาณ 550 ภาพเมื่ อ ไม ไ ด ใ ช แ ฟลช และประมาณ 410 ภาพ เมื่ อ ใช แ ฟลช 50% ของภาพที่ ถ า ย

จำนวนภาพที่ ถ า ยได จ ริ ง อาจน อ ยกว า ที่ แ สดงไว ใ นตาราง โดยขึ้ น อยู กั บ สภาพแวดลอมและลักษณะการใชงาน ดังตอไปนี้ แตะปุ ม ชั ต เตอร ล งครึ่ ง หนึ่ ง บ อ ยๆ หรื อ เป น เวลานาน มักจะใชระบบ AF จับภาพบอยๆ โดยไมไดถายภาพ เปดดูภาพบอยๆ หรือใชจอ LCD ปรับตั้งบอยๆ เมื่ อ ใช กั บ เลนส ที่ มี ร ะบบลดภาพสั่ น (IS) การทำงานของเลนส นั้ น อาศั ย แบตเตอรี่ ข องกล อ ง ซึ่ ง เลนส บ างตั ว อาจจะใช พลั ง งานมาก และทำให จำนวนภาพที่ ถ า ยได มี ป ริ ม าณลดลง อายุการใชงานของแบตเตอรี่เมื่อใชระบบ Live View อานรายละเอียดหนา 153 Battery Info.] เพือ่ ตรวจสอบรายละเอียดของระดับพลังงาน ดู เ มนู [ และแบตเตอรี(่ น.268) เมื่อใชแบตเตอรี่ขนาด AA / LR6 กับ Battery Grip BG-E9 การแสดงผลของระดับ พลังงานจะเปลี่ยนเปน 4 ขั้น (สัญลักษณนี้ จะไมแสดงผล)


ารตั้งวันที่และเวลา

เมื่อเปดสวิตซกลองเปนครั้งแรก หรือเมื่อวันที่/เวลา ของตัวกลองไดถูกตั้งใหม(reset) กลอง จะแสดงหน า จอสำหรั บ ปรั บ ตั้ ง วั น ที่ / เวลา ให ทำตามขั้ น ตอนที่ 3 และ 4 เพื่ อ ตั้ ง วั น ที่ / เวลา ให ถู ก ต อ ง โปรดทราบวา วันที่/เวลา จะเปนขอมูลที่แนบไปพรอมกับไฟลภาพที่ถาย ดังนั้น จึงควรตั้ง วันที่/เวลา ใหถูกตอง

แสดงเมนู กดปุม ตางๆ

เพื่อแสดงรายการตัวเลือก

ในแถบ [ ] เลือก [Date/Time] กดปุม รายการ [ กดปุม

]

(วั น ที่ / เวลา) เพื่อเลือกแถบ

ของ

ของ จากนั้ น กดปุ ม

[Date/Time] ตั้งวันที่และเวลา

เพื่อเลือก

กดปุม ของ เพื่ อ เลื อ กตั ว เลขวั น ที่ แ ละเวลา กดปุม เพื่อให < > ปรากฏขึ้น กดปุม ของ เพื่ อ ตั้ ง ตั ว เลข จากนั้นกดปุม (กลับไปที่ )

ออกจากการปรับตั้ง

กดปุม ของ เพื่อเลือก [OK] จากนั้ น กดปุ ม วั น ที่ / เวลา จะถู ก ปรั บ ตั้ ง และเมนู ร ายการตั ว เลือกจะกลับมาปรากฏอีกครั้ง

หากเก็บกลองไวเปนเวลานานโดยไมไดใสแบตเตอรี่ หรือแบตเตอรี่หมดพลังงาน วัน ที่ / เวลา อาจจะถู ก เปลี่ ย นค า ไป หากเป น เช น นี้ ให ทำการตั้ ง ค า ใหม วั น ที่ / เวลา ที่ ป รั บ ตั้ ง ไว จะเริ่ ม มี ผ ลตั้ ง แต เ มื่ อ กดปุ ม

ในขั้ น ตอนที่ 4


ลือกภาษา

แสดงเมนู กดปุม ตางๆ

เพื่อแสดงรายการตัวเลือก

ในแถบ [ ] เลือก [Language กดปมุ

[ ]

กดปุม

[Language

ของ

ของ เพื่อเลือก ] จากนั้ น กดปุ ม

เลื อ กภาษาที่ ต อ งการ กดปุม จากนั้ น กดปุ ม

]

(ภาษา) เพือ่ เลือกแถบรายการ

ของ

เพื่อเลือกภาษา

ภาษาจะถู ก เปลี่ ย นเป น ภาษาที่ ตั้ ง ไว ใ หม


ธใี สและนำการด SD ออกจากกลอง

กลองรุนนี้ก็ไดออกแบบมาสำหรับใชการดบันทึกขอมูลชนิด SD, SDHC และ SDXC ซึ่งภาพ ที่ ถ า ยจะถู ก บั น ทึ ก ลงในการ ด (เป น อุ ป กรณ ที่ ต อ งซื้ อ ต า งหาก) กอนนำการดมาใช ตรวจสอบดูเสียกอนวา สวิตซปองกันการบันทืกไดถูกเลื่อน ขึ้นไปดานบน เพื่อใหการดนั้นสามารถบันทึกขอมูลภาพได

การใสการด

เปดฝาปดชองใสการด

เลื่ อ นฝาป ด ช อ งใส ก าร ด ตามทิ ศ ทางของลู ก ศร เพื่อเปดฝาออก

สวิ ต ซ ป อ งกั น การบั น ทึ ก

ใสการด

ดังที่แสดงไวในภาพ ใหหันสวนบนของการด ขึ้นทางดานบน สอดการ ด เข า สู ช อ งใส ปรั บ ให ต รง และดั น เข า จนสุดทาง

ปดฝา

ป ด ฝาตามทิ ศ ทางของลู ก ศร และดั น ให ป ด จนมี เสี ย งเบาๆ เมื่ อ ปรั บ สวิ ต ซ เ ป ด /ป ด กล อ งไปที่ ตั ว เลขบอกจำนวนภาพที่ ส ามารถถ า ยได ทั้ ง หมด สำหรั บ การ ด แผ น นี้ จ ะปรากฎขึ้ น บนจอ LCD

จำนวนภาพที่ ถ า ยได จำนวนภาพที่ถายไดทั้งหมดขึ้นอยูกับความจุที่ยังคงเหลืออยูของการด, คุณภาพ ในการบันทึก, ความไวแสง ฯลฯ เมื่ อ ตั้ ง เมนู [ Release shutter without card] เป น [Disable] จะชวย ปองกันไมใหผูใชถายภาพโดยลืมใสการด (น.278)


ธใี สและนำการด SD ออกจากกลอง การนำการดออกจากกลอง ไฟแสดงสถานะของการด

เปดฝาปดชองใสการด

ปรั บ สวิ ต ซ เ ป ด /ป ด การทำงานไปที่ ตรวจดูวาตัวอักษร “Recording....” ไมไดปรากฏ อยูที่จอ LCD ตรวจสอบดูวา ไฟแสดงสถานะของการดปด จากนั้นจึงเปดฝาปด

นำการดออกจากชองใส

คอยๆ ดันที่ดานทายของการด การดจะเลื่อนออก มาเล็ ก น อ ย ดึงการดออกจากชองใส จากนั้นปดฝา

ขณะที่ ไ ฟบอกสถานะของการ ด ติ ด สว า งหรื อ กระพริ บ หมายถึ ง ไฟล ภ าพกำลั ง ถู ก บันทึกหรือการดกำลังถูกอานขอมูล กำลังลบไฟล หรือไฟลภาพกำลังถูกถายโอน ออกไป ในขณะที่ไฟบอกสถานะนี้กำลังติดสวางหรือกระพริบ ไมควรทำสิ่งตางๆ ตามรายการดานลาง เพราะอาจทำใหขอมูลภาพเสียหาย และอาจทำใหเกิดความ เสียหายตอการดและตัวกลองดวย เป ด ฝาป ด ช อ งใส ก าร ด เป ด ฝาป ด ช อ งใส แ บตเตอรี่ เขยาหรือกระแทกกลองอยางแรง ถ า การ ด แผ น นั้ น เคยถู ก ใช ถ า ยภาพแล ว หมายเลขภาพจะไม เ ริ่ ม ต น จาก 0001 (น.106) ห า มใช นิ้ ว สั ม ผั ส ที่ จุ ด สั ม ผั ส ของการ ด และระมั ด ระวั ง การขู ด ข ว นจากโลหะ ถ า มี ข อ ความเตื อ นเกี่ ย วกั บ ความบกพร อ งผิ ด ปกติ ข องการ ด ปรากฎบนจอ LCD ให ล อง ถอดการ ด ออกและเสี ย บการ ด เข า ไปใหม ถ า ยั ง มี ข อ ความเตื อ นปรากฎอยู ให ใ ช ก าร ด แผ น อื่ น ๆ และถ า สามารถถ า ยโอนข อ มู ล ภาพของการ ด แผ น ที่ มี ป ญ หาลงในคอมพิ ว เตอร ได ให ถ า ยโอนไฟล ทั้ ง หมดให เ รี ย บร อ ย จากนั้ น ทำการฟอร แ มทการ ด ใหม (น.48) การ ด ที่มีป ญ หาก็อาจจะกลับมาทำงานได ต ามปกติ สำหรั บ การ ด ชนิ ด SDHC และ SDXC ซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ UHS(Ultra High Speed) จะมี ความเร็วในการบันทึกขอมูลในระดับ SD Speed Class 10


ธใี สและถอดเลนส การใสเลนส

ถอดฝาปดของกลองและเลนส

ถอดฝาปดดานทายเลนส และฝาปดเมาท ของกลองออก โดยหมุนตามทิศทางของลูกศร

เครื่ อ งหมายสี ข าว

เครื่องหมายสีแดง

ใสเลนส

สอดท า ยเลนส เ ข า หาเมาท ข องกล อ ง โดยให เครื่ อ งหมายบนกระบอกเลนส มี สี ต รงกั บ สี ข อง เครื่ อ งหมายบนตั ว กล อ ง แล ว จึ ง หมุ น ตามทิ ศ ทางของลูกศรจนเขาที่

ปรั บ สวิ ต ซ ที่ ก ระบอกเลนส ไ ปที่ (ออโตโฟกัส)

ถ า สวิ ต ซ นี้ ถู ก ปรั บ ไว ที่ (แมนนวลโฟกัส) ระบบออโตโฟกัสจะไมทำงาน

ถอดฝาปดหนาเลนสออก


ธใี สและถอดเลนส การลดปริ ม าณฝุ น ที่ เ ข า ไปภายในตั ว กล อ ง ควรถอดเปลี่ ย นเลนส ใ นบริ เ วณที่ มี ฝุ น ละอองน อ ย เมื่ อ เก็ บ กล อ งโดยไม ไ ด ส วมเลนส ไ ว กั บ กล อ ง ควรใช ฝ าป ด เมาท ข องกล อ งเสมอ เป า หรื อ ป ด ฝุ น ที่ ฝ าป ด ตั ว กล อ งก อ นป ด เสมอ

เกี่ ย วกั บ การซู ม เมื่ อ ต อ งการซู ม ใช นิ้ ว มื อ หมุ น วงแหวนซู ม ของเลนส หากตองการซูมเพือ่ จัดภาพใหเหมาะสม ใหซมู กอน ที่จะโฟกัส เพราะการซูมหลังจากที่โฟกัสไดแลวอาจ จะทำใหความชัดคลาดเคลือ่ นไปเล็กนอย

การถอดเลนส ขณะที่ ก ดปุ ม ปลดล็ อ คเลนส ค า งอยู ให ห มุ น กระบอกเลนสตามทิศทางของลูกศร หมุนเลนสไปจนสุดทาง แลวจึงดึงออกตรงๆ เมื่ อ ถอดเลนส อ อกจากกล อ งแล ว ให ใ ช ฝ าป ด ท า ยเลนส ป ด ไว เ พื่ อ ป อ งกั น ฝุ น


ธใี สและถอดเลนส สำหรับผูใชเลนส EF-S 18-200mm f/3.5-5.6 IS : ผูใชสามารถปองกันไมใหกระบอกเลนสยืดตัวออกไปใน ขณะพกพา โดยหมุ น วงแหวนซู ม ไปที่ ช ว งมุ ม กว า ง 18mm จากนั้นเลื่อนสวิตซสำหรับล็อคกระบอกเลนสไป ที่ สามารถล็อคกระบอกเลนสไดตอเมื่อซูม เลนส ไ ปที่ มุ ม กว า งที่ สุ ด เท า นั้ น

หามใชเลนสสองดูดวงอาทิตยโดยตรง เพราะจะเกิดอันตรายอยางมากตอดวงตา ในขณะที่วงแหวนโฟกัสมีการหมุนในขณะเลนสกำลังคนหาความชัด หามใชนิ้วสัมผัสวงแหวน

การเทียบคาความยาวโฟกัส

เพราะเซนเซอร มี ข นาดเล็ ก กว า ฟ ล ม 35mm ดังนั้นภาพที่เห็นและถายไดจึงมี ขนาดใหญขนึ้ เหมือนเลนสทใี่ ชมคี วามยาว โฟกัสสูงขึ้นอีก 1.6 เทา(1.6x)

ขนาดของเซนเซอร (22mm x 14.9mm/0.88x0.59in) ขนาดของฟลม 35mm (36mm x 24mm/1.42x0.94in)


ารใชฮูดของเลนส

เมื่ อ นำฮู ด (กรวยบั ง แสง) มาติ ด ตั้ ง ไว กั บ เลนส ฮู ด จะช ว ยลดการเกิ ด ภาพเงา หลอก(Ghosting) และแฟลร ( Flare) โดยการป อ งกั น แสงไม ใ ห ส อ งกระทบกั บ หน า เลนส โดยตรง ฮู ด ยั ง ช ว ยป อ งกั น ผิ ว หน า เลนส จ ากน้ำ ฝน หิ ม ะ ฝุ น ฯลฯ แม ว า ฮู ด จะเป น อุ ป กรณ เ สริ ม พิ เ ศษที่ แ ยกจำหน า ย แต เ ลนส KIT บางรุ น ก็ จ ะมี ฮู ด มาพร อ ม ในกลองบรรจุดวย

การติ ด ตั้ ง ฮู ด ที่ ไ ม มี เ ครื่ อ งหมายดั ช นี ติดตั้งฮูด

หมุนฮูดตามทิศทางของลูกศรในภาพ จนฮูดติดเขากับเลนสอยางมั่นคง

การติ ด ตั้ ง ฮู ด ที่ มี เ ครื่ อ งหมายดั ช นี ทาบเครื่ อ งหมายดั ช นี สี แ ดงของฮู ด ให ตรงกับเลนส ทาบเครื่องหมายดัชนีสีแดง ของฮูด ใหตรงกับเครื่องหมายดัชนีของเลนส

ติดตั้งฮูด

หมุนฮูดตามทิศทางของลูกศรในภาพ จนเครื่อง หมาย บนฮูด ตรงกันกับเครื่องหมาย บนหนาเลนส

เมื่ อ ต อ งการถอดฮู ด ออก ให จั บ ฐานของฮู ด (ด า นที่ ติ ด กั บ เลนส ) ให แ น น ขณะกำลั ง หมุ น อย า จั บ ที่ ด า นนอกของฮู ด เพราะอาจทำให ฮู ด เสี ย รู ป ทรงได หากติ ด ตั้ ง ฮู ด ไม ถู ก ต อ ง เงาของฮู ด อาจจะปรากฏอยู ภ ายในภาพที่ ถ า ยในบริ เ วณ ขอบภาพ ซึ่ ง ขอบภาพจะดู ค ล้ำ หรื อ มื ด ก อ นที่ จ ะถ า ยภาพโดยใช แ ฟลชในตั ว กล อ ง ควรถอดฮู ด ออกเสี ย ก อ น มิ เ ช น นั้ น ฮู ด อาจ จะบั ง แสงของแฟลช และทำให เ กิ ด บริ เ วณที่ มื ด ขึ้ น ในภาพ สามารถสวมฮู ด กลั บ ทางได เมื่ อ ต อ งการเก็ บ เลนส


กีย่ วกับระบบ Image Stabilizer(IS) เมื่อใชเลนสที่ติดตั้งระบบลดภาพสั่น(IS) เลนสจะชวยลดการสั่นไหวที่มีผลทำใหภาพไมชัด การอธิบายขั้นตอนการปรับตั้งนี้ ใชเลนส EF-S 18-135mm f/3.5-5.6 IS* มาเปนตัวอยาง * IS เปนตัวยอของระบบ Image Stabilizer

ปรับสวิตซ IS ไปที่

ปรับสวิตซเปด/ปด การทำงานของกลองไปที่

ใชนิ้วแตะปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่ง

ระบบช ว ยลดภาพสั่ น หรื อ IS จะเริ่ ม ทำงาน

ถ า ยภาพ

เมื่ อ ภาพที่ เ ห็ น จากช อ งเล็ ง ภาพดู นิ่ ง แล ว จึงกด ชัตเตอรลงจนสุดเพื่อถายภาพ

ระบบ Image Stabilizer จะทำงานไมไดผลดีนักเมื่อใชถายภาพสิ่งที่เคลื่อนที่ ระบบ Image Stabilizer อาจทำงานไมดีนักเมื่อใชถายภาพในขณะที่กำลังยืนอยูบนพื้นที่ ซึ่ ง มี ค วามสั่ น มาก หรื อ พื้ น ที่ ที่ มี ก ารเคลื่ อ นไหวมาก เช น ในขณะล อ งอยู ใ นเรื อ ลำเล็ ก ๆ ระบบ Image Stabilizer จะทำงานแม ว า จะปรั บ สวิ ต ซ เ ลื อ กระบบโฟกั ส ไปที่ <AF> หรื อ

<MF>

เมื่ อ ตั้ ง กล อ งไว บ นขาตั้ ง กล อ ง ซึ่ ง ไม มี ค วามจำเป น ต อ งใช ร ะบบ Image Stabilizer ควรปรั บ สวิ ต ซ ข องระบบ IS ไว ที่ <OFF> เพื่ อ ให ป ระหยั ด พลั ง งาน ระบบ Image Stabilizer จะทำงานได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ แม ว า จะตั้ ง กล อ ง ไวบนขาตั้งกลองแบบขาเดี่ยว(monopod) ก็ตาม เลนส IS บางรุนออกแบบใหผูใชเลือกปรับระบบการทำงานของ IS ไดหลายแบบ เพื่อให เหมาะสมกั บ ลั ก ษณะการถ า ยภาพ อย า งไรก็ ดี เลนส ต อ ไปนี้ จะปรั บ เปลี่ ย นระบบการ ทำงานของระบบ IS ให โ ดยอั ต โนมั ติ


น ฐานการปรับควบคุมกลอง ปรับภาพในชองเล็งภาพใหคมชัด หมุ น ปรั บ ลู ก บิ ด ปรั บ แก ส ายตา หมุนปรับลูกบิดไปทางซายและขวา เพื่อใหกรอบเล็งของจุดโฟกัสทั้ง 9 จุด มีความคมชัดที่สุด ถ า ยั ง ไม ส ามารถปรั บ แก ส ายตาจนเห็ น ภาพในช อ งเล็ ง ภาพที่ ค มชั ด ได แนะนำให ใ ช Dioptric Adjustment Lens E (มี 10 ชนิดใหเลือก, อุปกรณเสริมพิเศษ)

การจับถือกลอง เพื่ อ ให ภ าพคมชั ด พยายามถื อ กล อ งให มั่ น คงและนิ่ ง ที่ สุ ด เพื่ อ ไม ใ ห ภ าพสั่ น

การถือกลองถายภาพแนวนอน

แนวนอน

การถือกลองถายภาพแนวตัง้

1. ใชมือขวาจับกริปของกลองใหมั่นคง ถนัดมือ 2. ใชมือซายประคองใตเลนส 3. แตะปุ ม ชั ต เตอร เ บาๆ ด ว ยนิ้ ว ชี้ ข องมื อ ขวา 4. แนบแขนและขอศอกเขากับลำตัวโดยไมเกร็ง 5. แนบกลองกับใบหนาและมองผานชองเล็งภาพ 6. เพื่ อ ให ยื น ได มั่ น คง แยกเท า ข า งหนึ่ ง ออกไปด า นหน า ปลายเท า เป ด สำหรั บ การเล็ ง ภาพด ว ยจอ LCD ของกล อ งแทนการใช ช อ งเล็ ง ภาพ อ า นรายละเอี ย ด น.57


น ฐานการปรับควบคุมกลอง การใชปุมชัตเตอร การทำงานของปุมชัตเตอรแบงเปนสองจังหวะ คือเมื่อแตะลงไปครึ่งหนึ่ง กลองจะโฟกัส วัดแสง และแสดงผล เมื่อกดลงจนสุด ชัตเตอรจะลั่นเพื่อถายภาพนั้น

เมื่อแตะปุมชัตเตอรเบาๆ (กดลงครึ่งทาง)

ระบบออโตโฟกัสจะเริ่มทำงาน มีการแสดง ผลของคาแสง(ชัตเตอร/ชองรับแสง) จากระบบ วัดแสงที่เลือก คาแสงจะแสดงอยูทางดานลาง สุดของจอ LCD ภายในชองเล็งภาพ

เมื่อกดชัตเตอรลงจนสุด

ชัตเตอรจะลั่น และกลองจะบันทึกภาพนั้นไว

ป อ งกั น ภาพสั่ น

ความสั่นของมือที่จับกลอง ตลอดจนความสั่นของพื้นที่ซึ่งยืนถายภาพอยูมักจะมีผลทำให ภาพที่ถายมีความสั่นและพรามัว และทำใหภาพลดความคมชัดลงไป โดยขึ้นอยูกับความ สั่ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น มากหรื อ น อ ย เพื่ อ ป อ งกั น ภาพสั่ น ให ป ฏิ บั ติ ดั ง นี้ ถื อ กล อ งให ก ระชั บ มื อ ด ว ยท า ทางที่ มั่ น คง ดั ง ที่ แ นะนำก อ นหน า นี้ แตะปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่ง เพื่อใหระบบออโตโฟกัสทำงาน แลวจึงกดชัตเตอรลงจนสุด

เมื่ อ ใช Creative Zone การกดปุ ม < > จะใหผลเชนเดียวกับการแตะปุม ชั ต เตอร ล งครึ่ ง หนึ่ ง หากผู ใ ช ก ดปุ ม ชั ต เตอร ล งจนสุ ด ทั น ที โดยไม แ ตะปุ ม ชั ต เตอร เ พื่ อ ให ก ล อ งหาโฟกั ส เสี ย ก อ น หรื อ แตะปุ ม ชั ต เตอร ล งครึ่ ง หนึ่ ง แล ว กดลงจนสุ ด ทั น ที แ ทบจะพร อ มๆ กั น กล อ ง จะหยุ ด ชะงั ก ไปครู ห นึ่ ง ก อ นที่ ชั ต เตอร จ ะลั่ น เพื่ อ ถ า ยภาพนั้ น ในขณะที่กลองแสดงรายการตางๆ ของเมนู เลนดูภาพ หรือกำลังประมวลผลและบันทึก ไฟล ข อ มู ล ลงในการ ด ผู ใ ช ส ามารถสั่ ง ให ก ล อ งกลั บ ไปพร อ มถ า ยภาพต อ ไปได ทั น ที เ มื่ อ ใช นิ้ ว แตะปุ ม ชั ต เตอร ล งครึ่ ง หนึ่ ง


น ฐานการปรับควบคุมกลอง วงแหวนควบคุมหลัก หมุ น วงแหวนควบคุ ม หลั ก ในขณะที่ ก ดปุ ม ที่ กึ่ ง กลาง ของวงแหวน

เลือกรายการ/ปรับคา ดวยวงแหวนควบคุมหลัก (1) เมื่ อ กดปุ ม ใดปุ ม หนึ่ ง แล ว หมุ น วงแหวน ควบคุมหลัก < >

เมื่อกดปุมใดๆ ก็ตาม เชน , หรือ ฟ ง ก ชั่ น นั้ น ๆ จะรอการปรั บ ตั้ ง อยู เ ป น เวลา ประมาณ 6 วินาที ซึ่งในระหวางนี้ สามารถหมุน วงแหวน เพื่อปรับตั้งตามที่ตองการได เมื่ อ ฟ ง ก ชั่ น ที่ เ ลื อ กถู ก ป ด ไปแล ว หรื อ เมื่ อ แตะชั ต เตอร เบาๆ ลงครึ่งหนึ่ง กลองจะพรอมถายภาพทันที ใช ว งแหวนควบคุ ม หลั ก ในการหมุ น ปรั บ เลื อ ก ระบบวัดแสง ระบบออโตโฟกัส ความไวแสง จุดโฟกัส ฯลฯ

(2) เมื่อหมุนเฉพาะ <

>

ในขณะที่ ม องผ า นทางช อ งเล็ ง ภาพ หรื อ ดู ที่ จ อ LCD สามารถหมุนวงแหวน เพื่อปรับคาได ใช ว งแหวนควบคุ ม หลั ก ในการปรั บ ค า ความไว ชัตเตอร ชองรับแสง ฯลฯ


น ฐานการปรับควบคุมกลอง เลือกรายการ/ปรับคา ดวยวงแหวนควบคุมแบบเร็ว (1) เมื่ อ กดปุ ม ใดปุ ม หนึ่ ง แล ว หมุ น วงแหวน

ควบคุ ม แบบเร็ ว

เมื่อกดปุมใดๆ ก็ตาม เชน , หรือ ฟ ง ก ชั่ น นั้ น ๆ จะรอการปรั บ ตั้ ง อยู เ ป น เวลา ประมาณ 6 วินาที ซึ่งในระหวางนี้ สามารถ หมุ น วงแหวน เพื่ อ ปรั บ ตั้ ง ตามที่ ต อ งการได เมื่ อ ฟ ง ก ชั่ น ที่ เ ลื อ กถู ก ป ด ไปแล ว หรื อ เมื่ อ แตะชั ต เตอร เบาๆ กล อ งจะพร อ มถ า ยภาพทั น ที ใช ว งแหวนควบคุ ม แบบเร็ ว ในการหมุ น ปรั บ เลื อ ก ระบบ AF ระบบขับเคลื่อน ความไวแสง ระบบวัด แสง จุดโฟกัส ฯลฯ

(2) เมื่ อ หมุ น เฉพาะ ในขณะที่มองในชองเล็งภาพ หรือดูที่จอ LCD สามารถ หมุนวงแหวน เพื่อปรับคาได ใชวงแหวนควบคุมแบบเร็วเพื่อชดเชยแสง ปรับ ชองรับแสงเมื่อถายภาพดวยระบบแมนนวล ฯลฯ

การใชปุม UNLOCK

เมื่อใชระบบบันทึกภาพภายใน Creative Zone ผูใชสามารถจะใชเมนู [ Lock ] และตั้ ง เป น [Enable] เพื่ อ ป อ งกั น ไม ใ ห ว งแหวนควบคุ ม แบบเร็ ว ถู ก หมุ น และทำให ร ะบบ เหลานี้เปลี่ยนไปโดยไมไดตั้งใจ คาการชดเชยแสง (เมื่อถายภาพดวยระบบ  ) ขนาดชองรับแสง เมื่อถายภาพดวยระบบแมนนวล ขนาดชองรับแสง เมื่อถายภาพดวยชัตเตอร B เมื่ อ ตั้ ง [Lock : Enable] ปุม ซึ่งอยูทางดานลางของวงแหวนควบคุม แบบเร็ ว จะทำให ก ารปรั บ ตั้ ง [Lock ] ถูกยกเลิกไดเปนการชั่วคราว ผูใชสามารถเปลี่ยนการตั้งคาได โดยกดปุม และหมุน < > ( ในระบบภาพยนตร)


น ฐานการปรับควบคุมกลอง การใชปุม Multi-controller ใช เ พื่ อ เลื อ กจุ ด โฟกั ส ปรั บ ตั้ ง สมดุ ล สี ข าวให เหมาะสม เลื่ อ นจุ ด โฟกั ส หรื อ เลื่ อ นกรอบขยาย ภาพในขณะที่ ถ า ยภาพด ว ย Live View หรื อ เลื่ อ นไปทั่ ว บริ เ วณของภาพในขณะขยายดู ภ าพ โดยสามารถกดได 8 ทิศทาง เมื่ อ กำลั ง เลื อ กเมนู หรื อ ใช จ อปรั บ ควบคุ ม แบบ เร็ ว ปุ ม Multi-controller จะทำงานเฉพาะ ในทิศทาง และ เทานั้น

เปดไฟสองจอ LCD เมื่อกดปุม เพื่อเปดไฟสองจอ LCD ไฟจะติด สว า งอยู เ ป น เวลา 6 วิ น าที และกดซ้ำ เมื่ อ ตองการปดไฟ และในขณะถายภาพดวยชัตเตอร B เมื่อกดชัตเตอรลงจนสุดเพื่อถายภาพ ไฟจะดับทันที

การแสดงขอมูลการปรับตั้ง หลังจากกดปุม กลองจะแสดงขอมูลที่ถูกปรับตั้งไวที่จอ LCD ผูใชสามารถหมุน วงแหวนควบคุมหลักเพื่อดูการปรับตั้งของแตละระบบบันทึกภาพได(น.266) และเมื่อ ตองการใหกลองแสดงหนาจอปรับตั้งอยางรวดเร็ว ใหกดปุม (น.44,67) และเมื่อ ตองการยุติการแสดงขอมูล ใหกดปุม อีกครั้งหนึ่ง


ารใชจอภาพในการปรับตั้งอยางรวดเร็ว

ผูใชสามารถจะเลือกฟงกชั่นที่ปรากฏบนจอภาพ และปรับตั้งตามที่ตองการไดโดยตรง เรียก การทำงานแบบนี้วา การใชจอภาพในการปรับตั้งอยางรวดเร็ว(Quick Control Screen)

แสดงระบบตางๆ ที่จอภาพ กดปุ ม จอภาพจะแสดงฟงกชั่นตางๆ

เลือกฟงกชั่นที่ตองการปรับตั้ง

⌦  

ใชปุม และ บน เพื่อเลือกฟงกชั่นที่ตองการ ฟ ง ก ชั่ น ที่ ถู ก เลื อ กแล ว จะปรากฎบนแถบแสงที่ หน า จอ หมุนวงแหวน หรือ เพื่อเปลี่ยน เป น แบบที่ ต อ งการ ⌦  

ถ า ยภาพ

กดชัตเตอรจนสุดเพื่อถายภาพ จอ LCD จะดับ เพื่อแสดงภาพที่ถายแลว

เมื่อถายภาพดวย Creative Zone ฟงกชั่นที่เลือกปรับไดจะแตกตางจากกรณีที่ถาย ภาพดวย Basic Zone(น.67)


ารใชจอภาพในการปรับตัง้ อยางรวดเร็ว รายละเอียดในสวนตางๆ ของจอปรับตั้งอยางรวดเร็ว Picture Style (น.90) ความไวชัตเตอร (น.114) ระบบบันทึกภาพ * (น.20)

ชดเชยแสง / ถายภาพครอม (น.121) ชดเชยแสงแฟลช (น.132) ระบบออโตโฟกัส (น.76) จุดโฟกัส (น.78) ระบบวัดแสง (น.119) สมดุลสีขาว (น.96)

ชองรับแสง (น.116) เพิม่ รายละเอียดในสวนสวาง* (น.255) ความไวแสง (น.88) ระบบขับเคลือ่ น (น.81) เสนระดับอีเลคทรอนิคส (น.127) ปรับแตงการทำงาน (น.257)

คุณภาพในการบันทึกภาพ (น.84) ปรับความเขมสวางอัตโนมัติ (น.101)

ฟงกชั่นที่มีเครื่องหมายดอกจันจะไมสามารถปรับตั้งไดดวยจอปรับตั้งอยางรวดเร็ว

การแสดงฟงกชั่นที่ถูกปรับตั้ง

เมื่ อ ใช จ อภาพในการปรั บ ตั้ ง อย า งรวดเร็ ว เลือกฟงกชั่นที่ตองการปรับตั้ง กดปุม รายการภายในฟ ง ก ชั่ น ที่ เ ลื อ กนั้ น จะปรากฏ ขึ้น (ยกเวน ความไวชัตเตอรและชองรับแสง) หมุนวงแหวน หรือ เพื่อเลือก คาหรือรูปแบบที่ตองการ และภายในตัวเลือก ที่กำลังปรับตั้ง สามารถจะใช เพื่อ เปลี่ยนแปลงคาของฟงกชั่นนั้นได กดปุม เพื่อยืนยันและสิ้นสุดการปรับ ตั้งและกลับสูจอของการปรับตั้งอยางรวดเร็ว และในขณะที่ เ ลื อ ก หรือ ผูใชสามารถกลับสูหนาจอของ การปรับตั้งอยางรวดเร็วไดโดยการกดปุม


ารปรับตัง้ ควบคุมเมนู MENU

ดวยเมนู ผูใชสามารถจะเลือกปรับตั้งไดมากมายจากรายการของตัวเลือก เชน ปรับคุณภาพ ในการบันทึก ตั้งวันที่/เวลา ฯลฯ เมื่อกดปุม และมองที่จอ LCD ที่อยูทางดาน หลังของกลอง และใชปุม และ เพื่อเลือกรายการที่ตองการ จากนั้นกดปุม

ปมุ เมนู ปมุ ยืนยัน จอ LCD ปมุ เลือ่ นรายการ

รายการของเมนู เมื่อเลือกระบบถายภาพภายใน Basic Zone, Creative Zone และระบบถายภาพยนตร แถบรายการและตัวเลือกจะแตกตางกันไป ⌦     

⌦  

ถายภาพ แถบ รายการ รายการตัวเลือก

เลนดูภาพ

ปรับตัง้ การทำงาน Custom Functions My Menu

การปรับตั้ง


ารปรับตัง้ ควบคุม menu วิ ธี ป รั บ ตั้ ง เมนู

แสดงรายการตางๆ ในเมนู กดปุม

เพื่อแสดงรายการตางๆ

เลื่อนแถบเพื่อเลือกรายการ กดปุม

เพื่อเลือกรายการ

เลือกรายการที่ตองการ กดปุม เพื่อเลือกรายการ จากนั้ น กดปุ ม

เลือกคาที่ตองการปรับตั้ง

กดปุม หรือ เพื่อเลือก คาที่ตองการปรับตั้ง (การปรับตั้งบางรายการนั้น ผูใชตองใชทั้งปุม และ เพื่อ เลือกรายการ) รายการที่ กำลั ง ปรั บ ตั้ ง อยู นั้ น จะเป น สี น้ำ เงิ น

ยื น ยั น การปรั บ ตั้ ง กดปุ ม

เพื่ อ ยื น ยั น การปรั บ ตั้ ง

ออกจากการปรับตั้ง

กดปุม เพื่อออกจากการปรับตั้งใน เมนู และกลับสูการถายภาพตามปกติ

ในขั้นตอนที่ 2 ผูใชสามารถหมุนวงแหวน เพื่อปรับตั้ง และในขั้นตอนที่ 4 ผูใชสามารถ หมุนวงแหวน เพือ่ ปรับตัง้ ก็ได (โดยขึน้ อยกู บั รายการทีป่ รับตัง้ นัน้ ๆ) การอธิ บ ายขั้ น ตอนการปรั บ ตั้ ง ต า งๆ ที่ จ ะอธิ บ ายถั ด จากนี้ จะตั้ ง อยู บ นสมมติ ฐ านที่ ว า ผู ใ ช ไ ด ก ดปุ ม เพื่ อ ให จ อภาพแสดงรายการเมนู แ ล ว รายละเอี ย ดของรายการเมนู ทั้ ง หมด แสดงไว ใ นหน า 278


อนเริ่มใชกลอง การฟอรแมทการด ถาการดที่นำมาใชเปนการดแผนใหมที่ไมเคยใชมากอน หรือเคยใชกับกลองตัวอื่น หรือใชเก็บ ขอมูลสวนตัว ควรฟอรแมทดวยฟงกชั่นฟอรแมทของกลองเสียกอนที่จะนำมาใชเก็บขอมูลภาพ การฟอร แ มทการ ด จะลบข อ มู ล ทุ ก ๆ อย า งที่ เ ก็ บ อยู ใ นการ ด ซึ่ ง แม แ ต ไ ฟล ภ าพ ที่ ถู ก ป อ งกั น การลบภาพไว ก็ จ ะถู ก ลบไปด ว ย ควรตรวจสอบให ดี ว า ไม มี ไ ฟล ห รื อ ข อ มู ล ที่ สำคั ญ ที่ ต อ งการเก็ บ ไว หากไม แ น ใ จ ให ถ า ยโอนข อ มู ล ที่ อ ยู ใ นการ ด ไป เก็ บ ไว ใ นคอมพิ ว เตอร เ สี ย ก อ น เลือก [Format] (ฟอรแมท) ภายในรายการของแถบ [ ] เลือก [Format] แลวกดปุม

ฟอร แ มทการ ด เลื อ ก [OK] จากนั้ น กดปุ ม

การดจะถูกฟอรแมท เมื่อฟอรแมทการดเสร็จแลว จอภาพจะกลับมาแสดงเมนูอีกครั้งหนึ่ง

เมื่อตองการฟอรแมทอยางสมบูรณแบบ (Low-level formatting) ใหกดปุม เพื่ อ เลื อ ก [Low level format] ดวย จากนั้นกด [OK]


อนเริม่ ใชกลอง ควร [Format] ในกรณีดังตอไปนี้ เมื่อนำการดแผนใหมมาใช เมือ่ การดนัน้ เคยถูกฟอรแมทดวยกลองตัวอืน่ หรือฟอรแมทดวยคอมพิวเตอร เมือ่ การดนัน้ เต็มไปดวยขอมูลภาพและขอมูลอืน่ ๆ ปะปนกัน เมือ่ กลองแสดงรหัสความผิดพลาดเกีย่ วกับการด (น.291)

เกี่ยวกับการฟอรแมทการดอยางสมบูรณแบบ

ควรทำการฟอรแมทการดอยางสมบูรณแบบ เมื่อสังเกตเห็นวาความเร็วในการบันทึกขอมูล ลดต่ำ ลง หรื อ เมื่ อ ต อ งการลบข อ มู ล ทั้ ง หมดที่ บ รรจุ อ ยู ภ ายในการ ด การฟอร แ มทการ ด อย า งสมบู ร ณ จ ะทำให ข อ มู ล ที่ ถู ก บั น ทึ ก ไว ใ นทุ ก ๆ ส ว นบั น ทึ ก ของการ ด ถู ก ลบออกไป ซึ่ ง การฟอร แ มทแบบนี้ จ ะใช เ วลานานกว า การฟอร แ มทแบบธรรมดา ในระหว า งการฟอร แ มทอย า งสมบู ร ณ แ บบ ผู ใ ช ส ามารถยกเลิ ก การฟอร แ มทกลางคั น ได โดยเลือก [Cancel] เมื่อเลือกยกเลิก กลองจะฟอรแมทแบบปกติแทน และสามารถใชการด นี้ เ ก็ บ ข อ มู ล ภาพได ต ามปกติ

เมื่ อ มี ก ารฟอร แ มทการ ด หรื อ เมื่ อ ลบภาพออกจากการ ด เฉพาะข อ มู ล ในการ จั ด การไฟล เ ท า นั้ น ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป ข อ มู ล จริ ง ๆ จะไม ถู ก ลบไปจนหมด เมื่ อ นำการ ด ไปขายต อ หรื อ ให ผู อื่ น ใช ควรระวั ง เรื่ อ งนี้ และเมื่ อ เลิ ก ใช ก าร ด (ต อ งการ ทิ้ ง ) ควรบิ ด ให หั ก หรื อ งอ เพื่ อ ไม ใ ห ข อ มู ล ส ว นตั ว รั่ ว ไหล เมื่ อ นำการ ด Eye-Fi แผ น ใหม ม าใช จะต อ งติ ด ตั้ ง ซอฟท แ วร ข องการ ด ใน คอมพิวเตอรเสียกอน จากนั้นจึงใชกลองฟอรแมทการดแผนนั้น ความจุ ข องการ ด ที่ แ สดงไว ที่ ห น า จอในขณะทำการฟอร แ มท อาจจะต่ำ กว า ความจุ ที่ ร ะบุ ไว บ นแผ น การ ด อุปกรณนี้ รองรับการทำงานรวมกับ exFAT Technology ของ Microsoft


อนเริม่ ใชกลอง ตั้งเวลาใหกลองปดพลังงาน / ปดการทำงานอัตโนมัติ ผูใชสามารถปรับตั้งระยะเวลาในการตัดพลังงานของกลองโดยอัตโนมัติ หลังจากไมไดใช กลองและเปดสวิตซทิ้งไวชวงเวลาหนึ่ง แตถาไมตองการใหกลองตัดพลังงานเอง ใหเลือก [Off] ซึ่งหลังจากที่กลองตัดพลังงานแลว ผูใชสามารถปรับใหกลองเริ่มใชงานใหมได เมื่อ แตะปุ ม ชั ต เตอร หรื อ ปุ ม อื่ น ๆ

เลือก [Auto power off] (ปดสวิตชอัตโนมัติ) ในแถบ [ ] เลื อ ก [Auto power off] จากนั้นกด

เลือกเวลาที่ตองการ

เลือกเวลาที่ตองการ จากนั้นกดปุม

แมจะปรับตั้งเปน [Off] จอ LCD จะดับเองเมื่อไมไดใชกลองติดตอกันเปนเวลา 30 นาที เพื่อประหยัดพลังงาน (แตพลังงานของกลองจะยังไมถูกตัด)

ตั้งเวลาแสดงภาพที่ถายเสร็จแลว

ผูใชสามารถปรับตั้งระยะเวลาในการแสดงภาพที่เพิ่งถายลาสุด ซึ่งจะปรากฏบนจอ LCD ทันทีสำหรับการตรวจสอบ หากตองการใหภาพปรากฏคางอยูและไมดับไป เลือก [Hold] หากไมตองการใหกลองแสดงภาพ เลือก [Off] เลือก [Image review] (ระยะเวลาแสดงภาพ) ในแถบ [ ] เลือก [Image review] จากนั้นกด

เลือกเวลาที่ตองการ

เลือกเวลาที่ตองการ จากนั้นกดปุม

หากเลื อ ก [Hold] (แสดงภาพค า งไว ) กลองจะแสดงภาพอยูนานจนครบเวลาของระบบ ตั ด พลั ง งานอั ต โนมั ติ


อนเริม่ ใชกลอง ตั้งคา ฟงกชั่น และระบบการทำงาน ใหกลับสูคาเริ่มตน สามารถปรั บ ให ค า ต า งๆ ที่ ถู ก ปรั บ เปลี่ ย นไปแล ว กลั บ มาเป น ค า เริ่ ม ต น ทั้ ง หมด (ลบการตั้งคากลองทั้งหมด) (คาที่ถูกตั้งมาจากผูผลิต)

เลือก [Clear all camera settings] ในแถบ [ ] เลื อ ก [Clear all camera settings] จากนั้นกดปุม

เลือก [OK] เลื อ ก [OK] จากนั้ น กดปุ ม การปรั บ ตั้ ง [Clear all camera settings] จะทำใหฟงกชั่นและคาตางๆ ในตัวกลอง เปนไป ตามรายการตอไปนี้

ปรับตั้งเกี่ยวกับการถายภาพ ระบบออโตโฟกัส ระบบเลือกจุดโฟกัส ระบบวัดแสง ความไวแสง ความไวแสงอัตโนมัติ ระบบขับเคลือ่ น

One-Shor AF เลือกจุดโฟกัสอัตโนมัติ ระบบวัดแสง เฉลีย่ หลายสวน A (อัตโนมัต)ิ สูงสุด ...3200 ถายภาพครัง้ ละภาพ

ชดเชยแสง / ถายภาพครอม

ยกเลิก

ชดเชยแสงแฟลช

0 (ศูนย)

ล็อค Custom Functions

ไมทำงาน ไมเปลีย่ นแปลง

ปรับตั้งเกี่ยวกับการบันทึกไฟลภาพ คุณภาพ Picture Style Auto Lighting Optimizer

Standard Standard

ปรับแก ลดความสลัว ของขอบภาพ

ทำงาน / ดวยขอมูลทีเ่ ก็บ ไวในตัว

ระบบสี สมดุลสีขาว สมดุลสีขาว แบบปรับตัง้ เอง ปรับแกสมดุลสีขาว ถายครอมสมดุลสีขาว เลขลำดับของไฟล ทำความสะอาดอัตโนมัติ ขอมูลระบบกำจัดฝนุ

sRGB (อัตโนมัต)ิ ยกเลิก ยกเลิก ยกเลิก ตอเนือ่ ง ทำงาน ลบ


อนเริม่ ใชกลอง การปรับควบคุมกลอง ตัดพลังงานอัตโนมัติ สัญญาณเสียงเตือน ลัน่ ชัตเตอร โดยไมมกี ารด แสดงภาพทีถ่ า ยเสร็จ เตือนพืน้ ทีส่ วาง แสดงจุดโฟกัส Histogram กระโดดขาม หมุนภาพอัตโนมัติ ปรับความสวางของจอ วันที่ / เวลา ภาษา ระบบวิดโี อ ทางเลือกในการแสดง ผลของปมุ INFO.

1 นาที ทำงาน ใชงานได 2 วินาที ไมทำงาน ไมทำงาน แสดงความเขมสวาง 10 ภาพ

การปรับตั้งของระบบ Live View ถายภาพดวย Live View ระบบ AF การแสดงเสนกริด อัตราสวนของดาน

Live mode ไมทำงาน 3:2

การจำลองคาแสง

ทำงาน

ทำงาน

บันทึกแบบเก็บเสียง Mode 1 ชวงเวลาวัดแสง 16 วินาที

การปรับตั้งของระบบถายภาพยนตร ไมเปลีย่ นแปลง ไมเปลีย่ นแปลง ไมเปลีย่ นแปลง เลือกไดทกุ รายการ

การปรับตัง้ ใน Camera User

ไมเปลีย่ นแปลง

ขอมูลลิขสิทธิภ์ าพ

ไมเปลีย่ นแปลง

การควบคุม HDMI ไมทำงาน การสงสัญญาณ Eye-Fi ไมทำงาน การตัง้ คาใน My Menu ไมเปลีย่ นแปลง

การเปดรับแสง อัตโนมัติ ระบบ AF Live mode ระบบ AF เมือ่ กดปมุ ไมทำงาน ชัตเตอร ขณะ AF และปมุ วัดแสง เพื่อ

[0]

ระดับการปรับ ขัน้ ละ 1/3 stop เพิม่ /ลด ความไวแสง เนนรายละเอียด ไมทำงาน ในสวนสวาง ความละเอียดใน การถายภาพยนตร บันทึกเสียง

1920X1080

อัตโนมัติ Mode 1 การแสดงผลคาแสง 16 วินาที แสดงเสนตาราง ไมทำงาน เก็ บ เสี ย ง


¾×¹ é °Ò¹¡ÒÃ㪌¡ÅŒÍ§ ในบทนี้ จะอธิ บ ายเกี่ ย วกั บ การถา ยภาพด ว ยระบบบั น ทึ ก ภาพภายใน Basic Zone เพื่ อ ผลของภาพถ า ยที่ ดี ที่ สุ ด เมื่อใชระบบถายภาพแบบอัตโนมัติใน Basic Zone สิ่ ง ที่ ผู ใ ช ต อ งทำก็ เ พี ย ง แต เ ล็ ง ไปยั ง สิ่ ง ที่ ต อ งการถ า ย และกล อ งจะปรั บ ค า ต า งๆ ให โ ดยอั ต โนมั ติ (น.276) และเพื่ อ ป อ งกั น ภาพเสี ย จากการปรั บ ตั้ ง ที่ ผิ ด พลาดของผู ใ ช ผู ใ ช จะไมสามารถเปลี่ยนคาการเปดรับแสงและฟงกชั่นที่สำคัญบางอยางได

เกี่ ย วกั บ ระบบปรั บ ความเข ม สว า งอั ต โนมั ติ (Auto Lighting Optimizer)

เมื่อใชระบบบันทึกภาพภายใน Basic Zone ระบบปรับความเขมสวางจะทำงาน โดยอั ต โนมั ติ เ พื่ อ ให ค วามเข ม สว า งและความเปรี ย บต า งของแสงในภาพให สมดุลที่สุด ระบบนี้ทำงานรวมกับระบบบันทึกภาพใน Creative Zone ดวย (น.101)


ายภาพในแบบอัตโนมัติสมบูรณแบบ

ปรับวงแหวนเลือกระบบไปที่

จุดโฟกัส

เล็งจุดโฟกัสจุดใดจุดหนึ่งไปที่วัตถุ จุดโฟกัสทุกๆ จุดมีหนาที่คนหาความชัด ซึ่งจุดที่ มี วั ต ถุ อ ยู ใ กล ก ว า จุ ด อื่ น ๆ จะเป น จุ ด ที่ จั บ ภาพ วัตถุได การใช จุ ด โฟกั ส ที่ กึ่ ง กลางของเฟรมจะช ว ยให โฟกัสไดงายขึ้น

โฟกัส

แตะปุ ม ชั ต เตอร เ บาๆ ลงครึ่ ง หนึ่ ง เลนส จ ะหมุ น เพื่ อ ปรั บ ภาพให ชั ด จุ ด ที่ อ ยู ภ ายในกรอบสี่ เ หลี่ ย มของจุ ด ที่ ห าโฟกั ส ได จ ะกระพริ บ เป น สั ญ ญาณไฟสี แ ดง พร อ มกั บ เสียงสัญญาณเตือน “บี๊บ” ไฟยืนยันความชัด จะสวางขึ้นดวย หากจำเป น แฟลชที่ ติ ด ตั้ ง ในตั ว กล อ งจะยกตั ว ขึ้นและทำงานโดยอัตโนมัติ

ไฟสัญญาณยืนยันความชัด

ถ า ยภาพ กดปุมชัตเตอรลงจนสุดเพื่อถายภาพ ภาพที่ ถ า ยแล ว จะแสดงบนจอ LCD เป น เวลา นานประมาณ 2 วินาที เมื่ อ แฟลชในตั ว กล อ งยกตั ว ขึ้ น เองและทำงาน แลว ผูใชสามารถใชนิ้วกดใหแฟลชลงสูตำแหนง เดิ ม หลั ง จากที่ ถ า ยภาพเสร็ จ


ายภาพในแบบอัตโนมัตสิ มบูรณแบบ ปญหาที่ผูใชมักจะเกิดขอสงสัยกันบอยๆ ไฟสัญญาณยืนยันความชัด กระพริบ และกลองโฟกัสไมได เล็งจุดโฟกัสไปยังบริเวณทีม่ คี วามแตกตางของแสงและเงามากๆ และแตะปมุ ชัตเตอรเบาๆ ลง ครึง่ หนึง่ (น.80) และถาอยใู กลกบั วัตถุมากเกินไป ใหถอยออกหางมากขึน้ และทดลองโฟกัส ใหมอกี ครัง้ บางครัง้ จุดโฟกัสหลายจุดติดสวางพรอมๆ กัน หมายความวา จุดโฟกัสทุกจุดทีต่ ดิ สวางนัน้ สามารถจับความชัดไดพรอมกัน โดยจุดโฟกัสเหลา นีค้ รอบคลุมวัตถุทอี่ ยใู นระยะเดียวกัน ผใู ชจงึ ถายภาพไดทนั ที เสียง “บีบ๊ ” ดังขึน้ เบาๆ และเปนจังหวะถีๆ ่ และไฟสัญญาณยืนยันความชัด ก็ไมติดสวางขึ้น แสดงวากลองกำลังจับภาพวัตถุทกี่ ำลังเคลือ่ นทีด่ ว ยระบบโฟกัสแบบตอเนือ่ ง(ซึง่ ไฟสัญญาณ ยืนยันความชัด จะไมตดิ ขึน้ ผใู ชสามารถกดชัตเตอรเพือ่ ถายภาพไดทนั ทีเมือ่ พอใจ และ ไดภาพวัตถุทกี่ ำลังเคลือ่ นทีอ่ ยางชัดเจน เมือ่ แตะปมุ ชัตเตอรเบาๆ แตกลองก็ไมโฟกัสให เมือ่ สวิตซทกี่ ระบอกเลนสถกู ปรับไวที่ (แมนนวลโฟกัส) กลองจะไมหาความชัดใหโดย อัตโนมัติ ใหตรวจสอบสวิตซของเลนส และปรับมาที่ แมจะถายภาพในตอนกลางวัน แตแฟลชในตัวกลองก็ยกตัวขึน้ มาทำงาน เมือ่ ถายภาพยอนแสง แฟลชจะยกตัวขึน้ ทำงานเพือ่ ลบเงาเขมบริเวณดานหนาของวัตถุ และ ชวยใหวตั ถุมรี ายละเอียดทีด่ ขี นึ้ ในสภาพแสงนอยๆ แฟลชในตัวกลองยกตัวขึน้ และยิงแสงกระพริบถีๆ ่ ออกไป เมือ่ แตะปมุ ชัตเตอร แฟลชจะยกตัวขึน้ และยิงแสงกระพริบถีๆ่ ออกไปเพือ่ ชวยระบบโฟกัสในการ คนหาโฟกัส เรียกวา “ไฟชวยหาโฟกัส”(AF assist beam) ซึง่ ไฟแฟลชนีจ้ ะทำงานไดดใี นระยะ หางไมเกิน 4 เมตร/13.1 ฟุต ถึงแมแฟลชจะทำงานแลว แตภาพก็ยงั ดูมดื วัตถุทถี่ า ยภาพนัน้ อยไู กลกวาระยะการทำงานของแฟลช สิง่ ทีจ่ ะถายภาพนัน้ ควรจะอยภู ายใน ระยะหางไมเกิน 5 เมตร/16.4ฟุต จากกลอง เมือ่ ใชแฟลช พืน้ ทีข่ องภาพทางดานลางดูมดื อยางผิดปกติ วัตถุทถี่ า ยภาพนัน้ อยใู กลกบั กลองมากจนเกินไป จนกระบอกเลนสทยี่ นื่ ออกไปจากตัวกลอง บดบังแสงของแฟลชทีฉ่ ายออกไป วัตถุทจี่ ะถายภาพโดยใชแฟลชนัน้ ไมควรอยใู กลกวา 1 เมตร/ 3.3 ฟุต และถาใชฮดู เลนส ใหถอดออกเสียกอนทีจ่ ะใชแฟลชถายภาพใกลๆ


ทคนิคการถายภาพดวยระบบอัตโนมัตสิ มบูรณแบบ การจัดองคประกอบภาพใหม

ในฉากของสถานที่ บ างแห ง การจั ด ให จุ ด เด น อยู ท างด า นซ า ยหรื อ ขวาของภาพจะทำ ให ภ าพเกิ ด ความสมดุ ล และมี อ งค ป ระกอบภาพที่ ส วยงามมากขึ้ น เมื่ อ ใช ร ะบบ (Full Auto) ซึ่ ง กล อ งจะปรั บ ตั้ ง ค า ให ทั้ ง หมดโดยอั ต โนมั ติ นั้ น เมื่ อ แตะชั ต เตอร เ บาๆ ลงครึ่ ง หนึ่ ง ให ก ล อ งจั บ ความชั ด และยั ง คงแตะค า งไว โฟกั ส จะล็ อ ค ผู ใช ส ามารถเบนกล อ งไปทางซ า ยหรื อ ขวาเพื่ อ จั ด ให ตั ว แบบอยู ค อ นไปทางด า นใดด า น หนึ่ ง ของเฟรม จากนั้ น จึ ง กดชั ต เตอร จ นสุ ด เพื่ อ ถ า ยภาพ เทคนิ ค นี้ เ รี ย กว า “การล็ อ ค โฟกั ส ” (Focus Lock) ซึ่ ง ทำงานได ใ นระบบถ า ยภาพขั้ น พื้ น ฐานทุ ก ๆ ระบบ (ยกเว น ระบบถ า ยภาพสิ่ ง ที่ เ คลื่ อ นไหว Sports)

การถ า ยภาพสิ่ ง ที่ กำลั ง เคลื่ อ นที่

เมื่ อ ใช ร ะบบถ า ยภาพอั ต โนมั ติ ส มบู ร ณ แ บบ ( Full Auto) เมื่อวัตถุมีการ เคลื่อนที่(ระยะระหวางกลองกับวัตถุเปลี่ยนแปลงไป) ในขณะที่โฟกัสหรือโฟกัสไดแลว ระบบ AI Servo AF ซึ่งเปนระบบที่สามารถจับความชัดอยางตอเนื่องไปยังวัตถุที่เคลื่อน ที่ จ ะเริ่ ม ทำงานโดยอั ต โนมั ติ และช ว ยจั บ ภาพให ชั ด ตราบเท า ที่ ผู ใ ช ยั ง คงเล็ ง ภาพวั ต ถุ ให อ ยู ภ ายในเฟรมและใช นิ้ ว แตะชั ต เตอรล งครึ่ ง หนึ่ ง ค า งไว ต ลอดเวลา และเมื่ อ ถึ ง จังหวะที่ตองการถายภาพ ก็เพียงกดปุมชัตเตอรลงจนสุด


ทคนิคการถายภาพดวยระบบอัตโนมัตสิ มบูรณแบบ ถายภาพดวยระบบ Live View โดยการกดปุ ม < > ผูใชสามารถถายภาพโดยการเล็งภาพจากจอ LCD ของกลอง เรี ย กว า การถ า ยภาพด ว ยระบบ Live View สำหรั บ รายละเอี ย ด ดู จ ากหน า 151

ดูภาพที่ตองการถาย ที่จอ LCD กดปุ ม < > ภาพที่ เ ล็ ง อยู จ ะปรากฏขึ้ น ที่ จ อ LCD

โฟกัสไปที่วัตถุ เล็งจุดโฟกัสจุดกึ่งกลาง

ไปที่วัตถุ

แตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึ่งหนึ่ง เพื่อโฟกัส

ถ า ยภาพ

กดชัตเตอรจนสุด กล อ งจะถ า ยภาพนั้ น และภาพที่ ถ า ยแล ว ก็ จ ะ ปรากฏบนจอ LCD หลังจากกลองยุติการแสดงภาพที่ถายเสร็จ กลอง ก็จะกลับไปสูระบบถายภาพดวย Live View โดย อัตโนมัติ กดปุ ม < > เมื่ อ ต อ งการออกจากระบบนี้

สามารถปรับมุมของจอภาพใหเหมาะกับการจับถือกลองไดอยางอิสระ (น.27)

มุมมองปกติ

มุ ม ต่ำ

มุมสูง


ายภาพโดยไมใชแฟลช

ในบริ เ วณที่ ห า มไม ใ ห ใ ช แ ฟลชถ า ยภาพ ให ใ ช ร ะบบ < > (ปดแฟลช) ซึ่งเปนระบบ ที่ออกแบบมาสำหรับการถายเก็บแสงธรรมชาติและแสงไฟที่จัดแตงในบริเวณไดอยางเปน ธรรมชาติ เช น ถ า ยภาพในบริ เ วณที่ ต กแต ง ด ว ยแสงเที ย น

เทคนิ ค การถ า ยภาพ หากตั ว เลขที่ แ สดงอยู ภ ายในช อ งเล็ ง ภาพกระพริ บ ให ร ะมั ด ระวั ง เพราะภาพ อาจจะสั่ น เมื่ อ แสงน อ ย ภาพที่ ถ า ยจะมี แ นวโน ม ที่ จ ะเกิ ด ความสั่ น ตั ว เลขแสดงความไวชั ต เตอร ที่ ปรากฏในช อ งเล็ ง ภาพจะกระพริ บ เพื่ อ เตื อ นให ท ราบ พยายามถึ ง กล อ งให นิ่ ง หรื อ นำขา ตั้ ง กล อ งมาใช และเมื่ อ ใช เ ลนส ซู ม ให ซู ม มาอยู ที่ ช ว งที่ เ ป น มุ ม กว า ง เพื่ อ ลดผลของ ความสั่ น ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ถ า ยภาพบุ ค คลโดยไม ใ ช แ ฟลช เมื่ อ ถ า ยภาพบุ ค คลในสภาพแสงน อ ย ตั ว แบบจะต อ งไม ข ยั บ เขยื้ อ นจนกว า จะถ า ย ภาพเสร็ จ เพราะถ า ตั ว แบบมี ก ารขยั บ ในขณะที่ ก ล อ งเป ด รั บ แสง ตั ว แบบอาจจะสั่ น หรื อ ปรากฏเป น ภาพบุ ค คลที่ พ ร า มั ว ได


ถายภาพดวยระบบอัตโนมัตแิ บบสรางสรรค

จะไมเหมือนระบบถายภาพอัตโนมัติสมบูรณแบบ ที่จัดการปรับตั้งทุกๆ อยางให ทั้ ง หมด ขณะที่ ร ะบบบั น ทึ ก ภาพอั ต โนมั ติ แ บบสร า งสรรค จะเป ด โอกาสให ผู ใ ช ปรับชวงความชัด ระบบขับเคลื่อน และการยิงแสงแฟลช นอกจากนี้ สามารถจะปรับสีสัน ของภาพ สวนคาเริ่มตนของระบบสรางสรรคก็จะเหมือนกับระบบอัตโนมัติสมบูรณแบบ *CA เปนตัวยอของ Creative Auto (ระบบอัตโนมัติแบบสรางสรรค)

หมุนวงแหวนเลือกระบบไปที่ <

>

กดปุ ม

จอ LCD จะแสดงหน า จอสำหรั บ การปรั บ ตั้ ง แบบรวดเร็ ว

เลือกฟงกชั่น กดปุ ม

เพื่ อ เลื อ กฟ ง ก ชั่ น

คำอธิบายยอๆ เกี่ยวกับฟงกชั่นนั้นจะแสดงอยูที่ ดานลางของจอภาพ รายละเอียดของฟงกชั่นตางๆ ดูจากหนา 60-61

ถ า ยภาพ

กดชัตเตอรลงจนสุดเพื่อถายภาพ

เมื่อเปลี่ยนระบบบันทึกภาพ หรือเมื่อระบบปดพลังงานของกลองอัตโนมัติทำงาน หรือเมื่อปรับ สวิ ต ซ เ ป ด ป ด กล อ งไปที่ <OFF> คาตางๆ ที่ปรับตั้งไวในระบบบันทึกภาพอัตโนมัติแบบสราง สรรค จ ะกลั บ ไปเป น ค า มาตรฐานดั ง เดิ ม ยกเว น ระบบหน ว งเวลาถ า ยภาพและรี โ มท


ายภาพดวยระบบอัตโนมัตแิ บบสรางสรรค

ความเร็วชัตเตอร ชองรับแสง ความไวแสง

ตรวจสอบระดับพลังงาน คุณภาพของภาพ

จำนวนภาพทีถ่ า ยได จำนวนภาพถายตอเนือ่ งสูงสุด

(1) ถายภาพโดยเลือกปรับสภาพแสงของบริเวณโดยรอบ ผูใชสามารถปรับภาพใหแสดงสภาพแสงตามที่ตองการ โดยกดปุม ภาพมีสภาพแสงในแบบที่ตองการ หรือจะหมุนวงแหวน หรือ เพื่อเลือกสภาพแสงก็ได สำหรับรายละเอียด ดูจากหนา 68

เพื่อให

(2) ปรับฉากหลังของภาพใหชัดหรือเบลอ เมื่อเลื่อนขีดดัชนีไปทางซาย ฉากหลังของภาพจะเบลอมากขึ้น และถาเลื่อนไปทางขวา ฉากหลังก็จะชัดมากขึ้น หากตองการใหฉากหลังของภาพมีความเบลอ ดู “การถ า ย ภาพบุคคล” หนา 62 ผูใชสามารถจะใชปุม เพื่อเลือกผลในแบบที่ตองการ หรือใชวงแหวน หรือ ในการหมุนปรับก็ได โดยขึ้นอยูกับเลนสและสภาพการถายภาพ ฉากหลังอาจจะไมเบลอมากเทาที่ตองการ และการปรับตั้งนี้จะไมสามารถทำได(สัญลักษณจะกลายเปนสีจางลง) เมื่อแฟลชใน ตั ว กล อ งยกขึ้ น เพื่ อ ทำงาน ซึ่ ง ในกรณี ที่ ใ ช แ ฟลชถ า ยภาพ การปรั บ ตั้ ง นี้ จ ะไม เกิดผลใดๆ


ายภาพดวยระบบอัตโนมัตแิ บบสรางสรรค (3) ระบบขับเคลื่อน / การยิงแสงแฟลช

เมื่อกดปุม หนาจอจะแสดงรายการปรับตั้งของระบบขับเคลื่อนและตัวเลือกใน การใชแฟลช เลือกรูปแบบที่ตองการ แลวกดปุม เพื่อยืนยันการปรับตั้ง และ กลับไปสูหนาจอของการปรับควบคุมแบบเร็ว ระบบขั บ เคลื่ อ น : ใชวงแหวน หมุนเลือกระบบที่ตองการ (ถ า ยภาพต อ เนื่ อ งความเร็ ว ต่ำ ): ถ า ยภาพต อ เนื่ อ งด ว ยความเร็ ว 3 ภาพต อ วิ น าที

(หน ว งเวลา 10 วิ น าที / ใช รี โ มท): เมื่ อ กดชั ต เตอร เ พื่ อ ถ า ยภาพ กล อ งจะถ า ยภาพใน เวลาหลังจากนั้น 10 วินาที ดู “การใชระบบหนวงเวลาถายภาพ” หนา 82 และ สามารถถ า ยภาพโดยใช รี โ มทคอนโทรลได (น.126) * ผูใชสามารถจะปรับตั้งระบบขับเคลื่อนจากจอ LCD ก็ไดในขณะที่ไมไดใชหนาจอควบคุมแบบ เร็ ว โดยกดปุ ม และหมุ น วงแหวน หรื อ เพื่ อ เลื อ กรู ป แบบที่ ต อ งการ

การยิงแสงแฟลช : กดปุม เลือก

(Auto Flash),

เพื่อเลือกรูปแบบที่ตองการ

(Flash On) และ

(Flash Off) ได


Ãะบบถายภาพบุคคล

ระบบถายภาพบุคคล (Portrait) เปนระบบทีอ่ อกแบบมาเพือ่ ใหฉากหลังของภาพนมุ เบลอ มากทีส่ ดุ ชวยใหตวั แบบดูโดดเดนมากในภาพ นอกจากนีย้ งั ชวยปรับโทนสีผวิ และผมใหแลดูนมุ นวลกวา เมือ่ เทียบกับการถายบุคคลดวยระบบอัตโนมัตสิ มบูรณแบบ (Full Auto)

กลเม็ดเคล็ดลับ ยิง่ ตัวแบบอยไู กลจากฉากหลัง ฉากหลังก็จะยิง่ มีความนมุ เบลอมากขึน้ ถาจัดใหตำแหนงของตัวแบบอยไู มไกลจากฉากหลังมากนัก ฉากหลังในภาพก็จะมีความชัด และเห็นรายละเอียดจนแยงความนาสนใจไปจากจุดเดน ควรจะจัดใหวตั ถุอยหู า งไกลจากฉาก หลังมากๆ ฉากหลังก็จะยิง่ ดูนมุ เบลอ และตัวแบบดูโดดเดน นอกจากนี้ ควรจะถายภาพบุคคล กับฉากหลังทีม่ สี พี นื้ เรียบๆ ทีเ่ ปนสีเดียวกัน หรือบริเวณทีม่ สี เี ขม เมือ่ ใชเลนสซมู ใหซมู ไปทีช่ ว งเทเลโฟโต ถามีเลนสซมู ใหซมู ไปทีช่ ว งความยาวโฟกัสปลายสุดของเลนสเพือ่ ใหภาพบุคคลดูแนนพอดี กับขนาดเฟรม อาจจะตองเขาใกลมากขึน้ เพือ่ ใหไดขนาดทีพ่ องาม โฟกัสทีใ่ บหนา ตรวจสอบจุดโฟกัสทีท่ าบกับบริเวณใบหนาของตัวแบบ วากระพริบเปนสีแดงหรือไม

ถากดปุมชัตเตอรจนสุดและคางไว กลองจะถายภาพดวยระบบถายภาพตอเนื่อง ประมาณ 3 เฟรมตอวินาที เพือ่ เลือกภาพบุคคลทีด่ จี ากหลายๆ ภาพทีม่ ใี บหนาและการแสดงออกตางๆ กัน หากมีความจำเปน แฟลชในตัวกลองจะยกตัวขึน้ และทำงานโดยอัตโนมัติ


Ãะบบถายภาพทิวทัศน

ควรใชระบบถายภาพทิวทัศน(Landscape) เมือ่ ตองการถายภาพในทีก่ วางโดยตองการ ใหทกุ สวนของภาพ ตัง้ แตระยะใกลจนถึงไกลมีความคมชัดทัง้ หมด สีเขียวและสีน้ำเงินทีป่ รากฏใน ภาพจะสดขึน้ เมือ่ เทียบกับการใชระบบอัตโนมัตสิ มบูรณแบบ

กลเม็ดเคล็ดลับ เมือ่ ใชเลนสซมู ใหซมู ไปทีช่ ว งมุมกวาง เมื่อใชเลนสซูม ควรจะซูมที่ชวงมุมกวาง เพราะชวงมุมกวางจะชวยใหความชัดลึกเพิ่มมาก ขึ้น ชวยใหวัตถุที่อยูในระยะใกลจนถึงระยะไกลมีความชัดมากกวาการใชเลนสในชวงอื่นๆ และเลนสชวงมุมกวางยังชวยทำใหภาพทิวทัศนดูมีความกวางมากขึ้นดวย เมือ่ ถายภาพทิวทัศนรว มกับแสงไฟตอนกลางคืน เมือ่ เลือกใชระบบถายภาพทิวทัศน แฟลชในตัวกลอง จะไมทำงาน ซึง่ จะเหมาะสำหรับการถายภาพเพือ่ เก็บแสงสี ของทิวทัศนในเวลากลางคืน ในสภาพแสงทีน่ อ ย ควรจะใช ขาตั้งกลองเสมอเพื่อปองกันภาพสั่น และเมื่อตองการถาย ภาพบุคคลรวมดวย ใหเปลีย่ นไปใชระบบถายภาพบุคคลกับ แสงกลางคืน(Night Portrait) และใชขาตัง้ กลองดวย เชนกัน (น.66)


Ãะบบถายภาพระยะใกล

เมือ่ ตองการถายภาพสิง่ ของเล็กๆ เชน ดอกไมขนาดเล็กๆ ใหมขี นาดพอดีกบั เฟรม ใหเลือกใชระบบ ถายภาพระยะใกล(Close-up) และเมือ่ ตองการใหภาพสิง่ เล็กๆ มีขนาดใหญดชู ดั เจนใน เฟรม ใหเปลีย่ นไปใชเลนสมาโคร(เปนอุปกรณเสริมพิเศษ)

กลเม็ดเคล็ดลับ เลือกฉากหลังทีเ่ ปนสีเรียบๆ ฉากหลังทีเ่ ปนสีเรียบๆ จะชวยใหสงิ่ ของเล็กๆ อยางเชนดอกไม ดูโดดเดนขึน้ ขยับกลองเขาใกลวตั ถุมากทีส่ ดุ เทาทีจ่ ะทำได ตรวจสอบระยะโฟกัสใกลทสี่ ดุ ของเลนสทใี่ ช ซึง่ เลนสบางรนุ จะแสดงระยะโฟกัสใกลสดุ ของมัน ไวบนกระบอกเลนสดว ย เชน < 0.45m/1.5ft > ระยะโฟกัสใกลสดุ ของเลนสกค็ อื ระยะที่ วัดจากระนาบความชัด ซึง่ แสดงอยบู นตัวกลองไปถึงวัตถุ และถาเคลือ่ นกลองเขาไป ใกลวตั ถุมากเกินไป กลองจะโฟกัสไมได สัญลักษณ จะกระพริบเตือน ในสภาพแสงนอยหรือสลัว แฟลชในตัวกลองจะยกตัวขึน้ และทำงานโดยอัตโนมัติ และถาถาย ภาพในระยะใกลมาก บริเวณดานลางของภาพจะสลัวกวาบริเวณอืน่ ใหเคลือ่ นกลองออกหาง อีกเล็กนอย เมือ่ ใชเลนสซมู ใหซมู ไปทีช่ ว งเทเลโฟโตมากทีส่ ดุ การซู ม ไปที่ ช ว งเทเลโฟโต ม ากที่ สุ ด จะช ว ยให วั ต ถุ ข นาดเล็ ก ๆ มี ข นาดใหญ ที่ สุ ด เท า ที่ จะเปนไปได


Ãะบบถายภาพกีฬา ภาพสิง่ ทีเ่ คลือ่ นไหว

เมือ่ ตองถายภาพสิง่ ทีก่ ำลังเคลือ่ นทีห่ รือกำลังเคลือ่ นไหว เชน เด็กๆ ทีก่ ำลังวิง่ เลน หรือยานพาหนะ ทีก่ ำลังวิง่ ใชระบบถายภาพสิง่ ทีเ่ คลือ่ นที่ (Sports)

กลเม็ดเคล็ดลับ ใชเลนสเทเลโฟโต แนะนำใหใชเลนสเทเลโฟโต เพือ่ ใหถา ยภาพไดขนาดทีด่ ชู ดั เจน พอดีเฟรม เลือกใชจดุ โฟกัสจุดกึง่ กลาง เล็งจุดโฟกัสจุดกึง่ กลางของเฟรมไปยังวัตถุทกี่ ำลังเคลือ่ นที่ จากนัน้ แตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึง่ หนึง่ เพือ่ ใหกลองโฟกัส ในขณะทีร่ ะบบออโตโฟกัสกำลังทำงานอยนู นั้ เสียง “บีบ๊ ” จะดังขึน้ เปน จังหวะสัน้ ๆ และเบา และถากลองไมสามารถจับความชัดได สัญญาณไฟยืนยันความชัด จะกระพริบเตือน เมือ่ ตองการถายภาพในจังหวะทีต่ อ งการ ใหกดชัตเตอรลงจนสุด และถากดชัตเตอรคา งไว กลอง จะบันทึกภาพอยางตอเนือ่ ง(ความเร็วสูงสุดประมาณ 5.3 ภาพตอวินาที) ซึง่ ระบบออโตโฟกัส ก็จะยังทำงานอยางตอเนือ่ งอยตู ลอดเวลา

ในสภาพแสงนอย ซึง่ อาจทำใหภาพสัน่ ได ตัวเลขแสดงความไวชัตเตอรทปี่ รากฏตรงมุมลาง ดานซายของชองเล็งภาพจะกระพริบเตือน ใหพยายามถือกลองใหนงิ่ ทีส่ ดุ


Ãะบบถายภาพบุคคลกับแสงสีกลางคืน

เมือ่ ตองการถายภาพบุคคลในเวลากลางคืน โดยตองการเก็บแสงของฉากหลังใหแลดูเปน ธรรมชาติ เลือกใชระบบถายภาพบุคคลกับแสงกลางคืน(Night Portrait)

กลเม็ดเคล็ดลับ ใชเลนสชว งมุมกวาง และขาตัง้ กลอง เมือ่ ใชเลนสซมู ควรเลือกใชชว งมุมกวางเพือ่ ใหเก็บบรรยากาศกวางๆ ของแสงสีในฉากหลัง ได และควรใชขาตัง้ กลองเพือ่ ปองกันไมใหภาพสัน่ จัดใหตวั แบบยืนอยหู า งจากกลองในระยะไมเกิน 5 เมตร/16.4 ฟุต ในสภาพแสงนอยๆ แฟลชในตัวกลองจะยกตัวขึน้ เองและใหแสงกับตัวแบบโดยอัตโนมัตเิ พือ่ ใหตวั แบบแลดูสดใส ระยะการทำงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพของแฟลชในตัวกลองจะอยใู นระยะ ไมเกิน 5 เมตร/16.4 ฟุต จากกลอง ถายซ้ำอีกครั้งดวย ระบบอัตโนมัติสมบูรณแบบ(Full Auto) ภาพสัน่ ... มักจะเกิดขึน้ เพราะการเปดรับแสงเปนเวลานานเมือ่ ถายภาพรวมกับแสงสีกลาง คืน แนะนำใหใชระบบอัตโนมัตสิ มบูรณแบบ ถายซ้ำอีกครัง้ หากไมแนใจวาภาพที่ ถายมีความคมชัดหรือไม

แนะนำใหตวั แบบยืนใหนงิ่ อยเู ปนเวลานานกวาปกติ แมแฟลชจะยิงแสงออกไปแลว ถาใชระบบหนวงเวลาถายภาพ(Self Timer) ไฟสัญญาณเตือนของระบบหนวงเวลาถายภาพ จะสองสวางภายหลังจากที่ไดถายภาพอยางสมบูรณแลว


¨อภาพสำหรับการปรับตั้งแบบเร็ว

เมื่ อ ใช ร ะบบบั น ทึ ก ภาพภายใน Basic Zone ผู ใ ช ส ามารถกดปุ ม เพื่ อ เข า สู ก ารใช จอภาพสำหรั บ การปรั บ ตั้ ง แบบเร็ ว ซึ่ ง แสดงรายการที่ ส ามารถปรั บ ตั้ ง ได ไ ว ใ นตารางด า น ล า งนี้ ซึ่ ง จะแสดงรายละเอี ย ดของรายการที่ ป รั บ ตั้ ง ได เ มื่ อ ใช ร ะบบบั น ทึ ก ภาพแบบต า งๆ สำหรั บ วิ ธี ก ารปรั บ ตั้ ง ดู ไ ด ที่ ห น า 44

ฟงกชนั่ ทีส่ ามารถปรับตัง้ ไดจากการปรับตัง้ แบบเร็วเมือ่ ใชระบบบันทึกภาพ Basic Zone ปรับตัง้ โดยอัตโนมัติ

ฟงกชั่น ถายภาพแบบครัง้ ละภาพ ถายภาพ ความเร็วต่ำ ขับเคลือ่ น ตอเนือ่ ง ความเร็วสูง หนวงเวลา 10 วินาที / รีโมท ยิงแสงแฟลชอัตโนมัติ การยิงแฟลช Flash On Flash Off

ระบบ

ถายดวยการปรับแตงลักษณะภาพ (น.68) ถายดวยการปรับแสง / รูปแบบ (น.71) ปรับฉากหลังใหชดั หรือเบลอ (น.60)

ปรับตัง้ โดยผใู ช

ปรับตัง้ ไมได

(น.54) (น.58) (น.59) (น.62) (น.63) (น.64) (น.65) (น.66)


¡ารเลือกปรับเปลีย่ นลักษณะของภาพ

เมื่อถายภาพดวยระบบบันทึกภาพใน Basix Zone (ยกเวน และ ผูใชสามารถจะเลือกปรับเปลี่ยนลักษณะของภาพไดมากมายหลายแบบ

)

ผลทีเ่ กิดขึน้ ปรับไมได Low / Standard / Strong Low / Standard / Strong Low / Standard / Strong Low / Standard / Strong Low / Standard / Strong Low / Medium / High Low / Medium / High Blue / B/W / Sepia

รูปแบบ (1) Standard (2) Vivid (3) Soft (4) Warm (5) Intense (6) Cool (7) Brighter (8) Darker (9) Monochrome

หมุนวงแหวนเลือกระบบบันทึกภาพไป ยังระบบใดระบบหนึ่ง : แสดงภาพดวยระบบ Live View กดปุ ม < > เพื่อแสดงภาพในระบบ Live View

จากหน า จอภาพของการปรั บ ตั้ ง แบบ เร็ว เลือกลักษณะที่ตองการ กดปุ ม กดปุม เพื่อเลือก (ค า มาตรฐาน) จอภาพจะแสดง [Standard setting] [Shoot by ambience selection] ที่ ด า น (โหมดทั น ใจ) ลางของจอภาพ กดปุม เพื่อเลือกรูปแบบที่ตองการ จอ LCD จะแสดงภาพที่ กำลั ง จะถ า ย โดยมี ลักษณะที่เปลี่ยนแปลงไป


ารเลือกปรับเปลีย่ นลักษณะของภาพ เลือกลักษณะของภาพ

กดปุม เพื่อเลือกรายการลักษณะของ ภาพจากแถบรายการ ซึ่ง [Effect] จะปรากฏ ขึ้ น ที่ ด า นล า งของจอภาพ กดปุม เพื่อเลือกลักษณะของภาพตาม ที่ตองการ

ถ า ยภาพ

ถ า ยภาพในขณะที่ ร ะบบ Live View กำลั ง ทำงาน โดยกดชัตเตอรลงจนสุด เมื่อตองการเล็งภาพผานชองเล็งภาพตามปกติ ให ก ดปุ ม < > เพื่อออกจากระบบ Live View แลวจึงกดชัตเตอรเพื่อถายภาพ เมื่ อ ปรั บ สวิ ต ซ เ ป ด ป ด การทำงานไปที่ หรื อ เปลี่ ย นระบบบั น ทึ ก ภาพไปเป น แบบอื่ น การปรับตั้งจะกลับสูคามาตรฐานโดยอัตโนมัติ [Standard setting]

ภาพที่ แ สดงด ว ยระบบ Live View ที่ มี ก ารปรั บ แต ง ลั ก ษณะของภาพ อาจมี ค วามแตก ต า งจากภาพที่ ถ า ยได จ ริ ง บ า ง ผลที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการปรั บ ลั ก ษณะของภาพจะลดน อ ยลงเมื่ อ ถ า ยภาพด ว ยแฟลช เมื่ อ ถ า ยภาพกลางแจ ง ในบริ เ วณที่ มี แ สงสว า งจ า ภาพที่ เ ห็ น จากจอภาพเมื่ อ ใช ร ะบบ LCD Live View อาจมี ค วามสว า งแตกต า งจากภาพที่ ถ า ยได จ ริ ง ควรจะปรั บ [ Brightness] เปน 4 เพื่อลดผลกระทบจากแสงภายนอก แลวจึงมองภาพจากจอ LCD หากไม ต อ งการให ก ล อ งแสดงภาพแบบ Live View ในขณะที่ กำลั ง ปรั บ ตั้ ง ฟ ง ก ชั่ น อยู ให ก ดปุ ม หลั ง ขั้ น ตอนที่ 1 เมื่ อ กดปุ ม แล ว กล อ งจะแสดงหน า จอปรั บ ตั้ ง แบบเร็ ว และผู ใ ช ส ามารถเล็ ง ภาพจากช อ งเล็ ง ภาพตามปกติ ไ ด ห ลั ง จากที่ ป รั บ ตั้ ง [Shoot by ambience selection] และ [Shoot by lighting or scene]


ารเลือกปรับเปลีย่ นลักษณะของภาพ

ลักษณะของภาพ (มาตรฐาน) ลั ก ษณะนี้ เ หมาะสำหรั บ ใช ร ว มกั น กั บ ระบบบั น ทึ ก ภาพแทบทุ ก แบบ และควรทราบว า ระบบ ก็จะออกแบบใหมีลักษณะภาพที่เหมาะกับภาพถายบุคคล ระบบ ก็จะมีลักษณะภาพที่เหมาะสำหรับภาพทิวทัศน ลักษณะภาพที่ออกแบบมาสำหรับระบบ บันทึกภาพแบบตางๆ ก็จะมีรูปแบบแตกตางกันตามความเหมาะสมของภาพแบบนั้นๆ (สดใส) ภาพจะดูคมกริบและมีสีสันฉูดฉาด และทำใหภาพดูนาสนใจมากกวา [Standard setting] (นุ ม นวล) วัตถุจะแลดูนุมนวลและแลดูสวยงามมากขึ้น เหมาะสำหรับถายภาพบุคคล สัตวเลี้ยง ดอกไม ฯลฯ (อบอุน ) ภาพจะดู นุ ม นวลและอบอุ น มากขึ้ น เหมาะสำหรั บ ถ า ยภาพบุ ค คล สั ต ว เ ลี้ ย ง ฯลฯ ที่ตองการใหแลดูอบอุน (หนั ก แน น ) ความสวางของภาพโดยรวมจะดูสลัวลง แตจุดเดนจะถูกเนนใหเห็นไดชัดขึ้น ทำให ค นหรื อ สิ่ ง อื่ น ที่ ต อ งการเน น หนั ก ดู โ ดดเด น ออกมา (เยือกเย็น) ความสวางของภาพโดยรวมจะดูสลัวลง สีของภาพจะอมดวยวรรณะสีเย็น วั ต ถุ ที่ อ ยู ภ ายในร ม เงาจะแลดู ส งบ และน า สนใจ (สว า งขึ้ น ) ภาพจะแลดู ส ว า งขึ้ น (มืดลง) ภาพจะแลดู เ ข ม ขึ้ น (ขาวดำ) ภาพจะเปนสีเอกรงค และสามารถเลือกโทนสีที่ตองการได เชน ขาวดำ ซีเปย หรือสีน้ำเงิน


¡ารเลือกปรับเปลีย่ นชนิดของแหลงกำเนิดแสง

เมื่อถายภาพดวยระบบบันทึกภาพ (บุคคล) (ทิวทัศน) (โคลสอัพ) และ (กีฬา) ผูใชสามารถปรับเปลี่ยนชนิดของแหลงกำเนิดแสง รวมกับการถายภาพ ด ว ยระบบเหล า นี้ ไ ด ซึ่ ง ตามปกติ ค า มาตรฐาน [Default setting] ได ถู ก ออกแบบให ใ ช ไดเหมาะสมอยูแลว แตหากไดเลือกชนิดของแหลงกำเนิดแสงอยางเจาะจง สีสันของภาพ ก็ จ ะยิ่ ง ดู เ หมื อ นกั บ ที่ ต าเห็ น มากขึ้ น หากผู ใ ช ป รั บ ตั้ ง ระบบนี้ ร ว มกั บ การตั้ ง [Shoot by ambience selection] (น.68) ควรจะปรั บ ตั้ ง ระบบนี้ ใ ห เ หมาะสมเสี ย ก อ น เพื่ อ ผลของภาพถ า ยที่ ดี ที่ สุ ด สภาพ/แหลงกำเนิดแสง (1) Default setting (2) Daylighr (3) Shade (4) Cloudy (5) Tungsten light (6) Flourescent light (7) Sunset

หมุนวงแหวนเลือกระบบบันทึกภาพไป ที่ ร ะดั บ ใดระบบหนึ่ ง ปรับกลองใหทำงานแบบ Live View กดปุ ม < > เพื่ อ เข า สู ก ารทำงานของ ระบบ Live View


ารเลือกปรับเปลีย่ นชนิดของแหลงกำเนิดแสง ที่ ห น า จอของการปรั บ ตั้ ง แบบรวดเร็ ว เลือกชนิดของแหลงกำเนิดแสง กดปุ ม กดปุม

(ตั้ ง ค า เริ่ ม ต น ) เพื่อเลือก [Default setting],

[Shoot by lighting or scene type]

(ถายภาพตามการเลือกบรรยากาศ) ซึ่งจะปรากฏที่ดานลางของจอภาพ กดปุม เพื่อเลือกชนิดของแหลงกำเนิด แสงหรือสภาพแสง จอภาพ LCD จะแสดงลักษณะของภาพหลังจาก ที่ไดเลือกแหลงกำเนิดแสงหรือสภาพแสงแลว

ถ า ยภาพ

กดชัตเตอรจนสุด ขณะที่กลองแสดงภาพในแบบ Live View หากต อ งการเล็ ง ภาพโดยใช ช อ งเล็ ง ภาพ ให กดปุ ม < > เพื่อออกจากระบบ Live View จากนั้ น เล็ ง ภาพแบบปกติ แล ว กดชั ต เตอร เ พื่ อ ถ า ยภาพ เมื่ อ ปรั บ สวิ ต ซ เ ป ด ป ด การทำงานไปที่ หรื อ เปลี่ ย นระบบบั น ทึ ก ภาพไปเป น แบบอื่ น การปรับตั้งจะกลับสูคามาตรฐานโดยอัตโนมัติ [Default setting]

ถ า ใช แ ฟลชถ า ยภาพ [ Default setting] จะถู ก นำมาใช แ ทนตั ว เลื อ กที่ เ ลื อ กไว หากต อ งการปรั บ ตั้ ง ทั้ ง ระบบนี้ ร ว มกั น กั บ [Shoot by ambience selection] ให ปรั บ ตั้ ง [Shoot by lighting or scene type] ที่ ใ ห ภ าพที่ เ หมาะสมที่ สุ ด และใน กรณี ที่ ตั้ ง เป น [Sunset] สี ข องภาพจะดู อุ น ขึ้ น มากจนการปรั บ ตั้ ง แหล ง กำเนิ ด แสงมี ผลต อ ภาพน อ ยมากๆ ก อ นถ า ยภาพ จึ ง ควรตรวจสอบด ว ยระบบ Live View เพื่ อ ตรวจ สอบดู ว า ผลของภาพจะเป น อย า งไร


ารเลือกปรับเปลีย่ นชนิดของแหลงกำเนิดแสง

ลักษณะของภาพ (ตั้ ง ค า เริ่ ม ต น ) คามาตรฐานของกลอง (แสงแดด) เมื่อถายภาพวัตถุดวยแสงแดด ใหภาพที่มีทองฟาเปนสวนประกอบมีสีฟาสดใสอยางเปน ธรรมชาติ พรอมกับสีเขียวในภาพที่สดมากขึ้น และใหสีของดอกไมที่มีสีออนๆ ไดดี (แสงในร ม ) สำหรั บ ถ า ยภาพวั ต ถุ ที่ อ ยู ใ นร ม เงาในที่ ก ลางแจ ง เพื่ อ ช ว ยแก สี ผิ ว ของคนซึ่ ง มั ก จะอมสี น้ำ เงิ น ในสภาพแสงแบบนี้ และเหมาะสำหรั บ การถ า ยภาพดอกไม ที่ มี สี อ อ นด ว ย (เมฆครื้ ม ) สำหรับถายภาพวัตถุในขณะที่ทองฟาเต็มไปดวยเมฆหมอก เพื่อชวยปรับแกไมใหสีผิวของ คนและทิ ว ทั ศ น ดู ทึ ม เทาและช ว ยให สี ข องภาพอุ น ขึ้ น ด ว ย และเหมาะสำหรั บ การถ า ย ภาพดอกไม ที่ มี สี อ อ นเช น กั น (ไฟทังสเตน) ใชสำหรับถายภาพวัตถุดวยแสงจากหลอดไฟทังสเตน เพื่อแกไมใหภาพอมสีสมแดง ซึ่งเกิด จากสีของแสงไฟชนิดนี้ (ไฟฟลูออเรสเซนต) ใชสำหรับถายภาพวัตถุดวยแสงจากหลอดฟลูออเรสเซนต และสามารถใชไดกับหลอดไฟ ฟลูออเรสเซนตทุกชนิด (อาทิตยตก) เหมาะสำหรั บ ใช ถ า ยภาพเพื่ อ แสดงบรรยากาศที่ น า ประทั บ ใจขณะพระอาทิ ต ย ต ก



ÃкºÍÍⵌ⿡ÑÊ áÅÐÃкº¢Ñºà¤Å×Í è ¹ ภายในช อ งเล็ ง ภาพ จะเห็ น จุ ด โฟกั ส จำนวน 9 จุ ด ซึ่ ง ออกแบบให ผู ใ ช เ ลื อ กจุ ด ที่ ต อ งการให ทำงานไดดวยตนเอง และผูใชสามารถถายภาพ โดยใชระบบออโตโฟกัสและจัดองคประกอบภาพ ในเวลาเดี ย วกั น ผู ใ ช ส ามารถเลื อ กรู ป แบบการทำงานของระบบออโต โ ฟกั ส และระบบขั บ เคลื่ อ นที่ เ หมาะสำหรั บ การถ า ยภาพในลั ก ษณะต า งๆ ได อ ย า งเจาะจง สัญลักษณ ซึ่งปรากฎที่มุมขวาดานบนของหนา หมายถึง ฟงกชั่นนั้น จะใช ง านได ก็ ต อ เมื่ อ เลื อ กระบบบั น ทึ ก ภาพ (P/Tv/Av/M/B) เมื่อใชระบบบันทึกภาพภายใน Basic Zone ระบบออโตโฟกัส จุดโฟกัส และระบบขับเคลื่อน จะถูกปรับตั้งใหโดยอัตโนมัติ

<AF> หมายถึง ออโตโฟกัส <MF> หมายถึงแมนนวลโฟกัส


ารเลือกระบบออโตโฟกัส

ผูใชสามารถเปลี่ยนรูปแบบการทำงานของระบบออโตโฟกัสเพื่อใหเหมาะสมกับสถานการณหรือสิ่ง ที่ ต อ งการถ า ย และมื่ อ ถ า ยภาพด ว ยระบบ Basic Zone กล อ งจะปรั บ ตั้ ง ให โ ดยอั ต โนมั ติ

ที่กระบอกเลนส ปรับสวิตซไปที่ หมุ น วงแหวนควบคุ ม หลั ก เพื่ อ เลื อ ก ระบบใน Creative Zone กดปุ ม

เลือกรูปแบบของระบบ AF ที่ตองการ ดูที่จอภาพ LCD และหมุนวงแหวน หรื อ

ใชระบบ One-Shot AF ถายภาพสิ่งที่อยูนิ่ง

เลื อ กระบบ One-Shot AF เมื่ อ ต อ งการถ า ยภาพสิ่ ง ที่ อ ยู นิ่ ง ๆ เมื่ อ แตะชั ต เตอร ล ง ครี่งหนึ่ง กลองจะหาความชัดเพียงครั้งเดียวและหยุด เมื่อโฟกัสไดแลว จุดโฟกัสที่จับภาพไดจะติดสวางขึ้น สัญญาณไฟยืนยัน ในชอง เล็งภาพก็จะปรากฎขึ้นดวย ถาใชระบบวัดแสงแบบเฉลี่ยหลายสวน คาแสงจะถูกวัดคาเอาไวในเวลาเดียวกับที่กลอง จับโฟกัสได เมื่อใชนิ้วแตะชัตเตอรลงครึ่งหนึ่งและยังคงใชนิ้วแตะคางไว กลองจะยังคงล็อคโฟกัส ผูใช สามารถหันกลองเพื่อจัดองคประกอบภาพใหมตามที่ตองการ


ารเลือกระบบออโตโฟกัส หากระบบออโต โ ฟกั ส ไม ส ามารถทำงานได สั ญ ญาณยื น ยั น ความชั ด ในช อ งเล็ ง ภาพ จะกระพริ บ หากเป น เช น นี้ จะถ า ยภาพไม ไ ด ( กดชั ต เตอร ไ ม ไ ด ) เมื่ อ เกิ ด กรณี นี้ ให ล องจั ด องค ป ระกอบภาพใหม แล ว ลองโฟกั ส อี ก ครั้ ง หรื อ ดู “เมื่ อ ระบบออโต โ ฟกั ส ทำงานลมเหลว” (น.80) ถ า เมนู [ Beep] ได ถู ก เลื อ กไว ที่ [Disable] สั ญ ญาณเสี ย งเตื อ นจะไม ดั ง ขึ้ น เมื่ อ กล อ ง จั บ โฟกั ส ได

ใชระบบ AI Servo AF เมื่อถายภาพสิ่งที่กำลังเคลื่อนที่ ระบบออโต โ ฟกั ส แบบนี้ เ หมาะสำหรั บ ใช ถ า ยภาพวั ต ถุ ที่ กำลั ง เคลื่ อ นที่ ซึ่ ง ทำให ระยะโฟกั ส เปลี่ ย นแปลงไปตลอดเวลา เมื่ อ เลื อ กระบบนี้ แล ว ใช นิ้ ว แตะปุ ม ชัตเตอรคางไว วัตถุในภาพจะถูกจับภาพใหคมชัดอยูตลอดเวลา ค า การเป ด รั บ แสง จะเป น ค า ในขณะที่ ถ า ยภาพ หากระบบเลื อ กจุ ด โฟกั ส ถู ก เลื อ กเป น แบบอั ต โนมั ติ (น.78) กล อ งจะใช จุ ด โฟกั ส จุ ด กึ่ ง กลางในการทำงานจั บ ภาพก อ น ในระหว า งที่ กำลั ง หาโฟกั ส หากวั ต ถุ เ คลื่ อ นที่ อ อกไป จากจุดกึ่งกลาง ระบบออโตโฟกัสแบบติดตามวัตถุจะเริ่มทำงานตราบเทาที่วัตถุยังคงอยู ภายในบริเวณของจุดโฟกัสจุดตางๆ เมื่อเลือกใชระบบ AI Servo AF สัญญาณเสียงยืนยันภาพชัดจะไมดังขึ้นแมวาจะจับภาพไดชัด แล ว ก็ ต าม และไฟสั ญ ญาณยื น ยั น ความชั ด ก็ จ ะไม ติ ด สว า งขึ้ น

ใชระบบ AI Focus AF เมื่อตองการสลับการทำงาน ของระบบ AF โดยอัตโนมัติ ใชระบบ AI Focus AF เมื่อตองการใหกลองปรับเปลี่ยนจาก One-Shot AF ไปเปน AI Servo AF ใหโดยอัตโนมัติ เมื่อวัตถุที่หยุดนิ่งเริ่มเคลื่อนที่ หลั ง จากจั บ ภาพวั ต ถุ ที่ ห ยุ ด นิ่ ง ได แ ล ว ด ว ยระบบ One-Shot AF ถ า วั ต ถุ นั้ น เริ่ ม เคลื่ อ นที่ กลองจะจับการเคลื่อนที่ได และเปลี่ยนรูปแบบการโฟกัสไปเปน AI Servo AF โดยอัตโนมัติ เมื่อระบบโฟกัสแบบ AI Focus AF จับภาพไดในแบบ Servo สัญญาณเสียงเตือนจะดัง ขึ้ น แต เ บากว า ปกติ แต ไ ฟสั ญ ญาณยื น ยั น ความชั ด ก็ จ ะไม ติ ด สว า งขึ้ น ใน ชองเล็งภาพ


การเลือกจุดโฟกัส

ผูใชสามารถจะเลือกจุดโฟกัสจุดใดจุดหนึ่งใน 9 จุด เพื่อใชหาโฟกัสแบบออโตโฟกัสได โปรด ทราบวา ใน Basic Zone กลองจะเลือกจุดโฟกัสใหโดยอัตโนมัติ ไมสามารถเลือกเองได

กดปุ ม จุดโฟกัสที่เลือกได จะปรากฏอยูในชองเล็งภาพ และที่จอ LCD เมื่อจุดโฟกัสทั้งหมดติดสวางขึ้นในชองเล็งภาพ หมายถึ ง การปรั บ ตั้ ง ให ก ล อ งเลื อ กจุ ด โฟกั ส ที่ เหมาะสมใหโดยอัตโนมัติ

เลือกจุดโฟกัสที่ตองการ

การกดปุม จะเปนการสลับการเลือก ระหว า งจุ ด โฟกั ส กึ่ ง กลางกั บ เลื อ กจุ ด โฟกั ส ทั้ ง หมด(ใหกลองเลือกโดยอัตโนมัติ)

การเลือกโดยใชวงแหวน เมื่อหมุนวงแหวน หรือ จุดโฟกัส ที่ถูกเลือกจะเปลี่ยนไปตามทิศทางของการหมุน เมื่ อ จุ ด โฟกั ส ทั้ ง หมดทุ ก ๆ จุ ด สว า งขึ้ น หมายถึ ง การเลื อ กจุ ด โฟกั ส แบบให เ ลื อ กจุ ด ที่ จ ะทำงาน โดยอัตโนมัติ

เลือกโดยใช Multi-controller จุดโฟกัสจะเปลี่ยนไปตามทิศทางของการกดปุม บน หากมีการกดปุมเดิมซ้ำในทิศทาง เดี ย วกั น อยู ต ลอด จะเป น การเลื อ กการทำงาน สลั บ กั น ระหว า งการเลื อ กจุ ด โฟกั ส เอง กั บ การ เลือกจุดโฟกัสโดยอัตโนมัติ(เลือกโดยกลอง) เมื่อกดปุม

จุดโฟกัสที่กึ่งกลางจะถูกเลือก


ารเลือกจุดโฟกัส หากต อ งการเลื อ กจุ ด โฟกั ส โดยดู ก ารเลื อ กจากจอ LCD ให ดู แ ผนภาพด า นล า ง เลื อ กแบบอั ต โนมั ติ , เจุ ด กลาง ขวา , บน เมื่ อ ใช แ ฟลชภายนอกจากระบบ EOS และกล อ งไม ส ามารถหาโฟกั ส ได แ ม จ ะใช ไ ฟช ว ย หาโฟกั ส ในที่ แ สงน อ ยแล ว ให เ ปลี่ ย นมาใช จุ ด โฟกั ส จุ ด กึ่ ง กลาง

ใชแฟลชในตัวชวยหาโฟกัสในสภาพแสงนอย ในสภาพแสงนอย เมื่อแตะชัตเตอรลงครึ่งหนึ่ง แฟลชในตัวจะยิงแสงดวยความถี่สูงเพื่อให ความสว า งแก วั ต ถุ ทำให ร ะบบออโต โ ฟกั ส ทำงานได ง า ยขึ้ น แฟลชในตั ว จะไม ทำงานในการช ว ยหาโฟกั ส เมื่ อ ใช ร ะบบบั น ทึ ก ภาพต อ ไปนี้ การใช แ ฟลชในตั ว ให ค วามสว า งสำหรั บ ช ว ยหาโฟกั ส นั้ น จะทำงานได ผ ลในช ว งไม ไ กล กว า 4 เมตร/13.1 ฟุ ต เมื่ อ ใช ร ะบบบั น ทึ ก ภาพใน Creative Zone และกดปุ ม เพื่ อ ให แ ฟลชในตั ว กล อ งยก ตั ว ขึ้ น ทำงาน แฟลชจะยิ ง แสงช ว ยหาโฟกั ส เมื่ อ มี ค วามจำเป น

ชองรับแสงกวางสุดของเลนส และการตอบสนองของระบบออโตโฟกัส เมื่อใชเลนสที่มีชองรับแสงกวางสุด: กวางกวา f/5.6

เซนเซอรของจุดโฟกัสทุกๆ จุดเปนแบบกากบาท ตอบสนองไดทั้งแนวตั้งและแนวนอน จึง สามารถโฟกัสสิ่งที่เปนเสนตรงในแนวตั้งและแนวนอนได

เมื่อใชเลนสที่มีชองรับแสงกวางสุด: กวางกวา f/2.8

จุ ด โฟกั ส จุด กึ่ง กลาง จะมี ลั ก ษณะของเซนเซอร แ บบกากบาทและมี ค วามแม น ยำสู ง ทั้ ง ทางแนวตั้งและแนวนอน โดยจุดโฟกัสกึ่งกลางนั้น จะไวตอการแยกแยะเสนทั้งทางแนว ตั้ ง และทางแนวนอนมากกว า จุ ด โฟกั ส อื่ น ๆ 2 เท า สวนจุดโฟกัสอื่นๆ อีก 8 จุด ก็มีเซนเซอรแบบกากบาทเชนกัน เมื่อใชรวมกับเลนสที่มีชอง รับแสงกวางสุดที่กวางกวา f/5.6 * ยกเวน เลนส EF28-80mm f/2.8-4L USM และ EF50mm f/2.5 Compact Macro


เมื่อระบบออโตโฟกัสไมสามารถจับภาพได ระบบออโตโฟกัสอาจไมสามารถจับภาพไดในบางสถานการณ เชน สถานการณบางอยาง ดั ง ต อ ไปนี้ (ไฟสั ญ ญาณยื น ยั น ความชั ด กระพริบ)

วัตถุที่ยากตอการโฟกัสอัตโนมัติ

วั ต ถุ ที่ มี ค วามเปรี ย บต า งต่ำ มาก (ตั ว อย า งเช น : ท อ งฟ า สี ฟ า เรี ย บ, ผนั ง หรื อ กำแพงที่ ท าสี เ รี ย บสี เ ดี ย ว ฯลฯ) วั ต ถุ ซึ่ ง อยู ใ นที่ แ สงน อ ย เล็งวัตถุในสภาพยอนแสงมาก หรือวัตถุที่มีพื้นผิวสะทอนแสง (ตัวอยางเชน: รถยนตที่ มี พื้ น ผิ ว สะท อ นแสงมาก ฯลฯ) เมื่ อ จุ ด โฟกั ส จุ ด เดี ย วกั น ทาบคร อ มวั ต ถุ ที่ อ ยู ใ กล แ ละไกล (ตั ว อย า งเช น : เมื่ อ เล็ ง ภาพ สั ต ว ที่ อ ยู ใ นกรง ฯลฯ) พื้นผิวที่มีลวดลายซ้ำซอน (ตัวอยางเชน : พื้นผิวของมูลี่ คียบอรดคอมพิวเตอร เปนตน) เมื่อระบบออโตโฟกัสทำงานไมไดผล ใหทำอยางใดอยางหนึ่งดังตอไปนี้ (1) ใชระบบ One-Shot AF โฟกัสไปที่วัตถุที่อยูในระยะหางออกไปใกลเคียงกัน ล็อคโฟกัส แลวจัดองคประกอบภาพใหม (น.56) (2) ปรั บ สวิ ต ซ ที่ ก ระบอกเลนส ไ ปที่ <MF> แล ว ใช มื อ หมุ น ปรั บ ภาพให ชั ด

MF: แมนนวลโฟกัส ปรั บ สวิ ต ซ ที่ ก ระบอกเลนส ไ ปที่ จะปรากฏขึ้นที่จอ LCD

โฟกัสไปยังวัตถุ วงแหวนโฟกัส

ใช มื อ หมุ น วงแหวนโฟกั ส และดู ภ าพที่ ช อ งเล็ ง ภาพ จนกระทั่ ง เห็ น ภาพวั ต ถุ นั้ น ชั ด เจน

หากใช นิ้ ว แตะปุ ม ชั ต เตอร เ บาๆ ลงครึ่ ง หนึ่ ง ระหว า งที่ ใ ช มื อ หมุ น ปรั บ ภาพให ชั ด จุ ด โฟกัสที่คนพบความชัดจะติดสวางขึ้น และไฟสัญญาณยืนยันความชัด ก็จะติด ขึ้ น ในช อ งเล็ ง ภาพด ว ย


ารปรับเลือกระบบขับเคลื่อน

กล อ งรุ น นี้ ถู ก ออกแบบให มี ร ะบบขั บ เคลื่ อ นทั้ ง แบบถ า ยครั้ ง ละภาพและถ า ยภาพต อ เนื่ อ ง และเมื่ อ ถ า ยภาพด ว ยระบบอั ต โนมั ติ ส มบู ร ณ แ บบ ระบบขั บ เคลื่ อ นจะทำงานในแบบถ า ยภาพ ครั้ ง ละภาพโดยอั ต โนมั ติ

กดปุ ม เลือกระบบขับเคลื่อน

ดูที่จอ LCD แลวใชวงแหวน ปรั บ เลื อ ก

หรือ

ถายภาพแบบครั้งละภาพ (ถ า ยภาพเดี่ ย ว) เมื่อผูใชกดชัตเตอรลงจนสุด กลองจะถายภาพ 1 ภาพ ถ า ยภาพต อ เนื่ อ งความเร็ ว สู ง (สู ง สุ ด 5.3 ภาพต อ วิ น าที ) ถ า ยภาพต อ เนื่ อ งความเร็ ว ต่ำ (สู ง สุ ด 3 ภาพต อ วิ น าที ) เมื่อกดชัตเตอรจนสุด และกดคางอยู กลองจะถายภาพอยางตอเนื่องจนกวาจะยก นิ้ ว ออก หน ว งเวลาถ า ยภาพ 10 วิ น าที / ถ า ยภาพด ว ยรี โ มท หน ว งเวลาถ า ยภาพ 2 วิ น าที / ถ า ยภาพด ว ยรี โ มท สำหรั บ การถ า ยภาพด ว ยระบบหน ว งเวลา ดู วิ ธี ป รั บ ตั้ ง ในหน า ถั ด ไป สำหรั บ การ ถายภาพดวยรีโมท ดูรายละเอียดหนา 126

เมื่ อ ใช ร ะบบ AI Servo AF ความเร็ ว ในการถ า ยภาพต อ เนื่ อ งอาจลดลงเล็ ก น อ ย ขึ้ น อยู กั บ วั ต ถุ แ ละเลนส ที่ ใ ช ในสภาพแสงน อ ยหรื อ ในร ม ความเร็ ว ในการถ า ยภาพต อ เนื่ อ งจะลดลง แม ว า ความไว ชั ต เตอร จ ะสู ง ก็ ต าม


การใชระบบหนวงเวลาถายภาพ ใชระบบหนวงเวลาถายภาพเมื่อตองการถายภาพตัวเอง ระบบ วิ น าที ) สามารถใช ไ ด กั บ ทุ ก ๆ ระบบบั น ทึ ก ภาพ

(หนวงเวลา 10

กดปุ ม เลือกระบบหนวงเวลา

ดู ที่ จ อ LCD แล ว ใช ว งแหวน ปรั บ เลื อ ก หน ว งเวลาถ า ยภาพ 10 วิ น าที หน ว งเวลาถ า ยภาพ 2 วิ น าที

ถ า ยภาพ

เมื่อเล็งภาพ โฟกัส จนพรอมถายภาพ กดชัตเตอร ลงจนสุด ผู ใ ช ส ามารถตรวจสอบการทำงานของระบบ หน ว งเวลาถ า ยภาพได จ ากไฟสั ญ ญาณเสี ย ง เตือน และการนับถอยหลังซึ่งปรากฎบนจอ LCD กอนที่ชัตเตอรจะลั่น 2 วินาที ไฟสัญญาณจะติด คาง สัญญาณเสียงจะดังถี่ขึ้น

ระบบ ช ว ยให ผู ใ ช ถ า ยภาพเมื่ อ ตั้ ง กล อ งไว บ นขาตั้ ง กล อ ง โดยไม ต อ งใช นิ้ ว กดปุ ม ชั ต เตอร เพื่ อ ป อ งกั น ภาพสั่ น เมื่ อ ถ า ยภาพนิ่ ง หรื อ เมื่ อ ถ า ยภาพด ว ยชั ต เตอร B หลั ง จากถ า ยภาพด ว ยระบบหน ว งเวลาถ า ยภาพแล ว ควรตรวจสอบความชั ด และความ เข ม สว า งของภาพ (น.190) เมื่ อ ถ า ยภาพโดยไม ม องผ า นช อ งเล็ ง ภาพหลั ง จากกดชั ต เตอร แ ล ว ควรใช ฝ าครอบช อ ง เล็ ง ภาพป ด ช อ งเล็ ง ภาพ (น.124) เพราะแสงอาจลอดเข า สู ตั ว กล อ งทางช อ งเล็ ง ภาพ ทำให ภ าพเสี ย (สว า งจ า ) เมื่ อ ใช ร ะบบหน ว งเวลาถ า ยภาพเพื่ อ ถ า ยภาพเฉพาะตนเอง ใช ร ะบบล็ อ คโฟกั ส (น.56) เพื่ อ โฟกั ส ที่ สิ่ ง ที่ อ ยู ใ นระยะใกล เ คี ย งกั บ ตำแหน ง ที่ จ ะไปยื น อยู หากต อ งการยกเลิ ก ระบบหน ว งเวลาหลั ง จากที่ ร ะบบเริ่ ม ทำงานไปแล ว กดปุ ม


»ÃѺµÑé§ÅѡɳТͧÀÒ¾ เนื้ อ หาของบทนี้ จะอธิ บ ายการปรั บ ตั้ ง ฟ ง ก ชั่ น ต า งๆ เกี่ ย วกั บ การปรั บ ตั้ ง คุณภาพของไฟลภาพที่จะถูกบันทึก ความไวแสง Picture Style สมดุลสีขาว ระบบปรับความเขมสวางอัตโนมัติ ปรับแกความสลัวของขอบภาพ ฯลฯ เมื่อใชระบบบันทึกภาพ Basic Zone จะสามารถปรับตั้งไดเฉพาะ คุณภาพ ของไฟลภาพที่จะถูกบันทึก ความสลัวของขอบภาพ และการลำดับของชื่อ ไฟล ซึ่ ง จะอธิ บ ายรายละเอี ย ดในบทนี้ นอกจากนี้ สามารถสร า งโฟลเดอร ใหมเลือกเก็บภาพในโฟลเดอรที่ตองการได และลำดับชื่อไฟลใหมได เมื่อสัญลักษณ ปรากฎที่ดานบนบริเวณมุมขวาของคูมือ หมายความ ว า ฟ ง ก ชั่ น นั้ น จะใช ไ ด เ ฉพาะเมื่ อ บั น ทึ ก ภาพด ว ยระบบ


รับตั้งคุณภาพของภาพ

ผใู ชสามารถปรับตัง้ ความละเอียดในการถายภาพ(พิกเซล) และปรับตัง้ คุณภาพในการถายภาพ ได โดยสามารถปรับตัง้ ไฟลแบบ JPEG ได 8 ระดับ : 3 รวมทั้งการบันทึกภาพในแบบ RAW file ได 3 แบบ : (น.86)

เลือก [Quality] (คุณภาพ) ในแถบ [ ] เลือก [Quality] จากนั้ น กดปุ ม

เลือกระดับคุณภาพของภาพ

หากตองการเลือก RAW หมุนวงแหวน หากตองการเลือกเปน JPEG ใหกดปุม ที่ ด า นบนขวา จะแสดงให เ ห็ น จำนวนพิ ก เซล ***M ลานพิกเซล ****x**** จำนวนพิกเซล แต ล ะด า น และ [***] จำนวนภาพที่ ถ า ยได (แสดงไดมากที่สุด 999 ภาพ) กดปุ ม

เพื่ อ ยื น ยั น การปรั บ ตั้ ง

ตัวอยางการปรับตั้งคุณภาพของภาพ เฉพาะ

เฉพาะ

ถ า ตั้ ง [-] สำหรับ RAW และ JPEG กลองจะบันทึกในระดับคุณภาพ


รับตัง้ คุณภาพของภาพ คำแนะนำในการปรับตั้งคุณภาพของภาพ (โดยประมาณ) ระดับคุณภาพ

จำนวนพิ ก เซลที่ บันทึก(ลานพิกเซล)

ประมาณ

ขนาด การพิ ม พ

ภาพที่ ถ า ยได

จำนวนภาพ ถ า ยต อ เนื่ อ ง

หรื อ ใหญ ก ว า

ประมาณ

ประมาณ

ประมาณ

ประมาณ

ประมาณ

ขนาดไฟล (MB)

ประมาณ

ประมาณ ประมาณ

หรื อ ใหญ ก ว า

ประมาณ

ประมาณ

ประมาณ

ประมาณ

หรื อ ใหญ ก ว า ประมาณ หรื อ ใหญ ก ว า ประมาณ ประมาณ ประมาณ หรื อ ใหญ ก ว า ประมาณ ประมาณ ประมาณ หรื อ ใหญ ก ว า ประมาณ เป น ระดั บ ความละเอี ย ดที่ เ หมาะสำหรั บ การใช เ ล น ดู จ าก digital photo frame เป น ระดั บ ความละเอี ย ดที่ เ หมาะสำหรั บ การส ง อี เ มล ห รื อ ใช ป ระกอบเวบไซต และ จะมี ร ะดั บ คุ ณ ภาพเป น (Fine)

ตารางแสดงขนาดไฟล จำนวนภาพที่ ถ า ยได และปริ ม าณภาพที่ ถ า ยได ม ากที่ สุ ด เมื่ อ ใช ร ะบบ บั น ทึ ก ภาพต อ เนื่ อ ง ทดสอบตามมาตรฐานของ Canon (อั ต ราส ว นของด า น 3:2) ที่ ISO 100 ใช Picture Style Standard) โดยใชการดขนาด 4 GB คาที่แสดงไวในตารางขึ้นอยูกับวัตถุ ยี่หอ ของการด ความไวแสง Picture Style และ Custom Functions ฯลฯ

ปริ ม าณภาพที่ ถ า ยได ม ากที่ สุ ด เมื่ อ ใช ร ะบบถ า ยภาพต อ เนื่ อ งความเร็ ว สู ง


รับตัง้ คุณภาพของภาพ หากอัตราสวนของดานของภาพมีความแตกตางจากอัตราสวนของดานของกระดาษ ที่ ใ ช พิ ม พ ภาพจะถู ก ตั ด ส ว นหากเลื อ กการพิ ม พ เ ป น แบบไร ข อบภาพ(borderless) และเมื่อภาพถูกตัดสวน ภาพที่พิมพออกมาอาจจะดูหยาบขึ้น ซึ่งเกิดจากพิกเซลของ ภาพที่ มี จำนวนลดลง เมื่อเลือกบันทึกภาพทั้ง RAW และ JPEG ไฟลทั้งสองชนิดจะถูกบันทึกลงในการดพรอมๆ กัน ตามระดับคุณภาพและความละเอียดที่ปรับตั้งไว ไฟลทั้งสองชนิดจะถูกบันทึกไวภาย ในโฟลเดอร เ ดี ย วกั น โดยมี ห มายเลขลำดั บ ไฟล เ ดี ย วกั น (.JPG จะเป น สกุ ล ของไฟล JPEG และ .CR2 จะเป น สกุ ล ของไฟล RAW) คุ ณ ภาพในการบั น ทึ ก จะมี ชื่ อ ดั ง นี้ : (RAW), (Medium RAW), (Small RAW), JPEG, (Fine), (Normal), (Large), Medium, (Small)

เกี่ยวกับ RAW เป น ข อ มู ล จากเซนเซอร รั บ แสงที่ ถู ก แปลงเป น ข อ มู ล แบบดิ จิ ต อล และบั น ทึ ก ลงในการ ด ทันที และผูใชสามารถเลือกไดหลายระดับความละเอียด ไดแก , , ไฟลแบบ นั้น สามารถประมวลผลภายในตัวกลองไดดวยเมนู [ RAW image processing] (น.224) แลวบันทึกเปนไฟลแบบ Jpeg (ไมสามารถประมวลผลไฟลแบบ และ ภายในตัวกลองได) และตนฉบับของไฟล RAW ในกลองจะไมเปลี่ยนแปลงไป ผูใชจึงสามารถสรางภาพใหม ขึ้นจากไฟลตนฉบับเดิมได และนอกจากนี้ ผูใชสามารถใชซอฟทแวรที่ไดมาพรอมกับกลอง ในการประมวลผลและปรับแตงภาพจากไฟล RAW และบันทึกเปน JPEG, TIFF และสกุล อื่ น ๆ ได

ซอฟท แ วร จั ด การภาพจากผู ผ ลิ ต ทั่ ว ไปอาจจะไม ส ามารถเป ด และแสดงภาพจากไฟล แบบ RAW ได แนะนำให ใ ช ซ อฟท แ วร ข อง Canon ที่ ใ ห ไ ปกั บ ตั ว กล อ ง


รับตัง้ คุณภาพของภาพ ปริ ม าณภาพที่ ถ า ยได ม ากที่ สุ ด เมื่ อ ถ า ยภาพต อ เนื่ อ ง ปริ ม าณภาพที่ ถ า ยได ม ากที่ สุ ด เมื่ อ ถ า ยภาพต อ เนื่ อ งซึ่ ง ให ข อ มู ล ไว ใ นหน า 85 หมายถึ ง ปริมาณภาพที่สามารถถายไดตอเนื่องกันโดยไมตองหยุดพัก โดยใชการดความจุ 4GB ที่ ผ า นการฟอร แ มทแล ว ปริ ม าณภาพที่ ถ า ยได จ ะปรากฏเป น ตั ว เลขอยู ที่ มุ ม ล า งด า นขวาของช อ งเล็ ง ภาพ และหากถ า ยภาพได มากกวา 99 ภาพขึ้นไป กลองจะแสดงตัวเลข “99”

กล อ งจะแสดงปริ ม าณภาพถ า ยต อ เนื่ อ งสู ง ที่ สุ ด ไว เ สมอ แม จ ะไม มี ก าร ด ในตั ว กล อ งก็ ต าม ตรวจสอบให แ น ใ จว า ได ใ ส ก าร ด แล ว ก อ นถ า ยภาพเสมอ ถ า [ C.Fn II -2: High ISO speed noise reduction] ได ถู ก ตั้ ง เป น [2: Strong] ปริ ม าณภาพที่ ถ า ยได สู ง สุ ด จะลดลง (น.254)

หากตัวเลขในชองเล็งภาพแสดง “99” หมายความวา สามารถถายภาพไดจำนวน 99 ภาพหรือมากกวา และถาตัวเลขเปน “98” หรื อ ต่ำ กว า นั้ น และหน ว ยความจำในตั ว กลองเต็ม กลองจะแสดง “buSY” ในชองเล็งภาพและที่จอ LCD และจะไมสามารถถาย ภาพได ชั่ ว ครู ใ นขณะนั้ น และเมื่ อ หยุ ด ถ า ยภาพต อ เนื่ อ ง ตั ว เลขแสดงจำนวนภาพที่ ถายไดสูงสุดจะเพิ่มขึ้นหลังจากภาพที่ถายไปกอนนั้นไดถูกบันทึกลงในการดแลว และ ปริมาณภาพถายตอเนื่องสูงสุด ไดแสดงไวในรายการในหนา 85


รับตัง้ ความไวแสง

การปรับความไวแสง หรือ ISO หมายถึงการปรับการตอบสนองตอแสงของเซนเซอรเพื่อให เหมาะกับสภาพแสงในขณะที่ถายภาพ ซึ่งในระบบถายภาพ Basic Zone นั้น กลองจะตั้ง ความไวแสงใหโดยอัตโนมัติ (น.89)

กดปุ ม

ปรับคา ความไวแสง

เมื่ อ ดู จ อ LCD หรื อ ช อ งเล็ ง ภาพ หมุ น วงแหวน หรือ เพื่ อ เลื อ กความไวแสงที่ ตองการ สามารถปรั บ ความไวแสงได ใ นช ว ง ISO 1006400 ในระดับขั้นละ 1/3 stop เมื่ อ เลื อ ก “A” กลองจะตั้งความไวแสงใหโดย อัตโนมัติ (น.89)

คำแนะนำในการปรับความไวแสง ความไวแสง

ลักษณะการถายภาพ (ไมใชแฟลช) กลางแจง มีแดด ทองฟาหลัว หรือบรรยากาศในตอนเย็น ภายในทีม่ ดื ในรม หรือตอนกลางคืน

ระยะการทำงานของแฟลช ยิง่ ปรับความไวแสงสูงขึน้ เทาใด ระยะการทำงานของแฟลชก็จะ ไกลขึน้ เทานัน้ (น.131)

* ยิ่ ง ปรั บ ความไวแสงสู ง ขึ้ น ภาพจะยิ่ ง ดู ห ยาบขึ้ น ถ า [ C.Fn II -3: Highlight tone priority] ได ถู ก ตั้ ง เป น [1: Enable] ความไวแสง ISO 100/160 และ H (เทียบเทากับ ISO 12800) จะไมสามารถปรับตั้งได (น.255) เมื่อถายภาพในอุณหภูมิสูง ภาพอาจจะดูหยาบมากขึ้น และการเปดรับแสงเปนเวลานาน มาก ก็อาจทำใหภาพปรากฎเม็ดสีที่มีความหยาบได เมื่อถายภาพดวยความไวแสงสูงๆ สัญญาณรบกวน (ปรากฎเปนเสนสัญญาณรบกวนทาง แนวนอน จุ ด สี ฯลฯ) อาจเกิ ด ขึ้ น ในภาพได

เมื่ อ ตั้ ง [ C.Fn I -3: ISO expansion] เปน [1: On], “H” (สามารถปรับความไว แสงสูงสุดไดเปน ISO 12800 (น.252)


รับตัง้ ความไวแสง เกี่ยวกับ “A” (ตั้งความไวแสงอัตโนมัติ) เมื่ อ เลื อ กปรั บ ตั้ ง ความไวแสงที่ “A” กล อ งจะแสดง ความไวแสงที่ เ ลื อ กให ท ราบเมื่ อ ใช นิ้ ว แตะปุ ม ชั ต เตอร เบาๆ ลงครึ่ ง หนึ่ ง ดั ง รายละเอี ย ดด า นล า ง ซึ่ ง ความไว แสงที่ ก ล อ งเลื อ กให นั้ น จะเป น ระดั บ ที่ เ หมาะสมกั บ สภาพแสงที่ ถ า ยภาพในเวลานั้ น ระบบบันทึกภาพ

เมือ่ ใชแฟลช

ความไวแสงทีป่ รับตัง้ ได อัตโนมัติ โดยอยภู ายในชวง ISO 100-3200 อัตโนมัติ โดยอยภู ายในชวง ISO 100-6400* 1 ตายตัว ที่ ISO 100 ตายตัว ที่ ISO 400 ตายตัว ที่ ISO 400* 2 * 3

* 1: โดยขึ้ น อยู กั บ ค า ความไวแสงสู ง สุ ด ที่ ไ ด ป รั บ ตั้ ง ไว * 2: หากการใช แ ฟลชแบบ fill flash ทำให ภ าพมี ค วามสว า งเกิ น ไป ความไวแสงจะถู ก ตั้ ง เป น ISO 100 หรื อ สู ง กว า ) * 3: หากใช ร ะบบบั น ทึ ก ภาพ < P > หรื อ ระบบบั น ทึ ก ภาพใน Basic Zone (ยกเว น และนำแฟลชภายนอกมาใช กลองจะเลือกความไวแสงในชวง ISO 400-1600 ใหโดยอัตโนมัติ ถ า ความไวแสงสู ง สุ ด ถู ก ตั้ ง เป น [400] หรื อ [800] กล อ งจะเลื อ กความไวแสงภายในช ว งที่ กำหนดนี้

ตั้งความไวแสงสูงสุดสำหรับระบบ Auto ISO เมื่อเลือกปรับตั้งความไวแสงเปน Auto ISO (“A”) ผู ใ ช ส ามารถตั้ ง ความไวแสงสู ง สุ ด ไว ที่ชวงระหวาง ISO 400-6400 หากตองการไดภาพที่มีคุณภาพดี ควรตั้งไวที่ 400, 800 หรือ 1600 และหากตองถายภาพในสภาพแสงนอยๆ โดยไมตองการถายดวยความไวชัตเตอร ต่ำ ๆ ให ตั้ ง ความไวแสงสู ง สุ ด เป น 3200 หรื อ 6400 ในแถบ เลือก [ISO Auto] (ISO อัตโนมัติ) จากนั้นกดปุม เลือกความไวแสงที่ตองการ แลวกด อีกครั้ง


ลือกใช

Picture Style

ด ว ย Picture Style ผู ใ ช ส ามารถปรั บ ตั้ ง ผลพิ เ ศษให กั บ ภาพตามที่ ต อ งการ เพื่ อ ให เ หมาะ กั บ ลั ก ษณะของภาพที่ ถ า ย หรื อ ในแบบที่ ต อ งการสื่ อ ออกมาในภาพนั้ น ๆ แต ถ า ใช ร ะบบ บันทึกภาพภายใน Basic Zone ผูใชไมสามารถเลือกปรับเปลี่ยน Picture Style เองได

เลือก [Picture Style] (รูปแบบภาพ) ในแถบ เลือกรายการ [Picture Style] จากนั้ น กดปุ ม หนาจอจะแสดงตัวเลือกของ Picture Style

เลือก Picture Style

เลือก Picture Style ที่ตองการ จากนั้นกดปุม Picture Style ที่เลือกจะถูกปรับตั้ง และกลับ สู เ มนู

ผลของ Picture Style (ปกติ) ปรับสีของภาพใหสด ใหภาพคมชัดสูง เปนรูปแบบเอนกประสงคที่เหมาะกับการถายภาพ แทบทุ ก แบบ (ภาพบุคคล) ปรั บ สี ผิ ว ของบุ ค คลในภาพให นุ ม นวลและมี โ ทนที่ เ ป น ธรรมชาติ มี ค วามคมชั ด เล็ ก น อ ย เหมาะสำหรับใชถายภาพผูหญิงและเด็กในระยะใกลๆ โดย Picture Style นี้ จะถูกปรับ ตั้ ง ให โ ดยอั ต โนมั ติ เ มื่ อ ใช ร ะบบบั น ทึ ก ภาพ และผู ใ ช ยั ง สามารถปรั บ [Color tone] (น.92) ผูใชสามารถปรับเปลี่ยนโทนของสีผิวได (ภาพวิ ว ) เหมาะสำหรั บ การถ า ยภาพทิ ว ทั ศ น ที่ ต อ งการให สี น้ำ เงิ น และสี เ ขี ย วดู เ ข ม และสดขึ้ น มี ความคมชั ด สู ง มาก เหมาะสำหรั บ ภาพทิ ว ทั ศ น ที่ ดู ตื่ น ตา Picture Style นี้ จะถู ก ปรั บ ตั้ ง ให โ ดยอั ต โนมั ติ เ มื่ อ ใช ร ะบบบั น ทึ ก ภาพ


ลือกใช Picture Style (ภาพเป น กลาง) เหมาะสำหรับผูที่ตองการปรับแตงและประมวลผลของภาพเองโดยใชคอมพิวเตอรเทา นั้น ลักษณะสีของภาพจะเปนสีสันที่ไมสดใสนัก และใหสีที่เที่ยงตรง (ภาพตามจริ ง ) เป น Picture Style อี ก ชนิ ด หนึ่ ง ที่ เ หมาะสำหรั บ ผู ที่ ต อ งการปรั บ แต ง และประมวล ผลของภาพเองโดยใช ค อมพิ ว เตอร ใช สำหรั บ การถ า ยภาพที่ มี ก ารควบคุ ม อุ ณ หภู มิ สี ของแหลงกำเนิดแสงใหตรงกับ 5200 K ซึ่งผูใชตองปรับสีอยางละเอียดใหตรงกันกับสี ของวัตถุตนฉบับเอง ซึ่งสีของไฟลตนฉบับกอนปรับแตงจะดูหมองและซีดจางกวาจริง (ภาพขาวดำ) ใช สำหรั บ ถ า ยภาพขาวดำ ภาพขาวดำที่บันทึกเฉพาะในแบบ JPEG จะทำใหกลับมาเปนภาพสีไมได และ ถาตองการถายภาพอื่นๆ ในแบบภาพสี อยาลืมตรวจสอบวา Picture Style แบบ ขาวดำได ถู ก ยกเลิ ก ไปแล ว หรื อ ไม และเมื่ อ ปรั บ ตั้ ง เป น [Monochrome] สั ญ ลั ก ษณ <B/W> จะปรากฎขึ้นในชองเล็งภาพและที่จอภาพ LCD ผูใชสามารถจะสราง Picture Style ในแบบที่ตัวเองตองการ เชน [Portrait] [Landscape] และปรับตั้งเปลี่ยนแปลงในแบบที่ตองการ (น.94) และบันทึกไวในหนวยความจำของ กลองได สวน Picture Style ที่ไมมีการปรับเปลี่ยน ก็จะเปนไปตามคามาตรฐาน

เกี่ยวกับสัญลักษณ สั ญ ลั ก ษณ ที่อ ยู ท างด า นบนของการเลือ ก Picture Style หมายถึ ง ค า ของตั ว แปร เช น [Sharpness] และ [Contrast] ซึ่งตัวเลขที่กำกับอยู จะแสดงถึงคาของตัวแปรตางๆ ของ Picture Style นั้นๆ (ความคมชัด) (ความเปรี ย บต า ง) (ความอิ่ ม ตั ว ของสี ) (โทนสี ) (ลูกเลนฟลเตอร) (ลูกเลนโทนสี)


รับเปลีย่ นคาใน Picture Style

ผูใชสามารถปรับแตง Picture Style แตละแบบดวยการปรับตั้งตัวแปรแตละตัว เชน [Sharpness] และ [Contrast] และหลังจากทดลองปรับแตงแลว ควรทดลองถายภาพเพือ่ ดูผลทีเ่ กิดขึน้ เสียกอน และสำหรับการปรับแตง Picture Style แบบ [Monochrome] ใหดูหนาถัดไป

เลือก [Picture Style] (รูปแบบภาพ) ในแถบ เลือกรายการ [Picture Style] จากนั้ น กดปุ ม หนาจอจะแสดงตัวเลือกของ Picture Style

เลือก Picture Style

เลือก Picture Style ที่ตองการ จากนั้นกดปุม

เลือกตัวแปร (parameter)

เลื อ กตั ว แปรตั ว ใดตั ว หนึ่ ง เช น [Sharpness] จากนั้ น กดปุ ม

ปรั บ เปลี่ ย นค า ตั ว แปร

ใช ปุ ม เพื่ อ ปรั บ ตั้ ง ค า ตามที่ ต อ งการ จากนั้ น กดปุ ม กดปุม เพื่อบันทึกคาตัวแปรที่ปรับ ตั้งไวใหม หนาจอจะกลับไปแสดงตัวเลือก Picture Style เมื่ อ มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นค า ตั ว แปรไปจากค า มาตรฐาน ตั ว แปรนั้ น จะเปลี่ ย นเป น สี น้ำ เงิ น

การปรั บ ค า ตั ว แปรและผลพิ เ ศษที่ เ กิ ด ขึ้ น (ความคมชั ด )

(โทนสี )

ขอบวัตถุมคี วามคมชัดนอย ความเปรียบตางต่ำ ความอิม่ ตัวของสีต่ำ สีผวิ อมสีแดง

ขอบวัตถุมคี วามคมชัดมาก ความเปรียบตางสูง ความอิม่ ตัวของสีสงู สีผวิ อมสีเหลือง


 รั บ เปลี่ ย นค า ใน

Picture Style

ในขั้ น ตอนที่ 3 เมื่ อ เลื อ ก [Default set.] กล อ งจะเปลี่ ย นค า ตั ว แปรที่ ถู ก เปลี่ ย นไปทั้ ง หมด ใหกลับเปนคามาตรฐาน เมื่ อ ต อ งการถ า ยภาพด ว ย Picture Style ที่ ถู ก ผู ใ ช เ ปลี่ ย นค า ตั ว แปรไป ให ทำตามขั้ น ตอน ที่ 2 ในหน า ก อ นนี้ เพื่ อ เลื อ ก Picture Style ที่ ถู ก เปลี่ ย นค า ตั ว แปรไป แล ว จึ ง ถ า ยภาพ

การปรั บ แต ง ภาพขาวดำ นอกจากการปรับแตง [Sharpness] และ [Contrast] ที่ไดอธิบายผานมา สำหรับภาพขาว ดำ ผูใชสามารถปรับตั้ง [Filter effect] และ [Toning effect] เพื่อสรางผลพิเศษขึ้นในภาพ ดังจะอธิบายตอไป

ผลพิเศษจากการปรับ Filter โดยปรั บ ผลพิ เ ศษของ Filter กั บ ภาพถ า ยขาวดำ (monochrome) ผู ใ ช ส ามารถสร า งผลพิ เ ศษ เช น ทำให ก อ นเมฆสี ข าว หรื อ ใบไม สี เ ขี ย วในภาพแล ดู โ ดดเด น ขึ้ น จากสิ่ ง อื่ น ๆ

ฟลเตอร None Yellow Orange Red Green

ตัวอยางของผลพิเศษ ภาพถายขาวดำปกติทไี่ มมผี ลใดๆ จากการใชฟล เตอร ทองฟาสีน้ำเงินจะแลดูเปนธรรมชาติ กอนเมฆเดนชัดมากขึ้น ทองฟาสีน้ำเงินจะดูเขมขึ้น พระอาทิตยที่กำลังตกดินจะแลดูสวางขึ้น ทองฟาสีน้ำเงินจะดูเขมขึน้ มาก ใบไมทรี่ ว งจะแลดูคมชัดและสวางขึน้ สีผิวและริมฝปากจะดูเนียน ใบไมจะคมชัดขึ้น และดูสวางขึ้น

การปรับ [Contrast] ให สู ง ขึ้ น จะทำให ผ ลของฟ ล เตอร เ ห็ น ได ชั ด มากขึ้ น

ผลพิเศษจากการปรับ Toning เมื่อใชผลพิเศษจากการปรับโทน (Toning) ผูใชสามารถ สร า งภาพเอกรงค ที่ เ ป น สี ต า งๆ เพื่ อ ให ไ ด อ ารมณ ภ าพ ตามลักษณะที่ตองการ ผู ใ ช ส ามารถเลื อ กโทนสี ไ ด ดั ง ต อ ไปนี้ [N:None]

[S:Sepia] [B:Blue] [P:Purple] [G:Green]

(N:ไมใช, S:ซีเปย, B:น้ำเงิน, P:มวง, G:เขียว)


นทึก Picture Style ทีป่ รับเปลีย่ นแลว

ผูใชสามารถจะเลือก Picture Style มาตรฐาน เชน [Portrait] และ [Landscape] เพื่อปรับ แตงคาตัวแปรตามที่ตองการ และบันทึกเปน Picture Style ตัวใหม ในชื่อ [User Def. 1], [User Def. 2], หรื อ [User Def. 3] (บั น ทึ ก ได 3 ชุ ด ) ผูใชสามารถสราง Picture Style ที่มีการปรับแตงคาตัวแปรตางๆ ดวยตนเอง เชน ปรับความ คมชัด ความเปรียบตาง ที่แตกตางกัน และยังสามารถปรับแตงจากซอฟทแวรที่ไดมาพรอม กับกลอง และสามารถถายโอนคามาใชในตัวกลองได

เลือก [Picture Style]

ในแถบ เลือกรายการ [Picture Style] จากนั้ น กดปุ ม หนาจอจะแสดงตัวเลือกของ Picture Style

เลือก [User Def.] (ผู ใ ช กำหนด) เลื อ ก [User Def.*] จากนั้ น กดปุ ม

กดปุ ม ที่ [Picture Style] กดปุ ม

เลือก Picture Style ตัวใดตัวหนึ่ง

กดปุม เพื่อเลือก Picture Style ตัวใดตัว หนึ่ ง แล ว กด เมื่อตองการปรับแตงคาตัวแปรของ Picture Style ซึ่ ง ถู ก บั น ทึ ก ไว ใ นตั ว กล อ งด ว ยซอฟท แ วร ที่ ไ ด ม า พรอมกับกลอง ใหเลือก Picture Style จากที่นี่


 นทึ ก

Picture Style ที่ ป รั บ เปลี่ ย นแล ว

เลือกตัวแปร

เลือกตัวแปรที่ตองการปรับแตงคา เชน [Sharpness] จากนั้ น กดปุ ม

ตั้งคาตัวแปร

กดปุม เพื่อเลือกตัวแปรที่ตองการปรับ ตั้ง จากนั้นกด สำหรับรายละเอียด ดู “ปรับเปลี่ยนคาใน Picture Style” (น.92-93) กดปุม เพื่อบันทึก Picture Style ตัวใหม หลังจากนั้นหนาจอจะกลับไปแสดงตัว เลือก Picture Style อีกครั้ง ชื่ อ ของ Picture Style ที่ ถู ก นำมาใช ป รั บ เปลี่ ย น จะปรากฎอยู ท างด า นขวาของ [User Def. *] ชื่ อ ของ Picture Style ที่ ถู ก นำมาปรั บ เปลี่ ย นค า ตั ว แปรแล ว และถู ก บั น ทึ ก ในชื่ อ [User Def. *] จะเป น สี น้ำ เงิ น

ถ า หาก Picture Style ที่ ถู ก นำมาปรั บ เปลี่ ย นค า ตั ว แปร ได เ คยถู ก นำไปใช กั บ [User Def. *] แลว เมื่อมีการเลือก Picture Style ในขั้นตอนที่ 4 ก็จะไมปรากฎ ตั ว แปรให เ ลื อ กได ถ า ผู ใ ช เ ลื อ กคำสั่ ง [Clear all camera settimgs] (น.51) การปรั บ ตั้ ง ใน [User Def. *] ทุกๆ รายการ จะกลับไปสูคาเดิม(คามาตรฐาน)

เมื่ อ ต อ งการถ า ยภาพด ว ย Picture Style ที่ บั น ทึ ก ค า ไว แ ล ว ให ทำตามขั้ น ตอนที่ 2 ในหน า ก อ นนี้ เพื่ อ เลื อ ก [User Def. *] จากนั้ น จึ ง ถ า ยภาพ


รับตัง้ สมดุลสีขาว (White Balance)

สมดุลสีขาว(White Balance, WB) ก็คือจุดอางอิงของสีขาวซึ่งจะปรากฎเปนสีขาวในภาพ ตามปกติ ระบบสมดุ ล สี ข าวอั ต โนมั ติ < > จะเป น ระบบที่ ทำให ภ าพสมดุ ล สี ข าว ได โ ดยอั ต โนมั ติ แต ถ า พบว า ระบบสมดุ ล สี ข าวอั ต โนมั ติ < >ไม ส ามารถทำให สี ของภาพเหมือนจริงได ผูใชก็สามารถจะเลือกกำหนดสมดุลสีขาวกับแหลงกำเนิดแสงแบบ ต า งๆ ที่ มี ใ ห เ ลื อ ก หรื อ เลื อ กแบบแมนนวลโดยถ า ยภาพอ า งอิ ง กั บ วั ต ถุ ที่ มี สี ข าว

เลือก [White balance] (สมดุลแสงขาว) ในแถบ แลวกดปุม

เลือก [White Balance]

เลือกสมดุลสีขาว

เลือกรูปแบบของแหลงกำเนิดแสงที่ตองการ แลวกดปุม

สั ญ ลั ก ษณ

รูปแบบ

อุณหภูมิสี (โดยประมาณ K:เคลวิน)

Auto (อัตโนมัติ) Daylight (แสงแดด) Shade (แสงในรม) Cloudy, Twilight, Sunset (เมฆครื้ ม ) Tungsten light (หลอดไฟทังสเตน) White flourescent light (หลอดฟลูออเรสเซนต) Flash (แสงแฟลช) ปรับตัง้ เอง (น.97) ปรับอุณหภูมสิ ี (น.98) * เมื่ อ ใช แ ฟลชถ า ยภาพ อุ ณ หภู มิ สี จ ะถู ก ตั้ ง ไว ป ระมาณ 6000K

เกี่ ย วกั บ สมดุ ล สี ข าว ดวงตาของมนุ ษ ย ส ามารถมองเห็ น วั ต ถุ ที่ เ ป น สี ข าว ไม ว า แหล ง กำเนิ ด แสงจะเป น ชนิ ด ใด ก็ ต าม ส ว นกล อ งดิ จิ ต อลนั้ น จะใช ซ อฟท แ วร ใ นการปรั บ อุ ณ หภู มิ สี เพื่ อ ให วั ต ถุ ห รื อ พื้ น ที่ ซึ่ ง เป น สี ข าวยั ง แลดู เ ป น สี ข าว การปรั บ ตั้ ง นี้ เ รี ย กว า การปรั บ แก สี เพื่ อ ให ภ าพถ า ยมี สี สั น สมจริงและเปนธรรมชาติ ไมวาจะอยูภายใตแหลงกำเนิดแสงชนิดใดก็ตาม


  รั บ ตั้ ง สมดุ ล สี ข าว สมดุลสีขาวแบบปรับตั้งเอง

การออกแบบใหปรับตั้งสมดุลสีขาวไดเอง จะชวยใหผูใชสามารถจะตั้งสมดุลสีขาวใหเขา กับแหลงกำเนิดแสงที่ใชอยางเฉพาะเจาะจงเพื่อผลที่แมนยำได เมื่อตองการปรับตั้งสมดุล สี ข าวเอง ให ทำตามขั้ น ตอนต อ ไปนี้ กั บ แหล ง กำเนิ ด แสงที่ จ ะใช ถ า ยภาพ

ถ า ยภาพวั ต ถุ ที่ เ ป น สี ข าว

มองในช อ งเล็ ง ภาพ เล็ ง กล อ งให พื้ น ที่ วั ด แสง เฉพาะจุ ด ครอบคลุ ม วั ต ถุ ที่ เ ป น สี ข าว ปรับความชัดดวยมือ และตั้งคาการเปดรับแสง ให พ อดี ผูใชสามารถปรับตั้งสมดุลสีขาวที่ใดก็ได

พื้ น ที่ วั ด แสงเฉพาะจุ ด

(สมดุลแสงขาวกำหนดเอง)

เลือก [Custom White Balance] ในแถบ เลือก [Custom White Balance] จากนั้ น กด หน า จอแสดงการเลื อ กปรั บ ตั้ ง สมดุ ล สี ข าวเอง จะปรากฎขึ้ น

นำข อ มู ล สมดุ ล สี ข าวมาใช

หมุนวงแหวน เพื่อเลือกภาพที่ถายไว ในขั้ น ตอนที่ 1 จากนั้ น กดปุ ม

เลื อ ก [OK] จากหน า จอที่ ป รากฎ ข อ มู ล สมดุ ล สี ข าวของภาพนั้ น จะถู ก นำไปใช เมื่ อ เมนู ป รากฎขึ้ น กดปุ ม เพื่ อ ออกจากเมนู

เลือก [White Balance] ในแถบ จากนั้ น กด

เลือก [White Balance]

เลือก custom white balance เลือก [ ] จากนั้ น กด


  รั บ ตั้ ง สมดุ ล สี ข าว หากคาการเปดรับแสงในขั้นตอนที่ 1 มีความผิดพลาดมากเกินไป อาจจะไมไดคา ของสมดุลสีขาวที่ถูกตอง หากถายภาพในขณะที่ตั้ง Picture Style เปน [Monochrome] (น.91) หรื อ ถ า ใช Creative Filter กับภาพที่ถาย (น.220) จะไมสามารถปรับตั้งในขั้นตอนที่ 3 ได สามารถใช ก ระดาษสี เ ทา 18% มาใช แ ทนวั ต ถุ สี ข าวได ( มี จำหน า ยทั่ ว ไป) และให สมดุ ล สี ข าวที่ แ ม น ยำมากกว า การนำเอาค า สมดุ ล สี ข าว โดยนำมาจากซอฟท แ วร ที่ ไ ด ม าพร อ มกั บ กล อ ง จะถู ก นำไปบั น ทึ ก ไว ใ น ถ า ทำตามขั้ น ตอนที่ 3 สมดุ ล สี ข าวที่ นำเข า มาจาก ซอฟทแวรจะถูกลบไป

การตั้ ง อุ ณ หภู มิ สี ผู ใ ช ส ามารถตั้ ง อุ ณ หภู มิ สี สำหรั บ สมดุ ล สี ข าวแบบตั ว เลขในหน ว ยเคลวิ น ฟ ง ก ชั่ น นี้ เหมาะสำหรั บ ผู ใ ช ที่ มี ป ระสบการณ แ ล ว

เลือก [White balance] (สมดุลแสงขาว) ในแถบ เลือก [White balance] จากนั้นกด

ปรั บ ตั้ ง อุ ณ หภู มิ สี เลือก [ ]

หมุ น วงแหวน เพื่ อ เลื อ กอุ ณ หภู มิ สี จากนั้ น กด สามารถปรั บ ตั้ ง อุ ณ หภู มิ สี ไ ด จ าก 2500K ถึ ง 10000 K โดยปรับไดขั้นละ 100K

ขณะปรั บ ตั้ ง อุ ณ หภู มิ สี สำหรั บ แหล ง กำเนิ ด แสงเที ย ม ให ป รั บ แก ส มดุ ล สี ข าว (magenta หรือ Green) ตามความจำเปน ] ไปใช ค า ที่ อ า นได จ ากเครื่ อ งวั ด อุ ณ หภู มิ สี ( มี จำหน า ยทั่ ว ไป) หากต อ งการปรั บ [ ควรทดสอบถ า ยภาพเสี ย ก อ น ซึ่ ง อาจต อ งมี ก ารปรั บ ชดเชยให กั บ ความแตกต า งระหว า ง เครื่ อ งวั ด อุ ณ หภู มิ สี กั บ อุ ณ หภู มิ สี ที่ อ า นได จ ากตั ว กล อ ง


ารปรับแกสมดุลสีขาว ผู ใ ช ส ามารถปรั บ แก ส มดุ ล สี ข าวที่ ป รั บ ตั้ ง ไว แ ล ว ซึ่ ง การปรั บ ตั้ ง นี้ จ ะให ผ ลพิ เ ศษเกิ ด ขึ้ น เหมื อ นกั บ การใช ฟ ล เตอร แ ก สี ที่ ใ ช กั น ในเชิ ง พาณิ ช ย แต ล ะสี นั้ น สามารถปรั บ แก ไ ด 9 ระดั บ ขั้ น ละ 1 ระดั บ ฟ ง ก ชั่ น นี้ เ หมาะสำหรั บ ผู ใ ช ที่ คุ น เคยกั บ การใช ฟ ล เตอร หรื อ ฟ ล เตอร สำหรั บ ชดเชย อุ ณ หภู มิ สี ม าก อ น

การปรั บ แก ส มดุ ล สี ข าว

เลือก [WB Shift/BKT] (ปรับ/ครอมแสงขาว) ในแถบ เลือก [WB Shift/BKT] จากนั้ น กดปุ ม

เลือก white balance correction

ใช ในการปรับเลื่อน “ ” ไปยัง ตำแหน ง ที่ ต อ งการ B หมายถึง Blue(สีน้ำเงิน) A หมายถึง Amber (สีอำพัน) M หมายถึง Magenta(สีแดงมวง) และ G หมายถึง Green(สีเขียว) ภาพจะถูกปรับแก สี ต ามทิ ศ ทางที่ ป รั บ ไว ที่ มุ ม ขวาบน จะมี อั ก ษร “Shift” รวมทั้ ง บอก ทิศทาง และระดับการปรับตั้ง กดปุ ม เมื่ อ ต อ งการยกเลิ ก การปรั บ ตั้ ง [WB Shift/BKT] ทั้ ง หมด กดปุม เพื่อออกจากการปรับตั้ง และกลับไปยังเมนู

ในขณะทำการปรับแกสมดุลสีขาว

จะปรากฎในชองเล็งภาพและที่จอ LCD

สำหรับ blue/amber การปรับแก 1 ระดับ มีคาเทากับ 5 mired ของฟลเตอรแก อุณหภูมิสี (Mired: หนวยวัดที่บอกความหนาแนนของฟลเตอรปรับแกอุณหภูมิสี)


 ารปรั บ แก ส มดุ ล สี ข าว ถายภาพครอมสมดุลสีขาวอัตโนมัติ ดวยการถายภาพเพียงชอตเดียว ภาพสามภาพที่มีโทนสีตางกันจะถูกบันทึกภายในเวลา เดียวกันโดยอัตโนมัติ ภาพถายครอมจะถูกบันทึกครอมไปในอิทธิพลของสี blue/amber หรือ magenta/green โดยขึ้นอยูกับอุณหภูมิสีของระบบสมดุลสีขาวที่ปรับตั้งอยูในเวลา นั้ น ระบบนี้ มี ชื่ อ เรี ย กว า white balance bracketing (WB-BKT) และสามารถตั้ ง ระดั บ การถายภาพครอมไดในชวง +/- 3 ระดับ

ป รั บ ตั้ ง ร ะ ดั บ ก า ร ถ า ย ภ า พ ค ร อ ม สมดุลสีขาว

ระดับ

ลำดั บ การถ า ยภาพคร อ ม

ในขั้ น ตอนที่ 2 ของการปรั บ แก ส มดุ ล สี ข าว เมื่ อ หมุนวงแหวน สัญลักษณ “ ” ที่ปรากฎ บนจอภาพจะเปลี่ยนไปเปน “ ” (3 จุด) หมุ น วงแหวนไปทางขวา เมื่ อ ต อ งการปรั บ ทาง B/A และหมุนไปทางซายเพื่อตั้งทาง M/G ที่ ด า นขวาของจอภาพจะมี อั ก ษร “Bracket” จะแสดงทิศทางและระดับการถายภาพครอม เมื่อกดปุม การปรับตั้งทั้งหมดของ [WB Shift/BKT] จะถูกยกเลิก กดปุม ไปยั ง เมนู

เพื่อออกจากการปรับตั้ง และกลับ

ภาพถ า ยคร อ มทั้ ง สามภาพ จะเรี ย งลำดั บ ดั ง นี้ 1. Standard white balance, 2. Blue (B) bias, และ 3. Amber (A) bias, หรือ 1. Standard white balance, 2. Magenta (M) bias, 3. Green (G) bias. ขณะที่ ถ า ยภาพคร อ มสมดุ ล สี ข าวอั ต โนมั ติ ความเร็ ว ในการถ า ยภาพต อ เนื่ อ งจะลดลง ปริ ม าณภาพที่ ถ า ยได ก็ จ ะลดลงเหลื อ 1 ใน 3 ของปกติ ด ว ย ผู ใ ช ส ามารถปรั บ แก ส มดุ ล สี ข าวและถ า ยภาพคร อ มอั ต โนมั ติ ใ ห ทำงานพร อ มกั น กั บ ระบบ ถ า ยภาพคร อ มสมดุ ล สี ข าวอั ต โนมั ติ ไ ด และถ า ใช ร ะบบถ า ยภาพคร อ มร ว มกั น กั บ ระบบ ถ า ยภาพคร อ มสมดุ ล สี ข าว กล อ งจะบั น ทึ ก ภาพ 9 ภาพ หลั ง จากกดชั ต เตอร ค รั้ ง เดี ย ว ภาพ 3 ภาพจะถู ก บั น ทึ ก หลั ง จากกดชั ต เตอร ค รั้ ง เดี ย ว เวลาในการบั น ทึ ก จะนานกว า ปกติ “BKT” หมายถึ ง Bracketing (ถ า ยภาพคร อ ม)


ะบบ Auto Lighting Optimizer

หากภาพที่ ถ า ยมื ด เข ม เกิ น ไป หรื อ มี ค วามเปรี ย บต า งต่ำ เกิ น ไป กล อ งสามารถปรั บ ความ เข ม สว า งและความเปรี ย บต า งให ดี ขึ้ น ได โ ดยอั ต โนมั ติ โดยค า มาตรฐานของระบบนี้ จะเปน [Standard] และเมื่อถายภาพเปน JPEG ระบบนี้จะทำงานในขณะที่ถายภาพนั้น

เลือก [Auto Lighting Optimizer]

เลือก [Auto Lighting Optimizer] (ปรับแสงเหมาะสมอัตโนมัติ) จากนั้ น กดปุ ม ในแถบ

ปรั บ ตั้ ง ระบบ

เลือกการปรับตั้งที่ตองการ จากนั้นกดปุม

ถ า ยภาพ

ภาพจะถู ก บั น ทึ ก ไว โ ดยมี ก ารปรั บ แก ค วามเข ม สว า งและความเปรี ย บต า งถ า หากจำเป น

ภาพที่ ไ ม มี ก ารปรั บ แก

ภาพที่ มี ก ารปรั บ แก

ถ า [ C.Fn.II Highlight tone priority] ได ตั้ ง เป น [1:Enable] การทำงาน ของระบบ Auto Lighting Optimizer จะถูกตั้งเปน [Disable] และผูใชจะไมสามารถปรับ เปลี่ ย นได อาจมี สั ญ ญาณรบกวนปรากฎในภาพมากขึ้ น โดยขึ้ น อยู กั บ สภาพแสงในขณะถ า ยภาพ หากมี ก ารปรั บ ตั้ ง อื่ น ๆ ที่ ไ ม ใ ช [Disable] และมีการตั้งชดเชยแสง ชดเชยแสงแฟลช หรือ ถ า ยภาพด ว ยระบบแมนนวลโดยต อ งการให ภ าพมี ค วามเข ม มากขึ้ น ภาพก็ จ ะยั ง แล ดู ส ว า ง หากต อ งการให ภ าพดู เ ข ม ให ป รั บ ระบบเป น [Disable] เสี ย ก อ น เมื่ อ ใช ร ะบบบั น ทึ ก ภาพ Basic Zone ระบบนี้ จ ะถู ก ปรั บ ตั้ ง เป น [Standard] โดยอั ต โนมั ติ


ะบบปรับแสงที่ขอบภาพอัตโนมัติ

เลนสแตละตัวมีคุณภาพแตกตางกัน ขอดอยของเลนสบางตัวอาจทำใหขอบภาพทั้ง 4 ดาน อาจจะสลัวกวาบริเวณอื่นก็ได ซึ่งเรียกวา การสลัวลงที่ขอบภาพ คามาตรฐานที่ตั้งไวก็คือ

[Enable]

เลือก [Peripheral illumin. correct.]

(แกไขระดับแสงบริเวณขอบภาพ)

ในแถบ

[ ] เลือก [Peripheral illumin.

correct.] จากนั้ น กดปุ ม

ปรั บ ตั้ ง การปรั บ แก

(มี ข อ มู ล แก ไ ข) ตรวจสอบดู ว า มี ตั ว อั ก ษร [Correction data available] ปรากฎขึ้นที่จอภาพ (ไม มี ข อ มู ล แก ไ ข) หากตั ว อั ก ษร [Correction data not available] ปรากฎขึ้นแทน ใหดู “เกี่ยวกับระบบปรับ แสงที่ขอบภาพอัตโนมัติ” ในหนาถัดไป เลื อ ก [Enable] (ใชงาน) จากนั้ น กด

ถ า ยภาพ

ภาพจะถู ก บั น ทึ ก โดยมี ก ารปรั บ ความสว า งที่ ขอบภาพแลว

ภาพที่ ไ ม มี ก ารปรั บ แก

ภาพที่ มี ก ารปรั บ แก


 ะบบปรั บ แสงที่ ข อบภาพโดยอั ต โนมั ติ เกี่ยวกับขอมูลการปรับแกของเลนส กลองจะมีขอมูลเกี่ยวกับการสลัวลงที่ขอบภาพของเลนสแตละรุน โดยมีขอมูลถึง 25 รุน ในขั้ น ตอนที่ 2 ถ า ผู ใ ช เ ลื อ ก [Enable] กล อ งจะปรั บ แสงที่ ข อบภาพให โ ดยอั ต โนมั ติ ถ า หากกลองมีขอมูลของเลนสที่ใชอยูในตัวกลองแลว ผูใชจะสามารถตรวจสอบไดวามีเลนส รุนใดบางที่มีขอมูลอยูภายในตัวกลองดวยซอฟทแวร EOS Utility (ที่ไดมาพรอมตัวกลอง) นอกจากนี้ ผูใชก็สามารถใหขอมูลของเลนสที่กลองไมมีขอมูล เพื่อใหกลองรับทราบเพิ่ม เติ ม ได ด ว ย สำหรั บ รายละเอี ย ด ให อ า นได จ ากคู มื อ การใช ซ อฟท แ วร EOS Utility (CDROM)

สำหรั บ ภาพที่ เ ป น ไฟล JPEG ที่ ถ า ยไว แ ล ว จะไม ส ามารถปรั บ แก ค วามสลั ว ของ ขอบภาพได ใ นภายหลั ง อาจเกิ ด สั ญ ญาณรบกวนบริ เ วณขอบภาพก็ ไ ด โดยขึ้ น อยู กั บ สภาพการถ า ยภาพ นั้ น ๆ เมื่ อ ใช เ ลนส ข องผู ผ ลิ ต รายอื่ น (เลนส อิ ส ระ) ควรปรั บ ตั้ ง เป น [Disable] แม ว า กล อ งจะแสดงว า มี ข อ มู ล สำหรั บ ปรั บ แก [Correction data available] ระบบปรั บ แสงที่ ข อบภาพจะทำงาน แม ว า จะใช Extender กั บ เลนส ด ว ย หากกล อ งไม มี ข อ มู ล ของเลนส ที่ นำมาใช ผลที่ ไ ด ก็ จ ะเหมื อ นกั บ การตั้ ง ระบบ เป น [Disable] การปรั บ แก แ สงสลั ว ที่ ข อบภาพจากตั ว กล อ งจะน อ ยกว า การปรั บ แก ด ว ยซอฟท แวร Digital Photo Professional (ไดมาพรอมกับกลอง) เล็กนอย ถ า ใช เ ลนส ที่ ไ ม มี ก ารส ง ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ ระยะถ า ยภาพ การปรั บ แก แ สงสลั ว ที่ ข อบ ภาพอาจจะต่ำ กว า ปกติ ยิ่ ง ถ า ยด ว ยความไวแสงสู ง เท า ใด การปรั บ แก แ สงสลั ว ที่ ข อบภาพก็ จ ะยิ่ ง น อ ยลง


สรางโฟลเดอรใหม และการเลือกโฟลเดอร นอกเหนือจากการสรางโฟลเดอรใหโดยอัตโนมัติสำหรับเก็บไฟลภาพที่ถายแลว ผูใชสามารถจะสรางโฟลเดอรใหม และเลือกเก็บภาพไดอยางอิสระตามที่ตองการ ระบบนี้เปนระบบทางเลือก เพราะตามปกติ กลองจะสรางโฟลเดอรใหโดยอัตโนมัติ

สรางโฟลเดอรใหม

เลือก [Select folder] (เลือกโฟลเดอร) ในแถบ [ ] เลือก [Select folder] จากนั้ น กด

เลือก [Create folder] (สรางโฟลเดอร) เลือก [Create folder] จากนั้นกด

สรางโฟลเดอรใหม

เลื อ ก [OK] แลวกด โฟลเดอรใหม ที่มีตัวเลขกำกับสูงกวาโฟลเดอร ก อ นหน า หนึ่ ง อั น ดั บ จะถู ก สร า งขึ้ น


 ร า งโฟลเดอร ใ หม แ ละการเลื อ กโฟลเดอร การเลือกโฟลเดอร ไฟลภาพลำดับต่ำสุด จำนวนภาพในโฟลเดอร

เมื่อหนาจอแสดงการเลือกโฟลเดอร เลือกโฟลเดอรที่ตองการ จากนั้นกด เลื อ กโฟลเดอร ที่ ต อ งการให เ ป น ที่ เ ก็ บ ภาพที่ กำลังจะถายตอไป ภาพที่ ถ า ยภายหลั ง จากนั้ น จะถูกเก็บไวในโฟลเดอรที่เลือก

ชือ่ โฟลเดอร ไฟลภาพลำดับสูงสุด

เกี่ยวกับโฟลเดอร

เชนเดียวกับชื่อตัวอยาง “100CANON” ชื่อของโฟลเดอรจะนำหนาดวยตัวเลข 3 หลัก และตามดวยตัวอักษร 5 ตัว ในแตละโฟลเดอรนั้นสามารถเก็บภาพได 9999 ภาพ (เลข ลำดับไฟล 0001-9999) เมื่อโฟลเดอรเก็บภาพจนเต็ม โฟลเดอรใหมจะถูกสรางขึ้นเอง โดยอัตโนมัติ หรือเมื่อสั่งสรางโฟลเดอรใหม (น.107) กลองก็จะสรางโฟลเดอรใหมให เชนกัน กลองสามารถสรางโฟลเดอรไดจากลำดับที่ 100 ไปจนถึง 999

การสรางโฟลเดอรใหมดวยคอมพิวเตอรสวนตัว

เมื่ อ เป ด การ ด ด ว ยคอมพิ ว เตอร ให ตั้ ง โฟลเดอร ใ หม โ ดยใช ชื่ อ ว า “DCIM” และผู ใ ช ส ามารถ สร า งโฟลเดอร ใ หม ไ ด ม ากเท า ที่ ต อ งการเพื่ อ เก็ บ ภาพ ภายในโฟลเดอร DCIM นี้ ชื่ อ ของ โฟลเดอรใหมๆ ที่สรางขึ้นจะตองตั้งในลักษณะดังนี้ เชน “100ABC_D” โดยตองมีตัวเลข 3 หลัก นำหน า เริ่ ม จาก 001-999 แล ว ตามด ว ยตั ว อั ก ษร 5 ตั ว ตั ว อั ก ษร 5 ตั ว นี้ จะเป น พยั ญ ชนะตั ว ใหญหรือตัวเล็กก็ได เปนตัวเลขก็ได รวมทั้ง “_” แตไมสามารถจะเวนวางได และตัวเลข 3 หลัก ที่ อ ยู ด า นหน า จะต อ งไม ซ้ำ กั น แม ว า พยั ญ ชนะที่ ต อ ท า ยจะแตกต า งกั น ก็ ต าม เช น “100ABC_D” กับ “100W_XYZ” ไมได เปนตน


ลือกรูปแบบของการเรียงลำดับไฟลภาพ

หมายเลขของไฟล ก็ เ หมื อ นกั น กั บ หมายเลขของฟ ล ม ในม ว นฟ ล ม ภาพที่ ถ า ยจะมี ห มาย เลขตั้งแต 0001 ถึง 9999 กำกับอยู และรวมไวในโฟลเดอรเดียวกัน ซึ่งกลองรุนนี้ออกแบบ ให ผู ใ ช ส ามารถกำหนดรู ป แบบเรี ย งลำดั บ ของไฟล ภ าพได และเมื่ อ นำไฟล นั้ น เข า สู คอมพิวเตอร ก็จะแสดงหมายเลขภาพตามรูปแบบที่ตั้งไว

เลือก [File numbering] (หมายเลขไฟลภาพ) ในแถบ [ ] เลือก [File numbering] จากนั้ น กดปุ ม

เลือกรูปแบบการเรียงลำดับไฟลภาพ เลือกรูปแบบที่ตองการ จากนั้นกดปุม

แบบตอเนื่อง กำหนดให เ ลขลำดั บ ไฟล เ รี ย งต อ เนื่ อ ง แม จ ะใส ก าร ด แผ น ใหม ห รื อ สร า งโฟลเดอร ใ หม

แมจะใสการดแผนใหม หรือสรางโฟลเดอรขึ้นใหม ตัวเลขลำดับของไฟลจะยังคงตอเนื่อง จากลำดับกอน ไปจนถึง 9999 กรณีนี้เหมาะสำหรับผูใชที่ตองการเรียงลำดับไฟลอยางตอ เนื่องในที่เก็บภาพ จาก 0001 ไปจนถึง 9999 แมวาจะใชการดหลายแผนหรือเก็บภาพ ในโฟลเดอรหลายๆ โฟลเดอรก็ตาม หากแผนการดที่นำมาใชใหม มีภาพอยูแลว หรือมีโฟลเดอรอยูกอนแลว เลขลำดับของไฟล ภาพที่ ถ า ยใหม จ ะเริ่ ม ต อ จากหมายเลขภาพสุ ด ท า ยที่ อ ยู ใ นการ ด หรื อ ในโฟลเดอร นั้ น ดั ง นั้น หากตองการใหเลขลำดับไฟลเรียงอยางตอเนื่องกัน ควรฟอรแมทการดใหมทุกครั้งเมื่อ นำมาใส เ ข า ในตั ว กล อ ง การเรียงลำดับไฟล หลังจากเปลีย่ นการดใหม

เลขลำดับไฟลลำดับถัดไป

การเรียงลำดับไฟล หลังจากสรางโฟลเดอรใหม


 ลื อ กรู ป แบบของการลำดั บ ไฟล ตั้ ง ลำดั บ ใหม อั ต โนมั ติ เริ่ ม ลำดั บ ชื่ อ ไฟล ใ หม จาก 0001 ทุ ก ครั้ ง ที่ ใ ส ก าร ด แผ น ใหม หรื อ เมื่ อ โฟลเดอร ใหม ถู ก สร า งขึ้ น เมื่อมีการเปลี่ยนการดแผนใหมมาใสในกลอง หรือเมื่อมีโฟลเดอรถูกสรางขึ้นใหม ลำดับ ไฟลภาพจะเริ่มนับจาก 0001 รูปแบบนี้เปนรูปแบบที่สะดวกเมื่อผูใชตองการจัดการเก็บ ภาพโดยอางอิงจากการดหรือโฟลเดอร และถาการดที่นำไปใสหรือโฟลเดอรที่มีอยูมีภาพ ที่ถายมากอนหนานั้นอยูแลว การเรียงลำดับภาพจะเริ่มนับตอจากหมายเลขลำดับภาพ ที่ มี อ ยู ใ นการ ด หรื อ ในโฟลเดอร ดั ง นั้ น ถ า ต อ งการให ลำดั บ ภาพเริ่ ม จาก 0001 เสมอเมื่ อ นำการดไปใสในกลอง ควรจะฟอรแมทการดใหมเสมอ การเรียงลำดับไฟล หลังจากเปลีย่ นการดใหม

การเรียงลำดับไฟล หลังจากสรางโฟลเดอรใหม

เลขลำดับไฟลลำดับถัดไป

ตั้งลำดับภาพใหมโดยคำสั่งของผูใช สั่งเริ่มเรียงลำดับภาพใหมเปน 0001 หรือเริ่มลำดับภาพ 0001 ในโฟลเดอรใหม เมื่อผูใชตั้งลำดับภาพใหม โฟลเดอรใหมจะถูกตั้งขึ้นมาโดยอัตโนมัติ และภาพที่จะถูกเก็บ ในโฟลเดอร นั้ น จะเริ่ ม จาก 0001 รู ป แบบนี้ เ หมาะสำหรั บ ผู ใ ช ที่ ต อ งการจั ด เก็ บ ภาพตาม วั น เช น ภาพถ า ยของเมื่ อ วานอยู ใ นโฟลเดอร ห นึ่ ง และของวั น นี้ อ ยู ใ นโฟลเดอร ใ หม หลั ง จากสั่งใหกลองเรียงลำดับไฟลภาพใหมแลว กลองจะเรียงลำดับไฟลไปตามปกติ และเริ่ม นั บ ใหม เ มื่ อ จำนวนภาพครบตามจำนวน เมื่ อ เลขลำดั บ ไฟล ข องโฟลเดอร 999 ได ลำดั บ ไปจนถึ ง 9999 กล อ งจะไม ถ า ยภาพต อ ไปแม ว า การ ด จะมี พื้ น ที่ ว า งอยู และจอภาพจะแสดงข อ ความเพื่ อ ให ผู ใ ช เ ปลี่ ย นการ ด แผ น ใหม ให นำการ ด แผ น อื่ น ใส เ ข า ในตั ว กล อ ง สำหรั บ ไฟล JPEG และ RAW ชื่ อ ของไฟล จ ะเริ่ ม ต น ด ว ย “IMG_” ไฟล ภ าพยนตร จ ะเริ่ ม ต น ดวย “MVI_” โดยมี ”.JPG” เปนสกุลของไฟลแบบ JPEG และ “.CR2” เปนสกุลของไฟลแบบ RAW และ “.MOV” เปนสกุลของไฟลภาพยนตร


รับตั้งขอมูลลิขสิทธิ์ภาพ

เมื่อผูใชตั้งขอมูลลิขสิทธิ์ภาพ กลองจะบันทึกขอมูลไปกับภาพในรูปแบบของชอมูล Exif

เลือก [Copyright information] (ขอมูลลิขสิทธิ์) ในแถบ [ ] เลือก [Copyright information] จากนั้ น กดปุ ม

เลือกรูปแบบที่ตองการ

เลือก [Enter author’s name] (ปอนชื่อผูสรางสรรค) หรื อ [Enter copyright details] (ปอนรายละเอียดลิขสิทธิ์) จากนั้ น กด หน า จอสำหรั บ ป อ นตั ว อั ก ษรจะปรากฏขึ้ น เลือก [Display copyright info] (แสดงขอมูลลิขสิทธิ์) เ พื่ อ ต ร ว จ ส อ บ ข อ มู ล ลิ ข สิ ท ธิ์ ภ า พ ที่ ตั้ ง ไ ว ในป จ จุ บั น (ลบข อ มู ล ลิ ข สิ ท ธิ์ ) เลือก [Delete copyright information] เพื่ อ ลบข อ มู ล ลิ ข สิ ท ธิ์ ภ าพที่ ตั้ ง ไว ใ นป จ จุ บั น

ป อ นตั ว อั ก ษร

อางอิงจาก “วิธีปอนตัวอักษร” ในหนาถัดไป เพื่อ ป อ นข อ มู ล ลิ ข สิ ท ธิ์ ภ าพ มีตัวอักษรและตัวเลข รวมทั้งสัญลักษณ 63 ตัว

ออกจากการปรับตั้ง

หลังจากปอนตัวอักษรจบครบตามตองการแลว กดปุม เพื่อออกจากการปรับตั้ง


รับตัง้ ขอมูลลิขสิทธิภ์ าพ วิ ธี ป อ นตั ว อั ก ษร เลื อ กพื้ น ที่ ซึ่ ง ต อ งการวางตั ว อั ก ษร กดปุ ม เพื่ อ เลื่ อ นบริ เ วณที่ ต อ งการ ปอนตัวอักษรระหวางดานลบและลาง เลื่อนแถบกระพริบ กด เพื่ อ เลื่ อ นแถบกระพริ บ ปอนตัวอักษร ในพื้นที่สวนลาง กดปุม และ จากนั้ น กด ลบตัวอักษร กดปุ ม เพื่ อ ลบตั ว อั ก ษร

เพื่ อ เลื อ กตั ว อั ก ษร

ออกจากการบันทึก หลังจากบันทึกตัวอักษรจนครบถวนแลว กดปุม เพื่ อ กลั บ ไปที่ ห น า จอที่ ป รากฏในขั้ น ตอนที่ 2 ยกเลิกการบันทึกตัวอักษร เมื่อตองการยกเลิกการปอนตัวอักษร กดปุม เพื่ อ กลั บ ไปที่ ห น า จอที่ ป รากฏในขั้ น ตอนที่ 2

ผู ใ ช ยั ง สามารถป อ นข อ มู ล ลิ ข สิ ท ธิ์ ภ าพได โ ดยใช EOS Utility (ซอฟท แ วร ที่ ไ ด ม ากั บ กล อ ง)


การปรับระบบสี (Color Space) Color Space หมายถึ ง ปริ ม าณของสี ที่ ก ล อ งสามารถสร า งขึ้ น ได ซึ่ ง กล อ งรุ น นี้ อ อกแบบ ใหปรับ Color Space ไดสองแบบ คือ sRGB และ Adobe RGB และสำหรับการถายภาพ ทั่วๆ ไป แนะนำใหตั้งเปน sRGB และในระบบบันทึกภาพภายใน Basic Zone กลอง จะตั้ง Color Space เปน sRGB ใหโดยอัตโนมัติ

เลือก [Color space] (พิกัดสี)

ในแถบ เลือก [Color space] จากนั้ น กดปุ ม

เลือกระบบสีที่ตองการ

เลือก [sRGB] หรือ [Adobe RGB] จากนั้ น กดปุ ม

เกี่ยวกับ Adobe RGB ระบบนี้เปนระบบที่ใชกับอุตสาหกรรมการพิมพเชิงพาณิชย(โรงพิมพ) และอุตสาหกรรม อื่นๆ ไมแนะนำใหตั้ง Color Space แบบนี้หากผูใชไมมีประสบการณในการจัดการไฟล ภาพ ไมมีประสบการณกับ Adobe RGB และรายละเอียดเกี่ยวกับ Design rule for Camera File System 2.0(Exif 2.21) ภาพที่ตั้ง Color Space เปน Adobe RGB จะดูซีด และทึมเมื่อเปดดูดวยจอภาพคอมพิวเตอรซึ่งทำงานในแบบ sRGB หรือเมื่อนำไปพิมพ ดวยเครื่องพิมพที่ไมไดสนับสนุน Design rule for Camera File System 2.0(Exif 2.21) ดังนั้น เมื่อตั้งเปน Adobe RGB ก็จะตองนำมาปรับแตงดวยซอฟทแวรเฉพาะดาน กอน ที่ จ ะนำภาพไปใช

หากภาพที่ถายมานั้นถูกตั้ง Color Space เปน Adobe RGB ไฟลจะมีชื่อนำหนา เปน “_MG_” กอนแสดงเลขลำดับไฟลตามปกติ เมื่อใช Adobe RGB ขอมูล ICC profile(ขอมูล ของระบบสี) จะไมไดแนบไปกับไฟลภาพ (ศึกษาจากคูมือใน CD-ROM)


¡ÒûÃѺ¤Çº¤ØÁ ã¹ÃдѺ¡ŒÒÇ˹ŒÒ เมื่อใชระบบบันทึกภาพ Creative Zone ผูใช สามารถปรับตั้งความไวชัตเตอร ชองรับแสง และการปรั บ ตั้ ง อื่ น ๆ เพื่ อ ปรั บ ค า การเป ด รั บ แสงและไดผลของภาพตามที่ตองการ

สั ญ ลั ก ษณ ที่ ป รากฎทางด า นขวาของหน า เป น สั ญ ลั ก ษณ บ อกว า ฟ ง ก ชั่ น นั้ น ๆ จะทำงานเมื่ อ เลื อ กระบบบั น ทึ ก ภาพแบบ < P/Tv/Av/M/B > เท า นั้ น เมื่อแตะชัตเตอรลงครึ่งหนึ่งและยกนิ้วออก การแสดงผลขอมูลตางๆ ที่จอ LCD และภายในชองเล็งภาพจะแสดงอยู 4 วินาที แลวดับไป ฟ ง ก ชั่ น ที่ ส ามารถปรั บ ตั้ ง ได เ มื่ อ ใช ร ะบบบั น ทึ ก ภาพ Creative Zone ได จั ด ทำรายการรวมไว ใ น “ตารางแสดงฟ ง ก ชั่ น ที่ ใ ช ง านได ” ดู ห น า 276


Program AE

กล อ งจะปรั บ ค า ความไวชั ต เตอร แ ละช อ งรั บ แสงที่ เ หมาะกั บ สภาพความสว า งให โ ดย อัตโนมัติ เรียกระบบนี้วา Program AE * <P> หมายถึง Program * AE หมายถึง Auto Exposure

หมุนวงแหวนเลือก ระบบบันทึกภาพไปที่

<P>

โฟกัสไปยังวัตถุ

มองผานชองเล็งภาพ และเล็งจุดโฟกัสที่เลือกไว ไปยังวัตถุ แลวแตะชัตเตอรเบาๆ เมื่อโฟกัสไดแลว ไฟแสดงสัญญาณยืนยันความ ชั ด จะติ ด ขึ้ น ให เ ห็ น ที่ มุ ม ล า งด า นขวา (เมื่อโฟกัสแบบ One-Shot AF) กล อ งจะตั้ ง ความไวชั ต เตอร แ ละช อ งรั บ แสงที่ พอเหมาะพอดีกับคาแสงขณะนั้นใหโดยอัตโนมัติ และแสดงคาไวในชองเล็งภาพและจอ LCD

ตรวจสอบการแสดงผล

ค า การเป ด รั บ แสงที่ ก ล อ งเลื อ กไว ใ ห ( ความไว ชัตเตอรและชองรับแสง) จะแสดงโดยไมมีการ กระพริบ

ถ า ยภาพ

จัดองคประกอบภาพและกดชัตเตอรลงจนสุด


P : Program AE

หาก “30” ปรากฎที่ชองแสดงความไวชัตเตอร และตัวเลขแสดง ช อ งรั บ แสงกว า งสุ ด ของเลนส ก ระพริ บ หมายถึ ง ภาพจะมื ด เกิ น ไป ให ป รั บ ความไวแสงให สู ง ขึ้ น หรื อ ใช แ ฟลช หาก “8000” ปรากฎที่ชองแสดงความไวชัตเตอรและตัวเลข แสดงช อ งรั บ แสงขนาดแคบที่ สุ ด กระพริ บ หมายถึ ง ภาพนั้ น จะสว า งเกิ น ไป ให ล ดความไวแสงให ต่ำ ลง หรื อ ใช ฟ ล เตอร ND ลดแสงที่ผานเขามา (เปนอุปกรณเสริมพิเศษ) ความแตกตางของ <P> กับ (ระบบอัตโนมัติสมบูรณแบบ) เมื่อใช ฟงกชั่นตางๆ จะถูกปรับตั้งใหโดยอัตโนมัติ เชน ระบบออโตโฟกัส ระบบ ขั บ เคลื่ อ น และแฟลชในตั ว เพื่ อ ป อ งกั น ภาพเสี ย จำนวนฟ ง ก ชั่ น ที่ ผู ใ ช ป รั บ ตั้ ง ได เองจะถูกจำกัด แตเมื่อใชระบบ <P> เฉพาะชัตเตอรและชองรับแสงเทานั้นที่กลอง จะตั้งใหโดยอัตโนมัติ ผูใชสามารถปรับเลือกระบบออโตโฟกัส ระบบขับเคลื่อน และ แฟลชในตัว และฟงกชั่นอื่นๆ (น.276)

เกี่ยวกับการเปลี่ยนคาโดยผูใช (Program Shift)

เมื่ อ ใช Program AE ผู ใ ช ส ามารถปรั บ เปลี่ ย นความไวชั ต เตอร แ ละช อ งรั บ แสงที่ ก ล อ งตั้ ง มาให ไ ด โดยที่ ก ล อ งจะรั ก ษาระดั บ ค า การเป ด รั บ แสงไว ค งเดิ ม เรี ย กการปรั บ เปลี่ ย นค า แบบนี้วา Program Shift เมื่ อ ต อ งการปรั บ เปลี่ ย นค า ให แ ตะชั ต เตอร เ บาๆ จากนั้ น ใช ว งแหวน หมุ น ปรั บ เปลี่ ย นความไวชั ต เตอร ห รื อ ช อ งรั บ แสงตามที่ ต อ งการ การปรั บ เปลี่ ย นค า โดยผู ใ ช จ ะถู ก ยกเลิ ก ไปโดยอั ต โนมั ติ ห ลั ง จากถ า ยภาพแล ว การปรั บ เปลี่ ย นค า โดยผู ใ ช จ ะไม ทำงานเมื่ อ ใช แ ฟลช


Shutter-Priority AE เมื่ อ ใช ร ะบบนี้ ผู ใ ช จ ะเป น ผู ป รั บ ค า ความไวชั ต เตอร ที่ ต อ งการ และกล อ งจะเลื อ กขนาด ช อ งรั บ แสงที่ พ อเหมาะพอดี กั บ ค า แสงในขณะนั้ น ให โ ดยอั ต โนมั ติ เรี ย กระบบนี้ ว า Shutter-Priority AE เมื่อตั้งความไวชัตเตอรสูงๆ ก็สามารถจับภาพวัตถุที่เคลื่อนที่อยาง รวดเร็วใหหยุดนิ่งได และเมื่อใชความไวชัตเตอรต่ำๆ ถายภาพวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ ก็จะ สร า งผลความเคลื่ อ นไหวให เ กิ ด ขึ้ น ในภาพ * <Tv> หมายถึง Time value

หยุดการเคลือ่ นไหว (ความไวชัตเตอรสงู : 1/2000 วินาที)

แสดงการเคลือ่ นไหว (ความไวชัตเตอรต่ำ : 1/30 วินาที)

หมุนวงแหวนเลือก ระบบบั น ทึ ก ภาพไปที่ <Tv > ปรับความไวชัตเตอรตามที่ตองการ มองผานชองเล็งภาพ แลวใชวงแหวน หมุ น ปรั บ

โฟกัสไปยังวัตถุ

แตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึ่งหนึ่ง กลองจะตั้งขนาดชองรับแสงใหโดยอัตโนมัติ

ตรวจสอบการแสดงข อ มู ล ในช อ งเล็ ง ภาพ แลวถายภาพ หากตั ว เลขแสดงขนาดช อ งรั บ แสงไม ก ระพริ บ ค า แสงนั้ น จะเป น ค า ที่ พ อเหมาะ


Tv: Shutter-Priority AE

ถ า ช อ งรั บ แสงแสดงขนาดที่ ก ว า งสุ ด แล ว กระพริ บ หมายถึ ง ภาพนั้นจะมืดเกินไป ใหหมุน เพื่อลดความไวชัตเตอร ให ต่ำ ลง หรื อ ตั้ ง ความไวแสงให สู ง ขึ้ น ถาชองรับแสงแสดงขนาดที่แคบสุด แลวกระพริบ หมายถึงภาพ นั้นจะสวางเกินไป ใหหมุน เพื่อเพิ่มความไวชัตเตอรให สูงขึ้น หรือตั้งความไวแสงใหต่ำลง การแสดงคาความไวชัตเตอร ความไวชัตเตอรจาก “8000” จนถึ ง “4” จะหมายถึงเศษสวน เชน “125” หมายถึง 1/125 วินาที สวน “0”5” หมายถึง 0.5 วินาที และ “15”” หมายถึ ง 15 วิ น าที เป น ต น


Aperture-Priority AE เมื่อใชระบบนี้ ผูใชจะเปนผูเลือกปรับตั้งขนาดชองรับแสงเอง โดยกลองจะเลือกความไว ชัตเตอรที่พอเหมาะพอดีกับคาแสงในขณะนั้นใหโดยอัตโนมัติ เรียกระบบนี้วา AperturePriority AE เมื่อปรับใหตัวเลขแสดงขนาดชองรับแสงเปนตัวเลขสูงขึ้น ชองรับแสงก็จะ ยิ่งแคบ ชวงความชัดของภาพก็จะลึกมาก ภาพอาจชัดตั้งแตฉากหนาไปจนถึงฉากหลัง ยิ่ง ปรับชองรับแสงใหมีตัวเลขนอยลง หมายถึงชองรับแสงเปดกวางขึ้น ชวงความชัดก็จะตื้น ทำให ฉ ากหน า และฉากหลั ง ที่ อ ยู น อกระยะโฟกั ส มี ค วามเบลอมากขึ้ น * <Av> หมายถึง Aperture value

ฉากหนาและฉากหลังมีความชัด (เปดชองรับแสงแคบ เชน f/32)

ฉากหลังเบลอ (เปดชองรับแสงกวาง เชน f/5.6)

หมุนวงแหวนเลือก ระบบบั น ทึ ก ภาพไปที่ <Av > ปรับตั้งชองรับแสงตามที่ตองการ มองผานชองเล็งภาพ แลวใชวงแหวน หมุ น ปรั บ

โฟกัสไปยังวัตถุ

แตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึ่งหนึ่ง กลองจะตั้งความไวชัตเตอรใหโดยอัตโนมัติ

ตรวจสอบการแสดงขอมูล ในชองเล็งภาพ แลวถายภาพ หากตั ว เลขแสดงความไวชั ต เตอร ไ ม ก ระพริ บ ค า แสงนั้ น จะเป น ค า ที่ พ อเหมาะ


Av :

Aperture-Priority AE

หากพบวา ตัวเลขแสดงความไวชัตเตอร “30” กระพริบ หมาย ถึ ง ภาพนั้ น จะมื ด เกิ น ไป ใหหมุนวงแหวน เพื่อเลือกขนาดชองรับแสงที่กวางขึ้น หรื อ ปรั บ ความไวแสงให สู ง ขึ้ น หากพบวา ตัวเลขแสดงความไวชัตเตอร “8000” กระพริบ หมาย ถึ ง ภาพนั้ น จะสว า งเกิ น ไป ใหหมุนวงแหวน เพื่อเลือกขนาดชองรับแสงใหแคบลง หรื อ ปรั บ ความไวแสงให ต่ำ ลง การแสดงขนาดชองรับแสง ยิ่งปรับตัวเลขแสดงชองรับแสงใหมากขึ้น ชองรับแสงที่เปดก็จะยิ่งแคบ ตัวเลขแสดง ขนาดช อ งรั บ แสงนั้ น ขึ้ น อยู กั บ เลนส ที่ นำมาใช ด ว ย และหากไม ไ ด ติ ด ตั้ ง เลนส กล อ ง จะแสดงตัวเลขชองรับแสงเปน “00”

การตรวจสอบชวงความชัดลึก เมื่ อ กดปุ ม ตรวจสอบช ว งความชั ด ลึ ก เลนส จ ะหรี่ ช อ ง รั บ แสงลงตามขนาดที่ ป รั บ ตั้ ง ไว จ ริ ง ผู ใ ช จึ ง สามารถ มองเห็ น ช ว งความชั ด ลึ ก หรื อ ชั ด ตื้ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง จาก การมองผานชองเล็งภาพ

ยิ่ ง ปรั บ ช อ งรั บ แสงแคบ(ตั ว เลขมาก) ความชั ด ของฉากหน า และฉากหลั ง ก็ จ ะมี ค วามชั ด มากขึ้ น อย า งไรก็ ดี ภาพที่ ม องในขณะกำลั ง ตรวจสอบช ว งความชั ด ลึ ก จะดู มื ด สลั ว ลง ระบบตรวจสอบชวงความชัดลึกนี้ สามารถทำงานรวมกับระบบ Live View โดยขณะที่ใช ระบบ Live View และกดปุ ม ตรวจสอบช ว งความชั ด ลึ ก โดยแสดงที่ จ อ LCD (น.152) ค า แสงจะถู ก ล็ อ ค(AE Lock) ขณะกดปุ ม ตรวจสอบช ว งความชั ด ลึ ก


Manual Exposure

เมื่ อ ใช ร ะบบนี้ ผู ใ ช ต อ งปรั บ ทั้ ง ความไวชั ต เตอร แ ละช อ งรั บ แสงเองตามที่ ต อ งการ เพื่ อ ตั้ ง คาการเปดรับแสงดวยตนเอง โดยอางอิงกับคาแสงที่เครื่องวัดแสงในกลองอานคาไดและ แสดงไว ใ นช อ งเล็ ง ภาพ หรื อ ปรั บ ตั้ ง ตามค า ที่ อ า นได จ ากเครื่ อ งวั ด แสงนอกตั ว กล อ ง(อุ ป กรณ เ สริ ม พิ เ ศษ) วิ ธี เ ป ด รั บ แสงแบบนี้ เ รี ย กว า ระบบปรั บ ตั้ ง เอง หรื อ แมนนวล * <M> หมายถึง Manual หรือปรับตั้งเอง

หมุนวงแหวนเลือก ระบบบั น ทึ ก ภาพไปที่ <M> ปรับชองรับแสงและ ความไวชัตเตอร ใชวงแหวน

ปรับความไวชัตเตอร

ใชวงแหวน ปรับชองรับแสง หากไม สามารถหมุ น ปรั บ ตั้ ง ได ให ก ดปุ ม ซึ่ ง อยู ด า นล า งของวงแหวน จากนั้ น จึ ง หมุ น

คาแสงพอดี ขีดแสดงระดับแสง

โฟกัสไปยังวัตถุ

แตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึ่งหนึ่ง กล อ งจะแสดงค า การเป ด รั บ แสงที่ ตั้ ง ไว ใ นช อ ง เล็งภาพและที่จอ LCD กลองจะแสดงระดับแสง เพื่อใหตรวจสอบ ได ว า ค า แสงที่ ป รั บ ตั้ ง ไว มี ค วามแตกต า งจาก ค า แสงมาตรฐานที่ อ า นได จ ากเครื่ อ งวั ด แสงใน กลองมากนอยเพียงใด

ปรับตั้งคาการเปดรับแสง

ตรวจสอบระดับแสง และปรับตั้งความไวชัตเตอร และชองรับแสงตามตองการ

ขีดแสดงคากลางหรือคามาตรฐาน

ถ า ยภาพ

ถ า [ Auto Lighting Optimizer] (น.101) ได ตั้ ง ไว ที่ ตำแหน ง อื่ น ที่ ไ ม ใ ช [Disable] ภาพจะยังคงดูสวาง แมจะตั้งคาการเปดรับแสงใหภาพดูเขมหรือมืด


ารเลือกระบบวัดแสง

ผูใชสามารถจะเลือกใชระบบวัดแสงแบบใดแบบหนึ่งใน 4 แบบ เพื่อวัดความเขมสวางของวัตถุหรือ บริเวณทีจ่ ะถายภาพ และเมือ่ ถายภาพดวยระบบใน Basic Zone กลองจะตัง้ ระบบวัดแสงเปนแบบเฉลีย่ หลายสวนใหโดยอัตโนมัติ

กดปุ ม

เลือกระบบวัดแสง

ดู ที่ จ อ LCD แล ว ใช ว งแหวน หมุ น ปรั บ เลื อ ก

ระบบวัดแสงเฉลี่ยหลายสวน

เป น ระบบวั ด แสงที่ เ หมาะสำหรั บ การถ า ยภาพแทบทุ ก แบบ ตั้งแตการถายภาพบุคคล และการถายภาพยอนแสง กลองจะตั้งคาการเปดรับแสงที่เหมาะสมใหโดยอัตโนมัติ

ระบบวัดแสงเฉพาะสวน

ระบบที่ เ หมาะสำหรั บ การถ า ยภาพซึ่ ง ฉากหลั ง สว า งกว า วั ต ถุ ม ากๆ และมี ลั ก ษณะเหมื อ นการถ า ยภาพย อ นแสง ฯลฯ ระบบวั ด แสงเฉพาะส ว นครอบคลุ ม พื้ น ที่ 6.5% ที่ กึ่ ง กลางของชองเล็งภาพ

ระบบวัดแสงเฉพาะจุด

ระบบวั ด แสงแบบนี้ เ หมาะสำหรั บ วั ด แสงพื้ น ที่ เ ล็ ก ๆ หรื อ จุ ด ใด จุ ด หนึ่ ง ระบบวั ด แสงแบบนี้ จ ะมี พื้ น ที่ ค รอบคลุ ม เพี ย ง 2.8% ที่ กึ่ ง กลางของช อ งเล็ ง ภาพ เมื่ อ ตั้ ง ระบบวั ด แสงเป น แบบเฉพาะ จุ ด จะมีวงกลมเล็กๆ แสดงพื้นที่วัดแสงปรากฎขึ้นในชองเล็งภาพ

ระบบวัดแสงแบบเฉลี่ยเนนกลางภาพ

เครื่ อ งวั ด แสงจะวั ด แสงโดยเน น หนั ก พื้ น ที่ ก ลางภาพ และ เฉลี่ ย ร ว มกั บ พื้ น ที่ อื่ น ๆ โดยให น้ำ หนั ก เฉลี่ ย บริ เ วณกลาง ภาพมากกว า


ารปรับชดเชยแสง

ระบบชดเชยแสงนั้ น ออกแบบมาเพื่ อ ให ผู ใ ช ป รั บ ภาพให ส ว า งขึ้ น (เป ด รั บ แสงให ม าก ขึ้น) หรือปรับใหภาพเขมมืดขึ้น(เปดรับแสงใหนอยลง) จากคามาตรฐานที่กลองปรับตั้ง มาให แมวาผูใชสามารถชดเชยแสงไดในชวง +/- 5 stop โดยปรับไดขั้นละ 1/3 stop การแสดงผลของระดับการชดเชยแสงที่จอ LCD และที่ชองเล็งภาพจะแสดงไดในชวง +/ 3 stop เทานั้น หากผูใชตองการชดเชยแสงเกินกวา +/- 3 stop จะตองใชการปรับตั้งผาน หน า จอปรั บ ตั้ ง แบบเร็ ว (น.44) หรื อ ทำตามคำแนะนำของ [ Exp. comp./AEB] ซึ่งมีรายละเอียดในหนาถัดไป

หมุ น วงแหวนเลื อ กระบบบั น ทึ ก ภาพ ไปที่ <P>, <Tv> หรือ <Av> เป ด รั บ แสงมากขึ้ น เพื่ อ ให ภ าพสว า งขึ้ น

เป ด รั บ แสงน อ ยลง เพื่ อ ให ภ าพสลั ว ลง

ตั้งระดับการชดเชยแสง หลังจากแตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึ่งหนึ่ง หมุนวงแหวน เพื่อชดเชยแสง หากไมสามารถชดเชยแสงได ใหกดปุม ซึ่ ง อยู ด า นล า งของวงแหวน จากนั้นจึงหมุนวงแหวน

ถ า ยภาพ

เมื่อตองการยกเลิกการชดเชยแสง ใหปรับระดับ การชดเชยแสงกลับมาที่

ถ า [

Auto Lighting Optimizer] (น.101) ไดถูกตั้งเปนอยางอื่นนอกจาก [Disable] ภาพที่ไดอาจจะสวาง แมวาจะปรับคาแสงใหมืด ระดับการชดเชยแสง จะยังมีผลตลอดเวลา แมจะปดกลอง

แลวก็ตาม

ควรระมั ด ระวั ง เมื่ อ หมุ น วงแหวน ซึ่ ง อาจทำให ร ะดั บ การชดเชยแสงเปลี่ ย นไปใน ทั น ที เพื่ อ ป อ งกั น ให ตั้ ง [ Lock ] เป น [Enable] และก อ นที่ จ ะหมุ น วงแหวน ให ก ดปุ ม แล ว จึ ง หมุ น วงแหวน หากได ป รั บ ตั้ ง ระดั บ การชดเชยแสงเกิ น +/- 3 stop กล อ งจะแสดงสั ญ ลั ก ษณ และ ไว ที่ ป ลายสุ ด ทางด า นซ า ยหรื อ ขวา


ะบบถายภาพครอมอัตโนมัติ (AEB)

ดวยการเปลี่ยนความไวชัตเตอรหรือเปลี่ยนชองรับแสงโดยอัตโนมัติ กลองสามารถถายภาพ ครอมคาแสงไดในชวง +/- 3 stop ปรับไดละเอียดขั้นละ 1/3 stop โดยไดภาพจำนวน 3 ภาพ ที่มีคาแสงแตกตางกันตามที่ตองการ เรียกวา ระบบถายภาพครอมอัตโนมัติ(AEB) * AEB หมายถึง Auto Exposure Bracketing (ถายภาพครอมอัตโนมัติ)

เลือก [Expo. comp./AEB] (ชดเชยแสง/AEB) ในแถบ เลือก [Expo. comp./AEB] จากนั้ น กดปุ ม

ตั้งระดับการถายภาพครอม

หมุน เพื่อเลือกระดับถายภาพครอม ผูใชสามารถชดเชยแสง โดยกดปุม รวมกับระบบถายภาพครอมอัตโนมัติได โดยระบบถายภาพครอมอัตโนมัติ จะใชคาที่ชดเชยแสงไวเปนคากลาง

ระดับการถายภาพครอม

กด เพื่อปรับตั้ง เมื่อออกจากเมนูแลว กลองจะแสดง และระดับการถายภาพครอมไวที่จอ LCD

ถ า ยภาพ

โฟกัส และกดชัตเตอรลงจนสุด ภาพถาย 3 ภาพ จะถู ก บั น ทึ ก อย า งต อ เนื่ อ งกั น ตามลำดั บ นี้ : มาตรฐาน, คาแสงลดลง และคาแสงเพิ่มขึ้น

ยกเลิกระบบถายภาพครอมอัตโนมัติ ทำตามขั้นตอนที่ 1 และ 2 เพื่อปดการแสดงผลของระบบถายภาพครอมอัตโนมัติ ระบบถายภาพครอมอัตโนมัติจะถูกยกเลิกเมื่อปรับสวิตซเปดปดกลองไปที่ หรือเมื่อแฟลชพรอมจะถายภาพ ถ า ระบบขั บ เคลื่ อ นถู ก ปรั บ ไว เ ป น ผู ใ ช จ ะต อ งกดชั ต เตอร 3 ครั้ ง และเมื่ อ หรื อ ได ถู ก ปรั บ ตั้ ง ไว และผู ใ ช ก ดปุ ม ชั ต เตอร ค า งไว กล อ งจะถ า ยภาพคร อ มค า แสงทั้ ง 3 ภาพทั น ที จากนั้ น กล อ งจะหยุ ด ถ า ระบบขั บ เคลื่ อ นถู ก ตั้ ง ไว เ ป น หรื อ กล อ งจะถ า ยภาพคร อ มทั้ ง 3 ภาพ หลั ง จากเวลาผ า นไป 10 วิ น าที หรื อ 2 วิ น าที ระบบถ า ยภาพคร อ มอั ต โนมั ติ จ ะไม ทำงานร ว มกั บ แฟลช และชั ต เตอร B


ะบบล็อคคาแสง

ใชระบบล็อคคาแสง เมื่อพื้นที่ซึ่งโฟกัส มีคาแสงที่แตกตางจากสวนอื่นๆ ที่ปรากฎในภาพ หรือ เมือ่ ตองการถายภาพหลายๆ ภาพ โดยใชคา แสงเทาๆ กันทุกภาพ กดปมุ เพือ่ ล็อคคาแสง จากนั้นจัดองคประกอบภาพใหม และถายภาพ การทำงานของระบบนี้เรียกวา ล็อคคาแสง(AE Lock) และเปนระบบที่เหมาะมากสำหรับการถายภาพวัตถุในทิศทางยอนแสง

โฟกัสไปที่วัตถุ

แตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึ่งหนึ่ง กลองจะแสดงคาการเปดรับแสง

กดปุ ม

สัญลักษณ จะปรากฎขึ้นในชองเล็งภาพ เพื่อใหทราบวา คาแสงไดถูกล็อคไวแลว (AE Lock) แต ล ะครั้ ง ที่ ก ดปุ ม กล อ งจะล็ อ คค า แสง ในขณะนั้ น

จัดองคประกอบภาพใหม แลวถายภาพ

หากตองการล็อคคาแสงไวสำหรับถายภาพอื่นๆ ตอไป ใหกดปุม คางไว แลวกดชัตเตอร เพื่ อ ถ า ยภาพอื่ น ๆ

ผลของระบบล็อคคาแสง ระบบวัดแสง (น. 119)

รูปแบบของการเลือกจุดโฟกัสอัตโนมัติ (น. 78) กลองเลือกจุดโฟกัสโดยอัตโนมัติ เลือกจุดโฟกัสโดยผใู ช กลองจะใชจุดโฟกัสที่จับความชัดได เปนจุดล็อคคาแสง

กลองจะใชจุดโฟกัสที่เลือก เปนจุดล็อคคาแสง

กลองจะใชจดุ โฟกัสกึง่ กลาง เปนจุดล็อคคาแสง

* ถาสวิตซที่กระบอกเลนสถูกปรับตั้งเปน

ระบบล็อคคาแสงจะใชคาแสงที่จุดโฟกัสกึ่งกลาง


ตเตอร B เมื่อตั้งชัตเตอร B ชัตเตอรจะเปดคางอยูตลอดเวลาตราบเทาที่ยังใชนิ้วกดชัตเตอรคางไว และชัตเตอรจะปดก็ตอเมื่อยกนิ้วออกจากปุม เรียกวาการเปดรับแสงดวยชัตเตอร B (bulb exposure) มักจะใชชัตเตอร B ถายภาพกลางคืน ภาพพลุ ภาพดาวบนทองฟา และภาพ แบบอื่ น ๆ ที่ ต อ งเป ด รั บ แสงเป น เวลานานมากๆ

หมุนวงแหวนเลือกระบบ บั น ทึ ก ภาพไปที่ <B > ปรับตั้งขนาดชองรับแสงตามที่ตองการ ดู ที่ จ อ LCD แล ว ใช ว งแหวน หรื อ

ถ า ยภาพ

เมื่อกดชัตเตอรคางไว ชัตเตอรจะเปดตลอดเวลา จอ LCD จะแสดงเวลาในการเป ด รั บ แสงไป จนกวาชัตเตอรจะปด

ระยะเวลาการเปดรับแสง

การเป ด รั บ แสงนานด ว ยชั ต เตอร B จะทำให เ กิ ด สั ญ ญาณรบกวนมากกว า ปกติ ทำให ภ าพดู ห ยาบขึ้ น เล็ ก น อ ย เมื่ อ [ C.Fn II -1: Long exp. noise reduction] ถู ก ตั้ ง เป น [1: Auto] หรื อ [2: On] สัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นจากชัตเตอร B จะลดลง (น.254) สำหรับการถายภาพดวยชัตเตอร B แนะนำใหใชขาตั้งกลองและสายลั่นชัตเตอร Remote Switch (อุ ป กรณ เ สริ ม พิ เ ศษ) (น.124) ผู ใ ช ส ามารถจะใช รี โ มทควบคุ ม (น.126) เมื่ อ ถ า ยภาพด ว ยชั ต เตอร B โดยเมื่ อ กดปุ ม ส ง สั ญ ญาณที่ รี โ มท ชั ต เตอร B จะทำงานทั น ที หรื อ ใน 2 วิ น าที ห ลั ง จากนั้ น เมื่ อ กดปุ ม อี ก ครั้ ง ชั ต เตอร B ก็ จ ะหยุ ด ทำงาน


 ตเตอร

B

การใชฝาปดชองเล็งภาพ เมื่ อ ผู ใ ช ถ า ยภาพโดยไม ไ ด ใ ช ต ามองผ า นช อ งเล็ ง ภาพ แสงอาจจะลอดเข า ทางช อ งเล็ ง ภาพ และทำใหภาพเสียได หากตองการปองกัน ใหใชฝาปดชองเล็งภาพ(น.23) ซึ่งติดอยู กับสายคลองคอสวมปดไว เมื่อถายภาพดวยระบบ Live View หรือถายภาพยนตร ก็ไมจำเปนตองใชฝาปดนี้

ถอดยางครอบชองเล็งภาพออก

ใชนิ้วบีบยางครอบทั้งสองดานแลวดึงขึ้นตรงๆ เพื่อถอดออก

ติดตั้งฝาปดชองเล็งภาพ

ใส ฝ าป ด ช อ งเล็ ง ภาพโดยเลื่ อ นลงตามร อ ง จากด า นบน

การเชื่ อ มต อ รี โ มท(สายลั่ น ชั ต เตอร ) ผูใชสามารถติดตั้งสายลั่นชัตเตอร Remote Switch RS-60E3 (อุปกรณเสริมพิเศษ และ ไมรวมอยูในกลองอุปกรณ) ซึ่งมีความยาวของสาย 60 ซม. โดยเสียบเขากับชองเสียบสาย ลั่นชัตเตอรของตัวกลอง และสายลั่นชัตเตอรชนิดนี้ จะมีปุมกดที่ออกแบบใหสามารถแตะ เบาๆ ลงครึ่งหนึ่ง เพื่อโฟกัสและวัดแสง และกดลงจนสุดเพื่อถายภาพได


อคกระจกสะทอนภาพ

ถึ ง แม ก ารใช ส ายลั่ น ชั ต เตอร แ ละการใช ร ะบบหน ว งเวลาถ า ยภาพจะช ว ยลดความสั่ น สะเทือนของกลองจากการใชนิ้วกดชัตเตอรโดยตรงได ระบบล็อคกระจกสะทอนภาพก็จะ ชวยลดความสั่นอันเกิดจากการเคลื่อนตัวของกระจกสะทอนภาพ เหมาะที่จะใชเมื่อถาย ภาพดวยเลนสซูเปอรเทเลโฟโต และเลนสมาโคร เมื่อ [ C.Fn III -5: Mirror lockup] ไดตั้งไวเปน [1: Enable] (น.257) สามารถถายภาพโดยใชระบบล็อคกระจกสะทอนภาพได

โฟกัส กดชัตเตอรลงจนสุด แลวยกนิ้วออก กระจกสะทอนภาพจะยกขึ้น

กดชัตเตอรลงจนสุดอีกครั้ง กลองจะถายภาพ และกระจกสะทอนภาพจะกลับลงสูตำแหนงเดิม ในที่ ซึ่ ง มี แ สงสว า งจ า มาก เช น บนหาดทราย หรื อ เนิ น ที่ มี หิ ม ะสำหรั บ เล น สกี ควรถ า ย ภาพทั น ที ห ลั ง จากกระจกสะท อ นภาพยกขึ้ น แล ว ไม ค วรเล็ ง กล อ งไปยั ง ดวงอาทิ ต ย โ ดยตรง ความร อ นของแสงอาทิ ต ย อ าจเป น อั น ตราย ต อ ม า นชั ต เตอร ไ ด ถ า ใช ชั ต เตอร B ถ า ยภาพ ร ว มกั บ การใช ร ะบบหน ว งเวลาถ า ยภาพ และการล็ อ คกระจก สะท อ นภาพ ให ใ ช นิ้ ว กดปุ ม ชั ต เตอร ค า งไว ต ลอดเวลา(ระยะเวลาหน ว งของ ชัตเตอร+เวลาถายภาพดวยชัตเตอร B) ถายกนิ้วออกในขณะที่ระบบหนวงเวลาถายภาพ กำลั ง นั บ เวลาถอยหลั ง จะมี เ สี ย งลั่ น ชั ต เตอร ห นึ่ ง ครั้ ง อย า งไรก็ ต าม นั่ น ไม ใ ช เ สี ย งของ ชั ต เตอร ที่ มี ก ารถ า ยภาพจริ ง (ไม มี ก ารถ า ยภาพเกิ ด ขึ้ น ) เมื่ อ ตั้ ง เป น [1: Enable] กล อ งจะถ า ยภาพแบบครั้ ง ละภาพ แม ว า จะตั้ ง ระบบขั บ เคลื่ อ น เป น แบบต อ เนื่ อ ง เมื่ อ ตั้ ง ระบบหน ว งเวลาถ า ยภาพเป น หรื อ กล อ งจะถ า ยภาพหลั ง จากเวลาผ า นไป 10 วิ น าที และ 2 วิ น าที ถ า ล็ อ คกระจกสะท อ นภาพนานจนถึ ง 30 วิ น าที กระจกสะท อ นภาพจะกลั บ คื น ตำแหน ง เดิ ม โดยอั ต โนมั ติ หากต อ งการล็ อ คกระจกสะท อ นภาพอี ก ให ก ดชั ต เตอร จ นสุ ด อี ก ครั้ ง เมื่ อ ถ า ยภาพด ว ยการล็ อ คกระจกสะท อ นภาพ แนะนำให ใ ช Remote Switch RS-60E3 (อุ ป กรณ เ สริ ม พิ เ ศษ) (น.124) ผู ใ ช ส ามารถล็ อ คกระจกสะท อ นภาพ และถ า ยภาพด ว ยรี โ มทควบคุ ม ได (อุ ป กรณ เ สริ ม พิ เ ศษ) (น.126) แนะนำให ตั้ ง หน ว งเวลาถ า ยภาพ 2 วิ น าที


ายภาพดวยรีโมท

เมื่อถายภาพดวย Remote Controller RC-6 (อุปกรณเสริมพิเศษ) ผู ใ ช ส ามารถควบคุ ม การถ า ยภาพได จ ากระยะประมาณ 5 เมตร/ 16.4 ฟุต จากกลอง RC-6 ออกแบบใหสั่งกลองถายภาพทันทีหรือ หน ว งเวลา 2 วิ น าที ส ว นรี โ มท RC-1 และ RC-5 นั้ น สามารถใช กั บ กล อ งรุ น นี้ ไ ด

โฟกัสไปยังวัตถุ ปรั บ สวิ ต ซ ที่ ก ระบอกเลนส ไ ปที่ สามารถถายภาพไดดวย

กดปุ ม เลือกหนวงเวลาถายภาพ

ดูที่จอ LCD และหมุนวงแหวน หรือ < >

เพื่อเลือก

กดปุ ม ส ง สั ญ ญาณที่ รี โ มทควบคุ ม เล็ ง รี โ มทควบคุ ม ไปยั ง เซนเซอร รั บ สั ญ ญาณ ของกลอง และกดปุมสงสัญญาณที่รีโมท เซนเซอร รั บ สั ญ ญาณรี โ มท

สั ญ ญาณไฟของระบบหน ว งเวลาถ า ยภาพ จะติดขึ้น และกลองจะถายภาพ

กล อ งอาจจะทำงานผิ ด พลาดได เมื่ อ ใช รี โ มทควบคุ ม ใกล กั บ แหล ง กำเนิ ด แสงแบบฟลู อ อเรส เซนต บ างชนิ ด ในขณะถ า ยภาพโดยควบคุ ม ด ว ยรี โ มทไร ส าย พยายามหลี ก เลี่ ย งบริ เ วณที่ มี แหล ง กำเนิ ด แสงแบบฟลู อ อเรสเซนต


ารแสดงเสนระดับอีเลคทรอนิคส

เพื่ อ ช ว ยในการตั้ ง กล อ งให ไ ด ร ะดั บ (ไม เ อี ย งไปทางใดทางหนึ่ ง ) โดยตั้ ง ให แ สดงเส น ระดั บ อีเลคทรอนิคสที่จอ LCD ภายในชองเล็งภาพ และที่จอแสดงขอมูล LCD ดวย และโปรดทราบ ว า กล อ งจะแสดงเส น ระดั บ ทางแนวนอนเท า นั้ น (ไม มี เ ส น ระดั บ ทางแนวตั้ ง )

แสดงเสนระดับอีเลคทรอนิคสที่จอ LCD กดปุ ม

แตละครั้งที่กดปุม การแสดงขอมูลที่หนา จอ LCD จะเปลี่ยนรูปแบบไป กดปุมจนกลองแสดงเสนระดับอีเลคทรอนิคส

ถ า ไม ส ามารถทำให เ ส น ระดั บ อี เ ลคทรอนิ ค ส ปรากฏขึ้ น ได ให ป รั บ ตั้ ง จากเมนู

[

INFO button display options]

เพื่อสั่งใหแสดงเสนวัดระดับอีเลคทรอนิคส (น.266)

ตรวจสอบความเอียงของกลอง

กลองจะแสดงความเอียง ที่ความละเอียด 1 ํ หากเส น สี แ ดงเปลี่ ย นเป น สี เ ขี ย ว แสดงว า ตั้ ง กลองไดระดับดีแลว

เสนระดับทางแนวนอน

แม ก ล อ งจะแสดงว า ตั้ ง กล อ งได ร ะดั บ แล ว แต อ าจมี ค วามคลาดเคลื่ อ นในช ว ง +/- 1 ํ หากตั้ ง กล อ งเอี ย งอย า งมาก ความคลาดเคลื่ อ นในการแสดงผลก็ จ ะมากขึ้ น ตามไปด ว ย

สามารถปรั บ ตั้ ง ให แ สดงเส น ระดั บ อี เ ลคทรอนิ ค ส ไ ด ใ นขณะที่ ใ ช ร ะบบ Live View และถายภาพยนตร (น.154, 176)


 ารแสดงเส น ระดั บ อี เ ลคทรอนิ ค ส แสดงเสนระดับอีเลคทรอนิคสในชองเล็งภาพ เพื่อชวยในการตั้งกลองใหไดระดับ(ไมเอียงไปทางใดทางหนึ่ง) โดยตั้งใหแสดงเสนระดับ อีเลคทรอนิคสที่จอ LCD ภายในชองเล็งภาพ และที่จอแสดงขอมูล LCD ดวย และโปรด ทราบว า กล อ งจะแสดงเส น ระดั บ ทางแนวนอนเท า นั้ น (ไม มี เ ส น ระดั บ ทางแนวตั้ ง )

เลือก Custom Function IV

เลื อ กเมนู [ C.Fn IV: Operation/Others] จากนั้ น กดปุ ม (การใช ง าน/อื่ น ๆ)

เลือก C.Fn. IV-2 [Assign SET button] (กำหนดหน า ที่ ใ ห กั บ ปุ ม SET) เพื่อเลือก [2] [Assign SET button] จากนั้ น กดปุ ม

กดปุม

เลือก [5]: [ กดปุม

Viewfinder

เพื่อเลือก [5] : [

] จากนั้ น กดปุ ม

กดปุม ปรั บ ตั้ ง นี้

] (ชองมองภาพ) Viewfinder

สองครั้งเพื่อออกจากการ

แสดงเสนระดับอีเลคทรอนิคส เอี ย งขวา 4 ํ

เอี ย งซ า ย 4 ํ

กดปุ ม ในชองเล็งภาพและที่จอ LCD กลองจะใชสเกล แสดงระดั บ แสงในการแสดงระดั บ ความเอี ย ง โดยแสดงในชวงระหวาง +/- 9 ํ ในระดับความ ละเอียด 1 ํ เมื่ อ แตะชั ต เตอร เ บาๆ สเกลแสดงระดั บ ความ เอียงจะกลับไปแสดงผลคาแสงตามปกติ

แม ก ล อ งจะแสดงว า ตั้ ง กล อ งได ร ะดั บ แล ว แต อ าจมี ค วามคลาดเคลื่ อ นในช ว ง +/- 1 ํ หากตั้งกลองในมุมกมหรือเงยมากเกินไป การแสดงเสนระดับอีเลคทรอนิคสอาจเกิดความ ผิ ด พลาดได


¡Òö‹ÒÂÀÒ¾ ´ŒÇÂá¿Åª ด ว ยแฟลชในตั ว กล อ ง ผู ใ ช ส ามารถถ า ย ภาพดวยระบบแฟลชอัตโนมัติ(Autoflash) แฟลชแบบปรับตั้งเอง(manual flash) และ แฟลชระบบไรสาย(wireless flash)

เมื่อใชระบบบันทึกภาพใน Creative Zone เมื่อกดปุม แฟลชในตัว กล อ งก็ จ ะยกตั ว ขึ้ น พร อ มสำหรั บ ใช ง าน และเมื่ อ ต อ งการเลิ ก ใช ให ใ ช นิ้ ว กดแฟลชใหกลับสูตำแหนงเดิม เมื่อใชระบบบันทึกภาพใน Basic Zone (ยกเวน ) แฟลชในตัวกลองจะยกตัวขึ้นและยิงแสงเองโดยอัตโนมัติเมื่อถายภาพใน สภาพแสงน อ ยหรื อ เมื่ อ ถ า ยภาพย อ นแสง และเมื่ อ ใช ร ะบบ < > ผู ใ ช ส ามารถจะเลื อ กใช แ ฟลชในระบบอั ต โนมั ติ หรื อ ระบบเป ด /ป ด การ ทำงานของแฟลชได (น.61) ไมสามารถใชแฟลชได เมื่อถายภาพยนตร


ารใชแฟลชในตัวกลอง

เมื่อใชระบบบันทึกภาพ ใน Basic Zone และ Creative Zone กลองจะตั้งความไวชัตเตอร และชองรับแสงใหโดยอัตโนมัติ (ตามรายละเอียดในตาราง) และระบบแฟลช E-TTL II จะทำงานร ว มกั บ ระบบบั น ทึ ก ภาพทุ ก ๆ แบบ เพื่ อ ให แ สงแฟลชถู ก ยิ ง ออกไปในปริ ม าณที่ เหมาะสมกับชองรับแสงที่ปรับตั้ง ทั้งแบบอัตโนมัติและปรับตั้งโดยผูใช ระบบ ความไวชัตเตอร ชองรับแสง บันทึกภาพ ปรั บ ตั้ ง ให โ ดยอั ต โนมั ติ ใ นช ว ง 1/250 - 1/60 วิ น าที

อัตโนมัติ

ปรั บ ตั้ ง ให โ ดยอั ต โนมั ติ ใ นช ว ง 1/250 - 2 วิ น าที ปรั บ ตั้ ง ให โ ดยอั ต โนมั ติ ใ นช ว ง 1/250 - 1/60 วิ น าที ผู ใ ช ป รั บ ตั้ ง เอง ในช ว ง 1/250 - 30 วิ น าที ปรับตั้งใหโดยอัตโนมัติ ผู ใ ช ป รั บ ตั้ ง เอง ในช ว ง 1/250 - 30 วิ น าที เมื่ อ กดชั ต เตอร ค า งไว กล อ งจะเป ด ชั ต เตอร จ นกว า จะยกนิ้ ว ออกจากปุ ม

อัตโนมัติ อัตโนมัติ อัตโนมัติ ปรับตั้งเอง ปรับตั้งเอง ปรับตั้งเอง

เมื่ อ ปรั บ ตั้ ง [ C.FnI -7 : Flash sync. speed in Av mode] (น.253) สามารถ จะเลื อ กรายการปรั บ ตั้ ง แฟลชระบบอั ต โนมั ติ ไ ด ซึ่ ง จะมี ผ ลเมื่ อ ใช ร ะบบบั น ทึ ก ภาพ < AV > ดั ง นี้ • 0: Auto* • 1: 1/250 - 1/60 วิ น าที อั ต โนมั ติ • 2: 1/250 วินาที (ตายตัว )

* ตามปกติ ความไวชั ต เตอร สั ม พั น ธ แ ฟลชจะถู ก ตั้ ง ให อ ยู ใ นช ว งระหว า ง 1/250 วิ น าที จนถึ ง 30 วินาทีโดยอัตโนมัติ เพื่อใหสมดุลกับความเขมสวางของแสงธรรมชาติ แตก็สามารถจะใช ความไวชั ต เตอร สั ม พั น ธ แ ฟลชที่ สู ง กว า ปกติ ไ ด เมื่ อ ถ า ยภาพในสภาพแสงน อ ย จุ ด เด น จะถู ก บั น ทึ ก ด ว ยแสงแฟลชอั ต โนมั ติ ขณะที่ ฉ ากหลั ง จะถู ก บั น ทึ ก ด ว ยความไวชั ต เตอร ต่ำ ๆ เพื่ อ รั บ แสงธรรมชาติ โ ดยอั ต โนมั ติ ทั้ ง จุ ด เด น และฉากหลั ง จะมี ค วามเข ม สว า งที่ ส มดุ ล กั น (ระบบ แฟลชสั ม พั น ธ กั บ ความไวชั ต เตอร ต่ำ อั ต โนมั ติ ) เมื่ อ ใช ร ะบบนี้ แนะนำให ใ ช ข าตั้ ง กล อ ง


 ารใช แ ฟลชในตั ว กล อ ง ระยะการทำงานของแฟลชในตัวกลอง ชองรับแสง

[ ระยะโดยประมาณ เมตร/ฟุต ]

ความไวแสง

เมื่ อ ถ า ยภาพวั ต ถุ ใ นระยะใกล ม ากโดยใช แ ฟลชในตั ว กล อ ง วั ต ถุ ค วรจะอยู ห า งอย า งน อ ย 1 เมตร/3.3 ฟุ ต

ถอดฮู ด ที่ ส วมหน า เลนส อ อก และควรจะอยู ห า งจากวั ต ถุ อ ย า งน อ ย 1 เมตร/3.3 ฟุ ต ถ า เลนส ส วมฮู ด อยู หรื อ เมื่ อ ถ า ยภาพด ว ยแฟลชในระยะใกล ก ว า 1 เมตร ส ว นล า งของ ภาพอาจจะมื ด เพราะแสงแฟลชถู ก ฮู ด หรื อ กระบอกเลนส เ องกี ด ขวาง และเมื่ อ ใช เ ลนส เทเล หรื อ เลนส ไ วแสงที่ มี ก ระบอกเลนส ใ หญ แนะนำให ใ ช แ ฟลชภายนอก EX-series Speedlite (อุปกรณเสริมพิเศษ)

การใชระบบลดจุดสีแดงในดวงตา การใช ไ ฟช ว ยลดจุ ด แดงในดวงตา จะช ว ยลดจุ ด สี แ ดงในดวงตาซึ่ ง มั ก จะเกิ ด ขึ้ น เมื่ อ ใช แฟลช ระบบนี้สามารถทำงานรวมกับระบบบันทึกภาพทุกๆ แบบ ยกเวน < > และ ในแถบ [ ] เลือก [Red-eye reduc.] (เปด/ปด ลดตาแดง) จากนั้ น กดปุ ม และเลือก [Enable] (เปด) และกด เมื่อใชแฟลชถายภาพ เมื่อแตะชัตเตอรเบาๆ ลง ครึ่ ง หนึ่ ง ไฟช ว ยลดตาแดงจะติ ด สว า งขึ้ น จาก นั้นเมื่อกดชัตเตอรลงจนสุด แฟลชจะยิงออกไป เพื่ อ ถ า ยภาพ ระบบลดจุดสีแดงในดวงตา จะทำงานไดดีเมื่อคนที่ถูกถายภาพจองมองมาที่แสงไฟลด ตาแดง หรือเมื่อถายภาพในหองที่มีไฟสวาง หรือเมื่อถายภาพในระยะใกลกับวัตถุมากขึ้น เมื่ อ แตะชั ต เตอร เ บาๆ การแสดงข อ มู ล ภายในช อ งเล็ ง ภาพจะ ค อ ยๆ ดั บ ลง เพื่ อ ให ไ ด ผ ลที่ ดี ที่ สุ ด ควรถ า ยภาพทั น ที เ มื่ อ การ แสดงผลนี้ ดั บ ลง ประสิ ท ธิ ภ าพของระบบลดตาแดงขึ้ น อยู กั บ ลั ก ษณะของตั ว แบบที่ แ ตกต า งกั น


 ารใช แ ฟลชในตั ว กล อ ง การชดเชยแสงแฟลช การชดเชยแสงแฟลชก็มีหลักการไมแตกตางจากการชดเชยแสงปกติ เพื่อใหภาพที่ถาย ดวยแฟลชดูเขมหรือสวางกวาคามาตรฐาน โดยสามารถปรับตั้งการชดเชยแสงแฟลชไดใน ชวง +/- 3 stop ปรับไดขั้นละ 1/3 stop

เข า สู ห น า จอของการปรั บ ตั้ ง แบบเร็ ว

กดปุม (น.44) หน า จอจะปรากฏรายการสำหรั บ การปรั บ ตั้ ง แบบเร็ ว

เลือก [

]

กดปุม และ เพื่อเลือก [ ] จากนั้ น กด หนาจอจะแสดงการปรับตั้งควบคุมแบบเร็ว

ปรับตั้งระดับการชดเชยแสงแฟลช หมุนวงแหวน เพื่อปรับตั้งระดับการ ชดเชยแสง การหมุนไปทางขวาจะปรับใหแสง แฟลชมากขึ้ น (เพิ่ ม แสง) และการหมุ น ไปทาง ซายจะปรับใหแสงแฟลชนอยลง(ลดแสง) เมื่อแตะชัตเตอรเบาๆ ครึ่งหนึ่ง สัญลักษณ < > จะปรากฏขึ้นในชองเล็งภาพ และที่จอ LCD หลังจากถายภาพแลว ใหทำตามขั้นตอนที่ 1 ถึง 3 เพื่อปรับระดับการชดเชยแสงแฟลช ใหเปนคากลางเชนเดิม


 ารใช แ ฟลชในตั ว กล อ ง ถา [ Auto Lighting Optimizer] (น.101) ได ตั้ ง เป น แบบอื่ น ๆ ที่ ไ ม ใ ช [Disable] ภาพจะยั ง แลดู ส ว า ง แม จ ะตั้ ง ชดเชยแสงแฟลชให ภ าพดู เ ข ม ขึ้ น หากผู ใ ช ตั้ ง ระดั บ การชดเชยแสงแฟลชไว ที่ ตั ว กล อ ง และที่ แ ฟลชภายนอกที่ นำมาใช ด ว ย กล อ งจะเลื อ กใช ค า ชดเชยแสงแฟลชที่ แ ฟลชภายนอกเท า นั้ น ระดั บ การชดเชยแสง แฟลชที่ ตั้ ง ไว ที่ ตั ว กล อ งจะไม มี ผ ล

ระดับการชดเชยแสงแฟลชจะยังคงมีผลอยู แมจะปดสวิตซกลอง

ไปแลว

เมื่ อ ตั้ ง เมนู [

Flash

C.Fn IV-2: Assign SET button] เปน [4:

exp. comp.] เมื่อกดปุม

จอภาพจะแสดงหนาจอชดเชยแสงแฟลชทันที

การชดเชยแสงแฟลชโดยปรับที่ตัวกลองนั้น จะควบคุมแฟลชภายนอกไดดวย โดยมีผลไมแตกตางจากการชดเชยแสงแฟลชโดยปรับตั้งที่ตัวแฟลช


 ารใช แ ฟลชในตั ว กล อ ง (ล็อคคาแสงแฟลช) FE(Flash Exposure) คาแสงแฟลชที่กลองอานคาไดจะถูกล็อค คาแสงแฟลชที่เหมาะสม จะถูกล็อคไว เพื่อใหทุกๆ สวนในภาพไดรับแสงแฟลชอยางเหมาะสม

กดปุม เพื่อยกแฟลชในตัวกลอง ขึ้ น ทำงาน

แตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึ่งหนึ่งและมองในชองเล็ง ภาพ เพื่อตรวจสอบดูวา สัญลักษณ ได ป รากฎขึ้ น หรื อ ไม

โฟกัสไปยังวัตถุ กดปุ ม เล็ ง จุ ด โฟกั ส ที่ กึ่ ง กลางช อ งเล็ ง ภาพไปยั ง วั ต ถุ ที่ ตองการล็อคคาแสงแฟลช จากนั้นกดปุม แฟลชจะยิงแสงออกไปเพื่อทดสอบ(เรียกวา preflash) เพื่อวิเคราะหระดับแสงแฟลชที่จะใชอยางพอเหมาะ และเก็บคาไวในหนวยความจำของกลอง

ภาพในช อ งเล็ ง ภาพ “FEL” จะปรากฎขึ้ น ครู หนึ่ง และ จะสวางขึ้น แตละครั้งที่มีการกดปุม preflash จะถูก ยิงออกไป กลองจะคำนวณปริมาณแสงแฟลชที่ เหมาะสมแล ว เก็ บ ไว ใ นหน ว ยความจำ

ถ า ยภาพ

จัดองคประกอบภาพใหม แลวกดชัตเตอรจนสุด เพื่ อ ถ า ยภาพ แฟลชจะยิงแสงออกไปเพื่อถายภาพ

หากวัตถุอยูในระยะไกลเกินไป และอยูนอกระยะการทำงานของแฟลช สัญลักษณ จะกระพริ บ ให เ ข า ไปใกล วั ต ถุ ใ ห ม ากขึ้ น แล ว จึ ง ทำตามขั้ น ตอนที่ 2 ถึ ง 4


ารปรับตั้งแฟลช

ผูใชสามารถปรับตั้งแฟลชในตัวกลองและแฟลชภายนอกที่นำมาใชดวยการปรับตั้งในเมนู เมื่ อ นำเอาแฟลชภายนอกซึ่ ง เป น แฟลชอนุ ก รม EX ของ Canon มาติ ด ตั้ ง ซึ่ ง จะมี ฟงกชั่นตางๆ ที่กลองสนับสนุนการทำงานดังตอไปนี้ วิ ธี ก ารปรั บ ตั้ ง จะเหมื อ นกั น กั บ การปรั บ ฟ ง ก ชั่ น จากเมนู ต า งๆ ของกล อ ง

เลือก [Flash control] (ควบคุมแฟลช) ในแถบ [ ] เลือก [Flash control] จากนั้ น กดปุ ม หน า จอแสดงรายการปรั บ ตั้ ง ควบคุ ม ระบบ แฟลชจะปรากฎขึ้ น

การยิงแสงแฟลช

ตามปกติ จะตั้ ง ระบบนี้ เ ป น [Enable] ถาตั้งเปน [Disable] แฟลชในตัวกลองและ แฟลชภายนอกที่ นำมาติ ด ตั้ ง จะไม ยิ ง แสง ออกไป การปรั บ ตั้ ง แบบนี้ ใ ช เ มื่ อ ผู ใ ช ต อ งการ จะใช แ ฟลชเป น ไฟช ว ยหาโฟกั ส เท า นั้ น

(ตั้งคาระบบแฟลชในตัวกลอง และ ตั้งคาระบบแฟลชติดตั้งภายนอก)

[Built-in flash func. setting] และ [External flash func. setting] เมนู [Built-in flash func. setting] และ [External flash func. setting] ออก แบบมาให ผู ใ ช ส ามารถจะปรั บ ตั้ ง ฟ ง ก ชั่ น การทำงานได ห ลายแบบ ดั ง รายการใน หน า ถั ด ไป ส ว นฟ ง ก ชั่ น ที่ แ สดงในเมนู [External flash func. setting] จะขึ้ น อยู กับวา ไดนำแฟลชรุนใดมาติดตั้ง เมื่ อ เลื อ กเมนู [Built-in flash func. setting] หรื อ [External flash func. setting] กล อ งจะแสดงฟ ง ก ชั่ น ต า งๆ ของแฟลช โดย จะเลื อ กและปรั บ ตั้ ง ฟ ง ก ชั่ น ได เ ฉพาะที่ ป รากฎ รายการให เ ห็ น ได ชั ด เจน


 ารปรั บ ตั้ ง แฟลช ฟงกชั่นที่ปรับตั้งไดใน [Built-in flash func. setting] และ [External flash func. setting] ฟงกชนั่

[การปรับฟงกชนั่ ของ แฟลชในตัว]

[การปรับฟงกชนั่ แฟลชภายนอก]

หนา

ระบบแฟลช สัมพันธแฟลช ถายภาพครอมดวั ยแฟลช * ชดเชยแสงแฟลช E-TTL II ซูม * ปรับตัง้ แฟลชแบบไรสาย

* เกี่ ย วกั บ [FEB] (ระบบถายภาพครอมดวยแฟลช) และ [Zoom] อ า งอิ ง จากคู มื อ การใช ของแฟลช

ระบบแฟลช

ผูใชสามารถปรับตั้งระบบแฟลชเพื่อใหเหมาะสมกับลักษณะการถายภาพที่ตองการได [E-TTL II] เป น ระบบแฟลชมาตรฐานของ แฟลชอนุกรม EX-series Speedlites เมื่อถาย ภาพดวยแฟลช [Manual flash] เปนระบบที่เหมาะสำหรับนัก ถ า ยภาพระดั บ ก า วหน า ซึ่ ง ต อ งการปรั บ ตั้ ง กำลังไฟแฟลช [Flash output] (1/1 ถึง 1/128) เกี่ ย วกั บ การใช ร ะบบแฟลชแบบอื่ น ๆ ดู จ ากคู มือการใชของแฟลช


 ารปรั บ ตั้ ง แฟลช ชัตเตอรสัมพันธแฟลช

ตามปกติ จะปรับตั้งไวที่ [1st curtain] เพื่อใหแฟลชยิงแสงออกไปทันทีเมื่อชัตเตอรเริ่ม เปดรับแสง ถ า ตั้ ง เป น [2nd curtain] แฟลชจะยิงแสงออกไปกอนที่ชัตเตอรจะปดเล็กนอย เมื่อใช การทำงานรู ป แบบนี้ ร ว มกั น กั บ ชั ต เตอร ต่ำ ๆ ก็ ส ามารถจะสร า งสรรค ภ าพที่ แ ปลกตา เชน ภาพของไฟรถยนตที่ลากเปนทางยาวในตอนกลางคืน เมื่ อ ใช แ ฟลชสั ม พั น ธ กั บ ม า นชั ต เตอร ชุ ด ที่ 2 แฟลชจะยิ ง แสงออกไปสองครั้ ง ครั้ ง แรก จะยิงออกไปทันทีเมื่อกดชัตเตอร และครั้งที่สองกอนที่ชัตเตอรจะปด อยางไรก็ตาม ถาชัตเตอรสูงกวา 1/30 วินาที ระบบแฟลชสัมพันธมานชัตเตอรชุดที่ 1 จะทำงานโดยอัตโนมัติ ถาใชแฟลชภายนอก ผูใชสามารถตั้งเปน [Hi-speed] ดูรายละเอียดไดจาก คูมือการใชแฟลช

ชดเชยแสงแฟลช ดู “

การชดเชยแสงแฟลช” ที่ ห น า 132

E-TTL II

สำหรั บ การถ า ยภาพด ว ยแฟลชตามปกติ ตั้ ง เป น [Evaluative] และถ า ตั้ ง เป น [Average] คาแสงแฟลชจะถูกเฉลี่ยรวมกับคาแสงของภาพ ดังนั้นการชดเชยแสงแฟลช ยังคงมีความจำเปน ขึ้นอยูกับสภาพการถายภาพ เปนระบบที่ออกแบบมาสำหรับผูใช ที่ มี ป ระสบการณ

การปรับตั้งแฟลชแบบไรสาย

ดู “การใชแฟลชดวยระบบไรสาย” ที่หนา 139

ลบค า ที่ ป รั บ ตั้ ง ไว

โดยเลือก [Built-in flash func. setting] หรื อ [External flash func. setting] กดปุ ม เพื่ อ ให ก ล อ งแสดงรายการที่ จ ะปรั บ ให ก ารปรั บ ตั้ ง ต า งๆ กลั บ คื น สู ระบบเดิม และเมื่อเลือก [OK] การปรั บ ตั้ ง ต า งๆ ก็ จ ะถู ก ยกเลิ ก ไปทั้ ง หมด


 ารปรั บ ตั้ ง แฟลช การปรับ Custom Functions ของแฟลชภายนอก เขาสูการปรับ Custom Function เลือก [External flash C.Fn setting] (ตั้งคา C.Fn ของแฟลชภายนอก) จากนั้ น กด

ปรับตั้ง Custom Function

หมุนวงแหวน เพื่อเลือกฟงกชั่นที่ตอง การ จากนั้นปรับตั้งฟงกชั่น ซึ่งขั้นตอนการปรับ ตั้งจะคลายกันกับการปรับ Custom Functions ของกลอง (น.250) หากตองการยกเลิก Custom Functions ที่ปรับ ไวทั้งหมด เลือก [Clear ext. flash C.Fn set.] (ลบระบบสวนตัวแฟลชภายนอกทั้งหมด) ในขั้ น ตอนที่ 1


ารใชแฟลชดวยระบบไรสาย

แฟลชในตั ว กล อ งสามารถทำหนา ที่ เ ปน master unit เพื่ อ ควบคุ ม แฟลชของ Canon ที่ มี ระบบรับสัญญาณแบบไรสาย สัญญาณจากกลองจะควบคุมการทำงานของแฟลชที่ถูกแยก ออกไป ก อ นใช ง าน ให อ า นรายละเอี ย ดวิ ธี ใ ช แ ฟลชแบบไร ส ายให เ ข า ใจจากคู มื อ การ ใชของแฟลช

การปรับตั้ง Slave และการวางตำแหนง อ า นคู มื อ การใช ข องแฟลชที่ นำมาใช และปรั บ ตั้ ง ตามคำแนะนำ แฟลชที่ นำมาใช แ ละถู ก แยกออกไปจะถูกควบคุมโดยกลองผานสัญญาณโดยไมตองใชสายตอพวง เรียกวา Slave unit โดยการปรับตั้ง Slave นอกเหนือจากที่ใหรายละเอียดดานลางนี้ จะปรับควบคุมที่ตัว กล อ ง นอกจากนี้ สามารถใช แ ฟลชต า งรุ น กั น มาทำหน า ที่ เ ป น slave และถู ก ควบคุ ม จาก ตัวกลองไดในเวลาเดียวกัน (1) ตั้งแฟลชภายนอกใหทำงานเปน Slave (2) ตั้งชองสัญญาณของแฟลชภายนอก ใหตรงกับชองสัญญาณของกลอง (3) ถาตองการปรับตั้งระบบแฟลช (น.144), ใหตั้ง ID ของ Slave (4) จัดตั้งกลองและแฟลชใหมีระยะหางและทิศทางตามภาพประกอบดานลาง (5) หันเซนเซอรรับสัญญาณของตัวแฟลช เขาหากลอง

ตัวอยางการติดตั้งระบบแฟลชไรสาย ภายในอาคาร

ประมาณ 10 ม. (32.8 ฟุต)

ภายนอกอาคาร ประมาณ 7 ม. (23 ประมาณ ฟุต) 80 ํ ประมาณ 5 ม. (16.4 ฟุต)

ประมาณ 7 ม. (23 ฟุต)

การยกเลิกระบบตัดพลังงานอัตโนมัติของ Slave

หากตองการยกเลิกการปดตัวเองเพื่อประหยัดพลังงานของ Slave กดปุม ที่ตัวกลอง และหากใชแฟลชระบบแมนนวล ใหกดปุมทดสอบการยิงแสง(PILOT) ที่ตัวแฟลช เพื่อยก เลิกการทำงานของระบบตัดพลังงานอัตโนมัติ


 ารใช แ ฟลชด ว ยระบบไร ส าย ถายภาพดวยระบบอัตโนมัตสิ มบูรณแบบ โดยใชแฟลชภายนอกตัวเดียว ตัวอยางทีแ่ สดงการติดตัง้ ระบบแฟลชไรสายใน ระดับพื้นฐาน โดยใชแฟลชตัวเดียว ในขัน้ ตอนที่ 1 ถึง 3 และ 6 ถึง 7 นัน้ จะเปน ขั้ น ตอนมาตรฐานในการติ ด ตั้ ง แฟลชไร สายทุกๆ แบบ ดังนัน้ จะไมกลาวถึงขัน้ ตอน เหลานีใ้ นการอธิบายการติดตัง้ แฟลชในรูป แบบอื่น ซึ่งอยูในหนาถัดๆ ไป ที่หนาจอแสดงเมนู สัญลักษณ < > และ < > จะหมายถึงแฟลชภายนอก และ < > และ < > จะหมายถึงแฟลชใน ตัวกลอง

กดปุม เพื่อใหแฟลชในตักลองยก ขึ้ น ทำงาน

เมื่อใชระบบแฟลชไรสาย ตรวจสอบใหมั่นใจวา ไดยกแฟลชในตัวกลองขึ้นกอนแลว

เลือก [Flash control] (ควบคุมแฟลช) ในแถบ [ ] เลือก [Flash control] จากนั้ น กดปุ ม

เลือก [Built-in flash func. setting]

(ตั้งคาระบบแฟลชในตัวกลอง)

เลื อ ก [Built-in จากนั้นกด

flash func. setting]

เลือก [Flash mode] (โหมดทำงานแฟลช) ใน [Flash mode] เลือก [E-TTL II] จากนั้ น กดปุ ม


 ารใช แ ฟลชด ว ยระบบไร ส าย เลือก [Wireless func.] (ระบบไรสาย)

ใน [Wireless func.] เลื อ ก [ ] จากนั้ น กดปุ ม ใน [Wireless func.] จะมี [Channel] ฯลฯ ปรากฏขึ้ น

เลือก [Channel] (ชองสัญญาณ)

ตั้งชองสัญญาณ (1-4) [channel] ใหตรงกันกับ ชองสัญญาณของ slave

เลือก [Firing group] (กลุมแฟลช) ใน [Firing group] เลือก [ จากนั้ น กดปุ ม

All]

ถ า ยภาพ

ปรั บ ตั้ ง กล อ งในลั ก ษณะเดี ย วกั บ การถ า ยภาพ ดวยแฟลชตามปกติ และถายภาพตามที่ตองการ เมื่อตองการเลิกใชระบบแฟลชไรสาย ใน [Wireless flash] ให ตั้ ง เป น [Disable] (ไม ใ ช ง าน)

แนะนำให ตั้ ง [E-TTL II meter.] เป น [Evaluative] ถึ ง แม จ ะป ด แฟลชในตั ว กล อ ง แต แ ฟลช slave จะถู ก ควบคุ ม ด ว ยสั ญ ญาณแสงจากแฟลช ในตั ว กล อ ง ขึ้ น อยู กั บ การถ า ยภาพ เมื่ อ ทดสอบการทำงานของแสงแฟลช แฟลช Slave จะไม ทำงาน


 ารใช แ ฟลชด ว ยระบบไร ส าย ถายภาพดวยระบบอัตโนมัตสิ มบูรณแบบ โดยใชแฟลชภายนอกหนึ่งตัว รวมกับแฟลชในตัวกลอง ภาพตัวอยางแสดงการติดตั้งระบบแฟลช ไรสายที่ใชแฟลชภายนอกหนึ่งตัว ทำงาน รวมกับแฟลชในตัวกลอง ผู ใ ช ส ามารถปรั บ เปลี่ ย นอั ต ราส ว นแสง ของแฟลชภายนอกและแฟลชในตัวกลอง เพื่อปรับแสงเงาที่ตัวแบบได

เลือก [Wireless func.]

เริ่ ม จากขั้ น ตอนที่ 5 ในหน า 141 เพื่ อ เลื อ ก [ : ] ใน [Wireless func.] จากนั้ น กดปุ ม

ปรับตั้งอัตราสวนแสงของแฟลช แลวถายภาพ

เลือก [ : ] เพื่ อ ปรั บ ตั้ ง อั ต ราส ว นแสง ซึ่งปรับไดภายในชวงระหวาง 8:1 จนถึง 1:1 และ ถึง 1:8 ทางอีกดานหนึ่ง ไมสามารถปรับตั้งอัตรา ส ว นแสงเกิ น ไปจากนี้ หากแฟลชไมสามารถใหแสงไดสวางพอ ใหปรับ ความไวแสงใหสูงขึ้น (น.88)

อัตราสวนแสง 8:1 จนถึง 1:1 นั้น เทียบเทากับ 3:1ถึง 1:1 สตอป (ปรับไดขั้นละ 1/2 สตอป)


 ารใช แ ฟลชด ว ยระบบไร ส าย ถายภาพดวยระบบอัตโนมัตสิ มบูรณแบบ โดยใชแฟลชภายนอกหลายตัว แฟลช slave หลายตัวนั้นสามารถปรับตั้งควบคุมไดเหมือนกับแฟลชตัวเดียว หรือแบงเปน กลุมแยกจากกันก็ได ซึ่งจะสามารถปรับตั้งอัตราสวนแสงได ซึ่งไดแสดงวิธีปรับตั้งแบบพื้น ฐานไวดานลาง โดยการปรับเปลี่ยน [Firing group] ผูใชสามารถจัดแสงไดมากมาย หลายรูปแบบ ดวยแฟลชระบบไรสายที่แยกจากกลองไปหลายตัว

การปรับตั้งแบบพื้นฐาน

ระบบแฟลช ระบบวัดแสงแฟลช ฟ ง ก ชั่ น Wireless ชองสัญญาณ

: E-TTL II : เฉลี่ยหลายสวน : : (เหมือนกับ slave)

ใชแฟลช slave หลายตัวทำงานเหมือนแฟลชตัวเดียว การติ ด ตั้ ง แฟลชแบบนี้ เ หมาะสำหรั บ กรณี ที่ ตองการแฟลชที่มีกำลังไฟสูง ซึ่งแฟลช slave แตละตัวจะยิงแสงออกไปในปริมาณเทาๆ กัน พร อ มๆ กั บ การควบคุ ม ความเข ม สว า งให อ ยู ในระดั บ พอดี โดยไม ต อ งคำนึ ง ถึ ง slave ID ของแฟลชแตละตัว(A, B หรือ C) โดยแฟลช ทุ ก ๆ ตั ว จะยิ ง แสงออกไปเสมื อ นเป น กลุ ม เดียวกัน

ปรับตั้ง [Firing group] เปน [ All] จากนั้ น จึ ง ถ า ยภาพ


 ารใช แ ฟลชด ว ยระบบไร ส าย ใชแฟลช slave หลายตัวทำงานแยกเปนหลายกลุม ดวยการแบงแฟลช slave เปนกลุม A และ B และปรับอัตราสวนแสงเพื่อให ไดผลของการจัดแสงตามที่ตองการ ดูวิธีการปรับตั้ง ID ของ slave กลุม A และ B จากคูมือของแฟลช และติดตั้ง ในตำแหน ง ตามภาพตั ว อย า ง

ปรั บ ตั้ ง [Firing group] เปน [ (A:B)]

ปรั บ ตั้ ง อั ต ราส ว นแสงตามที่ ต อ งการ แลวถายภาพ

เลื อ ก [A:B fire ratio] และปรั บ ตั้ ง อั ต ราส ว น แสง

หากเมนู [Firing group] ถู ก ตั้ ง เป น [

(A:B)] แฟลชใน group C จะไมทำงาน

อัตราสวนแสง 8:1 ถึง 1:1 และถึง 1:8 เทียบไดกับ 3:1 จนถึง 1:1 และถึง 1:3 (ความละเอียด 1/2-สตอป)


 ารใช แ ฟลชด ว ยระบบไร ส าย ถ า ยภาพด ว ยระบบอั ต โนมั ติ ส มบู ร ณ แ บบ ดวยแฟลชในตัว และแฟลชภายนอกหลายตัว

แฟลชในตั ว กล อ งสามารถทำงานร ว มกั น กั บ แฟลชภายนอกที่ แ ยกออกไปแบบไร ส ายได ตามที่ อ ธิ บ ายไว ใ นหน า 143-144 ด า นล า งนี้ เป น วิ ธี ป รั บ ตั้ ง แบบพื้ น ฐาน ด ว ยการเปลี่ ย น [Firing group] ผูใชสามารถถายภาพโดยการจัดแสงแฟลชไดมากมายหลายวิธี โดยใชแฟลชภายนอก หลายๆ ตัว ทำงานรวมกับแฟลชในตัวกลอง

การปรับตั้งแบบพื้นฐาน

ระบบแฟลช ระบบวัดแสงแฟลช ฟ ง ก ชั่ น Wireless ชองสัญญาณ

: E-TTL II : เฉลี่ยหลายสวน : [ + ] : (เหมือนกับ slave)

เลือก [Firing group]

ปรั บ เลื อ กกลุ ม การทำงานของแฟลช จากนั้ น ปรั บ ตั้ ง อั ต ราส ว นแสง ชดเชยแสงแฟลช และ อื่ น ๆ ก อ นถ า ยภาพ

[

ทุกตัว พรอมกับ

]

[

(A:B)

]


 ารใช แ ฟลชด ว ยระบบไร ส าย การสราางสรรคภาพดวยแฟลชไรสาย ระบบชดเชยแสงแฟลช

เมื่ อ [Flash mode] ถู ก ตั้ ง เป น [E-TTL II] ผู ใ ช ส ามารถปรั บ ตั้ ง ชดเชยแสงแฟลชได การปรั บ ตั้ ง เพื่ อ ชดเชยแสงแฟลชนั้ น (ดู ร ายละเอี ย ดด า นล า ง) ซึ่ ง สามารถปรั บ ตั้ ง ได ใ น แบบตางๆ โดยขึ้นอยูกับการปรับตั้งใน [Wireless func.] และ [Firing group] การชดเชยแสงแฟลช ก็คือการปรับเพิ่มลดความ เข ม สว า งของแสงแฟลช ของแฟลชในตั ว และ แฟลชภายนอก การชดเชยแสงแฟลช จะมี ผ ลต อ แฟลชในตั ว กล อ งเท า นั้ น การชดเชยแสงแฟลช จะมีผลตอแฟลชภายนอก เท า นั้ น การชดเชยแสงแฟลช จะมีผลตอแฟลชในกลุม A และ B

ล็อคคาแสงแฟลช ถา [Flash mode] ได ถู ก ตั้ ง เป น [E-TTL II] ผูใชสามารถกดปุม เพื่อล็อคคาแสงแฟลชได


 ารใช แ ฟลชด ว ยระบบไร ส าย ปรับกำลังไฟของแฟลชไรสายแบบแมนนวล(ปรับตั้งเอง)

เมื่ อ ตั้ ง [Flash mode] เปน [Manual flash] ผูใชสามารถปรับตั้งกำลังไฟแฟลชไดโดย การปรั บ ตั้ ง เอง โดยการปรั บ ตั้ ง กำลั ง ไฟแฟลชใน ([ Flash output], [Group A output], ฯลฯ) โดยสามารถปรับตั้งไดมากมายหลายแบบ โดยขึ้นอยูกับการปรับตั้งใน [Wireless func.] ตามรายละเอียดดานลาง แฟลชภายนอกทุ ก ตั ว จะยิ ง แสงตามกำลั ง ไฟที่ ปรั บ ตั้ ง โดยผู ใ ช ผู ใ ช ส ามารถปรั บ ตั้ ง กำลั ง ไฟแฟลชของแฟลชแต ล ะ กลุ ม (A และ B) โดยแยกเฉพาะกลุ ม

ผู ใ ช ส ามารถปรั บ ตั้ ง กำลั ง ไฟแฟลชของแฟลช ภายนอกแต ล ะตั ว และแฟลชในตั ว ได ผู ใ ช ส ามารถปรั บ ตั้ ง กำลั ง ไฟแฟลชของแฟลชแต ล ะ กลุ ม (A และ B) โดยแยกเฉพาะกลุ ม พร อ มทั้ ง ปรั บ ตั้ ง กำลั ง ไฟของแฟลชในตั ว


ารใชงานรวมกับแฟลชภายนอก แฟลช EOS อนุกรม EX ควบคุมงายๆ เพื่อใหแฟลชภายนอกทำงานเหมือนแฟลชในตัว เมื่ อ ติ ด ตั้ ง แฟลชในอนุ ก รม EX เข า กั บ กล อ งแล ว กล อ งจะควบคุ ม แฟลชให ทำงานแบบ อัตโนมัติ เหมือนกับการนำเอาแฟลชที่มีพลังไฟมากขึ้นมาใชแทนที่แฟลชที่ติดตั้งมาในตัว สำหรับรายละเอียดของการใชแฟลช อ า นได จ ากคู มื อ แฟลช และกล อ งรุ น นี้ เ ป น กล อ ง Type-A ที่สามารถใชฟงกชั่นของแฟลชไดทุกๆ ระบบ

แฟลชทีใ่ ชตดิ ตัง้ กับ Hot shoe

แฟลชทีต่ ดิ ตัง้ กับเลนสมาโคร

เมื่อใชแฟลชอนุกรม EX ที่ไมสนับสนุนฟงกชั่นของแฟลชบางอยาง (น.135) เฉพาะ [ exp. comp] และ [E-TTL II meter.] สามารถปรับตั้งเปน [External flash func. setting] (แฟลชอนุกรม EX สามารถปรับตั้ง [Shutter sync.] ได) ถาตั้งระบบวัดแสงแฟลชเปน TTL autoflash โดยตั้งภายในฟงกชั่นของตัวแฟลช เมื่อถายภาพ แฟลชจะยิงแสงเต็มกำลังไฟทุกครั้ง

เมื่อใชแฟลชของ Canon ที่ไมใชแฟลช EX-series เมื่อใชแฟลชในอนุกรม EZ/E/EG/ML/TL และปรับตั้งเปน TTL หรือ A-TTL แฟลช จะยิ ง แสงเต็ ม กำลั ง ไฟเสมอ(โดยไม คำนวณกำลั ง ไฟอั ต โนมั ติ ) ควรใช ร ะบบบั น ทึ ก ภาพ <M>(Manual) หรือ <Av>(Aperture-priority) เมื่อใชกลองกับแฟลชเหลานี้ เมื่ อ ใช แ ฟลชรุ น ที่ มี ร ะบบควบคุ ม แฟลชแบบแมนนวล ให ป รั บ ตั้ ง ระบบแฟลชเป น แมนนวล(M)


 ารใช ง านร ว มกั บ แฟลชภายนอก เมื่อใชแฟลชที่ไมใชของแคนนอน ความไวชัตเตอรสัมพันธแฟลช

กล อ งรุ น นี้ ส ามารถทำงานได กั บ แฟลชภายนอกยี่ ห อ อื่ น โดยมี ร ะดั บ ความไวชั ต เตอร 1/250 วินาทีหรือต่ำกวา เมื่อใชกับแฟลชขนาดใหญสำหรับถายภาพในสตูดิโอ ระยะเวลา การฉายแสงของแฟลชจะสั้นกวาแฟลชที่มีขนาดเล็ก ควรตั้งความไวชัตเตอรใหอยูในชวง ระหวาง 1/60 วินาที ถึง 1/30 วินาที และควรทดสอบถายภาพดวยความไวชัตเตอรดัง กลาวกอนถายภาพจริง

คำเตือนเมื่อถายภาพดวยระบบ Live View

เมื่ อ ใช แ ฟลชยี่ ห อ อื่ น ที่ ไ ม ใ ช Canon และใช ร ะบบ Live View ให ป รั บ ตั้ ง [ Silent shooting] เปน [Disable] (น.159) แฟลชจะไมทำงานถาเมนูนี้ถูกตั้งเปน [Mode 1] หรื อ [Mode 2]

ถานำเอาแฟลชหรืออุปกรณเสริมของระบบแฟลชจากกลองยี่หออื่นมาใช กลองจะไมทำงานตามปกติ และอาจทำใหเกิดความเสียหายได กลองรุนนี้ไมมีชองเสียบสายพวงแฟลช หามติดตั้งแฟลชที่มีแรงดันไฟฟาสูงมากที่ hot shoe ของกลอง แฟลชจะไมทำงาน



¡Òö‹ÒÂÀÒ¾ â´Â㪌Ãкº Live View ผูใชสามารถดูภาพที่กำลังจะถายไดจากจอ LCD ของกลอง เรียกวา “ระบบ Live View”

การถายภาพดวยระบบ Live View เหมาะสำหรับการถายภาพนิ่ง หรือ ถ า ยภาพวั ต ถุ ที่ ไ ม เ คลื่ อ นที่ ถาผูใชถือกลองดวยมือ และถายภาพในขณะดูภาพจากจอ LCD ภาพ อาจจะสั่น แนะนำใหใชขาตั้งกลอง

เกี่ยวกับการถายภาพดวยระบบ Live View จากระยะไกล

ด ว ยซอฟท แ วร EOS Utility ที่ ไ ด ม ากั บ ตั ว กล อ ง ผู ใ ช ส ามารถเชื่ อ มต อ กล อ งกั บ คอมพิวเตอรเพื่อถายภาพโดยการควบคุมจากระยะไกล(Remote Live View Shooting) และเล็งดูภาพจากจอคอมพิวเตอรแทนจอ LCD ของกลอง สำหรับรายละเอียด เรื่องนี้ อานจาก “คูมือการใชซอฟทแวร” ในแผน CD-ROM


ารถายภาพโดยใชระบบ Live View ปรับตั้งใหระบบ Live View ทำงาน กดปุ ม < >

กลองจะแสดงภาพดวยระบบ Live View บนจอ LCD ภาพที่แสดงจะมีขนาดประมาณ 100%

โฟกัสไปที่วัตถุ

เมื่อแตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึ่งหนึ่ง กลองจะโฟกัสดวยระบบ AF ที่ปรับตั้งไว (น.160-167)

ถ า ยภาพ

กดชัตเตอรจนสุด กล อ งจะถ า ยภาพและแสดงภาพที่ ถ า ยแล ว ที่ จอ LCD หลั ง จากกล อ งแสดงภาพที่ เ พิ่ ง ถ า ยเสร็ จ แล ว จะกลับไปทำงานแบบ Live View โดยอัตโนมัติ เมื่ อ ต อ งการเลิ ก ใช ร ะบบ Live View ให ก ดปุ ม

<

>

เกี่ ย วกั บ สั ญ ลั ก ษณ เ ตื อ นอุ ณ หภู มิ ภ ายในตั ว กล อ ง สี ข าว < > และสีแดง < >

หากอุณหภูมิที่สะสมภายในตัวกลองเพิ่มสูงขึ้นมากจากการใชระบบ Live View เปนเวลา นานตอเนื่องกัน หรือใชกลองในที่ซึ่งมีอุณหภูมิสูงมาก สัญลักษณ < > สีขาว จะปรากฏ ขึ้ น และถ า หากยั ง ถ า ยภาพต อ ไปโดยมี สั ญ ลั ก ษณ นี้ ป รากฏอยู คุ ณ ภาพของภาพนิ่ ง อาจไม ส มบู ร ณ ควรหยุ ด ใช ร ะบบ Live View และป ด พั ก กล อ งเพื่ อ ให อุ ณ หภู มิ ภ ายในตั ว กล อ งลดลงเสี ย ก อ น เมื่ อ สั ญ ลั ก ษณ < > ซึ่ ง เป น สี ข าวปรากฏอยู และอุ ณ หภู มิ ภ ายในตั ว กล อ งยั ง สู ง ขึ้ น ต อ ไป จะปรากฏสั ญ ลั ก ษณ < > สี แ ดง กระพริ บ เตื อ น เพื่ อ บอกให ท ราบว า ระบบ Live View กำลังจะหยุดการทำงานไปโดยอัตโนมัติ เมื่อกลองหยุดทำงานแลว จะใชกลอง ถายภาพตอไปไดก็ตอเมื่ออุณหภูมิภายในตัวกลองลดลงแลวเทานั้น ใหปดกลองและพัก การทำงานไว สั ก ครู ห นึ่ ง เมื่ อ ใช ร ะบบ Live View ต อ เนื่ อ งกั น เป น เวลานาน จะทำให สั ญ ลั ก ษณ < > สี ข าว และ < > สี แ ดง ปรากฏขึ้ น ในเวลาไม น านนั ก เมื่ อ ไม ไ ด ถ า ยภาพ ควรป ด สวิ ต ซ ก ล อ งเสมอ


 ารถ า ยภาพโดยใช ร ะบบ

Live View

เปดการใชงานระบบ Live View ปรั บ ตั้ ง เมนู [ Live View shoot.] (ถายภาพแบบ LIVE VIEW) เป น [Enable] (ใช ง าน)

อายุการใชงานของแบตเตอรี่เมื่อใชระบบ Live View (จำนวนภาพที่ ถ า ยได ) อุณหภูมิ ที่ 23 ํC / 73 ํF ที่ 0 ํC / 32 ํF

ลักษณะการใชงาน ไมใชแฟลช ใชแฟลช 50% 350 320 310 280

ตัวเลขในตาราง ไดมาจากการทดสอบดวยแบตเตอรี่ LP-E6 ที่ประจุไฟเต็ม ตามมาตรฐานการ ทดสอบของ CIPA (Camera & Imaging Products Association) สามารถใช ร ะบบ Live View ถ า ยภาพได อ ย า งต อ เนื่ อ ง เป น เวลา 2 ชั่ ว โมง 20 นาที ที่ 23 ํ C / 73 ํ F ด ว ยแบตเตอรี่ LP-E6 ที่ ป ระจุ ไ ฟเต็ ม

ขณะที่ ใ ช ร ะบบ Live View ห า มเล็ ง กล อ งไปยั ง ดวงอาทิ ต ย เพราะความร อ นและแสงที่ รุ น แรงสามารถทำให ชิ้ น ส ว นต า งๆ ในตั ว กล อ งเสี ย หายได

คำเตือนเมื่อถายภาพดวยระบบ Live View ดูรายละเอียดในหนา 168-169 ผู ใ ช ส ามารถโฟกั ส ได โดยกดปุ ม < > เมื่ อ ถ า ยภาพด ว ยแฟลช จะมี เ สี ย งชั ต เตอร ส องครั้ ง แต มี ก ารถ า ยภาพจริ ง ภาพเดี ย ว ขณะที่ แ สดงภาพด ว ย Live View สามารถเป ด ดู ภ าพที่ ถ า ยแล ว ด ว ยการกดปุ ม เมื่ อ ไม ไ ด ใ ช ก ล อ งเป น เวลานาน กล อ งจะป ด การทำงานโดยอั ต โนมั ติ ซึ่ ง ปรั บ ตั้ ง ได ที่ [ Auto power off] (น.50) ถา [ Auto power off] ได ตั้ ง เป น [Off] ระบบ Live View จะหยุ ด ทำงานหลั ง จากทิ้ ง กล อ งไว น าน 30 นาที (แต ก ล อ งยั ง ทำงานอยู ) เมื่อใชสาย AV(ใหมากับกลอง) หรือ HDMI (อุปกรณเสริมพิเศษ) ผูใชสามารถดูภาพ Live View ได จ ากจอโทรทั ศ น (น.209-212)


 ารถ า ยภาพโดยใช ร ะบบ

Live View

เกี่ยวกับการแสดงขอมูล แตละครั้งที่กดปุม

การแสดงขอมูลที่จอภาพจะเปลี่ยนแปลงไป

ระบบออโตโฟกัส Live mode Face Derection Live mode Quick mode ระบบขับเคลือ่ น สมดุลสีขาว ระบบปรับความ เขมสวางอัตโนมัติ คุณภาพในการบันทึก ชดเชยแสงแฟลช ล็อคคาแสง แฟลชพรอมทำงาน ความไวชัตเตอร Picture Style ชองรับแสง คาแสง/ ระดับการถายภาพครอม

จุดโฟกัสอัตโนมัติ (Quick mode) กรอบของการขยายภาพ Histogram สถานะการสงสัญญาณ ของ Eye-Fi Card ถายภาพครอมดวยแฟลช ถายภาพครอม จำลองคาแสง ตรวจสอบระดับพลังงาน เนนรายละเอียดในสวนสวาง ความไวแสง จำนวนภาพทีก่ ารดบรรจุได

สามารถสั่งใหกลองแสดง histogram ได เมื่อตั้ง [Expo. simulation: Enable] (น.158) ผูใชสามารถดูเสนแนวระดับอีเลคทรอนิคสดวยการกดปุม (น.266) และถาตั้ง ระบบออโตโฟกัสเปน [ Live mode] หรือเมื่อเชื่อมตอภาพจากกลองไปแสดงที่จอโทรทัศน ดวยสาย HDMI เสนแนวระดับอีเลคทรอนิคสจะไมสามารถแสดงได เมื่ อ แสดงเป น สี ข าว หมายความว า ภาพที่ เ ห็ น จากระบบ Live View นั้ น มี ค วาม เข ม สว า งที่ ใ กล เ คี ย งกั บ ภาพที่ จ ะถ า ยได จ ริ ง ถ า สั ญ ลั ก ษณ กระพริ บ แสดงว า ภาพที่ แ สดงโดยระบบ Live View ไม ไ ด แ สดง ความเข ม สว า งที่ เ หมาะสม อั น เนื่ อ งมาจากสภาพแสงน อ ยมาก หรื อ สว า งจ า มาก อย า งไรก็ ต าม ภาพยนตร ที่ ถ า ยจะสะท อ นค า การเป ด รั บ แสงที่ ป รั บ ตั้ ง ไว ถ า ใช แ ฟลช หรื อ เมื่ อ ตั้ ง เป น ชั ต เตอร B สั ญ ลั ก ษณ และ Histogram จะแลดู จางลง และการแสดงผลของ Histogram จะไม ป กติ เ มื่ อ แสงน อ ยมากหรื อ สว า งจ า มาก


 ารถ า ยภาพโดยใช ร ะบบ

Live View

การจำลองภาพในขั้ น สุ ด ท า ย ภาพที่ปรากฏใหเห็นจากระบบ Live View จะสะทอนใหเห็นผลของ Picture Style สมดุล สี ข าว ฯลฯ ที่ ผู ใ ช ป รั บ ตั้ ง ไว ภาพจากระบบ Live View จึ ง แสดงให ผู ใ ช ท ราบว า ภาพที่ กำลั ง ถ า ยจะมี ลั ก ษณะเช น ใด ในระหว า งที่ ใ ช ร ะบบ Live View ถ า ยภาพนิ่ ง ภาพ จะสะทอ นใหเ ห็ น ผลต า งๆ ตามรายการต อ ไปนี้ การจำลองภาพในขั้นสุดทายของระบบ Live View Picture Style * สะท อ นให เ ห็ น การปรั บ ตั้ ง ทั้ ง หมด เช น ความคมชั ด ความเปรี ย บต า ง ความอิ่ ม ตั ว ของสี และโทนสี สมดุ ล สี ข าว ปรั บ แก ส มดุ ล สี ข าว ถ า ยภาพโดยเลื อ กปรั บ สภาพแสง ถ า ยภาพโดยเลื อ กปรั บ แหล ง กำเนิ ด แสง ค า แสง (เมื่ อ ตั้ ง การจำลองค า แสงเป น [Enable]) ช ว งความชั ด (เมื่ อ ปุ ม ตรวจสอบช ว งความชั ด เป น [On] ) ระบบปรับความเขมสวางอัตโนมัติ (Auto Lighting Optomizer) ระบบปรั บ แก ค วามสลั ว ของขอบภาพโดยอั ต โนมั ติ ระบบเนนรายละเอียดในสวนสวาง อั ต ราส ว นของด า น (เพื่ อ ยื น ยั น ขนาดพื้ น ที่ ข องภาพ)


รับตั้งฟงกชั่นเพื่อถายภาพ การปรั บ ตั้ ง ขณะใชระบบ Live View ผูใชสามารถกดปุม , จอภาพจะแสดงรายการสำหรับปรับตั้ง และผูใชสามารถกดปุม เพื่อปรับตั้งฟงกชั่นตามที่ตองการได

หรือ

การปรับตั้งอยางรวดเร็ว ในขณะถายภาพโดยใชระบบ Live View ผูใชสามารถกดปุม เพื่ อ ปรั บ ตั้ ง ระบบ ตางๆ ได เมื่อถายภาพดวยระบบ Basic Zone ผูใชสามารถปรับเลือกจุดโฟกัส(หนา 67) สวนในระบบ Creative Zone ผูใชสามารถปรับเลือกระบบออโตโฟกัส ระบบขับเคลื่อน สมดุลสีขาว Picture Style ปรับความเขมสวางอัตโนมัติ(Auto Lighting Optimizer) และ ปรับตั้งคุณภาพของไฟลที่จะบันทึก และชดเชยแสงแฟลช

กดปุ ม

ฟ ง ก ชั่ น ที่ ส ามารถปรั บ ตั้ ง ได จ ะแสดงรายการ เป น สี น้ำ เงิ น เมื่ อ กดปุ ม < > ระบบ Live View จะแสดงจุดโฟกัสใหเห็น

เลือกและปรับตั้งฟงกชั่นที่ตองการ กดปุ ม

เพื่ อ เลื อ กฟ ง ก ชั่ น

ก า ร ป รั บ ตั้ ง ฟ ง ก ชั่ น ที่ เ ลื อ ก จ ะ ป ร า ก ฏ ทางด า นล า ง หมุนวงแหวน หรื อ เพื่ อ ปรั บ เปลี่ยน ถากดปุม จอภาพจะแสดง รายการปรั บ ตั้ ง ของเมนู ที่ เ ลื อ ก(ยกเว น จุ ด โฟกัส) เมื่อใชระบบ Live View ระบบวัดแสงจะเปนระบบเฉลี่ยหลายสวน และปรับเปลี่ยนไมได เมื่อถายภาพดวยระบบภายใน Creative Zone สามารถตรวจสอบชวงความชัดไดดวยปุม ตรวจสอบช ว งความชั ด เมื่ อ ถ า ยภาพด ว ยระบบถ า ยภาพต อ เนื่ อ ง กล อ งจะใช ค า การรั บ แสงที่ ไ ด จ ากภาพแรกใน การถ า ยภาพลำดั บ ต อ ๆ ไป สามารถใชรีโมทควบคุม(อุปกรณเสริมพิเศษ) ในการถายภาพดวย Live View ได (น.126)


รับตั้งฟงกชั่นของเมนู ในที่นี้จะเปนรายละเอียดของฟงกชั่นตางๆ ของระบบ Live View โดยเฉพาะ และเมนูตางๆ ในแถบ [ ] จะแสดงรายละเอียดไวในตารางดานลาง ฟ ง ก ชั่ น ต า งๆ ที่ ส ามารถปรั บ ตั้ ง ได ซึ่ ง ปรากฏใน หน า จอนี้ จ ะทำงานก็ ต อ เมื่ อ ถ า ยภาพด ว ยระบบ Live View เท า นั้ น และฟ ง ก ชั่ น เหล า นี้ จ ะไม มี ผลใดๆ หากเล็งภาพจากชองเล็งภาพในแบบปกติ

ถายภาพดวย Live View

เมื่ อ ตั้ ง ระบบ Live View เป น [Enable] (ใชงาน) หรื อ [Disable] (ไม ใ ช ง าน) ได

ระบบออโตโฟกัส

ผู ใ ช ส ามารถปรั บ ตั้ ง [Live mode] (น.160), [ หรื อ [Quick mode] (น.165)

แสดงเสนกริด เมื่ อ เลื อ ก [Grid 1

] หรือ [Grid 2

Live mode] (น.161)

] สามารถแสดงเสนกริดสำหรับอางอิงได

อัตราสวนของดาน(Aspect Ratio)

สามารถปรั บ ตั้ ง อั ต ราส ว นของด า นเป น [3:2], [4:3], [16:9] และ [1:1] ซึ่งระบบ Live View จะแสดงอัตราสวนของภาพดวยเสน : [4:3] [16:9] [1:1] JPEG จะถู ก บั น ทึ ก ด ว ยอั ต ราส ว นของด า นที่ ป รั บ ตั้ ง ไว RAW จะถู ก บั น ทึ ก ด ว ยอั ต ราส ว นของด า น [3:2] และเมื่ อ บั น ทึ ก ไฟล RAW ข อ มู ล การ ปรับตั้งอัตราสวนของดานจะถูกบันทึกไวดวย เมื่อมีการประมวลผลไฟลแบบ RAW โดย ใชซอฟทแวรที่ไดมากับกลอง ก็จะสรางไฟลที่มีอัตราสวนของดานตามที่ถูกปรับตั้งไว แล ว ในกรณี ที่ ตั้ ง อั ต ราส ว นของด า นเป น [4:3], [16:9] และ [1:1] เสนแสดงอัตราสวน ของด า นจะปรากฏขึ้ น ในระหว า งการเล น ดู ภ าพ แต เ ส น นี้ จ ะไม ป รากฏบนภาพจริ ง


 รั บ ตั้ ง ฟ ง ก ชั่ น ข อ ง เ ม นู ระดับ คุณภาพ

อัตราสวนของดานและจำนวนพิกเซล

สำหรั บ จำนวนพิ ก เซลที่ มี เ ครื่ อ งหมายดอกจั น จำนวนพิ ก เซลอาจไม ส อดคล อ งกั บ อั ต รา ส ว นของด า น พื้ น ที่ ข องอั ต ราส ว นของด า นที่ มี เ ครื่ อ งหมายดอกจั น จะใหญ ก ว า จำนวนพื้ น ที่ ที่ ถู ก บั น ทึ ก ไว จ ริ ง เล็ ก น อ ย ให ต รวจสอบดู ข นาดพื้ น ที่ ข องภาพที่ ถ า ยจากจอ LCD ทุ ก ครั้ ง หากพิ ม พ ภ าพที่ ถ า ยด ว ยกล อ ง EOS 60D และตั้ ง อั ต ราส ว นของด า น 1:1 โดยใช ร ะบบ Direct Print จากกล อ งรุ น อื่ น การพิ ม พ ภ าพอาจเกิ ด ความผิ ด พลาด

การจำลองคาแสง

ระบบจำลองคาแสง เปนระบบที่ออกแบบใหผูใชสามารถดูผลของความเขมสวางของภาพ ที่จะถายไดจริง โดยสามารถตั้งเปนแบบ [Enable] และ [Disable] ดังรายละเอียดดานลาง กล อ งจะแสดงภาพที่ มี ค วามเข ม สว า งใกล เ คี ย งกั บ ภาพที่ จ ะถ า ยได จ ริ ง ถ า ผู ใ ช ป รั บ ชดเชยแสง ภาพที่ปรากฏบนจอ LCD จะเปลี่ยนความเขมสวางตามที่ชดเชยแสงไว กลองจะแสดงภาพที่มีความเขมสวางตามมาตรฐาน เพื่อใหดูภาพจากระบบ Live View ไดงาย


 รั บ ตั้ ง ฟ ง ก ชั่ น ข อ ง เ ม นู ระบบถายภาพแบบเก็บเสียง เสียงที่เกิดขึ้นจากการทำงานของกลอง(เสียงชัตเตอร) จะเบากวาปกติ และสามารถ ถายภาพตอเนื่องแบบเก็บเสียงได โดยความเร็วในการถายภาพตอเนื่องสูงสุดจะอยูที่ ระดั บ 5 ภาพต อ วิ น าที เมื่อกดชัตเตอรจนสุด กลองจะถายภาพเพียงภาพเดียว แมจะกดชัตเตอรคางไว กลอง ก็จะไมตอบสนองใดๆ เมื่อยกนิ้วออกและแตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึ่งหนึ่งอีกครั้ง กลอง จะกลั บ มาทำงานตามปกติ เสี ย งชั ต เตอร ข องระบบนี้ จ ะเบามาก และแม ว า จะตั้ ง ระบบขับเคลื่อนเปนแบบถายภาพตอเนื่อง กลองก็จะถายภาพเพียงภาพเดียวตอการ กดชัตเตอรแตละครั้ง

เมื่ อ ใช เ ลนส TS-E และปรั บ ให เ ลนส เ คลื่ อ นตั ว ทางแนวตั้ ง หรื อ ใช ท อ ต อ เลนส (Extension Tube) ควรตั้งระบบเปน [Disable] เพราะหากตั้งเปน [Mode 1] หรื อ [Mode 2] อาจเกิ ด ความผิ ด พลาด หรื อ ค า แสงของภาพอาจผิ ด ปกติ และเมื่ อ กดชัตเตอรจนสุดเพื่อถายภาพ จะไดยินเสียงดังสองครั้ง อยางไรก็ตาม จะมีการถาย ภาพเพียงภาพเดียว เมื่ อ ใช แ ฟลช กล อ งจะทำงานในแบบ [Disable] โดยอั ต โนมั ติ แม จ ะตั้ ง เป น [Mode 1] หรื อ [Mode 2] ก็ ต าม เมื่ อ ใช แ ฟลชยี่ ห อ อื่ น ให ป รั บ ตั้ ง เป น [Disable] ถ า ตั้ ง เป น [Mode 1] หรือ [Mode 2] แฟลช จะไมทำงาน

(ระยะเวลาแสดงค า การเป ด รั บ แสง) ผูใชสามารถปรับตั้งเวลาในการแสดงคาการเปดรับแสงได (การปรับตั้งนี้จะเกิดผลกับ ระบบล็อคคาแสง, AE lock ดวย)

เมื่ อ ตั้ ง เป น [ Dust Delete Data], [ Sensor cleaning], [ Clear all camera settings] หรื อ [ Firmware Ver.] กลองจะยกเลิกการทำงานแบบ Live View


รับภาพใหชัดดวยระบบออโตโฟกัส เลือกระบบออโตโฟกัส

ระบบออโต โ ฟกั ส ที่ ก ล อ งมี ใ ห เ ลื อ กได แ ก [Live mode] [ Live mode] (face detection, น.161), และ [Quick mode] (น.165) หากตองการโฟกัสโดยเนนความแมนยำสูง แนะนำใหปรับสวิตซที่กระบอกเลนสไปที่ ขยายดูภาพ แลวปรับภาพใหชัดดวยตนเอง (น.167)

เลือกระบบออโตโฟกัส

ในแถบ [ ] เลือก [AF mode] (โหมดโฟกัสอัตโนมัติ) เมื่ อ กล อ งทำงานในระบบ Live View แล ว ผู ใ ช สามารถเลื อ กระบบออโต โ ฟกั ส ได ด ว ยการ กดปุ ม เพื่ อ เลื อ กระบบออโต โ ฟกั ส ได จากหน า จอ

กลองจะใชเซนเซอรรับแสงในการจับความชัดของภาพ วาระบบออโตโฟกัสทำงานไดเมื่อ ใชระบบ Live View แตจะใชเวลาในการหาโฟกัสนานกวาระบบ Quick mode และ อาจจะจับความชัดไดยากกวาระบบ Quick mode ดวยเชนกัน

ดูภาพจากระบบ Live View กดปุ ม < >

กลองจะแสดงภาพดวยระบบ Live View ที่จอ LCD จุ ด โฟกั ส จะปรากฏขึ้ น

เลื่อนจุดโฟกัส จุดโฟกัส

ผูใชสามารถจะใช ในการเลื่อนจุดโฟกัส ไปยั ง ตำแหน ง ที่ ต อ งการ (ยกเว น บริ เ วณขอบ ภาพ) เมื่อตองการใหจุดโฟกัสกลับไปยังกึ่งกลางภาพ ใหกด


 รั บ ภาพให ชั ด ด ว ยระบบออโต โ ฟกั ส โฟกัสไปยังวัตถุ

เล็งจุดโฟกัสไปยังวัตถุ และแตะชัตเตอรเบาๆ ลง ครึ่ ง หนึ่ ง เมื่ อ โฟกั ส ได แ ล ว จุ ด โฟกั ส จะเปลี่ ย นเป น สี เ ขี ย ว และมีสัญญาณเสียงดังขึ้น หากไม ส ามารถหาโฟกั ส ได จุ ด โฟกั ส จะเปลี่ ย น เป น สี ส ม

ถ า ยภาพ

ตรวจสอบจุ ด โฟกั ส และค า แสง จากนั้ น กด ชัตเตอรลงจนสุดเพื่อถายภาพ (น.152)

(จับภาพใบหนาบุคคล) ระบบนี้ จ ะใช วิ ธี ห าโฟกั ส เหมื อ นกั บ ระบบ Live Mode เมื่ อ กล อ งตรวจพบและจั บ โฟกั ส ที่ ใบหน า ของบุ ค คลในภาพ เมื่ อ ต อ งการถ า ยภาพบุ ค คล ให บุ ค คลนั้ น หั น หน า เข า หากล อ ง

แสดงภาพดวยระบบ Live View

กดปุ ม < > กลองจะแสดงภาพแบบ Live View ที่จอ LCD เมื่ อ จั บ ภาพใบหน า ได เฟรม ขึ้ น บริ เ วณใบหน า ที่ โ ฟกั ส

จะปรากฏ

ถ า กล อ งจั บ ภาพใบหน า ของคนหลายๆ คนได จะปรากฏ ขึ้ น ให ใ ช ในการ เลื่อนกรอบ ไปยังใบหนาของคนที่ ตองการ


 รั บ ภาพให ชั ด ด ว ยระบบออโต โ ฟกั ส โฟกัสไปที่วัตถุ

แตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึ่งหนึ่ง กลองจะโฟกัสไป ยังใบหนาของคนในภาพ โดยปรากฏเปนกรอบ ทาบอยู เมื่ อ โฟกั ส ได แ ล ว จุ ด โฟกั ส จะเปลี่ ย นสี เ ป น สี เขี ย ว และมี สั ญ ญาณเสี ย งดั ง ขึ้ น หากไมสามารถโฟกัสได จุดโฟกัสจะเปลี่ยนเปน สีสม

ถ า กล อ งไม ส ามารถจั บ ใบหน า บุ ค คลได จุ ด โฟกั ส จะแสดงขึ้ น แทน และกล อ งจะใช บ ริ เ วณกึ่ ง กลางเฟรมในการโฟกั ส

ถ า ยภาพ

ตรวจสอบจุ ด โฟกั ส และค า แสง จากนั้ น กด ชัตเตอรลงจนสุดเพื่อถายภาพ (น.152)

หากคนอยู ไ กลมาก ระบบจั บ ภาพใบหน า บุ ค คล(face detection) จะไม ส ามารถ ทำงานได และถ า เลนส ไ ม ส ามารถปรั บ ภาพให ชั ด ได แม จ ะปรั บ สวิ ต ซ ที่ เ ลนส ไ ป ที่ <AF> ให ใ ช มื อ หมุ น โฟกั ส หยาบๆ จนชั ด พอประมาณ กล อ งจะจั บ ภาพใบหน า ได และ จะปรากฏขึ้ น กล อ งอาจจะจั บ ภาพสิ่ ง อื่ น ที่ ไ ม ใ ช ใ บหน า คน โดยคิ ด ว า เป น หน า คนก็ ไ ด ระบบนี้ จ ะทำงานไม ไ ด ผ ลเมื่ อ ใบหน า คนในภาพมี ข นาดเล็ ก หรื อ ใหญ ม ากใน ภาพ ถ า ยภาพในที่ มื ด หรื อ สว า งมาก เงยกล อ งมาก ตะแคงกล อ ง หรื อ เมื่ อ ใบหน า นั้ น ถู ก บั ง บางส ว น เฟรม อาจจะครอบคลุมเฉพาะสวนของใบหนา เมื่ อ กดปุ ม ระบบโฟกัสจะกลับไปทำงานในแบบ Live Mode (น.160) ผูใชสามารถ กดปุ ม เพื่ อ เลื่ อ นจุ ด โฟกั ส และถ า กดปุ ม อี ก ครั้ ง กล อ งจะกลั บ มาทำงาน แบบจับภาพใบหนาบุคคล Face Detection Live Mode ถ า ระบบออโต โ ฟกั ส ทำงานไม ไ ด ผ ล เพราะหน า ของคนอยู ใ กล กั บ ขอบภาพมากเกิ น ไป สั ญ ลั ก ษณ จะจางลง ถ า แตะชั ต เตอร เ บาๆ ลงครึ่ ง หนึ่ ง อี ก ครั้ ง กล อ งจะไปใช บริเวณกลางภาพ ในการจั บ โฟกั ส


 รั บ ภาพให ชั ด ด ว ยระบบออโต โ ฟกั ส เกี่ยวกับการทำงานของระบบออโตโฟกัสใน Live Mode และ (Face Detection) Live Mode

การหาโฟกัสจะชากวาปกติเล็กนอย แม ร ะบบโฟกั ส จะจั บ ภาพได แ ล ว แต เ มื่ อ แตะชั ต เตอร เ บาๆ ลงครึ่ ง หนึ่ ง อี ก ครั้ ง กล อ ง จะโฟกัสใหม ความเขมสวางของภาพอาจจะเปลี่ยนแปลงไปไดทั้งในระหวางและหลังจากออโตโฟกัส ทำงานแล ว ถ า แหล ง กำเนิ ด แสงเกิ ด ความเปลี่ ย นแปลงไปในระหว า งที่ ร ะบบ Live View ทำงาน ภาพที่ ป รากฏบนจอภาพอาจมี ก ารกระพริ บ และทำให โ ฟกั ส ได ย ากขึ้ น หากเกิ ด ขึ้ น ให หยุดการทำงานของระบบ Live View แลวจึงใหระบบออโตโฟกัสทำงานแบบปกติเสีย ก อ นในแหล ง กำเนิ ด แสงที่ ใ ช อ ยู ข ณะนั้ น เมื่อโฟกัสดวยระบบ Live mode และกดปุม ภาพบริเวณจุดโฟกัสจะถูกขยาย ให ใ หญ ขึ้ น หากพบว า การขยายภาพทำให โ ฟกั ส ได ย ากขึ้ น ให ก ลั บ สู ก ารดู ภ าพแบบ ปกติและใชระบบออโตโฟกัสหาโฟกัสอีกครั้ง และเมื่อขยายภาพบริเวณจุดโฟกัส จะทำ ใหการหาโฟกัสชาลงกวาเมื่อดูในขนาดปกติ เมื่อใชออโตโฟกัสแบบ Live mode ในภาพขนาดปกติ แลวกดปุมขยายภาพ อาจจะเห็น วาโฟกัสหลุด (ภาพไมชัด) เมื่อใชระบบ Live mode การกดปุม จะไม ทำให ภ าพถู ก ขยายขึ้ น

เมื่ อ ใช ร ะบบ Live mode หรื อ (จั บ ภาพใบหน า บุ ค คล) และถ า ยภาพที่ มี บุ ค คล และวั ต ถุ อื่ น ๆ อยู ร อบ และพบว า การโฟกั ส ที่ ห น า ของคนมี ค วามคลาดเคลื่ อ นไป ให ใ ช จุ ด โฟกั ส กึ่ ง กลางเล็ ง ไปที่ ห น า ตาที่ ต อ งการโฟกั ส จากนั้ น จึ ง ถ า ยภาพ ไฟช ว ยหาโฟกั ส ในสภาพแสงน อ ยจะไม ทำงาน


 รั บ ภาพให ชั ด ด ว ยระบบออโต โ ฟกั ส สภาพการถ า ยภาพที่ อ าจทำให โ ฟกั ส ได ย าก:

วั ต ถุ ที่ มี ค วามเปรี ย บต า งต่ำ เช น ท อ งฟ า สี ฟ า และวั ต ถุ ที่ มี ผิ ว เรี ย บสี เ ดี ย ว ฯลฯ วัตถุที่อยูในสภาพแสงนอย วั ต ถุ ที่ เ ป น ริ้ ว แถบ หรื อ มี ล วดลายที่ มี ค วามเปรี ย บต า งเฉพาะในแนวนอน ในแหลงกำเนิดแสงที่มีความสวาง สีสัน หรือลวดลาย ที่เปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลา

ภาพกลางคืน หรือจุดแสง เมื่อถายภาพดวยแสงฟลูออเรสเซนต หรือเมื่อวัตถุนั้นเองมีการกระพริบ วั ต ถุ ที่ มี ข นาดเล็ ก มากๆ วัตถุอยูที่บริเวณขอบของภาพ วั ต ถุ ที่ มี แ สงสะท อ นมาก เมื่อจุดโฟกัสจุดเดียว ครอบคลุมวัตถุที่อยูใกลและไกล เชน เมื่อถายภาพสัตวที่อยูในกรง วัตถุที่มีการเคลื่อนที่ตลอดเวลาในจุดโฟกัสจุดเดียวกัน เชน กลองสั่น หรือวัตถุมีความ เบลอ วั ต ถุ ที่ เ คลื่ อ นที่ เ ข า หาหรื อ เคลื่ อ นออกจากกล อ ง ใชระบบออโตโฟกัส ในขณะที่วัตถุอยูนอกพื้นที่หาโฟกัส เมื่อเกิดผลแบบ soft focus จากการใชเลนส soft focus เมื่ อ ใช ฟ ล เตอร ที่ ใ ห ผ ลพิ เ ศษ


 รั บ ภาพให ชั ด ด ว ยระบบออโต โ ฟกั ส เมื่อใชระบบ One-Shot AF (น.76) กลองจะใชเซนเซอรออโตโฟกัสที่แยกตางหากในการ โฟกัส กลองจะหาโฟกัสในลักษณะเดียวกันกับการโฟกัสดวยการมองผานชองเล็งภาพ แม วิ ธี นี้ จ ะทำให โ ฟกั ส ได ร วดเร็ ว ขึ้ น แตการแสดงภาพแบบ Live View อาจมีการหยุด ชะงักชั่วคราวหรือกระตุก ในขณะที่ระบบออโตโฟกัสกำลังทำการจับภาพใหชัดอยู จุดโฟกัส

แสดงภาพแบบ Live View กดปุ ม < >

กลองจะแสดงภาพแบบ Live View ที่จอ LCD กรอบเล็ ก ๆ ซึ่ ง ปรากฏที่ ห น า จอก็ คื อ จุ ด โฟกั ส สวนกรอบขนาดใหญก็คือกรอบขยายภาพ

กรอบขยายภาพ

เลือกจุดโฟกัสอัตโนมัติ

เมื่ อ กดปุ ม หน า จอแสดงการปรั บ ตั้ ง แบบเร็ ว จะปรากฏขึ้ น ฟ ง ก ชั่ น ที่ ส ามารถเลื อ กใช ไ ด จ ะเป น สี น้ำ เงิ น ใช หมุนวงแหวน จุดโฟกัส

เพื่ อ เลื อ กจุ ด โฟกั ส และ

เพื่ อ เลื อ ก


 รั บ ภาพให ชั ด ด ว ยระบบออโต โ ฟกั ส โฟกัสไปยังวัตถุ

เล็งจุดโฟกัสไปยังวัตถุ และแตะชัตเตอรเบาๆ ลง ครึ่ ง หนึ่ ง ภาพจากระบบ Live View จะดั บ ไป กระจก สะทอนภาพจะกลับสูตำแหนงปกติ และกลอง จะหาโฟกัสดวยระบบออโตโฟกัส เมื่อโฟกัสไดแลว จะมีสัญญาณเสียงดังขึ้น และ จอภาพจะกลับมาแสดงภาพแบบ Live View อีกครั้ง จุ ด โฟกั ส ที่ ใ ช ใ นการจั บ ภาพจะเป น สี เ ขี ย ว

ถ า ยภาพ

ตรวจสอบความชัดและคาแสง จากนั้นกดปุม ชัตเตอรจนสุดเพื่อถายภาพ (น.152)

ผูใชไมสามารถถายภาพไดในขณะที่ระบบออโตโฟกัสกำลังทำงานอยู จะถายภาพได เมื่อภาพจากระบบ Live View ไดปรากฏบนจอภาพแลว


ฟกัสดวยการปรับภาพเอง(แมนนวล)

ผูใชสามารถขยายภาพและโฟกัสไดอยางละเอียดดวยการปรับตั้งเอง

ปรั บ สวิ ต ซ ที่ ก ระบอกเลนส ไ ปที่ ปรั บ ภาพด ว ยการใช มื อ หมุ น ปรั บ ที่ เ ลนส แบบคร า วๆ

เคลื่อนเฟรมขยายภาพ

ใช เพื่ อ เลื อ กกรอบสำหรั บ ขยายดู ภ าพ ไปในตำแหนงที่ตองการโฟกัส

กรอบขยายภาพ

หากกดปุม กึ่งกลางเฟรม

กลองจะกลับไปใชจุดโฟกัสที่

ขยายภาพ

กดปุ ม ภาพในกรอบขยายดู ภ าพจะถู ก ขยายขึ้ น เป น ภาพใหญ แตละครั้งที่กดปุม การแสดงการขยาย จะเปลี่ยนไปตามลำดับ ดังนี้ ภาพขนาดปกติ

ปรับภาพใหชัดเอง (แมนนวล) ล็อคคาแสง พืน้ ทีข่ ยายภาพ อัตราสวนขยาย

ขณะดูภาพที่ถูกขยาย หมุนปรับเลนสเพื่อปรับ ภาพใหคมชัด หลั ง จากปรั บ ภาพให ชั ด แล ว กดปุ ม เพื่อกลับสูการดูภาพขนาดปกติ

ถ า ยภาพ

ตรวจสอบจุ ด โฟกั ส และค า แสง จากนั้ น กด ชัตเตอรลงจนสุดเพื่อถายภาพ (น.152)


เกี่ยวกับภาพที่แสดงในระบบ Live View

ในสภาพแสงนอยมาก หรือสวางจามาก ภาพที่แสดงอาจไมสะทอนใหเห็นความเขมสวาง ของภาพที่ ถ า ยได จ ริ ง หากมีการเปลี่ยนแปลงแหลงกำเนิดแสงในระหวางแสดงภาพ ภาพอาจมีการกระพริบ เมื่อ เหตุ ก ารณ นี้ เ กิ ด ขึ้ น ให ห ยุ ด การทำงานของระบบ Live View แล ว จึ ง เริ่ ม ใช ร ะบบนี้ อี ก ครั้ ง กั บ แหล ง กำเนิ ด แสงใหม หากผู ใ ช เ ล็ ง กล อ งไปทางอื่ น อย า งฉั บ พลั น อาจทำให ก ารแสดงผลความเข ม สว า งของภาพ ผิ ด ปกติ ชั่ ว ครู ให ร อจนกระทั่ ง ความเข ม สว า งของภาพไม เ ปลี่ ย นแปลงไปอี ก แล ว จึ ง ถ า ย ภาพ หากมี แ หล ง กำเนิ ด แสงที่ ส ว า งจ า มากรวมอยู ใ นภาพ เช น ดวงอาทิ ต ย พื้ น ที่ ส ว า งจะดู ดำเข ม หรื อ เป น สี ดำในจอ LCD อย า งไรก็ ต าม ในภาพถ า ยจริ ง ส ว นสว า งของภาพจะมี ความเข ม สว า งที่ ถู ก ต อ ง ในสภาพแสงน อ ย หากปรั บ ตั้ ง [ LCD brightness] ให ส ว า ง อาจมี สั ญ ญาณรบกวน ปรากฏเปนเม็ดสีตางๆ ขึ้นในภาพจากระบบ Live View อยางไรก็ตาม สัญญาณรบกวนเหลา นี้ จ ะไม ป รากฏในภาพที่ ถ า ย เมื่ อ ขยายดู ภ าพ ความคมชั ด ที่ ป รากฏขึ้ น จะชั ด กว า ความเป น จริ ง


เกี่ยวกับผลของภาพที่ถาย

เมื่อใชระบบ Live View ถายภาพอยางตอเนื่องเปนเวลานานมาก อุณหภูมิภายในตัวกลอง จะสู ง ขึ้ น และทำให คุ ณ ภาพของภาพด อ ยลง ควรจะป ด การทำงานของระบบ Live View เมื่ อ ไม ไ ด ใ ช ถ า ยภาพเสมอ

กอนที่จะถายภาพดวยการเปดรับแสงเปนเวลานานมาก ควรหยุดใชระบบ Live View สัก พักหนึ่ง และคอยประมาณ 2-3 นาทีกอนจะใชงานตอไป เพื่อปองกันการลดทอนคุณภาพ ของภาพถ า ย การใช ร ะบบ Live View ถ า ยภาพในที่ ซึ่ ง มี อุ ณ หภู มิ สู ง และใช ค วามไวแสงสู ง อาจทำให เกิ ด สั ญ ญาณรบกวน หรื อ ทำให ภ าพมี สี ผิ ด ปกติ เมื่ อ ถ า ยภาพโดยใช ค วามไวแสงสู ง สั ญ ญาณรบกวน (แถบแสงตามแนวนอน จุ ด ฯลฯ) อาจเกิ ด ขึ้ น ในภาพได ถ า ถ า ยภาพในขณะที่ ข ยายดู ภ าพ ค า แสงของภาพที่ ถ า ยอาจจะไม ไ ด ผ ลตามที่ พ อใจ ให ปรับระบบแสดงภาพใหแสดงในขนาดปกติกอนถายภาพ และในขณะขยายดูภาพ ความ ไวชั ต เตอร แ ละช อ งรั บ แสงจะแสดงด ว ยสี แ ดง แม ว า ผู ใ ช จ ะถ า ยภาพในขณะที่ ข ยาย ดู ภ าพ ภาพก็ จ ะถู ก ถ า ยไว ใ นขนาดปกติ

ถ า เมนู [ Auto Lighting Optimizer] (น.101) ได ถู ก ตั้ ง เป น อย า งอื่ น ที่ ไ ม ใ ช [Disable] ภาพอาจจะยั ง คงดู ส ว า ง แม ว า จะชดเชยแสงให น อ ยกว า พอดี หรื อ ปรั บ ชดเชยแสงแฟลชให น อ ยลงกว า พอดี

เกี่ยวกับ Custom Function

ในขณะใช ร ะบบ Live View ฟ ง ก ชั่ น หลายอย า งจะไม ทำงานหรื อ ไม ส ามารถปรั บ ตั้ ง ได (น.251)

เกี่ยวกับเลนสและแฟลช

ไม ส ามารถใช ฟ ง ก ชั่ น focus preset ซึ่ ง มี อ ยู ใ นเลนส ซู เ ปอร เ ทเลได ไม ส ามารถล็ อ คค า แสงแฟลช(FE Lock) ได ไม ว า จะใช แ ฟลชในตั ว หรื อ แฟลชภายนอก แฟลชจะไม ยิ ง แสงออกไป เมื่ อ นำแฟลชภายนอกมาใช



¡Òö‹ÒÂÀҾ¹µÃ เมื่ อ ปรั บ วงแหวนเลื อ กระบบบั น ทึ ก ภาพไปที่ กล อ งจะถ า ยภาพยนตร โดยไฟล ภาพยนตรที่ถายจะเปนไฟลที่มีสกุล .MOV

การ ด ที่ ส ามารถถ า ยภาพยนตร ไ ด

เมื่อถายภาพยนตร ควรใชการด SD ที่มีความจุสูง ในระดับ SD หรือสูงกวา Speed Class 6 หากใชการดที่มีความเร็วในการอาน/เขียน ต่ำ การบันทึกภาพยนตรอาจ เกิดความผิดปกติ เชนเดียวกันกับการเลนดูภาพยนตรจากการดที่มีความ เร็ ว ต่ำ การเล น ภาพก็ อ าจเกิ ด ความผิ ด ปกติ ไ ด เ ช น กั น สำหรั บ การตรวจ สอบความเร็วในการอาน/เขียนของการด ตรวจสอบไดจากเวบไซตของผู ผลิตการด

เกี่ยวกับ Full HD 1080

Full HD 1080 ระบุถึงความเขากันไดกับระบบ High-Definition ที่ มี พิ ก เซลทางแนวตั้ ง 1080 พิ ก เซล(scanning lines)


ายภาพยนตร

เมื่ อ ต อ งการเล น ภาพยนตร ที่ ถ า ยไว แ ล ว แนะนำให ต อ กล อ งกั บ โทรทั ศ น เ พื่ อ ดู ภ าพจาก โทรทัศน (น.209,212)

ถายภาพยนตรดวยระบบเปดรับแสงอัตโนมัติ หมุ น วงแหวนเลื อ กระบบไปที่

จะมี เ สี ย งเกิ ด ขึ้ น จากกระจกสะท อ นภาพที่ ย ก ตั ว ขึ้ น ไป จากนั้ น จะมี ภ าพปรากฏบนจอภาพ LCD

โฟกัสไปยังวัตถุ

ก อ นถ า ยภาพยนตร เลื อ กใช ร ะบบออโต โ ฟกั ส หรือแมนนวลโฟกัส (น.160-167) เมื่ อ แตะปุ ม ชั ต เตอร เ บาๆ ลงครึ่ ง หนึ่ ง กล อ ง จะหาโฟกั ส ด ว ยระบบออโต โ ฟกั ส ที่ เ ลื อ ก ไว ข ณะนั้ น

ถ า ยภาพยนตร กดปุ ม < กดปุ ม <

ถายภาพยนตร

ไมโครโฟน

> เพื่อเริ่มถายภาพยนตร และ > ซ้ำ อี ก ครั้ ง เมื่ อ ต อ งการหยุ ด

เมื่อถายภาพยนตรไปแลว สัญลักษณ “ ” จะปรากฏขึ้ น ที่ มุ ม ขวาด า นบนของจอ LCD


 ายภาพยนตร ในขณะถ า ยภาพยนตร ห า มเล็ ง กล อ งไปที่ ด วงอาทิ ต ย เพราะความร อ นจากดวงอาทิ ต ย อาจทำลายชิ้ น ส ว นภายในตั ว กล อ งได คำเตื อ นสำหรั บ การถ า ยภาพยนตร ดู ที่ ห น า 187-188 ควรอานคำเตือนสำหรับการถายภาพดวยระบบ Live View ดวย รายละเอียดที่หนา 168 และ 169

เกี่ ย วกั บ สั ญ ลั ก ษณ เ ตื อ นอุ ณ หภู มิ ภ ายในตั ว กล อ ง สี ข าว < > และสีแดง < >

หากอุณหภูมิที่สะสมภายในตัวกลองเพิ่มสูงขึ้นมากจากการใชระบบ Live View เปนเวลา นานตอเนื่องกัน หรือใชกลองในที่ซึ่งมีอุณหภูมิสูงมาก สัญลักษณ < > สีขาว จะปรากฏ ขึ้ น การถ า ยภาพยนตร ข ณะที่ มี สั ญ ลั ก ษณ นี้ อ ยู จ ะไม มี ผ ลกระทบต อ คุ ณ ภาพของ ภาพยนตร แ ต อ ย า งใด อย า งไรก็ ต าม ถ า เปลี่ ย นไปใช ร ะบบถ า ยภาพนิ่ ง อาจจะทำให คุ ณ ภาพของภาพนิ่ ง นั้ น ลดทอนลง หรื อ เกิ ด ผลเสี ย ต อ ภาพ ควรหยุ ด พั ก กล อ งสั ก ครู เพื่ อ ให อุ ณ หภู มิ ภ ายในตั ว กล อ งลดลง เมื่ อ สั ญ ลั ก ษณ < > ซึ่ ง เป น สี ข าวปรากฏอยู และอุ ณ หภู มิ ภ ายในตั ว กล อ งยั ง สู ง ขึ้ น ต อ ไป จะปรากฏสั ญ ลั ก ษณ < > สี แ ดง กระพริ บ เตื อ น เพื่ อ บอกให ท ราบว า ระบบถ า ย ภาพยนตรกำลังจะหยุดการทำงานไปโดยอัตโนมัติ เมื่อกลองหยุดทำงานแลว จะใชกลอง ถายภาพตอไปไดก็ตอเมื่ออุณหภูมิภายในตัวกลองลดลงแลวเทานั้น ใหปดกลองและพัก การทำงานไว สั ก ครู ห นึ่ ง เมื่อถายภาพยนตรตอเนื่องกันเปนเวลานาน จะทำใหสัญลักษณ < > สีขาว และ < > สี แ ดง ปรากฏขึ้ น ในเวลาไม น านนั ก เมื่ อ ไม ไ ด ถ า ยภาพ ควรป ด สวิ ต ซ ก ล อ งเสมอ

> สามารถสั่ ง กล อ งให โ ฟกั ส ได โ ดยการกดปุ ม < สามารถล็ อ คค า แสงได โ ดยกดปุ ม (น.122) และหากต อ งการยกเลิ ก การล็ อ คค า แสง ให ก ดปุ ม กล อ งจะปรั บ ตั้ ง ความไวแสง ความไวชั ต เตอร และช อ งรั บ แสง ให โ ดยอั ต โนมั ติ สามารถปรั บ ชดเชยแสงได โ ดยหมุ น วงแหวน เมื่ อ แตะชั ต เตอร เ บาๆ ลงครึ่ ง หนึ่ ง กล อ งจะแสดงระดั บ ความไวชั ต เตอร แ ละช อ งรั บ แสง (น.176 ) ที่ บ ริ เ วณมุ ม ล า งด า นซ า ย ซึ่ ง เป น ค า การเป ด รั บ แสงสำหรั บ ถ า ยภาพนิ่ ง


 ายภาพยนตร การถายภาพยนตรดวยระบบแมนนวล ผูใชสามารถปรับชัตเตอร ชองรับแสง และความไวแสง สำหรับถายภาพยนตรได ดังแสดง ดานลาง การถายภาพยนตรดวยการปรับตั้งเองนั้น เหมาะสำหรับผูใชที่มีประสบการณ เท า นั้ น

หมุ น วงแหวนเลื อ กระบบไปที่

จะมีเสียงกระจกสะทอนภาพที่ยกตัวขึ้นไป จากนั้นจะมีภาพปรากฏบนจอภาพ LCD

เลือก [Movie exposure] (ระดับแสดงภาพเคลื่อนไหว) กดปุม

ในแถบ

[Movie exposure] จากนั้นกด

เลือก

เลือก [Manual] (ตั้งเอง) เลื อ ก [Manual] จากนั้ น กด ออกจากเมนู

ปรับความไวชัตเตอรและชองรับแสง หมุนวงแหวน เพื่ อ ปรั บ ตั้ ง ความไว ชั ต เตอร ค า ที่ ป รั บ ตั้ ง ได ขึ้ น อยู กั บ ความเร็ ว ใน การถาย (frame rate) 1/4000 วินาที - 1/60 วินาที 1/4000 วินาที - 1/30 วินาที เมื่ อ ต อ งการปรั บ ช อ งรั บ แสง หมุ น วงแหวน หากไมสามารถปรับตั้งได กดปุม จากนั้นหมุนวงแหวน


 ายภาพยนตร ปรับความไวแสง

เมื่อตองการปรับความไวแสง กดปุม หนาจอ LCD จะแสดงรายการของการปรับตั้ง ความไวแสง กด เพื่อเลือกความไวแสง • ความไวแสงอัตโนมัติ : 100 - 6400 • ความไวแสงที่ปรับตั้งได : 100 - 6400

โฟกัสและถายภาพยนตร

วิ ธี ก ารจะเหมื อ นกั น กั บ ขั้ น ตอนที่ 2 และ 3 ของ “ถายภาพยนตรดวยระบบเปดรับแสง อัตโนมัติ” (น.172)

เมื่ อ ถ า ยภาพยนตร ด ว ยการปรั บ ตั้ ง เอง จะไม ส ามารถล็ อ คค า แสงและชดเชยแสงได ไม แ นะนำให เ ปลี่ ย นขนาดช อ งรั บ แสงในระหว า งที่ กำลั ง ถ า ยภาพยนตร อ ยู เพราะการ เปลี่ ย นช อ งรั บ แสงจะสั ง เกตเห็ น ในภาพยนตร ที่ ถ า ยด ว ย ถาใชเลนสซูมที่มีขนาดชองรับแสงเปลี่ยนแปลงไปในขณะซูม ไมควรซูมเลนสในระหวาง การถ า ยภาพยนตร เพราะการซู ม จะทำให ค า แสงในภาพยนตร ที่ ถ า ยเกิ ด ความเปลี่ ย น แปลงและสั ง เกตเห็ น ได เมื่ อ ถ า ยภาพยนตร ด ว ยแสงฟลู อ อเรสเซนต แสงในภาพยนตร ที่ ถ า ยอาจมี ก ารกระพริ บ เมื่ อ ถ า ยภาพยนตร โ ดยใช ร ะบบตั้ ง ความไวแสงอั ต โนมั ติ ( Auto ISO) กล อ งจะถ า ยภาพ ยนตร ด ว ยค า แสงที่ ถู ก ต อ งเหมาะสมตลอดเวลาแม ว า ค า แสงจะมี ค วามเปลี่ ย นแปลงไป เมื่ อ ถ า ยภาพยนตร สิ่ ง ที่ เ คลื่ อ นที่ แนะนำให ใ ช ค วามไวชั ต เตอร 1/30 วิ น าที จนถึ ง 1/125 วิ น าที ถ า ใช ค วามไวชั ต เตอร สู ง กว า นี้ การเคลื่ อ นที่ ข องวั ต ถุ ใ นภาพจะดู ไ ม ร าบลื่ น ถ า เล น ดู ภ าพยนตร พร อ มกั บ “แสดงข อ มู ล การถ า ยภาพ” (น.192) กล อ งจะไม แ สดง ข อ มู ล ของระบบบั น ทึ ก ภาพ ความไวชั ต เตอร และช อ งรั บ แสง ข อ มู ล ของภาพ(Exif) จะถู ก บั น ทึ ก ร ว มกั บ ภาพยนตร และแสดงตอนเริ่ ม ของภาพยนตร


 ายภาพยนตร เกี่ยวกับการแสดงขอมูล แต ล ะครั้ ง ที่ ก ดปุ ม

การแสดงขอมูลจะเปลี่ยนแปลงไป

ระบบออโตโฟกัส Live mode Face Derection Live mode Quick mode

Picture Style จุดโฟกัส [Quick mode] กรอบขยายภาพ

ระบบขับเคลือ่ น สมดุลสีขาว ปรับความเขมสวาง อัตโนมัติ คุณภาพของภาพยนตร ความละเอียดของภาพยนตร ล็อคคาแสง Frame rate ความไวชัตเตอร ชองรับแสง ระยะเวลาทีถ่ า ยภาพยนตรตอ ไปได * / เวลาทีถ่ า ยไปแลว

บันทึกภาพยนตร

สถานะการสงสัญญาณ ของ Eye-Fi Card ระดับพลังงาน คาการเปดรับแสง อัตโนมัติ ปรับตัง้ เอง (แมนนวล) เนนรายละเอียดในสวนสวาง Rec. level : ปรับตัง้ เอง ความไวแสง จำนวนภาพทีถ่ า ยได ระดับการชดเชยแสง

* สำหรับการถายภาพยนตรทตี่ อ เนือ่ งกัน 1 ชุด

สามารถสั่ ง ให ก ล อ งแสดงเส น ระดั บ อี เ ลคทรอนิ ค ส ด ว ยการกดปุ ม (น.266) เมื่ อ เริ่ ม ถ า ยภาพยนตร เส น ระดั บ อี เ ลคทรอนิ ค ส จ ะดั บ ไป เมื่ อ ต อ งการให ก ล อ งแสดงเส น ระดั บ นี้ อี ก ให ห ยุ ด การถ า ยภาพยนตร แ ล ว กดปุ ม และโปรดทราบว า ถ า ระบบ AF ได ถู ก ตั้ ง เป น [ Live mode] หรือเมื่อตอกลองกับโทรทัศนดวยสาย HDMI (น.209) กล อ งจะไม แ สดงเส น ระดั บ อี เ ลคทรอนิ ค ส

หากไม มี ก าร ด ในตั ว กล อ ง ระยะเวลาที่ ถ า ยภาพยนตร ไ ด จ ะปรากฏเป น สี แ ดง

เมื่ อ เริ่ ม ถ า ยภาพยนตร แ ล ว ตั ว เลขแสดงเวลาที่ ถ า ยภาพยนตร ไ ด จะเปลี่ ย นไปเป น เวลาของภาพยนตร ที่ กำลั ง ถ า ย


 ายภาพยนตร ภาพยนตร ที่ ถู ก ถ า ยต อ เนื่ อ ง 1 ชุ ด จะถู ก บั น ทึ ก เป น ไฟล 1 ไฟล สามารถบั น ทึก เสี ย งในแบบ monaural ได ด วยไมโครโฟนในตัว กลอง (น.172) สามารถบั น ทึ ก เสี ย งในแบบสเตริ โ อ ได ด ว ยการใช ไ มโครโฟนภายนอก เสี ย บเข า กั บ ช อ ง เสี ย บไมโครโฟนภายนอก(เส น ผ า ศู น ย ก ลาง 3.5 มม.) เข า กั บ ช อ งเสี ย บไมโครโฟนภาย นอก (น.16) การปรั บ ตั้ ง ฟ ง ก ชั่ น ต า งๆ ของระบบถ า ยภาพยนตร จ ะอยู ใ นเมนู และ (น.182) สามารถควบคุ ม การถ า ยภาพยนตร ไ ด ด ว ย Remote Controller RC-6(อุ ป กรณ เ สริ ม พิ เ ศษ) (น.126) เพื่ อ สั่ ง เริ่ ม และหยุ ด การถ า ยภาพยนตร เมื่ อ เลื อ กระบบขั บ เคลื่ อ นเป น หรื อ โดยปรั บ สวิ ต ซ ข องรี โ มทไปที่ <2> (หน ว งเวลา 2 วิ น าที ) จากนั้ น กดปุ ม ส ง สั ญ ญาณ แต ถ า สวิ ต ซ ถู ก ตั้ ง เป น < > (ถ า ยภาพทั น ที ) เมื่อใช Battery Pack LP-E6 ที่ประจุไฟเต็ม ระยะเวลาที่สามาถถายภาพยนตรไดจะเปน ดังตอไปนี้ : ที่ 23 ํC/73 ํF ประมาณ 2 ชั่วโมง และที่ 0 ํC/32 ํF ประมาณ 1 ชั่วโมง 40 นาที

การจำลองภาพในขั้ น สุ ด ท า ย ภาพที่ปรากฏใหเห็นจากระบบ Live View จะสะทอนใหเห็นผลของ Picture Style สมดุล สี ข าว ฯลฯ ที่ ผู ใ ช ป รั บ ตั้ ง ไว ภาพจากระบบ Live View จึ ง แสดงให ผู ใ ช ท ราบว า ภาพที่ กำลั ง ถ า ยจะมี ลั ก ษณะเช น ใด ในระหว า งที่ ใ ช ร ะบบ Live View ถ า ยภาพนิ่ ง ภาพ จะสะท อ นใหเ ห็ น ผลต า งๆ ตามรายการต อ ไปนี้ การจำลองภาพในขั้นสุดทายของระบบ Live View Picture Style * สะท อ นให เ ห็ น การปรั บ ตั้ ง ทั้ ง หมด เช น ความคมชั ด ความเปรี ย บต า ง ความอิ่ ม ตั ว ของสี และโทนสี สมดุ ล สี ข าว ค า แสง ช ว งความชั ด ระบบปรับความเขมสวางอัตโนมัติ (Auto Lighting Optomizer) ระบบปรั บ แก ค วามสลั ว ของขอบภาพโดยอั ต โนมั ติ ระบบเนนรายละเอียดในสวนสวาง


 ายภาพยนตร ถ า ยภาพนิ่ ง ผู ใ ช ส ามารถถ า ยภาพนิ่ ง ได ต ลอดเวลาโดยกดปุ ม ชัตเตอรลงไปจนสุด แมในขณะถายภาพยนตร

การถ า ยภาพนิ่ ง ในขณะถ า ยภาพยนตร เมื่ อ ตั้ ง ความละเอี ย ดในการถา ยภาพยนตร เ ป น [1920x1080] หรือ [1280x720] อัตรา สวนของดานจะเปน 16:9 แตถาความละเอียดถูกตั้งเปน [640x480] อัตราสวนของดาน จะเปน 4:3 ถาผูใชถายภาพนิ่ง ในระหวางที่กำลังถายภาพยนตร ภาพยนตรจะหยุดคางในขณะนั้น ประมาณ 1 วินาที ภาพนิ่ ง ที่ ถ า ยจะถู ก บั น ทึ ก ลงในการ ด และการถ า ยภาพยนตร จ ะกลั บ มาทำงานต อ ไป เองโดยอัตโนมัติเมื่อจอภาพกลับมาแสดงภาพแบบ Live View อีกครั้งหนึ่ง ภาพนิ่งและภาพยนตร จะถูกบันทึกแยกเปนไฟลตางหากจากกัน ฟ ง ก ชั่ น ต า งๆ ที่ ป รั บ ตั้ ง และทำงานได ใ นระบบถ า ยภาพนิ่ ง นั้ น ได แ สดงไว ด า นล า ง ส ว นฟ ง ก ชั่ น อื่ น ๆ จะเหมื อ นกั บ ฟ ง ก ชั่ น สำหรั บ การถ า ยภาพยนตร การปรับตัง้ Quality]

ฟงกชนั่ คุณภาพในการบันทึก

ปรับตัง้ ไดจากเมนู [

การปรับตัง้ คา การเปดรับแสง

กลองจะตัง้ ความไวชัตเตอรและชองรับแสงใหโดยอัตโนมัติ (ผใู ชปรับตัง้ เองได หากตัง้ ระบบเปน <M> ) แสดงคาใหเห็น เมือ่ ใชนวิ้ แตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึง่ หนึง่

ถายภาพครอมอัตโนมัติ ระบบขับเคลือ่ น ระบบแฟลช

ยกเลิก ตัง้ ไดทกุ แบบ ยกเวนระบบหนวงเวลาถายภาพ* แฟลชไมทำงาน

* ระบบหนวงเวลาถายภาพจะใชไดกอนถายภาพยนตร ถาใชระบบหนวงเวลาถายภาพในระหวาง การถ า ยภาพยนตร จะเป น การสั่ ง ให ถ า ยภาพนิ่ ง

สามารถถายภาพนิ่งอยางตอเนื่องในขณะถายภาพยนตรได แตภาพที่ถายแลวจะไม แสดงที่จอ LCD ในทันที และการถายภาพยนตรอาจจะหยุดลงโดยอัตโนมัติก็ได โดย ขึ้ น อยู กั บ คุ ณ ภาพในการบั น ทึ ก ภาพนิ่ ง จำนวนภาพที่ ถ า ยต อ เนื่ อ ง คุ ณ สมบั ติ ข อง การด ฯลฯ


รับตั้งฟงกชั่นสำหรับถายภาพยนตร การปรั บ ตั้ ง ผู ใ ช ส ามารถกดปุ ม หรือ จอภาพจะแสดงรายการสำหรับปรับตั้ง และผู ใ ช ส ามารถกดปุ ม เพื่ อ ปรั บ ตั้ ง ฟ ง ก ชั่ น ตามที่ ต อ งการได สำหรับการถายภาพยนตรดวยการตั้งคาการเปดรับแสงเอง (manual) (น.174) สามารถกดปุม และกดปุม เพื่อเลือกความไวแสง

การปรับตั้งอยางรวดเร็ว เมื่ อ ผู ใ ช ก ดปุ ม จะสามารถปรั บ ตั้ ง ระบบต า งๆ ดั ง ต อ ไปนี้ : ระบบออโต โ ฟกั ส ระบบขับเคลื่อน(สำหรับภาพนิ่ง) สมดุลสีขาว Picture Style ปรับความเขมสวาง อัตโนมัติ(Auto Lighting Optimizer) และปรับตั้งคุณภาพของไฟลที่จะบันทึก(ภาพ นิ่ ง ) และความละเอี ย ดในการถ า ยภาพยนตร (ฟ ง ก ชั่ น ที่ เ ป น สี เ ข ม จะปรั บ ตั้ ง ได กั บ ทุ ก ๆ ระบบ)

กดปุ ม

ฟ ง ก ชั่ น ที่ ส ามารถปรั บ ตั้ ง ได จ ะแสดงรายการ เป น สี น้ำ เงิ น เมื่อกดปุม < > จะแสดงจุดโฟกัสใหเห็น

เลือกและปรับตั้งฟงกชั่นที่ตองการ กดปุ ม

เพื่ อ เลื อ กฟ ง ก ชั่ น

ก า ร ป รั บ ตั้ ง ฟ ง ก ชั่ น ที่ เ ลื อ ก จ ะ ป ร า ก ฏ ทางด า นล า ง หมุนวงแหวน หรื อ เพื่ อ ปรั บ เปลี่ยน และสามารถใชปุม เพื่อ เลือกคาได(ยกเวนการเลือกจุดโฟกัส)


รับตั้งความละเอียดในการถายภาพยนตร ในแถบ เมนู [Movie Rec.size] นี้ออกแบบ ให ป รั บ ตั้ ง ความละเอี ย ดในการถ า ยภาพยนตร ไ ด [****x****] และปรับ frame rate (ความเร็วใน การบันทึก เปน เฟรมตอวินาที) และ จะปรับ เปลี่ ย นให เ องโดยอั ต โนมั ติ เ มื่ อ ผู ใ ช ไ ด ทำการเปลี่ ย น ระบบของวิ ดี โ อ [ Video system]

ความละเอี ย ดของภาพยนตร

ถายดวยคุณภาพระดับ Full HD (Full High-Definition) ถายดวยคุณภาพระดับ HD (High-Definition) บันทึกดวยคุณภาพระดับมาตรฐาน อัตราสวนของดาน จะเปน 4:3 บันทึกดวยคุณภาพระดับมาตรฐาน อัตราสวนของดาน จะเปน 4:3 โดยใหผลในการตัดสวนเพื่อขยายภาพใหมีขนาด ใหญ ขึ้ น 7 เท า (7x) ระบบบั น ทึ ก ภาพนี้ เรี ย กว า Movie crop

(เฟรมต อ วิ น าที )

ในพื้ น ที่ ซึ่ ง ใช ร ะบบโทรทั ศ น แ บบ NTSC เช น North America, Japan, Korea, Mexico ฯลฯ สำหรั บ พื้ น ที่ ซึ่ ง ใช ร ะบบโทรทั ศ น แ บบ PAL for Europe, Russia, China, Australia ฯลฯ) ระดับมาตรฐานของการถายภาพยนตร

หมายเหตุเกี่ยวกับระบบ Movie crop

ควรใช ข าตั้ ง กล อ งแทนการถื อ กล อ งด ว ยมื อ เพื่ อ ป อ งกั น ภาพสั่ น ภาพยนตร ที่ ถ า ยด ว ยระบบ Movie crop จะไม ส ามารถขยายดู ไ ด ถึ ง แม ว า ระบบออโต โ ฟกั ส จะถู ก ปรั บ ตั้ ง เป น [Quick mode] มั น จะถู ก เปลี่ ย นเป น [Live mode] เมื่อถายภาพยนตร และจุดโฟกัสที่ปรากฏขึ้นในจอภาพก็จะมีขนาดใหญกวาเมื่อ เที ย บกั บ การถ า ยภาพยนตร ด ว ยความละเอี ย ดระดั บ อื่ น ๆ สั ญ ญาณรบกวน(noise) และจุ ด แสง จะปรากฏให เ ห็ น ง า ยกว า เมื่ อ เที ย บกั บ ระบบถ า ย ภาพยนตร ที่ ร ะดั บ ความละเอี ย ดอื่ น ๆ อาจจะโฟกั ส แบบอั ต โนมั ติ ไ ด ย ากขึ้ น หากจุ ด โฟกั ส คร อ มอยู ร ะหว า งสิ่ ง ที่ อ ยู ใ กล กั บ สิ่ ง ที่ อ ยู ห า งออกไป ไม ส ามารถถ า ยภาพนิ่ ง ได


 รั บ ตั้ ง ความละเอี ย ดในการถ า ยภาพยนตร ระยะเวลารวมที่สามารถถายภาพยนตรได และขนาดไฟลตอนาที เกี่ ย วกั บ ข อ จำกั ด ของระบบไฟล หากขนาดไฟล ข องภาพยนตร ชุ ด หนึ่ ง มี ป ริ ม าณถึ ง 4GB ระบบถายภาพยนตรจะหยุดลงโดยอัตโนมัติ ที่ [1920x1080] และ [1280x720] ระยะเวลา ถ า ยภาพยนตร ต อ เนื่ อ งที่ น านที่ สุ ด จะนานประมาณ 12 นาที ส ว นที่ [640x480] และ [Crop 640x480] ระยะเวลาถายภาพยนตรตอเนื่องที่นานที่สุดจะนานประมาณ 24 นาที และเมื่อตองการถายภาพยนตรตอไปอีก ใหกดปุม < > (เริ่มบันทึกภาพยนตรชุดใหม) ความละเอียด ของภาพยนตร

ระยะเวลารวมในการถายภาพยนตร การด 16GB การด 8GB

ขนาดไฟล

22 นาที

44 นาที

330 MB / นาที

22 นาที

44 นาที

330 MB / นาที

46 นาที

1 ชม. 32 นาที

165 MB / นาที

การเพิ่มขึ้นสูงของอุณหภูมิภายในตัวกลองอาจทำใหระบบถายภาพยนตรหยุดทำงานไป โดยอั ต โนมั ติ ก อ นที่ จ ะครบกำหนดเวลาตามที่ แ สดงในตารางด า นบน (น.173) ระยะเวลาในการถ า ยภาพยนตร ที่ น านที่ สุ ด ต อ 1 คลิ ป คื อ 29 นาที 59 วิ น าที โดยขึ้ น อยู กั บ วั ต ถุ แ ละการเพิ่ ม ขึ้ น ของอุ ณ หภู มิ ภ ายในตั ว กล อ ง ซึ่ ง อาจทำให ก ารถ า ยภาพยนตร หยุ ด ลงก อ นถึ ง เวลา 29 นาที 59 วิ น าที

เมื่อใชซอฟทแวร ZoomBrowser EX/ImageBrowser (ใหมาพรอมกับกลอง) ผูใช สามารถจั บ ภาพนิ่ ง ได จ ากไฟล ภ าพยนตร ที่ ถ า ยได และคุ ณ ภาพของภาพนิ่ ง ที่ ไ ด จะเป น ดั ง นี้ : ประมาณ 2 ล า นพิ ก เซล ที่ [1920x1080], ประมาณ 1 ลานพิกเซล ที่ [1280x720] และประมาณ 300,000 พิกเซล ที่ [640x480]


รับตั้งฟงกชั่นของเมนู

ในรายการเมนูของแถบ และ จะมี ฟ ง ก ชั่ น ดั ง ที่ จ ะอธิ บ ายต อ ไปจากนี้ และโปรด ทราบวา แถบ และ จะมีผลก็ ต อ เมื่ อ ได ห มุ น วงแหวนเลื อ กระบบบั น ทึ ก ภาพมาที่ แล ว เท า นั้ น และการปรั บ ตั้ ง นี้ จ ะไม มี ผ ลใดๆ เมื่ อ ใช ร ะบบบั น ทึ ก ภาพแบบอื่ น ๆ

การตั้งคาแสง (ระดับแสงภาพเคลื่อนไหว) ปกติควรตั้งเปน [Auto] แต ผู ใ ช ส ามารถปรั บ ตั้ ง ค า แสง [Movie exposure] เปน [Manual] ปรั บ ตั้ ง เอง รวมทั้งปรับความไวแสง ชัตเตอร และชองรับแสงสำหรับถายภาพยนตรได (น.174)

ระบบออโตโฟกัส

ระบบออโต โ ฟกั ส จะมี รู ป แบบการทำงานเหมื อ นกั บ ที่ ไ ด อ ธิ บ ายไว ใ นหน า 160-166 ผู ใ ช ส ามารถเลื อ กใช ร ะบบ [Live mode] [ Live mode] และ [Quick mode] และโปรดทราบวา ไมสามารถโฟกัสติดตามการเคลื่อนที่ของวัตถุแบบตอเนื่องได

ระบบออโตโฟกัสในขณะถายภาพยนตร

(ใช ปุ ม ชั ต เตอร ห า AF ขณะถ า ยภาพยนตร ) เมื่ อ ตั้ ง เป น [Enable] จะสามารถใชระบบออโตโฟกัสในขณะถายภาพยนตรได อยางไรก็ดี ไมสามารถโฟกัสติดตามการเคลื่อนที่ของวัตถุแบบตอเนื่องได เมื่อใชระบบออโตโฟกัสในการถายภาพยนตร จึงอาจเกิดโอกาสที่จะหลุดโฟกัส ซึ่ ง ทำให ค า แสงในขณะนั้ น ผิ ด พลาดได ถาตั้งระบบออโตโฟกัสเปน [Quick mode] ระบบออโตโฟกัสจะทำงานในแบบ

[Live mode]


 รั บ ตั้ ง ฟ ง ก ชั่ น ข อ ง เ ม นู ระบบออโตโฟกัสและปุมวัดแสงสำหรับ

ผู ใ ช ส ามารถเปลี่ ย นฟ ง ก ชั่ น ที่ ไ ด กำหนดให กั บ ปุ ม ชั ต เตอร เมื่ อ ใช นิ้ ว แตะปุ ม ชั ต เตอร เบาๆ ลงครึ่ ง หนึ่ ง ฟ ง ก ชั่ น ของปุ ม AF start และฟ ง ก ชั่ น ของปุ ม ล็ อ คค า แสง และผู ใ ช สามารถปรับตั้งฟงกชั่นของปุมเหลานี้โดยการผสมผสานไดถึง 10 รูปแบบ : วัดแสงและ เริ่ ม หาโฟกั ส อั ต โนมั ติ , ล็ อ คค า แสง, เริ่ ม วั ด แสง, หยุ ด การทำงาน AF และไม มี การทำงานใดๆ

ระดับขั้นในการตั้งคาความไวแสง ISO

ผูใชสามารถปรับความไวแสง(ISO) โดยเลือกปรับไดขั้นละ 1/3 หรือ 1 stop เพิ่มรายละเอียดในสวนสวาง (เน น โทนภาพบริ เ วณสว า ง) เมื่ อ ตั้ ง เป น [Enable] รายละเอี ย ดในส ว นสว า งของภาพจะถู ก ปรั บ ให ดี ขึ้ น สมดุ ล ของ ความเขมสวางจะถูกปรับคาจากระดับมาตรฐานสีเทากลาง 18% ไปยัง highlight ซึ่ง ช ว ยให ก ารไล ร ะดั บ แสงจากสี เ ทากลางไปยั ง ส ว นสว า งเป น ไปด ว ยความนุ ม นวลมาก ขึ้น เมื่อตั้งเปนแบบนี้ ความไวแสงจะถูกปรับใหอยูในชวงระหวาง ISO 200-6400 และ ระบบปรั บ ความเข ม สว า งอั ต โนมั ติ ( Auto lighting optimizer) จะถู ก ปรั บ ให เ ป น [Disable] โดยอัตโนมัติ และไมสามารถเปลี่ยนได

ระบบ AF ที่ ป รั บ ตั้ ง ไว ใ นที่ นี้ จะทำงานเมื่ อ ใช ร ะบบ Live View ถ า ยภาพ (ยกเวนระบบ [Crop 640x480])


 รั บ ตั้ ง ฟ ง ก ชั่ น ข อ ง เ ม นู

บั น ทึ ก เสี ย ง

มิ เ ตอร แ สดงระดั บ เสี ย ง

ตามปกติ กล อ งจะบั น ทึ ก เสี ย งในแบบโมโนด ว ย ไมโครโฟนในตั ว หากต อ งการบั น ทึ ก เสี ย งในระบบ สเตอริ โ อ ก็ ส ามารถทำได เ มื่ อ นำเอาไมโครโฟนภาย นอกมาเสียบตอเขาดวยมินิแจ็คขนาด 3.5 มม. โดย เสี ย บเข า ที่ ช อ งเสี ย บ (น.16) และเมื่ อ ใช ไ มโครโฟน ภายนอก กลองจะเปลี่ยนไปบันทึกเสียงดวยไมโครโฟน ภายนอกโดยอัตโนมัติ

ตั ว เลื อ ก

(อัตโนมัติ) (ตั้งเอง)

ระดั บ เสี ย งจะถู ก ปรั บ ตั้ ง ให พ อเหมาะโดยอั ต โนมั ติ การปรั บ ระดั บ เสียงโดยอัตโนมัตินี้จะตอบสนองตอระดับความดังของเสียงที่กำลัง บั น ทึ ก อยู สำหรับผูใชที่มีประสบการณ สามารถปรับระดับเสียงเองได โดยออก แบบใหปรับได 64 ระดับ โดยเลือก [Rec. level] และดูจากสเกลแสดง ระดับเสียง แลวใชวงแหวน ในการหมุนปรับระดับเสียง และ ใหสังเกตระดับเสียงที่ดังที่สุด(peak) (ประมาณสัก 3 วินาที) โดยการ ปรั บ ตั้ ง ควรให ร ะดั บ เสี ย งที่ ดั ง ที่ สุ ด อยู ที่ ป ระมาณ “12” (-12dB) ซึ่ ง อยูทางดานขวา ถาระดับความดังของเสียงสูงกวา “0” เสียงที่บันทึก อาจมี ค วามผิ ด เพี้ ย นเกิ ด ขึ้ น จะไมมีการบันทึกเสียงใดๆ

(ไม ใ ช ง าน)


 รั บ ตั้ ง ฟ ง ก ชั่ น ข อ ง เ ม นู (ฟลเตอรลดเสียงลม) เมื่ อ ตั้ ง เป น [Enable] เสียงของลมที่เขามาในการบันทึกจะลดทอนลง และโปรด ทราบว า โทนเสี ย งต่ำ ๆ อาจจะถู ก ลดทอนลงไปในการบั น ทึ ก เสี ย งด ว ย เมื่อ ถ า ย ภาพในบริ เ วณที่ ไ ม มี ล ม ให ป รั บ ตั้ ง เป น [Disable] เพื่ อ ให เ สี ย งที่ บั น ทึ ก ฟ ง ดู เ ป น ธรรมชาติ อาจไม ส ามารถปรั บ สมดุ ล ของระดั บ เสี ย งทางด า นซ า ยและขวาได เสี ย งที่ บั น ทึ ก จะเป น แบบ 16-bit ที่ ค วามถี่ 48 kHz ทั้ ง ด า นซ า ยและขวา

(บันทึกภาพแบบเก็บเสียง) (ถายภาพแบบเงียบ) การปรั บ ตั้ ง นี้ จ ะมี ผ ลเมื่ อ ถ า ยภาพนิ่ ง (น.159) (ระยะเวลาล็ อ คค า แสง) (ระยะเวลาวัดแสง) ปรับเปลี่ยนเวลาในการล็อคคาแสง เมื่อกดปุม โดยเลือก

(แสดงเสนตาราง) หรือ

สามารถแสดงเสนตารางได


 รั บ ตั้ ง ฟ ง ก ชั่ น ข อ ง เ ม นู

(ชดเชยแสง) แมวาระบบชดเชยแสงจะถูกออกแบบใหปรับไดในชวง +/- 5 stop แตเมื่อถายภาพยนตร จะปรับไดในชวง +/- 3 stop เทานั้น แตเมื่อถายภาพนิ่ง ก็ยังสามารถชดเชยแสงไดใน ชวง +/- 5 stop (ปรับความเขมสวางอัตโนมัติ) (ปรับแสงเหมาะสมอัตโนมัติ) ระบบนี้สามารถปรับตั้งไดตามรายละเอียดในหนา 101 และมีผลตอการถายภาพยนตร และการถายภาพนิ่งในระหวางการถายภาพยนตรดวย ในแถบ เมื่ อ ผู ใ ช ป รั บ ตั้ ง [ Highlight tone priority] ได ตั้ ง เป น [Enable] ระบบ Auto lighting optimizer จะถูกตั้งเปน [Disable] และไมสามารถปรับเปลี่ยนได สามารถปรับตั้ง Pictuture Style ไดดังที่อธิบายในหนา 90-95 ซึ่งจะมีผลตอภาพยนตร ที่ ถ า ย รวมทั้ ง ภาพนิ่ ง ที่ ถ า ยในระหว า งการถ า ยภาพยนตร ด ว ย (สมดุ ล สี ข าว) (สมดุลแสงขาว) สามารถปรับตั้งสมดุลสีขาวไดดังที่อธิบายในหนา 96-98 ซึ่งจะมีผลตอภาพยนตรที่ถาย รวมทั้ ง ภาพนิ่ ง ที่ ถ า ยในระหว า งการถ า ยภาพยนตร ด ว ย (สมดุลสีขาวแบบปรับตั้งเอง) (สมดุลแสงขาวกำหนดเอง) ดั ง ที่ อ ธิ บ ายในหน า 97 สามารถปรั บ ตั้ ง สมดุ ล สี ข าวได


 รั บ ตั้ ง ฟ ง ก ชั่ น ข อ ง เ ม นู หมายเหตุ เ กี่ ย วกั บ การถ า ยภาพยนตร การบันทึก และคุณภาพของภาพ

หากเลนส ที่ ใ ช มี ร ะบบช ว ยลดภาพสั่ น (IS) ระบบช ว ยลดภาพสั่ น ของเลนส จ ะทำงานอยู ตลอดเวลาแม ผู ใ ช จ ะไม ไ ด ใ ช นิ้ ว แตะชั ต เตอร ก็ ต าม การใช พ ลั ง งานของระบบช ว ยลด ภาพสั่นจะทำใหระยะเวลาที่จะถายภาพยนตรไดลดลง หรือทำใหจำนวนภาพนิ่งที่ถายได ตอแบตเตอรีกอนหนึ่งลดลงดวย ถาถายภาพดวยขาตั้งกลอง หรือคิดวาไมจำเปนตองใช ระบบชวยลดภาพสั่น ควรจะปรับสวิตซของระบบนี้ไปที่

ไมโครโฟนในตัวกลองจะบันทึกเสียงในการปรับควบคุมกลองไปดวยในขณะบันทึกเสียง หากใชไมโครโฟนภายนอก(อุปกรณเสริมที่มีจำหนายทั่วไป) จะชวยปองกันหรือลดเสียง อั น เกิ ด จากการทำงานของกล อ งได ห า มนำเอาอุ ป กรณ ช นิ ด อื่ น ๆ เสี ย บเข า กั บ ช อ งเสี ย บไมโครโฟนภายนอก ยกเว น ไมโครโฟนภายนอกเท า นั้ น ไม แ นะนำให ใ ช ร ะบบออโต โ ฟกั ส ในขณะถ า ยภาพยนตร เพราะอาจจะหลุ ด โฟกั ส ได ใ น บางขณะ และทำให ค า แสงเปลี่ ย นแปลงไปด ว ย และแม ว า จะตั้ ง ระบบออโต โ ฟกั ส เป น [Quick mode] กลองจะเปลี่ยนเปนระบบ Live mode โดยอัตโนมัติเมื่อถายภาพยนตร ถ า หากไม ส ามารถถ า ยภาพยนตร ไ ด เนื่ อ งจากการ ด ไม เ หลื อ ความจุ ม ากพอที่ จ ะบั น ทึ ก ข อ มู ล ได ต อ ไป กล อ งจะแสดงระยะเวลาที่ ส ามารถถ า ยภาพยนตร ไ ด เ ป น สี แ ดง (น.176) ถ า ใช ก าร ด ที่ มี ค วามเร็ ว ในการบั น ทึ ก ต่ำ ๆ จะมี สั ญ ลั ก ษณ แ สดงระดั บ ห า ระดั บ ปรากฏขึ้ น ทางด า นขวาของจอภาพ ในขณะถ า ยภาพยนตร ซึ่ ง จะแสดงให ท ราบว า มี ข อ มู ล ในปริ ม าณเท า ใดที่ ยั ง ไม ไ ด บั น ทึ ก ลงในการ ด (ตกค า งอยู ใ นหน ว ยความจำสำรองในตั ว กล อ ง) ยิ่ ง ใช การ ด ที่ บั น ทึ ก ได ช า ขี ด แสดงระดั บ ก็ จ ะยิ่ ง สู ง ขึ้ น เร็ ว มาก และถ า ขี ด แสดง ระดั บ ขึ้ น จนเต็ ม การถ า ยภาพยนตร จ ะหยุ ด ลงโดยอั ต โนมั ติ

สเกลแสดงระดับ

ถ า การ ด มี ค วามเร็ ว ในการบั น ทึ ก สู ง ในช ว งแรกๆ ขี ด แสดงระดั บ จะยั ง ไม ป รากฏบนจอ LCD หรื อ ถ า ขี ด แสดงระดั บ ปรากฏขึ้ น ก็ จ ะไม สู ง ขึ้ น อย า งรวดเร็ ว นั ก เมื่ อ นำการ ด มา ใช ค ราวแรก ให ท ดลองถ า ยภาพยนตร ดู เ สี ย ก อ นว า การ ด แผ น นั้ น มี ค วามเร็ ว ในการ บั น ทึ ก ที่ เ พี ย งพอ ถ า ผู ใ ช ถ า ยภาพนิ่ ง ในระหว า งที่ ถ า ยภาพยนตร กล อ งจะหยุ ด ถ า ย ภาพยนตร หากตั้งความละเอียดและคุณภาพในการถายภาพนิ่งเอาไวต่ำ กลองจะกลับ มาถ า ยภาพยนตร ต อ ไปได อ ย า งรวดเร็ ว


 รั บ ตั้ ง ฟ ง ก ชั่ น ข อ ง เ ม นู หมายเหตุ เ กี่ ย วกั บ การถ า ยภาพยนตร การเลนดูภาพ และการตอเชื่อมกับโทรทัศน

หากความเข ม สว า งเปลี่ ย นแปลงไปในขณะถ า ยภาพยนตร ส ว นสว า งจ า นั้ น อาจจะหยุ ด นิ่ ง อยู ค รู ห นึ่ ง ในขณะเล น ดู ภ าพ ในกรณี ที่ ถ า ยภาพยนตร ด ว ยการปรั บ ค า แสงเอง ถาตอกลองกับโทรทัศนดวยสายแบบ HDMI (น.209) และใชกลองถายภาพยนตรที่ความ ละเอี ย ด [1920x1080] หรื อ [1280x720] ภาพที่ กำลั ง ถ า ยจะแสดงในขนาดเล็ ก บนจอภาพของโทรทั ศ น อย า งไรก็ ต าม ภาพยนตร ที่ ถ า ยก็ จ ะมี ค วามละเอี ย ดเท า กั บ ที่ ปรั บ ตั้ ง ไว หากผู ใ ช ต อ กล อ งเข า กั บ โทรทั ศ น (น.209,212) และถ า ยภาพยนตร โทรทั ศ น จ ะไม เ ล น เสี ย งในระหว า งกำลั ง ถ า ย อย า งไรก็ ต าม กล อ งจะบั น ทึ ก เสี ย งได ต ามปกติ


¡ÒÃàÅ‹¹´ÙÀÒ¾ ในบทนี้ จะอธิ บ ายการเล น ดู ภ าพ การลบภาพและ ภาพยนตร ที่ ถ า ยแล ว วิ ธี เ ล น ดู ภ าพจากจอโทรทั ศ น และฟงกชั่นในการเลนดูภาพตางๆ

เกี่ ย วกั บ การเล น ภาพที่ ถ า ยจากกล อ งตั ว อื่ น

กลองรุนนี้อาจไมสามารถเลนดูภาพที่ถายจากกลองรุนอื่นๆ หรือเปนภาพ ที่ถูกปรับแตงดวยคอมพิวเตอร หรือไฟลภาพที่มีการเปลี่ยนชื่อไปแลว


ลนดูภาพทีถ่ า ยมาแลว ดูภาพแบบครั้งละภาพ

เล น ดู ภ าพ กดปุ ม ภาพถ า ยหลั ง สุ ด หรื อ ภาพถ า ยที่ ดู ห ลั ง สุ ด จะปรากฏขึ้ น บนจอภาพ

เลือกภาพ

เมื่ อ ต อ งการเล น ดู ภ าพโดยเริ่ ม ที่ ภ าพสุ ด ท า ย หมุนวงแหวน ทวนเข็มนาฬิกา ถาตอง การดู ภ าพแรกสุ ด ให ห มุ น วงแหวนตามเข็ ม นาฬิ ก า แตละครั้งที่กดปุม การแสดงขอมูล จะเปลี่ยนแปลงไป

ไมมกี ารแสดงขอมูล

แสดง histogram

เลนดูภาพครัง้ ละภาพ พรอมกับขอมูลพืน้ ฐาน

แสดงขอมูลรายละเอียด

ออกจากการเลนดูภาพ

กดปุม เพื่ อ ออกจากการเล น ดู ภ าพ กลองจะกลับไปพรอมสำหรับถายภาพอีกครั้ง


สดงขอมูลการถายภาพ แสดงขอมูลการถายภาพเมื่อถายภาพดวยระบบใน Creative Zone ระดับการชดเชยแสง ระดับการชดเชยแสงแฟลช

ปองกันภาพถูกลบ การจัดลำดับ เลขลำดับโฟลเดอร / ลำดับไฟล

ชองรับแสง

Histogram (Brightness/RGB)

ความไวชัตเตอร / เวลาในการบันทึก

การปรับตัง้ Picture Style

ระบบวัดแสง ระบบบันทึกภาพ / ภาพยนตร

ความไวแสง เพิม่ รายละเอียดในสวนสวาง

สมดุลสีขาว คุณภาพในการบันทึก

ลำดับภาพ / จำนวนภาพทัง้ หมด อุณหภูมสิ ี เมือ่ ตัง้ < > สถานะการสงสัญญาณ ของ Eye-Fi Card

ระบบสี วันทีแ่ ละเวลาทีบ่ นั ทึก แนบขอมูลตรวจสอบภาพ ปรับแกสมดุลสีขาว ขนาดไฟล

* เมื่อตั้งคุณภาพเปน RAW+JPEG กลองจะแสดงเฉพาะขนาดไฟล RAW * สำหรับการถายภาพนิ่งในขณะที่ถายภาพยนตร กลองจะแสดงสัญลักษณ * สำหรับการประมวลผลไฟล RAW ในตัวกลอง และใช Creative Filter ปรับแตงภาพ สัญลักษณ จะเปลี่ยนเปน


 สดงข อ มู ล การถ า ยภาพ ตัวอยางการแสดงขอมูลภาพที่ถายดวย Basic Zone

ระบบบันทึกภาพ

การปรับสภาพแสง และผลการปรับ แหลงกำเนิดแสง

* สำหรั บ ภาพที่ ถ า ยด ว ยระบบบั น ทึ ก ภาพใน Basic Zone ข อ มู ล ที่ แ สดงอาจมี รู ป แบบต า งกั น ขึ้ น อยู กั บ ระบบบั น ทึ ก ภาพที่ เ ลื อ กใช

ตัวอยางการแสดงขอมูลของภาพยนตร ความยาวของภาพยนตร เลนดูภาพ

ชัตเตอรและชองรับแสงที่ ใชถา ยภาพยนตร

ระบบถายภาพยนตร ขนาดของไฟล ภาพยนตร

ระบบบันทึก ความละเอียดในการ ถายภาพยนตร

frame rate

เกี่ ย วกั บ การเตื อ นพื้ น ที่ ส ว า งในภาพ

เมื่ อ เมนู [ Highlight alert] ได ถู ก เลื อ กเป น [Enable] บริ เ วณที่ เ ป น ส ว นสว า งของ ภาพจะกระพริ บ ถ า พบว า มี พื้ น ที่ ส ว นสว า งซึ่ ง ไม มี ร ายละเอี ย ดมากเกิ น ไป ให ถ า ย ภาพใหมโดยตั้งระดับการชดเชยแสงไปทางคาลบ เพื่อใหภาพมีรายละเอียดมากขึ้น


 สดงข อ มู ล การถ า ยภาพ เกี่ยวกับการแสดงจุดโฟกัส

ในเมนู [ AF point disp.] เมื่ อ ตั้ ง เป น [Enable] กล อ งจะแสดงจุ ด โฟกั ส ที่ ใ ช จั บ ภาพเป น กรอบสี แ ดง ในภาพที่ เ ล น ดู ด ว ย และถ า โฟกั ส ด ว ยระบบเลื อ กจุ ด โฟกั ส โดย อั ต โนมั ติ จุดโฟกัสที่แสดงรวมกับภาพอาจจะปรากฏพรอมกันหลายๆ จุด และเปนสีแดง

เกี่ยวกับ Histogram

histogram ที่แสดงผลความเขมสวาง(brightness) จะแสดงการกระจายตัวของความ เขมสวางในภาพรวมและความตอเนื่องของการไลระดับ สวน histogram ที่แสดงผลแม สี RGB จะใชสำหรับตรวจสอบความอิ่มตัวและการไลระดับของโทนสี ซึ่งผูใชสามารถ สับเปลี่ยนการแสดงผล histogram สองแบบนี้ดวยการเลือกจากเมนู [ Histogram]

[Brightness] Display (ความสวาง)

ตัวอยาง Histogram

histogram แบบนี้จะมีลักษณะเปนกราฟที่แสดงการกระจายของ ระดั บ ความเข ม สว า งของภาพ ซึ่ ง โทนเข ม ที่ สุ ด จะอยู ท างซ า ยสุ ด ภาพมืดเกินไป และโทนที่สวางที่สุดจะอยูทางขวาสุด โดยแกนตั้งจะเปนตัวแสดง จำนวนพิกเซลของแตละโทน หากจำนวนพิกเซลมีปริมาณมากๆ ทางดานซายของกราฟ ก็หมายถึงภาพนั้นจะมืดเกินไป และใน ภาพปกติ ทำนองกลับกัน หากจำนวนพิกเซลมีปริมาณมากๆ ทางดานขวา ของกราฟ ก็ ห มายถึ ง ภาพนั้ น จะสว า งเกิ น ไป และในกรณี ที่ จำนวน พิกเซลทางดานขวาของกราฟมีมากๆ ภาพนั้นก็อาจจะสูญเสีย รายละเอียดในสวนสวาง histogram แบบ [Brightness] ภาพสวางเกินไป จึ ง มี ป ระโยชน ใ นการตรวจสอบความเข ม สว า งของภาพว า จะเอน เอียงไปทางใด และยังใชตรวจสอบภาพการกระจายของโทนดวย

[RGB] Display

histogram แบบนี้ จะเป น กราฟที่ แ สดงการกระจายของระดั บ ความเข ม สว า งของแต ล ะ แม สี ห ลั ก RGB(Red, Green, Blue) ซึ่ ง แกนนอนของกราฟจะเป น เครื่ อ งบอกแสดง ความเข ม สว า ง โดยโทนเข ม สุ ด จะอยู ท างซ า ย และอ อ นที่ สุ ด จะอยู ท างขวา โดยแกนตั้ ง จะเป น ตั ว แสดงจำนวนพิ ก เซลของแต ล ะโทน หากจำนวนพิ ก เซลทางด า นซ า ยมี จำนวน มากๆ สี นั้ น จะดู ค ล้ำ และไม ส ดใส และถ า จำนวนพิ ก เซลทางด า นขวามี จำนวนมากๆ สี นั้ น จะดู ส ว า งและอิ่ ม ตั ว มากขึ้ น กรณี ที่ จำนวนพิ ก เซลทางด า นซ า ยของสี ใ ดสี ห นึ่ ง มี มากเกิ น ไป ภาพจะขาดสี นั้ น และถ า จำนวนพิ ก เซลทางด า นขวาของสี ใ ดสี ห นึ่ ง มี ม าก เกิ น ไป สี นั้ น ก็ จ ะอิ่ ม ตั ว มากจนขาดรายละเอี ย ด RGB histogram จึ ง ใช ต รวจสอบความ อิ่ ม ตั ว และการไล ร ะดั บ โทนเข ม อ อ นของสี ต า งๆ และสมดุ ล สี ข าวซึ่ ง มี ผ ลต อ ความผิ ด เพี้ ย นของสี


นหาภาพที่ตองการดวยความรวดเร็ว แสดงภาพหลายภาพพรอมกันบนหนาจอ, ภาพดัชนี(Index Display) คนหาภาพที่ตองการไดอยางรวดเร็ว ดวยการแสดงภาพไดพรอมๆ กัน ตั้งแต 4 หรือ 9 ภาพ บนหน า จอเดี ย ว

เปดการแสดงภาพแบบดัชนี ในขณะที่ เ ล น ดู ภ าพ กดปุ ม

หนาจอจะแสดงภาพพรอมๆ กัน 4 ภาพ ภาพที่ ดูลำดับลาสุด จะมีกรอบสวางสีน้ำเงินลอมรอบ กดปุ ม อี ก ครั้ ง หน า จอจะแสดงภาพ พรอมๆ กัน 9 ภาพ และเมื่อตองการเลนดูภาพ แบบ 4 ภาพ หรือเลนดูแบบภาพเดียว ใหกดปุม (9 ภาพ - 4 ภาพ - 1 ภาพ)

เลือกภาพ

หมุนวงแหวน เพื่อเลื่อนกรอบสีน้ำเงิน ในการเลื อ กภาพ หรื อ ใช ปุ ม และ ในการเลื่อนภาพก็ได หมุ น วงแหวน เพื่อเลือกจอภาพลำดับ ถัดไปของภาพดัชนี กดปุม เพื่อเลือกและขยายภาพที่ตองการ เป น ภาพใหญ ภ าพเดี ย วที่ จ อภาพ


 นหาภาพที่ ต อ งการด ว ยความรวดเร็ ว การเลือกดูภาพแบบกาวกระโดด(Jump Display) ขณะเลนดูภาพแบบภาพเดียว ผูใชสามารถจะกาวกระโดดขามลำดับภาพไดเพื่อความ รวดเร็ว ดวยการหมุนวงแหวน

เลือกวิธีกาวกระโดด(JUMP)

ในเมนู [ Image jump w/ จากนั้ น กดปุ ม

ลำดับของภาพที่แสดงอยู

]

ข า มครั้ ง ละภาพ (แสดงทีละภาพ) ข า มครั้ ง ละ 10 ภาพ ข า มครั้ ง ละ 100 ภาพ แสดงภาพตามลำดับวัน(ตามวันที่ถาย) แสดงภาพตามลำดับโฟลเดอร แสดงเฉพาะภาพยนตร (ภาพเคลื่ อ นไหว) แสดงเฉพาะภาพนิ่ง แสดงภาพตามอั น ดั บ (ตามคะแนนภาพ) (น.198) หมุ น วงแหวน เพื่อเลือก

อั น ดั บ

เลือกดูภาพแบบกาวกระโดด กดปมุ

เพื่อเลนดูภาพ

เมื่ อ กล อ งกำลั ง แสดงภาพแบบภาพเดี ย ว ให หมุนวงแหวน กลองจะกระโดดขาม ตามเงือ่ นไขทีไ่ ดปรับตัง้ ไว รูปแบบของ การกาวกระโดด

ตำแหนงของภาพ ทีแ่ สดงอยใู นขณะนี้

เมื่ อ ต อ งการค น หาภาพถ า ยโดยไล ต ามลำดั บ วั น ที่ ถ า ยภาพ เลื อ ก [Date] แล ว หมุ น วง แหวน เพื่ อ แสดงวั น ที่ ถ า ยภาพ เมื่ อ ต อ งการค น หาภาพถ า ยโดยไล ต ามลำดั บ โฟลเดอร เลื อ ก [Folder] ถ า ในการ ด แผ น เดี ย วกั น มี ทั้ ง [Movies] และ [Stills] เลื อ กอั น ใดอั น หนึ่ ง เพื่ อ เล น ดู ภ าพ นิ่ ง หรื อ ภาพยนตร หากไม มี ภ าพใดที่ ต รงกั น กั บ [Rating] ที่ ป รั บ ตั้ ง ไว จะไม ส ามารถใช ว งแหวน ในการหมุนเปลี่ยนภาพได


ยายดูภาพ

ผูใชสามารถขยายดูภาพจากจอ LCD ไดตั้งแตขนาด 1.5 เทาจนถึง 10 เทา

ขยายดู ภ าพ ในขณะเล น ดู ภ าพ กดปุ ม ภาพจะถู ก ขยายให ใ หญ ขึ้ น หากต อ งการขยายภาพให ใ หญ ขึ้ น อี ก กดปุ ม ค า งไว ภาพจะถู ก ขยายให ใ หญ ขึ้ น เรื่อยๆ จนถึงระดับการขยายภาพสูงสุด กดปุ ม เพื่อลดการขยายภาพ ถ า กดค า งไว ภาพจะถู ก ย อ ลงจนกลั บ มาเป น ขนาดปกติ

เลื่อนดูสวนตางๆ ของภาพ ใช เพื่ อ เลื่ อ นดู ส ว นต า งๆ ของภาพที่ ถูกขยาย หากตองการออกจากการขยายดูภาพ กดปุม กลองจะแสดงภาพแบบภาพเดี่ยวใน ขนาดปกติ

ผูใชสามารถหมุนวงแหวน

เพื่อดูภาพอื่นๆ โดยคงอัตราขยายอยู

ไมสามารถขยายดูภาพที่กลองแสดงเมื่อเพิ่งถายภาพเสร็จโดยทันที ไมสามารถขยายดูภาพยนตรได


หมุนภาพ ผู ใ ช ส ามารถหมุ น ภาพที่ แ สดงอยู ให มี ทิ ศ ทางตามที่ ต อ งการ

เลือก [Rotate] (หมุ น ภาพ)

ในแถบ [ ] เลือก [Rotate] จากนั้ น กด

เลือกภาพที่ตองการ ใชวงแหวน

เลือกภาพที่ตองการหมุน

ผูใชสามารถเลือกภาพไดจากภาพดัชนี

หมุ น ภาพ

แต ล ะครั้ ง ที่ ก ดปุ ม เข็ ม นาซิ ก า ดั ง นี้ :

ภาพจะถูกหมุนตาม

เมื่ อ ต อ งการหมุ น ภาพอื่ น ๆ ให ย อ นกลั บ ไปที่ 2 และ 3 เมื่ อ ต อ งการออกจากการปรั บ หมุ น และกลั บ สู เมนู กดปุ ม

ถ า ได ป รั บ ตั้ ง [ Auto rotate] ไปที่ (น.218) ก อ นที่ จ ะถ า ยภาพแนวตั้ ง ก็ ไ ม จำเป น ต อ งหมุ น ภาพเอง ตามที่ อ ธิ บ ายไว ข า งต น เมื่ อ ภาพถู ก หมุ น แล ว แต ยั ง มี ทิ ศ ทางไม ถู ก ต อ งเมื่ อ นำไปเล น ดู ให ป รั บ ตั้ ง เมนู [ Auto rotate] เป น ไม ส ามารถหมุ น ภาพยนตร ไ ด


รับตั้งอันดับภาพนิ่งและภาพยนตร

ภายในเมนู [ Rating] ผู ใ ช ส ามารถตั้ ง อั น ดั บ ให กั บ ภาพนิ่ ง และภาพยนตร ไ ด โดยมี อั น ดั บ ตั้ ง แต 1-5 ( )

เลือก [Rating] (คะแนน) ในเมนู เ ลื อ ก [

Rating] จากนั้นกด

เลือกภาพหรือภาพยนตร

หมุนวงแหวน เพื่อเลือกภาพนิ่ง หรื อ ภาพยนตร ที่ ต อ งการให อั น ดั บ สามารถปรับใหการแสดงภาพเปนแบบครั้งละ สามภาพ โดยกดปุม และหากตอง การใหกลับไปแสดงภาพแบบภาพเดียว กดปุม

ให อั น ดั บ ภาพนิ่ ง หรื อ ภาพยนตร กดปุม

เพื่อเลื่อนตัวแสดงอันดับ (Rating)

ทั้งภาพนิ่งและภาพยนตรที่ถูกใหอันดับไวแลว จะถู ก นั บ จำนวนสำหรั บ แต ล ะอั น ดั บ หากตองการใหอันดับภาพอื่นๆ อีก ใหทำซ้ำใน ขั้ น ตอนที่ 2 และ 3 เมื่อตองการออกจากการปรับตั้งและกลับไปสู หน า แสดงเมนู ให ก ดปุ ม


 รั บ ตั้ ง อั น ดั บ ภ า พ นิ่ ง แ ล ะ ภ า พ ย น ต ร จำนวนรวมของภาพนิ่งและภาพยนตรจะไมเกิน 3 หลัก (3-999) หากจำนวนภาพที่ ถูกใหอันดับถึงหรือมากกวา 1000 ภาพ กลองจะแสดงสัญลักษณ [###] แทนตัวเลข

การใช ป ระโยชน จ ากการให อั น ดั บ

ด ว ยเมนู [ Image jump w/ ] ผู ใ ช ส ามารถปรั บ ให ก ล อ งแสดงเฉพาะภาพที่ ถู ก ให อั น ดั บ ได ด ว ยเมนู [ Slide Show] ผู ใ ช ส ามารถปรั บ ให ก ล อ งเล น ดู ( Playback) เฉพาะภาพที่ ถู ก ให อั น ดั บ ได ด ว ยซอฟท แ วร ที่ ไ ด ม าพร อ มกั บ กล อ ง ผู ใ ช ส ามารถเลื อ กเฉพาะภาพนิ่ ง และภาพยนตร ที่ ถู ก ให อั น ดั บ ได เมื่อใชระบบปฏิบัติการ Window Vista และ Window 7 ผูใชสามารถตรวจสอบการใหอันดับ จากข อ มู ล ของไฟล หรื อ จากซอฟท แ วร ที่ ไ ด ม าพร อ มกั บ ตั ว กล อ ง


ชจอปรับตั้งแบบเร็วขณะเลนดูภาพ เมื่ อ กดปุ ม ในขณะเล น ดู ภ าพ ผู ใ ช ส ามารถปรั บ ตั้ ง ฟ ง ก ชั่ น ต า งๆ ดั ง ต อ ไปนี้ : [ Protect images, Rotate, Rating, Creative filters, Resize(เฉพาะ JPEG), Highlight alert, AF point display และ Image jump w/ ] สำหรั บ ภาพยนตร เฉพาะฟ ง ก ชั่ น ที่ เ ป น ตั ว เข ม เท า นั้ น ที่ เ ลื อ กปรั บ ตั้ ง ได

กดปุ ม

ในขณะเล น ดู ภ าพ กดปุ ม

:

หน า จอจะแสดงจอภาพของการปรั บ ตั้ ง แบบ รวดเร็ ว

เลือกฟงกชั่น และปรับตั้ง กดปุ ม

เพื่ อ เลื อ กฟ ง ก ชั่ น

ชื่ อ ของฟ ง ก ชั่ น ที่ เ ลื อ กและกำลั ง ปรั บ ตั้ ง อยู ใ น ขณะนั้นจะปรากฏอยูทางดานลางของจอภาพ กดปุ ม

เพื่ อ เลื อ กฟ ง ก ชั่ น

หากตองการเลือก Creative filters และ Resize ใหกดปุม และปรับตั้งฟงกชั่น โดยดูราย ละเอียดที่หนา 220 สำหรับ Creative filters และหนา 222 สำหรับ Resize หากตองการยก เลิ ก ให ก ดปุ ม

ออกจากการปรับตั้ง กดปุม รวดเร็ ว

เพื่อปดจอของการปรับตั้งอยาง


 ช จ อปรั บ ตั้ ง แบบเร็ ว ขณะเล น ดู ภ าพ หากต อ งการหมุ น ภาพ ให ป รั บ ตั้ ง เมนู [ Auto rotate] เป น หากปรั บ ตั้ ง เป น อย า งอื่ น จะหมุ น ภาพไม ไ ด หากถายภาพโดยตั้งเปน RAW+JPEG กลองจะแสดงภาพ RAW กดปุ ม ระหว า งเล น ดู ภ าพแบบดั ช นี กล อ งจะเปลี่ ย นไปแสดงภาพแบบภาพเดี ย ว และจอสำหรับการปรับตั้งอยางรวดเร็วจะปรากฏขึ้น และถากดปุม อีกครั้ง กลอง จะกลั บ ไปแสดงภาพแบบดั ช นี หากไฟล ภ าพนั้ น ไม ไ ด ถู ก ถ า ยด ว ยกล อ ง EOS 60D จะมี ข อ จำกั ด ในการปรั บ ตั้ ง ฟ ง ก ชั่ น ต า งๆ


ดูภาพยนตร มี วิ ธี ก ารง า ยๆ สามวิ ธี ใ นการเล น ดู ภ าพยนตร ที่ ถ า ย

ดูภาพจากเครื่องรับโทรทัศน (น.209, 212) ใช ส าย AV ที่ ไ ด ม าพร อ มกั บ กล อ ง หรื อ สาย HDMI HTC-100 (อุปกรณเสริมพิเศษ) ในการ เชื่ อ มต อ ระหว า งกล อ งกั บ โทรทั ศ น ผู ใ ช จึ ง สามารถเล น ดู ภ าพยนตร แ ละภาพนิ่ ง ที่ ถ า ยไว จากจอโทรทั ศ น ไ ด และหากผู ใ ช มี โ ทรทั ศ น ที่ มี คุ ณ ภาพระดั บ HDMI และเชื่ อ มต อ กล อ งกั บ โทรทัศน ก็สามารถดูภาพยนตรระดับ Full HD 1920x1080 และ HD (1280X720) ที่มี คุณภาพ สู ง

ภาพยนตร ที่ บั น ทึ ก ไว ใ นการ ด สามารถเล น ดู ไ ด เ ฉพาะกั บ เครื่ อ งเล น ที่ ส นั บ สนุ น ไฟล ส กุ ล .MOV อุ ป กรณ บั น ทึ ก ข อ มู ล แบบฮาร ด ดิ ส ค จะไม มี ช อ งเสี ย บสาย HDMI จึ ง ไม ส ามารถ เชื่ อ มต อ กั บ กล อ งด ว ยสาย HDMI เพื่ อ เล น ดู ภ าพได แม ก ล อ งจะเชื่ อ มต อ กั บ เครื่ อ งบั น ทึ ก แบบฮาร ด ดิ ส ค ด ว ยสาย USB ภาพยนตร แ ละ ภาพนิ่ ง ก็ ไ ม ส ามารถเล น หรื อ บั น ทึ ก ในฮาร ด ดิ ส ค ไ ด


 ภาพยนตร เลนดูภาพจากจอ LCD ของกลอง (น.204, 208) ผู ใ ช ส ามารถเล น ดู ภ าพยนตร ไ ด จ ากจอ LCD ของกล อ ง และสามารถตั ด ต อ ส ว นต น และท า ย ของภาพยนตรได นอกจากนี้ สามารถเลนดูภาพ นิ่ ง และภาพยนตร ที่ อ ยู ใ นการ ด ได โ ดยอั ต โนมั ติ แบบสไลดโชว หลังจากนำไฟลภาพยนตรไปตัดตอและแกไขดวยคอมพิวเตอรแลว จะไมสามารถนำกลับมาเลนดูในตัวกลองได

เลนดูและตัดตอภาพยนตรดวยคอมพิวเตอร (อ า นคู มื อ การใช ซ อฟท แ วร ZoomBrowser EX/ImageBrowser ซึ่ ง เป น เอกสารแบบ PDF )

ไฟล ภ าพยนตร ที่ ถู ก บั น ทึ ก ไว ใ นการ ด สามารถถ า ย โอนเขาสูคอมพิวเตอรสวนตัว และสามารถเลนดูหรือ ปรั บ แต ง โดยใช ซ อฟท แ วร ZoomBrowser EX/ ImageBrowser (ให ม าพร อ มกั บ กล อ ง) ผู ใ ช ยั ง สามารถจั บ ภาพนิ่ ง ออกมาจากภาพยนตร ที่ ถ า ยได และบั น ทึ ก ไว ต า งหากเหมื อ นเป น ภาพนิ่ ง ภาพหนึ่ ง

เมื่ อ ต อ งการเล น ดู ภ าพอย า งราบลื่ น ในคอมพิ ว เตอร ส ว นตั ว คอมพิ ว เตอร ที่ ใ ช ต อ ง เป น รุ น ที่ มี ส มรรถนะสู ง และมี ซ อฟท แ วร ZoomBrowser EX/ImageBrowser อ า น คำแนะนำการใช ซ อฟท แ วร ซึ่ ง เป น เอกสาร PDF จากคู มื อ การใช ซ อฟท แ วร ใ นแผ น ซี ดี หากต อ งการใช ซ อฟท แ วร อื่ น ๆ ในการดู ภ าพยนตร หรื อ ตั ด ต อ ภาพยนตร ตรวจสอบ ก อ นว า ซอฟท แ วร นั้ น สนั บ สนุ น ไฟล ส กุ ล .MOV ซึ่ ง สามารถดู ร ายละเอี ย ดได จ ากผู ผลิ ต ซอฟท แ วร นั้ น ๆ


ารเลนภาพยนตร

สั่ ง เล น ดู ภ าพ กดปุ ม

เพื่ อ เล น ดู ภ าพที่ ถ า ยไว

เลือกภาพยนตร หมุนวงแหวน

เพื่ อ เลื อ กภาพ

สั ญ ลั ก ษณ จะปรากฏขึ้นที่มุมบน ดานซายของจอภาพ เพื่อบอกวาคือภาพยนตร หากเล น ดู ภ าพแบบดั ช นี ( ภาพเล็ ก ) ภาพที่ เ ป น ภาพยนตร จ ะมี รู ป อยู ท างด า นซ า ย ภาพยนตร จะไม ส ามารถเล น ดู ไ ด เ มื่ อ แสดงในขนาดดั ช นี ดั ง นั้ น กด เพื่อปรับใหการแสดง ภาพเปนแบบภาพเดี่ยวเสียกอน

เมื่อตองการเลนดูภาพเดี่ยว กด

แถบการเล น ดู ภ าพยนตร จ ะปรากฏที่ ด า นล า ง ของจอภาพ

เลนดูภาพยนตร กดปุม จากนั้นกด กลองจะเริ่มเลนภาพยนตร สามารถหยุดการเลนชั่วคราว ไดดวยการกดปุม

ลำโพง

ขณะเลนดูภาพยนตร สามารถปรับเสียงไดดวย การหมุ น วงแหวน สำหรั บ รายละเอี ย ดมากขึ้ น เกี่ ย วกั บ การเล น ดูภาพ ดูหนาถัดไป


 ารเล น ภาพยนตร ฟงกชนั่

นิยามของฟงกชนั่ ตางๆ ในระบบเลนดูภาพ กลับไปสรู ะบบเลนดูภาพแบบภาพเดีย่ ว กดปุม เพื่อสลับระหวางเลนกับหยุดชั่วคราว ปรับความเร็วในการเลนภาพใหชา ลง โดยกดปมุ ความเร็วในการเลนภาพยนตรจะปรากฏทีม่ มุ ขวาบนของจอภาพ เลนดูภาพยนตรจากเฟรมแรก แตละครัง้ ทีก่ ดปมุ กลองจะเลนยอนหลังกลับไปทีละหนึง่ เฟรม ถากดปุม คางไว ภาพยนตรจะเลนยอนกลับ แตละครัง้ ทีก่ ดปมุ กลองจะเลนภาพยนตรแบบเฟรมตอเฟรม ถากดปุม คางไว กลองจะเลนเฟรมลำดับถัดๆ ไปอยางรวดเร็ว เลนเฟรมสุดทายของภาพยนตร เลนและปรับแตงภาพ (น.206) ตำแหนงของภาพยนตรในปจจุบนั Playback time ผใู ชสามารถปรับระดับเสียงของไมโครโฟนในตัว (น.204) โดยหมุนวงแหวน

เมื่ อ ใช แ บตเตอรี LP-E6 ที่ ป ระจุ ไ ฟเต็ ม ระยะเวลาที่ เ ล น ดู ภ าพได ที่ อุ ณ หภู มิ 23 ํ C /73 ํ F จะเป น ดั ง นี้ : ประมาณ 4 ชั่ ว โมง ในระหว า งเล น ดู ภ าพแบบภาพเดี่ ย ว กดปุ ม เพื่ อ แสดงข อ มู ล ในการถ า ย ภาพยนตร (น.266) ถ า ผู ใ ช ถ า ยภาพนิ่ ง ในระหว า งที่ ถ า ยภาพยนตร ในขณะที่ เ ล น ดู ภ าพยนตร ภาพ นิ่ ง จะปรากฏค า งอยู บ นจอภาพประมาณ 1 วิ น าที เมื่ อ ต อ กล อ งเข า กั บ จอโทรทั ศ น (น.209, 212) เมื่ อ ต อ งการเล น ดู ภ าพและต อ งการ ปรั บ เสี ย งให ป รั บ ที่ โ ทรทั ศ น ( การหมุ น วงแหวน จะไม ส ามารถปรั บ เสี ย งได )


การตัดตอสวนหัวและทายของภาพยนตร สามารถตั ด ต อ และปรั บ แต ง ส ว นหั ว และท า ยสุ ด ของภาพยนตร โดยปรั บ เพิ่ ม ในขั้ น ละ 1 วิ น าที

เมื่ อ เข า สู ห น า จอของการดู ภ าพยนตร เลือก [ ] หนาจอจะแสดงรายการของการตัดตอ

กำหนดสวนที่ตองการตัดตอ เลื อ กตั ด ต อ ส ว นหั ว หรื อ ส ว นท า ย จากนั้นกด กดปุ ม เพื่ อ เลื่ อ นเฟรมให เ ร็ ว ขึ้ น หรื อ หมุนวงแหวน (เฟรมถัดไป) เพื่อกำหนด สวนที่ตองการตัดตอ จากนั้นกดปุม หลังจากเลือกจุดที่ตองการตัดตอไดแลว กดปุม แถบสี น้ำ เงิ น ซึ่ ง ปรากฏที่ ส ว นบนของ ภาพจะแสดงสวนที่เหลือของภาพยนตร

ตรวจสอบการตัดตอ

กดปุ ม จากนั้ น กดปุ ม เพื่ อ เล น ดู ภ าพส ว นที่ เ ป น แถบสี น้ำ เงิ น หากต อ งการเปลี่ ย น ให ย อ นกลั บ สู ขั้ น ตอนที่ 2 หากตองการยกเลิกการตัดตอ เลือก [ ] จากนั้ น กดปุ ม

บั น ทึ ก ภาพยนตร

เลื อ ก [ ] จากนั้ น กดปุ ม หนาจอจะแสดงตัวเลือกในการบันทึก ถ า ต อ งการบั น ทึ ก เป น ภาพยนตร ใ หม (ไฟล ใ หม ) เลื อ ก [New file] หรื อ ถ า ต อ งการ บันทึกทับตนฉบับ เลือก [Overwrite] จากนั้นกด

การตั ด ต อ ภาพยนตร นั้ น มี ลำดั บ การปรั บ เลื อ กตำแหน ง ขั้ น ละ 1 วิ น าที ( ตำแหน ง ที่ ถู ก บ ง ชี้ โ ดย ) ตำแหน ง การตั ด ต อ จริ ง อาจมี ค วามคลาดเคลื่ อ นจากตำแหน ง ที่ ระบุ เ ล็ ก น อ ย หากการ ด ไม มี พื้ น ที่ ว า งพอสำหรั บ บั น ทึ ก ไฟล ใ หม ไ ด [Newfile] จะไม ส ามารถเลื อ กได

ฟ ง ก ชั่ น อื่ น ๆ ในการตั ด ต อ ภาพยนตร จะอยู ใ นซอฟท แ วร ZoomBrowser EX/ ImageBrowser (ซอฟท แ วร ที่ ไ ด ม าพร อ มกั บ กล อ ง)


ไลดโชว (เลนดูภาพอัตโนมัต)ิ

ผูใชสามารถสั่งเลนดูภาพในการดโดยอัตโนมัติแบบสไลดโชวได

เลือก [Slide show]

ในแถบ [ ] เลือก [Slide show] จากนั้นกดปุม

จำนวนภาพที่จะเลน

เลือกภาพที่ตองการเลน กดปุม จากนั้ น กด

เพื่อเลือกตัวเลือกที่ตองการ

(ทุกภาพ/ภาพเคลื่อนไหว/ภาพนิ่ง)

[All images/Movies/Stills]

กดปุม เพื่อเลือกรายการใดรายการหนึ่ง ต อ ไปนี้ : [ All images/ Movies/ Stills]. จากนั้ น กดปุ ม

[Date/Folder/Rating] (วันที่/โฟลเดอร/คะแนน) กดปุม Rating]

เพือ่ เลือก [

Date/

Folder/

เมื่ อ < > สวางขึ้น กดปุ ม กดปุม เพื่ อ เลื อ กรู ป แบบที่ ต อ งการ จากนั้ น กดปุ ม รายการ

นิยามของรายการตางๆ ในระบบเลนดูภาพ ภาพนิง่ และภาพยนตรทงั้ หมดในการดจะถูกนำมาเลน ภาพนิง่ และภาพยนตรทงั้ หมดทีถ่ า ยในวันทีเ่ ลือกจะถูกเลน ภาพนิง่ และภาพยนตรทงั้ หมดในโฟลเดอรจะถูกเลน เลนเฉพาะภาพยนตรในการด เลนเฉพาะภาพนิง่ ในการด เลนเฉพาะภาพนิง่ และภาพยนตรทถี่ กู ใหอนั ดับ


 ไลด โ ชว ( เล น ดู ภ าพอั ต โนมั ติ ) เลือก [Set up] (ตั้งคา) ตามที่ตองการ

กดปุม เพื่อเลือกตัวเลือก [Set up] จากนั้ น กด เลื อ ก [Display time] (ภาพนิ่ ง ) [Repeat] และ [Transition effect] จากนั้ น กดปุ ม

[ระยะเวลาที่ เ ล น ]

[เวลาในการแสดงภาพ]

[ลู ก เล น เปลี่ ย นภาพ]

[เล น ซ้ำ ]

เริ่มสไลดโชว

กดปุม เพื่อเลือกตัวเลือก [Start] (เริ่ ม ) จากนั้ น กด หลังจาก [Loading image...] (กำลังโหลดภาพ) ปรากฏขึ้ น สองสามวิ น าที กล อ งจะเริ่ ม เล น สไลดโชว

ออกจากสไลดโชว เมื่อตองการเลิกเลนภาพแบบสไลดโชว กดปุ ม หากต อ งการหยุ ด เล น สไลด โ ชว ชั่ ว คราว กดปุ ม ปรากฏขึ้ น ที่ ส ว นบนด า นซ า ยของจอภาพ กดปุ ม

เพื่ อ หยุ ด ชั่ ว คราว จะมี อี ก ครั้ ง ถ า ต อ งการเล น ต อ ไป

ขณะเล น ดู ภ าพอั ต โนมั ติ สามารถเปลี่ ย นรู ป แบบการเล น ด ว ยการกดปุ ม ในขณะเล น ดู ภ าพ สามารถปรั บ เสี ย งดั ง หรื อ ค อ ยได โ ดยหมุ น วงแหวน ขณะที่ ห ยุ ด การเล น ชั่ ว คราว สามารถเลื่ อ นไปดู ภ าพต อ ๆ ไปโดยหมุ น วงแหวน ในขณะเล น ภาพแบบสไลด โ ชว ระบบตั ด พลั ง งานอั ต โนมั ติ จ ะไม ทำงาน ระยะเวลาในการแสดงภาพแต ล ะภาพอาจต า งกั น ขึ้ น อยู กั บ ภาพ หากต อ งการดู ส ไลด โ ชว ที่ จ อโทรทั ศ น ดู ห น า 209-212


ดูภาพจากจอโทรทัศน ผูใชสามารถดูภาพยนตรและภาพนิ่งที่ถายไวจากจอโทรทัศน กอนที่จะตอเชื่อมหรือถอด สายตอเชื่อมระหวางกลองกับโทรทัศน ใหปดสวิตซของกลองและโทรทัศนเสียกอน * ปรับระดับเสียงของภาพยนตรไดที่เครื่องรับโทรทัศน * บางสวนของภาพยนตรอาจจะถูกตัดออกไปจากจอภาพ ขึ้นอยูกับโทรทัศนที่ใชเลน

ดูภาพจากโทรทัศนแบบ HD (High-Definition) ตองตอเชื่อมดวยสาย HDMI HTC-100 (อุปกรณเสริมพิเศษ)

ตอสาย HDMI เขากับตัวกลอง หันหัวเสียบดานที่มีโลโก < HDMI MINI> ไปทาง ด า นหลั ง ของกล อ ง โดยต อ เข า กั บ ช อ งเสี ย บ

<HDMI OUT>

ตอสาย HDMI ไปยังเครื่องรับโทรทัศน ตอสาย HDMI เขากับชองเสียบ HDMI ของเครื่อง รั บ โทรทั ศ น

เปดเครื่องรับโทรทัศน และปรับใหรับ สัญญาณวิดโี อ เพือ่ เลือกจุดตอเชือ่ ม ปรับสวิตซของกลองไปที่


 ภาพจากจอโทรทั ศ น กดปุ ม

ภาพจากกลองจะปรากฏบนจอโทรทัศน (ไมมี ภาพหรื อ รายการใดๆ ปรากฏบนจอ LCD ของกลอง) ภาพที่ปรากฏบนจอโทรทัศน จะเลนดวยความ ละเอียดที่เหมาะสมที่สุดโดยอัตโนมัติ

กดปุม เพื่อเปลี่ยนรูปแบบของการ แสดงภาพ ถาตองการเลนภาพยนตร ดูหนา 204

ห า มใช ส ายต อ เชื่ อ มแบบอื่ น ๆ มาต อ เข า กั บ ช อ งเสี ย บ <HDMI OUT> ของกล อ ง นอกจากที่ ไ ด ม าพร อ มตั ว กล อ ง เพราะอาจทำให ก ล อ งเสี ย หายได เครื่ อ งรั บ โทรทั ศ น บ างรุ น อาจไม ส ามารถเล น ภาพจากกล อ งได ในกรณี นี้ ให ใ ช ส าย AV ในการต อ เชื่ อ มกั บ โทรทั ศ น ไม ส ามารถใช ช อ งเสี ย บ <A/V OUT> พร อ มๆ กั น กั บ <HDMI OUT>


 ภาพจากจอโทรทั ศ น ดูภาพจากโทรทัศนที่ไมใช HDMI CEC

เมื่อตอเชื่อมจอโทรทัศนแบบ HDMI CEC* เขากับตัวกลอง ดวยสายตอเชื่อม HDMI สามารถ ใชรีโมทของโทรทัศนในการควบคุมการเลนภาพได

* การควบคุ ม อุ ป กรณ HDMI หลายชนิ ด ด ว ยรี โ มทอั น เดี ย วเป น ฟ ง ก ชั่ น มาตรฐานของระบบ HDMI

เลือก [Ctrl over HDMI] (ควบคุมผาน HDMI) ในแถบ [ ] เลือก [Ctrl over HDMI] จากนั้นกดปุม เลือก [Enable] แลวกด เมื่ อ ต อ เชื่ อ มกล อ งกั บ โทรทั ศ น แ ล ว โทรทั ศ น จะปรับการรับสัญญาณจากชองเสียบ HDMI โดย อัตโนมัติ และเมื่อผูใชกดปุม ก็สามารถ จะใช รี โ มทของเครื่ อ งรั บ โทรทั ศ น ใ นการเล น ภาพได

เมนูของภาพนิ่ง เมนูของภาพยนตร ยอนกลับ ภาพดั ช นี 9 ภาพ สไลด โ ชว แสดงข อ มู ล การถ า ยภาพ หมุนภาพ เลนภาพยนตร

เลือกภาพนิ่งหรือภาพยนตร

เล็ ง รี โ มทของโทรทั ศ น ไ ปที่ โ ทรทั ศ น แล ว กดปุ ม เพื่อเลือกภาพ จากนั้นกดปุม Enter จะมี เ มนู ป รากฏขึ้ น ซึ่ ง เมนู ข องภาพนิ่ ง และ ภาพยนตรอาจมีความแตกตางกัน กดปุม เพื่อเลือกตัวเลือกที่ตองการ จากนั้น กดปุม Enter สำหรั บ สไลด โ ชว ให ก ดปุ ม ของรี โ มทเพื่ อ เลือกรายการ จากนั้นกดปุม Enter

หากเลือก [Return] และกด Enter เมนูจะหาย ไป และผูใชสามารถกดปุม เพื่อเลือกภาพ ได

เครื่ อ งรั บ โทรทั ศ น บ างรุ น จะต อ งตั้ ง ระบบของการเชื่ อ มต อ HDMI CEC เสี ย ก อ น สำหรั บ รายละเอี ย ด อ า นจากคู มื อ ของเครื่ อ งรั บ โทรทั ศ น สำหรั บ เครื่ อ งรั บ โทรทั ศ น บ างรุ น ซึ่ ง ถึ ง แม จ ะระบุ ว า สนั บ สนุ น HDMI CEC ก็ อ าจทำงาน ผิ ด ปกติ ในกรณี นี้ ให ถ อดสายต อ เชื่ อ ม HDMI ออก แล ว ตั้ ง เมนู [ Ctrl over HDMI] เป น [Disable] แล ว จึ ง ใช ก ล อ งในการควบคุ ม การเล น ภาพ


 ภาพจากจอโทรทั ศ น ดูภาพจากโทรทัศนที่ไมใชระบบ HD (High-Definition) ตอสาย AV เขากับตัวกลอง หั น ปลั๊ ก ด า นที่ มี สั ญ ลั ก ษณ <Canon> มาทาง ด า นหน า ของกล อ ง แล ว เสี ย บเข า กั บ ช อ งเสี ย บ <A/V OUT> ของกลอง

ตอสาย AV ไปยังเครื่องรับโทรทัศน ตอสาย AV ไปที่ชองเสียบ VIDEO IN และกับชอง เสียบ AUDIO IN ของเครื่องรับโทรทัศน

เปดเครื่องรับโทรทัศน และปรับใหรับ สัญญาณวิดโี อ เพือ่ เลือกจุดตอเชือ่ ม ปรับสวิตซของกลองไปที่ กดปุ ม ภาพจากกลองจะไปปรากฏที่โทรทัศน (จะไมมีภาพใดๆ ปรากฏที่จอ LCD ของกลอง) ดู วิ ธี สั่ ง เล น ภาพยนตร หน า 204

หามใชสายตอเชื่อม AV แบบอื่นๆ นอกจากที่ไดมาพรอมตัวกลอง อาจจะดูภาพ ไมไดถาใชสายชนิดอื่น หากระบบวิ ดี โ อที่ ตั้ ง ไว ใ นตั ว กล อ งไม เ ข า กั บ ระบบของโทรทั ศ น การแสดงภาพ จะผิ ด ปกติ ปรั บ ตั้ ง ระบบวิ ดี โ อให ต รงกั น ด ว ยเมนู [ Video system]


องกันภาพถูกลบ

การปองกันไมใหภาพที่ถายแลวถูกลบไปโดยไมเจตนา

เลือก [Protect images] (ปองกันภาพ) ในแถบ [ ] เลือก [Protect images] จากนั้ น กด หนาจอจะแสดงรายการตัวเลือกของการ ปองกันภาพถูกลบ

เลือกภาพที่ตองการปองกันถูกลบ

เลือก [Select images] (เลือกภาพ) จากนั้ น กดปุ ม หมุนวงแหวน เพื่อเลือกภาพที่ตอง การปองกันถูกลบ แลวกด

สัญลักษณของการ ปองกันภาพถูกลบ

เมื่อภาพถูกปองกันการลบแลว จะมีสัญลักษณ ปรากฏขึ้นบนจอภาพ หากตองการยกเลิกการปองกันลบภาพสำหรับ ภาพนั้ น ๆ ให ก ดปุ ม สั ญ ลั ก ษณ จะหายไป หากตองการปองกันภาพอื่นๆ ถูกลบ ให เ ริ่ ม ปรั บ ตั้ ง จากขั้ น ตอนที่ 2 เมื่อตองการออกจากการปรับตั้งนี้ ใหกดปุม กล อ งจะกลั บ มาแสดงเมนู อี ก ครั้ ง


 องกั น ภาพถู ก ลบ ปองกันภาพทุกๆ ภาพในโฟลเดอรและในการดถูกลบ ปองกันไมใหภาพทุกๆ ภาพในโฟลเดอรและในการดถูกลบ ดวยการสั่งเพียงครั้งเดียว เมื่อเมนู [ Protect images] ไดตงั้ เปน [All images in folder] หรือ [All images on card] ภาพทุกๆ ภาพ ในโฟลเดอรและในการดจะถูกปองกันการลบไวทั้งหมด หากต อ งการยกเลิ ก การป อ งกั น ภาพถู ก ลบ เลื อ ก [Unprotect all images in folder] หรือ [Unprotect

all images on card]

หากผู ใ ช ฟ อร แ มทการ ด (น.48) ภาพที่ ถู ก ป อ งกั น ลบ จะถู ก ลบไปด ว ย สามารถป อ งกั น ภาพยนตร ถู ก ลบได เ ช น กั น เมื่ อ ภาพได ถู ก ตั้ ง การป อ งกั น ลบไว แ ล ว จะไม ส ามารถลบได ด ว ยคำสั่ ง ใดๆ ในตั ว กล อ ง หากต อ งการลบภาพนั้ น จะต อ งยกเลิ ก การป อ งกั น เสี ย ก อ น หากผู ใ ช สั่ ง ลบภาพทั้ ง หมด (น.216) จะเหลื อ เพี ย งภาพที่ ถู ก ป อ งกั น ลบเท า นั้ น ที่ ยั ง คงอยู เป น รู ป แบบที่ ส ะดวกเมื่ อ ต อ งการลบภาพอื่ น ๆ ที่ ไ ม ต อ งการทิ้ ง ไปในคราวเดี ย ว


การลบภาพ ผูใชสามารถจะเลือกภาพและลบภาพทีละภาพ หรือลบทั้งกลุม โดยภาพที่มีการปองกัน การลบภาพไวจะไมถูกลบ (น.213) เมือ่ ภาพใดภาพหนึง่ ถูกลบแลว จะไมสามารถกคู นื กลับมาไดอกี ควรตรวจสอบให แนใจวาไมตองการภาพนั้นแลวกอนที่จะสั่งลบ และเพื่อปองกันภาพสำคัญไมให ถูกลบไปโดยไมไดตงั้ ใจ ใหสงั่ ปองกันการลบภาพนัน้ เสียกอน และเมือ่ สัง่ ลบไฟล ภาพแบบ RAW+JPEG กลองก็จะลบทั้งไฟล RAW และ JPEG ไปพรอมๆ กัน

ลบภาพครั้งละภาพ เลนดูภาพที่ตองการลบ กดปุ ม

เมนู ข องการลบภาพจะปรากฏขึ้ น ที่ ด า นล า งของจอภาพ

ลบภาพ

เลือก [Erase] (ลบ) จากนั้ น กดปุ ม ภาพที่เลนดูอยูจะถูกลบไป

ทำเครื่องหมาย ดวยการทำเครื่องหมาย ภายในเวลาเดี ย วกั น

กับภาพที่ตองการลบ เพื่อลบภาพเปนกลุม ใหกับภาพตางๆ ที่ตองการลบ เพื่อสั่งลบภาพหลายๆ ภาพ

เลือก [Erase images] (ลบภาพ)

ในแถบ [ ] เลือก [Erase images] จากนั้ น กดปุ ม


 องกั น ภาพถู ก ลบ (เลือกและลบภาพ)

เลือก [Select and erase images]

เลือก [Select and erase images] จากนั้ น กดปุ ม ภาพจะปรากฏที่จอ LCD หากตองการเลนดูภาพครั้งละ 3 ภาพ กดปุม และถาตองการกลับไปดูภาพแบบ ภาพเดี่ ย ว กดปุ ม

เลือกภาพที่ตองการลบ หมุนวงแหวน ลบ จากนั้ น กดปุ ม

เพื่อแสดงภาพที่ตองการ

สัญลักษณ จะปรากฏขึ้นบริเวณดานบน ซายของภาพ หากตองการลบภาพอื่นๆ ใหทำซ้ำตามขั้นตอนที่ 3

ลบภาพ กดปุ ม เลื อ ก [OK] จากนั้ น กดปุ ม ภาพที่ เ ลื อ กทำเครื่ อ งหมายไว จ ะถู ก ลบ

ลบภาพทุกๆ ภาพในโฟลเดอร หรือลบทุกๆ ภาพในการด ผู ใ ช ส ามารถลบภาพทุ ก ๆ ภาพในโฟลเดอร ห รื อ ในการ ด ได ใ นเวลาเดี ย วกั น เมื่ อ เมนู [ Erase images] ได ถู ก ตั้ ง เป น [All images in folder] หรื อ [All images on card] กลองจะลบภาพทุกๆ ภาพในโฟลเดอร หรือทุกๆ ภาพในการด

หากตองการลบภาพที่ปองกันการลบไว (น.48)


เปลีย่ นรูปแบบของการแสดงภาพ ปรับความสวางของจอ LCD กลองจะปรับความสวางของจอ LCD โดยอัตโนมัติ เพื่อใหจอภาพมีความสวางพอเหมาะ

เลือก [LCD brightness] (ความสวางจอ LCD) ในแถบ [ ] เลือก [LCD brightness] จากนั้ น กดปุ ม

ปรั บ ความสว า ง

ขณะที่กำลังมองสเกลสีเทา กดปุม เพื่ อ ปรั บ ความสว า งที่ พ อเหมาะ แล ว กดปุ ม

ในการตรวจสอบความเข ม สว า งของภาพ แนะนำให ดู จ าก histogram (น.193)


 ปลี่ ย นรู ป แบบของการแสดงภาพ หมุนภาพที่ถายแนวตั้งโดยอัตโนมัติ ภาพถ า ยแนวนอน จะถู ก หมุ น ให แ สดงเป น แนวตั้ ง โดยอั ต โนมั ติ ที่ จอ LCD และเมื่ อ นำภาพไปเป ด ดู จ ากคอมพิ ว เตอร แทนที่ จะปรากฏเป น แนวนอน การทำงานโดยอั ต โนมั ติ ข องกล อ งนี้ สามารถปรับเปลี่ยนได

เลือก [Auto rotate] (หมุนภาพอัตโนมัติ) ในแถบ [ ] เลือก [Auto rotate] จากนั้ น กดปุ ม

ตั้งระบบหมุนภาพอัตโนมัติ

ปรั บ ตั้ ง ตามที่ ต อ งการ จากนั้ น กดปุ ม

ภาพถ า ยแนวตั้ ง จะถู ก หมุ น ให แ สดงเป น ภาพหั ว ตั้ ง เมื่ อ เล น ดู ที่ จ อภาพของกล อ ง และที่จอคอมพิวเตอร ภาพถ า ยแนวตั้ ง จะถู ก หมุ น ให เ ป น ภาพหั ว ตั้ ง เมื่ อ เป ด ดู ใ นคอมพิ ว เตอร เ ท า นั้ น ไม มี ก ารหมุ น ภาพแนวตั้ ง

ระบบหมุ น ภาพแนวตั้ ง อั ต โนมั ติ จ ะไม ทำงาน เมื่ อ ตั้ ง ระบบหมุ น ภาพไว เ ป น [Off] และ จะไมหมุนภาพแนวตั้งที่ถายไวกอนแลว แมจะปรับสวิตซมาเปน [On] เมื่ อ เล น ดู ภ าพ หลั ง จากเพิ่ ง ถ า ยภาพแนวตั้ ง เสร็ จ กล อ งจะยั ง ไม แ สดงภาพที่ ถู ก หมุ น โดยทั น ที เ มื่ อ แสดงภาพทั น ที ห ลั ง จากถ า ยภาพเสร็ จ หากถ า ยภาพแนวตั้ ง ในขณะที่ ก ดกล อ งหรื อ เงยกล อ งขึ้ น มากๆ ภาพอาจจะไม ถู ก หมุ น ให หั ว ตั้ ง เมื่ อ เล น ดู ภ าพ หากภาพแนวตั้ ง ไม ถู ก หมุ น ให หั ว ตั้ ง เมื่ อ นำไปดู ที่ ค อมพิ ว เตอร แสดงว า ซอฟท แ วร ที่ ใ ช ไ ม ส ามารถหมุ น ภาพได แนะนำให ใ ช ซ อฟท แ วร ที่ ไ ด ม ากั บ กล อ ง


¡ÒûÃÐÁÇżÅ

áÅСÒèѴ¡ÒÃÀÒ¾·Õ¶ è Ò‹ ÂáÅŒÇ หลั ง จากถ า ยภาพไว แ ล ว ผู ใ ช ส ามารถตกแต ง ภาพด ว ยฟ ล เตอร ส ร า งสรรค ภาพ(Creative filters) และปรับลดขนาดของภาพที่ถายมาแลวได รวมทั้ง สามารถประมวลผลไฟลแบบ RAW ไดภายในตัวกลองดวย

ไมสามารถประมวลผลไฟลแบบ RAW ที่ถายไวดวยกลองรุนอื่นที่ไมใชกลอง EOS 60D การประมวลผลภาพดังที่จะไดอธิบายในบทนี้ จะไมสามารถทำไดหากกลอง นั้ น กำลั ง เชื่ อ มต อ กั บ คอมพิ ว เตอร โดยการต อ เชื่ อ มผ า นช อ งเสี ย บ

< DIGITAL >


ลเตอรสรางสรรคภาพ

ผู ใ ช ส ามารถใช ฟ ล เตอร ส ร า งสรรค ภ าพ(Creative filters) ดั ง ต อ ไปนี้ ใ นการปรั บ แต ง ภาพที่ ถ า ยมาแล ว และบั น ทึ ก เป น ไฟล ภ าพใหม : Grainy B/W, Soft focus, Toy camera effect และ Miniature effect ซึ่ ง ฟ ล เตอร ส ร า งสรรค ภ าพนี้ จ ะใช ไ ม ไ ด กั บ ไฟล แ บบ และ

เลือก [Creative filters] (ฟลเตอรสรางสรรค) เลือก [ Creative filters] จากนั้ น กดปุ ม กลองจะแสดงภาพ

เลือกภาพ

เลื อ กภาพที่ ต อ งการให เ กิ ด ผลจากฟ ล เตอร สรางสรรคภาพ เมื่อกดปุม ผูใชสามารถเลือกภาพ แบบภาพดัชนี

เลือกฟลเตอร

เมื่อกดปุม รายการของฟลเตอรตางๆ จะปรากฏขึ้ น กดปุม เพื่อเลือกฟลเตอร จากนั้ น กดปุ ม ภาพที่ถูกปรับแตงดวยฟลเตอรแลว ก็ จ ะปรากฏขึ้ น

ปรับตั้งผลของฟลเตอร

กดปุม เพื่อปรับตั้งผลของฟลเตอร จากนั้นกดปุม สำหรับฟลเตอรแบบ miniature effect ใหกดปุม เพื่อเลือก พื้ น ที่ ภ าพ(ภายในบริ เ วณของกรอบสี ข าว) ซึ่ ง ต อ งการเลื อ กให เ ป น บริ เ วณที่ มี ค วามคมชั ด จากนั้ น กดปุ ม


 ลเตอร ส ร า งสรรค ภ าพ บั น ทึ ก ไฟล ภ าพ

เลื อ ก [OK] เพื่ อ บั น ทึ ก ไฟล ภ าพ ตรวจสอบดูหมายเลขโฟลเดอรและหมายเลข ภาพ จากนั้นเลือก [OK] หากต อ งการใช ฟ ล เตอร ส ร า งสรรค ภ าพกั บ ภาพอื่ น ๆ ต อ ไป ให ทำตามขั้ น ตอนที่ 2 ถึ ง 5 หากต อ งการออกจากการปรั บ ตั้ ง และกลั บ สู เมนู กดปุ ม

เมื่ อ ตั้ ง เป น + JPEG ฟ ล เตอร ส ร า งสรรค ภ าพจะประมวลผลกั บ ไฟล แ บบ และบั น ทึ ก ไฟล ภ าพนั้ น ไว เ ป น ไฟล แ บบ JPEG เมื่ อ ตั้ ง เป น + JPEG หรื อ + JPEG ฟ ล เตอร ส ร า งสรรค ภ าพ จะประมวลผลกั บ ไฟล แ บบ JPEG

คุณสมบัติของฟลเตอรสรางสรรคภาพ (ภาพหยาบ ขาว/ดำ) ปรั บ ภาพให เ ป น ขาวดำ และมี เ กรนมากขึ้ น และออกแบบให ป รั บ ความเปรี ย บต า ง (contrast) ได ชวยใหปรับตั้งผลพิเศษในสไตลของภาพขาวดำได (ซอฟทโฟกัส) ทำใหภาพดูนุมนวล โดยการออกแบบใหปรับระดับของความเบลอได จึงสามารถปรับ ความนุมนวลของภาพไดอยางละเอียด (ลูกเลนกลองของเลน) ปรั บ ลั ก ษณะของสี ใ นภาพให ดู เ หมื อ นภาพที่ ถ า ยด ว ยกล อ ง Toy และปรั บ ให มุ ม ของ ภาพทั้ ง 4 ด า นเข ม ขึ้ น เหมื อ นลั ก ษณะภาพจากกล อ ง Toy ด ว ย และผู ใ ช ส ามารถปรั บ เปลี่ยนโทนสีไดดวย (เอฟเฟคกลองรูเข็ม) สรางสรรคโดยเนนจุดเดนของภาพใหนาสนใจมากเปนพิเศษ สามารถปรับตั้งไดในขั้น ตอนที่ 4 โดยเมื่อกดปุม ผูใชสามารถหมุนกรอบสีขาว(กรอบเลือกพื้นที่ของ จุ ด เด น ซึ่ ง เป น บริ เ วณที่ จ ะกำหนดให มี ค วามคมชั ด ) ให เ ป น แนวตั้ ง หรื อ แนวนอน


ดขนาดภาพ

ผูใชสามารถลดขนาดภาพ(resize) หมายถึงการลดจำนวนพิกเซล และบันทึกเปนไฟลใหม การลดขนาดภาพนั้น เปนฟงกชั่นที่ใชไดเฉพาะกับไฟลแบบ JPEG L/M/S1/S2 สวน JPEG S3 และ RAW จะไมสามารถลดขนาดได

เลือก [Resize] (ปรับขนาด) เลือก [

Resize] จากนั้ น กดปุ ม

กลองจะแสดงภาพ

เลือกภาพ

เลือกภาพที่ตองการลดขนาด เมื่อกดปุม ผูใชสามารถเลือก แสดงภาพแบบดัชนีและเลือกภาพจากดัชนีได

เลือกขนาดภาพที่ตองการ กดปุม

กดปุม นั้ น กดปุ ม

เพื่อแสดงรายการของขนาด เพื่อเลือกขนาดที่ตองการ จาก

ขนาดภาพที่ตองการ

บั น ทึ ก ไฟล ภ าพ

กดปุ ม [OK] เพื่ อ บั น ทึ ก ไฟล ตรวจสอบดูหมายเลขโฟลเดอรและหมายเลข ภาพ จากนั้นเลือก [OK] หากตองการลดขนาดภาพอื่นๆ ตอไป ให ทำตามขั้ น ตอนที่ 2 ถึ ง 4 หากต อ งการออกจากการปรั บ ตั้ ง และกลั บ สู เมนู กดปุ ม


 ดขนาดภาพ ขนาดภาพตนฉบับ และตัวเลือกในการลดขนาดภาพ ขนาดภาพตนฉบับ

ขนาดที่สามารถลดลงได

เกี่ ย วกั บ ขนาดภาพ การแสดงผล [8.0M 3456x2304] ซึ่งแสดงเปนตัวอยางในขั้นตอนที่ 3 จะมีอัตราสวนของ ดาน 3:2 ซึ่งความสัมพันธของขนาดและอัตราสวนของดานไดแสดงไวในตารางดานลาง นี้ และสำหรับคาที่มีเครื่องหมายดอกจัน จะเปนคาที่จำนวนพิกเซลไมสอดคลองกับอัตรา สวนของดานอยูเล็กนอย และจะมีการตัดสวนภาพทิ้งไป อัตราสวนของดาน ระดับ คุ ณ ภาพ


ารประมวลผลไฟลแบบ RAW ภายในตัวกลอง

ผูใชสามารถประมวลผลไฟลแบบ ในตัวกลอง และบันทึกเปนไฟลแบบ JPEG ได โดยที่ไฟล RAW ตนฉบับจะไมถูกเปลี่ยนแปลงไป ผูใชสามารถประมวลผลไฟลแบบ RAW ไดในหลากหลายลักษณะ เพื่อสรางไฟลภาพใหมๆ ไดอยางไมจำกัด โปรดทราบวา ไฟลแบบ และ ไมสามารถประมวลผลภายในตัวกลองได ใหใชซอฟทแวร Digital Photo Professional(ซอฟทแวรที่ใหมาพรอมกับกลอง) ในการ ประมวลผลไฟลเหลานี้ (ประมวลผลภาพ RAW)

เลือก [RAW image processing]

เลือก [ RAW image processing] จากนั้ น กดปุ ม กลองจะแสดงไฟลแบบ

เลือกภาพ

เลือกภาพที่ตองการประมวลผล

ดวยการกดปุม ผูใชสามารถแสดง ภาพแบบดัชนี และเลือกภาพจากภาพดัชนีได

ประมวลผลภาพ กดปุม ผลไฟล

จากนั้นตัวเลือกของการประมวล จะปรากฏขึ้น (น.226, 227)

กดปุม และหมุน

และ เพื่อเลือกรายการ เพื่อปรับเปลี่ยนคา

ภาพที่ แ สดง จะสะท อ นให เ ห็ น ถึ ง “ความเข ม สว า ง”, “สมดุ ล สี ข าว” และกาารปรั บ ตั้ ง อื่ น ๆ ที่ ไดปรับตั้งไว หากต อ งการตรวจสอบข อ มู ล ที่ ไ ด ป รั บ ตั้ ง ไว ใ น ขณะถายภาพ กดปุม


 ารประมวลผลไฟล แ บบ

RAW ภายในตั ว กล อ ง

แสดงหนาจอสำหรับการปรับตั้ง

กดปุม เพื่อแสดงหนาจอสำหรับการปรับ ตั้ง หมุนวงแหวน หรือ เพื่อปรับ เปลี่ยนคาตามที่ตองการ และหากตองการยอน กลั บ ไปสู ห น า จอในขั้ น ตอนที่ 3 กดปุ ม

บั น ทึ ก ไฟล ภ าพ

เลือก [ ] จากนั้ น กดปุ ม เลือก [OK] เพื่ อ บั น ทึ ก ไฟล ภ าพ ตรวจสอบดู ห มายเลขโฟลเดอร แ ละหมายเลข ภาพ จากนั้นเลือก [OK] จอภาพจะแสดงรายการหนาจอของขั้นตอนที่ 2 หากตองการประมวลผลไฟลภาพอื่นๆ ใหทำซ้ำ จากขั้ น ตอนที่ 2 ถึ ง 4 หากต อ งการออกจากการปรั บ ตั้ ง และกลั บ สู เมนู กดปุ ม

เกี่ยวกับการขยายดูภาพ ในขั้ น ตอนที่ 3 เมื่ อ กดปุ ม กล อ งจะขยายภาพให มี ข นาดใหญ ขึ้ น อั ต ราขยายนั้ น จะขึ้ น อยู กั บ จำนวนพิ ก เซล [Quality] ใน [RAW image processing] โดยใช ผูใชสามารถเลื่อนไปตามบริเวณตางๆ ของภาพเพื่อตรวจสอบอยางละเอียด และเมื่อ กลายเปนสีจางลงในขณะที่กลองกำลังประมวลผลภาพ จะไม สามารถขยายภาพได ใ นขณะนั้ น ในระหวางที่มีการขยายภาพ และตองการกลับไปสูขนาดภาพปกติ กดปุม

ภาพที่ถูกปรับตั้งอัตราสวนของดาน ภาพที่ถายดวยระบบ Live View และมีการปรับตั้งอัตราสวนของดานเปน ([4:3], [16:9], [1:1]) จะถูกแสดงตามอัตราสวนของดานที่ตั้งไว และไฟลแบบ JPEG ก็จะถูกบันทึกตาม อั ต ราส ว นของด า นที่ ตั้ ง ไว เ ช น กั น


 ารประมวลผลไฟล แ บบ

RAW ภายในตั ว กล อ ง

ตัวเลือกของการประมวลผลไฟลแบบ RAW ปรับความเขมสวาง ผูใชสามารถปรับความเขมสวางได +/- 1 stop โดยปรับไดขั้นละ 1/3 stop และภาพที่ แสดงจะสะท อ นให เ ห็ น ผลของการปรั บ ความเข ม สว า งนี้ สมดุลสีขาว (น.96) ผู ใ ช ส ามารถปรั บ เปลี่ ย นสมดุ ล สี ข าวได ถ า เลื อ ก [ ] สามารถใชวงแหวน ในการหมุ น ปรั บ ตั้ ง อุ ณ หภู มิ สี ไ ด Picture Style (น.90) ผูใชสามารถเลือก Picture Style ได และหากตองการปรับตั้งตัวแปร เชน Sharpness กดปุม เพื่อใหจอภาพแสดงรายการปรับตั้ง หมุนวงแหวน เพื่อเลือกตัว แปร จากนั้นหมุน เพื่อปรับตั้งตามที่พอใจ และกดปุม เมื่อสิ้นสุดการ ปรับตั้งและกลับสูหนาจอของการปรับตั้ง ภาพจะแสดงใหเห็นผลของการปรับตั้งนี้ Auto Lighting Optimizer ปรับความเขมสวางอัตโนมัติ (น.101) ผู ใ ช ส ามารถปรั บ ตั้ ง ระบบปรั บ ความเข ม สว า งอั ต โนมั ติ ภาพที่ แ สดงจะสะท อ นให เ ห็ น ผลของการปรับตั้งนี้ ลดสัญญาณรบกวนเมื่อความไวแสงสูง (น.254) ผู ใ ช ส ามารถปรั บ ตั้ ง ระบบลดสั ญ ญาณรบกวนเมื่ อ ความไวแสงสู ง ภาพที่ แ สดงจะ สะทอนใหเห็นผลของการปรับตั้งนี้ ถาสังเกตเห็นไมชัดเจน ใหกดปุม เพื่อขยาย ดูภาพ (กดปุม เพื่อกลับไปแสดงภาพในขนาดปกติ) เชน เมื่อตรวจสอบผล เมื่ อ ตั้ ง เป น [Strong] และการตรวจสอบดูภาพที่แสดงแบบภาพเดี่ยวโดยไมมีการซูม ขยายภาพนั้น กลองจะแสดงระดับการลดสัญญาณรบกวนเปน [Standard] แม ร ะดั บ การลดสัญญาณรบกวนจะตั้งเปน [Strong] ก็ ต าม คุณภาพในการบันทึก (น.84) ผูใชสามารถปรับความละเอียดในการบันทึกภาพ รวมทั้งคุณภาพ(การบีบอัด)ของไฟล แบบ JPEG ที่จะถูกบันทึกภายหลังจากการประมวลผลไฟลแบบ RAW ระดับคุณภาพ ที่ แ สดง เช น [8.0M 3456x2304] จะมีอัตราสวนของดาน 3:2 เปนตน และจำนวนพิก เซลสำหรับอัตราสวนของดานขนาดตางๆ ไดแสดงไวในตารางหนา 223


 ารประมวลผลไฟล แ บบ

RAW ภายในตั ว กล อ ง

ระบบสี (น.110) ผู ใ ช ส ามารถเลื อ กระบบสี ไ ด ทั้ ง แบบ sRGB และ Adobe RGB แต เ พราะจอภาพ ของกลองไมสามารถแสดงความแตกตางระหวางระบบสีทั้งสองแบบนี้ได ภาพที่จอภาพ จึ ง ดู ไ ม ต า งกั น เมื่ อ มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นระบบสี ปรับความสลัวที่ขอบภาพโดยอัตโนมัติ (น.102) สามารถตั้ ง เป น [Enable] และ [Disable] ถ า ตั้ ง เป น [Enable] จอภาพจะแสดงภาพ ที่ถูกปรับแกความสลัวที่ขอบภาพแลว แตถาสังเกตผลของการปรับตั้งไดยาก ใหกดปุม เพื่อขยายภาพและเลือกดูที่บริเวณขอบภาพ กดปุม เพื่อกลับสูการ แสดงภาพแบบเดิม ปรับแกความบิดเบือน ถ า ตั้ ง เป น [Enable] กลองจะปรับแกความบิดเบือนที่เกิดจากความบกพรองของเลนส และถาเลือก [Enable] แลว จอภาพจะแสดงภาพที่ถูกปรับแกแลว และการปรับแกนั้น อาจทำให บ างส ว นของบริ เ วณขอบภาพถู ก ตั ด ทิ้ ง ไปเล็ ก น อ ย ดั ง นั้ น ภาพที่ เ ห็ น จาก จอภาพจะดู แ น น หรื อ ใหญ ขึ้ น กว า เดิ ม เล็ ก น อ ย และถ า ปรั บ แก ด ว ยซอฟท แ วร Digital Photo Professional (ซอฟทแวรที่ไดมาพรอมกับกลอง) จะสามารถปรับแกความบิด เบือนไดโดยมีสวนของขอบภาพที่ถูกตัดออกไปนอยที่สุด หลังจากปรับแกแลว รายละเอียดของภาพอาจดอยลงเล็กนอย ใหปรับแกดวย Sharpness ของ Picture Style ตามที่จำเปน


 ารประมวลผลไฟล แ บบ

RAW ภายในตั ว กล อ ง

ปรับแกความคลาดสี เมื่ อ ตั้ ง เป น [Enable] ความคลาดสี ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากเลนส จ ะถู ก ปรั บ แก ใ ห เ ป น ปกติ ถ า ตั้ ง เปน [Enable] แลว จอภาพจะแสดงภาพที่ถูกปรับแกแลว และการปรับแกนั้นอาจทำให บางส ว นของบริ เ วณขอบภาพถู ก ตั ด ทิ้ ง ไปเล็ ก น อ ย ดั ง นั้ น ภาพที่ เ ห็ น จากจอภาพจะดู แน น หรื อ ใหญ ขึ้ น กว า เดิ ม เล็ ก น อ ย (กดปุ ม เพื่ อ ขยายภาพ กดปุ ม เพื่อกลับมาแสดงภาพในขนาดปกติ) การปรับแกความคลาดสีจากการประมวลผลของ ตัวกลองนั้นจะมีประสิทธิภาพนอยกวาการปรับแกดวยซอฟทแวร Digital Photo Professional (ซอฟทแวรที่ไดมาพรอมกับกลอง) การปรับแกความคลาดสีดวยกลองจึง ใหผลที่อาจสังเกตเห็นไดไมชัดเจน แนะนำใหใช Digital Photo Professional

ภาพจากการประมวลผลไฟล แ บบ RAW ของกล อ งอาจมี ค วามแตกต า งจากการใช ซอฟทแวร Digital Photo Professional แม ว า จะมี ก ารแนบข อ มู ล สำหรั บ การตรวจสอบภาพ(น.260) ไปกั บ ไฟล แ บบ RAW แต จ ะไม แ สดงข อ มู ล นี้ ใ นไฟล แ บบ JPEG

เกี่ยวกับการปรับแกความสลัวที่ขอบภาพ การปรับแกความบิดเบือน และการปรับแกความคลาดสี

สำหรับการประมวลผลเพื่อปรับแกความสลัวที่ขอบภาพ ปรับแกความบิดเบือน และ ปรั บ แก ค วามคลาดสี จากการประมวลผลภายในตั ว กล อ ง จะต อ งบั น ทึ ก ข อ มู ล ของ เลนสที่ใชใหกลองรับทราบเสียกอนที่จะใชถายภาพ ถาไมไดบันทึกขอมูลของเลนสไว กับกลอง ใหใชซอฟทแวร EOS Utility (ซอฟทแวรที่ไดมากับกลอง) เพื่อบันทึกขอมูล ของเลนส


¡Ò÷ӤÇÒÁÊÐÍÒ´ ૹà«Íà กลองรุนนี้มีระบบกำจัดฝุนที่เซนเซอรมาในตัว ซึ่งเม็ดฝุนที่ผิวของเซนเซอรซึ่ง เป น ฟ ล เตอร ที่ อ ยู ด า นบนสุ ด (low-pass filter) จะถู ก สั่ น ให ห ลุ ด ออกไปโดย อัตโนมัติ นอกจากนี้ ยังสามารถแนบขอมูลตำแหนงของเม็ดฝุนที่ไมอาจกำจัด ออกไปแนบไปพรอมกับไฟลภาพ ซึ่งเมื่อเปดภาพดวยซอฟทแวร Digital Photo Professional (ได ม าพร อ มกั บ กล อ ง) เม็ ด ฝุ น จะถู ก ลบออกไปจากภาพโดย อัตโนมัติ

เกี่ยวกับรอยเปอนเปรอะที่ติดอยูกับผิวหนาของเซนเซอร

นอกจากฝุ น จากภายนอกที่ ส ามารถจะเล็ ด ลอดเข า ไปในตั ว กล อ งได แ ล ว ใน บางกรณีซึ่งเกิดขึ้นไดยากมาก อาจจะมีน้ำมันหลอลื่นชิ้นสวนภายในตัวกลอง เองอาจจะสร า งรอยเป อ นที่ ผิ ว หน า ของเซนเซอร ไ ด หากเกิ ด ขึ้ น จุ ด ของเหลว จุดเล็กๆ จะไมถูกขจัดออกไปหลังจากระบบทำความสะอาดอัตโนมัติทำงาน แลว แนะนำใหสงกลองไปทำความสะอาดเซนเซอรที่ศูนยบริการของ Canon แม ว า ระบบทำความสะอาดเซนเซอร จ ะกำลั ง ทำงานอยู ก็ ต าม เมื่ อ ผู ใ ช แตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึ่งหนึ่ง กลองจะหยุดทำความสะอาดเซนเซอร และ พร อ มที่ จ ะถ า ยภาพได ทั น ที


ระบบทำความสะอาดเซนเซอรอตั โนมัติ

ทุ ก ๆ ครั้ ง ที่ เ ป ด /ป ด กล อ ง หรื อ ระบบทำความสะอาดเซนเซอรภายใน ตั ว กล อ งจะทำงานโดยอั ต โนมั ติ สำหรั บ การใช ง านปกติ ผู ใ ช ไ ม จำเป น ต อ งสนใจการ ทำงานของระบบนี้เลย อยางไรก็ตาม ตัวกลองก็ออกแบบใหผูใชสั่งทำความสะอาดเซน เซอร ไ ด ทั น ที ที่ ต อ งการ หรื อ จะยกเลิ ก การทำงานของระบบทำความสะอาดเซนเซอร อัตโนมัติเมื่อเปด/ปดกลองก็ได

สั่งทำความสะอาดเซนเซอรทันที เลือก [Sensor cleaning] (ทำความสะอาดเซนเซอร) ในแถบรายการของ [ ] เลือก [Sensor cleaning] จากนั้นกดปุม

เลือก [Clean now

] (ทำความสะอาดเดี๋ยวนี้)

เลือก [Clean now ] จากนั้ น กดปุ ม เลือก [OK ] ที่ ร ายการของตั ว เลื อ ก จากนั้ น กดปุ ม หน า จอจะมี สั ญ ลั ก ษณ ที่ แ สดงว า เซนเซอร กำลั ง ถู ก ทำความสะอาด และถึ ง แม จ ะมี เ สี ย ง ชัตเตอรดัง แตจะไมมีการถายภาพเกิดขึ้น

เพือ่ ใหไดผลทีด่ ี ในขณะทีส่ งั่ ทำความสะอาด ควรวางกลองบนพืน้ ผิวเรียบๆ เชน โตะ โดยวางให กลองอยูในแนวราบ หลังจากทีก่ ลองเพิง่ ทำความสะอาดเซนเซอร แมผใู ชจะสัง่ ทำความสะอาดซ้ำอีก ผลทีไ่ ดกจ็ ะไม ] จะไม ดีขึ้นกวาเดิมมากนัก และหลังจากทำความสะอาดเสร็จ ตัวเลือก [Clean now สามารถสั่งทำความสะอาดซ้ำไดชั่วครู

การยกเลิ ก ระบบทำความสะอาดฝุ น อั ต โนมั ติ ในขั้ น ตอนที่ 2 เลื อ ก [Auto cleaning ] และปรั บ ตั้ ง เป น [Disable] ระบบทำความสะอาดฝนุ จะไมทำงานโดยอัตโนมัตอิ กี เมือ่ เปดและปดกลองโดยปรับ สวิตซไปที่ และ


ารแนบ Dust Delete Data

ตามปกติ ระบบทำความสะอาดฝุ น อั ต โนมั ติ จ ะสามารถขจั ด ฝุ น ที่ ซึ่ ง ติ ด อยู บ ริ เ วณด า น หน า ของเซนเซอร แ ละปรากฏในภาพให ห มดไป แต บ างครั้ ง เม็ ด ฝุ น ก็ ยั ง ติ ด อยู ผู ใ ช สามารถจะแนบขอมูลตำแหนงของเม็ดฝุนที่ติดอยูนี้เพื่อใหซอฟทแวรของกลอง(Digital Photo Professional) ลบออกไปในภายหลังโดยอัตโนมัติ โดยอาศัยขอมูลตำแหนงของเม็ด ฝุน(Dust Delete Data) ที่แนบไปกับไฟลภาพ

การเตรี ย มตั ว เตรียมแผนกระดาษสีขาว ใชเลนส 50mm หรือเลนสที่มีความยาวโฟกัสสูงกวา ปรั บ สวิ ต ซ ข องระบบโฟกั ส ที่ เ ลนส เ ป น และตั้ ง ระยะโฟกั ส เป น ระยะอนั น ต ( )และถาเลนสไมมีสเกลแสดงระยะโฟกัส ใหหมุนวงแหวนโฟกัสของเลนสตามเข็ม นาฬิกาไปจนสุด

การเก็บขอมูลของเม็ดฝุน

(เก็ บ ข อ มู ล ลบภาพฝุ น )

เลือก [Dust Delete Data] ในแถบรายการของ Data] จากนั้ น กดปุ ม

เลือก [OK]

เลือก [Dust Delete

เลื อ ก [OK] จากนั้นกดปุม และกลอง จะเริ่ ม ทำความสะอาดฝุ น ที่ เ กาะอยู บ ริ เ วณ หน า เซนเซอร จากนั้ น หน า จอจะมี ข อ ความ ปรากฏขึ้ น ในขณะนั้ น จะมี เ สี ย งชั ต เตอร ดั ง ขึ้ น แตกลองไมไดถายภาพใดๆ


 ารแนบ

Dust Delete Data

ถ า ยภาพวั ต ถุ สี ข าวที่ มี ผิ ว เรี ย บ

วางวัตถุสีขาวผิวเรียบ ไมมีลวดลายใดๆ ที่ระยะ หางออกไป 20-30 ซม./0.7-1.0 ฟุต เล็งกลองให ขนาดวั ต ถุ เ ต็ ม เฟรม แล ว กดชั ต เตอร เ พื่ อ ถ า ยภาพ ควรตั้ ง ระบบบั น ทึ ก ภาพเป น Av และตั้ ง ขนาด ชองรับแสงเปน F/22

ภาพที่ ถ า ยนี้ จ ะไม ถู ก บั น ทึ ก ลงในการ ด แต เ ป น การบั น ทึ ก ข อ มู ล ตำแหน ง ของเม็ ด ฝุ น จึ ง สามารถทำไดแมจะไมมีการดอยูในตัวกลอง เมื่ อ ถ า ยภาพแล ว กล อ งจะเริ่ ม เก็ บ ข อ มู ล ตำแหนงเม็ดฝุน และเมื่อไดขอมูลครบถวนแลว ก็ จ ะมี ข อ ความปรากฏขึ้ น บนจอภาพ ให เ ลื อ ก [OK] หน า จอจะกลั บ ไปแสดงรายการของ เมนูตามปกติ ถ า กล อ งล ม เหลวในการอ า นตำแหน ง เม็ ด ฝุ น จะมี ข อ ความเตื อ นความผิ ด พลาด ให ก ลั บ ไป เริ่ ม ทำตามขั้ น ตอนแรกอี ก ครั้ ง

เกี่ยวกับ Dust Delete Data หลังจากกลองเก็บขอมูลตำแหนงของเม็ดฝนุ (Dust Delete Data) ไดแลว ขอมูลนีจ้ ะถูกแนบไป กับไฟลภาพแบบ JPEG และ RAW ทีถ่ า ยภายหลังจากนัน้ ดังนัน้ กอนถายภาพสำคัญทุกๆ ภาพ ผูใชควรจะปรับปรุงขอมูล(update) เพื่อใหกลองอานตำแหนงของเม็ดฝุนลาสุดเสียกอน สำหรับการลบเม็ดฝุนออกจากภาพโดยอัตโนมัติดวยซอฟทแวรที่ใหมาพรอมกับกลอง ใหอาน จาก Software Instruction Manual ที่อยูในแผน CD-ROM ขนาดของขอมูลตำแหนงของเม็ดฝุนที่แนบไปพรอมกับภาพนั้นมีขนาดเล็กมากจนไมมีผลตอ ขนาดของไฟล ตรวจสอบใหมั่นใจวา ไดใชวัตถุสีขาวที่มีผิวเรียบและแข็ง เชน แผนกระดาษแข็งสีขาว เปนเปาในการถายภาพ ถาหากกระดาษแผนนั้นมีลวดลายใดๆ มันจะถูกพบวาเปนเม็ด ฝุน และมีผลตอความแมนยำในการขจัดฝุนออกจากภาพของซอฟทแวร


·íาความสะอาดเซนเซอรโดยผใู ช

เม็ดฝุนที่ไมสามารถขจัดออกไดดวยระบบทำความสะอาดเซนเซอรอัตโนมัติ สามารถขจัด ออกไดโดยการทำความสะอาดดวยตนเองได เชน โดยใชลูกยางเปาลมเปาออก ฯลฯ พื้นผิวของเซนเซอรมีความละเอียดออนและซับซอนมาก หากตองทำความสะอาด โดยการสั ม ผั ส กั บ พื้ น ผิ ว โดยตรง แนะนำให ส ง ทำความสะอาดโดยช า งของศู น ย บริการแคนนอน กอนทำความสะอาดเซนเซอรดวยวิธีนี้ ใหถอดเลนสออกจากกลองเสียกอน

เลือก [Sensor cleaning]

ในแถบรายการของ [ ] เลือก [Sensor cleaning] จากนั้นกดปุม

เลือก [Clean manually] (ทำความสะอาด เลือก [Clean manually] จากนั้ น กดปุ ม

ดวยตนเอง)

เลือก [OK] เลือก [OK] จากนัน้ กดปมุ

กระจกสะทอนภาพจะยกตัวขึน้ และล็อคทันที และมานชัตเตอรจะเปดคาง “CLn” จะกระพริบทีจ่ อ LCD

เมื่อทำความสะอาดเสร็จแลว ปรับสวิตซของกลองไปที่

สำหรั บ แหล ง พลั ง งานที่ ใ ช ข ณะทำความสะอาด แนะนำให ใ ช AC Adapter Kit ACK-E6 ซึ่ ง เป น อุ ป กรณ เ สริ ม พิ เ ศษ ถาใชพลังงานจากแบตเตอรี ตรวจสอบใหแนใจกอนวาแบตเตอรี่เต็ม และถาใชแบตเตอรี่ กริปที่ใสแบตเตอรี่ AA จำนวน 6 กอน ผูใชจะไมสามารถทำความสะอาดเซนเซอรดวย ตนเองได


 าความสะอาดเซนเซอร โ ดยผู ใ ช ถากระแสไฟฟาดับในขณะทำความสะอาด ชัตเตอรจะปดทันที มานชัตเตอรและเซนเซอร ของกลองอาจเกิดความเสียหาย และขณะทีก่ ำลังทำความสะอาดเซนเซอร หามทำสิง่ ตางๆ ดังรายละเอียดดานลาง ปรับสวิตซของกลองไปที่ เปดฝาปดชองใสแบตเตอรี เปดฝาปดชองใสการด พืน้ ผิวของเซนเซอรมคี วามละเอียดออนและซับซอนมาก ทำความสะอาดดวยความระมัดระวัง ใชลกู ยางเปาลมแบบธรรมดา(ไมมปี ลายทีเ่ ปนขนแปรงสำหรับปด) เพราะแปรงปดอาจทำใหเกิด รอยขีดขวนที่เซนเซอรได หามสอดปลายของลูกยางเปาลมเลยบริเวณเมาทเลนส เพราะถาหากไฟดับ มานชัตเตอรจะปด ทันที ซึง่ อาจทำใหมา นชัตเตอรและกระจกสะทอนภาพเสียหายได หามใชสเปรยทบี่ รรจุลมหรือกาซใดๆ มาทำความสะอาดเซนเซอร เพราะสเปรยจะมีแรงดันสูง มาก และอาจทำความเสียหายตอเซนเซอร และกาซทีบ่ รรจุกอ็ าจทำใหเซนเซอรเสียหายได หากพบวามีรอยเปรอะเปอนที่ผิวดานหนาของเซนเซอร แนะนำใหสงกลองไปทำความสะอาด เซนเซอรที่ศูนยบริการของ Canon


¡ÒþÔÁ¾ÀÒ¾ การพิมพ (น.236)

ผูใชสามารถตอเชื่อมกลองเขากับเครื่องพิมพโดยตรงเพื่อพิมพภาพที่อยู ในการ ด กล อ งรุ น นี้ ส นั บ สนุ น การต อ เชื่ อ มระบบ “ PictBridge” ซึ่ ง เปนมาตรฐานของ Direct Printing

Digital Print Order Format (DPOF) (น.245)

DPOF (Digital Print Order Format) จะเปนรูปแบบของชุดคำสั่งควบคุม งานพิ ม พ ที่ ช ว ยในการพิ ม พ ภ าพในการ ด เช น การเลื อ กภาพที่ จ ะพิ ม พ ปรับตั้งคุณภาพงานพิมพ ฯลฯ ซึ่งผูใชสามารถพิมพภาพหลายๆ ภาพ ดวย การสั่งงานครั้งเดียว หรือใหรูปแบบคำสั่งพิมพภาพ(Print Order) ไปยัง ผู ใ ห บ ริ ก ารงานพิ ม พ ก็ ไ ด


àตรียมการพิมพภาพ

ผู ใ ช ส ามารถปรั บ ตั้ ง คำสั่ ง พิ ม พ ภ าพจากการปรั บ ตั้ ง ภายในตั ว กล อ ง และดู ร ายการปรั บ ตั้ ง ได จ ากหน า จอของกล อ ง

ตอเชื่อมกลองกับเครื่องพิมพ ปรับสวิตซเปด/ปดกลองไปที่

เตรียมเครื่องพิมพ

อานรายละเอียดในคมู อื ของเครือ่ งพิมพ

ตอเชื่อมตัวกลองกับเครื่องพิมพ ใชสายตอพวงที่ไดมาพรอมกับกลอง ในการเสียบสายตอพวงเขากับตัวกลอง ใหตอ เขากับชองเสียบ โดยหันสัญลักษณ บนหัวเสียบไปทางดานหลังของกลอง สำหรับการเสียบสายเขากับเครื่องพิมพ อานรายละเอียดในคูมือของเครื่องพิมพ

เปดเครื่องพิมพ ปรับสวิตซเปด/ปดกลองไปที่ เครื่ อ งพิ ม พ บ างรุ น อาจจะมี เ สี ย ง “บี๊ บ ” เตื อ น


 ตรี ย มการพิ ม พ ภ าพ เล น ดู ภ าพ

กดปุ ม ภาพจะปรากฏบนหนาจอ พรอมกับสัญลักษณ ซึ่ ง จะอยู บ ริ เ วณมุ ม บนด า นซ า ยเพื่ อ บงบอกวาขณะนีก้ ลองยังตออยกู บั เครือ่ งพิมพ

ไม ส ามารถสั่ ง พิ ม พ ไ ฟล ภ าพยนตร ไ ด กลองรุนนี้ไมสามารถใชกับเครื่องพิมพที่สนับสนุนเฉพาะระบบ CP Direct และ Bubble Jet Direct ห า มใช ส ายต อ เชื่ อ มอย า งอื่ น นอกจากสายที่ ใ ห ม ากั บ กล อ ง ถ า มี เ สี ย ง “บี๊ บ ” ยาวนานดั ง ขึ้ น ในขั้ น ตอนที่ 5 เป น เสี ย งดั ง และยาว แสดงว า พบป ญ หา ของเครื่ อ งพิ ม พ จะมี ข อ ความเตื อ นความผิ ด พลาดปรากฏขึ้ น บนจอ LCD (น.244) ผู ใ ช ส ามารถพิ ม พ ภ าพแบบ RAW ที่ ถ า ยด ว ยกล อ งได และหากต อ งการพิ ม พ ภ าพขนาด A4 ขนาดจดหมาย หรื อ ขนาดกระดาษที่ มี ข นาดใหญ แนะนำให เ ลื อ กไฟล JPEG ที่ ประมวลผลจากไฟล RAW ในการพิ ม พ (ยกเว น M และ S ) ถ า กล อ งใช แ บตเตอรี่ เ ป น แหล ง พลั ง งาน ตรวจสอบว า มั น มี ไ ฟอยู เ ต็ ม โดยใช แ บตเตอรี่ ที่ มี ไ ฟเต็ ม กล อ งสามารถสั่ ง พิ ม พ ง านได น านติ ด ต อ กั น ถึ ง 4 ชั่ ว โมง ก อ นที่ จ ะถอดสาย ให ป ด สวิ ต ซ ก ล อ งและเครื่ อ งพิ ม พ เ สี ย ก อ น การถอดนั้ น ให ใ ช นิ้ ว มื อ จั บ ที่ หั ว เสี ย บของสาย ไม ใ ช ที่ ส าย สำหรับการสั่งพิมพภาพโดยตรงจากกลองไปยังเครื่องพิมพ ควรใชอุปกรณแปลงไฟ AC Adapter Kit ACK-E6(อุ ป กรณ เ สริ ม พิ เ ศษ) สำหรั บ ให พ ลั ง งานกั บ ตั ว กล อ ง


 งพิมพ

การแสดงรายการบนหนาจอและรายการของตัวเลือกจะขึ้นอยูกับเครื่องพิมพรุน ที่ใช ซึ่งอาจปรับเลือกบางรายการไมได สำหรับรายละเอียด อานไดจากคูมือการใชเครื่อง พิ ม พ ที่ ใ ช สัญลักษณการพิมพ

เลือกภาพทีต่ อ งการพิมพ ตรวจสอบวา สัญลักษณ ที่ มุ ม บนด า นซ า ยแล ว หมุ น

ไดปรากฏอยู

เพื่ อ เลื อ กภาพที่ จ ะพิ ม พ

กดปุ ม หนาจอรายการปรับตัง้ เครือ่ งพิมพ

หน า จอแสดงการปรั บ ตั้ ง เกี่ ย วกั บ การพิ ม พ จ ะ ปรากฏขึ้ น

ปรับตัง้ ผลพิเศษของการพิมพ (น.240) ปดและเปดการพิมพวนั ทีห่ รือ หมายเลขภาพลงบนภาพ เลือกจำนวนภาพทีจ่ ะพิมพ เลือกตัดสวนภาพ (น.243) เลือกขนาดกระดาษ ชนิด และการจัดวาง กลับสขู นั้ ตอนที่ 1 เริม่ การพิมพ

ขนาดกระดาษ ชนิดกระดาษ และการวางตำแหนงทีเ่ ลือกไว

* กล อ งอาจจะไม แ สดงตั ว เลื อ กสำหรั บ การตั้ ง ค า บางอย า ง เช น การพิ ม พ วั น ที่ ชื่ อ ไฟล และการตั ด ส ว น โดยขึ้ น อยู กั บ เครื่ อ งพิ ม พ รุ น ที่ ใ ช

ตั้งคุณสมบัติกระดาษ [Paper settings] เลือก [Paper setting] จากนัน้ กดปมุ หนาจอจะแสดงรายการตัวเลือกปรับตัง้ กระดาษ


 งพิ ม พ ตั้งขนาดกระดาษ ตั้งขนาดกระดาษตามที่ใสไวในเครื่องพิมพ จาก นัน้ กดปมุ หนาจอสำหรับเลือกชนิดกระดาษ(Paper type) จะปรากฏขึ้น

ตัง้ ชนิดกระดาษ

ตั้งการจัดวางตำแหนง

เลือกชนิดกระดาษตามที่ใสไวในเครื่องพิมพ จาก นัน้ กดปมุ หนาจอสำหรับเลือกจัดวางตำแหนง(Page layout) จะปรากฏขึ้น เลือกชนิดกระดาษตามที่ใสไวในเครื่องพิมพ จาก นัน้ กดปมุ หนาจอสำหรับปรับตั้งกระดาษจะกลับมาปรากฏ ขึน้ อีกครัง้

ภาพที่พิมพจะมีขอบขาวอยูโดยรอบ ภาพจะถูกพิมพเต็มขนาดกระดาษโดยไมเหลือขอบขาว(ไรขอบ) แตถาเครื่องพิมพที่ใชไมสามารถพิมพแบบไรขอบ ภาพที่พิมพไดก็จะมีขอบขาว ขอมูลการถายภาพ* จะถูกพิมพลงบนขอบภาพ เมื่อใชกระดาษที่มีขนาดตั้งแต 9x13 ซม. ขึน้ ไป ตัวเลือกในการพิมพ 2, 4, 8, 9, 16 และ 20 ภาพลงบนกระดาษแผนเดียวกัน สำหรับกระดาษขนาด A4 หรือกระดาษขนาดจดหมาย สามารถสัง่ พิมพภาพดัชนี 20 และ 35 ภาพลงในกระดาษแผนเดียว ดวยคำสั่งผาน DPOF (น.199) หมายถึงมีการพิมพขอมูลการถายภาพ* ไวดวย การจัดวางตำแหนงจะขึ้นอยูกับทั้งตัวเครื่องพิมพ และการปรับตั้งที่เลือกไว

* จาก Exif data(ขอมูลที่แนบมากับไฟลภาพ) ชื่อรุนของกลอง เลนสที่ใช ระบบบันทึกภาพ ชัตเตอร ชองรับแสง ระดับการชดเชยแสง ความไวแสง สมดุลสีขาว ฯลฯ จะถูกพิมพดวย หากภาพมี อั ต ราส ว นของด า นแตกต า งจากอั ต ราส ว นของด า นของกระดาษที่ ใ ช พิ ม พ ภาพจะถูกตัดสวน ซึ่งอาจถูกตัดไปมากหากสั่งพิมพภาพแบบไรขอบขาว ภาพที่ถูกตัด สวนอาจจะดูหยาบ เพราะมีจำนวนพิกเซลลดลง


 งพิ ม พ ตัง้ ผลพิเศษของการพิมพ ปรับตั้งเมื่อตองการใช และถาไมตองการปรับ ตั้ ง ให มี ผ ลพิ เ ศษ ให ข า มไปยั ง ขั้ น ตอนที่ 5 การแสดงผลบนจอภาพอาจมี ค วามแตก ต า งกั น ขึ้ น อยู กั บ เครื่ อ งพิ ม พ ที่ นำมาใช เลื อ กตั ว เลื อ กที่ อ ยู ท างด า นขวา และกดปุ ม เลือกผลพิเศษแบบที่ตองการ และกดปุม ถ า สั ญ ลั ก ษณ ปรากฏใกล กั บ สัญลักษณ < > สามารถปรับตั้ง ผลพิเศษของการพิมพไดเชนกัน (น.242) ผลพิเศษ

ผลทีเ่ กิดขึน้

ภาพจะถู ก พิ ม พ ด ว ยมาตรฐานสี ข องเครื่ อ งพิ ม พ โดยใช Exif Data ในการ ปรั บ แก สี โ ดยอั ต โนมั ติ ไมมีการปรับแตงหรือปรับแกสีเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ ภาพจะมีลักษณะเดิม ภาพจะถู ก พิ ม พ ใ ห มี สี ส ด อิ่ ม ตั ว มากขึ้ น เน น ความสดใสของสี น้ำ เงิ น และสี เ ขี ย ว สั ญ ญาณรบกวนที่ ป รากฏในภาพจะถู ก ปรั บ ให ล ดลงไปก อ นที่ จ ะพิ ม พ สั่ ง พิ ม พ ภ าพขาวดำ ให เ ป น สี ดำสนิ ท สั่ ง พิ ม พ ภ าพขาวดำ ให เ ป น สี ดำอมน้ำ เงิ น ในโทนเย็ น สั่ ง พิ ม พ ภ าพขาวดำ ให เ ป น สี ดำอมเหลื อ งในโทนอุ น พิ ม พ ภ าพให เ หมื อ นจริ ง ทั้ ง สี แ ละคอนทราส โดยไม มี ก ารปรั บ แต ง สี อั ต โนมั ติ ก อ นการพิ ม พ ลั ก ษณะของการพิ ม พ จ ะเหมื อ นกั บ การปรั บ ตั้ ง แบบ Natural แต ก ารปรั บ ตั้ ง แบบนี้ จ ะปรั บ ตั้ ง ได ล ะเอี ย ดมากขึ้ น ลักษณะของการพิมพจะขึ้นอยูกับทั้งตัวเครื่องพิมพ อานรายละเอียดจากคูมือของเครื่องพิมพ * เมื่ อ มี ก ารปรั บ ตั้ ง ผลพิ เ ศษของการพิ ม พ เ กิ ด ขึ้ น ภาพที่ แ สดงบริ เ วณมุ ม บนซ า ยของ จอภาพจะแสดงผลให เ ห็ น แต ก็ เ ป น ผลเพี ย งคร า วๆ สำหรั บ พิ จ ารณา ภาพที่ พิ ม พ ไ ด อ าจ จะดู แ ตกต า งไปจากภาพที่ แ สดงอยู เ ล็ ก น อ ย การแสดงผลนี้ จะแสดงสำหรั บ การปรั บ ตั้ ง [Brightness] และ [Adjust levels] ในหนา 242


 งพิ ม พ ปรับตัง้ การพิมพวนั ทีแ่ ละหมายเลขภาพ ปรั บ ตั้ ง เมื่ อ ต อ งการเท า นั้ น เลื อ ก และกดปุ ม ปรับตั้งตามที่ตองการ แลวกดปุม

ตั้งปริมาณภาพที่ตองการพิมพ ปรับตัง้ ปริมาณภาพทีต่ อ งการพิมพ เลือก และกดปมุ ปรับตัง้ ตามทีต่ อ งการ แลวกดปมุ

เริ่มพิมพ เลือก [Print] และกดปมุ

เมื่ อ ต อ งการพิ ม พ ภ าพอื่ น ๆ ด ว ยการปรั บ ตั้ ง แบบเดี ย วกั น อย า งง า ยๆ เพี ย งเลื อ กภาพที่ ต อ งการและกดปุ ม แต ก ารพิ ม พ แ บบนี้ จ ะตั้ ง ปริ ม าณได ค ราวละ 1 ภาพเท า นั้ น (ตั้ ง จำนวนภาพไม ไ ด ) และไม ส ามารถตั ด ขอบภาพ(trimming) ได รายละเอี ย ดของการ ตั ด ขอบภาพ อ า นจากหน า 243 การปรั บ ตั้ ง เป น [Default] ในผลพิ เ ศษของการพิ ม พ และตั ว เลื อ กอื่ น ๆ เป น ค า มาตรฐาน ของเครื่ อ งพิ ม พ แ ต ล ะรุ น ที่ ถู ก ปรั บ ตั้ ง มาโดยผู ผ ลิ ต เครื่ อ งพิ ม พ ให อ า นจากคู มื อ ของ เครื่ อ งพิ ม พ นั้ น ๆ ว า [Default] ของมั น หมายถึ ง อะไร ช ว งเวลาในการเริ่ ม ต น พิ ม พ จ ะแตกต า งกั น โดยขึ้ น อยู กั บ ขนาดของไฟล และคุ ณ ภาพใน การบั น ทึ ก ผู ใ ช จึ ง อาจต อ งคอยให เ ครื่ อ งพิ ม พ เ ริ่ ม ทำงาน โดยใช เ วลาสั ก ครู ห นึ่ ง หลั ง จาก สั่ ง พิ ม พ แ ล ว [Print] หากมี ก ารปรั บ แก ค วามเอี ย งของภาพ (น.243) กล อ งจะใช เ วลาสั่ ง พิ ม พ น านขึ้ น เมื่ อ ต อ งการยกเลิ ก การพิ ม พ ก ดปุ ม สั ญ ลั ก ษณ [Stop] จะปรากฏขึ้ น จากนั้ น จึ ง กดปุ ม [OK] เพื่ อ หยุ ด การทำงาน หากผู ใ ช สั่ ง [Clear all camera settings] (น.51) จากเมนู ค า การปรั บ ตั้ ง ต า งๆ กลั บ ไป เปนคามาตรฐาน


 ารพิ ม พ ปรับแตงผลพิเศษของการพิมพ จากขัน้ ตอนที่ 4 หนา 240 เมือ่ เลือกปรับผลพิเศษของ การพิมพ(printing effect) สัญลักษณ จะ ปรากฏขึ้นติดกับ < > เมือ่ กดปมุ ผู ใ ช ส ามารถปรั บ แต ง ผลพิ เ ศษของการพิ ม พ ไ ด รายการที่ ป รั บ ได แ ละการแสดงผลจะขึ้ น อยู กั บ รายการที่เลือกปรับแตงของขั้นตอนที่ 4 สามารถปรับแตงความเขมสวาง(Brightness) ของภาพได เมื่อผูใชเลือก [Manual] ผูใชสามารถจะปรับการกระจายตัว ของ histogram และปรับความเขมสวางและความเปรียบ ตางของภาพ และดวยจอภาพที่แสดงการปรับแตง Adjust levels เมื่อกดปุม ผูใชสามารถจะเปลี่ยนตำแหนง ของ และกดปุม เพื่อปรับความเขมสวาง ของโทนเข ม (0 - 127) และปรั บ ความเข ม สว า งของโทน สวาง(128 - 255) ไดอยางอิสระ เหมาะสำหรับใชกับภาพคนที่ถายยอนแสง ซึ่งทำใหใบหนามืดเกินไป เมื่อตั้งระบบนี้เปน [On] ใบหนาของคนในภาพจะดูสวางขึ้นในภาพที่พิมพออกมา เหมาะสำหรับใชกบั ภาพคนทีถ่ า ยดวยแฟลช ซึง่ อาจทำใหเกิดตาแดง เมือ่ ตัง้ ระบบนีเ้ ปน [On] ตาของคนในภาพจะไมแดงเมือ่ พิมพภาพออกมา สัญลักษณ [ Brightener] และ [Red eye corr.] จะไมปรากฏบนจอภาพ

เมือ่ เลือกรายการ [Detail set.] ผใู ชสามารถปรับตัง้ [Contrast] [Saturation] [Color tone] และ [Color balance] และเมือ่ ตองการปรับ [Color balance] ใชปุม ในการปรับ โดย B(Blue - สีน้ำเงิน) A(Amber - สีเหลืองอำพัน) M(Magenta - สีมวงแดงเขม) และ G(Green - สีเขียว) จะเปลี่ยนสีไปตามลำดับ เมื่อเลือก [Clear all] คาทีป่ รับตัง้ ไวทงั้ หมดจะกลับไปเปนแบบคามาตรฐานของผผู ลิต


 ารพิ ม พ การตัดสวนภาพ ปรับแกความเอียงของภาพ

ผใู ชสามารถตัดสวนภาพ และเลือกพิมพเฉพาะพืน้ ที่ ซึ่ ง ไม ถู ก ตั ด ออกไป เหมื อ นภาพได ถู ก จั ด องค ประกอบภาพใหม ให ตั ด ส ว นของภาพให เ รี ย บ รอยกอนสั่งพิมพ และถามีการตัดสวนภาพไวกอน แลวจึงปรับตั้งสำหรับการพิมพ ก็อาจตองตัดสวน

จากหนาจอที่แสดงการปรับตั้งสำหรับการพิมพ เลือก [Trimming] เลือกขนาดของกรอบตัดสวนภาพ ตำแหนง และอัตราสวน เฉพาะพื้นที่ของภาพในกรอบจะถูกพิมพออกมา และสามารถปรับตั้งขนาดของ กรอบภาพทางแนวตั้งและแนวนอนไดใน [Paper settings] เปลี่ยนขนาดของกรอบตัดสวนภาพ เมื่ อ ผู ใ ช ก ดปุ ม หรือ ขนาดของกรอบภาพจะเปลี่ยนไป ยิ่งกรอบมีขนาดเล็กลงมากเทาใด ภาพที่พิมพออกมาจะเปนการพิมพดวยอัตรา ขยายที่ สู ง ยิ่ ง ขึ้ น การเลื่อนกรอบตัดสวนภาพ สามารถใชปุม Multi-controller ในการเลื่อนกรอบตัดสวนไปยังบริเวณ ตางๆ ของภาพ ทั้งทางแนวตั้งและแนวนอน เลื่อนกรอบตัดสวนนี้ไปใน ตำแหนง ที่ จ ะได อ งค ป ระกอบภาพที่ ผู ใ ช พ อใจ หมุนกรอบตัดสวนภาพ ทุ ก ๆ ครั้ ง ที่ ก ดปุ ม กรอบภาพจะถู ก หมุ น สลั บ กั น ระหว า งแนวตั้ ง และแนวนอน การปรั บ ตั้ ง แบบนี้ ช ว ยให ผู ใ ช ส ามารถพิ ม พ ภ าพด ว ยองค ป ระกอบ ภาพที่ เ ป น แนวตั้ ง จากภาพที่ ถ า ยในแนวนอนได ปรับแกความเอียงของภาพ ผูใชสามารถปรับความเอียงของภาพดวยการหมุน ซึ่งชวยแกไขภาพที่ ถายมาเอียงไดในมุม +/- 10 องศา โดยปรับไดขั้นละ 0.5 องศา โดยเมื่อมีการปรับ แก ค วามเอี ย ง สั ญ ลั ก ษณ ที่ ป รากฏในภาพจะเปลี่ ย นเป น สี น้ำ เงิ น

กดปุม

เพื่อออกจากการตัดสวนภาพ

จอภาพจะกลับไปสูการแสดงรายการปรับตั้งสำหรับการพิมพ ผูใชสามารถตรวจสอบพื้นที่ของภาพที่ถูกตัดสวนไดจากมุมบนดานซายของหนา จอที่แสดงรายการปรับตั้งสำหรับการพิมพ


 ารพิ ม พ ภาพที่ ถู ก ตั ด ส ว นอาจจะไม ไ ด พิ ม พ อ อกมาตรงตามรู ป แบบที่ ผู ใ ช ตั ด ส ว นไว ก็ ไ ด โดยขึ้ น อยู กั บ เครื่ อ งพิ ม พ ที่ ใ ช ยิ่ ง ปรั บ ให ก รอบตั ด ส ว นภาพมี ข นาดเล็ ก ลงเท า ใด ภาพที่ พิ ม พ อ อกมาก็ จ ะดู ห ยาบมากขึ้ น เนื่ อ งจากผลของการขยายภาพในอั ต ราส ว นสู ง ๆ ขณะที่ ตั ด ส ว นภาพ ควรดู ที่ จ อภาพของกล อ งตลอดเวลา ถ า ดู ภ าพจากจอโทรทั ศ น ตำแหน ง และขนาดของกรอบตั ด ส ว นภาพอาจแสดงผลได ไ ม แ ม น ยำมากนั ก

จัดการกับความผิดพลาดของเครื่องพิมพ

เมื่ อ ผู ใ ช จั ด การแก ป ญ หาความผิ ด พลาดจากเครื่ อ งพิ ม พ ( ไม มี ห มึ ก กระดาษหมด ฯลฯ) และ สั่ ง [Continue] เพื่ อ ให เ ครื่ อ งทำงานอี ก ครั้ ง แต เ ครื่ อ งพิ ม พ ก็ ยั ง ไม ทำงาน ให ล องกดปุ ม บนเครื่ อ งพิ ม พ เ พื่ อ สั่ ง ให เ ครื่ อ งพิ ม พ ทำงานใหม ในรายละเอี ย ด อ า นจากคู มื อ ของเครื่ อ งพิ ม พ

ขอความเตือนความผิดพลาด

เมื่อมีปญหาเกิดขึ้นในขณะทำการพิมพ จะมีขอความเตือนความผิดพลาดปรากฏขึ้นที่จอ LCD ของกล อ ง ให ก ดปุ ม เพื่ อ หยุ ด การพิ ม พ และหลั ง จากที่ ไ ด แ ก ป ญ หาแล ว ให สั่ ง การ พิ ม พ ใ หม อี ก ครั้ ง สำหรั บ รายละเอี ย ดในการแก ป ญ หาเกี่ ย วกั บ ตั ว เครื่ อ งพิ ม พ อ า นจากคู มื อ ของเครื่ อ ง

ความผิดพลาดเกี่ยวกับกระดาษ

ตรวจสอบดู ว า ได ใ ส ก ระดาษในเครื่ อ งพิ ม พ อ ย า งถู ก ต อ งเรี ย บร อ ยดี แ ล ว หรื อ ไม

ความผิดพลาดเกี่ยวกับหมึกพิมพ

ตรวจสอบระดั บ หมึ ก พิ ม พ แ ละถั ง บรรจุ น้ำ หมึ ก

ความผิดพลาดเกี่ยวกับตัวเครื่อง

ตรวจสอบความผิ ด พลาดอื่ น ๆ ของตั ว เครื่ อ ง นอกเหนื อ จากส ว นของกระดาษและหมึ ก พิ ม พ

ความผิดพลาดเกี่ยวกับไฟลภาพ

ภาพที่ เ ลื อ กนั้ น ไม ส ามารถสั่ ง พิ ม พ ไ ด ผ า นระบบ PictBridge และไฟล ภ าพที่ ถ า ยด ว ยกล อ ง ตั ว อื่ น หรื อ ภาพที่ ผ า นการปรั บ แต ง ในคอมพิ ว เตอร แ ล ว จะไม ส ามารถพิ ม พ ไ ด


igital Print Order Format (DPOF)

ตั้งรูปแบบของการพิมพ วันที่ และหมายเลขลำดับภาพที่จะพิมพพรอมภาพ การปรับตั้งนี้จะถูกนำไปใชกับไฟลภาพทุกๆ ไฟล และไมสามารถปรับตั้งแยกเฉพาะ ไฟลภาพในแตละไฟลได

ปรับตัง้ ตัวเลือกในการพิมพ

เลือก [Print order] (สั่งพิมพ) ในแถบรายการของ [ จากนัน้ กดปมุ

] เลือก [Print order]

เลือก [Set up] (ตั้งคา)

เลื อ ก [Set up] จากนั้ น กดปุ ม

เลือกตัวเลือกที่ตองการ

เลื อ ก [Print type], [Date] และ [File No.] (แบบการพิ ม พ , วั น ที่ , เลขที่ ภ าพ) เลือกจากตัวเลือกที่มีอยูในรายการ จากนั้ น กดปุ ม และยื น ยั น การปรั บ ตั้ ง ด ว ยปุ ม


igital Print Order Format (DPOF) (มาตรฐาน)

รูปแบบ การพิมพ วันที่ หมายเลข ไฟลภาพ

(ดั ช นี )

พิมพภาพ 1 ภาพ ในกระดาษ 1 แผน พิมพภาพขนาดเล็กๆ พรอมกันหลายๆ ภาพในแผนเดียวกัน

(ทั้ ง คู )

พิมพไดทงั้ ภาพแบบปกติ และภาพดัชนี พิมพวนั ทีถ่ า ยภาพ ทับลงบนภาพ พิมพหมายเลขลำดับของไฟล ทับลงบนภาพ

ออกจากการปรับตั้ง กดปุ ม กลับไปแสดงรายการในหนา [Print order] (เลื อ กภาพ) (ตาม

ลำดับตอไป เลือก [Sel.Image] [By [All Image] เพื่ อ สั่ ง การพิ ม พ

)

] หรือ

(ทุ ก ภาพ)

แม ว า [Date] และ [File No.] จะถู ก ตั้ ง เป น [On] แต เ ครื่ อ งพิ ม พ อ าจจะไม พิ ม พ วั น ที่ แ ละ หมายเลขลำดั บ ของไฟล ภ าพลงบนภาพก็ ไ ด ขึ้ น อยู กั บ การปรั บ ตั้ ง รู ป แบบการพิ ม พ แ ละ ตั ว เครื่ อ งพิ ม พ เมื่ อ พิ ม พ ภ าพด ว ย DPOF ผู ใ ช ต อ งใช ก าร ด แผ น เดี ย วกั บ ที่ ไ ด ตั้ ง คำสั่ ง งานพิ ม พ แ บบ DPOF เอาไว ระบบนี้จะไมทำงานกับไฟลภาพที่ถายหลังจากการปรับตั้งไปแลว และไฟล ภาพที่ นำเอามาจากที่ อื่ น เครื่ อ งพิ ม พ ที่ ส นั บ สนุ น ระบบ DPOF บางรุ น และผู ใ ห บ ริ ก ารงานพิ ม พ ( หรื อ อั ด ขยาย ภาพ)บางรายอาจไม ส ามารถพิ ม พ ภ าพในลั ก ษณะที่ ผู ใ ช กำหนดไว ถ า กรณี นี้ เ กิ ด ขึ้ น กั บ เครื่ อ งพิ ม พ ส ว นตั ว ให ศึ ก ษารายละเอี ย ดจากคู มื อ ของเครื่ อ งพิ ม พ และตรวจสอบจาก ผู ใ ห บ ริ ก ารงานพิ ม พ เ กี่ ย วกั บ ความเข า กั น ของระบบ ห า มใส ก าร ด ที่ มี ก ารปรั บ ตั้ ง คำสั่ ง งานพิ ม พ ( Print order) จากกล อ งตั ว อื่ น หรื อ รุ น อื่ น เข า ไปในตัวกลองและพยายามปรับตั้งตัวเลือก เพราะมันอาจจะไมไดผล และขอมูลเกาอาจ ถู ก ลบหายไป และเช น กั น คำสั่ ง งานพิ ม พ อ าจจะทำงานไม ไ ด ผ ลกั บ ไฟล ภ าพบางชนิ ด รู ป แบบการพิ ม พ แ ละคำสั่ ง งานจาก DPOF จะไม ทำงานเมื่ อ ใช กั บ ไฟล แ บบ RAW เมื่ อ สั่ ง พิ ม พ แ บบดั ช นี [Index] ทั้ ง วั น ที่ [Date] และหมายเลขลำดับไฟลภาพ [File No.] จะไมสามารถปรับใหเปน [On] ไดในเวลาเดียวกัน


igital Print Order Format (DPOF) สัง่ พิมพภาพ (เลือกภาพอยางเจาะจง) เลือกภาพที่ตองการพิมพทีละภาพ เมื่อกดปุม หนาจอจะแสดงภาพพรอมกัน 3 ภาพ และเมื่อตอง การกลับสูการแสดงภาพเดี่ยวตามปกติ ใหกดปุม หลั ง จากเลื อ กภาพได จำนวนครบตามที่ ต อ งการ แล ว ให ก ดปุ ม เพื่ อ เก็ บ บั น ทึ ก คำสั่ ง งานที่ ป รั บ ตั้ ง ไว ล งในการ ด

ปริมาณ(จำนวน) จำนวนภาพทั้งหมดที่ถูกเลือก

เครื่องหมาย สัญลักษณของการพิมพภาพดัชนี

(ตาม

กดปุ ม พิ ม พ

(มาตรฐาน) (ทั้งคู) เพื่ อ เลื อ กปริ ม าณภาพที่ ต อ งการ

(ดั ช นี ) กดปุ ม เพื่ อ ทำเครื่ อ งหมาย ภาพที่ ต อ งการให พิ ม พ ใ นแบบดั ช นี

ให กั บ

)

โดยเลือก [Mark all in folder] และเลื อ กโฟลเดอร ที่ ต อ งการ คำสั่ ง การพิ ม พ จ ะพิ ม พ ภาพทุกๆ ภาพในโฟลเดอรนั้นจำนวน 1 ภาพ ถาผูใชเลือก [Clear all on card] สำหรับ โฟลเดอรใด คำสั่งการพิมพของภาพในโฟลเดอรนั้นก็จะถูกยกเลิก (ทุ ก ภาพ)

เมื่ อ เลื อ ก [Mark all on card] คำสั่ ง การพิ ม พ จ ะมี ผ ลต อ ภาพทุ ก ๆ ภาพในการ ด โดย พิ ม พ ภ าพทุ ก ภาพจำนวน 1 ภาพ ถ า ผู ใ ช เ ลื อ ก [Clear all on card] คำสั่ ง การพิ ม พ ของทุกๆ ภาพในการดจะถูกยกเลิกทั้งหมด ไฟล ภ าพที่ เ ป น RAW จะไม ถู ก รวมอยู ด ว ยในคำสั่ ง พิ ม พ แม จ ะใช คำสั่ ง “By “ หรื อ “All image” ก็ ต าม เมื่อใชเครื่องพิมพที่สนับสนุนระบบ PictBridge ไมควรสั่งพิมพภาพเกิน 400 ภาพในคราว เดี ย ว ถ า สั่ ง พิ ม พ เ กิ น กว า นี้ เครื่ อ งพิ ม พ อ าจจะไม ทำงาน


¾Ôมพจากกลองโดยตรงดวย DPOF

ดวยเครื่องพิมพที่สนับสนุนระบบ PictBridge ผูใช สามารถสัง่ พิมพภาพไดดว ยวิธกี ารงายๆ ดวย DPOF

เตรียมการพิมพ ดูหนา 236 รายละเอียดตามวิธกี าร “ตอเชือ่ มกลองกับเครือ่ งพิมพ” และทำตามจนถึงขัน้ ตอนที่ 5

ในแถบรายการของ [ ] เลือก [Print order] เลือก [Print] [Print] จะปรากฏอยู บ นจอภาพก็ ต อ เมื่ อ มี ก ารต อ เชื่ อ มกล อ งกั บ เครื่ อ งพิ ม พ แ ล ว และเครื่องพิมพสามารถทำงานได เลือกกระดาษ [Paper settings] (น.238) ปรับตั้ง “ผลพิเศษของการพิมพ” (น. 240) ถาจำเปน

เลือก [OK]

ก อ นจะสั่ ง พิ ม พ ตรวจสอบให มั่ น ใจว า เลื อ กขนาดกระดาษแล ว เครื่ อ งพิ ม พ บ างรุ น ไม ส ามารถพิ ม พ ห มายเลขลำดั บ ของไฟล ภ าพได ถ า ตั้ ง แบบ [Bordered] วั น ที่ จ ะถู ก พิ ม พ อ ยู ใ นบริ เ วณขอบขาว(ขึ้ น อยู กั บ เครื่ อ งพิ ม พ ) ตั ว เลขแสดงวั น ที่ อ าจจะดู เ หมื อ นถู ก พิ ม พ บ นพื้ น สว า ง หรื อ บนขอบขาว(ขึ้ น อยู กั บ เครื่ อ ง พิ ม พ ) ใน [Adjust levels] ไมสามารถจะเลือกเปน [Manual] ได ถ า มี ก ารสั่ ง หยุ ด พิ ม พ และต อ งการพิ ม พ ภ าพที่ ยั ง ไม ไ ด พิ ม พ ต อ ไป เลื อ ก [Resume] แต เครื่ อ งพิ ม พ จ ะไม ก ลั บ มาทำงานอี ก ถ า หากมี ก ารหยุ ด และผู ใ ช ไ ด ทำสิ่ ง ต อ ไปนี้ : • ก อ นที่ จ ะสั่ ง ให ทำงานต อ [Resume] ผู ใ ช ไ ด ป รั บ เปลี่ ย นคำสั่ ง งานพิ ม พ ( Print order) หรื อ มี ก ารลบภาพใดๆ ที่ ถู ก สั่ ง ให พิ ม พ • กรณี ที่ พิ ม พ แ บบดั ช นี ได มี ก ารเปลี่ ย นแปลงเกี่ ย วกั บ กระดาษก อ นที่ จ ะสั่ ง ให ทำงานต อ หรื อ เมื่ อ ความจุ ข องการ ด เหลื อ อยู น อ ยมาก • ในขณะที่ เ ครื่ อ งพิ ม พ ถู ก สั่ ง ให ห ยุ ด ทำงาน และกล อ งแสดงความจุ ข องการ ด ที่ ล ดต่ำ ลง หากมี ป ญ หาใดๆ เกิ ด ขึ้ น ในระหว า งเครื่ อ งพิ ม พ ทำงานอยู ดู ร ายละอี ย ดหน า 244


Custom Functions

»ÃѺ¡ÅŒÍ§ãËŒ·Ó§Ò¹ ã¹Åѡɳзյ è Í Œ §¡Òà ปรับกลองใหทำงานในลักษณะที่ตองการ

ผูใชสามารถปรับใหฟงกชั่นตางๆ ในกลองใหทำงานตามแบบที่ตองการ ดวย Custom Functions นอกจากนี้ กลองยังออกแบบใหสามารถบันทึกขอมูลการ ปรั บ ตั้ ง ฟ ง ก ชั่ น ต า งๆ ณ เวลานั้ น โดยบั น ทึ ก ไว ที่ ตำแหน ง < C > บนวงแหวนปรับเลือกระบบบันทึกภาพ ซึ่งคุณสมบัติตางๆ ที่อธิบาย รายละเอี ย ดในบทนี้ สามารถใช ไ ด เ มื่ อ บั น ทึ ก ภาพที่ อ ยู ภ ายใน Creative Zone


การปรับตัง้ Custom Functions เลือก [

]

เลื อ กกลุ ม

เลือกกลุมของ Custom Function C.Fn I – IV ที่ ต อ งการ จากนั้ น กดปุ ม

หมายเลข Custom Function

เลือกหมายเลขของ Custom Function

กดปมุ เพือ่ เลือกหมายเลขของ Custom Function ที่ตองการเลือก จากนั้นกด

ปรั บ เปลี่ ย นตามที่ ต อ งการ

เพื่อเลือกปรับตั้ง(หมายเลข) จากนั้ น กดปุ ม หากตองการตั้ง Custom Functions อื่นๆ ให ทำตามขั้ น ตอนที่ 2 ถึ ง 4 Custom Functions ที่ ป รั บ ตั้ ง อยู ใ นขณะนั้ น จะแสดงที่ ด า นล า งสุ ด ของจอภาพ โดยอยู ถั ด จากลำดั บ ก อ นหน า

ออกจากการปรับตั้ง กดปมุ หนาจอจะกลับสูการแสดงรายการในขั้นตอนที่ 2

ยกเลิกการปรับตั้ง Custom Functions ทั้งหมด ในขั้ น ตอนที่ 2 ถ า หากเลื อ ก [Clear all Custom Func.(C.Fn)] (ลบการตั้งคาระบบสวนตัว (C.Fn)ทั้งหมด) กลองจะลบการปรับตั้งที่ผูใชทำเอาไว และเปลี่ยนกลับไปเปนคามาตรฐานที่ตั้งมาโดยผูผลิต

แมจะยกเลิกการปรับตั้ง Custom Functions ทั้งหมดแต [ Screen] จะไม มี ก ารเปลี่ ย นแปลง

C.Fn IV-4:Focusing


ustom Functions (การเปดรับแสง) Exposure Level Increments (ระดับขั้นในการปรับแสง) ISO Speed Setting (ระดับขั้นในการปรับความไวแสง) (น.252) ISO Expansion (ขยายเพิ่มความไวแสง) Bracketing auto cancel (ยกเลิกถายภาพครอมอัตโนมัติ) Bracketing sequence (ลำดั บ การถ า ยภาพคร อ ม) Safety shift (ปรับเปลี่ยนคาอยางปลอดภัย) (น.253) Flash sync. speed in Av mode (ชั ต เตอร สั ม พั น ธ แ ฟลชของระบบ Av)

(การจัดการภาพ) ญ ญาณรบกวน Long exposure noise reduction (ลดสั เมื่ อ เป ด รั บ แสงนาน) ญ ญาณรบกวน High ISO dpeed noise reduction (ลดสั เมื่ อ ความไวแสงสู ง ) Highlight tone priority (เพิ่มรายละเอียดในสวนสวาง)

(น.254) (น.255)

(ออโตโฟกัส/ระบบขับเคลื่อน) Lens drive when AF impossible (เมื่อ AF จับภาพไมได) (น.255) AF point selection method (วิธีเลือกจุดโฟกัส) Superimposed display (การติดสวางของจุดโฟกัส) (น.256) AF-assist beam firing (การยิงแสงของไฟชวยหาโฟกัส) (น.257) Mirror lockup (ล็อคกระจกสะทอนภาพ) (การปรับควบคุม/อื่นๆ) (น.257) AF and metering buttons (ปุม AF และปุมวัดแสง) Assign SET button (กำหนดหน า ที่ ข องปุ ม SET) (น.258) Dial direction during Tv/Av (ทิศทางการหมุนปรับ) (น.259) Focusing Screen (โฟกัสสกรีน) Add image verification data (เพิ่มขอมูลตรวจสอบภาพ) (น.260)

ยกเวน

Custom Functions บางอันจะจางลงในขณะถายภาพดวยระบบ Live View(LV) และไม ส ามารถปรั บ ตั้ ง ได ใ นขณะนั้ น Custom Functions จะไมมีผลตอการถายภาพยนตร


ารปรับตัง้ Custom Functions (การเปดรับแสง / ระดับแสง) ความละเอียดในการปรับคาแสง (ระดับขั้นในการตั้งคาระดับแสง) การปรับใหความละเอียดในการปรับคาแสงเปน 1/2 stop สำหรับการปรับชัตเตอร ชองรับ แสง ชดเชยแสง ถายภาพครอมอัตโนมัติ ชดเชยแสงแฟลช ฯลฯ การปรับตั้งนี้เหมาะสำหรับ ผูใชที่ตองการเปดรับแสงที่มีความละเอียดต่ำกวา 1/3 stop ถ า ตั้ ง เป น 1 กล อ งจะแสดงระดั บ ค า แสงในช อ งเล็ ง ภาพและที่ จ อ LCD ดั ง ที่ แ สดง ไวดานลาง

ความละเอียดในการตั้งความไวแสง (ระดับขั้นในการตั้งคาความไวแสง ISO) ขยายความไวแสง เพื่อปรับใหความไวแสงมีตัวเลือก “H” (เทียบเทากับ ISO 12800) และโปรดทราบวา ถ า เมนู [ C-Fn. ii-3: Highlight tone priority] ได ตั้ ง เป น [1:Enable] จะไม สามารถเลือก “H” (เทียบเทากับ ISO 12800) ได ยกเลิกระบบถายภาพครอมอัตโนมัติ ระบบถ า ยภาพคร อ มอั ต โนมั ติ และระบบถ า ยภาพคร อ มสมดุ ล สี ข าวอั ต โนมั ติ จ ะถู ก ยกเลิ ก เมื่ อ ป ด สวิ ต ซ ก ล อ ง หรื อ เมื่ อ ล า งการปรั บ ตั้ ง และระบบถ า ยภาพคร อ มจะถู ก ยกเลิ ก เช น กั น เมื่ อ แฟลชพร อ มทำงาน หรื อ ปรั บ สวิ ส ซ ไ ปที่ ร ะบบถ า ยภาพยนตร ระบบถ า ยภาพคร อ มอั ต โนมั ติ และระบบถ า ยภาพคร อ มสมดุ ล สี ข าวที่ ป รั บ ตั้ ง ไว จ ะยั ง คงมี ผลอยู แม จ ะป ด สวิ ต ซ ข องกล อ ง และเมื่ อ แฟลชพร อ มทำงาน ระบบถ า ยภาพคร อ ม อัตโนมัติจะถูกยกเลิกไป อยางไรก็ตาม ระดับการถายภาพครอมอัตโนมัติจะยังคงอยูในหนวย ความจำของกล อ ง


ารปรับตัง้ Custom Functions ลำดับการถายภาพครอม สามารถเปลี่ยนลำดับของการถายภาพครอม และการถายภาพครอมสมดุลสีขาวได

คาแสงพอดี คาแสงนอยกวาพอดี คาแสงมากกวาพอดี

ถายภาพครอมสมดุลสีขาว ทิศทาง B/A ทิศทาง M/G

สมดุลสีขาวมาตรฐาน เพิม่ น้ำหนักสีน้ำเงิน เพิม่ น้ำหนักสีอำพัน

สมดุลสีขาวมาตรฐาน เพิม่ น้ำหนักสีมว งแดง เพิม่ น้ำหนักสีเขียว

ปรับเปลี่ยนคาอยางปลอดภัย (เลื่อนคาเอง) (ไม ใ ช ง าน) (ใชงาน Tv/Av) การปรั บ ตั้ ง แบบนี้ เ หมาะสำหรั บ การใช ร ะบบบั น ทึ ก ภาพ shutter-priority AE( Tv ) และ aperture-priority AE(Av) เมื่ อ ความเข ม สว า งของวั ต ถุ เ ปลี่ ย นแปลงไปตลอดเวลา ซึ่ ง ในแบบ ปกติ จ ะไม ส ามารถหาค า แสงที่ เ หมาะสมได โ ดยอั ต โนมั ติ การปรั บ เปลี่ ย นฟ ง ก ชั่ น นี้ จ ะช ว ยให กล อ งเปลี่ ย นค า การเป ด รั บ แสงได โ ดยอั ต โนมั ติ ทั น ที ที่ ค า แสงเปลี่ ย นแปลงไป ความไวชั ต เตอร สั ม พั น ธ แ ฟลชเมื่ อ ใช ร ะบบ Av ตามปกติ ความไวชั ต เตอร สั ม พั น ธ แ ฟลชจะถู ก ปรั บ ตั้ ง โดยอั ต โนมั ติ ภ ายในช ว ง 1/250 วิ น าที ถึ ง 30 วิ น าที และสามารถใช ร ะบบ High Speed Sync ได (อั ต โนมั ติ )

(วิ น าที / อั ต โนมั ติ )

เมื่อใชแฟลชกับระบบบันทึกภาพ aperture-priority AE (Av) กล อ งจะเลื อ กชั ต เตอร ในช ว งระหว า ง 1/250 -1/60 วิ น าที เพื่ อ ป อ งกั น ไม ใ ห ชั ต เตอร ต่ำ เกิ น ไป เมื่ อ ถ า ยภาพ ด ว ยแฟลชในสภาพแสงน อ ย เพื่ อ ป อ งกั น ภาพเบลออั น เป น ผลจากกล อ งสั่ น อย า งไร ก็ตาม วัตถุจะไดรับแสงแฟลชพอดี แตฉากหลังอาจจะเขมหรือมืดก็ได (คงที่ )

ความไวชั ต เตอร จ ะถู ก ตั้ ง ไว ต ายตั ว ที่ 1/250 วิ น าที เหมาะที่ จ ะใช เ มื่ อ ต อ งการป อ งกั น ภาพเบลอ และปองกันกลองสั่นไดมากกวาตัวเลือก 1 อยางไรก็ตาม ฉากหลังของภาพ จะเข ม หรื อ ดำมากกว า ตั ว เลื อ ก 1


ารปรับตัง้ Custom Functions (ภาพ) ลดสัญญาณรบกวนเมื่อเปดรับแสงนานๆ (ป ด ) (ลดจุดรบกวนจากการเปดชัตเตอรนาน) (อั ต โนมั ติ ) เมื่อเปดรับแสงดวยเวลานานตั้งแต 1 วินาทีขึ้นไป ระบบลดสัญญาณรบกวนจะทำงานโดยอัตโนมัติ เมื่อกลองตรวจพบการเกิดสัญญาณรบกวนขึ้น การตั้งเปน [Auto] จะเหมาะสำหรับการใชงาน แทบทุกกรณี (เป ด ) เมื่ อ เป ด รั บ แสงด ว ยเวลานานตั้ ง แต 1 วิ น าที ขึ้ น ไป ระบบลดสั ญ ญาณรบกวนจะทำงานโดย อั ต โนมั ติ โดยเมื่ อ ตั้ ง เป น [On] ระบบลดสัญญาณรบกวนจะมีประสิทธิภาพมากกวา โดยกลอง จะลดสั ญ ญาณรบกวนที่ ไ ม อ าจตรวจพบโดยกล อ ง ในกรณี ที่ ตั้ ง เป น [Auto] ด ว ย เมื่อปรับตั้ง 1 และ 2 หลังถายภาพแลว ระบบลดสัญญาณรบกวนจะลดสัญญาณรบกวน โดยใชเวลาเทาๆ กับเวลาในการเปดรับแสงของภาพนั้นๆ และในขณะที่ระบบกำลังทำงาน ผูใชจะไมสามารถถายภาพใดๆ ตอไปไดจนกวาระบบลดสัญญาณรบกวนจะทำงานเสร็จ ที่ ISO 1600 หรือสูงกวา ถาเลือกตัวเลือก 2 จะปรากฏสัญญาณรบกวนมากกวาเลือกตัว เลื อ ก 0 หรื อ 1 เมื่อเลือกตัวเลือก 2 และเปดรับแสงเปนเวลานานดวยระบบ Live View ตัวอักษร “BUSY” จะปรากฏขึ้ น และการแสดงภาพจากระบบ Live View จะหายไป จนกว า ระบบลด สั ญ ญาณรบกวนจะทำงานเสร็ จ (ในระหว า งนั้ น จะถ า ยภาพต อ ไปไม ไ ด ) ลดสัญญาณรบกวนเมื่อถายดวยความไวแสงสูง(ลดจุดรบกวนจากความไวแสงสูง) แม ว า สั ญ ญาณรบกวนอาจจะเกิ ด ขึ้ น ได ทุ ก ความไวแสง แต มั ก จะเกิ ด ขึ้ น มากเมื่ อ ถ า ยภาพด ว ย ความไวแสงสู ง เมื่ อ ถ า ยภาพด ว ยความไวแสงต่ำ ก็ อ าจจะมี สั ญ ญาณรบกวนเกิ ด ขึ้ น ในที่ มื ด ของ ภาพ สั ญ ญาณรบกวนในบริ เ วณนี้ ก็ จ ะถู ก ลดลงในขั้ น ต อ ไปด ว ย สามารถเลื อ กการปรั บ ตั้ ง ของ ฟ ง ก ชั่ น นี้ ไ ด ต ามความเหมาะสม (0: มาตรฐาน) (2: สูง ) Standard Strong (1: ต่ำ ) (3: ไม ใ ช ง าน) Low Disable

เมื่อปรับตั้งเปน 2 ความเร็วในการถายภาพตอเนื่องสูงสุดจะลดลงเปนลำดับ เมื่อเลนดูไฟลแบบ RAW หรือ RAW+JPEG ดวยกลองหรือสั่งพิมพภาพโดยตรง จากกลอง ผลของการลดสัญญาณรบกวนอาจดูนอยลงมาก ผูใชสามารถตรวจ สอบผลการลดสัญญาณรบกวน หรือดูภาพที่พิมพโดยลดสัญญาณรบกวน ดวย Digital Photo Professional (ซอฟทแวรที่ไดมาพรอมกลอง)


ารปรับตัง้ Custom Functions เพิ่มรายละเอียดในสวนสวางของภาพ (เน น โทนภาพบริ เ วณสว า ง) (ไม ใ ช ง าน) (ใช ง าน)

ฟ ง ก ชั่ น นี้ จ ะช ว ยปรั บ ปรุ ง รายละเอี ย ดในส ว นสว า งของภาพให เ พิ่ ม มากขึ้ น โดยการ ขยายช ว งของความเข ม สว า งให ก ว า งขึ้ น ระหว า งสี เ ทากลาง 18% กั บ ส ว นที่ ส ว า งของ ภาพ และปรั บ ให ก ารไล โ ทนจากสี เ ทาไปยั ง ส ว นสว า งเกิ ด ความนุ ม นวลมากขึ้ น เมื่ อ เลื อ กตั ว เลื อ ก 1 [Disable] ระบบปรั บ ความเข ม สว า งอั ต โนมั ติ จ ะทำงาน (น.101) และไม ส ามารถปรั บ เปลี่ ย นได เมื่ อ เลื อ กตั ว เลื อ ก 1 สั ญ ญาณรบกวนซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น ในที่ มื ด ของภาพจะมากกว า ปกติ เ ล็ ก น อ ย

เมื่ อ เลื อ กตั ว เลื อ ก 1 ความไวแสง(ISO) ที่ ป รั บ ตั้ ง ได จ ะอยู ใ นช ว งระหว า ง 200-6400 และมี สั ญ ลั ก ษณ <D+> ปรากฏขึ้นที่จอ LCD และในชองเล็งภาพ

(ออโตโฟกัส/ระบบขับเคลื่อน)

(ระบบขั บ เคลื่ อ นเลนส เ มื่ อ ปรั บ AF ไม ไ ด )

เมื่ อ ระบบออโต โ ฟกั ส ทำงานแล ว แต ไ ม ส ามารถจั บ ความชั ด ได สามารถสั่ ง ให ก ล อ งหา โฟกั ส ต อ ไปหรื อ หยุ ด การทำงาน (ใช ร ะบบค น หาโฟกั ส ) (ไม ใ ช ร ะบบค น หาโฟกั ส )

ป อ งกั น ไม ใ ห ก ล อ งที่ จั บ โฟกั ส แบบอั ต โนมั ติ ไ ม ไ ด ต อ งจั บ โฟกั ส อยู ต ลอดเวลา และทำให มองเห็ น ภาพที่ เ บลอ โดยเฉพาะเมื่ อ ใช เ ลนส เ ทเลโฟโต ซึ่ ง มี โ อกาสที่ โ ฟกั ส จะหลุ ด ไปไกล จนไม ส ามารถมองเห็ น สิ่ ง ใดๆ วิ ธี เ ลื อ กจุ ด โฟกั ส (วิ ธี เ ลื อ กจุ ด AF) ผู ใ ช ส ามารถกดปุ ม การเลื อ ก กดปุ ม ปุ ม

จากนั้ น ใช ปุ ม

(เปดระบบเลือก AF / เลือกจุด AF) Multi-controller สำหรั บ ควบคุ ม ทิ ศ ทางใน

(เลื อ กอั ต โนมั ติ / เลื อ กเอง) เพื่ อ ตั้ ง เป น ระบบเลื อ กจุ ด โฟกั ส อั ต โนมั ติ และเมื่ อ ต อ งการเลื อ กจุ ด โฟกั ส เอง ใช เลื อ กได ทั น ที โ ดยไม ต อ งกดปุ ม ก อ น

เมื่ อ เลื อ ก 1 การปรั บ ตั้ ง C Fn.IV-2 [Assign SET button] จะไม ทำงาน


ารปรับตัง้ Custom Functions การติดสวางของจุดโฟกัส (แสดงภาพซอน) เมื่อโฟกัสภาพไดชัดแลว จุดโฟกัสที่จับภาพไดจะไมติดสวางเปนสีแดงภายในชองเล็งภาพ ตั้งเปน แบบนี้เมื่อพบวาการติดสวางของจุดโฟกัสทำใหรบกวนสมาธิในการถายภาพ และถาตั้งใหการติด สวางของจุดโฟกัสทำงาน ก็จะกลับมาติดสวางตามปกติ

การยิงแสงของไฟชวยหาโฟกัส (เปดแสงไฟชวยปรับโฟกัส) ไฟชวยหาโฟกัสในสภาพแสงนอยจะทำงานโดยใชแฟลชในตัวกลอง หรือใชแฟลชภายนอก ตัวกลองยิงแสงออกไป (ใช ง าน) (ไม ใ ช ง าน)

ไฟชวยหาโฟกัสจะไมทำงาน

(เป ด ไฟของแฟลชต อ ภายนอกเท า นั้ น )

ถ า มี ก ารติ ด ตั้ ง แฟลชภายนอกจากระบบ EOS ในสภาพแสงน อ ยหรื อ เมื่ อ จำเป น แฟลช จะยิ ง แสงออกไปเพื่ อ ช ว ยให ร ะบบหาโฟกั ส อั ต โนมั ติ จั บ ภาพได (แสงช ว ยโฟกั ส อิ น ฟราเรดเท า นั้ น )

สำหรั บ แฟลชระบบ EOS ที่ มี ม ากมายหลายรุ น เฉพาะรุ น ที่ มี ร ะบบยิ ง แสงอิ น ฟราเรด สำหรั บ ช ว ยให ร ะบบออโต โ ฟกั ส ทำงานได ง า ยขึ้ น เมื่ อ เลื อ กตั ว เลื อ กนี้ กล อ งจะไม ใ ห แฟลชรุ น อื่ น ๆ ที่ ไ ม มี แ สงอิ น ฟราเรดยิ ง แสงกระพริ บ ของแฟลชออกไป

ถา Custom Functions [AF-assist beam firing] ของแฟลชภายนอกของระบบ EOS ถูกตั้งเปน [Disable] แฟลชภายนอกจะไมยิงแสงชวยหาโฟกัสออกไป ถึงแม Custom Finction ของกลองจะตั้งเปน C.Fn III-4-0/2/3


ารปรับตัง้ Custom Functions ล็อคกระจกสะทอนภาพ (ถายภาพโดยล็อคกระจกขึ้น) (ไม ใ ช ง าน) (ใช ง าน)

ป อ งกั น ความสั่ น สะเทื อ นอั น เกิ ด จากการยกขึ้ น ลงของกระจกสะท อ นภาพในขณะลั่ น ชั ต เตอร ซึ่ ง มี ผ ลต อ ภาพถ า ยที่ ถ า ยด ว ยเลนส ซู เ ปอร เ ทเลโฟโต แ ละเลนส ม าโคร ดู ห น า 125 สำหรับรายละเอียดของการล็อคกระจกสะทอนภาพ (การใช ง าน/อื่ น ๆ) ผูใชสามารถปรับตั้งวิธีการควบคุมกลองดวยจอควบคุมแบบเร็ว (น.45) การปรับฟงกชั่นของจอควบคุมแบบรวดเร็วจะเหมือน กั บ ฟ ง ก ชั่ น ด า นล า งนี้

ปุ ม ออโต โ ฟกั ส และวั ด แสง (ปุม AF และวัดแสง) ผูใชสามารถปรับเปลี่ยนฟงกชั่นของการแตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึ่งหนึ่ง การกดปุม AF start และปุมล็อคคาแสง โดยสามารถกำหนดหนาที่ของปุมตางๆ ซึ่งผสมผสานการทำงานไดถึง สิ บ แบบ : ระบบวั ด แสงและการเริ่ ม หาโฟกั ส ล็ อ คค า แสง เริ่ ม ต น วั ด แสง หยุ ด หาโฟกั ส อัตโนมัติ และไมมีการทำงานใดๆ


ารปรับตัง้ Custom Functions กำหนดหน า ที่ ใ ห กั บ ปุ ม SET ผู ใ ช ส ามารถปรั บ เปลี่ ย นการทำงานของปุ ม ให ทำหน า ที่ เ ข า สู ฟ ง ก ชั่ น ที่ มั ก จะใชงานบอย โดยกดปุม เมื่อพรอมถายภาพแลว (ปกติ (ไม ใ ช ง าน)) (คุณภาพของภาพ) กดปุม เพื่อเขาสูหนาจอของการปรับคุณภาพในการบันทึกภาพที่จอ LCD ของกล อ ง ให ป รั บ คุ ณ ภาพในการบั น ทึ ก ภาพที่ ต อ งการ แล ว กดปุ ม อี ก ครั้ ง (รู ป แบบภาพ) กดปุม เพื่อเขาสูหนาจอของการปรับ Picture Style ที่จอ LCD ของกลอง ให ปรับPicture Style แบบที่ตองการ แลวกดปุม อีกครั้ง (สมดุลแสงขาว) กดปุม เพื่อเขาสูหนาจอของการปรับสมดุลสีขาวที่จอ LCD ของกลอง ใหปรับ สมดุลสีขาวแบบที่ตองการ แลวกดปุม อีกครั้ง (ชดเชยระดับแสงแฟลช) กดปุม เพื่อเขาสูหนาจอของการปรับชดเชยแสงแฟลชที่จอ LCD ของกลอง ให ปรับระดับแสงแฟลชที่ตองการ แลวกดปุม อีกครั้ง (ชองมองภาพ) กดปุม เพื่อใหกลองแสดงเสนระดับอีเลคทรอนิคสในชองเล็งภาพ (ใชสเกลแสดง ระดับแสง) ถา C.Fn III-2-1 (วิธีเลือกจุดโฟกัส) ไดมีการปรับตั้งไว การปรับตั้งใน [Assign SET button] จะไมทำงาน ทิ ศ ทางของวงแหวนปรั บ ตั้ ง เมื่ อ ใช Tv/Av (ทิศทางปกติ) (ทิ ศ ทางปุ ม หมุ น ขณะตั้ ง ค า Tv/Av) (กลั บ ทิ ศ ทาง) สามารถปรับตั้งใหวงแหวนซึ่งทำหนาที่หมุนปรับเปลี่ยนคาความไวชัตเตอรและชองรับ แสงทำงานแบบกลับทิศทางจากที่เปนอยูปกติได เมื่อถายภาพดวยระบบแมนนวล ทิศทางของวงแหวน และ จะกลั บ กั น สำหรั บ ระบบบั น ทึ ก ภาพแบบอื่ น วงแหวน จะกลับทิศทาง สวน จะมี ทิ ศ ทางเช น เดิ ม เหมื อ นเมื่ อ ถ า ยภาพด ว ยระบบแมนนวล และใช สำหรั บ ตั้ ง ระดั บ การ ชดเชยแสง


ารปรับตัง้ Custom Functions โฟกัสสกรีน (ฉากปรับโฟกัส) หากมีการเปลี่ยนโฟกัสสกรีนของกลองไปใชแบบอื่น ตองปรับตั้งฟงกชั่นนี้ใหตรงกับโฟกัส สกรี น แบบที่ นำมาใช เพื่ อ ให ค า การเป ด รั บ แสงถู ก ต อ ง

คุณสมบัติของโฟกัสสกรีนแบบตางๆ

Standard Precision Matte เป น โฟกั ส สกรี น ชนิ ด ที่ มี พื้ น ผิ ว รั บ ภาพความละเอี ย ดสู ง และเป น รุ น มาตรฐานที่ ติ ด ตั้ ง มากั บ กล อ ง ให ค วามสมดุ ล ที่ ดี ร ะหว า งความสว า งของ ภาพและความละเอี ย ดในการมองเห็ น เมื่ อ ปรั บ ภาพให ชั ด เอง(แมนนวลโฟกั ส )

Precision Matte with Grid เป น โฟกั ส สกรี น ชนิ ด ที่ มี เ ส น ตาราง(grid) โดยพื้ น ผิ ว จะมี ค วาม ละเอี ย ดเหมื อ นรุ น Ef-A เส น ตารางจะช ว ยให จั ด อ ง ค ป ร ะ ก อ บ ภ า พ ไ ด ง า ย ทั้ ง แ น ว ตั้ ง และแนวนอน Super Precision Matte เป น โฟกั ส สกรี น ชนิ ด ที่ มี พื้ น ผิ ว ความละเอี ย ดสู ง มากกว า รุ น Ef-A เหมาะสำหรั บ ผู ใ ช ที่ มั ก จะปรั บ ภาพให ชั ด เอง(แมนนวล)บ อ ยๆ

เกี่ยวกับ Super Precision Matte Ef-S และชองรับแสงกวางสุดของเลนส

โฟกั ส สกรี น รุ น นี้ เหมาะที่ จ ะใช กั บ เลนส ที่ มี ช อ งรั บ แสงกว า งสุ ด f/2.8 หรื อ กว า งกว า เมื่ อ ใช เ ลนส ที่ มี ช อ งรั บ แสงกว า งสุ ด แคบกว า f/2.8 ภาพในช อ งเล็ ง ภาพจะแคบกว า เมื่ อ เที ย บกั บ การใช โ ฟกั ส สกรี น รุ น Ef-A

แมผูใชจะลบลาง(clear all) Custom Functions แตการปรับตั้งภายในใน C.Fn IV-4 จะยัง คงอยู โฟกั ส สกรี น รุ น มาตรฐานของกล อ ง EOS 60D คื อ รุ น Ef-A ซึ่ ง กล อ งจะตั้ ง C. Fn IV-4-0 มาจากโรงงาน(เป น ค า มาตรฐาน) เมื่ อ ต อ งการเปลี่ ย นโฟกั ส สกรี น ให อ า นคู มื อ ที่ ไ ด ม าพร อ มกั บ โฟกั ส สกรี น หากไม ส ามารถสอดโฟกั ส สกรี น เข า ภายในกรอบยึ ด ได ให เ อี ย งกล อ งมาทางด า นหน า C. Fn IV-4 จะไม ถู ก รวมไว กั บ การบั น ทึ ก ค า โดยผู ใ ช (น.262)


ารปรับตัง้ Custom Functions เพิ่มขอมูลตรวจสอบภาพ (ใสขอมูลสำหรับตรวจสอบภาพ) (ไม ใ ช ง าน) (ใช ง าน) ขอมูลสำหรับการตรวจสอบวาภาพนั้นเปนภาพตนฉบับหรือไมจะถูกแนบไปพรอมๆ กับ ไฟลภาพโดยอัตโนมัติ และเมื่อขอมูลการถายภาพของแตละภาพไดถูกแนบไปพรอมกับ ขอมูลสำหรับการตรวจสอบแลว (น.191) สัญลักษณ จะปรากฏขึ้ น หากต อ งการตรวจสอบว า ภาพที่ ถ า ยนั้ น เป น ภาพต น ฉบั บ หรื อ ไม จะต อ งใช Original Data Security Kit OSK-E3 (อุปกรณเสริมพิเศษ) Original Data Security Kit OSK-E3. จะไมสนับสนุนรูปแบบ encryption/decryption กั บ ภาพจากกล อ งรุ น นี้


ารบันทึกคาใน My Menu

ในแถบ My Menu ผู ใ ช ส ามารถจะเลื อ กบั น ทึ ก ได ถึ ง 6 เมนู รวมทั้ ง บั น ทึ ก Custom Functions ที่ ผู ใ ช มั ก จะปรั บ ตั้ ง บ อ ยๆ เพื่ อ นำมาใช ไ ด โ ดยง า ย

เลือก [My Menu settings] (ตั้งคาเมนูสวนตัว) ในแถบ [ ] เลื อ ก [My Menu settings] จากนั้ น กดปุ ม

เลือก [Register to My Menu] (บั น ทึ ก ) เลื อ ก [Register to My Menu] จากนั้ น กดปุ ม

บันทึกรายการตางๆ ที่ตองการ

เลือกรายการที่ตองการบันทึก จากนั้ น กดปุ ม สำหรั บ การยื น ยั น เลื อ ก [OK] และกด เพื่ อ บั น ทึ ก ลงในเมนู ผูใชสามารถบันทึกรายการได 6 รายการ เมื่ อ ต อ งการกลั บ ไปยั ง หน า จอการปรั บ ตั้ ง ใน ขั้ น ตอนที่ 2 กดปุ ม

เกี่ยวกับการปรับตั้งใน My Menu Sort - เรี ย งลำดั บ ผูใชสามารถปรับตั้งลำดับของรายการตางๆ ที่จะถูกบันทึกลงใน My Menu เลือก [Sort] และเลือกรายการตางๆ ที่ตองการเปลี่ยนแปลงไปตามลำดับ จากนั้นกดปุม เพื่ อ เปลี่ ย นลำดั บ จากนั้ น กด และเมื่ อ [ ] ปรากฏขึ้ น กดปุ ม Delete / Delete all items - ลบรายการทั้งหมด ลบรายการเมนู ต า งๆ ที่ ถู ก บั น ทึ ก โดยสั่ ง [Delete item/items] เพื่อลบทีละรายการ และ [Delete all items] เพื่ อ ลบรายการทั้ ง หมด Display from My Menu - แสดงจาก My Menu เมื่ อ เลื อ ก [Enable] แถบ [ ] จะปรากฏขึ้ น ก อ นเมื่ อ ผู ใ ช สั่ ง ให ก ล อ งแสดงเมนู


นทึกคา Camera User Settings

ในวงแหวนเลือกระบบบันทึกภาพ ที่ตำแหนง ผูใชสามารถจะบันทึกคาการปรับตั้ง ต า งๆ ที่ ป รั บ ตั้ ง อยู ใ นขณะนั้ น รวมทั้ ง ระบบบั น ทึ ก ภาพที่ ช อบ เมนู รวมทั้ ง การปรั บ ตั้ ง ใน Custom Functions ฯลฯ

ปรับตั้งกลอง

เริ่ ม ต น ด ว ยการปรั บ ตั้ ง กล อ งให ทำงานตาม ฟงกชั่นที่ตองการบันทึก ไดแก ระบบบันทึกภาพ ความไวชัตเตอร ชองรับแสง ความไวแสง ระบบ AF จุดโฟกัส ระบบวัดแสง ระบบถายภาพชดเชย แสง และชดเชยแสงแฟลช การปรั บ ตั้ ง เมนู ให ดู จ ากหน า ถั ด ไป

เลือก [Camera user settings] (ตั้งคาผูใชกลอง) ในแถบ [ ] เลือก [Camera user settings] จากนั้ น กดปุ ม เลือก [Register settings] (บั น ทึ ก ) ในแถบ [ ] เลือก [Register settings] จากนั้ น กดปุ ม

เลือก [OK]

ในข อ ความยื น ยั น เลื อ ก [OK] เพื่ อ ยื น ยั น และกดปุม ค า ต า งๆ ที่ ป รั บ ตั้ ง ไว ใ นตั ว กล อ งจะถู ก บั น ทึ ก และเรี ย กกลั บ มาใช ไ ด ทั น ที เ มื่ อ หมุ น วงแหวน เลื อ กระบบบั น ทึ ก ภาพไปที่

การลบคาใน Camera user settings ในขั้ น ตอนที่ 3 ถ า เลื อ ก [Clear settings] (ลบค า ที่ บั น ทึ ก ) ค า ที่ ป รั บ ตั้ ง ไว ใ นระบบบั น ทึ ก ภาพที่ เ ลื อ กจะกลั บ ไปเป น ค า มาตรฐาน


 นทึกคา Camera User Setting การปรั บ ตั้ ง เพื่ อ บั น ทึ ก ค า

คุณภาพ, สัญญาณเสียงเตือน, การลั่นชัตเตอรโดยไมมีการด, ระยะเวลาแสดง ภาพที่ถายแลว, การปรับความเขมสวางที่ขอบภาพ, ระบบลดตาแดง(ปด/เปด), การควบคุมแฟลช (ยิงแสงแฟลช, ชัตเตอรสัมพันธแฟลช, ระดับการชดเชยแสง แฟลช, ระบบแฟลช E-TTL II, สัญญาณไรสาย) ชดเชยแสง/ถายภาพครอมอัตโนมัติ, ระบบปรับความเขมสวางอัตโนมัติ, Picture Style, สมดุลสีขาว, สมดุลสีขาวแบบปรับตั้งเอง, ถายภาพครอมสมดุลสีขาว, ระบบสี ความไวแสงอัตโนมัติ ถายภาพดวย Live View , ระบบ AF, แสดงเสนกริด, อัตราสวนภาพ, จำลองคา แสง, ถายภาพแบบเก็บเสียง, ระยะเวลาในการล็อคคาแสง เตือนพื้นที่สวนสวาง, แสดงจุดโฟกัส, histogram, การดูภาพแบบกระโดดขาม , สไลดโชว

ตั ด พลั ง งานอั ต โนมั ติ , หมุ น ภาพอั ต โนมั ติ , การกำหนดชื่ อ ไฟล ( ลำดั บ ภาพ) ความสว า งของจอ LCD, ทำความสะอาดเซนเซอร ( อั ต โนมั ติ ) , ล็ อ ควงแหวนควบคุ ม เร็ ว ตั ว เลื อ กในการแสดงข อ มู ล ของปุ ม INFO Custom Functions

การปรั บ ตั้ ง ใน My Menu จะไม ถู ก บั น ทึ ก เมื่อวงแหวนเลือกระบบบันทึกภาพถูกตั้งเปน เมนู [ Clear all camera settings] และ [ Clear all Custom Func. (C.Fn)] จะไม ทำงาน แม จ ะปรั บ วงแหวนเลื อ กระบบบั น ทึ ก ภาพไปที่ ผู ใ ช ส ามารถจะเปลี่ ย นระบบขั บ เคลื่อนหรือการปรับตั้งในเมนูได และถาตองการบันทึกคาที่ปรับเปลี่ยนเหลานั้น ใหทำตาม ขั้ น ตอนที่ แ นะนำไปในหน า ก อ นนี้ เมื่ อ กดปุ ม ค า ไว ใ น

ผู ใ ช ส ามารถตรวจสอบได ว า ระบบบั น ทึ ก ภาพแบบใด ที่ ถู ก บั น ทึ ก (น.266)



͌ҧÍÔ§ เนื้ อ หาของบทนี้ จะเป น ข อ มู ล และรายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ คุ ณ สมบั ติ ข องกล อ ง ระบบอุปกรณเสริมพิเศษ ฯลฯ


ฟงกชนั่ ของปมุ เมื่ อ กดปุ ม ขณะที่ ก ล อ งพร อ มที่ จ ะถ า ย ภาพ ผูใชสามารถตรวจสอบขอมูล [Displays camera settings], [Displays shooting functions] (น.267) และ [Electronic level] (น.127) (เลื อ กการแสดงผลโดยปุ ม INFO.)

] เมื่ อ เลื อ ก [INFO. Button display options] ให ทำงาน ผู ใ ช ส ามารถใช ปุ ม แสดงการทำงานของฟ ง ก ชั่ น ที่ กำลั ง ทำงานอยู ไ ด

ในแถบ [

เลือกรายการที่ตองการ จากนั้นกดปุม เพื่ อ ใส สั ญ ลั ก ษณ ให กั บ ฟ ง ก ชั่ น นั้ น หลังจากเลือกแลว เลือก [OK] จากนั้ น กดปุ ม โปรดทราบวา ไมสามารถยกเลิก สัญลักษณ ของตัวเลือกหมดทั้งสาม รายการได(อยางนอยตองมี 1 รายการ) ตั ว อย า งของจอภาพ [Display camera settings] (แสดงการตั้ ง ค า กล อ ง) จะแสดงเป น ภาษาอั ง กฤษ แม ว า จะปรั บ เลื อ กภาษาเป น ภาษาอื่ น ๆ แม จ ะไม เ ลื อ ก [Electronic level] โดยนำสั ญ ลั ก ษณ ก ารเลื อ กออกไป แต ร ะบบนี้ ก็ ยั ง ทำงานเสมอเมื่ อ ถ า ยภาพด ว ยระบบ Live View และถ า ยภาพยนตร

การปรับตั้งกลอง

ระบบตัดพลังงานอัตโนมัติ (น.44)

ระบบบันทึกภาพทีบ่ นั ทึกคาไวใน ตำแหนง ของวงแหวนเลือก ระบบบันทึกภาพ (น.110) (น.99, 100) (น.98) ลดตาแดง (น.131) (น.254) (น.254) (น.30)

(น.32, 85) ตัดพลังงานอัตโนมัติ (น.50)


งกชนั่ ของปมุ info การถ า ยภาพ Picture Style ความไวชัตเตอร ระบบบันทึกภาพ คาแสง / ระดับการถายภาพครอม ชดเชยแสงแฟลช * ระบบออโตโฟกัส สัญลักษณของระบบ ควบคุมอยางรวดเร็ว ตรวจสอบพลังงานของแบตเตอรี จุดโฟกัส ปรับแกสมดุลสีขาว ระบบวัดแสง สถานะการสงสัญญาณของ Eye-Fi card ระบบสมดุลสีขาว

ชองรับแสง ล็อคคาแสง ความไวแสง เพิม่ รายละเอียดในสวนสวาง ระดับอีเลคทรอนิคส ปรับควบคุมตามผใู ช จำนวนภาพทีถ่ า ยตอไปได คุณภาพในการบันทึก ปริมาณภาพถายตอเนือ่ งสูงสุด ปรับความเขมสวางอัตโนมัติ ระบบขับเคลือ่ น

* เมื่ อ มี ก ารปรั บ ตั้ ง ชดเชยแสงแฟลชที่ แ ฟลชภายนอก สั ญ ลั ก ษณ ข องระบบชดเชยแสงแฟลช จะเปลี่ ย นจาก เป น

เมื่อกดปุม

หนาจอของการปรับตั้งควบคุมอยางรวดเร็วจะปรากฏขึ้น (น.44)

ถ า ผู ใ ช ก ดปุ ม หรือ หนาจอจะแสดง การปรับตั้งของฟงกชั่นนั้นๆ ซึ่งผูใชสามารถหมุนวงแหวน หรือ เพื่ อ ปรับตั้งฟงกชั่นตามที่ตองการได และผูใชสามารถปรับเลือกจุดโฟกัสไดดวย

ถาปดสวิตซของกลองในขณะที่กลองกำลังแสดงขอมูลการถายภาพที่จอ LCD และเมื่อ เปดสวิตซของกลองใหมอีกครั้ง จอ LCD จะกลับมาแสดงหนาจอนี้อีก หากไมตองการ ให ก ล อ งทำงานในลั ก ษณะนี้ ให ก ดปุ ม เพื่ อ ป ด การแสดงข อ มู ล ที่ จ อ LCD เสียกอนที่จะปดสวิตซกลอง


รวจสอบขอมูลของแบตเตอรี่

ผูใชสามารถตรวจสอบสภาพของแบตเตอรี่จากจอ LCD และนอกจากนี้ แบตเตอรี่ LP-E6 ที่ใชกับกลองจะมีหมายเลขประจำตัวและผูใชสามารถบันทึกหมายเลขรหัสของแบตเตอรี่ ให ก ล อ งได บั น ทึ ก ไว ไ ด ห ลายก อ น เมื่ อ ใช ฟ ง ก ชั่ น นี้ ผู ใ ช ส ามารถตรวจสอบได ทั้ ง ระดั บ พลังงานของแบตเตอรี่และประวัติการใชงานของแบตเตอรี่ที่ลงบันทึกไวกับกลองดวย

เลือก [Battery info.] (ขอมูลแบตเตอรี่)

ในแถบ [ ] เลือก [Battery info.] จากนั้ น กดปุ ม ข อ มู ล ของแบตเตอรี่ จ ะปรากฏขึ้ น ที่ ห น า จอ

ตำแหนงของแบตเตอรี่

รนุ ของแบตเตอรี่ หรือการใชพลังงานจากปลัก๊ ไฟ (ประจุ ที่ เ หลื อ อยู )

การตรวจสอบพลังงานของแบตเตอรี่ (น.29) ของกลองจะแสดงระดับพลังงานทีเ่ หลือโดยแสดง ละเอียดขัน้ ละ 1% (ตั ว นั บ ชั ต เตอร )

จำนวนภาพทีจ่ ะถายไดดว ยพลังงานทีเ่ หลืออยู และตัว เลขจะถูกตัง้ ใหมเมือ่ มีการนำแบตเตอรีก่ อ นใหมมาใช (ประสิ ท ธิ ภ าพในการชาร จ )

คุณภาพในการประจุไฟใหมของแบตเตอรี่ จะแสดงเปนระดับใดระดับหนึง่ ในสามระดับดังนี้

(เขี ย ว) : การประจุ ไ ฟใหม ข องแบตเตอรี่ อ ยู ใ นระดั บ ที่ ดี (เขี ย ว) : คุ ณ ภาพในการประจุ ไ ฟใหม ข องแบตเตอรี่ ล ดต่ำ ลงเล็ ก น อ ย (แดง) : แนะนำให ซื้ อ แบตเตอรี่ ก อ นใหม

ไมควรใชแบตเตอรี่รุนอื่นๆ นอกเหนือจาก LP-E6 มิเชนนั้น กลองอาจทำงานไมไดเต็ม ประสิ ท ธิ ภ าพ หรื อ อาจสร า งความชำรุ ด เสี ย หายได เมื่ อ ใช แ บตเตอรี่ LP-E6 สองก อ น กั บ แบตเตอรี่ ก ริ ป BG-E9 กล อ งจะแสดงข อ มู ล ของ แบตเตอรี่ แ ม จ ะอยู ใ นแบตเตอรี่ ก ริ ป เมื่อใชแบตเตอรี่ขนาด AA/LR6 กับ Battery Grip BG-E9 กลองจะแสดงเฉพาะการตรวจ สอบพลั ง งานของแบตเตอรี่ ด ว ยเหตุ ผ ลบางประการที่ ก ล อ งไม ส ามารถสื่ อ สารกั บ แบตเตอรี่ ไ ด จะมี สั ญ ลั ก ษณ ปรากฏขึ้ น ที่ ผ ลการตรวจสอบแบตเตอรี่ ซึ่ ง ปรากฏในจอ LCD และภายในช อ ง เล็ ง ภาพ จะมี [Cannot communicate with battery] ปรากฏขึ้ น ให เ ลื อ ก [OK] จากนั้ น จะถ า ยภาพต อ ไปได


รวจสอบขอมูลของแบตเตอรี การบันทึกหมายเลขของแบตเตอรี่ ผู ใ ช ส ามารถบั น ทึ ก หมายเลขของแบตเตอรี่ รุ น LP-E6 ที่ นำมาใช ไ ด ม ากที่ สุ ด 6 ก อ น เมื่ อ ต อ งการบั น ทึ ก หมายเลขแบตเตอรี่ แ ต ล ะก อ นให ก ล อ งรั บ ทราบ ให ทำตามขั้ น ตอน ตอไปนี้

กดปุ ม

เมื่ อ กล อ งแสดงรายละเอี ย ดของแบตเตอรี่ ให กดปุ ม กลองจะแสดงประวัติการใชงานของแบตเตอรี่ ไว ที่ ห น า จอ ถ า กล อ งยั ง ไม มี ข อ มู ล ของแบตเตอรี่ ก อ นนั้ น จะแสดงรายละเอียดเปนสีเทาจาง

เลือก [Register]

เลือก [Register] จากนั้ น กดปุ ม หนาจอจะแสดงรายการใหเลือกยืนยัน

เลือก [OK]

เลื อ ก [OK] จากนั้ น กดปุ ม ข อ มู ล ของแบตเตอรี่ ก อ นนั้ น จะถู ก บั น ทึ ก ไว และกล อ งจะกลั บ มาแสดงประวั ติ ก ารใช ง าน ของแบตเตอรี่กอนนั้น ตัวอักษรจางๆ จะเปลี่ยนไปเปนสีขาว กดปุม เพื่อใหหนาจอแสดงขอมูล ของแบตเตอรี่อีกครั้ง

กล อ งจะไม บั น ทึ ก ข อ มู ล ของแบตเตอรี่ ข นาด AA/LR6 ซึ่ ง ใช กั บ แบตเตอรี่ ก ริ ป BG-E9 หรือเมื่อใช AC Adapter Kit ACK-E6 หากมี ก ารบั น ทึ ก ข อ มู ล ของแบตเตอรี่ จ นครบ 6 ก อ นแล ว จะเลื อ ก [Register] อี ก ไม ไ ด หากต อ งการลบข อ มู ล ของแบตเตอรี่ เ ก า ที่ บั น ทึ ก ไว ก อ นหน า นี้ ดู ห น า 271


รวจสอบขอมูลของแบตเตอรี่ ติดสติ๊กเกอรแสดงหมายเลขอนุกรมของแบตเตอรี่ ผูใชสามารถติดหมายเลขอนุกรมของแบตเตอรี่(Battery Pack LP-E6) ที่บันทึกขอมูลไว ในกลองแลวไดดวยการใชแผนติด(สติกเกอร) เพื่อความสะดวกในการจดจำ หมายเลขแบตเตอรี

เขียนเลขอนุกรมลงบนแถบติด

เขี ย นหมายเลขอนุ ก รมของแบตเตอรี่ ที่ นำไป บั น ทึ ก ค า แล ว โดยดู จ ากหน า จอแสดงประวั ติ การใชงาน ลงบนแผนสติ๊กเกอรเล็กๆ ขนาด 25 มม. x 15 มม. / 1.0 นิ้ว x 0.6 นิ้ว

นำแบตเตอรี่ อ อกจากกล อ ง แล ว ติ ด สติ๊กเกอร ปรับสวิตซกลองไปที่ เปดฝาปดชองใสแบตเตอรี่ แลวถอดแบตเตอรี่ ออกจากกลอง ติดสติ๊กเกอรตามภาพตัวอยาง (ติดบนดานที่ไม มี ขั้ ว ไฟฟ า ) ทำซ้ำ ตามขั้ น ตอนนี้ กั บ แบตเตอรี่ ก อ นอื่ น ๆ จนครบ เพื่อใหมองเห็นเลขอนุกรมของแบตเตอรี่ ไดงายขึ้น

ห า มติ ด สติ๊ ก เกอร บ นส ว นอื่ น ๆ ของแบตเตอรี่ น อกจากที่ แ สดงเป น ตั ว อย า งในภาพซึ่ ง แนะ นำในขั้ น ตอนที่ 2 การติ ด สติ๊ ก เกอร ผิ ด วิ ธี อ าจจะทำให ส อดแบตเตอรี่ เ ข า ไปในตั ว กล อ ง ทำได ย ากขึ้ น หรื อ อาจทำให เ ป ด การทำงานของกล อ งไม ไ ด ถ า ใช แ บตเตอรี่ ก ริ ป BG-E9 ฉลากสติ๊ ก เกอร อ าจจะหลุ ด ออกได ง า ยเมื่ อ นำแบตเตอรี่ เ ข า ออกบ อ ยๆ เมื่ อ ฉลากหลุ ด หรื อ ชำรุ ด ให ติ ด แผ น ใหม


รวจสอบขอมูลของแบตเตอรี่ ตรวจสอบระดั บ พลั ง งานที่ เ หลื อ อยู ข องแบตเตอรี่ ที่ ก ล อ งบั น ทึ ก ไว แ ล ว ผู ใ ช ส ามารถตรวจสอบพลั ง งานที่ เ หลื อ อยู ใ นแบตเตอรี่ แ ต ล ะก อ นที่ ถู ก บั น ทึ ก ค า ไว ( แม ข ณะที่ ไ ม ได ใ ส แ บตเตอรี่ ใ นกล อ งก็ ต าม) และตรวจสอบได ว า ได ถู ก นำมาใช ค รั้ ง ล า สุ ด เมื่ อ ใด หมายเลขแบตเตอรี่

วันทีใ่ ชงานลาสุด

อางอิงจากหมายเลขอนุกรมของแบตเตอรี่ที่ถูก บันทึกไว แลวตรวจสอบจากประวัติการใชงาน ที่ ป รากฏบนจอภาพ ผูใชสามารถตรวจสอบระดับพลังงานที่เหลืออยู ของแบตเตอรี่ ก อ นนั้ น และวั น ที่ นำมาใช ครั้งลาสุด

ระดับพลังงานคงเหลือ

การลบข อ มู ล ของแบตเตอรี่ ที่ นำมาบั น ทึ ก หมายเลขไว เลือก [Delete info.] (ลบขอมูล) ตามขั้ น ตอนที่ 2 ในหน า 269 เพื่ อ เลื อ ก [Delete info.] จากนั้ น กดปุ ม

เลือกหมายเลขแบตเตอรี่ที่ตองการลบ เลือกหมายเลขของแบตเตอรี่ที่ตองการลบ จากนั้ น กดปุ ม จะปรากฏขึ้ น หากต อ งการลบข อ มู ล ของแบตเตอรี่ ก อ นอื่ น ให ทำตามวิ ธี ที่ แ นะนำซ้ำ อี ก ครั้ ง

กดปุ ม หน า จอตั ว เลื อ กยื น ยั น จะปรากฏขึ้ น

เลือก [OK] เลือก [OK] จากนั้นกดปุม ขอมูลของแบตเตอรี่กอนนั้นจะถูกลบไป และหนาจอที่ปรากฏในขั้น ตอนที่ 1 จะมาปรากฏอีกครั้ง


ารใชพลังงานจากปลัก๊ ไฟ

เมื่อใชอุปกรณเสริมพิเศษ AC Adapter Kit ACK-E6 (อุปกรณเสริมพิเศษ) ผูใชสามารถ ใช พ ลั ง งานจากปลั๊ ก ไฟเพื่ อ ให ใ ช ก ล อ งได ย าวนาน โดยไม ต อ งห ว งกั ง วลเกี่ ย วกั บ ระดั บ พลังงานของแบตเตอรี่

ตอเชื่อมขั้วไฟกระแสตรง

ตอเชื่อมขั้วไฟกระแสตรงเขากับเครื่องแปลงไฟ

ตอเชื่อมสายไฟ

ตอสายไฟฟา ดังภาพตัวอยาง เมื่ อ เลิ ก ใช ก ล อ งแล ว ให ถ อดสายไฟออกจาก ปลั๊กไฟ

เสียบสายไฟไวในรอง

สอดสายไฟกระแสตรงเข า ในร อ งด ว ยความ ระมั ด ระวั ง อย า ให เ กิ ด ชำรุ ด

เสียบไฟกระแสตรง

เป ด ฝาป ด ช อ งใส แ บตเตอรี่ แ ละถอดฝาป ด หั ว ของสายไฟกระแสตรงออก

เสี ย บสายไฟกระแสตรงเข า กั บ ช อ งเสี ย บอย า ง ระมัดระวังจนกระทั่งล็อค และจัดสายไฟใหอยู ภายในรอยบาก ปดฝาชองใสแบตเตอรี่

หามตอหรือถอดสายไฟในขณะที่สวิตซของกลองเปดอยู <ON>


ารใช Eye-Fi Cards

เมื่อใช Eye-Fi card ซึ่งมีผูผลิตออกมาจำหนายในเชิงพาณิชยและไดทำการติดตั้งเรียบรอย แลว ก็สามารถถายโอนภาพที่ถายไปยังคอมพิวเตอร หรืออัพโหลดออนไลนไปยังระบบเครือ ขายดวยระบบ LAN แบบไรสาย การถ า ยโอนภาพเป น ฟ ง ก ชั่ น หนึ่ ง ของ Eye-Fi card สำหรั บ คำแนะนำในการติ ด ตั้ ง และ ใข E ye-Fi card หรื อ เมื่ อ มี ป ญ หาในการใช ง าน ให ดู จ ากคู มื อ ของผู ผ ลิ ต ไม รั บ ประกั น ว า กล อ งรุ น นี้ จ ะสนั บ สนุ น Eye-Fi card (รวมทั้ ง การถ า ยโอน สั ญ ญาณแบบไร ส าย) หากมี ข อ สงสั ย เกี่ ย วกั บ Eye-Fi card โปรดติ ด ต อ กั บ ผู ผลิต card โดยตรง และโปรดทราบวา การใช card ชนิดนี้ในหลายประเทศ ตองผานการรับรอง ซึ่งในบางประเทศไมอนุญาตใหใช card ชนิดนี้ และหาก ไมแนใจวาจะสามารถใช card ในพื้นที่นั้นไดหรือไม โปรดตรวจสอบกับผูผลิต การดกอนนำไปใชงาน

ใส Eye-Fi card (น.32) เลือก [Eye-Fi settings]

ในแถบ [ ] เลือก [Eye-Fi settings] จากนั้ น กด เมนู นี้ จ ะปรากฏขึ้ น ก็ ต อ เมื่ อ มี Eye-Fi card ใส อ ยู ใ นตั ว กล อ งแล ว เท า นั้ น

ตั้งให Eye-Fi สงสัญญาณ กดปุม ปรับตั้ง [Eye-Fi trans.] เป น [Enable] จากนั้ น กด ถ า ตั้ ง เป น [Disable] การส ง สั ญ ญาณโดย อัตโนมัติจะไมทำงาน แมจะติดตั้ง card ในกลอง แล ว ก็ ต าม (ปรากฎสัญลักษณ )


ารใช Eye-Fi card แสดงขอมูลการเชื่อมตอ เลือก [Connection info.] จากนั้นกด

ตรวจสอบ [Access point SSID:] ตรวจสอบว า มี ก ารแสดง [ Access point SSID: ] หรือไม สามารถตรวจสอบ MAC Address ของ Eye-Fi card และเวอรชั่นของ firmware กดปุม สามครั้งเพื่ออกจากเมนู

ถ า ยภาพ

ภาพที่ ถ า ยจะปรากฏขึ้ น ที่ จ อภาพ สำหรั บ ภาพที่ มี ก ารถ า ยโอนข อ มู ล ไปแล ว จะมี สัญลักษณ ปรากฏขึ้น เมื่อกลองแสดงขอมูล ของภาพนั้ น (น.191)

สถานะการสงสัญญาณ

(สีเทา) ไม มี ก ารเชื่ อ มต อ (กระพริบ) กำลั ง เชื่ อ มต อ (ติ ด อยู ) เชื่ อ มต อ แล ว ( ) ถายโอนขอมูล

: ไม มี ก ารเชื่ อ มต อ กั บ จุ ด รั บ สั ญ ญาณ : กำลั ง เชื่ อ มต อ กั บ จุ ด รั บ สั ญ ญาณ : เชื่ อ มต อ กั บ จุ ด รั บ สั ญ ญาณได แ ล ว : กำลั ง ถ า ยโอนข อ มู ล ไปยั ง จุ ด รั บ สั ญ ญาณ

* เมื่อตองการตรวจสอบสถานะการถายโอนขอมูลของ Eye-Fi card ใหกดปุม เพื่อแสดงขอมูลการปรับตั้ง (น.267)


ารใช Eye-Fi card คำเตื อ นสำหรั บ การใช Eye-Fi Cards

ถา ปรากฏขึ้น หมายถึงเกิดความผิดพลาดในการอานขอมูลจากการด ใหปดกลอง แล ว เป ด ใหม แม ว า จะตั้ ง [Eye-Fi trans.] เปน [Disable] แตมันอาจจะมีการสงสัญญาณบางอยางอยู ดังนั้น ภายในโรงพยาบาล สนามบิน และที่ซึ่งหามใชอุปกรณสงสัญญาณ ควรถอด EyeFi card ออกจากกลอง หากฟ ง ก ชั่ น การส ง สั ญ ญาณเพื่ อ ถ า ยโอนข อ มู ล ภาพไม ทำงาน ตรวจสอบการปรั บ ตั้ ง Eye-Fi card และการปรับตั้งคอมพิวเตอร ดูรายละเอียดการปรับตั้งจากคูมือการใชของ card ขึ้ น อยู กั บ สภาพการต อ เชื่ อ มของระบบ LAN แบบไร ส าย การถ า ยโอนข อ มู ล อาจจะใช เวลานานขึ้ น หรื อ ข อ มู ล อาจมี ค วามบกพร อ ง หรื อ เสี ย ได Eye-Fi card อาจจะมี ค วามร อ นเกิ ด ขึ้ น จากการถ า ยโอนข อ มู ล พลั ง งานของแบตเตอรี่ จ ะหมดเร็ ว กว า ปกติ ในขณะกำลั ง ถ า ยโอนข อ มู ล ของไฟล ภ าพ ระบบตั ด พลั ง งานอั ต โนมั ติ จ ะไม ทำงาน


ารางแสดงฟงกชนั่ ทีท่ ำงานได ปรับตัง้ โดยอัตโนมัติ

ปรับตัง้ โดยผใู ช

วงแหวนเลือก ระบบบันทึกภาพ เลือกระดับคุณภาพ ในการบันทึกภาพไดทุกระดับ

อัตโนมัติ ความ ไวแสง แมนนวล

จำกัดความไวแสง ระดั บ สู ง สุ ด ได

เลือกปรับเอง ปรับโดยอัตโนมัติ ถายภาพโดยเลือกสภาพแสง ถายภาพโดยเลือกแหลงกำเนิดแสง

ปรับโดยอัตโนมัติ สมดุล ปรับไวลว งหนา สีขาว เลือกปรับเอง ปรับแก/ถายครอม

* เฉพาะการเปดรับแสงแบบแมนนวลเทานัน้

สัญลักษณ

จะหมายถึงการถายภาพนิง่ ในขณะถายภาพยนตร

ปรับตัง้ ไมได


ารางแสดงฟงกชนั่ ทีท่ ำงานได วงแหวนเลือก ระบบบันทึกภาพ

ระบบ ขับ เคลือ่ น

แฟลช ในตัว

* การปรับตั้งอัตราสวนของดาน จะตั้งไดก็ตอเมื่อถายภาพดวยระบบ Live View


ารปรับตั้งเมนู

(สีแดง)

หน า

คุณภาพ สัญญาณเสียงเตือน

ทำงาน / ไม ทำงาน

ลั่ น ชั ต เตอร โดยไม มี ก าร ด ระยะเวลา แสดงภาพ

ทำงาน / ไม ทำงาน

ปรั บ แก ค วามสลั ว ของขอบภาพ ลด ตาแดง

ทำงาน / ไม ทำงาน

แสดงคางไว

ไม ทำงาน / ทำงาน

การควบคุมแฟลช

(สีแดง) ชดเชยแสง/ ถ า ยภาพคร อ ม

ระดับละ 1/3 stop ในชวง +/-5 stop(AEB +/-3 srop)

ปรับความเขม สว า งอั ต โนมั ติ

สมดุ ล สี ข าว

ประมาณ ปรับตั้งสมดุลสีขาวเอง

ปรั บ แก ส มดุ ล สี ข าว ถ า ยภาพคร อ มสมดุ ล สี ข าว

ระบบสี

(สีแดง) ข อ มู ล ของ เม็ ด ฝุ น

แนบข อ มู ล ตำแหน ง ของเม็ ด ฝุ น เพื่ อ ลบอั ต โนมั ติ

สู ง สุ ด ความไวแสง สู ง สุ ด

สู ง สุ ด สู ง สุ ด

สู ง สุ ด

เมนู ที่ จ างลงไป จะไม แ สดงให เ ห็ น เมื่ อ ใช ร ะบบั น ทึ ก ภาพ Basic Zone


ารปรับตัง้ เมนู (สีแดง)

หน า ทำงาน / ไม ทำงาน

ทำงาน / ไม ทำงาน ไมทำงาน

(สีน้ำเงิน) ป อ งกั น ภาพถู ก ลบ

หมุนภาพ คำสั่งการพิมพภาพ

ลบภาพที่ ถู ก ป อ งกั น หมุ น ภาพแนวตั้ ง ลบภาพ ระบุ แ ละกำหนดค า ของภาพที่ ต อ งการพิ ม พ

ฟ ล เตอร แ บบ สร า งสรรค ลดขนาด

ลดขนาดภาพ การประมวลผลภาพแบบ RAW

(สีน้ำเงิน) ไม ทำงาน / ทำงาน ไม ทำงาน / ทำงาน กระโดดข า มด ว ย

1 ภาพ / 10 ภาพ / 100 ภาพ / วั น ที่ / โฟลเดอร / ภาพยนตร / ภาพนิ่ ง / การจั ด อั น ดั บ เลื อ กภาพและตั้ ง เวลาแสดงภาพและสั่ ง เล น ดู ภ าพ อั ต โนมั ติ แ บบสไลด โ ชว การจั ด อั น ดั บ ไม ทำงาน / ทำงาน


ารปรับตัง้ เมนู (สีเหลือง)

หน า

ตั ด พลั ง งานอั ต โนมั ติ หมุ น ภาพอั ต โนมั ติ

เตรี ย มการ ด ให พ ร อ มทำงานและลบข อ มู ล ต อ เนื่ อ ง / เริ่ ม นั บ ใหม อั ต โนมั ติ / สั่ ง ให เ ริ่ ม นั บ ใหม เลื อ กโฟลเดอร สร า งและเลื อ กโฟลเดอร ถ า ยโอนข อ มู ล Eye-Fi : ไม ทำงาน / ทำงาน ปรั บ ตั้ ง Eye-Fi การเชื่ อ มต อ กั บ ข อ มู ล * แสดงให เ ห็ น เมื่ อ มี ก ารติ ด ตั้ ง Eye-Fi Card เลขลำดับไฟล

(สีเหลือง)

ความสวาง ของจอ LCD วั น ที่ / เวลา ภาษา ระบบวิ ดี โ อ

ทำความสะอาดเซนเซอร ล็ อ ควงแหวนควบคุ ม แบบเร็ ว

ปรั บ ความสว า งของจอภาพได 7 ระดั บ ปรั บ ตั้ ง วั น ที่ (ป , เดื อ น, วั น ) เวลา (ชั่ ว โมง, นาที , วิ น าที ) เลื อ กภาษา NTSC/PAL ทำความสะอาดอั ต โนมั ติ : ทำงาน / ไม ทำงาน ทำความสะอาดทันที ทำความสะอาดดวยตนเอง ไม ทำงาน / ทำงาน

(สีเหลือง)

การบั น ทึ ก ค า การปรั บ ตั้ ง กล อ ง

ชนิ ด , ความจุ ที่ เ หลื อ , จำนวนภาพที่ ถ า ยได คุ ณ ภาพในการประจุ ไ ฟ, บั น ทึ ก หมายเลข, ประวั ติ ก ารใช ง าน แสดงข อ มู ล การปรั บ ตั้ ง / เส น ระดั บ อี เ ลคทรอนิ ค ส / แสดงฟ ง ก ชั่ น ที่ ใ ช ถ า ยภาพ บั น ทึ ก ข อ มู ล การปรั บ ตั้ ง กล อ งไปที่ ตำแหน ง ของวงแหวนเลื อ กระบบบั น ทึ ก ภาพ

ข อ มู ล ลิ ข สิ ท ธิ์

แสดงข อ มู ล ลิ ข สิ ท ธิ์ ภ าพ / ใส ชื่ อ เจ า ของภาพ / รายละเอี ย ดของลิ ข สิ ท ธิ์ / ลบข อ มู ล ลิ ข สิ ท ธิ์

ตรวจสอบข อ มู ล ของแบตเตอรี แสดงข อ มู ล ของปุ ม INFO

ปรั บ กล อ งให ก ลั บ สู ค า มาตรฐานเดิ ม จากโรงงาน สำหรั บ การปรั บ ปรุ ง รุ น ของ firmware


ารปรับตัง้ เมนู (สีสม )

หน า

ปรั บ ตั้ ง การทำงานของกล อ งให เ ป น แบบที่ ต อ งการ

ยกเลิ ก การปรั บ ตั้ ง ทั้ ง หมด

(สีเขียว) บั น ทึ ก เมนู แ ละ Custom functions ที่ มั ก จะใช บ อ ยๆ

เมนูในระบบถายภาพยนตร (สีแดง) การเป ด รับแสง ระบบออโต โ ฟกั ส ออโต โ ฟกั ส / ชั ต เตอร ในขณะถายภาพยนตร ออโต โ ฟกั ส และปุ ม วั ด แสง เมื่อถายภาพยนตร ระดั บ ขั้ น ของการ ปรับความไวแสง รายละเอียดในสวนสวาง

อั ต โนมั ติ / แมนนวล ไม ทำงาน / ทำงาน

ขั้นละ 1/3 หรือ 1 stop ไม ทำงาน / ทำงาน


ารปรับตัง้ เมนู หน า

(สีแดง) ความละเอียดของภาพยนตร บั น ทึ ก เสี ย ง : อั ต โนมั ติ / ปรั บ ตั้ ง เอง/ไม ทำงาน ระดั บ ความดั ง ของเสี ย ง Wind filter : ทำงาน / ไม ทำงาน

การบันทึกเสียง ถายภาพแบบเก็บเสียง ระยะเวลาล็อคคาแสง แสดงเส น ตาราง(Grid)

(สีแดง) ชดเชยแสง

ปรับไดละเอียด 1/3 stop ในชวง +/- 5 stop

ปรับความเขมสวางอัตโนมัติ Picture Style สมดุลสีขาว

ประมาณ สมดุ ล สี ข าวแบบปรั บ ตั้ ง เอง ปรั บ ตั้ ง สมดุ ล สี ข าวเอง

จอแสดงรายการเมนูของระบบถายภาพยนตร รายการของ [ ] Movie 1,[ ] Movie 2 และ [

] Movie 3 จะปรากฏขึ้น ก็ ต อ เมื่ อ กล อ งทำงานในระบบถ า ยภาพยนตร รายการของ [ ] Shooting 2, [ ] Shooting 3, [ ] Shooting 4, [ ] Custom Function และ [ ] My Menu จะไม ป รากฏขึ้ น เมนู ต อ ไปนี้ จะไม ป รากฏขึ้ น เมื่ อ อยู ใ นระบบถ า ยภาพยนตร : Red-eye reduction, Flash control INFO. button display options, Camera user settings, Copyright information, Clear all camera settings, Firmware Ver.


มื่อประสบปญหาในการใชกลอง

เมื่ อ ประสบป ญ หาในการใช ก ล อ ง ให ค น หาข อ มู ล เพื่ อ แก ไ ขป ญ หาจากเนื้ อ หา ของส ว นนี้ ก อ น แต ถ า ไม พ บวิ ธี แ ก ป ญ หา ให ติ ด ต อ ผู ข าย หรื อ ศู น ย บ ริ ก ารของ แคนนอนที่ อ ยู ใ กล ที่ สุ ด

ปญหาเกี่ยวกับพลังงาน ไม ส ามารถประจุ ไ ฟแบตเตอรี่ ไ ด

ถาระดับพลังงานในแบตเตอรี่มีเหลืออยูตั้งแต 94% ขึ้นไป (น.268) จะไมสามารถ ประจุไฟใหมได ห า มนำแบตเตอรี่ อื่ น ๆ นอกจากรุ น LP-E6 มาประจุ ไ ฟ

ไฟสัญญาณของเครื่องประจุไฟกระพริบถี่มาก

หากเกิดปญหาขึ้นกับเครื่องประจุไฟ หรือจากแบตเตอรี่ หรือหากไมสามารถเชื่อม โยงขอมูลจากแบตเตอรี่ได(ไมใชของ Canon) วงจรปองกันจะหยุดการประจุไฟ และ มีไฟสีสมกระพริบถี่ๆ ในจังหวะสม่ำเสมอ หากเกิดปญหาจากเครื่องประจุไฟหรือ ตัวแบตเตอรี่ ใหถอดสายไฟออกจากปลั๊กไฟ และถอดแบตเตอรี่ออกจากเครื่องประจุ ไฟ รอประมาณ 2-3 นาที จากนั้น จึ ง เสี ย บสายไฟเข า กับ ปลั๊ ก หากยั ง มี ป ญ หาเกิ ด ขึ้ น ให ติ ด ต อ ผู แ ทนจำหน า ย หรื อ ศู น ย บ ริ ก ารที่ ใ กล ที่ สุ ด

ไฟสัญญาณของเครื่องประจุไฟไมกระพริบ หากอุณหภูมิภายในตัวของแบตเตอรี่ซี่งติดตั้งอยูกับเครื่องประจุไฟสูงจนถึงระดับ หนึ่ง เครื่องประจุไฟจะไมประจุไฟแบตเตอรี่ดวยเหตุผลทางดนความปลอดภัย(ไฟ สั ญ ญาณจะดั บ ไป) ในขณะกำลั ง ประจุ ไ ฟ อุ ณ หภู มิ ข องแบตเตอรี่ จ ะสู ง ขึ้ น เครื่ อ ง ประจุไฟจะหยุดทำงานโดยอัตโนมัติ(มีสัญญาณไฟกระพริบ) และเมื่ออุณหภูมิลด ลงแลว เครื่องประจุไฟจะเริ่มประจุไฟตอไปโดยอัตโนมัติ

กล อ งไม ทำงาน แม ว า สวิ ต ซ จ ะถู ก ปรั บ ไปที่ ใสแบตเตอรี่ไมถูกตอง (น.26) แบตเตอรี่หมด ประจุไฟแบตเตอรี่ใหม (น.24) ตรวจสอบฝาปดชองใสแบตเตอรี่วาปดแนนสนิทดีแลว (น.26) ตรวจสอบฝาปดชองใสการดวาปดแนนสนิทดีแลว (น.32)


มือ่ ประสบปญหาในการใชกลอง ไฟแสดงสถานะของการดยังคงกระพริบแมจะปดสวิตซ

ไปแลว

ถาเปดสวิตซกลองในขณะที่ขอมูลภาพยังถายโอนลงในการดไมหมด ไฟบอกสถานะ ของการดจะยังคงกระพริบตอไปหลังจากปดสวิตซกลองไปแลวสักระยะหนึ่ง จนเมื่อ ขอมูลถูกถายโอนลงในการดหมดแลว ไฟนี้ก็จะดับ

แบตเตอรี่หมดพลังงานอยางรวดเร็ว ใช แ บตเตอรี่ ที่ มี ก ารประจุ ไ ฟเต็ ม (น.24) คุ ณ ภาพของแบตเตอรี่ อ าจจะเสื่อ มลง ดู เ มนู [ Battery info.] เพื่อตรวจสอบ คุณภาพของแบตเตอรี่ (น.268) ถาคุณภาพของแบตเตอรี่ไมดีนัก ควรเปลี่ยนไปใช แบตเตอรี่กอนใหม ถาผูใชสั่งใหแสดงผลของวงแหวนควบคุมแบบเร็วตลอดเวลา (น.44) หรือใชระบบ Live View หรือถายภาพยนตร โดยใชงานกันเปนเวลานาน (น.151, 271) ภาพที่ ถายไดจากแบตเตอรี่กอนนั้นอาจจะมีจำนวนลดลง

กลองดับเอง (ปดการทำงานไปเอง) เกิดจากการทำงานของระบบตัดพลังงานอัตโนมัติ หากไมตองการใหระบบนี้ทำงาน ให ตั้ ง [ Auto power off] เปน [Off]

ปญหาเกี่ยวกับการถายภาพ ไมสามารถถายภาพ และบันทึกภาพได ใสการดไมถูกตอง (น.32) ถาการดเต็ม ใหใสการดแผนใหม หรือลบภาพที่ไมจำเปนออกจากการดเดิมเพื่อให มี ที่ ว า ง (น.32, 215) เมื่อพยายามโฟกัสดวยระบบ One-Shot AF และสัญญาณยืนยันความชัด กระพริบ จะไมสามารถถายภาพได ใหยกนิ้วออกจากปุมและแตะชัตเตอรเบาๆ ลง ครึ่งหนึ่งอีกครั้ง หรือโฟกัสโดยปรับภาพเอง (น.40, 80) เลื่ อ นสวิ ต ซ ป อ งกั น การบั น ทึ ก ของการ ด ไปที่ ตำแหน ง ให บั น ทึ ก ได (น.32)


มือ่ ประสบปญหาในการใชกลอง ใช ก าร ด ไม ไ ด ถามีขอความเตือนเกี่ยวกับความผิดพลาดของการด ดูหนา 33 และ 291

ภาพไม ชั ด

ปรับสวิตซที่กระบอกเลนสไปที่ <AF> (น.34) เพื่อปองกันกลองสั่น ใหถือกลองใหนิ่ง และกดชัตเตอรอยางนุมนวล (น.39, 40) ถาเลนสมีระบบปองกันภาพสั่น (Image Stabilizer) ปรับสวิตซของระบบไปที่ <ON>

จำนวนภาพถายตอเนื่องสูงสุดในการถายภาพตอเนื่องลดลง ใน [ C.Fn II -2: High ISO speed noise reduction] ปรั บ ตั้ ง ตั ว เลื อ กตั ว ใดตั ว หนึ่งดังนี้ : [Standard/Low/Disable] ถาตั้งเปน [Strong] จำนวนภาพที่ถายตอเนื่อง สูงสุดจะลดลง (น.254) เมื่อถายภาพวัตถุที่มีรายละเอียดสูงมาก (เชน ทุงหญา ฯลฯ) ขนาดของไฟลจะใหญ ขึ้ น และจำนวนภาพถ า ยต อ เนื่ อ งจะน อ ยกว า ปริ ม าณที่ แ สดงไว ใ นหน า 85

ตั้ง ISO 100 ไมได ถ า [ C.Fn II -3: Highlight tone priority] ได ตั้ ง เป น [Enable] จะตั้ง ISO 100 ไมได และถาตั้งเปน [Disable] จะสามารถตั้ง ISO 100 ได (น.255) และสามารถใช กับระบบถายภาพยนตรได (น.183)

ตั้งระบบ Auto Lighting Optimizer ไมได ถ า [ C.Fn II -3: Highlight tone priority] ได ตั้ ง เป น [Enable] จะตั้งระบบ Auto Lighting Optimizer ไมได เมื่อ [ Highlight tone priority] ได ตั้ ง เป น [Disable] จึ ง สามารถตั้งระบบ Auto Lighting Optimizer ได (น.255) และระบบนี้ใชไดกับการ ถายภาพยนตรดวย (น.183)


มือ่ ประสบปญหาในการใชกลอง เมือ่ ใชระบบ <Av> และใชแฟลชถายภาพ ความไวชัตเตอรลดต่ำลงมาก เมื่ อ ถ า ยภาพตอนกลางคื น เมื่ อ ฉากหลั ง มื ด เข ม ความไวชั ต เตอร จ ะลดต่ำ ลงโดย อัตโนมัติ(ถายภาพดวยระบบแฟลชสัมพันธความไวชัตเตอรต่ำ) เพื่อใหจุดเดนและ ฉากหลังไดรับแสงอยางพอเหมาะ หากไมตองการใชแฟลชสัมพันธความไวชัตเตอร ต่ำ ให ป รั บ ตั้ ง [ C.Fn I -7: Flash sync. speed in Av mode] เปน 1 หรือ 2 (น.253)

แฟลชในตัวไมทำงาน ถ า ใช แ ฟลชในตั ว ถ า ยภาพต อ เนื่ อ งอย า งรวดเร็ ว เกิ น ไปและไม พั ก แฟลชจะหยุ ด ทำงาน เพื่ อ ป อ งกั น ความเสี ย หายของตั ว เอง

ไมสามารถชดเชยแสงแฟลชได ถามีการปรับตั้งชดเชยแสงแฟลชโดยการปรับตั้งที่ตัวแฟลชไวแลวจะไมสามารถปรับ ชดเชยแสงแฟลชโดยการปรับที่ตัวกลองได และถาไดยกเลิกการปรับชดเชยแสงแฟลช ที่ตัวแฟลชเอาไว(ตั้งเปน 0) จึงชดเชยแสงแฟลชโดยปรับตั้งที่ตัวกลองได

ระบบแฟลช High-speed sync. ไมทำงานเมื่อใชระบบ Av ปรั บ ตั้ ง [

C.Fn I -7: Flash sync. speed in Av mode] เป น [Auto] (น.253)

แฟลชภายนอกไมทำงาน ถ า ใช แ ฟลชยี่ ห อ อื่ น และถ า ยภาพด ว ยระบบ Live View ซึ่ ง ปรั บ เมนู [ shoot] เปน [Disable] (น.159)

มีเสียงเกิดขึ้นภายในตัวกลองเมื่อกลองถูกเขยา ชิ้นสวนทางดานกลไกของแฟลชในตัวมีการขยับเล็กนอย เปนเรื่องปกติ

Silent


มือ่ ประสบปญหาในการใชกลอง ไดยินเสียงชัตเตอรดังสองครั้งเมื่อใชระบบ Live View ถาใชแฟลช กลองจะมีเสียงชัตเตอรดังสองครั้งเมื่อถายภาพดวย Live View (น.153)

ฟงกชั่นของปุมและวงแหวนแปลี่ยนแปลงไป ตรวจสอบการปรับตั้งใน [Custom Controls] (น.257)

ระบบถ า ยภาพยนตร ห ยุ ด ทำงานเอง ถาความเร็วในการบันทึกขอมูลลงในการดต่ำเกินไป ระบบถายภาพยนตรจะหยุด ทำงานโดยอั ต โนมั ติ ควรนำการ ด แผ น ใหม ที่ มี ค วามเร็ ว ในการบั น ทึ ก และอ า นใน ระดับ หรือสูงกวา หากตองการตรวจสอบขอมูลเรื่องความเร็วของ การด ใหตรวจสอบจากเวบไซตของผูผลิตการด หากไฟลภาพยนตรที่ถายมีขนาดถึง 4GB หรือครบ 29 นาที 59 วินาที ตอเนื่องกัน ระบบถายภาพยนตรจะหยุดทำงานโดยอัตโนมัติ

ในขณะที่ใชระบบ Live View หรือถายภาพยนตร มีสัญลักษณ < > สีขาว และ < > สีแดง ปรากฏขึ้น สั ญ ลั ก ษณ ทั้ ง สองนี้ เป น สั ญ ลั ก ษณณ บ อกว า อุ ณ หภู มิ ภ ายในตั ว กล อ งเริ่ ม สู ง ขึ้ น แลว ถาหาก < > สี ข าว ปรากฏขึ้ น จะแสดงว า ภาพนิ่ ง ที่ ถ า ยอาจมี คุ ณ ภาพไม สมบู ร ณ ส ว นสั ญ ลั ก ษณ < > สีแดง จะเตือนใหทราบวา ระบบ Live View และ ระบบถายภาพยนตรกำลังใกลที่จะหยุดการทำงาน (น.152, 173)

บางครั้ ง ภาพยนตร ที่ เ ล น มี ก ารหยุ ด ชั่ ว ขณะ ในขณะถายภาพยนตร หากเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพแสงหรือความสวางอยางฉับ พลัน การเปดรับแสงอัตโนมัติจะหยุดชั่วคราวเพื่อใหสภาพแสงคงที่เสียกอน ถาตอง การใหถายภาพยนตรไดโดยไมหยุด ใหใชระบบเปดรับแสงแบบแมนนวล

เล น ภาพยนตร ไ ม ไ ด ภาพยนตร ที่ ผ า นการตั ด ต อ และปรั บ แต ง ด ว ยคอมพิ ว เตอร ด ว ยซอฟท แ วร ที่ ไ ด ม า จากตัวกลองแลว จะไมสามารถนำกลับมาเลนในกลองได


มือ่ ประสบปญหาในการใชกลอง เมื่อเลนดูภาพยนตร แลวไดยินเสียงการทำงานของกลอง เมื่ อ ผู ใ ช ห มุ น วงแหวนหรื อ ปรั บ ควบคุ ม เลนส ใ นขณะถ า ยภาพยนตร เสี ย งที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการปรับควบคุมจะถูกบันทึกลงไปในภาพยนตรดวย หากไมตองการเสียงนี้ ให ใชไมโครโฟนภายนอก (มีจำหนายทั่วไป) (น.187)

ปญหาในการแสดงผลและการปรับควบคุม ภาพบนจอ LCD ดูไมสดใสเทาที่ควร อาจมีฝุนติดที่จอ LCD ใหเช็ดออกดวยผาเช็ดเลนสหรือผานุม ที่อุณหภูมิสูงมากหรือต่ำมาก การแสดงผลของจอ LCD จะชาลงหรืออาจจะดูมืด คล้ำ การแสดงผลจะกลับเปนปกติเมื่อใชงานในอุณหภูมิหอง

หนาจอของเมนูแสดงแถบและตัวเลือกนอยลง เมื่อใชระบบบันทึกภาพใน Basic Zone บางแถบรายการและตัวเลือกจะถูกตัดไป ใหเปลี่ยนระบบบันทึกภาพเปน Creative Zone (น.46)

ไม ส ามารถลบภาพได ถาภาพนั้นถูกปองกันการลบเอาไว จะไมสามารถลบภาพได (น.213)

บางสวนของภาพเปนสีดำ และกระพริบ ในเมนู [

Highlight alert] ได ป รั บ เป น [Enable] (น.192)

มีรูปสี่เหลี่ยมสีแดงแสดงอยูบนภาพ ในเมนู [

AF point disp.] ได ป รั บ เป น [Enable] (น.193)


มือ่ ประสบปญหาในการใชกลอง ชื่อของไฟลมีตัวอักษรตัวแรกสุด เปน (“_MG_”) ถาปรับระบบสีเปน Adobe RGB ตัวอักษรตัวแรกของชื่อไฟลจะนำหนาดวย “_” ถา ไมตองการ ใหปรับระบบสีเปน sRGB (น.110)

เลขลำดั บ ไฟล ไ ม ไ ด เ ริ่ ม จาก “0001” เมื่ อ นำเอาการ ด ที่ มี ภ าพอยู แ ล ว มาใส เ ข า ในตั ว กล อ ง การลำดั บ ไฟล จ ะเริ่ ม จาก หมายเลขภาพหลั ง สุ ด ที่ อ ยู ใ นการ ด แผ น นั้ น (น.106)

กลองแสดงวันที่และเวลาที่บันทึกภาพไมถูกตอง เกิดจากการไมไดตั้งวันที่และเวลาใหถูกตอง (น.30)

ไม มี ภ าพปรากฏบนจอโทรทั ศ น ตรวจสอบการเชื่อมตอสาย AV หรือ HDMI วาไดใสอยางดีแลวหรือไม (น.209, 212) ปรั บ ตั้ ง รู ป แบบของวิ ดี โ อให ถู ก ต อ ง (NTSC/PAL) ให ต รงกั บ รู ป แบบของโทรทั ศ น (น.212) ใชสาย AV ที่ไดมาพรอมกับตัวกลอง (น.212)

เครื่องอานการด ไมสามารถตรวจพบการด ขึ้ น อยู กั บ ชนิ ด ของเครื่ อ งอ า นและระบบปฏิ บั ติ ก ารของคอมพิ ว เตอร ซึ่ ง อาจไม พบการดชนิด SDXC ก็ได เมื่อกรณีนี้เกิดขึ้น ใหเชื่อมตอกลองกับคอมพิวเตอรดวย สายเชื่ อ มต อ ที่ ไ ด ม าพร อ มกั บ กล อ ง และถ า ยโอนภาพไปยั ง คอมพิ ว เตอร โ ดยใช ซอฟทแวร EOS Utility (ไดมาพรอมกับกลอง)


มือ่ ประสบปญหาในการใชกลอง ปรากฏขึ้ น [###] จะปรากฏขึ้นเมื่อจำนวนไฟลภาพนิ่ง/ภาพยนตร เกินกวาจำนวนหลักที่กลอง จะแสดงได (3 หลัก)

เมนู [Eye-Fi settings] ไมปรากฏขึ้น [Eye-Fi settings] จะปรากฏขึ้นก็ตอเมื่อไดติดตั้ง Eye-Fi card ในตัวกลองแลว

และถาการดมีแถบปองกันการบันทึกขอมูล และปรับตั้งไวที่ LOCK ผูใชไมสามารถ ตรวจสอบสถานะของการด หรือตรวจสอบขอมูลของการเชื่อมตอ รวมทั้งยกเลิกการ สงสัญญาณได

ป ญ หาเกี่ ย วกั บ การพิ ม พ มี ตั ว เลื อ กผลพิ เ ศษสำหรั บ การพิ ม พ ให เ ลื อ กน อ ยกว า ที่ คู มื อ ระบุ รายการตัวเลือกผลพิเศษสำหรับการพิมพจะมีความแตกตางกันเมื่อใชเครื่องพิมพ รุนตางๆ คำแนะนำนี้ จะแสดงรายการของผลพิเศษที่มีใหเลือกสำหรับเครื่องพิมพ แตละรุน (น.240)


หัสความผิดพลาด รหัสความผิดพลาด

เมื่อเกิดปญหากับการทำงานของกลอง จะมีขอความ แสดงความผิ ด พลาดเตื อ นที่ ห น า จอ ให ทำตาม คำแนะนำที่ ห น า จอ

รายละเอียด รหัส

ขอความแสดงความผิดพลาดและแนวทางแกไข

การเชื่อมตอสัญญาณระหวางกันของกลองกับเลนสเกิดความผิดพลาด ใหทำความสะอาดจุดสัมผัสของเลนส ทำความสะอาดจุดสัมผัสอีเลคทรอนิคสที่กลองและเลนส และควรใชเลนส ของ Canon เทานั้น (น.13, 16) กล อ งไม ส ามารถตรวจพบการ ด หรื อ ข อ มู ล ในการ ด ให ส อดการ ด อี ก ครั้ง เปลี่ยนหรือฟอรแมทการดนั้นดวยกลอง ถอดการ ด ออกแล ว ใส ใ หม หรื อ นำการ ด แผ น อื่ น มาใช หรื อ ฟอร แ มทการ ด (น.32, 48) ไมสามารถบันทึกภาพไดเพราะการดเต็ม เปลี่ยนการดแผนใหม เปลี่ยนการดใหม ลบภาพที่ไมจำเปน หรือฟอรแมทการด (น.32, 48, 215) แฟลชในตัวกลองไมยกตัวขึ้นทำงาน ใหปดสวิตซของกลองแลวเปดใหม ปรับสวิตซปดและเปดกลอง (น.28) ไมสามารถสั่งทำความสะอาดเซนเซอรได ปดสวิตซกลองและเปดใหม ปรับสวิตซปดและเปดกลอง (น.28) ไมสามารถถายภาพไดเพราะเกิดความผิดพลาด ใหปดสวิตซกลองและ เปดใหม หรือถอดแลวใสแบตเตอรี่ใหม ปรั บ สวิ ต ซ ป ด และเป ด กล อ ง หรื อ ลองถอดแบตเตอรี่ อ อกจากกล อ งแล ว ใส เ ข า ใหม หรื อ นำเลนส ข อง Canon มาใช (กรณี ที่ ไ ม ไ ด ใ ช เ ลนส Canon) (น.26, 28)

* หากกลองยังแสดงรหัสบอกความผิดพลาดอยู ใหจดหมายเลขบอกความผิดพลาดที่ กลองแสดง และติดตอสอบถามที่ศูนยบริการของ Canon ที่ใกลที่สุด


ะบบอุปกรณ


ะบบอุปกรณ


ณสมบัติของกลอง

• ชนิด

ชนิดของกลอง: สื่อบันทึกภาพ: ขนาดเซนเซอร: เลนส ที่ ใ ช ไ ด : เมาท :

• เซนเซอรรับแสง

ชนิ ด : พิกเซลที่ใชงานจริง: อัตราสวนของดาน: ระบบกำจัดฝุน :

Digital, single-lens reflex, มี ร ะบบวั ด แสงและโฟกั ส อั ต โนมั ติ และมี แ ฟลชในตั ว SD card, SDHC card, และ SDXC card 22.3 มม. x 14.9 มม. Canon EF และ EF-S lenses (ความยาวโฟกัสเทียบเทากับ ระบบ 35mm โดยประมาณ คูณดวย 1.6 เทา ของความยาว โฟกั ส ที่ ร ะบุ ) Canon EF CMOS sensor ประมาณ 18.00 ลานพิกเซล 3:2 กำจั ด ฝุ น อั ต โนมั ติ , สั่ ง ทำความสะอาดเอง, แนบข อ มู ล ตำแหน ง ของเม็ ด ฝุ น ไปกั บ ภาพที่ ถ า ย

• ระบบบันทึกขอมูลภาพ

รูปแบบของการบันทึก: Design rule for Camera File System 2.0 ชนิดของไฟลภาพ: JPEG, RAW (14-bit Canon original), RAW+JPEG บั น ทึ ก ไฟล ทั้ ง สองชนิ ด พร อ มกั น ความละเอียดในการบันทึก: Large : ประมาณ 17.90 ลานพิกเซล (5184 x 3456) Medium : ประมาณ 8.00 ลานพิกเซล (3456 x 2304) S1(Small 1) : ประมาณ 4.50 ลานพิกเซล (2592 x 1728) S2 (Small 2) : ประมาณ 2.50 ลานพิกเซล (1920 x 1280) S3 (Small 3) : ประมาณ 350,000 พิกเซล (720 x 480) RAW : ประมาณ 17.90 ลานพิกเซล (5184 x 3456) M-RAW : ประมาณ 10.10 ลานพิกเซล (3888x2592) S-RAW : ประมาณ 4.50 ลานพิกเซล(2592x1728) สรางและเลือกโฟลเดอร: ทำได

• ระบบประมวลผลภาพในขณะถายภาพ

Standard, Portrait, Landscape, Neutral, Faithful, Monochrome, User Def. 1 - 3 Basic+: ถ า ยภาพโดยเลื อ กบรรยากาศ, สภาพแสง หรื อ ฉากหลั ง สมดุลสีขาว(WB): Auto, Preset (Daylight, Shade, Cloudy, Tungsten light, White fluorescent light, Flash), Custom, ปรับตั้งอุณหภูมิสีได (2500-10000K), ปรั บ แก ส มดุ ล สี ข าว, มี ร ะบบถ า ยภาพคร อ มสมดุ ล สี ข าว * ถ า ยโอนข อ มู ล ของอุ ณ หภู มิ สี ไ ปพร อ มกั บ ไฟล โ ดยอั ต โนมั ติ การลดสัญญาณรบกวน(noise): เมื่ อ ถ า ยภาพด ว ยการ เป ด รั บ แสงนานมาก และเมื่ อ ใช ความไวแสงสู ง Picture Style:


ณสมบัตขิ องกลอง ปรั บ แก ค วามเข ม สว า งอั ต โนมั ติ : มีระบบ Auto Lighting Optimizer เนนรายละเอียดในสวนสวาง Highlight tone priority: มี ร ะบบนี้ ปรับแกความสลัวของขอบภาพ: มี ร ะบบนี้

• ชองเล็งภาพ

Eye-level pentaprism แนวตั้ ง /แนวนอนประมาณ 96% ของพื้ น ที่ ข องภาพจริ ง ดวยระยะมอง 22 มม. อัตราขยาย: ประมาณ 0.95x (-1 m -1 เมื่ อ ใช เ ลนส 50mm โฟกั ส ที่ ร ะยะอนั น ต ) ระยะมอง: ประมาณ 22 มม.(จากจุ ด ศู น ย ก ลางของเลนส ต าของช อ งเล็ ง ภาพที่ - 1m-1 ) ปรั บ แก ส ายตาในตั ว : -3.0 - +1.0 m -1(dpt) โฟกัสสกรีน: ถอดเปลี่ ย นได (2 แบบ, อุ ป กรณ เ สริ ม ) รุ น Ef-A เป น อุ ป กรณ ม าตรฐาน เส น ระดั บ อี เ ลคทรอนิ ค ส : แสดงความเอี ย ง +/- 9 ํ แสดงได ล ะเอี ย ดขั้ น ละ +/- 1 ํ กระจกสะทอนภาพ: แบบ Quick-return ตรวจสอบความชัดลึก: มี ปุ ม ตรวจสอบความชั ด ลึ ก ชนิ ด : การครอบคลุม:

• ออโตโฟกัส

ชนิ ด : TTL secondary image-registration, phase detection จุดโฟกัส: 9 จุ ด (ใช เ ซนเซอร แ บบกากบาททั้ ง หมด) ชวงการวัดแสง: EV -0.5 - 18 (ที่ 23 ํC/73 ํF, ISO 100) ระบบโฟกัส: One-Shot AF, AI Servo AF, AI Focus AF, แมนนวลโฟกัส (MF) ไฟชวยหาโฟกัสอัตโนมัติ: แฟลชในตั ว จะยิ ง แสงกระพริ บ แบบต อ เนื่ อ ง

• ควบคุมการเปดรับแสง ระบบวัดแสง:

ชวงการวัดแสง: ระบบบันทึกภาพ: ความไวแสง (ISO): (แนะนำให ใ ช )

TTL วั ด แสงผ า นเลนส ที่ เ ป ด ช อ งรั บ แสงกว า งสุ ด แบ ง พื้ น ที่ ใ นภาพเป น 63 ส ว น • ระบบวั ด แสงเฉลี่ ย หลายส ว น (เชื่ อ มโยงกั บ จุ ด โฟกั ส ที่ จั บ ภาพได ) • ระบบวั ด แสงเฉพาะส ว น ( พื้ น ที่ ป ระมาณ 6.5% ที่ กึ่ ง กลางช อ งเล็ ง ภาพ) • ระบบวั ด แสงเฉพาะจุ ด (พื้ น ที่ ป ระมาณ 2.8% ที่ กึ่ ง กลางช อ งเล็ ง ภาพ) • ระบบวั ด แสงเฉลี่ ย เน น กลางภาพ EV 1- 20(ที่ 23 ํC/73 ํF เมื่อใชเลนส EF50mm f/1.4 USM ที่ ISO 100) Program AE (Full Auto, Creative Auto, Portrait, Landscape, Close-up, Sports, Night Portrait, , Program), shutter-priority AE, aperture-priority AE, manual exposure, bulb exposure Basic Zone: ปรับความไวแสงใหอัตโนมัติในชวง ISO 100 - 3200 Creative Zone : ISO 100 - 6400 (ปรับเพิ่มลดขั้นละ 1/3-stop), หรือใชระบบขยายความไวแสงเปน ISO 12800


ณสมบัตขิ องกลอง ชดเชยแสง: ล็อคคาแสงอัตโนมัติ:

• ชัตเตอร

ชนิ ด : ความไวชัตเตอร:

• แฟลช

ปรั บ ตั้ ง เอง : +/- 5 stops ปรั บ ได ขั้ น ละ1/3 หรื อ 1/2 stop ถ า ยภาพคร อ ม : +/- 3 stops ปรั บ ได ขั้ น ละ1/3 หรื อ 1/2 stop สามารถปรับชดเชยแสงเอง อั ต โนมั ติ : ใช ร ะบบ One-shot AF และหาโฟกั ส ได แ ล ว ร ว มกั บ ระบบวั ด แสงเฉลี่ ย หลายส ว น แมนนวล : เมื่อกดปุม AE Lock ชั ต เตอร ที่ ร ะนาบโฟกั ส ควบคุ ม ด ว ยอี เ ลคทรอนิ ค ส 1/8000 วินาที ถึง 1/60 วินาที (ในระบบ Full Auto), ความไวชั ต เตอร สั ม พั น ธ แ ฟลช 1/250 วิ น าที 1/8000 วินาที ถึง 30 วินาที, และชัตเตอร bulb (ความไวชั ต เตอร ที่ ป รั บ ได ทั้ ง หมด) (ความไวชั ต เตอร ที่ ป รั บ ได จะขึ้ น อยู กั บ ระบบบั น ทึ ก ภาพที่ ใ ช )

ซ อ นตั ว และยกตั ว ขึ้ น ทำงานเอง Guide No.: ประมาณ 13/43 (ISO 100, หนวยเมตร/ฟุต) การครอบคลุมของแฟลช: มุมรับภาพของเลนสความยาวโฟกัส 17mm ระยะเวลาประจุไฟ: ประมาณ 3 วินาที ฟ ง ก ชั่ น master unit ของระบบแฟลชไร ส าย ทำได แฟลชภายนอก: EX-series Speedlite (ปรั บ ฟ ง ก ชั่ น ได ที่ ตั ว กล อ ง) ระบบวัดแสงแฟลช: E-TTL II autoflash ชดเชยแสงแฟลช: +/-3 stops ปรับไดขั้นละ 1/3- หรือ1/2-stop ล็อคคาแสงแฟลช: ทำได ชองเสียบสายพวงแฟลช: ไมมี

แฟลชในตัว:

• ระบบขับเคลื่อน

แบบครั้ ง ละภาพ แบบต อ เนื่ อ งความเร็ ว สู ง และต อ เนื่ อ งความเร็ ว ต่ำ , หน ว งเวลาถ า ยภาพ/รี โ มทคอนโทรล 10 วิ น าที แ ละ 2 วิ น าที , ถ า ยภาพต อ เนื่ อ งควบคุ ม ด ว ยรี โ มท : ความเร็ ว สู ง สุ ด 5.3 เฟรมต อ วิ น าที ความเร็วในการถายภาพสูงสุด: JPEG Large/Fine: ประมาณ 58 shots RAW: ประมาณ 16 shots RAW+JPEG Large/Fine: ประมาณ 7 shots * ไดจากการทดสอบตามมาตรฐานของ Canon (ที่ ISO 100 ใช PictureStyle แบบ Standard) ใช ก าร ด ขนาด 4 GB

ระบบขับเคลื่อน:


ณสมบัตขิ องกลอง • ระบบ Live View

3:2, 4:3, 16:9, 1:1 Live mode, Face detection Live mode วิเคราะหดวยการจับความเปรียบตาง(Contrast detection) Quick mode (วิเคราะหดวย Phase-difference detection) แมนนวลโฟกัส (ขยายภาพในขนาด 5x / 10x ได) ระบบวัดแสง: วั ด แสงเฉลี่ ย ด ว ยเซนเซอร รั บ แสง ชวงการวัดแสง: EV 0 - 20 (ที่ 23 ํC/73 ํF เลนส EF50mm f/1.4 USM ที่ ISO 100) ระบบบันทึกภาพแบบเก็บเสียง: ทำได (Mode 1 และ 2) การแสดงเสนตาราง: แสดงได ส องแบบ อัตราสวนของดาน: ระบบโฟกัส:

• การถายภาพยนตร

ระบบบี บ อั ด ภาพยนตร : รูปแบบการบันทึกเสียง: ชนิ ด ของไฟล : ขนาดการบันทึกและอัตราเร็ว:

ขนาดไฟล :

การโฟกัสภาพ: ระบบวัดแสง:

ชวงการวัดแสง: การควบคุมการเปดรับแสง: ความไวแสง: (แนะนำให ใ ช )

MPEG-4 AVC/H.264 Variable (average) bit rate Linear PCM MOV 1920x1080 (Full HD): 30p/25p/24p 1280x720 (HD) : 60p/50p 640x480 (SD) : 60p/50p * 30p: 29.97 fps, 25p: 25.0 fps, 24p: 23.976 fps, 60p: 59.94 fps, 50p: 50.0 fps 1920x1080 (30p/25p/24p): ขนาดประมาณ 330 MB/min. 1280x720 (60p/50p) : ขนาดประมาณ 330 MB/min. 640x480 (60p/50p) : ขนาดประมาณ 165 MB/min. Crop 640x480 (60p/50p) : ขนาดประมาณ 165 MB/min. รู ป แบบเดี ย วกั บ การโฟกั ส ด ว ยระบบ Live View วั ด แสงด ว ยระบบเฉลี่ ย หลายส ว นและเฉลี่ ย เน น กลาง ภาพ ด ว ยเซนเซอร รั บ แสง * กล อ งจะปรั บ ตั้ ง เอง โดยพิ จ ารณาจากระบบ ออโต โ ฟกั ส ที่ เ ลื อ กใช EV 0 - 20 (ที่ 23 ํC/73 ํF เมื่อใชเลนส EF50mmf/1.4 USM ที่ ISO 100) Program AE(ชดเชยแสงได ) สำหรั บ ถ า ยภาพยนตร หรื อ เป ด รั บ แสงเอง(แมนนวล) ปรั บ ตั้ ง อั ต โนมั ติ ใ นช ว ง ISO 100 - 6400 เมื่ อ ถ า ยด ว ยระบบแมนนวล ปรั บ ตั้ ง ได ใ นช ว ง ISO 100 - 6400


ณสมบัตขิ องกลอง การบันทึกเสียง: การแสดงเสนตาราง :

มี ไ มโครโฟนแบบโมโน ติ ด ตั้ ง ในตั ว กล อ ง มี ช อ งเสี ย บต อ พ ว งกั บ ลำโพงภายนอกแบบสเตอริ โ อ แสดงได ส องแบบ

• จอ LCD

ชนิ ด : TFT color liquid-crystal monitor ขนาดและความละเอียด: 3 นิ้ว ความละเอียดประมาณ 1.04 ลานจุด(VGA) ครอบคลุม: พื้ น ที่ 100% ของภาพ จอหมุ น ปรั บ มุ ม มอง: ทำได การปรับความสวาง: ปรั บ ตั้ ง เอง 7 ระดั บ การแสดงระดับแบบอีเลคทรอนิคส: มี ภาษาที่ เ ลื อ กได : 25 ภาษา

• เลนดูภาพ

ภาพเดี่ ย ว, ภาพเดี่ ย วพร อ มข อ มู ล การถ า ยภาพ (ภาพ+ คุ ณ ภาพในการบั น ทึ ก , ข อ มู ล การถ า ยภาพ, histogram), ภาพดั ช นี 4 หรื อ 9 ภาพ, หมุ น ภาพได ซูมขยายดูภาพในตัวกลอง: ประมาณ 1.5x-10x การคนหาภาพ: เลื่ อ นดู ภ าพตามลำดั บ ครั้ ง ละภาพ เลื่ อ นดู ภ าพแบบข า มครั้ ง ละ 10 หรื อ 100 ภาพ เลื่ อ นดู ภ าพตามลำดั บ วั น ที่ , ตามลำดั บ โฟลเดอร , ลำดั บ ภาพยนตร , ภาพนิ่ ง , ตามการจั ด อั น ดั บ เตื อ นพื้ น ที่ ส ว นสว า ง: พื้ น ที่ ส ว นสว า งในภาพจะกระพริ บ การเลน Slide Show: เล น แสดงภาพทุ ก ๆ ภาพ, เฉพาะวั น , เฉพาะโฟลเดอร , ภาพยนตร , ภาพนิ่ ง , เฉพาะภาพที่ มี ก ารจั ด อั น ดั บ สามารถเลือกการแสดงภาพได 3 แบบ การเล น ดู ภ าพยนตร : เล น ดู ไ ด ที่ จ อ LCD ของกล อ ง หรื อ ต อ พ ว งไปเล น ดู ภ ายนอก ด ว ยสาย AV หรื อ ผ า นจุ ด ต อ พ ว ง HDMI และมี ลำโพงในตั ว รูปแบบการแสดงภาพ:

• ระบบประมวลผลภาพ

ประมวลผลไฟลแบบ RAW ในตัวกลอง: ความเขมสวาง, สมดุลสีขาว, Picture Style, ปรั บ ความเข ม สว า งอั ต โนมั ติ , ลดสั ญ ญาณรบกวนเมื่ อ ความไวแสงสู ง , คุ ณ ภาพของไฟล JPEG, ระบบสี , ปรั บ ความสลั ว ของขอบภาพ, ปรั บ แก ค วามบิ ด เบื อ น และปรั บ แก ค วามผิ ด เพี้ ย นของสี Creative filters: Grainy B/W, Soft focus, Toy camera effect, Miniature effect ลดขนาดภาพ: ทำได จั ด อั น ดั บ ภาพ: มี

• Direct Printing สั่งพิมพภาพโดยตรงจากตัวกลอง

เครื่ อ งพิ ม พ ที่ ส นั บ สนุ น : เครื่ อ งพิ ม พ ที่ มี ร ะบบ PictBridge ภาพที่ พิ ม พ ไ ด : ไฟลภาพแบบ JPEG และ RAW ระบบสั่งงานพิมพ: สนับสนุนระบบพิมพแบบ DPOF 1.1


ณสมบัตขิ องกลอง • ปรับกลองใหทำงานตามผูใช

Custom Functions: การปรั บ ตั้ ง โดยผู ใ ช : การปรั บ ตั้ ง My Menu: ข อ มู ล ลิ ข สิ ท ธิ์ :

20 แบบ โดยหมุ น วงแหวนเลื อ กระบบบั น ทึ ก ภาพไปที่ C มี บั น ทึ ก ข อ มู ล ลิ ข สิ ท ธิ์ ข องภาพได

• การตอเชื่อม

ชองตอพวง AV out แบบดิจิตอล: Analog video (สนับสนุน NTSC/PAL) / stereo audio output ช อ งต อ พ ว ง Hi-Speed USB สำหรั บ ต อ เชื่ อ มคอมพิ ว เตอร แ ละเครื่ อ งพิ ม พ ช อ งต อ พ ว งแบบ HDMI: ชนิ ด C (ปรั บ ความละเอี ย ดอั ต โนมั ติ ) , สนั บ สนุ น CEC ชองเสีย บสำหรั บไมโครโฟนภายนอก: แจคสเตอริโอขนาด 3.5 มม. ช อ งเสี ย บสายลั่ น ชั ต เตอร : ใช ส ายลั่ น ชั ต เตอร รุ น RS-60E3 สายลั่ น ชั ต เตอร แ บบไร ส าย: ใช ไ ด กั บ รี โ มทรุ น RC-6

• แหลงพลังงาน

Battery Pack LP-E6 (1 กอน) * สามารถใช ไ ฟฟ า กระแสสลั บ ได เมื่ อ ใช อุ ป กรณ เ สริ ม พิ เ ศษ AC Adapter Kit ACK-E6 * เมื่ อ ใช Battery Grip BG-E9 สามารถใช แ บตเตอรี่ ข นาด AA/LR6 ได การแสดงขอมูล: พลั ง งานที่ เ หลื อ , จำนวนภาพที่ ถ า ยต อ ไปได และการประจุ ไ ฟ อายุการใชงานแบตเตอรี่: เมื่ อ มองภาพผ า นช อ งเล็ ง ภาพ: (ทดสอบตามมาตรฐาน CIPA) ถายไดจำนวน 1100 ภาพ ที่ 23 ํ C /73 ํ F และ 1000 ภาพ ที่ 0 ํ C /32 ํ F เมื่อเล็งภาพดวยระบบ Live View : ถายไดจำนวน 320 ภาพ ที่ 23 ํ C /73 ํ F และ 280 ภาพ ที่ 0 ํ C /32 ํ F เวลาในการถายภาพยนตร: ประมาณ 2 ชั่ ว โมง ที่ 23 ํ C /73 ํ F ประมาณ 1 ชั่ ว โมง 40 นาที ที่ 0 ํ C /32 ํ F (เมื่ อ ใช Battery Pack LP-E6 ที่ ป ระจุ ไ ฟเต็ ม ) แบตเตอรี่ :

• ขนาดและน้ำหนัก ขนาด (กวางXสูงXหนา): น้ำ หนั ก :

144.5 x 105.8 x 78.6 มม. / 5.7 x 4.2 x 3.1 นิ้ว ประมาณ 755 กรัม / 26.6 ออนซ (CIPA guideline) ประมาณ 675 กรั ม / 23.8 ออนซ (เฉพาะตั ว กล อ ง)

• สภาพแวดลอมในการทำงาน

ช ว งอุ ณ หภู มิ ใ นการทำงาน: 0 ํ C - 40 ํ C / 32 ํ F - 104 ํ F ความชื้นในการทำงาน: 85% หรื อ ต่ำ กว า


ณสมบัตขิ องกลอง • แบตเตอรี่ LP-E6

ชนิ ด : แรงดั น ไฟฟ า : ความจุกระแสไฟ: ขนาด (กวาง x สูง x หนา): น้ำ หนั ก :

ลิ เ ธี่ ย มไอออน ประจุ ไ ฟใหม ไ ด 7.2 V DC 1800 mAh 38.4 x 21 x 56.8 มม. / 1.5 x 0.8 x 2.2 นิ้ว ประมาณ 80กรัม / 2.8 ออนซ

• เครื่องชารจแบตเตอรี่ LC-E6

แบตเตอรี่ ที่ ใ ช ไ ด : ระยะเวลาประจุไฟ: กระแสไฟเขา: กระแสไฟออก: ชวงอุณหภูมิในการทำงาน: ความชื้นในการทำงาน: ขนาด (กวาง x สูง x หนา): น้ำ หนั ก :

Battery Pack LP-E6 ประมาณ 2 ชั่ ว โมง 30 นาที 100 - 240 V AC (50/60 Hz) 8.4 V DC/1.2A 5 ํ C - 40 ํ C / 41 ํ F - 104 ํ F 85% หรื อ ต่ำ กว า 69 x 33 x 93 มม. / 2.7 x 1.3 x 3.7 นิ้ว ประมาณ 130 กรั ม / 4.6 ออนซ

• เครื่องชารจแบตเตอรี่ LC-E6E

แบตเตอรี่ ที่ ใ ช ไ ด : ความยาวของสายไฟ: ระยะเวลาประจุไฟ: กระแสไฟเขา: กระแสไฟออก: ชวงอุณหภูมิในการทำงาน: ความชื้นในการทำงาน: ขนาด (กวาง x สูง x หนา): น้ำ หนั ก :

Battery Pack LP-E6 ประมาณ 1 เมตร/ 3.3 ฟุต ประมาณ 2 ชั่ ว โมง 30 นาที 100 - 240 V AC (50/60 Hz) 8.4 V DC/1.2A 5 ํ C - 40 ํ C / 41 ํ F - 104 ํ F 85% หรื อ ต่ำ กว า 69 x 33 x 93 มม. / 2.7 x 1.3 x 3.7 นิ้ว ประมาณ 125 กรั ม / 4.4 ออนซ (ไม ร วมสายไฟ)


ณสมบัตขิ องกลอง • EF-S18-55mm f/3.5-5.6 IS องศาการรับภาพ:

โครงสรางของเลนส: ชองรับแสงแคบสุด: ระยะโฟกัสใกลสุด: อัตราขยายสูงสุด: พื้ น ที่ ค รอบคลุ ม : ระบบ Image Stabilizer: ขนาดฟลเตอร: ฝาปดเลนส: เสนผา ศก. และความยาว: น้ำ หนั ก : ฮู ด : กลองบรรจุ:

• EF15-85mm f/3.5-5.6 IS USM องศาการรับภาพ:

โครงสรางของเลนส: ชองรับแสงแคบสุด: ระยะโฟกัสใกลสุด: อัตราขยายสูงสุด: พื้ น ที่ ค รอบคลุ ม : ระบบ Image Stabilizer: ขนาดฟลเตอร: ฝาปดเลนส: เสนผา ศก. และความยาว: น้ำ หนั ก : ฮู ด : กลองบรรจุ:

ตามแนวทแยง: 74 ํ 2 0 ’ - 27 ํ 5 0’ ตามแนวนอน: 64 ํ30 ’ - 23 ํ20’ ตามแนวตั้ ง : 45 ํ 3 0 ’ - 15 ํ 4 0’ 11 ชิ้ น 9 กลุ ม f/22 - 36 0.25 เมตร /0.82 ฟุ ต (จากเซนเซอร ถึ ง วั ต ถุ ) 0.34x (ที่ 55 mm) 2071 x 134 - 67 x 45 มม. / 8.1 x 5.3 - 2.6 x 1.8 นิ้ว ที่ ร ะยะโฟกั ส 0.25 เมตร / 0.82 ฟุ ต แบบ Lens shift type 58 mm E-58 68.5 x 70.0 มม / 2.7 x 2.8 นิ้ว โดยประมาณ 200 กรั ม / 7.1 ออนซ EW-60C (แยกจำหน า ย) LP814 (แยกจำหน า ย) ตามแนวทแยง: 84 ํ 3 0 ’ - 18 ํ 2 5’ ตามแนวนอน: 74 ํ10 ’ - 15 ํ25’ ตามแนวตั้ ง : 53 ํ 3 0 ’ - 10 ํ 2 5’ 17 ชิ้ น 12 กลุ ม f/22 - 36 0.35 เมตร / 1.15 ฟุ ต (จากเซนเซอร ถึ ง วั ต ถุ ) 0.21x (ที่ 85 mm) 255 x 395 - 72 x 108 มม. / 10.0 x 15.6 - 2.8 x 4.3 นิ้ว ที่ ร ะยะโฟกั ส 0.35 เมตร / 1.15 ฟุ ต แบบ Lens shift type 72 mm E-72U 81.6 x 87.5 มม / 3.2 x 3.4 นิ้ว โดยประมาณ 575 กรัม / 20.3 ออนซ EW-78E (แยกจำหน า ย) LP1116 (แยกจำหน า ย)


ณสมบัตขิ องกลอง • EF-S18-135mm f/3.5-5.6 IS องศาการรับภาพ:

โครงสรางของเลนส: ชองรับแสงแคบสุด: ระยะโฟกัสใกลสุด:

อัตราขยายสูงสุด: ระบบ Image Stabilizer: ขนาดฟลเตอร: ฝาปดเลนส: เสนผา ศก. และความยาว: น้ำ หนั ก : ฮู ด : กลองบรรจุ:

• EF-S18-200mm f/3.5-5.6 IS องศาการรับภาพ:

โครงสรางของเลนส: ชองรับแสงแคบสุด: ระยะโฟกัสใกลสุด: อัตราขยายสูงสุด: พื้ น ที่ ค รอบคลุ ม : ระบบ Image Stabilizer: ขนาดฟลเตอร: ฝาปดเลนส: เสนผา ศก. และความยาว: น้ำ หนั ก : ฮู ด : กลองบรรจุ:

ตามแนวทแยง: 74 ํ20’ - 11 ํ30’ ตามแนวนอน: 64 ํ 3 0’ - 9 ํ 3 0’ ตามแนวตั้ ง : 45 ํ 3 0’ - 6 ํ 2 0’ 16 ชิ้ น 12 กลุ ม f/22 - 36 ที่ 18 มม. ระยะ 0.49 เมตร / 1.61 ฟุต (327 x 503 มม. / 12.9 x 19.8 นิ้ว) ที่ 135 มม. ระยะ 0.45 ม. / 1.48 ฟุต (75 x 112 มม. / 3.0 x 4.4 นิ้ว) *จากเซนเซอร ถึ ง วั ต ถุ 0.21x (ที่ 135 mm) แบบ Lens shift type 67 mm E-67U 75.4 x 101 มม. / 3.0 x 4.0 นิ้ว โดยประมาณ 455 กรัม / 16.0 ออนซ EW-73B (แยกจำหน า ย) LP1116 (แยกจำหน า ย) ตามแนวทแยง: 74 ํ 2 0’ - 7 ํ 5 0’ ตามแนวนอน: 64 ํ30’ - 6 ํ30’ ตามแนวตั้ ง : 45 ํ 3 0’ - 4 ํ 2 0’ 16 ชิ้ น 12 กลุ ม f/22 - 36 0.45 เมตร / 1.48 ฟุ ต (จากเซนเซอร ถึ ง วั ต ถุ ) 0.24x (ที่ 200 mm) 452 x 291 - 93 x 62 มม. / 17.8 x 11.5 - 3.7 x 2.4 นิ้ว (ที่ ร ะยะโฟกั ส 0.45 เมตร / 1.48 ฟุ ต ) แบบ Lens shift type 72 mm E-72 78.6 x 102.0 มม / 3.1 x 4.0 นิ้ว โดยประมาณ 595 กรัม / 21.0 ออนซ EW-78D (แยกจำหน า ย) LP1116 (แยกจำหน า ย)


ณสมบัตขิ องกลอง • EF-S17-85mm f/4-5.6 IS USM องศาการรับภาพ:

โครงสรางของเลนส: ชองรับแสงแคบสุด: ระยะโฟกัสใกลสุด: อัตราขยายสูงสุด: พื้ น ที่ ค รอบคลุ ม : ระบบ Image Stabilizer: ขนาดฟลเตอร: ฝาปดเลนส: เสนผา ศก. และความยาว: น้ำ หนั ก : ฮู ด : กลองบรรจุ:

ตามแนวทแยง: 78 ํ30’ - 18 ํ25’ ตามแนวนอน: 68 ํ40’ - 15 ํ25’ ตามแนวตั้ง : 48 ํ00’ - 10 ํ25’ 17 ชิ้ น 12 กลุ ม f/22 - 32 0.35 เมตร / 1.15 ฟุ ต (จากเซนเซอร ถึ ง วั ต ถุ ) 0.2x (ที่ 85 mm) 328 x 219 มม.- 112 x 75 มม / 12.9 x 8.6 - 4.4 x 3.0 นิ้ว (ที่ ร ะยะโฟกั ส 0.35 เมตร) แบบ Lens shift type 67 mm E-67U 78.5 x 92.0 มม. / 3.1 x 3.6 นิ้ว โดยประมาณ 475 กรัม / 16.8 ออนซ EW-73B (แยกจำหน า ย) LP1116 (แยกจำหน า ย)

คุ ณ สมบั ติ ที่ แ สดงไว ใ นรายการข า งต น ได ม าจากการทดสอบตามมาตรฐานของ Canon คุ ณ สมบั ติ ต า งๆ เช น ขนาด เส น ผ า ศู น ย ก ลาง ความยาวและน้ำ หนั ก ตามรายการด า นบนนี้ ได มาจากมาตรฐานการทดสอบของ CIPA (ยกเว น น้ำ หนั ก ของตั ว กล อ ง) คุ ณ สมบั ติ แ ละการตกแต ง ภายนอก อาจเปลี่ ย นแปลงโดยไม ต อ งแจ ง ให ท ราบ เมื่ อ ใช เ ลนส ยี่ ห อ อื่ น และเกิ ด ป ญ หากั บ การทำงานของกล อ ง ให ส อบถามที่ ผู ผ ลิ ต เลนส นั้ น ๆ

เครื่ อ งหมายการค า

Adobe เปนเครือ่ งหมายการคาของบริษทั Adobe Systems Incorporated Windows เปนเครื่องหมายการคาของบริษัท Microsoft Corporation ในสหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นๆ Macintosh และ Mac OS เปนเครือ่ งหมายการคาของบริษทั Apple Inc. ในสหรัฐอเมริกาและประเทศอืน่ ๆ SDXC เปนเครือ่ งหมายการคา ของ SD-3C, LLC

เครื่องหมาย HDMI, HDMI Logo และ High-Definition Multimedia เปนเครื่องหมายการคา ซึ่งตองผานการรับรองจาก HDMI Licensing LLC ชื่อสินคาและเครื่องหมายการคาอื่นๆ ที่ปรากฏอยูในคูมือฉบับนี้ เปนสมบัติของเจาของสินคาเหลานั้น


ณสมบัตขิ องกลอง เกี่ยวกับการอนุญาตของ MPEG-4

“การใชผลิตภัณฑตามมาตรฐานของ MPEG-4 นี้ ไดรับอนุญาตภายใตสิทธิบัตรของ AT&T สำหรับการใชรหัสและถอดรหัสไฟลวิดีโอชนิด MPEG-4 ซึ่งเปนการใชรหัสวิดีโอสำหรับการ ใชงานสวนบุคคล(1) และไมเปนเชิงพาณิชย(2) โดยไดรับอนุญาตจากผูใหการอนุญาตให ใชผลิตภัณ MPEG-4 ซึ่งอยูภายใตลิขสิทธิ์ของ AT&T ไม อ นุ ญ าติ ห รื อ สนั บ สนุ น ให นำ MPEG-4 ไปใช สำหรั บ งานประเภทอื่ น ” * เอกสารนี้จะใชภาษาอังกฤษในการอธิบายหากจำเปน

แนะนำใหใชอุปกรณเสริมพิเศษของ Canon แท เทานั้น

ผลิ ต ภั ณ ฑ นี้ ได ถู ก ออกแบบให มี คุ ณ สมบั ติ อั น โดดเด น และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการใช ง าน ที่ ย อดเยี่ ย ม เมื่ อ ใช ร ว มกั บ อุ ป กรณ เ สริ ม พิ เ ศษของ Canon โดยเฉพาะ ซึ่ ง Canon ไม รั บ ผิ ด ชอบต อ ความเสี ย หายของผลิ ต ภั ณ ฑ เ มื่ อ ใช อุ ป กรณ เ สริ ม ที่ ไ ม ใ ช Canon และ/หรื อ ความเสี ย หายจากอุ บั ติ เ หตุ เช น อั ค คี ภั ย ฯลฯ (เช น การรั่ ว ซึ ม ของแบตเตอรี่ และ/หรื อ การระเบิ ด ของแบตเตอรี่ แ พ็ ค ) โปรดระลึ ก ว า การรั บ ประกั น จะไม ค รอบคลุ ม ถึ ง การซ อ ม เมื่ อ เกิ ด ความเสี ย หายต อ อุ ป กรณ เ สริ ม ที่ ไ ม ใ ช ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ข อง Canon แม ผู ใ ช ต อ งการให ซ อ มหรื อ เปลี่ ย นอุ ป กรณ ชิ้ น ดั ง กล า ว เครื่องประจุไฟ จะไมสามารถประจุไฟใหกับแบตเตอรี่รุนอื่น นอกจาก Battery Pack LP-E6 หาก นำไปประจุไฟดวยเครื่องประจุไฟรุนอื่นหรือแบบอื่น อาจทำใหแบตเตอรี่เกิดความเสียหายหรือเกิด อุบัติเหตุได ซึ่ง Canon จะไมรับผิดชอบตอความเสียหายที่เกิดขึ้น


คำเตือน เพื่อความปลอดภัยในการใชอุปกรณ ปฏิบัติตามคำแนะนำตอไปนี้อยางเครงครัด และใชอุปกรณอยางระมัดระวังและถูกวิธี เพื่อปองกันการเกิด อุบัติเหตุรายแรง และความเสียหายของอุปกรณ

ปองกันการเกิดอุบัติเหตุรายแรง เพื่ อ ป อ งกั น การเกิ ด อั ค คี ภั ย ความร อ น การรั่ ว ไหลของสารเคมี และการระเบิ ด ให ป ฏิ บั ติ ต ามคำแนะ นำเพื่อความปลอดภัยอยางเครงครัด: - ห า มใช แ บตเตอรี่ แหล ง พลั ง งาน และอุ ป กรณ เ สริ ม ที่ ไ ม ไ ด ร ะบุ ไ ว ใ นคู มื อ ฉบั บ นี้ ไม ค วรทำแบตเตอรี่ เอง หรือดัดแปลงกอนแบตเตอรี่เด็ดขาด - หามลัดวงจร ถอดชิ้นสวน หรือดัดแปลงกอนแบตเตอรี่ หามใชความรอน และทำการบัดกรีกอน แบตเตอรี่ หามทำแบตเตอรี่ตกลงในน้ำหรือไฟ และหามทุบหรือกระแทกกอนแบตเตอรี่เปนอันขาด - ระมัดระวังอยาใสแบตเตอรี่กลับขั้วเปนอันขาด และหามใชแบตเตอรี่เกาและแบตเตอรี่ใหมคละกัน หรือใชแบตเตอรี่ตางชนิดคละกัน(กรณีที่ใช Battery Grip BG-E6) - หามทำการประจุไฟแบตเตอรี่นอกชวงของอุณหภูมิที่กำหนดไว(0 ํC - 40 ํC / 32 ํF - 104 ํF) และหาม ประจุไฟนานเกินเวลาที่กำหนด - หามสอดวัสดุแปลกปลอมที่เปนโลหะกับจุดสัมผัสอีเลคทรอนิคสตางๆ ของกลอง ชองเสียบอุปกรณเสริม และชองเสียบสายเชื่อมตอ ฯลฯ เก็ บ แบตเตอรี่ ใ ห พ น มื อ เด็ ก ถ า เด็ ก กลื น ก อ นแบตเตอรี่ เ ข า ไป ให นำไปพบแพทย ทั น ที (สารเคมี ใ น แบตเตอรี่เปนอันตรายตอกระเพาะอาหารและอวัยวะภายใน) เมื่ อ ต อ งการทิ้ ง แบตเตอรี่ ให ป ด ขั้ ว สั ม ผั ส ด ว ยเทปเพื่ อ ป อ งกั น การสั ม ผั ส กั บ วั ส ดุ ที่ เ ป น โลหะหรื อ แบตเตอรี่กอนอื่นๆ เพื่อปองกันการลัดวงจรที่อาจทำใหเกิดการระเบิดได ในขณะประจุไฟแบตเตอรี่ หากมีความรอนสูง กลิ่นและควัน ใหถอดสายไฟออกจากปลั๊กไฟทันทีเพื่อหยุด ประจุไฟ เพื่อปองกันการเกิดอัคคีภัย ถาแบตเตอรี่เกิดการรั่วซึม มีการเปลี่ยนสี รูปทรง หรือมีกลิ่นและควัน ใหถอดออกทันที และระวังความ รอนในขณะสัมผัสกอนแบตเตอรี่ดวย ปองกันอยาใหสิ่งที่รั่วซึมจากกอนแบตเตอรี่สัมผัสถูกดวงตา ผิวหนัง เสื้อผา เพราะอาจทำใหตาบอดหรือ เปนอันตรายตอผิวหนัง หากเกิดการสัมผัสแลว ใหลางบริเวณนั้นดวยน้ำสะอาดโดยไมขัดถู และรีบไป พบแพทย ทั น ที ขณะกำลังประจุไฟแบตเตอรี่ ควรนำอุปกรณออกหางจากมือของเด็กๆ เพราะอาจเกิดไฟฟาลัดวงจร และ เกิดอันตรายตอเด็กได หามวางสายไฟหรือสายใดๆ ใกลแหลงกำเนิดความรอน เพราะอาจทำใหสายเกิดการละลายและเสียรูป ไป ซึ่งอาจทำใหเกิดไฟฟาลัดวงจรได ไมควรใชแฟลชถายภาพผูที่กำลังขับรถ เพราะอาจทำใหเกิดอุบัติเหตุได ไมควรใชแฟลชถายภาพใกลกับคนมากเกินไป เพราะอาจจะทำใหเสียสุขภาพตาได และเมื่อใชแฟลชถาย ภาพเด็กทารก ควรถายในระยะหางกวา 1 เมตรขึ้นไป กอนนำกลองและอุปกรณเสริมอื่นๆ ไปเก็บ ควรถอดแบตเตอรี่ออกเสียกอน และถอดสายไฟทุกเสนออกจาก ปลั๊ก ทั้งนี้เพื่อปองกันการเกิดไฟฟาลัดวงจร หรือการสะสมของความรอนอันอาจทำใหเกิดอัคคีภัยได หามใชกลองหรือประจุไฟแบตเตอรี่เมื่อไดกลิ่นกาซ เพื่อปองกันการเกิดระเบิดและเกิดอัคคีภัย


ถาทำอุปกรณตก และวัสดุที่หอหุมแตกหรือเปดออกจนเห็นชิ้นสวนดานใน หามสัมผัสกับชิ้นสวนภายใน อุปกรณนั้นเด็ดขาด เพราะอาจจะถูกไฟชอตได หามถอดชิ้นสวนหรือดัดแปลงอุปกรณ เพราะชิ้นสวนที่อยูดานในซึ่งมีแรงดันไฟฟาสูงมากอาจทำใหเกิด ไฟช อ ตได ห า มส อ งหรื อ เล็ ง กล อ งไปยั ง ดวงอาทิ ต ย แ ละแหล ง กำเนิ ด แสงที่ ส ว า งจ า เพราะอาจทำให เ กิ ด อั น ตราย ต อ ดวงตาได เก็บกลองใหพนมือเด็กเล็กๆ สายคลองคออาจจะรัดคอเด็กจนหายใจไมออกได อย า เก็ บ กล อ งและอุ ป กรณ อื่ น ๆ ไว ใ นที่ ซึ่ ง มี ฝุ น มาก ที่ ซึ่ ง มี ค วามชื้ น สู ง เพื่ อ ป อ งกั น ไฟฟ า ลั ด วงจร และอัคคีภัย กอนที่จะใชกลองในเครื่องบินและโรงพยาบาล ตรวจสอบกอนวาสามารถถายภาพได คลื่นแมเหล็กไฟฟา ที่สงออกจากกลองอาจจะรบกวนอุปกรณการบินและอุปกรณตรวจรักษาทางการแพทย เพื่ อ ป อ งกั น อั ค คี ภั ย และไฟช อ ต ให ป ฏิ บั ติ ต ามคำแนะนำเพื่ อ ความปลอดภั ย ด า นล า งนี้ : - เมื่อเสียบปลั๊กไฟ ใหเสียบเขาจนสุด - หามจับปลกไฟเมื่อมือเปยกชื้น - เมื่อถอดหรือเสียบปลั๊กไฟ ใหจับที่หัวปลั๊ก ไมจับที่สาย - ไม ขู ด ขี ด ตั ด ดั ด งอสายไฟ บิ ด หรื อ ผู ก สายไฟหรื อ ทั บ ด ว ยวั ต ถุ ที่ มี น้ำ หนั ก มาก - ไมตอพวงสายไฟจำนวนมากเขากับชองเสียบเดียวกัน - ไมเสียบสายไฟ เมื่อเครื่องปองกันไฟฟารั่วหรือลัดวงจรเสียหาย เมื่อใชงานไปแลวระยะหนึ่ง ใหถอดสายไฟออก และเช็ดฝุนที่หัวเสียบและปลั๊กไฟดวยผาแหง ถาในบริเวณ นั้ น มี ฝุ น มาก หรื อ มี ค วามชื้ น สู ง มาก หรื อ มี น้ำ มั น ฝุ น บริ เ วณปลั๊ ก ไฟจะชื้ น และอาจทำให ไ ฟฟ า ลั ด วงจร และเกิดอัคคีภัยได

ปองกันการบาดเจ็บและทำใหอุปกรณเสียหาย

หามทิ้งกลองไวในรถที่จอดตากแดด หรือใกลกับแหลงความรอน กลองอาจจะรอนจัดและทำอันตราย ต อ ผิวหนัง

ไมควรยกยายกลองที่ติดอยูบนขาตั้งกลองในขณะเดินไปรอบๆ การทำเชนนี้อาจทำใหเกิออุบัติเหตุและไดรับบาด เจ็บ และกลองอาจจะตกหลน ใหตรวจสอบใหแนใจวาขาตั้งกลองนั้นแข็งแรงพอที่จะรองรับกลองและเลนส

ไมควรทิ้งเลนส และเลนสที่ติดอยูกับกลองตากแดดโดยไมสวมฝาปดหนาเลนสเอาไว เลนสอาจจะรวม แสงจนเกิดการสะสมความรอนมาก จนทำใหกลองเสียหายหรือไหมได ไมควรใชผาหอหรือหุมเครื่องชารจแบตเตอรี่ในขณะประจุไฟ เพราะทำใหเกิดการสะสมของความรอน ทำใหตัวเครื่องเสียรูป หรืออาจเกิดเพลิงไหม ถาทำกลองตกน้ำ หรือมีน้ำและของเหลวอื่นเขาไปในกลอง ใหถอดแบตเตอรี่และแบตเตอรี่สำรองสำหรับ นาฬิกา เพื่อปองกันไฟฟาลัดวงจร

ไมควรเก็บ ใช หรือวางแบตเตอรี่กลอง แบตเตอรี่สำรองสำหรับนาฬิกา ภายในบริเวณที่มีความรอนสูง ซึ่งอาจ ทำใหแบตเตอรีร่ วั่ ซึมและมีอายุการใชงานสัน้ ลง ตัวแบตเตอรีอ่ าจรอนจัดจนทำใหผวิ หนังไหมพอง หามใชทินเนอรผสมสี เบนซิน หรือสารประกอบอินทรียในการทำความสะอาดอุปกรณ การทำแบบนี้อาจ ทำใหเกิดไฟไหมและยังเปนอันตรายตอสุขภาพ

หากอุปกรณแสดงการทำงานที่ผิดปกติ หรือตองการซอม ติดตอที่ ตั ว แทนจำหน า ยของแคนนอน หรื อ ที่ ศู น ย บ ริ ก ารที่ อ ยู ใ กล ที่ สุ ด


Digital Camera Model DS126191 Systems อุ ป กรณ นี้ ประกอบด ว ยชิ้ น ส ว น Part 15 ตามกฏของ FCC ซึ่ ง มี เ งื่ อ นไขการใช 2 ลั ก ษณะ คื อ (1) เครื่องใชนี้จะไมทำใหเกิดสัญญาณหรือคลื่นที่เกิดอันตรายตอผูใช และ (2) เครื่องใชนี้จะไม ส ง สั ญ ญาณรบกวนที่ แ ทรกแทรงการทำงานของเครื่ อ งมื อ อื่ น ๆ จนทำงานผิ ด พลาด หมายเหตุ: อุ ป กรณ ชิ้ น นี้ ไ ด ผ า นการทดสอบตามข อ จำกั ด ของการทดสอบอุ ป กรณ ใ น class B digital ที่ กำหนดโดยกฏของ FCC Part 15 เพื่ อ ป อ งกั น การเกิ ด อั น ตรายของอุ ป กรณ ที่ อ อกแบบมาให ใ ช ภ ายในครั ว เรื อ น อุ ป กรณ ชิ้ น นี้ จะสร า งคลื่ น รั ง สี แ บบความถี่ วิ ท ยุ ซึ่ ง ถ า ไม ใ ช ง านอย า งถู ก วิ ธี ต ามคำแนะนำ ก็ อ าจจะรบกวนความถี่ วิ ท ยุ ไ ด อย า งไรก็ ต าม ไม มี ก ารรั บ ประกั น ว า อุ ป กรณ ชิ้ น นี้ จ ะไม ร บกวนคลื่ น ความถี่ วิ ท ยุ แ ละเครื่ อ งรั บ โทรทั ศ น ซึ่ ง ผู ใ ช ส ามารถตรวจ สอบเองได จ ากการเป ด และป ด การทำงานของอุ ป กรณ และผู ใ ช ก็ ส ามารถแก ป ญ หาการรบกวนคลื่ น ความถี่ วิ ท ยุ แ ละโทรทั ศ น ไ ด โดยปฏิ บั ติ ดั ง ต อ ไปนี้ : - ปรั บ ทิ ศ ทางของเสารั บ สั ญ ญาณใหม - ขยั บ อุ ป กรณ ใ ห อ อกห า งจากเครื่ อ งรั บ วิ ท ยุ แ ละโทรทั ศ น ม ากขึ้ น - เสี ย บสายไฟของอุ ป กรณ นี้ ใ นวงจรไฟฟ า อื่ น ๆ ที่ ไ ม ใ ช ว งจรเดี ย วกั บ เครื่ อ งรั บ วิ ท ยุ แ ละโทรทั ศ น - ปรึ ก ษากั บ ผู แ ทนจำหน า ย หรื อ ช า งซ อ มวิ ท ยุ - โทรทั ศ น ที่ มี ป ระสบการณ ต อ งใช ส ายที่ มี แ กนกลางเป น โลหะซึ่ ง ได ม าพร อ มกั บ ตั ว กล อ งเท า นั้ น เพราะสายเป น ส ว น ประกอบชิ้ น หนึ่ ง ของอุ ป กรณ ตามกฏ Part 15 ของ FCC ห า มเปลี่ ย นแปลง หรื อ ดั ด แปลงส ว นหนึ่ ง ส ว นใดของอุ ป กรณ นอกจากที่ ไ ด ร ะบุ ไ ว ใ นคู มื อ

Canon U.S.A. Inc. One Canon Plaza, Lake Success, NY 11042, U.S.A. Tel No. (516)328-5600

อุปกรณดิจิตอล Class B ตามมาตรฐาน Canadian ICES-003. เมื่ อ ต อ เชื่ อ มระบบพลั ง งานของกล อ งกั บ ปลั๊ ก ไฟ ใช ไ ด เ ฉพาะ AC Adapter Kit ACK-E6 (rated input: 100-240 V AC 50/60 Hz, rated output:8.0 V DC) การใชอุปกรณอื่นๆ นอกเหนือจากนี้อาจทำใหไฟฟาลัดวงจรหรือเกิดอัคคีภัย


คำแนะนำเกี่ยวกับความปลอดภัยที่สำคัญมาก 1. เก็บคม ู อื ฉบับนีไ้ ว — คมู อื ฉบับนีม้ เี นือ้ หาเกีย่ วกับการใชเครือ่ งประจุไฟรนุ Battery Charger LC-

E6 และ LC-E6E 2. กอนใชเครือ่ งประจุไฟ อานคมู อื การใชและคำเตือนทัง้ หมด รวมทัง้ คำเตือนเกีย่ วกับอุปกรณเหลา นี้ :เสียกอน (1) เครือ่ งประจุไฟ, (2) แบตเตอรี,่ และ (3) อุปกรณทใี่ ชแบตเตอรี่ 3. คำเตือน — เพื่อลดความเสี่ยงจากอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ ใชแบตเตอรี่รุน LP-E6 ของแคน นอนเทานั้น หากใชแบตเตอรี่รุนอื่น อาจไหม ทำใหเกิดการบาดเจ็บและความเสียหายอื่นๆ 4. อยาวางเครื่องประจุไฟตากฝนหรือหิมะ 5. การใชอปุ กรณอนื่ ทีน่ ำมาตอพวงซึง่ แคนนอนไมไดขายและแนะนำใหใช อาจทำใหเกิดประกายไฟ ไฟชอต หรือเกิดการบาดเจ็บ 6. เพื่ อ ลดความเสี่ ย งต อ ความเสี ย หายของปลั๊ ก และสายไฟ จั บ หั ว ปลั๊ ก เมื่ อ ต อ งการถอดเครื่ อ งประจุ ไฟออก 7. ตรวจสอบใหดีวาสายไฟจะไมขวางทางเดิน หรือถูกเหยียบ หรือทำใหขาดเสียหาย หรือเกิดความ ตึงมากเกินไป 8. ไมควรใชเครื่องประจุไฟกับสายไฟหรือปลั๊กไฟที่ชำรุด ใหเปลี่ยนใหเรียบรอยเสียกอน 9. หามใชเครื่องประจุไฟหากพบการพองตัวของเครื่อง หลนกระแทกอยางแรง หรือมีความเสียหาย ที่พบเห็นดวยตาในทุกๆ กรณี ใหนำไปตรวจสอบโดยชางที่ศูนยบริการเสียกอน 10. หามแกะ ดัดแปลง หรือถอดแยกชิ้นสวนของเครื่องประจุไฟ ใชบริการจากชางที่ศูนยบริการเทา นั้น การถอดและประกอบเองอาจทำใหเกิดไฟชอตและประกายไฟ 11. เพือ่ ลดความเสีย่ งจากการเกิดประกายไฟ ควรถอดสายไฟของเครือ่ งชารจจากปลัก๊ กอนทำความ สะอาด

คำแนะนำในการดูแลรักษา

ผใู ชไมจำเปนตองทำการดูแลรักษาใดๆ เวนแตทไี่ ดแนะนำไวในคมู อื หากเกิดปญหา ใหตดิ ตอทีศ่ นู ย บริการเทานัน้

เฉพาะในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา: แบตเตอรี่ชนิด Lithium ion/polymer ที่ใหพลังงานกับอุปกรณชิ้นนี้ สามารถนำไปรีไซเคิลได โปรดแจงที่โทร. 1-800-8-BATTERY เพื่อ สอบถามวิธีนำแบตเตอรี่ไปรีเซเคิล สำหรับรัฐคาลิฟอรเนีย, สหรัฐอเมริกา: แบตเตอรี่ ลิ เ ธี ย มมี ส ารประกอบชนิ ด Perchlorate ซึ่ ง ต อ งการการทำลายที่ มี ประสิทธิภาพดูรายละเอียดที่ www.dtsc.ca.gov/hazardouswaste/perchlorate/ คำเตือน มี ค วามเสี่ ย งในการระเบิ ด หากนำแบตเตอรี่ ผิ ด ประเภทมาใช และการทิ้ ง แบตเตอรี่ ที่ ไม ใ ช แ ล ว ขึ้ น อยู กั บ กฏหมายของพื้ น ที่ นั้ น ๆ


บันทึก


บันทึก


บันทึก


บันทึก


¤Óá¹Ð¹Ó㹡ÒÃàÃÔÁ è 㪌«Í¿·áÇà áÅдѪ¹Õ¤Á ‹Ù Í × ¡ÒÃ㪌¡ÅŒÍ§ แผนซอฟทแวร EOS DIGITAL Solution ................................... 314 การติดตั้งซอฟทแวร ............................................................... 315 คูมือการใชซอฟทแวร .............................................................. 316 ดัชนี ..................................................................................... 317

(ซอฟทแวร)

คูมือการใช ซอฟทแวร


¤íาแนะนำในการเริม่ ตนใชซอฟทแวร EOS DIGITAL Solution Disk

แผนซีดีนี้ ประกอบดวยซอฟทแวรหลายแบบ สำหรับใชกับกลอง EOS DIGITAL

ซอฟทแวรนี้จะชวยในการตอเชื่อมกลองกับคอมพิวเตอร เพื่อถายโอนภาพ (ภาพนิ่ง/ภาพยนตร) ที่ถายไวในตัวกลองไปยังคอมพิวเตอร สามารถควบคุม กลอง ควบคุมการถายภาพสำหรับกลองที่ตอเชื่อมอยู จากการควบคุมผาน คอมพิวเตอร

ซอฟท แ วร ที่ แ นะนำเป น พิ เ ศษสำหรั บ ผู ใ ช ที่ มั ก จะถ า ยภาพในแบบ RAW ผูใชสามารถดูภาพ ปรับแตงภาพ และประมวลผลไฟลและพิมพภาพแบบ RAW ดวยความเร็วสูง พรอมทั้งสามารถปรับแตงไฟลแบบ JPEG ในขณะที่รักษาลักษณะของภาพตน ฉบั บ เดิ ม ไว ด ว ย เป น ซอฟท แ วร ที่ เ หมาะสำหรั บ ผู ที่ มั ก จะถ า ยภาพเป น ไฟล JPEG ซึ่ ง ผู ใ ช สามารถจะ ดู/ปรับแตง/จัดการ/คนหา/พิมพ ภาพที่เปนไฟล JPEG ไดโดยงาย นอกจากนี้ ยั ง ใช เ ล น และปรั บ แต ง ภาพยนตร รวมทั้ ง จั บ ภาพนิ่ ง จาก ภาพยนตรที่ถายดวย

ซอฟท แ วร นี้ อ อกแบบมาสำหรั บ ผู ใ ช ใ นระดั บ ก า วหน า ซึ่ ง มี ป ระสบการณ ใ น การตกแตงภาพมากอน ซอฟทแวรจะสามารถแกไข Picture Style ซึ่งผูใช สามารถจะสรางรวมทั้งบันทึก Picture Style ที่สรางขึ้นไดดวย


¤íาแนะนำในการเริม่ ตนใชซอฟทแวร

การติ ด ตั้ ง ซอฟท แ วร ไม ค วรเชื่ อ มต อ กล อ งกั บ คอมพิ ว เตอร ก อ นจะทำการติ ด ตั้ ง ซอฟท แ วร เพราะอาจ ทำให เ กิ ด ป ญ หาในการติ ด ตั้ ง ซอฟท แ วร ใ นภายหลั ง หากมี ซ อฟท แ วร รุ น ก อ นติ ด ตั้ ง อยู แ ล ว ในเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร ให ทำการติ ด ตั้ ง ซอฟท แ วร ใ หม โ ดยปฏิ บั ติ ต ามคำแนะนำด า นล า งนี้ (ซอฟท แ วร รุ น ใหม จ ะทั บ ซอฟท แ วร รุ น เก า โดยอั ต โนมั ติ )

ติดตั้งแผนซีดี EOS Solution disk

สำหรับเครื่องแมคอินทอช ใหดับเบิลคลิกที่ไอคอนของแผนซีดี-รอมซึ่งปรากฏ ที่ ห น า จอเพื่ อ เป ด แผ น ซี ดี - รอม จากนั้ น ดั บ เบิ ล คลิ ก ที่ [Canon EOS Digital Installer]

คลิก [Easy Installation] และทำตามคำแนะนำที่ปรากฏบนหนา จอเพื่ อ ทำการติ ด ตั้ ง สำหรับแมคอินทอช คลิก [Install]

คลิ ก [Restart] และนำแผ น ซี ดี อ อกจากเครื่ อ งหลั ง จากที่ เ ครื่ อ ง เป ด ใหม แ ล ว เมื่อคอมพิวเตอรถูกเปดใหมอีกครั้ง การติดตั้งจะเสร็จสมบูรณ


¤íาแนะนำในการเริม่ ตนใชซอฟทแวร

คู มื อ การใช ซ อฟท แ วร คู มื อ การใช ซ อฟท แ วร จะเป น ไฟล ที่ อ ยู ภ ายในแผ น ซี ดี - รอม แผ น นี้

การสำเนาและอ า นคู มื อ การใช ใ นแบบ PDF

ใส แ ผ น ซี ดี [Software INSTRUCTION MANUAL] เข า ใน คอมพิ ว เตอร ดั บ เบิ ล คลิ ก ที่ ไ อคอนของซี ดี - รอม สำหรับวินโดวส จะเปนไอคอนที่แสดงใน [My Computer] สำหรับแมคอินทอช จะแสดงไอคอนที่หนาจอ

COPY โฟลเดอร [English] เข า มาเก็ บ ในคอมพิ ว เตอร คู มื อ การใช ใ นแบบ PDF ที่ ถู ก copy ไป จะเป น ไฟล ที่ มี ชื่ อ เหล า นี้

ดั บ เบิ ล คลิ ก ไฟล PDF ที่ copy มา

ตองติดตั้งซอฟทแวร Adobe Reader (เวอรชั่น 6.0 ขึ้นไป) ในคอมพิวเตอร เพื่ อ อ า นไฟล สามารถดาวนโหลด Adobe Reader ไดจากอินเตอรเนต โดยไมเสียคาใชจาย


´Ñชนี


´Ñชนี


´Ñชนี


´Ñชนี


´Ñชนี


´Ñชนี




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.