Care issue July-September 2013

Page 1

จุลสารแคร์ | ฉบับ เดือน กรกฎาคม - กันยายน 2556

“เตรียมความพร้อม

ศูนย์โรคหัวใจ รพ. สุขุมวิท”


7,800 บาท

* โรงพยาบาลขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงโดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า


Contents care ฉบับ ก.ค. - ก.ย. 2556

บรรณาธิการขอคุย สวัสดีคะสมาชิก Care ทุกท่านที่ติดตามกันมาตลอด กลาง ปีช่วงฤดูฝนแบบนี้ ยังไงก็ดูแลรักษาสุขภาพกันด้วยนะคะ และอย่าลืม มาฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันไข้หวัดใหญ่ซึ่งจำ�เป็นต้องฉีดทุกปีคะ อีกเรื่องที่ สำ�คัญไม่แพ้กัน คือ เรื่องกรดไหลย้อน อาจจะฟังดูไม่อันตรายแต่ก็เป็น โรคที่เป็นกันบ่อย หากไม่รีบรักษาอาจจะลุกลามกลายเป็นมะเร็งได้คะ ใกล้เข้ามาทุกทีสำ�หรับอาคารหลังใหม่ที่กำ�ลังจะเปิดให้ บริการ พร้อมศูนย์โรคหัวใจที่มีเทคโนโลยีที่ทันสมัยและทีมแพทย์ผู้ เชี่ยวชาญเฉพาะทาง คนไข้ทุกคนสามารถมั​ั่นใจได้เลยว่า จะได้รับการ ดูแลรักษาที่มีประสิทธิภาพ จากโรงพยาบาลสุขุมวิทเราอย่างแน่นอน คะ

บรรณาธิการ

4

ศู น ย์ โ รคหั ว ใจ

รพ.สุ ข ุ ม วิ ท

10 กรด 12 ไข้ ห วั ด ใหญ่ ไหลย้ อ น

2013


4

SUKUMVIT HOSPITAL

“โรงพยาบาลสุขุมวิท

พร้อมสู่ความเป็นศูนย์แพทย์เฉพาะทาง”


SUKUMVIT HOSPITAL

ศูนย์โรคหัวใจ...โรงพยาบาลสุขุมวิท ขอเป็นส่วนหนึ่ง...ในใจคุณ

ศูนย์โรคหัวใจ รพ.สุขุมวิท ดูแลรักษาหัวใจคุณ ด้วยบริการที่ครบวงจรตลอด 24 ชั่วโมง และสามารถรับมือ กับเหตุการณ์ฉุกเฉิน เกี่ยวกับโรคหัวใจในทุกสถานการณ์ ด้วยขั้นตอนและวิธีการรักษาจากทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทาง ด้านโรคหัวใจ นอกจากนี้ รพ.สุขุมวิท ได้นำ�เทคโนโลยีที่ทันสมัยมา ช่วยเสริมประสิทธิภาพในการดูแลรักษาของแพทย์ ไม่ว่าจะ เป็น 128 - Slice CT Scan, การตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะ ออกกำ�ลังกาย (Exercise Strees Test), การตรวจหัวใจด้วย คลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Echocardiography) และห้อง ปฏิบตั กิ ารสวนหัวใจและขยายหลอดเลือด (Cath Lab) ซึง่ จะ ช่วยลดเวลาทัง้ ในการตรวจและการรักษาของผูป้ ว่ ยลง พร้อม ด้วยความมุ่งมั่นที่จะควบคุมคุณภาพการรักษาเชิงป้องกัน และการดูแลรักษาผู้ป่วยหลังจากได้รับการบำ�บัดรักษาแล้ว เพื่อให้ผู้ป่วยมีสุขภาพที่ดีอยู่นานเท่านาน

พร้อมเปิดบริการทันที ที่อาคารหลังใหม่เปิด

5


6

SUKUMVIT HOSPITAL

เพียบพร้อมด้วยอุปกรณ์แพทย์จากเยอรมนี รพ.สุขุมวิท เตรียมทดสอบศูนย์โรคหัวใจแล้ว ทยอยนำ�เข้ามาหลากหลายรายการคิดเป็นมูลค่ากว่า 100 ล้านบาท ภายใต้โครงการความร่วมมือด้านเทคโนโลยี ทางการแพทย์ระหว่าง 2 ฝ่าย เพื่อให้ศูนย์โรคหัวใจแห่งใหม่แห่งนี้เป็นที่พึ่งของผู้คนในละแวกใกล้เคียงและในวงกว้างอย่าง สมบูรณ์แบบ มีการจัดฉลองระหว่างผูบ้ ริหารสองฝ่ายเป็นทีเ่ รียบร้อย ในประเทศเยอรมนี โดยมีการนำ�ชมโรงงานผลิตอุปกรณ์การ แพทย์ที่ก้าวล้ำ�นำ�ยุคด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยหลายชนิด ที่ไม่ เพียงแต่จะอำ�นวยความสะดวกแก่แพทย์ในด้านความรวดเร็ว แม่นยำ�เท่านั้น ผู้ป่วยยังสามารถมั่นใจได้ว่าจะได้รับการรักษา ที่มีประสิทธิภาพอีกด้วย บริษัท ซีเมนส์ ได้พาคณะทั้งหมดเข้าเยี่ยมชม ความก้าวหน้าของอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ใช้เทคโนโลยีที่ ทันสมัยในยุคดิจิตัล อาทิ เครื่องเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ หรือ 128-Slice CT Scan ที่สามารถสร้างภาพออกมาปรากฏให้ แพทย์นำ�ไปตรวจวินิจฉัยได้ 128 ภาพ ขณะที่ปริมาณรังสี ที่ฉายไปยังตำ�แหน่งที่ได้รับการตรวจจะลดลงจากเครื่องรุ่น ก่อนร้อยละ 30 - 50 โดยใช้เวลาฉายประมาณ 4 วินาที/ครั้ง พร้อมกับนำ�ชมเครื่องเอกซเรย์ด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแบบ ใหม่ ที่นอกจากจะสร้างความคมชัดให้แก่ภาพที่ปรากฏออก มาแล้ว ยังมีระบบความจำ�เพิ่มมาอีกอย่าง เพื่อให้แพทย์ย้อน กลับไปพิจารณาภาพที่ถ่ายไว้ก่อนหน้านั้นได้อย่างรวดเร็วและ แม่นยำ�เมื่อนำ�มาเปรียบเทียบกัน ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ในเวลาที่แพทย์ผ่าตัดผู้ป่วย อุปกรณ์สำ�คัญอีกอย่างหนึ่งที่อยู่ในรายการนำ�เข้า ด้วย คือ เครื่องฉายเอกซเรย์ระนาบเดี่ยวสำ�หรับติดตั้งใช้ ประโยชน์ในห้องปฏิบัติการสวนหลอดเลือดหัวใจและหลอด เลือดอื่นๆในร่างกาย ทั้งนี้ ยังมีอุปกรณ์เพิ่มเติมอื่นอีกที่ช่วย ให้ประโยชน์ในการตรวจมะเร็งเต้านมพ่วงมาด้วย คือ เครือ่ ง ดิจติ ลั แมมโมแกรมรุ่นใหม่ ที่สามารถลดความยุ่งยากให้แก่ ผู้รับการตรวจ ช่วยลดปริมาณรังสีทุกครั้งโดยอัตโนมัติ พร้อม กับภาพที่คมชัดเพื่อการวินิจฉัยได้อย่างละเอียดกว่าเดิม ซึ่ง อุปกรณ์เหล่านี้สามารถสร้างความมั่นใจในด้านการรักษา พยาบาลแก่ผู้ป่วยในประเทศได้อย่างมากเลยทีเดียว

นพ. ภมรศักดิ์ เธียรประสิทธิ์ กรรมการบริหาร รพ.สุขุมวิท


SUKUMVIT HOSPITAL

“ประสานความร่วมมือ...

นำ�เข้าอุปกรณ์แพทย์ไฮ - เทคยุคดิจิตัล” ภายหลังจากที่ได้รับเชิญไปเยี่ยมชมกิจการและโรงงานผลิตอุปกรณ์การ แพทย์ระดับแนวหน้าของโลกที่บริษัท ซีเมนส์ ในเมืองแอร์ลังเก้น ประเทศเยอรมนี แล้ว นพ. ภมรศักดิ์ เธียรประสิทธิ์ กรรมการบริหาร รพ.สุขุมวิท ได้เปิดเผยถึง บรรยากาศที่คณะผู้บริหารของบริษัทซีเมนส์ได้ให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น โดยได้นำ� ชมอุปกรณ์การแพทย์นานาประเภท ซึ่งล้วนได้รับการคัดสรรและเห็นชอบให้นำ�เข้า มาเป็นอุปกรณ์การแพทย์ประจำ�ศูนย์โรคหัวใจ รพ.สุขุมวิท นพ. ภมรศักดิ์ เธียรประสิทธิ์ ยังได้กล่าวเพิ่มเติมถึงความรู้สึกทึ่งในความ เพียรพยายามของการคิดค้นทดสอบอย่างเอาจริงเอาจัง จนกระทั่งทำ�ให้วงการแพทย์ ทัง้ โลกได้มสี ดุ ยอดแห่งประดิษฐกรรมทางการแพทย์ส�ำ หรับนำ�ไปตรวจค้นเสาะหารอยโรค สำ�หรับความคืบหน้า ของศูนย์หัวใจ รพ. สุขุมวิท นั้น นพ. ภมรศักดิ์ เธียรประสิทธิ์ กล่าวว่า “การติดตั้งอุปกรณ์การ แพทย์ที่นำ�เข้ามาจากประเทศ เยอรมนีทุกเครื่องทุกรายการ จะแล้วเสร็จเร็วๆ นี้ จากนั้น จะทำ�การทดสอบการทำ�งานทัง้ ระบบโดยรวมถึงการเตรียมพร้อม ของคณะบุคคลากรทางการ แพทย์เฉพาะทางด้วยครับ”

7


8

SUKUMVIT HOSPITAL

บริการด้วยใจ...

พร้อมเทคโนโลยีที่ทันสมัยแบบครบวงจรตลอด ห้องปฏิบัติการสวนหัวใจและขยายหลอดเลือด

(Cath-Lab) เป็นอีกหนึ่งเทคโนโลยีใหม่ ที่โรงพยาบาลสุขุมวิท

นำ�มาติดตัง้ (Diagnostic and Interventional Angiography System) เป็นเครื่องเอกซเรย์ที่มีระบบป้องกันและลดปริมาณ รังสีให้มีปริมาณต่ำ�ที่สุด ที่ผู้ป่วยและทีมแพทย์ผู้ตรวจจะได้ รับ และเครื่องดังกล่าวนี้ยังสามารถนำ�มาใช้ได้ทั้ง ระบบ หลอดเลือดสมอง,หลอดเลือดหัวใจ,หลอดเลือดของอวัยวะ ภายในช่องท้องและหลอดเลือดของแขนขาอีกด้วย

เทคโนโลยี 128-Slice CT Scan

(CT: Computer Tomography) สามารถตรวจระบบ ต่างๆของร่างกายได้เกือบทุกระบบ ได้อย่างแม่นยำ� แสดง ภาพขาว-ดำ�และภาพสี ทั้ง 2 มิติและ 3 มิติได้ถึง 128 ภาพ ในการสแกนผู้ป่วยเพียงรอบเดียวในเวลาอันสั้น ซึ่งเป็นอีก หนึ่งนวัตกรรมที่ถูกพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง 128-Slice CT Scan พร้อมเทคโนโลยีใหม่ขั้นสูงทีเ่ พิม่ มา ช่วยในการลดปริมาณรังสีเอ็กซ์ทผี่ ปู้ ว่ ยจำ�เป็นจะต้องได้รบั ได้แก่ เทคโนโลยีของตัวรับรังสี, การลดปริมาณรังสีตามขนาดของผู้ ป่วยในระหว่างการตรวจ, เทคโนโลยีการสร้างภาพอวัยวะ ดังนัน้ จึงสามารถมั่นใจได้ว่า เครื่อง CT ที่โรงพยาบาลสุขุมวิทนำ�มา ให้บริการนี้มีความปลอดภัยและแม่นยำ�อย่างสูงสุด

128-Slice CT Scan ช่วยในการตรวจวินิจฉัยโรคทาง หัวใจ ซึ่งเป็นวิธีที่ได้รับการยอมรับอย่างสูงทั่วโลก เนื่องจาก มีความปลอดภัยสูง,ใช้ระยะเวลาในการตรวจสั้นมาก มีผล แทรกซ้อนต่ำ� อีกทั้งยังสามารถใช้เพื่อติดตามผลการรักษาโรค ของหัวใจได้ สามารถใช้ตรวจหาแคลเซียมที่เกาะที่ผนังหลอด เลือดหัวใจได้ ซึง่ เป็นหนึง่ ในสาเหตุของหลอดเลือดหัวใจอุดตัน และยังสามารถวิเคราะห์หาตำ�แหน่งและระดับความรุนแรง ของโรคได้ นอกจากนี้ยังสามารถใช้ตรวจหาพยาธิสภาพของ เส้นเลือดได้ทั่วร่างกาย โดยเพียงฉีดสารทึบรังสีเข้าทางหลอด เลือดดำ�แล้วตรวจด้วยเครื่อง CT ก็จะเห็นภาพของเส้นเลือด ในระบบที่ต้องการตรวจได้ เช่น สมอง, หัวใจ, ปอด, ตับ, ไต, แขน และขา สามารถแสดงตำ�แหน่งของเลือดออกฉับพลันในเนือ้ สมอง หรือบริเวณทีเ่ ส้นเลือดโป่งพองได้อย่างชัดเจน เพือ่ วางแผนการ รักษาได้อย่างทันท่วงที

“เพียบพร้อมด้วยเทคโนโลยีทางการแพทย์ จากเยอรมนี”


SUKUMVIT HOSPITAL

การตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยการออกกำ�ลังกาย การตรวจหัวใจด้วยคลื่นความถี่สูง (Echocardiography) (Exercise Stress Test) การตรวจหัวใจด้วยคลื่นความถี่สูง ใช้หลักการการ เป็นการตรวจหาภาวะหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ สะท้อนกลับของคลื่นเสียงความถี่สูง ซึ่งจะถูกส่งผ่านผนัง ทรวงอกไปถึงหัวใจ เมื่อคลื่นเสียงความถี่สูงผ่านอวัยวะต่างๆ จะเกิดสัญญาณสะท้อนกลับ ซึ่งแตกต่างกันระหว่างน้ำ�และ เนื้อเยื่อ คอมพิวเตอร์จะนำ�เอาสัญญาณเหล่านี้มาสร้างภาพ ทำ�ให้เห็นหัวใจ, ลิ้นหัวใจ, ผนังกั้นห้องหัวใจและกล้ามเนื้อ หัวใจ นอกจากนี้ยังสามารถให้สีเพื่อดูทิศทางการไหลเวียน ของเลือดและวัดความเร็วของการไหลเวียนของเลือดใน ตำ�แหน่งต่างๆได้ Echocardiography ช่วยให้ทราบขนาดหัวใจห้อง ต่างๆ การทำ�งานของลิน้ หัวใจว่ามีการตีบหรือรัว่ หรือไม่ ดูความ หนาและความสามารถในการบีบตัวว่ามีสว่ นใดผิดปกติหรือไม่ ภาวะหัวใจพิการแต่ก�ำ เนิด ภาวะน้�ำ ในช่องเยือ่ บุหวั ใจ ภาวะ ติดเชื้อของลิ้นหัวใจและก้อนเลือดหรือก้อนเนื้องอกในหัวใจ

ว่าตีบหรือตัน ดูความแข็งแรงความฟิตของผู้ถูกทดสอบและ ใช้ตรวจหาการเต้นผิดจังหวะของหวใจที่อาจเกิดขึ้น ขณะที่มี การออกกำ�ลังกายว่าเป็นชนิดธรรมดาหรือชนิดร้ายแรง การ ทดสอบชนิดนี้ใช้ในการวินิจฉัยแยกโรคในผู้ป่วยที่มีอาการ เจ็บแน่นหน้าอกได้เป็นอย่างดีว่าเป็นจากโรคหัวใจหรือไม่ โดยการให้ผู้ทดสอบออกกำ�ลังกายด้วยการเดินบนสายพานที่ เคลื่อนที่ไปเรื่อยๆ โดยสายพานจะค่อยๆ เร็วขึ้นและชันขึ้นที ละน้อย

Mobile CCU (Heart Ambulance) คือ รถพยาบาลสำ�หรับรับส่งผู้ป่วยโรคหัวใจและผู้

ป่วยโรคอื่นๆ ที่มีภาวะวิกฤตได้ด้วย เนื่องจากมีอุปกรณ์ต่างๆ ในการดูแลและรักษาผู้ป่วยเปรียบเสมือนหอผู้ป่วยวิกฤตโรค หัวใจเคลื่อนที่ ผู้ป่วยโรคหัวใจที่มีภาวะวิกฤต เช่น กล้ามเนื้อ หัวใจตายเฉียบพลัน, หัวใจวาย, หัวใจเต้นผิดจังหวะรุนแรง จนอาจจะทำ�ให้ผู้ป่วยแย่ลงหรือเสียชีวิตเฉียบพลันได้ ดังนั้น การรับส่งผู้ป่วยกลุ่มนี้จึงต้องมีบุคลากรผู้เชี่ยวชาญทางด้าน โรคหัวใจและมีเครื่องมือที่พร้อมจะให้การช่วยเหลือผู้ป่วยได้ ทันท่วงที “Heart Ambulance ผู้ป่วยจะได้รับการดูแลรักษา อย่างถูกต้องรวดเร็ว เสมือนกับการนำ� WARD CCU ไปรับ

ถึงบ้าน”

9


10

SUKUMVIT HOSPITAL

? ป อบไ

ต มา

ถาม

กรดไหลย้อน

กรดไหลย้อน

โรคฮิตที่พบมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งสอดคล้อง กับพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกสุขลักษณะและการใช้ชีวิตประจำ�วัน อันเร่งรีบของคนในปัจจุบัน เพื่อให้ได้รจู้ กั กรดไหลย้อนให้มากขึน้ เราได้ นำ�ปัญหาทีม่ กั ถามเข้ามาบ่อยมาไขข้อสงสัยดังนีค้ ะ

Q : กรดไหลย้อนคืออะไร ทำ�ไมจึงไหลย้อน A : กรดไหลย้อน คือโรคทีเ่ กิดจากการทีม่ สี ารคัดหลัง่

ด้วยอาการแสบร้อนลิ้นปี่ลามไปหน้าอก (heartburn) มี เรอเปรี้ยว หรือมีรสขมในคอ หรือขย้อนน้ำ�ย่อยปนกับเศษ อาหาร หากอาการรุนแรงและเรื้อรังเป็นเวลานาน จะ ทำ�ให้มีกลืนลำ�บากตามมาได้ อาการนอกหลอดอาหาร ได้แก่ อาการทางหู คอ จมูก เช่น จุกคอ มีน้ำ�ลายมาก มีกลิ่นปาก ฟันผุ เนื่องจาก กรดไปทำ�ลายเคลือบฟัน บางรายกรดไปมีผลกระทบต่อ กล่องเสียง ก็ทำ�ให้มีเสียงแหบเรื้อรังได้ด้วย ส่วนอาการ ทางระบบหายใจ ได้แก่ อาการหอบหืด ตื่นมาสำ�ลักกลาง ดึก รู้สึกเจ็บหรือแน่นหน้าอก หายใจไม่อิ่ม โดยมักจะ กำ�เริบเวลานอน ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่หูรูดหลอดอาหารมีการ คลายตัว

ซึ่งรวมถึงกรด ด่าง หรือแก๊ซ จากกระเพาะอาหาร หรือ ลำ�ไส้เล็กท้นผ่านหูรูดหลอดอาหารส่วนล่างขึ้นมา ทำ�ให้ เกิดการอักเสบระคายเคืองของเยื่อบุหลอดอาหาร ในคน ปรกติ อาจมีการท้นขึ้นมาได้บ้างเป็นครั้งคราว แต่ในผู้ ป่วยกรดไหลย้อนจะมีอาการบ่อยกว่า 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์ ติดต่อกัน กลไกที่ทำ�ให้เกิดการไหลย้อนของกรด เกิดจากการที่ หูรูดในส่วนที่กั้นระหว่างหลอดอาหารส่วนล่างกับกระเพาะ อาหาร มีการคลายตัวบ่อยกว่าปกติ หรือหูรูดอ่อนแอ มีไส้ เลื่อนกระบังลมทำ�ให้ปิดไม่สนิท กลไกอื่นที่ส่งเสริมให้หูรูด หลอดอาหารปิดไม่สนิท ยังได้แก่การมีแรงดันในช่องท้อง Q : แล้วจะทราบได้อย่างไรว่าเป็นกรดไหล มากๆ เช่น ในหญิงตั้งครรภ์ ในคนที่มีรูปร่างอ้วน การรับ ประทานอิ่มแน่นเกินไป มีอาหารค้างในกระเพาะมาก รวม ย้อนจริง A : วินิจฉัยจากอาการ คือ แพทย์อาศัยจาก ไปถึงอิริยาบทที่เพิ่มแรงดันในช่องท้อง เช่น การโน้มตัวไป ข้างหน้า(ขณะนั่งทำ�งาน หรือยกของหนัก) โดยเฉพาะหลัง ประวัติและการตรวจร่างกาย แล้วให้การรักษาด้วยยา ยับยั้งการสร้างกรดที่เรียกว่า Proton pump inhibitor รับประทานอาหารอิ่มใหม่ๆ หรือ PPI ซึ่งมักจะมีการตอบสนองที่ดีมาก ทำ�ให้กลุ่ม Q : กรดไหลย้อน จำ�เป็นต้องมีกรดออก อาหารแสบร้อนต่างๆ และการอักเสบของหลอดอาหารลด มาหรือเปล่า ผมไม่ได้เรอเปรี้ยว แต่มีอาการหายใจ ลงได้ โดยต้องรับประทานต่อเนื่องเป็นเวลาประมาณ 6-12 ไม่อิ่ม แน่นหน้าอก มักเป็นเวลานอน จะเกี่ยวกับ สัปดาห์ แต่หากรับประทานไป 4-8 สัปดาห์แล้วยังไม่ดีขึ้น แนะนำ�ให้รับการวินิจฉัยด้วยการส่องกล้องทางเดินอาหาร กรดไหลย้อนหรือไม่ครับ A : อาการของกรดไหลย้อน แบ่งเป็นสองกลุ่ม ส่วนบนเพื่อหาสาเหตุเพิ่มเติมต่อไป ใหญ่ ๆ คือ อาการทางหลอดอาหาร ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะมา


SUKUMVIT HOSPITAL

Q : ผมเป็นโปรแกรมเมอร์ นั่งทำ�งานหน้า Q : การส่องกล้องทางเดินอาหารส่วนบน คอมตลอด นอนดึก กินไม่เป็นเวลา ดื่มน้ำ�อัดลม ควรทำ�ไหม จะทำ�เมื่อใดดี ประจำ� น้ำ�หนักช่วงนี้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ รักษามาตั้ง A : ทำ�เมือ่ ได้รบั การรักษาแล้ว ภายใน 4-8 สัปดาห์ หลายที่แล้ว เป็นมาเกือบปี กินยาไม่หายขาด จะให้ทำ� ยังไม่ดีขึ้น โดยการส่องกล้องจะมีประโยชน์ในการประเมิน อย่างไรดี ความรุนแรงของภาวะกรดไหลย้อนประเมินอาการแทรกซ้อน A : ปัจจัยหลายๆ อย่างที่กล่าวมา ล้วนเป็นตัว จากกรดไหลย้อน เช่น เมื่อมีอาการกลืนติด กลืนลำ�บาก

ช่วยส่งเสริมให้เกิดกรดไหลย้อนกำ�เริบได้ทั้งสิ้น ไม่ว่าจะ อาเจียนบ่อย เพื่อค้นหาสาเหตุอื่นนอกเหนือจากกรดไหลย้อน เป็นการปล่อยให้น้ำ�หนักตัวเพิ่มขึ้น การใส่เสื้อผ้าที่รัดแน่น ทำ�เมือ่ มีอาการเตือนอื่นๆ ได้แก่ ภาวะโลหิตจาง ถ่ายดำ� น้ำ� การนั่งโน้มตัวไปข้างหน้า ทำ�ให้แรงดันในช่องท้องเพิ่มขึ้น หนักตัวลดลง - ความเครียด การนอนดึก บุหรี่ เครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล์ โซดา น้ำ�อัดลมประเภทโคล่า อาหารรสจัด หรือ ผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว ทำ�ให้กระเพาะเป็นกรดมากขึ้น - การรับประทานอาหารเร็วเกินไปหรืออิ่มมากเกิน ไป ทำ�ให้ย่อยไม่ทัน - การรับประทานอาหารทีม่ ไี ขมันสูง ช็อคโกแลตมิน้ ท์ ทำ�ให้กระเพาะและลำ�ไส้เคลื่อนไหวบีบไล่อาหารออกไปได้ช้า ลง ทำ�ให้อาหารเหลือค้างอยู่มาก - อาหารที่ย่อยยาก เช่น ถั่วต่างๆ ผลิตภัณฑ์ที่ทำ� จากนม ชา กาแฟ มะเขือเทศ ล้วนมีส่วนทำ�ให้กรดไหลย้อน แย่ลงได้ทั้งสิ้น ซึ่งอาหารแต่ละอย่างก็ส่งผลรุนแรงมากน้อย ต่างกันไปในแต่ละคน ผู้ป่วยแต่ละรายต้องสังเกตอาการเอา เองว่าอาหารใดเป็นตัวกระตุ้น และให้หลีกเลี่ยงเป็นชนิด ๆ ไป ที่สำ�คัญคือรับประทานอาหารให้ตรงเวลาและให้หลีก เลี่ยงการรับประทานอาหารก่อนเข้านอนเป็นเวลา 3 ชั่วโมง รูปภาพแสดงอาการกรดไหลย้อน อย่าลืมว่า การใช้ยา ช่วยได้เพียงประมาณ 30% เท่านั้น อีก 70% ที่เหลือมาจากการปรับพฤติกรรมร่วมด้วยจึงจะ หายขาด

โรงพยาบาลสุขุมวิท ให้บริการตรวจส่องกล้องระบบทางเดินอาหาร โดย อายุรแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ทางเดินอาหารและตับ

ส่องกล้องกระเพาะอาหาร (Gastroscopy) ราคา 9,500 บาท ส่องกล้องลำ�ไส้ใหญ่ (Colonoscopy) ราคา 15,000 บาท

สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์อายุรกรรม รพ.สุขุมวิท โทร 0-2391-0011

พ.ญ.วริศรา ตั้งประดับเกียรติ

อายุรแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ทางเดินอาหารและตับ

11


12

SUKUMVIT HOSPITAL


SUKUMVIT HOSPITAL

13

ไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลปกติ หรือที่เรียกว่า “ไข้หวัดใหญ่” เกิดจากเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่มีการติดเชื้อระบบทางเดิน หายใจ (เช่น จมูก คอ ปอด) ซึง่ แตกต่างจากการติดเชือ้ ระบบทางเดินหายใจอืน่ ๆ โรคไข้หวัดใหญ่สามารถทำ�ให้เกิดการเจ็บป่วย ที่รุนแรงและภาวะแทรกซ้อนในคนจำ�นวนมากโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง ในประเทศไทยโรคไข้หวัดใหญ่เกิดได้ประปรายตลอดทั้งปี อาจจะพบมากในฤดูฝนและฤดูหนาว สำ�หรับวิธีการป้องกันภาวะแทรกซ้อนร้ายแรงที่ดีที่สุด คือ การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล ได้แก่ การล้างมือบ่อยๆ ใส่หน้ากากอนามัยและการปิดปากปิดจมูก เมื่อไอ จาม และในกลุ่มเสี่ยงควรได้รับการฉีดวัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่ทุกปีโดยภูมิคุ้มกันในวัคซีนจะมีภูมิในการป้องกันโรคได้หลังจากการฉีดวัคซีนแล้ว 2 สัปดาห์ การแพร่กระจาย เชื้อไวรัสจะอยู่ในเสมหะ น้ำ�มูก น้ำ�ลาย ของผู้ป่วย ทางตรง : แพร่ติดต่อไปยังคนอื่นโดยการไอ จาม รดกันหรือหายใจเอาฝอยละอองเข้าไปถ้าอยู่ใกล้ผู้ป่วยใน ระยะ 1-2 เมตร ทางอ้อม : สัมผัสผ่านทางมือหรืออุปกรณ์เครื่องใช้ ทีม่ กี ารปนเปือ้ นเชือ้ ไวรัสนี้ เช่น ลูกบิดประตู โทรศัพท์ แก้วน้�ำ ผ้าเช็ดมือ เป็นต้น และเชื้อเข้าสู่ร่างกายทางเยื่อโพรงจมูก ตา ปาก ผู้ป่วยสามารถแพร่เชื้อได้ตั้งแต่ 1 วันก่อนป่วยจนถึง ในระยะเจ็บป่วย 7 วัน โดยจะมีโอกาสแพร่เชื้อได้มากสุดใน ช่วง 3 วันแรก อาการของโรค มีอาการ มีไข้ ไอมาก ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ อ่อนเพลีย เจ็บคอ น้ำ�มูกไหลคัดจมูก เบื่ออาหาร หรืออาจ มีคลื่นไส้ อาเจียน หรือท้องเสียร่วมด้วย หากไม่มีอาการ แทรกซ้อนจะดีขึ้นเอง ภายใน 5-7 วัน

รู้ทัน...ป้องกันได้ การรักษา 1. กลุม่ ทีม่ คี วามเสีย่ งสูง เช่น สตรีมคี รรภ์ ผูส้ งู อายุ ผูป้ ว่ ย เบาหวาน ผูท้ ม่ี ภี มู ติ า้ นทานต่�ำ ฯลฯ หากมีอาการควรได้รบั การ คัดกรองและตรวจเพิ่มเติมเพื่อยืนยัน H1N1 และพิจารณา รักษาในโรงพยาบาล 2. ผู้ป่วยทั่วไปที่มีไข้สูงติดต่อกัน 2-3 วัน หรือมีอาการ ไอ หอบเหนื่อย ควรพักรักษาตัวในโรงพยาบาลเพื่ออยู่ภายใต้ การดูแลรักษาจากแพทย์อย่างใกล้ชิด 3. การให้ยาต้านไวรัสชือ่ โอลเซลทามิเวียร์ (oseltamivir) หรือ ซานามิเวียร์ (Zanamivir) เพือ่ ให้ผลการรักษาดี ถูกต้อง และลดภาวะการดื้อยาไม่ควรซื้อยารับประทานเอง ควรให้ อยู่ในดุลยพินิจของแพทย์รักษาเท่านั้น



SUKUMVIT HOSPITAL

ออกหน่วยตรวจ สุขภาพน้องๆ ที่วิทยาลัยเทคโนโลยี ศรีวิกรม์บริหารธุรกิจ

CARE EVENT ตรวจคัดกรองหาเชื้อไวรัสตับอักเสบซี ให้กับ พนักงาน รพ.สุขุมวิท

ขนย้ายเครื่อง มื อ แพทย์ เ พื ่ อ เตรี ย ม ความพร้อมในการ เปิดศูนย์โรคหัวใจ รพ.สุขุมวิท

15


Vadhana


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.