Care issue March-May 2014

Page 1

CARE ห่วงใย ฉบับ : 1 มี.ค.-31 พ.ค. 2557

จุลสารแคร์โรงพยาบาลสุขุมวิท WWW.SUKUMVITHOSPITAL.COM

“อบอุ่น ประทับใจ

เหมือนเป็นครอบครัวเดียวกัน” บทสัมภาษณ์ คุณงามจิตร ชื่นเมือง

การท�ำบัลลูนหลอดเลือดหัวใจ

แพทย์หญิงธัญรัตน์ อร่ามเสรีวงศ์ อายุรแพทย์โรคหัวใจ

โรคมือ เท้า ปาก ภัยร้ายของเจ้าตัวเล็ก นายแพทย์พงษ์เทพ อังกุรานันท์ กุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ

Bone Mineral Density ตรวจวัดความหนาแน่นของกระดูก

รพ.สุขุมวิทเปิดบริการเต็มรูปแบบ พร้อมด้วยทีมแพทย์เฉพาะทางและเทคโนโลยีทางการแพทย์ขั้นสูง

0-2391-0011 www.sukumvithospital.com


ศูนย์เด็ก กุมารแพทย์

24

ชม. Pediatric Center

ศูนย์เด็ก ชั้น 2A เปิดบริการถึง 4 ทุ่มทุกวัน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์เด็ก โทร.

0-2391-0011


บรรณาธิการขอคุย สวัสดีคะ สมาชิกจุลสารแคร์ทุกท่าน ฉบับนี้เป็นฉบับพิเศษที่เรา คัดสรรเนื้อหาและข้อมูลที่มีคุณภาพส�ำหรับท่านผู้อ่านจริงๆ อีกทั้งยังมีการ ปรับรูปแบบของรูปเล่มจุลสารให้มีความสวยงามมากขึ้นเพื่อให้เข้ากับอาคาร หลังใหม่ที่เปิดใช้บริการอย่างเต็มรูปแบบของ รพ.สุขุมวิท เนือ้ หาภายในเล่มเริม่ ต้นด้วยสารจากผูบ้ ริหาร บทสัมภาษณ์ของผูท้ ใี่ ช้ บริการโรงพยาบาล โรคมือ เท้า ปาก ในเด็ก ที่กลับมาระบาดอีกครั้งในช่วงนี้ โรคกระดูกพรุน ซึ่ง รพ.สุขุมวิท ได้น�ำเทคโนโลยีที่ทันสมัย สามารถตรวจ หาความหนาแน่นของกระดูก เพื่อหลีกเลี่ยงและป้องกันความเสี่ยงการเกิด โรคกระดูกพรุน การท�ำบัลลูนหลอดเลือดหัวใจและเทคโนโลยีทางการรักษา ของศูนย์โรคหัวใจ ซึ่งต่อจากฉบับที่แล้ว ท่านสามารถมั่นใจได้ว่า รพ.สุขุมวิท มีความพร้อมทั้งเทคโนโลยี ทางการแพทย์ขั้นสูงและแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางอย่างครบครัน

บรรณาธิการ

Contents

care ฉบับ มี.ค. - พ.ค. 2557

10. ศูนย์เด็ก 4. สารจากผูบริหาร 6. การทำ�บัลลูนหลอดเลือดหัวใจ 11. โรคมือ เท้า ปาก 13. บทสัมภาษณ์ 8. โรคกระดูกพรุน Bone Mineral Density ตรวจวัดความหนาแน่น ของกระดูก

พร้อมกุมารแพทย์ 24 ชม.

นายแพทย์พงษ์เทพ อังกุรานันท์

คุณงามจิตร ชื่นเมือง


4

SUKUMVIT HOSPITAL

“นั บเป็ นก้ า วกระโดดครั้ ง ส� ำ คั ญ ส� ำ หรั บโรงพยาบาลสุ ขุ ม วิ ท ที่ เ ปิ ด ให้บริการผู้ป่วยที่อาคารใหม่ ตั้งแต่เดือนตุลาคมที่ผ่านมา เพราะนอกจากจะเป็น อาคารสูง15 ชั้นที่ถูกออกแบบมาเพือ่ รักษาสิง่ แวดล้อม เพิม่ พืน้ ทีใ่ ช้สอยภายในอาคาร กว่า 5 หมืน่ ตารางเมตร ห้องพักผู้ป่วยที่มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน เพื่อความ สะดวกสบายให้กับผู้ป่วยและญาติ ให้บริการดูแลรักษาทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ผู้ที่พักอาศัยในย่านสุขุมวิท ในกรุงเทพมหานคร และเขตปริมณฑล สามารถรองรับ ผู้ป่วยในได้ถึง 243 เตียง มีศูนย์บริการทางการแพทย์เฉพาะทางที่เพิ่มขึ้นในการให้ บริการแก่ผู้ป่วยได้มากกว่า 2,000 รายต่อวัน” นพ.ดาวิน นารูลา ผอ.โรงพยาบาล กล่าวกับทีมงานจุลสาร Care นพ.ดาวิน นารูลา ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลสุขุมวิท


SUKUMVIT HOSPITAL

5

ห้องพักสะอาด สะดวกและทันสมัย บรรยากาศอบอุ่น บริการเป็นเยี่ยม ด้วยอุปกรณ์อ�ำนวยความสะดวก ให้คุณรู้สึกเหมือนอยู่ที่บ้าน

"เรามุง่ มัน่ ทีจ่ ะพัฒนาโรงพยาบาลให้เป็นทีร่ จู้ กั อยูใ่ นระดับแนวหน้า เพือ่ ดูแลด้านสุขภาพด้วยเครือ่ งมือทางการแพทย์ทที่ นั สมัยทีม่ เี ทคโนโลยีขนั้ สูง เหมาะสมและปลอดภัย ในการรักษามาให้บริการ ช่วยให้การวินจิ ฉัยโรค ท�ำได้ อย่างรวดเร็วและแม่นย�ำ ให้บริการทีด่ ที สี่ ดุ ตามมาตรฐานสากล ทีก่ ำ� ลังด�ำเนิน การเสนอเพือ่ รับรองมาตรฐาน โลก JCI ภายใน ปีนคี้ รับ" นพ.ภมรศักดิ์ เธียรประสิทธิ์ ผอ.ฝ่ายการเงินและพัฒนาองค์กร

นพ.ภมรศักดิ์ เธียรประสิทธิ์ ผอ.ฝ่ายการเงินและพัฒนาองค์กร

“โรงพยาบาลได้จดั เตรียมทีมแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญเฉพาะทางในแต่ละสาขามา ให้การดูแลรักษาผู้ป่วยในเชิงลึก มาประจ�ำในแต่ละศูนย์ครับ เช่นศูนย์โรคหัวใจ ที่ เรามุ่งมั่นที่จะพัฒนาสู่ความเป็นเลิศด้านการรักษา พรั่งพร้อมด้วยทีมบุคคลากรที่ มีประสบการณ์ให้การดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคหัวใจทุกอย่างครบวงจร ในทุก ขั้นตอน ภายใต้การดูแลของคณะทีมแพทย์ ซึ่งมี ศ.นพ.นิธิ มหานนท์ เป็นหัวหน้า ทีม เป็นทีมอายุรแพทย์โรคหัวใจที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักยอมรับมานานกว่าสิบปี ทั้ง ในแง่ผลงานและประสบการณ์การรักษาโรคหัวใจ ด้วยเทคโนโลยีทางการแพทย์ ที่เอื้อประโยชน์ให้แพทย์ตรวจวินิจฉัยโรคได้อย่างรวดเร็วสามารถตรวจผู้ป่วยได้ ทันท่วงที และส�ำหรับผู้ป่วยด้วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน สามารถให้การ รักษาพยาบาล โดยการขยายหลอดเลือดแบบฉุกเฉินได้ตลอด 24 ชั่วโมง ครับ” นพ.ชัยรัตน์ ปิยชาติ รองผู้อ�ำนวยการฝ่ายการแพทย์ นพ.ชัยรัตน์ ปิยชาติ รองผู้อ�ำนวยการฝ่ายการแพทย์


6

SUKUMVIT HOSPITAL

ศูนย์โรคหัวใจ รพ.สุขุมวิท การท�ำบัลลูนหลอดเลือดหัวใจ

การท�ำบัลลูนหลอดเลือดหัวใจเป็นการรักษา การตีบตันของหลอดเลือดหัวใจโดยใส่บัลลูนถ่างขยาย ผ่านทางสายสวน ก่อนจะท�ำบัลลูนหลอดเลือดหัวใจต้อง ท�ำการฉีดสีสวนหัวใจก่อน เมื่อพบว่ามีจุดตีบ ที่เหมาะสมส�ำหรับการถ่างขยายด้วย บัลลูน แพทย์จะตัดสินใจท�ำไปพร้อมกันโดยส่วนใหญ่ หลังจาการถ่างขยายด้วยบัลลูนขนาดต่าง ๆ แล้ว จะมีการใส่ขดลวด เพื่อค�้ำยันหลอดเลือดไว้ ปัจจุบันนี้นอกจากขดลวดค�้ำยันหลอดเลือดแล้ว ยังมีโครงร่างที่ผลิตจากสารที่ย่อยสลายได้ ใส่ไปใน หลอดเลือดเพื่อค�้ำยันผนังหลอดเลือด

กรณีไหนบ้างที่ต้องท�ำบัลลูนหลอดเลือดหัวใจ ? 1. ผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บแน่นหน้าอกฉับพลัน ผลการ ตรวจคลื่นหัวใจ ร่วมกับการตรวจเลือดผิดปกติ เมื่อแพทย์ ให้การวินจิ ฉัยว่าเป็นหลอดเลือดหัวใจตีบฉับพลัน มีความจ�ำเป็น ต้องท�ำบัลลูนหลอดเลือดหัวใจให้ทนั เวลา เพือ่ รักษากล้ามเนือ้ หัวใจไม่ให้ขาดเลือดนานเกินไป สัญญาณเตือนของภาวะนี้ คือ การเจ็บแน่นหน้าอก เหนื่อย หรือเป็นลมหมดสติขึ้นมา ทันทีทันใด มีความจ�ำเป็นต้องมาพบอายุรแพทย์หัวใจ เพื่อ ตรวจคลืน่ หัวใจทันที เมือ่ พบว่ามีความผิดปกติแพทย์จะแนะน�ำ ให้สวนหัวใจทันที

2. ผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บแน่นหน้าอก เหนื่อยมากขึ้น เวลาออกก�ำลัง นั่งพักแล้วดีขึ้น ผู้ป่วยกลุ่มนี้ อาจเป็นภาวะ หลอดเลือดตีบเรื้อรัง มีความจ�ำเป็นต้องตรวจหัวใจโดยแพทย์ หัวใจก่อน เช่น การตรวจคลื่นหัวใจ การตรวจสมรรถภาพ หัวใจโดยการเดินสายพานก่อนเบือ้ งต้น ก่อนจะตัดสินใจส่ง ผู้ป่วยมาท�ำการสวนหัวใจและท�ำบัลลูนหลอดเลือดหัวใจ สัญญาณเตือนของภาวะนี้ คือ ผู้ป่วยที่มีปัจจัยเสี่ยงสูง เช่น ผู้ป่วย เบาหวาน ความดัน ไขมันในเลือดสูง และ ผู้ป่วยที่มี ประวัติครอบครัวเป็นโรคหัวใจ ในผูป้ ว่ ยกลุม่ นีแ้ ม้ไม่มอี าการก็ ควรจะตรวจคลืน่ หัวใจเพือ่ ค้นหาโรคหลอดเลือดหัวใจ


SUKUMVIT HOSPITAL

"ความไม่เป็นโรคเป็นลาภอันประเสริฐ เมื่อเป็นโรคแล้วก็ต้องรักษา และป้องกันไม่ให้กลับมาเป็นซ�้ำอีก สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดคือการป้องกันปัจจัยเสี่ยง รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และออกก�ำลังกายเป็นประจ�ำ"

แพทย์หญิง ธัญรัตน์ อร่ามเสรีวงศ์ อายุรแพทย์โรคหัวใจ

การท�ำบัลลูนหลอดเลือดหัวใจมีอันตรายไหม ? การท�ำบัลลูนหลอดเลือดหัวใจนัน้ เป็นหัตถการทีม่ คี วามเสีย่ ง น้อย คือ 1% นั่นหมายถึงผู้ป่วย 100 รายจะพบภาวะแทรกซ้อนเพียง 1 คนเท่านั้น ฟังดูเหมือนไม่มากแต่ถ้าเกิดก็ถือว่ามีความเสี่ยง เพราะ ฉะนั้นการท�ำบัลลูนจึงจ�ำเป็นต้องเลือก ผู้ป่วยเป็นอย่างดี ถ้าไม่จ�ำเป็น แพทย์จะไม่แนะน�ำให้ทำ� ส่วนใหญ่หลังท�ำบัลลูน ผูป้ ว่ ยจะนอนโรงพยาบาล เพียง 1-2 วันเท่านั้น ถ้าไม่มีภาวะแทรกซ้อนใด ๆ ก็กลับบ้านได้ โดยสรุปการฉีดสีสวนหัวใจและการท�ำบัลลูนหลอดเลือดหัวใจ เป็นการตรวจและการรักษาทีอ่ าจท�ำไปพร้อมกันในคราวเดียว มีความเสีย่ ง ถึงแม้จะน้อยก็ตาม ผู้ป่วยไม่มีแผล ไม่ต้องดมยาสลบ ไม่เจ็บ มีเพียง รอยเข็มเล็ก ๆ ที่บริเวณทางเข้าของสายสวนเท่านั้น การพิจารณา ตรวจหรือรักษาโดยการสวนหัวใจ และการท�ำบัลลูนขึ้นอยู่กับข้อบ่งชี้ และวิจารณญาณของแพทย์ผู้รักษา เท่านั้น เพราะต้องดูหลอดเลือด ประกอบ คนไข้ทุกคนมีภาวะและหลอดเลือดที่เหมาะสมต่างกัน หลัง จากการท�ำบัลลูนหลอดเลือดแล้วทีส่ ำ� คัญมาก ๆ คือผูป้ ว่ ยต้องรับประทาน ยาต้านเกล็ดเลือด อย่างน้อย 2 ชนิด นานติดต่อกันอย่างน้อย 1 ปี ถ้าเป็นขดลวดเคลือบยา ส่วนขดลวดไม่เคลือบยาอาจทานยาสองชนิด นานอย่างน้อย 1 เดือน ยารักษาโรคหัวใจและ ภาวะอืน่ ๆ เช่น เบาหวาน ความดัน ไขมัน ก็ยังคงต้องรับประทานต่อไป "ความไม่เป็นโรคเป็นลาภอันประเสริฐ เมื่อเป็นโรคแล้วก็ต้อง รักษาและป้องกันไม่ให้กลับมาเป็นซ�ำ้ อีก สิง่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือการป้องกัน ปัจจัยเสีย่ ง รับประทานอาหารทีม่ ปี ระโยชน์และออกก�ำลังกายเป็นประจ�ำ"

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์หัวใจ โทร 0-2391-0011

7


8

SUKUMVIT HOSPITAL

ตรวจวัดความหนาแน่นของกระดูก... ก่อนเสี่ยงเป็นโรคกระดูกพรุน Normal bone matrix

โรคกระดูกพรุนคืออะไร ?

โรคกระดูกพรุน อันตรายอย่างไร ?

อาการของโรคกระดูกพรุน

คือ ภาวะที่ความหนาแน่นของกระดูกลดลง และ โครงสร้างของกระดูกเสื่อมลง จึงท�ำให้กระดูกเปราะบาง และมีโอกาสหักหรือยุบตัวได้ง่าย พบบ่อยในผู้สูงอายุหรือ หญิงวัยหมดประจ�ำเดือน

ภาวะแทรกซ้อนที่อันตรายที่สุดคือ กระดูกหัก บริเวณที่พบบ่อยได้แก่ กระดูกสันหลัง สะโพก และข้อ มือ กระดูกหักจะท�ำให้เกิดอาการปวดมากจนไม่สามารถ ใช้งานต่อได้ ต้องพักรักษาตัวเป็นเวลานานท�ำให้เกิดภาวะ แทรกซ้อนต่างๆ เช่น ติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ ปอด อักเสบ แผลกดทับ ภาวะโรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นเหตุ ให้สุขภาพแย่ลงอย่างรวดเร็ว อาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้

ระยะแรกมักไม่มีอาการ แต่เมื่อเป็นมากขึ้นอาจมี อาการปวดหลังเรื้อรัง หลังโก่งค่อม ความสูงลดลง กระดูก หักง่ายกว่าคนปกติแม้ไม่มีอุบัติเหตุที่รุนแรง

Osteoporosis

1. กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ อาหารที่มีแคลเซียม สูง ได้แก่ นมและผลิตภัณฑ์จากนม กุ้งแห้ง กะปิ ปลาเล็ก ที่กินได้ทั้งก้าง งาด�ำ ถั่วต่างๆ เต้าหู้ ผักใบเขียวเช่น ผักโขม คะน้า ใบชะพลู ใบยอ 2. ลดอาหารที่มีไขมันมาก เนื่องจากไขมันจะขัด ขวางการดูดซึมแคลเซียม 3. ออกก�ำลังกายอย่างถูกวิธี สม�่ำเสมอ เหมาะสม กับสภาพร่างกาย เพศและวัย เช่น เดิน วิ่งเหยาะๆ ร�ำมวย จีน เต้นร�ำ 4. ควรงดสูบบุหรี่ งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และ คาเฟอีน 5. ไม่ควรซื้อยากินเอง เพราะยาบางชนิดท�ำให้การ ดูดซึมแคลเซียมลดลง เช่น ยารักษาไทรอยด์ ยาสเตียรอยด์ ยาขับปัสสาวะ 6. ตรวจสุขภาพเป็นประจ�ำทุกปี

การวินิจฉัย

ผูท้ มี่ ปี จั จัยเสีย่ งและ สงสัยว่าเป็นโรคกระดูกพรุน ควรปรึกษาแพทย์ และตรวจ การป้องกันโรคกระดูกพรุน วัดความหนาแน่นของกระดูก ในคนปกติ หลังอายุ 40 ปี ความหนาแน่นของเนื้อ โดยใช้เครื่องวัดความหนา กระดูกจะลดลง ดังนัน้ จึงควรเสริมสร้างให้เนือ้ กระดูกแข็งแรง แน่นของกระดูกเพื่อการ โดยปฏิบัติดังนี้ วินิจฉัยที่ถูกต้อง


SUKUMVIT HOSPITAL

9

Bone Mineral Density ตรวจวัดความหนาแน่นของกระดูก เป็นการตรวจเพื่อหาค่าของความหนาแน่นของ กระดูกตามส่วนต่างๆ เช่น กระดูกสันหลัง กระดูกสะโพก ข้อมือ และกระดูกทั้งตัวว่ามีภาวะกระดูกพรุนมากน้อยเพียง ใดและเพื่อช่วยแพทย์ในการวินิจฉัยโรคเกี่ยวกับความหนา แน่นของกระดูก

การตรวจความหนาแน่นมวลกระดูกตรวจที่ กระดูกต�ำแหน่งใด ?

ผู้ที่ควรตรวจวัดความหนาแน่นของกระดูก • ผู้หญิงหลังหมดประจ�ำเดือน (โดยเฉพาะผู้ที่อายุ 50 ปี ขึ้นไป) หรือ ผู้ที่ได้รับการผ่าตัดรังไข่ออกทั้งสองข้าง • ผู้ที่มีกระดูกหักเกิดขึ้นทั้งที่เป็นอุบัติเหตุที่ไม่รุนแรง เช่น ข้อเท้าพลิก ยกของหนัก ลื่นล้ม หรือ ตกจากเก้าอี้ โดย เฉพาะกระดูกหักในบริเวณ ข้อมือ หัวไหล่ สันหลัง สะโพก และ ส้นเท้า • ผู้สูงอายุที่รู้สึกว่ากระดูกสันหลังผิดปกติ เช่น หลัง โก่ง หลังคด ความสูงลดลงมากกว่า 1.5 นิ้วเมื่อเทียบกับ ความสูงที่สุดช่วงอายุ 25-30 ปี ( ความสูงที่สุดสามารถวัด ได้เทียบเท่ากับ ความยาวจากปลายนิ้วทั้งสองข้าง ) • เป็นโรคบางอย่าง เช่น ไตวาย เบาหวาน รูมาตอยด์ ไทรอยด์ พิษสุราเรื้อรัง ธาลัสซีเมีย โรคมะเร็ง เป็นต้น • รับประทานยาบางชนิดเป็นเวลานาน เช่น ยา สเตียรอยด์ ยาลดกรดในกระเพาะ(ยาธาตุน�้ำขาว) ยาขับ ปัสสาวะ • ผู้ที่ผอมมาก ๆ ผู้ที่ประวัติครอบครัวเป็นโรค กระดูกพรุน หรือ ผู้ที่ไม่ค่อยได้ออกก�ำลังกาย • สูบบุหรี่ ดื่มสุรา ดื่มกาแฟมากกว่า 4 แก้วต่อวัน ดื่มน�้ำอัดลมมากกว่า 1 ลิตรต่อวัน

ทั่วไป นิยมตรวจกระดูกที่มีโอกาสหักได้ง่ายจาก ภาวะโรคกระดูกพรุน 3 ต�ำแหน่ง ได้ แก่ กระดูกสันหลังส่วน เอว (Lumbar spine) กระดูกข้อสะโพก (Hip) และกระดูก ปลายแขน (Forearm) ค่าความหนาแน่นมวลกระดูกแต่ละ ต�ำแหน่ง แม้ว่าจะมีแนวโน้มไปในทิศทางเดียวกัน แต่ไม่ สามารถน�ำมาใช้แทนกันได้ และในหลายกรณีที่ค่าเหล่านี้มี ความแตกต่างกันมาก ดังนั้นในการวินิจฉัยให้ได้ผลที่แน่นอน จึงจ�ำเป็นต้องตรวจอย่างน้อยในกระดูกทั้ง 3 ต�ำแหน่งดัง กล่าว ข้อบ่งชี้ในการตรวจหาความหนาแน่นของกระดูก 1.เพือ่ เป็นข้อมูลพืน้ ฐาน ในการเปรียบเทียบครัง้ ต่อไป 2.ผู้ที่มีปัจจัยความเสี่ยงในการเกิดโรคกระดูกพรุนสูง 3.เพื่อประเมินความรุนแรงของโรคหรือประเมินการ สูญเสียเนื้อกระดูก ว่าอยู่ในกลุ่มที่มีการสูญเสียกระดูกอย่าง รวดเร็วหรือไม่ เพื่อที่จะได้หาวิธีป้องกันและให้การรักษา การเตรียมตัว ตั้งแต่แรก ๆ การตรวจประเภทนี้ ไม่ต้องมีการเตรียมตัวใดๆ เป็น 4. ใช้ในการติดตามผลการรักษา ซึง่ อาจตรวจซ�ำ้ ทุก พิเศษ สามารถเข้ารับการตรวจได้ทันที แต่อาจต้องมีการ 1 - 2 ปี เปลี่ยนชุด จึงขอแนะน�ำให้ท่านใส่ชุดที่สบาย ถอดเปลี่ยนได้ ง่าย และไม่ใส่เครื่องประดับ

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์ศัลยกรรมกระดูกและข้อ โทร. 0-2391-0011


10

ศูนย์เด็ก

SUKUMVIT HOSPITAL

กุมารแพทย์ ศูนย์เด็ก

24

ชม.

โรงพยาบาลสุขุมวิท ให้บริการดูแลสุขภาพเด็กอย่างครบวงจร โดยทีมกุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะทาง 24 ชั่วโมง โดยมีการแยกบริเวณส�ำหรับเด็กที่มารับวัคซีนออกจากเด็กป่วยที่มาพบแพทย์อย่างชัดเจน ทั้งในด้าน การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรคและรักษาพยาบาล ตลอดจนการให้ค�ำปรึกษาสุขภาพด้านต่างๆ นอกจากนี้ยังมีศูนย์กระตุ้นพัฒนาการของเด็กพิเศษ ที่จะช่วยดูแลพัฒนาการและการเรียนรู้ เพื่อให้ลูกของคุณเติบโตอย่างแข็ง แรง ฉลาด สดใส และมีพัฒนาการที่สมวัย ศูนย์เด็ก โรงพยาบาลสุขมุ วิทให้บริการตรวจรักษาเฉพาะทางส�ำหรับเด็ก โดยกุมารแพทย์เฉพาะทางหลากหลายสาขา ให้การตรวจรักษา อาทิ กุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน กุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคติดเชื้อ กุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคระบบต่อมไร้ท่อ กุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคไต กุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหัวใจเด็ก

การศึกษาพิเศษและกิจกรรมบ�ำบัด

ให้บริการเสริมสร้างศักยภาพและการเรียนรู้ของ เด็กพิเศษ เด็กออทิสติก เด็กที่มีพัฒนาการช้า เด็กสมาธิสั้น ด้วยการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมกับความสามารถของเด็ก แต่ละคน โดยผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาการและพฤติกรรม และนักกิจกรรมบ�ำบัด เพื่อให้เด็กได้รับการกระตุ้นพัฒนา การอย่างเหมาะสม " ศูนย์เด็ก โรงพยาบาลสุขุมวิท

หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้รับความไว้วางใจ เป็นผู้ดูแลสุขภาพลูกของท่าน และจะขยายการบริการให้ครอบคลุมทุกสาขา เพื่อการบริการที่มากขึ้นในอนาคต"

ศูนย์เด็ก ชั้น 2A เปิดบริการถึง 4 ทุ่มทุกวัน สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ศูนย์เด็ก

02-391-0011


SUKUMVIT HOSPITAL

11

โรคมือ เท้า ปาก โรค มือ-เท้า-ปาก และโรคจากเชื้อเอนเตอโรไวรัส 71 นับเป็นโรคที่ระบาดในเด็กโรคหนึ่ง ที่พบทุกปี โดยเฉพาะ ในช่วงที่เริ่มเข้าหน้าฝนเป็นช่วงที่มีอัตราการระบาดของโรคนี้ สูง เพราะฉะนั้น เรามาท�ำความรู้จักโรคนี้ให้มากขึ้นกันดีกว่า โรคนี้เกิดจากเชื้อโรคไวรัส เป็นโรคที่พบบ่อยในเด็ก ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี มักมีการระบาดใน หน้าฝน การติดต่อส่วนใหญ่เกิดจากการได้รับเชื้อไวรัสเข้าสู่ ปากโดยตรง โดยเชื้อไวรัสจะติดมากับมือหรือของเล่นที่เปื้อน น�้ำลาย น�้ำมูก น�้ำจากแผลตุ่มพอง หรือ อุจจาระของผู้ป่วย โดยมีอาการเริ่มด้วยมีไข้ต�่ำๆ อ่อนเพลียต่อมาอีก 1-2 วัน จะ มีอาการเจ็บปากและไม่ยอมทานอาหาร เนื่องจากมีตุ่มแดง ที่ลิ้นและในช่องปาก ตุ่มนี้จะกลายเป็นตุ่มพองใส ซึ่งบริเวณ รอบๆ จะอักเสบและแดงต่อมาตุ่มจะแตกออกเป็นแผลหลุม ตื้นๆ และมักพบตุม่ หรือผืน่ ทีฝ่ า่ มือ ฝ่าเท้า และอาจพบทีก่ น้ ด้วย อาการจะทุเลาและหายเป็นปกติภายใน 7-10 วัน โรคนี้ ไม่มียารักษาโดยเฉพาะ แพทย์จะให้ยารักษาตามอาการ เช่น ยาลดไข้ ยาทาแก้เจ็บแผลในปาก สามารถดื่มน�้ำ นม และน�้ำ ผลไม้แช่เย็น รวมถึงไอศครีม น�้ำแข็งและเยลลี่ เพื่อช่วยลด อาการเจ็บแผลในปากและรับประทานอาหารได้มากขึ้น ทัว่ ไปโรคมักไม่รนุ แรงและไม่มอี าการแทรกซ้อน แต่ เชือ้ ไวรัสบางชนิด เช่น เอนเทอโรไวรัส71 อาจท�ำให้มีอาการ รุนแรงได้ หากพบมีไข้สูง ซึม ไม่ยอมดื่มนมหรือทานอาหาร อาเจียนบ่อย หอบ แขนขาอ่อนแรง ชัก เป็นสัญญาณอันตราย

แม้จะมีโอกาสเกิดน้อยก็ตาม ให้รีบไปพบแพทย์ทันที โรคนี้ยังไม่มีวัคซีนป้องกัน แต่ป้องกันได้โดยรักษา สุขอนามัย หมั่นล้างมือบ่อยๆ โดยเฉพาะหลังการขับถ่าย เปลี่ยนผ้าอ้อม หรือดูแลเด็กป่วยและก่อนรับประทานอาหาร หลีกเลีย่ งการใช้สงิ่ ของร่วมกัน เช่น แก้วน�้ำ หลอด ผ้าเช็ดหน้า เป็นต้น “ปัจจุบันโรงพยาบาลสุขุมวิทมีเทคโนโลยีใหม่ ที่ช่วย ให้เราสามารถตรวจคัดกรองเบื้องต้นได้แล้ว โดยการตรวจ จากเลือด เพื่อค้นหาเชื้อไวรัสสายพันธ์ุเอนเทอโรไวรัส 71 ใช้เวลาเพียงครึ่งชั่วโมงเท่านั้น ซึ่งผลของการตรวจถ้าพบว่า พบเชื้อไวรัสชนิดนี้ในร่างกาย จะช่วยให้แพทย์สามารถดูแล รักษาผู้ป่วยได้ทันท่วงที ซึ่งเป็นประโยชน์กับผู้ป่วยมาก โดย ไม่ต้องรอให้เกิดอาการดังกล่าวข้างต้นก่อนจึงจะมาพบแพทย์ ซึ่งก็อาจจะเกิดอันตรายกับผู้ป่วยได้ โรงพยาบาลสุขุมวิท มีกุมารแพทย์เพื่อที่จะดูแลบุตรหลานตลอด24ชั่วโมง” นายแพทย์พงษ์เทพ อังกุรานันท์ กุมารแพทย์ผู้ เชี่ยวชาญ โรงพยาบาลสุขุมวิท กล่าวในตอนท้าย

นายแพทย์พงษ์เทพ อังกุรานันท์ กุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ โรงพยาบาลสุขุมวิท


12

SUKUMVIT HOSPITAL

"ดิฉันเคยบอกกับคุณหมอดาวินที่ดูแลดิฉันอยู่ว่า.....

.....ดิฉันและครอบครัวขอฝากชีวิตไว้ที่โรงพยาบาลสุขุมวิทคะ"


SUKUMVIT HOSPITAL

13

การดูแลที่อบอุ่น และประทับใจ เหมือนเป็นครอบครัวเดียวกัน Q : ใช้บริการมานานเท่าไร? A : "ดิฉันมารักษาที่โรงพยาบาลสุขุมวิทตั้งแต่ลูกสาวอายุ 3 ขวบมารักษากับ

คุณหมอจริยา เลขยานนท์ คะเดี่ยวนี้ลูกสาวอายุ 36 ปีแล้ว มาใช้บริการที่โรง พยาบาลสุขุมวิทกันทั้งครอบครัวคะ ทั้งคุณแม่ดิฉัน และสามีถ้าพูดไปก็เกือบ 33 ปีแล้ว ดิฉันและครอบครัว ไม่เคยไปรักษาที่ไหนเลย จนทุกวันนี้เวลาที่ ลูกหลานไม่สบาย หรือมีญาติพี่น้องที่มีปัญหาสุขภาพ เจ็บป่วยดิฉันก็แนะน�ำ และให้เขามารักษาที่นี่คะ เพราะมั่นใจและเชื่อใจคุณหมอคะ ตอนนี้ดิฉัน เป็นคนไข้ประจ�ำของคุณหมอดาวิน"

Q : ความประทับใจที่มีต่อโรงพยาบาลสุขุมวิท? A : "ถ้าถามว่าประทับใจอะไรที่โรงพยาบาลสุขุมวิท บอกได้ค�ำเดียวว่ารู้สึก

อบอุ่น ทุกครั้งที่มา เชื่อมั่นในการรักษาของคุณหมอและความเป็นกันเองของ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลที่รู้สึกได้คะท�ำให้ประทับใจ ทุกครั้งที่มาใช้บริการ เหมือนเป็นครอบครัวเดียวกัน โดยเฉพาะ คุณหมอจริยา เลขยานนท์ และคุณหมอดาวินที่ดูแลมาตลอด และทุกครั้งที่ต้องนอนรักษาตัวในโรงพยาบาลมานอนที่ ชั้น 3 อาคารเก่า พยาบาลและเจ้าหน้าที่ใส่ใจให้การดูแลเป็น อย่างดีทุกครั้ง อบอุ่นและเป็นกันเองมาก ทุกคนจ�ำป้า น้อยได้ ป้าน้อยก็ดีใจแล้วคะ"

Q : เปรียบเทียบการมาใช้บริการที่อาคารใหม่? A : "ดีกว่าเดิมมากคะ เพราะสถานที่ใน

อาคารใหม่ดูกว้างขึ้นมาก สะอาดสะอ้าน ดูโล่งตาไม่อึดอัด มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวก เพิ่มขึ้นมาก แต่ที่ยังชอบอยู่คือเดินทางมา โรงพยาบาลได้สะดวกมาก เพราะดิฉันสามารถมาได้ เอง บางครั้งลูกๆไม่มีเวลาพามาหาคุณหมอตามเวลา นัดได้ เขาต้องท�ำงาน เกรงใจเขาคะ" “ ดิฉันได้รับข่าวสารจากหนังสือของ โรงพยาบาลที่จัดส่งให้ทางไปรษณีย์เป็นประจ�ำ อยู่แล้ว ท�ำให้ทราบว่าโรงพยาบาลสุขุทวิท มี เครื่องมือใหม่ๆที่ช่วยรักษาคนไข้มากมาย ก็ ยิ่งมั่นใจคะ เคยบอกกับคุณหมอดาวินที่ดูแล ดิฉันอยู่ว่า ดิฉันและครอบครัวขอฝากชีวิต ไว้ทโี่ รงพยาบาลสุขมุ วิทคะ” คุณงามจิตร กล่าวในตอนท้าย


14

SUKUMVIT HOSPITAL

โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปี

โปรแกรมตรวจสุขภาพประจ�ำปี

Check-up Programs

โปรแกรม

รายการ

Silver

ตรวจร่างกาย 13 รายการ

Gold

ชาย : ตรวจร่างกาย 19 รายการ

Platinum Diamond

หญิง : ตรวจร่างกาย 19 รายการ ชาย : ตรวจร่างกาย 28 รายการ หญิง : ตรวจร่างกาย 32 รายการ ชาย : ตรวจร่างกาย 30 รายการ หญิง : ตรวจร่างกาย 34 รายการ

ราคา/บาท

3,250 7,490 8,490 14,990 19,990 34,990 39,990

* หมายเหตุ - ราคาขาย รวมค่าบริการทางการแพทย์และการพยาบาลผู้ป่วยนอกแล้ว - โรงพยาบาลสุขุมวิทขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงราคาโดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม และขอรับรายละเอียดเกี่ยวกับรายการตรวจสุขภาพได้ที่

รพ.สุขุมวิท โทร 0-2391-0011


ภาพกิจกรรม

SUKUMVIT HOSPITAL

15

CARE EVENT SUKUMVIT HOSPITAL

เยี่ยมชมอาคารใหม่

ด้วยความพร้อมทั้งทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญหลากหลายสาขาและ เทคโนโลยีทางการแพทย์ชั้นสูง คณะผู้บริหาร รพ.สุขุมวิท ให้การ ต้อนรับคณะทูตจากหลายประเทศและคณะผู้บริหารจากโรง พยาบาลต่างๆ ให้ความสนใจมาเยี่ยมชมอาคารใหม่ รพ.สุขุมวิท

เสวนา คุณแม่ตั้งครรภ์

กิจกรรม "คุณแม่ตั้งครรภ์...สาย สัมพันธ์แห่งครรภ์คุณภาพ" เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2557 ที่ผ่านมา คุณแม่ที่มา ในวันนั้นก็ได้ความรู้กลับไปมากมาย เพื่อ เตรียมความพร้อมส�ำหรับเจ้าตัวน้อยที่จะ เกิดมา ส่วนคุณแม่ที่ไม่ได้มาก็ไม่ต้องเสียใจ เพราะกิจกรรมดีๆ แบบนี้ รพ.สุขุมวิท ต้อง จัดขึ้นอีกแน่นอน


"ใจสั่น...แน่นหน้าอก เหนื่อยง่ายขึ้น..."

ปรึกษา...ศูนย์โรคหัวใจ รพ.สุขุมวิท

ศ.นพ.นิธิ มหานนท์

แพทย์ผู้เชี่ยวชาญสวนหัวใจและขยายหลอดเลือด

- Cath Lab -

- Echocardiograply ขยายหลอดเลือดหัวใจแบบฉุกเฉิน ตลอด 24 ชม. ตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง - Exercise Stress Echo (ใส่บัลลูนหรือดามด้วยขดลวด) 128 - Slice CT Scan ตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง ตรวจหัวใจและหลอดเลือดด้วยเครื่องเอ็กซเรย์ ก่อนหรือหลังออกก�ำลังกาย คอมพิวเตอร์ความเร็วสูง

- Exercise Stress Test

ตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกก�ำลังกาย

1411 ถ.สุขุมวิท แขวงพระโขนงเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพ 10110

1411 Sukhumvit RD.,Prakhanong Nua, Vadhana, Bangkok 10110

0-2391-0011 www.sukumvithospital.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.