Course Syllabus 32-094-301 ระเบียบวิธีเชิงตัวเลขสําหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร (Numerical Methods for Computer Engineering) 1. สาขา/สาขาวิชา
วิศวกรรมไฟฟา / วิศวกรรมคอมพิวเตอร
2. รหัสวิชา จํานวนหนวยกิต
32-094-301 3(2-3-5)
3. วิชาบังคับกอน
22-012-106 แคลคูลสั 2 สําหรับวิศวกร
4. คําอธิบายรายวิชา (Course Description) ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับ ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับระเบียบวิธีเชิงเลขโดยใชคอมพิวเตอร การ ประมาณคาของฟงกชันดวยเทยเลอร และการหาความคลาดเคลื่อน การหารากของสมการทั้งแบบปด และแบบเปด ระบบสมการแบบเชิงเสน การแกสมการดวยการขจัดคาเกาซ เกาซจอรแดน การหาเมตริก สวนกลับ และเกาซไซดอล การประมาณคาในชวง (Interpolation) แบบเชิงเสน แบบโพลินอลเมี่ยล และ ระเบียบวิธี Spline การถดถอย (Regression) ดวยวิธีลีสท-สแควร แบบเชิงเสน (Linear Least Square) การแปลงโมเดลแบบไมเป นเชิ งเส น (Non-Linear) เป น แบบเชิ งเส น การถดถอยแบบหลายตั ว แปร (Multiple Regression) การถดถอยแบบหลายเชิง การหาอนุพันธ และการอินทิเกรตดวยวิธีนิวตัน-โคตส รอมเบิรก การแกสมการดิฟเฟอเรนเชียน 5. วัตถุประสงคของรายวิชา 5.1 เพื่อใหนักศึกษาเขาใจถึงหลักการพื้นฐานเกี่ยวกับระเบียบวิธีเชิงเลขโดยใชคอมพิวเตอร 5.2 เพื่อนํา ระเบี ยบวิ ธีเชิ งตัวเลขมาใชแ กป ญ หางานทางดา นวิ ศ วกรรมที่ เป นปญ หาทาง คณิตศาสตรที่มีความซับซอน 5.3 เพื่อใหนักศึกษาไดฝกทดลอง ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมเพื่อคํานวณดวยระเบียบวิธีเชิง ตัวเลขในรูปแบบวิธีการตางๆ จากที่ไดศึกษาในชั้นเรียน 6. เกณฑการวัดผล Assignment Mid Term1 Mid Term2 Final Class attendance
20% 20% 25% 25% 10%
7. หัวขอการเรียนการสอน ลําดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9
เรื่อง Introduction to MATLAB System of Linear Algebraic Equations Interpolation and Curve Fitting Roots of Equations Numerical Differentiation Numerical Integration Initial Value Problems Two-Point Boundary Value Problems Symmetric Matrix Eigenvalue Problems
8. วัสดุและอุปกรณ 8.1 เครื่องคอมพิวเตอร, โปรเจ็คเตอร 8.2 เอกสารใบงาน (Implement on MATLAB) 9. ตําราอางอิง 9.1 สุชาติ จันทรจรมานิตย, “ระเบียบวิธีเชิงตัวเลขสําหรับงานวิศวกรรม”, 19 ก.ย. 52 9.2 ปราโมทย เดชะอําไพ และ นิพนธ วรรณโสภาคย, “ระเบียบวิธีเชิงตัวเลขในงานวิศวกรรม”, สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2553 9.3 JAAN KIUSALAAS, “Numerical Methods in Engineering with MATLAB”, CAMBRIDGE UNIVERSITY