เมื่อคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดาเนินเยี่ยมพสกนิกร เมื่อปี พ.ศ. 2498 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ ทรงรับทราบถึงความเดือดร้ อนทุกข์ ยากของราษฎรและเกษตรกรที่ขาดแคลนน้าอุปโภค บริโภคและการเกษตรจึงได้ มีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานโครงการพระราชดาริ "ฝนหลวง"(Artificial rain) ให้ กับ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ไปดาเนินการ ต่อมาได้ เกิดเป็ นโครงการค้นคว้าทดลองปฏิบัติการฝนเทียมหรือฝนหลอวง ขึน้ ในสั งกัดสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อปี พ.ศ. 2512 ได้ ตราพระราชกฤษฎีการก่ อตั้งสานักงาน ปฏิบัตกิ ารฝนหลวงขึน้ ในปี พ.ศ. 2518 ในสั งกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพือ่ เป็ นหน่ วยงานรองรับโครงการ พระราชดาริฝนหลวงต่อไป
จากความเป็ นมาของโครงการฝนหลวงนั้นจะเห็นได้ ว่า วัตถุประสงค์ หลักของโครงการ ดังกล่ าวเกิดขึน้ เพือ่ บรรเทาความทุกข์ ยากของประชาชนในประเทศ โดยเฉพาะการที่ท้องถิ่น หลายแห่ งที่ประสบปัญหาพืน้ ดินแห้ งแล้ ง หรือการขาดแคลนน้าเพือ่ การอุปโภค บริโภคและทาการเกษตร นอกจากนี้ภาวะความต้ องการใช้ น้าของประเทศที่นับวันจะทวีปริมาณความต้ องการสู งขึน้ เพราะการขยาย ตัวเจริญเติบโตทางด้ านอุตสาหกรรม เกษตรกรรม นั่นเอง
ขั้นตอนทีห่ นึ่ง : "ก่อกวน"
เป็ นขั้นตอนที่เมฆธรรมชาติเริ่มก่ อตัวทางแนวตั้ง การปฏิบัติการในขั้นตอนนี้
มุ่งใช้ สารเคมีกระตุ้นให้ มวลอากาศลอยตัวขึน้ สู่ เบื้องบน เพือ่ ให้ เกิดกระบวนการชักนาไอน้าหรื อความชื้นเข้ าสู่ ระบบการ เกิดเมฆระยะเวลาที่จะปฏิบัติการในขั้นตอนนี้ไม่ ควรเกิน 10.00 น. ของแต่ ละวัน โดยการใช้ สารเคมีที่สามารถดูดซับไอน้า จากมวลอากาศได้ แม้ จะมีเปอร์ เซ็นต์ ความชื้นสั มพัทธ์ ค่า critical relative humidity ต่า) เพือ่ กระตุ้นกลไกของกระบวน การกลั่นตัวไอน้าในมวลอากาศ ทางด้ านเหนือลมของพืน้ ที่เป้าหมาย เมื่อเมฆเริ่มก่ อตัวและเจริญเติบโตทางตั้งแล้ ว จึงใช้ สารเคมีที่ให้ ปฏิกิริยาคายความร้ อนโปรยเป็ นวงกลมหรือแนวถัดมาทางใต้ ลมเป็ นระยะทางสั้ นๆ เข้ าสู่ ก้อนเมฆเพือ่ กระตุ้น ให้ เกิดกลุ่มแกนร่ วมในบริ เวณปฏิบัติการ สาหรับใช้ เป็ นศู นย์ กลางที่จะสร้ างกลุ่มเมฆฝนในขั้นตอนต่ อไป
ขั้นตอนทีส่ อง : "เลีย้ งให้ อ้วน"
เป็ นขั้นตอนที่เมฆกาลังก่ อตัวเจริญเติบโตซึ่งเป็ นระยะสาคัญมากในการ
ปฏิบัติการ เพราะจะต้ องเพิม่ พลังงานให้ แก่ updraft ให้ ยาวนานออกไป ต้ องใช้ เทคโนโลยีและประสบการณ์ การทาฝนควบ คู่ไปพร้ อมกันเพือ่ ตัดสิ นใจโปรยสารเคมีชนิดใด ณ ที่ใดของกลุ่มก้ อนเมฆ และในอัตราใดจึงเหมาะสม เพราะต้ องให้ กระบวนการเกิดละอองเมฆสมดุลกับความแรงของ updraft มิฉะนั้นจะทาให้ เมฆสลาย
ขั้นตอนทีส่ าม : "โจมตี" เป็ นขั้นตอนสุ ดท้ายของกรรมวิธีปฏิบัติการฝนหลวง เมฆ หรือ กลุ่มเมฆฝนมีความ หนาแน่ นมากพอที่จะสามารถตกเป็ นฝนได้ ภายในกลุ่มเมฆจะมีเม็ดน้าขนาดใหญ่ มากมาย หากเครื่องบินเข้ าไปในกลุ่มเมฆ ฝนนี้จะมีเม็ดน้าเกาะตามปี กและกระจังหน้ าของเครื่องบิน เป็ นขั้นตอนที่สาคัญ ต้ องอาศัยประสบการณ์ มาก เพราะจะต้ อ ง ปฏิบัติการเพือ่ ลดความรุนแรงของ updraft หรือทาให้ อายุของ updraft หมดไป สาหรับการปฏิบัติการในขั้นตอนนี้จะ ต้ องพิจารณาจุดมุ่งหมายของการทาฝนหลวง ซึ่งมีอยู่ 2 ประเด็นคือเพือ่ เพิม่ ปริ มาณฝนตกและเพือ่ ให้ เกิดการกระจายการ ตกของฝนจึงทาให้ เกิดฝนขึ้น