บทที่ 6 การสือ่ ความหมายธรรมชาติ
ความหมายการสื่อความหมายธรรมชาติ การสื่อความหมายธรรมชาติ หมายถึง เป็นกิจกรรมการให้ความรูท้ ี่มีจุดประสงค์ทจี่ ะเปิดเผยความหมายของสิ่งหนึ่ง และความสัมพันธ์ของสิ่งนั้นที่มีต่อสภาพแวดล้อม โดยมีสื่อประกอบ เช่น วัตถุของ จริง รูปภาพ หรือการสัมผัสด้วยตนเอง (ฟรีแมน ทิลเดน Freeman Tilden) เป็นรูปแบบ หรือวิธีการในการให้การศึกษาเกี่ยวกับสภาพธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม โดยอาศัยธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทีพ่ บเห็นในแหล่งท่องเที่ยวนั้นๆ มาเป็นสื่อกลางในการอธิบาย เพื่อให้นักท่องเที่ยวเกิดความรู้ ความเข้าใจ ตลอดจนความพึงพอใจ (จิดาภา หวันกะเหร็ม)
สรุปความหมายของ การสื่อความหมายธรรมชาติ
วัตถุประสงค์ของการสื่อความหมายธรรมชาติ 1. เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้รับความสนุกสนาน เพลิดเพลิน และ ประสบการณ์ ประทับใจในการเยี่ยมชมสถานทีท่ ่องเที่ยว
2. เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้รับความรู้ ตระหนักถึงความสาคัญและเข้าใจคุณค่าของ ทรัพยากรทีม่ ีอยู่ในพื้นที่นั้น
วัตถุประสงค์ของการสื่อความหมายธรรมชาติ 3. เพื่อช่วยบรรลุวัตถุประสงค์ในการจัดการพื้นทีใ่ นลักษณะต่างๆ 4. เพื่อเป็นเครื่องมือประชาสัมพันธ์ และสร้างภาพลักษณ์ที่ดีเกี่ยวกับองค์กรและ บุคลากร ทั้งนี้ช่วยให้สาธารณชนมีความเข้าใจ และให้ความร่วมมือสนับสนุนบทบาท ขององค์กร
บทบาทของการสื่อความหมายธรรมชาติ 1.บทบาทการให้ความรู้
2. บทบาทในการให้ความเพลิดเพลิน
3. บทบาทในการอนุรักษ์ และพัฒนาอย่างยั่งยืน
การสื่อความหมายในบริบทของการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว 1. การจัดระเบียบเข้าชม 2. บทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจ 3. บทบาทในการพัฒนาสิ่งแวดล้อม 4. บทบาทในการมีส่วนร่วมของชุมชน 5. การปรับเปลี่ยนทัศนคติและคุณค่า
บทบาทของการสื่อความหมายธรรมชาติ 1.บทบาทการให้ความรู้ การสื่อความหมายช่วยให้ผู้มาชมได้รับความรู้ ความเข้าใจในคุณค่าความสาคัญ ของทรัพยากรธรรมชาติ และศิลปวัฒนธรรมในสถานที่ท่องเที่ยว
บทบาทของการสื่อความหมายธรรมชาติ 2. บทบาทในการให้ความเพลิดเพลิน การสื่อความหมายมีส่วนสาคัญในการเสริมสร้างประสบการณ์ที่น่าประทับใจและความ พึงพอใจแก่นักท่องเที่ยวโดยตรง
บทบาทของการสื่อความหมายธรรมชาติ 3. บทบาทในการอนุรักษ์ และพัฒนาอย่างยั่งยืน การสื่อความหมายมีส่วนสาคัญในการปลูกจิตสานึก ให้นักท่องเที่ยวได้ตระหนักถึงคุณค่า ของทรัพยากรธรรมชาติ และศิลปวัฒนธรรมของชุมชนท้องถิ่น
การสื่อความหมายในบริบทของ การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวมี 5 ประการ 1. การจัดระเบียบเข้ าชม 2. บทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจ
3. บทบาทในการพัฒนาสิ่งแวดล้ อม 4. บทบาทในการมีสว่ นร่วมของชุมชน 5. การปรับเปลี่ยนทัศนคติและคุณค่า
การสื่อความหมายในบริบทของ การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวมี 5 ประการ 1. การจัดระเบียบเข้าชม การสื่อความหมายเป็ นเครื่ องมือสาคัญในการจัดการผลกระทบอัน เกิดจากกิจกรรมต่างๆของนักท่องเที่ยว เช่น สามารถลดความแออัดของ นักท่องเที่ยวได้ การสื่อความหมายแนะน าผู้ชมให้ ป ฏิบัติ ตามกฏระเบี ยบเพื่อลด ผลกระทบ เช่น มีป้ายเตือนห้ ามไม่ให้ จับต้ องสิ่งของ วัตถุ หรื อ งดการ ถ่ายรูป เป็ นต้ น
การสื่อความหมายในบริบทของการจัดการนักท่องเที่ยว คือการให้ข้อมูล ข่าวสาร ซึ่งแหล่งท่องเทีย่ วควรให้ข้อมูลดังต่อไปนี้ 1.1 ข้อความแสดงความเป็นมิตรแก่นักท่องเที่ยว เช่น ป้ายยินดีต้อนรับผู้มาเยือน หรืออวยพรให้เดินทางกลับโดยปลอดภัย
การสื่อความหมายในบริบทของการจัดการนักท่องเที่ยว คือการให้ข้อมูล ข่าวสาร ซึ่งแหล่งท่องเทีย่ วควรให้ข้อมูลดังต่อไปนี้ 1.2 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการเดินทางไปยังแหล่งท่องเที่ยว เน้น ความปลอดภัย และประหยัดเวลาเดินทาง
การสื่อความหมายในบริบทของการจัดการนักท่องเที่ยว คือการให้ข้อมูล ข่าวสาร ซึ่งแหล่งท่องเทีย่ วควรให้ข้อมูลดังต่อไปนี้ 1.3 ข้อมูลเส้นทางอื่น และแหล่งท่องเที่ยวที่ใกล้เคียง เพื่อลดความแออัดในช่วง ฤดูการท่องเที่ยว ข้อมูลนี้ช่ วยบรรเทาความไม่พอใจของนักท่องเที่ยวที่ต้องย้า ยไป สถานที่ท่องเที่ยวอื่น
การสื่อความหมายในบริบทของการจัดการนักท่องเที่ยว คือการให้ข้อมูล ข่าวสาร ซึ่งแหล่งท่องเทีย่ วควรให้ข้อมูลดังต่อไปนี้ 1.4 ข้อมูลระบุเวลาทาการ รวมทั้งเวลาจาหน่ายบัตรผ่านประตู เพื่อ ช่วยให้นักท่องเที่ยวได้วางแผนในการเดินทางอย่างมีประสิทธิภาพ
การสื่อความหมายในบริบทของการจัดการนักท่องเที่ยว คือการให้ข้อมูล ข่าวสาร ซึ่งแหล่งท่องเทีย่ วควรให้ข้อมูลดังต่อไปนี้
1.5 ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวด้านประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ สังคมวัฒนธรรม และมานุษวิทยา 1.6 ข้อมูลแนะนาการปฏิบัติตัว และการทากิจกรรมท่องเที่ยวที่เหมาะสม
การสื่อความหมายในบริบทของ การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวมี 5 ประการ 2. บทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจ การสื่อความหมายสามารถเสริมสร้างประสบการณ์ที่น่ารื่นรมย์ ต่อนักท่องเที่ยว มีผลให้นักท่องเที่ยวเพิ่มวันพักแรม หรือใช้เวลานานมาก ขึ้นในแหล่งท่องเที่ยว ซึ่งเป็นการเพิ่มโอกาสในการสร้างงาน สร้างรายได้ ให้กับชุมชนท้องถิ่น
การสื่อความหมายในบริบทของ การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวมี 5 ประการ 3. บทบาทในการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
การสื่อความหมายมีบทบาทในการอนุรักษ์และพัฒนาระบบนิเวศวิทยา ด้วย การลดผลกระทบเนื่องจากกิจกรรมของนักท่องเที่ยวที่เป็นภัยคุกคาม สภาพแวดล้อม ซึ่งมีผลต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรในระยะยาว
การสื่อความหมายในบริบทของ การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวมี 5 ประการ 4. บทบาทในการมีส่วนร่วมของชุมชน การสื่อความหมายช่วยสนับสนุนการพัฒนา ชุมชนให้มีความเข้มแข็ง ชุมชนท้องถิ่นเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจหวงแหน วัฒนธรรม ล้าค่า ร่วมรักษาประเพณี และวิถีดั้งเดิม
การสื่อความหมายในบริบทของ การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวมี 5 ประการ 5. การปรับเปลี่ยนทัศนคติและคุณค่า การสื่อความหมายสามารถสร้างความเข้าใจ ความประทับใจ การ เคารพต่อวัฒนธรรมท้องถิ่น ย่อมมีผลต่อการสร้างทัศนคติ ช่วยเสริมสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างชุมชนท้องถิ่น และนักท่องเที่ยว
ประเภทของสื่อที่ใช้ในการสื่อความหมาย สื่อที่ใช้ในการสื่อความหมายมี 2 ประเภท คือ สื่อบุคคล และสื่อที่ ไม่ใช่สื่อบุคคล (สมพงษ์ อานวยเงินตรา, 2557: 28-40) 1. การสื่อความหมายโดยบุคคล การสื่อความหมายโดยใช้บุคคล เป็นการให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ นักท่องเที่ยวที่มีประสิทธิภาพ เพราะสามารถตอบคาถามของนักท่องเที่ยวได้ ทันท่วงที ให้รายละเอียดได้มากกว่าสื่อประเภทสื่ออื่นๆ
การสื่อความหมายโดยใช้บุคคล ประกอบไปด้วย
การบริการข้อมูล การนาเที่ยว การบรรยายและการสาธิต 1.1 การบริการข้อมูล การบริการข้อมูลมีวัตถุประสงค์เพื่อต้อนรับนักท่องเที่ยว และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร เพื่อสร้างความประทับใจในฐานะตัวแทนของหน่วยงาน ลักษณะของบริการข้อมูลนั้น เป็นการสนทนาระหว่างบุคคล 2 คน
1.2 การนาเที่ยว เป็นการสื่อความหมายชนิดหนึ่ง ซึ่งเจ้าหน้าที่สื่อความหมายหรือมัคคุเทศก์ นิยมนานักท่องเที่ยวไปยังจุดต่างๆ เพื่อศึกษาสถานที่น่าสนใจ และชมทิวทัศน์ ที่สวยงาม กิจกรรมนาเที่ยวที่ถือว่ามีประสิทธิภาพ และน่าประทับใจที่สุด
1.3 การบรรยาย เป็นเครื่องมือในการให้ความรู้ความเข้าใจดีที่สุด ที่มีประสิทธิภาพ เป็นงานที่ทาด้วยใจ ซึ่งต้องใช้ไหวพริบ และสติปัญญา โดยให้เกิดการ สมดุลระหว่างการนาเสนอ และความสนใจของผู้ฟัง
1.4 การสาธิต เป็นการสื่อความหมายวิธีหนึ่งเป็นวิธีสอนที่ให้นักท่องเที่ยวได้รับ ประสบการณ์ใกล้เคียงกับประสบการณ์ตรงมากที่สุด เป็นการสอนที่ผู้สอน แสดงให้ดู หรือนักท่องเที่ยวมีโอกาสได้กระทาด้วยตนเอง
ข้อดี และข้อเสียของการสื่อความหมายโดยบุคคล ข้อดีการสื่อความหมายโดยบุคคล 1. เป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพในการสื่อความหมาย โดยที่ผู้พูดและผู้ฟัง ต่างเห็นหน้าตา บุคลิก ลีลา ท่าทางน้าเสียงประกอบการพูด มีอิทธิพลสูง ในการโน้มน้าวชักจูง และสร้างความเร้าใจได้ดี
ข้อดีการสื่อความหมายโดยบุคคล
2. เป็นการสื่อสารสองทาง ทั้งผู้พูดและผู้ฟังสามารถโต้ตอบกันได้ ทันที 3. มีความยืดหยุ่น โดยที่ผู้พูดสามารถปรับเนื้อหาในให้เหมาะสมกับ ผู้ฟังได้ทันท่วงที 4. สามารถนาเสนอเรื่องราวที่สลับซับซ้อน 5. เป็นสื่อที่ทุกคนมีอยู่แล้ว ไม่ต้องสิ้นเปลืองในการซื้อสื่อแบบสื่อ อื่นๆ
ข้อเสียการสื่อความหมายโดยบุคคล 1. ไม่สามารถเข้าถึงผู้ฟังจานวนมากได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ไม่มีความคงทนถาวร บรรยายหรือพูดแล้วก็ผ่านเลยไป 3. หากผู้พูดขาดทักษะการพูดจงใจ ก็ทาให้การสื่อความหมายไม่ประสบผลสาเร็จได้ 4. หากเนื้อหาสาระที่นามาพูดสลับซับซ้อนเกินไป ย่อมทาให้ผู้ฟังไม่เข้าใจ จาเป็นต้องมีสื่อ อื่นๆ ช่วยประกอบการพูด เช่น ภาพถ่าย ภาพสไลด์ เป็นต้น 5. เป็นสื่อที่ไม่มีหลักฐานอ้างอิงที่ชัดเจน 6. มีจานวนเจ้าหน้าที่จากัดในการให้บรรยาย 7. ประสิทธิผลการบรรยายของเจ้าหน้าที่ไม่สม่าเสมอ
2. การสื่อความหมายโดยไม่ใช้บุคคล 2.1 สื่อสิ่งพิมพ์ ประกอบไปด้วย แผ่นพับ และคู่มือ หรือหนังสือ แนะนาสถานที่ท่องเที่ยว
ข้อดีของสื่อสิ่งพิมพ์ 1. เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างกว้างขวาง 2. เลือกกลุ่มเป้าหมายได้ 3. รวดเร็วทันสมัย ทันเวลา 4. ค่าใช้จ่ายถูก 5. เป็นสื่อที่มีความน่าเชื่อถือ 6. สามารถส่งข่าวสารถึงกลุ่มเป้าหมาย หลายกลุ่มได้ในเวลาที่พร้อมกัน 7. สามารถออกแบบรูปแบบสื่อได้เต็มที่ เพราะไม่มีขีดจากัดด้านเนื้อที่ ขนาด 8. สื่อมีอายุยาวนาน 9. มีความคงทนถาวร 10. มีความยืดหยุ่นสูง เพราะอาจเปลี่ยนแปลงเนื้อหา และงบประมาณของสถาบันได้ง่าย
ข้อเสียของสื่อสิ่งพิมพ์ 1. ไม่สามารถเข้าถึงผู้อ่านที่อ่านหนังสือไม่ออก หรือผู้สูงอายุที่สายตาไม่ดี 2. ผู้อ่านจะเลือกอ่านเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับเขา 3. งบประมาณเป็นอุปสรรคในการจัดทา 4. ยุบหรือเลิกง่าย 5. มีวัตถุประสงค์ไม่แน่นอน หรือขาดความรู้ที่น่าสนใจ 6. การเผยแพร่อยู่ในวงจากัดเฉพาะกลุ่ม
2. การสื่อความหมายโดยไม่ใช้บุคคล 2.2 ป้ายแนะนาทาง ป้ายที่ใช้ในโปรแกรมสื่อความหมาย มี 2 ชนิด คือ ป้ายสื่อความหมาย (Interpretive signs) ป้ายเพื่อการบริหาร (administrative signs)
ป้ายสื่อความหมาย (Interpretive signs) ป้ายสื่อความหมาย ก็เพื่ออธิบายกระบวนการของธรรมชาติ เรื่องราวประวัติศาสตร์หรือลักษณะของภูมิประเทศในพื้นที่นั้น ขณะเดียวกันก็ให้โอกาสแก่นักท่องเที่ยวได้มีส่วนร่วมและค้นคว้าหา คาตอบด้วยตนเองด้วย
ป้ายเพื่อการบริหาร (administrative signs) ป้ายเพื่อการบริหาร เช่น ป้ายบอกทางเข้า ป้ายข้อมูล ป้ายสถานที่ และป้ายทิศทาง เป็นต้น
ข้อดีของป้ายสื่อความหมาย 1. ครอบคลุมพื้นที่กว้างขวาง และสามารถเลือกตั้งเฉพาะพื้นที่ได้ 2. มีความถี่ในการมองเห็นบ่อย เพราะจุดติดตั้งส่วนใหญ่เป็น เส้นทาง หรือบริเวณที่ต้องเดินผ่านไปมาเสมอ 3. สามารถดึงดูดความสนใจได้ดี 4. ไม่มีข้อจากัดในเรื่องเวลาในการนาเสนอข้อมูล 5. ข้อความที่กะทัดรัด ทาให้เกิดความสนใจและเป็นจุดเด่นที่ทา ให้เกิดความจดจา
ข้อเสียของป้ายสื่อความหมาย 1. การนาเสนอข้อมูลมีข้อจากัดสูง ทาให้ขาดรายละเอียดเมื่อ เปรียบเทียบกับสื่อชนิดอื่นๆ 2. การติดตั้งในตาแหน่งที่ไม่เหมาะสม ทาให้ได้รับความสนใจน้อย 3. การผลิตจาเป็นต้องใช้ความละเอียดอ่อนสูง เสียค่าใช้จ่ายมาก 4. เป็นการไม่รักษาสิ่งแวดล้อมที่ดี
2. การสื่อความหมายโดยไม่ใช้บุคคล 2.3 การจัดนิทรรศการ นิทรรศการ หมายถึง การให้การศึกษาอย่างหนึ่ง ด้วยการแสดงงานให้ชม เป็นการจัดแสดงและนาโสตทัศนวัสดุรวมถึงวัสดุ ต่างๆ ที่ให้ข้อมูล ข่าวสาร ที่ผู้ชมสามารถสัมผัส เรียนรู้ ทดลองใช้ หรือมี กิจกรรมเสริมประกอบ นิทรรศการเป็นสื่อในการให้การศึกษา ความรู้ ความเข้าใจ เพื่อกระตุ้นความสนใจ ตอบสนองและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ของผู้ชมให้บรรลุสู่เป้าหมาย
การจัดนิทรรศการแบ่งเป็น 3 ประเภท 1. นิทรรศการในร่ม (Indoor Exhibition) เป็นนิทรรศการที่จัด แสดงขึ้นภายในอาคาร โดยอาจใช้สถานที่บริเวณส่วนต่าง ๆ เช่น ภายใน ห้อง เฉลียง ห้องโถง หอประชุม เป็นต้น
2. นิทรรศการกลางแจ้ง (Outdoor Exhibition) เป็นการจัด นิทรรศการขนาดใหญ่ มีผู้ร่วมงานจากหน่วยงาน องค์กรธุรกิจหลายสาขา มีจุดมุ่งหมายให้ประชาชนจานวนมากได้มีโอกาสเข้าชม โดยจัดในบริเวณที่ มีพื้นที่กว้าง เช่น สนามหลวง วังสราญรมย์ สวนลุมพินี หรือที่สนามใน สถาบันการศึกษา
3. นิทรรศการหมุนเวียน (Traveling Exhibition) เป็น นิทรรศการหมุนเวียน เปลี่ยนสถานที่จัดแสดง เช่น ผลงานศิลปะที่ นักศึกษาในกรุงเทพฯ นาไปจัดแสดงที่เชียงใหม่ สงขลา หรือภาคอีสาน หมุนเวียนสลับกันไป เป็นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์
ข้อดีของนิทรรศการ 1. นิทรรศการช่วยรวบรวมสิ่งแสดงต่างๆ มาไว้ในที่แห่ง เดียวกัน เช่น รูปภาพ ของจริง ของตัวอย่าง หุ่นจาลอง และการสาธิต จะ ทาให้สะดวกต่อการศึกษาหาความรู้ของผู้ที่สนใจ ซึ่งหาจากที่อื่นได้ยาก
ข้อดีของนิทรรศการ 2. นิทรรศการช่วยนาความคิดและข้อมูลที่กระจัดกระจายอยู่ในที่ ต่างๆ มารวมเข้าด้วยกัน โดยเฉพาะมีการร่วมกันจัดจากหลาย ๆ หน่วยงาน ก็ยิ่งจะมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ผู้ดูสามารถเลือกหาข้อมูลที่ ตนต้องการได้ง่าย
ข้อดีของนิทรรศการ 3. นิทรรศการสามารถแสดงความคิดที่อยู่ในลักษณะนามธรรม (Abstract) ซึ่งเข้าใจได้ยาก ให้ออกมาในลักษณะของรูปธรรม ที่ผู้ดู สามารถเข้าใจได้ เช่น ข้อมูลที่เป็นตัวเลขก็นามาแปลงให้เป็นลักษณะ กราฟ แผนภูมิ หรือนาของจริงมาให้ดู ด้วยตา ฟังด้วยหูของตนเอง จะทา ให้ผู้ดูเกิดความประทับใจและจดจาได้นานๆ
4. นิทรรศการช่วยกระตุ้นความสนใจในสิ่งที่แปลกๆ ใหม่ๆ ซึ่งจะ นาไปสู่การค้นคว้าหาความรู้จากแหล่งวิทยาการอื่นๆ ทดลองนาไปปฏิบัติ ต่อไป 5. นิทรรศการช่วยส่งเสริมการแสดงออกในลักษณะของการร่วมมือกัน จัดแสดงระหว่างบุคลากรหน่วยงานต่างๆ ตลอดจนการให้ผู้ชมได้มีส่วน ร่วมในกิจกรรมบางอย่าง อาทิ ให้ทดลองใช้สิ่งของที่นามาแสดงในงาน
ข้ อเสี ยนิทรรศการ 1. ใช้งบประมาณสูงในการจัดแต่ละครัง้ 2. ใช้เวลาและกาลังคนมากในการจัด เป็นการยากที่จะจัดนิทรรศการ โดยคน เพียง 2-3 คน แม้จะเป็นนิทรรศการเล็กๆ ก็ตาม 3. มีตัวแปรมาก การจัดนิทรรศการ แม้มีการวางแผนมาอย่างสมบูรณ์ก็ ตาม แต่ก็มีปัจจัยตัวแปรต้องคานึงมากมาย เช่น ระยะเวลาของการจัด ช่วงเวลาที่จัด ซึ่งบางครั้งก็เกี่ยวข้องกับฤดูกาลด้วย
2. การสื่อความหมายโดยไม่ใช้บุคคล 2.4 สื่อโสตทัศนูปกรณ์ แบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ
สื่อภาพ
สื่อเสียง
สื่อผสม
2.4.1 สื่อภาพ เป็นวัสดุและอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสื่อสารด้วยภาพ หรือทั้งภาพทั้งเสียง อุปกรณ์มีทั้งแบบฉายตรงและฉายอ้อมเพื่อถ่ายทอดเนื้อหา จากวัสดุแต่ละประเภทที่ใช้เฉพาะ เช่น เครื่องฉายข้ามศีรษะใช้กับแผ่นโปร่งใส เครื่องฉายสไลด์ ใช้กับแผ่นฟิล์มสไลด์ หรือให้ทั้งภาพและเสียง เช่น เครื่องฉาย ภาพยนตร์ฟิล์มเครื่องเล่นดีวีดี ใช้กับวีซีดีและดีวีดี
ข้อดีสื่อภาพ 1. ผู้เรียนมีโอกาสศึกษาได้ตามอัตภาพของตนเอง 2. ศึกษาได้ด้วยตนเอง และใช้ในการตั้งแสดง (นิทรรศการ) ข้อเสียสื่อภาพ 1. ไม่สามารถใช้ได้ทุกที่ จาเป็นต้องมีเครื่องมืออุปกรณ์และไฟฟ้า 2. ไม่เอื้อโอกาสให้นักท่องเที่ยวได้ศึกษาอย่างละเอียดด้วยตนเอง 3. การนาเสนอด้วยวีดิทัศน์ซ้าไปซ้ามา ก่อความราคาญแก่ นักท่องเที่ยวคนอื่น รวมทั้งเจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ข้อมูลข่าวสาร 4. ค่าใช้จ่ายในการผลิต และบารุงรักษามีราคาสูง
2. การสื่อความหมายโดยไม่ใช้บุคคล 2.4.2 สื่อประเภทเสียง เป็นวัสดุและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อการ สื่อสารด้วยเสียง อุปกรณ์เครื่องเสียงจะ ใช้ถ่ายทอดเนื้อหาจากวัสดุแต่ละ ประเภทที่ใช้ เฉพาะกับอุปกรณ์นั้นเพื่อเป็นเสียงให้ได้ยิน เช่น เครื่องเล่น ซีดีใช้กับแผ่นซีดี เครื่องเล่น/ บันทึกเทปใช้กับเทปเสียง หรืออาจเป็น อุปกรณ์ ในการถ่ายทอดสัญญาณเสียงดัง เช่น วิทยุที่รับสัญญาณเสียงจาก แหล่งส่งโดยไม่ต้องใช้วัสดุใดๆ ในการนาเสนอเสียง
ข้ อดีของสื่ อประเภทเสี ยง 1. สามารถใช้กับกลุ่มเป้าหมายเป็นมวลชนจานวนมากได้ 2. ให้ความรู้สึกเร้าอารมณ์ และเป็นสื่อที่จูงใจได้ง่าย เพราะเน้นจังหวะ ลีลาที่ใส่อารมณ์ทาให้ผู้ฟงั จินตนาการ และมีความรู้สึกร่วม 3. ให้ความรู้สึกเป็นส่วนตัว โดยที่ผู้ฟังมีอิสระในการเลือกฟัง บางช่วง บาง ตอน ตามความสนใจ 4. คาบรรยายสามารถทาเป็นหลายภาษาได้ 5. สามารถนาเสนอได้ทั้งในอาคารและนอกอาคาร มีความสะดวกในการ พกพา 6. สามารถลดภาระของเจ้าหน้าที่ ที่ต้องอธิบายซ้าๆ กัน วันละหลายครั้ง
ข้อเสียของสื่อประเภทเสียง 1. มีค่าใช้จ่ายสูงมากในการผลิต ประกอบ ติดตั้ง และบารุงรักษา 2. จาเป็นต้องว่าจ้างบริษัทผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ที่มีประสบการณ์สูง ช่วย ในการออกแบบพื้นที่ สร้างสรรค์ผลงาน 3. นิยมใช้สื่ออื่นร่วมประกอบการบรรยาย โดยเฉพาะแผนที่บอกเส้นทาง ศึกษาด้วยตนเองในอุทยานประวัติศาสตร์จะนิยมใช้กันมาก
2. การสื่อความหมายโดยไม่ใช้บุคคล 2.4.3 สื่อผสม หรือสื่อมัลติมีเดีย หมายถึงการนาเอาสื่อหลายๆ อย่าง เช่น รูปภาพ เทป แผ่นโปร่งใส มาใช้ร่วมกัน เพื่อส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ในการเรียนการสอน ต่อมาเมื่อมีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้มากขึ้น และสามารถ ใช้งาน ได้ทั้งภาพนิ่ง เสียง ข้อความและภาพเคลื่อนไหว
ข้อดีสื่อผสมหรือสื่อดิจิตอล 1. สร้างความสนใจและอารมณ์ที่มีต่อเนื้อเรื่อง 2. สามารถใช้ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียงและตัวอักษรร่วมกันในการ นาเสนอพร้อมๆ กันได้ 3. เผยแพร่ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 4. จัดเก็บในรูปของวัสดุได้ง่าย 5. เหมาะกับการศึกษารายบุคคลมากว่ากลุ่มใหญ่ 6. บรรจุเนื้อหาได้มากกว่าสื่ออื่นๆ คุ้มค่าในการลงทุน
ข้อเสียสื่อผสม 1. อาจต้องใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์หลายอย่างประกอบการนาเสนอ 2. การติดตั้งซับซ้อน 3. ต้องวางแผนเป็นอย่างดีก่อนการผลิตและการนาไปใช้ 4. ผู้ผลิตต้องมีทักษะความรู้หลายด้านหรือใช้ทีมงานหลายคนในการผลิต เช่น ด้านเนื้อหาด้านการสอน ด้านซอฟ์ทแวร์ ด้านศิลปกรรมกราฟิก 5. การพัฒนา Software Hardware รวดเร็วจนตามไม่ทันจะต้องเลือกใช้ ให้เหมาะสมและทันต่อเทคโนโลยี
2. การสื่อความหมายโดยไม่ใช้บุคคล 2.5 ศูนย์บริการข้อมูลนักท่องเที่ยว มีหน้าที่ให้ความรู้ และสร้าง ความเข้าใจในภาพรวมเกี่ยวกับคุณค่าของทรัพยากรการท่องเที่ยว ศูนย์บริการข้อมูลนี้นิยมตั้งอยู่ภายในบริเวณที่ใกล้เคียงกับสถานที่ ท่องเที่ยว และนิยมใช้สื่อหลากหลายประเภทช่วยในการนาเสนอ เช่น การ จัดแสดงแบบจาลอง การจัดนิทรรศการ และการใช้สื่อมัลติมีเดีย
ข้อดีของศูนย์บริการข้อมูลนักท่องเที่ยว 1. สามารถให้คาแนะนาสลับซับซ้อน 2. สามารถเข้าถึงนักท่องเที่ยวจานวนมาก 3. สามารถใช้ร่วมกับสื่ออื่นๆ ได้
ข้อเสียศูนย์บริการข้อมูลนักท่องเที่ยว 1. มีค่าใช้จ่ายสูงในการก่อสร้าง และปฏิบัติการ 2. มีการแข่งขันที่สูง 3. จาเป็นต้องมีการบริหารจัดการแบบมืออาชีพ
2. การสื่อความหมายโดยไม่ใช้บุคคล 2.6 เส้นทางการศึกษาด้วยตนเอง เส้นทางการศึกษาด้วยตนเองเป็น สิ่งอานวยความสะดวกอย่างหนึ่งที่ใช้ในการสื่อความหมาย เราสามารถ สร้างเส้นทางดังกล่าวในพื้นที่ ป่าไม้ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติ หรืออุทยาน ประวัติศาสตร์
2. การสื่อความหมายโดยไม่ใช้บุคคล 2.7 สื่อกิจกรรมต่างๆ สื่อกิจกรรมเป็นโปรแกรมการนาเสนอที่จัดขึ้น ตามวาระหรือโอกาสสาคัญต่างๆ โดยมากจัดในรูปนิทรรศการ การออก ร้าน งานฉลอง การแข่งขัน งานสถาปนาครบรอบวันสาคัญ หรือการเปิด ให้นักท่องเที่ยวได้เข้าชมกิจการในวันสาคัญ