โครงการศึกษาออกแบบศูนย์การเรียนรู้ข้าวและวิธีชีวิตชาวนาไทย จ.ปทุมธานี
สุภารัตน์ โฉมปราชญ์
วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2561
THAI FARMERS’ AND RICE LEARNING CENTER
SUPARAT CHOMPRACH
A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENT FOR THE BACHELOR DEGREE OF ARCHITECTURE DIVISION OF ARCHITECTURAL TECHNOLOGY FACULTY OF ARCHITECTURE RAJAMANGGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THANYABURI 2018
บทคัดย่อ ประเทศไทยเป็นประเทศผู้ผลิตข้าวเป็นอันดับต้น ๆ
RICE OF LIFE
ของโลก ด้วยลักษณะภูมิประเทศของประเทศไทยนั้นเหมาะสมเป็นอย่างยิ่ง ในการประกอบอาชีพเกษตรกรรมโดยเฉพาะการทานาข้าว แต่ด้วยการ เปลี่ยนแปลงของโลก ทรัพยากรธรรมชาติที่ถูกทาลายลงไปเป็นอย่าง มาก นามาสู่การเสียสมดุล ปัญหาราคาผลผลิตที่ตกต่ากลับยิ่งตอกย้า ว่า บัดนี้ การทานาข้าว มิใช่อาชีพที่เป็นทางเลือกที่เหมาะสมกับทุกๆ คน ทุกๆ พื้นที่เสมอไป ในปัจจุบันมีจังหวัดปทุมธานีเป็นแหล่งอุตสาหกรรม เป็นสถานที่รองรับการขยายตัวของเมืองที่กาลังเติบโต และมีพื้นที่ทาง การเกษตรที่หลายหลายไม่ว่าจะเป็นนาข้าว สวนผลไม้ต่างๆ แต่ถ้ามอง ในทางกลับกันการขยายตัวของตัวเมืองทาให้พื้นที่ทางการเกษตรลดลง อย่างมากใน 10 ปีที่ผ่านมา มีการลดลงถึง 30% ทาให้ภาคการเกษตร ของจังหวัดเสื่อมโทรมลงอย่างมาก เกษตรกรมีการขายที่ดินเพื่อเก็ง กาไลในอนาคต แต่เมื่อมีการจัดตั้งศูนย์วิจัยข้าวที่ตั้งอยู่ในบริบท ทา หน้าที่เพียงแค่วิจัยพันธ์ข้าวเพื่อให้เกษตรกรได้เมล็ดพันธ์ที่แข็งแรง ทนทาน และให้ผลผลิตที่มาก แต่ไม่มีการให้ความรู้ที่ถูกต้องกับเกษตรกร หรือผู้ที่ สนใจ เป็นปัจจัยที่เห็นว่าไม่เหมาะสม จึงเป็นประเด็นให้เกิดคาถามว่าเรา สามารถมีกระบวนการการออกแบบอย่างไร ที่จะสร้างสรรค์พื้นที่ให้ ความรู้ทางเกษตรกรรม สามารถพัฒนาและเรียนรู้ทรัพยากรการเกษตร ให้ยั่งยืนได้อย่างไร โครงการศึกษาศูนย์การเรียนรู้ข้าวและวิธีชีวิต ชาวนาไทย จึงเป็นทางเลือกหนึ่ง ที่จะมีกระบวนการ การออกแบบ สร้างสรรค์พื้นที่ ให้ความรู้ทางการเกษตร ให้สามารถพัฒนาและเรียนรู้ ทรัพยากรการเกษตร โดยการออกแบบจะมีรูปแบบวิธีการที่มองถึงความ สาพันที่สอดคล้องระหว่างสถาปัตยกรรมกับธรรมชาติ เป็นแนวคิดหลัก และเพื่อเป็นการอยู่รวมกันอย่างสมดุลและยั่งยืนต่อไป โดยมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อศึกษาแนวคิดใน การออกแบบสถาปัตยกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร เพื่อศึกษาวิถีชีวิต การทานาข้าวของจังหวัดปทุมธานีที่กาลังเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยเพื่อ ศึกษาภูมิปัญญาของชาวนาหรือเกษตรกรไทย จากอดีตจนถึงปัจจุบัน เพื่อศึกษาองค์ประกอบของโครงการประเภทศูนย์การเรียนรู้
CONTENTS
หน้าอนุมัติ บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญภาพ สารบัญตาราง สารบัญแผนภูมิ
01
บทที่ 1 บทนา
1.1 ความเป็นมาของโครงการ 1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษาโครงการ 1.3 ขอบเขตการศึกษาโครงการ 1.4 ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการศึกษาโครงการ 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ค
หน้า ก ข ฃ ค ง ช ญ
02 บทที่ 2 หลักการออกแบบและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.1 ความหมาย 2.1.1 คาจากัดความ 2.1.2 ลักษณะโครงการ
หน้า 2-1 2-2 2-2
2.4 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้อง 2.4.1 ประเทศไทย 4.0 2.4.2 ยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัดปทุมธานี
2.5 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
2.2 ความเป็นมา ปัจจุบน ั อนาคต เรื่องที่ศึกษา
หน้า 1-1 1-2 1-3 1-3 1-4
2.2.1 ความหมายเกษตรภูมิปัญญา 2.2.2 มาตรฐานข้าวอินทรีย์ 2.2.3 อนาคตเรื่องที่จะศึกษา 2.2.4 ตลาดข้าวอินทรีย์
2-3 2-6 2-7 2-8 2-10
2.3 หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.3.1 ศึกษาและแบ่งประเภทข้าว 2.3.2 รูปแบบการกระจายสินค้า 2.3.3 ระบบการผลิตข้าวอินทรีย์ที่ได้ มาตราที่ตลาดรองรับ 2.3.4 ปัจจัยการผลิต 2.3.5 การเก็บรักษาผลผลิตและผลิตภัณฑ์ 2.3.6 ประเพณี 12 เดือน 2.3.7 การออกแบบอาคาร
2-12 2-13
2-18 2-18 2-18 2-19 2-23
2.5.1 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาคาร 2.5.2 กฎกระทรวงบังคับใช้ผังเมืองจังหวัด ปทุมธานี 2.5.3 กฎหมายด้านการรับรองมาตรฐาน เกษตรอินทรีย์
หน้า 2-24 2-25
2-26 2-26 2-31 2-31
2.6 การศึกษาอาคารตัวอย่าง 2.6.1 สวนชีววิถี Growing Diversity Park 2.6.2 Glorious green office in Tokyo a showpiece for urban agriculture 2.6.3 PALACIO DEALFACE.
2-34 2-36 2-38
04 บทที่ 4 กาหนดรายละเอียดโครงการ 4.1 ความเป็นมาของโครงการ 4.2 วัตถุประสงค์โครงการ
03
บทที่ 3 การศึกษาและวิเคราะห์ที่ตั้ง โครงการ 3.1 ประวัติความเป็นมาที่ตงั้ โครงการ 3.1.1 ข้อมูลลักษณะทางกายภาพ 3.1.2 ข้อมูลโครงสร้างทางเศรษฐกิจ
4.2.1 หน่วยงานเจ้าของโครงการ
4.3 กาหนดโครงสร้างการบริหารงานของ โครงการ 4.3.1 โครงสร้างการบริหารงานของโครงการ
3.3 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 3.4 รายละเอียดที่ตั้งโครงการ 3.4.1 วิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพ 3.4.2 การศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบที่ตั้ง โครงการ
3.5 สรุปที่ตั้งโครงการ
4-1 4-2 4-2 4-3 4-5
4.4 หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
หน้า
3-1 3-2
3.2 การวิเคราะห์ทาเลที่ตั้งโครงการ 3.2.1 การวิเคราะห์เปรียบเทียบการพิจารณา โครงการ
หน้า
3-5 3-10 3-11 3-12
3-16
2.3.1 ประเภทผู้ใช้โครงการ 2.3.2 การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้ใช้โครงการ 2.3.3 การวิเคราะห์อัตรากาลังของเจ้าหน้าที่ 4.5 การกาหนดองค์ประกอบของโครงการ 4.6 ระบบวิศวกรที่เกี่ยวข้องกับโครงการ 2.6.1 ระบบโครงสร้างอาคาร 2.6.2 ระบบเสาเข็ม 2.6.3 ระบบโครงสร้างพื้น 2.6.4 ระบบโครงสร้างผนัง 2.6.5 ระบบปรับอากาศ 2.6.6 ระบบไฟฟ้า 2.6.7 ระบบป้องกันภัย 2.6.8 ระบบปรับสุขาภิบาล 2.6.9 ระบบขนส่งภายในอาคาร
4-6 4-7 4-8
4-16 4-17 4-18 4-19 4-20 4-21 4-22 4-23 4-24
05
บทที่ 5 แนวคิดและผลงานการออกแบบ 5.1 แนวคิดการออกแบบ 5.2 การสร้างทางเลือกในการออกแบบ 5.2.1 การสร้างทางเลือกในการออกแบบ
5.3 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 5.3.1 ขั้นตอนการทาแบบร่าง 5.4 ผลการออกแบบ
06
บทที่ 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะ 6.1.1 สรุปผลการศึกษา ข้อแนะนา
บรรณานุกรม ภาคผนวก STATEMENT MAGAZINE ตารางสอบวิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรม
ประวัติผู้จัดทา
ฅ
IMAGE
CONTENT
01
02PRINCIPLE & THEORY
หน้า
หน้า
หน้า ภาพที่ 1.1 : ปัญหาของสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อมนุษย์ ภาพที่ 1.2 : แสดงวิธีชีวิตชาวนาไทย ภาพที่ 1.3 : แสดงการทานาดั้งเดิม ง
1-1 1-3 1-4
ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่
2.1 : แสดงวิธีเก็บเกี่ยวต้นกล้า 2.2 : แสดงลักษณะโครงการ 2.3 : แสดงวิธีฟัดข้าวเพื่อเก็บเกี่ยวเมล็ดข้าว 2.4 : แสดงเมล็ดข้าวสังข์หยด 2.5 : แสดงเมล็ดข้าวหอมนิล 2.6 : แสดงการเก็บต้นกล้า 2.7 : แสดงเมล็ดข้าวเปลือก 2.8 : แสดงเมล็ดข้าวสาร 2.9 : แสดงเล็ดข้าวพันธ์ต่างๆ 2.10 : แสดงเครื่องสีข้าวโบราญ 2.11 : แสดงการเก็บเกี่ยวสมัยใหม่ 2.12 : แสดงผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ปทุม 2.13 : แสดงเมล็ดข้าวเปลือก 2.14 : แสดงการขนส่งเมล็ดข้าวเปลือกสู่กงสี 2.15 : แสดงเล็ดข้าวเปลือก 2.16 : แสดงเล็ดข้าวสาร 2.17 : แสดงเกษตรกรไทย 2.18 : แสดงห่วงโซ่อุปทานของข้าวไทย 2.19 : แสดงข้าวปลอดสารบรรจุหีบห่อ
2-1 2-2 2-3 2-4 2-5 2-6 2-7 2-7 2-8 2-9 2-9 2-10 2-11 2-13 2-14 2-15 2-16 2-17 2-18
ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่
2.20 : แสดงประเพณีของไทยภาคกลาง 2.21 : แสดงประเพณีของไทยภาคกลาง 2.22 : แสดงประเพณีของไทยภาคกลาง 2.23 : แสดงปฎิทินการทานาข้าว 2.24 : แสดงงานระบบท่อ 2.25 : แสดงกระบือ สัตว์คู่ชาวนา 2.26 : แสดงชาวนา 2.27 : แสดงชาวนาขณะเกี่ยวข้าว 2.28 : แสดงข้าวปลอดสารพิษ 2.29 : แสดงชาวนา 2.30 : แสดงอาคารตัวอย่าง 2.31 : แสดงอาคารตัวอย่าง 2.32 : แสดงอาคารตัวอย่าง 2.33 : แสดงอาคารตัวอย่าง
2-19 2-20 2-21 2-22 2-23 2-24 2-25 2-30 2-31 2-32 2-33 2-34 2-36 2-38
GRID IMAGE 03 CONTENT
CONTENT SITE ANALYSIS ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่
3.1 : แสดงเอกลักษณ์จังหวัดปทุมธานี 3.2 : แสดงแผนที่จังหวัดปทุมธานี 3.3 : แสดงเอกลักษณ์จังหวัดปทุมธานี 3.4 : แสดงประเพณีเปิงสงกรานต์ 3.5 : แสดงการวิเคราะห์ทาเลที่ตั้ง 3.6 : แสดงแผนที่บริเวณที่ตั้งโครงการ 3.7 : แสดงแผนที่บริเวณที่ตั้งโครงการ 3.8 : แสดงขนาดที่ตั้งโครงการ 3.9 : แสดงมุมมองบริเวณที่ตั้งโครงการ 3.10 : แสดงมุมมองบริเวณที่ตั้งโครงการ 3.11 : แสดงการวิเคราะห์บริเวณที่ตั้ง 3.12 : แสดงวิเคราะห์บริเวณที่ตั้งโครงการ 3.13 : แสดงสถานที่บริเวณที่ตั้งโครงการ 3.14 : แสดงวิธีชีวิตชาวนา
ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่ ภาพที่
4.1 : แสดงที่อยู่อาศัยกลางนาข้าว 4.2 : แสดงที่อยู่อาศัยกลางนาข้าว 4.3 : แสดงวัตถุประสงค์โครงการ 4.4 : แสดงวัตถุประสงค์โครงการ 4.5 : แสดงการเก็บต้นกล้า 4.6 : แสดงการเพราะพันธ์พันธ์ข้าว 4.7 : แสดงเงินเปรียบเทียบ 4.8 : แสดงตัวอย่างอาคาร 4.9 : แสดงภาพระบบโครงสร้าง คสล 4.10 : แสดงภาพระบบโครงสร้างเหล็ก 4.11 : แสดงระบบเสาเข็มเจาะ 4.12 : แสดงภาพโครงสร้างพื้นเหล็ก 4.13 : แสดงภาพโครงสร้างพื้นสาเร็จรูป 4.14 : แสดงภาพระบบโครงสร้างพื้นโพสเทนชั่น 4.15 : แสดงภาพโครงสร้างผนังรับน้าหนัก
04
หน้า
3-1 3-2 3-3 3-4 3-5 3-9 3-10 3-11 3-12 3-13 3-14 3-15 3-19 3-17
02 ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่ ตารางที่
03 หน้า
หน้า
ตารางที่ 3.1 : ตารางการเปรียบเทียบที่ตั้งโครงการ ตารางที่ 3.1 : ตารางการเปรียบเทียบที่ตั้งโครงการ (ต่อ) 2.1 : ตารางกฎหมายอาคาร 2-26 ตารางที่ 3.2 : แสดงการวิเคราะห์และเปรียบเที่ยบทาเลที่ตั้ง 2.1 : ตารางกฎหมายอาคาร (ต่อ) 2-27 2.1 : ตารางกฎหมายอาคาร (ต่อ) 2-28 2.1 : ตารางกฎหมายอาคาร (ต่อ) 2-29 2.2 : ตารางวิเคราะห์ประเภทอาคารตัวอย่าง 2-39 2.2 : ตารางวิเคราะห์ประเภทอาคารตัวอย่าง (ต่อ) 2-40
3-6 3-7 3-8
04
หน้า
ตารางที่ 4.1 : แสดงโครงสร้างการบริหารโครงการ ตารางที่ 4.2 : แสดงการวิเคราะห์อัตรากาลังเจ้าหน้าที่ ตารางที่ 4.3 : แสดงการวิเคราะห์โปรแกรม
4-5 4-8 4-11
PROGAMMING หน้า 4-0 4-1 4-2 4-3 4-8 4-9 4-14 4-15 4-16 4-16 4-17 4-18 4-18 4-18 4-19
ภาพที่ 4.16 : แสดงภาพโครงสร้างผนังกระจก ภาพที่ 4.17 : แสดงภาพโครงสร้างผนังก่ออิฐฉาบปูน ภาพที่ 4.18 : แสดงภาพการทางานของเครื่องปรับอากาศ ระบบชิลเลอร์ ภาพที่ 4.19 : แสดงภาพการทางานของระบบไฟฟ้า ภาพที่ 4.20 : แสดงภาพการทางานของระบบไฟฟ้า ภาพที่ 4.21 : แสดงภาพระบบป้องกันอัคคีภัย ภาพที่ 4.22 : แสดงภาพระบบสุขาภิบาล
หน้า
4-19 4-19 4-20 4-21 4-21 4-21 4-22 4-23
จ
RICE OF LIFE
ENVIRONMENTAL PROBLEM S 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญ
ประเทศไทยเป็นประเทศผู้ผลิตข้าวเป็นอันดับ ต้นๆ ของโลกด้วยลักษณะภูมิประเทศของประเทศไทย นั้นเหมาะสมเป็นอย่างยิ่งในการประกอบอาชีพ เกษตรกรรมโดยเฉพาะการทานาข้าว แต่ด้วยการ เปลี่ยนแปลงของโลก ทรัพยากรธรรมชาติที่ถูกทาลาย ลงไปเป็นอย่างมาก นามาสู่การเสียสมดุล ปัญหา ราคาผลผลิตที่ตกต่ากลับยิ่งตอกย้าว่า บัดนี้ การทา นาข้าว มิใช่อาชีพที่เป็นทางเลือกที่เหมาะสมกับทุกๆ คน ทุกๆ พื้นที่เสมอไป
จังหวัดปทุมธานีเป็นพื้นที่เกษตรกรรมสาคัญ แห่งหนึ่งของประเทศ โดยมีพื้นที่การเกษตร 506,678 ไร่ หรือร้อยละ 53.03 ของพื้นที่จังหวัด ในปัจจุบัน พื้นที่การเกษตรมีอยู่ในทุกอาเภอและมีมากที่สุดในเขต อาเภอหนองเสือ อาเภอลาลูกกา อาเภอลาดหลุมแก้ว และอาเภอคลองหลวงตามลาดับ โดยพื้นที่ของจังหวัด จะมีการทาการเกษตร ส่วนใหญ่เป็นที่นาข้าว ไม้ผล และไม้ยืนต้น ตามลาดับ จังหวัดปทุมธานีมีอัตราการขยายตัวทาง เศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว ในปี พ.ศ. 2543 ประชากรมี รายได้เฉลี่ยต่อคน 2,064,288 บาทต่อปี นับว่าสูง เป็นอันดับที่ 6 ของประเทศ รองจากจังหวัดระยอง ชลบุรี กรุงเทพมหานคร สมุทรสาคร และจังหวัดภูเก็ต โดยพื้นที่เขตอาเภอคลองหลวงมีจานวนโรงงาน อุตสาหกรรมหนาแน่นมากที่สุด รองลงมาคืออาเภอ เมืองปทุมธานี อาเภอลาลูกกา อาเภอธัญบุรี อาเภอ ลาดหลุมแก้ว และ อาเภอสามโคก ส่วนพื้นที่ที่มีโรงงาน น้อยที่สุดได้แก่ อาเภอหนองเสือ ปัจจุบันพื้นที่ของจังหวัดปทุมธานีแบ่งออกเป็น -พื้นที่เกษตรกรรมรกร้าง 40% -พื้นที่เกษตรกรรม 30% -พื้นที่ชุมชนและแหล่งงานอีก 30% (ที่มา:สานักงานเกษตรจังหวัดปทุมธานี) 1-1
ภาพที่ 1 : ปัญหาของสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อมนุษย์ ที่มาของภาพ : https://www.google.co.th/search?q=ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ด้านอุตสาหกรรมของจังหวัดปทุมธานี นับ ได้ว่ามีศักยภาพค่อนข้างสูง เนื่องจาก มีการขยายตัว จากโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดใกล้เคียงมาลงทุน และอุตสาหกรรมเองมีการ ขยายตัวตามความ ต้องการสินค้าของตลาดโลกและตลาดในประเทศ จังหวัดปทุมธานีเป็นสังคมเกษตรกรรม แต่ นโยบายของรัฐบาลที่ต้องการพัฒนาพื้นที่ของจังหวัด กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการกระจายแหล่ง งานและอุตสาหกรรมซึ่งเป็นที่มาหลักที่พื้นที่ เกษตรกรรมโดนลุกล้า
แผนพัฒนาจังหวัดปทุมธานี ในปี พ.ศ.2558-2561 ได้กาหนดวิสยั ทัศน์ เพือ่ กาหนด ทิศ ทางการพัฒนา “ ปทุมธานีเป็นเมืองสิ่งแวดล้อม สะอาด อาหารปลอดภัย แหล่งท่องเทีย่ ว เรียนรู้ และ พักผ่อนหย่อนใจของอาเซียนสังคมอยูเ่ ย็นเป็นสุข ” โดยมีเป้าประสงค์คือ การเป็นเมืองที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม เป็นแหล่งที่ผลิตอาหารปลอดภัย และมี แหล่งท่องเที่ยว ที่เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ รวมทั้ง ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น โดยมีหน่วยงานที่ รับผิดชอบที่สาคัญ คือ สานักงานเกษตรและสหกรณ์ จังหวัด ปทุมธานี สานักงานเกษตรจังหวัดปทุมธานี นอกจากแผนพัฒนาแล้วยังมีนโยบาย เพือ่ สนับสนุน ทางการพัฒนา “การเสริมสร้างความ เข้มแข็ง ระบบเกษตรปลอดภัยอย่างครบวงจร” จึงมี แนวนโยบายส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตสินค้าเกษตร ปลอดสารพิษอย่างครบวงจร ไม่ว่าจะเป็นสินค้า เกษตรประเภทพืชผัก ปศุสัตว์ และสัตว์น้าจืด เพื่อส่ง ต่อให้กับผู้บริโภค ได้บริโภคสินค้าเกษตรที่ปลอด สารพิษดีต่อสุขภาพ ดังนัน้ ควรมีศนู ย์การเรียนรูข้ า้ ว และชาวนาไทย เพือ่ ศึกษาและให้ความรูด ้ า้ นวิธชี วี ต ิ ของเกษตรกรและการทาเกษตรกรรมปลอดภัยอย่าง ถูกวิธี (ที่มา:กรมการข้าว)
PATHUMTHANI MODEL 1-2
1.4 ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการศึกษา โครงการ 1.4.1 ประเด็นปัญหาและเหตุผลที่ทาให้เกิดโครงการ พื้นที่ทางการเกษตรที่ลดลง จากการขยายตัว ของอุตสาหกรรม วิธีชีวิตชาวนาที่จางหายไป จากการใช้ชีวิตตาม ยุคสมัยต่างๆ
ภาพที่ 2 : แสดงวิธีชีวิตชาวนาไทย ที่มาของภาพ : https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/616159
1.4.2 การศึกษาข้อมูลเบื้องต้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กรมการข้าวและกรมเกษตร และสหกรณ์ ปัญหาการขยายตัวของตัวเมืองและอุตสาหกรรม
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1.3 ขอบเขตการศึกษาโครงการ
1.4.3 ข้อมูลพื้นที่ บริบท สังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ
1.2.1 เพื่อศึกษาแนวคิดในการออกแบบ สถาปัตยกรรมที่เกี่ยวข้องกับ การเกษตร
1.3.1 ศึกษาข้อมูลทางเอกสาร นโยบายละแผน ยุทศศาสตร์แนวทางการพัฒนาและ ส่งเสริมที่เกี่ยวข้อง
1.2.2 เพื่อศึกษาวิถีชีวิตการทานาข้าวของ จังหวัดปทุมธานี ที่กาลังเปลี่ยนแปลง ไปตามยุคสมัย
1.3.2 ศึกษาพื้นที่ในการปลูกข้าวเกษตรอินทรีย์ และการแปรรูป การใช้ space ที่ เหมาะสมในพื้นที่จากัด
1.2.3 เพื่อศึกษาภูมิปัญญาของชาวนาหรือ เกษตรกรไทย จากอดีตจนถึงปัจจุบัน
1.3.3 ศึกษาเพราะปลูกข้าวเกษตรอินทรีย์ ภายในอาคารเพื่อใช้ในการศึกษาไม่ได้ เผื่อการแปรรูป
1.4.5 การสังเคราะห์ข้อมูล นโยบายที่ใช้รองรับ ที่ตั้งความเหมาะสม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง แนวคิดการออกแบบ กลุ่มเป้าหมายและจานวน องค์ประกอบหลักองค์ประกอบรวม งานระบบ เทคนิค บริการ
1.2.4 เพื่อศึกษาองค์ประกอบของโครงการ ประเภทศูนย์การเรียนรู้
1-3
1.3.4 ศึกษาพื้นที่ศึกษาภูมิปัญญาของชาวนา หรือ เกษตรกรไทยจากอดีตจนถึง ปัจจุบัน
1.4.6 สร้างทางเลือกในการออกแบบ 1.4.7 การออกแบบในรูปแบบหุ่นจาลอง
1.5 ประโยชน์ทค ี่ าดว่าจะได้รับ 1.5.1 เกิดความรู้ความเข้าใจแนวคิดในการออกแบบ สถาปัตยกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร 1.5.2 เกิดความรู้ความเข้าใจวิถีชีวิตการทานาข้าวของ จังหวัดปทุมธานี ที่กาลังเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย 1.5.3 ได้รับความรู้ภูมิปัญญาของชาวนาหรือเกษตรกรไทย จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ภาพที่ 3 : แสดงการทานาดั้งเดิม ที่มาของภาพ : https://www.google.co.th/search?q=การทานาโบราญ
1.5.4 ได้รับความรู้ศึกษาองค์ประกอบของโครงการ ประเภทศูนย์การเรียนรู้ 1-4
PRINCIPLE THEORY
2.1 ความหมาย ศูนย์
หมายถึง ว. จุดกลางใจกลาง แหล่งกลาง แหล่งรวม เช่น ศูนย์ วัฒนธรรม ศูนย์หนังสือศูนย์รวมข่าว
การเรียนรู้ หมายถึง ก. เข้าใจความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยประสบการณ์ ข้าว
หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Poaceae เมล็ด ใช้เป็นอาหาร ชนิดที่ให้เมล็ดเป็นอาหารหลักของไทย คือ Oryza sativa L.
วิธีชีวิต
หมายถึง น. ทางดาเนินชีวิต เช่น วิถีชีวิตชาวบ้าน
ชาวนา
หมายถึง ชาวไร่ชาวนา,กสิกร,เกษตรกร
ไทย
หมายถึง ชื่อประเทศและชนชาติหนึ่งอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มี พรมแดนติดต่อกับประเทศลาว เขมร มาเลเซีย และพม่า, ชนเชื้อชาติไทยมีอยู่หลายสาขา
THAI FARMERS RICE LEARNING CENTER
ภาพที่ 2.1 แสดงวิธีเก็บเกี่ยวต้นกล้า ที่มาของภาพ : https://www.google.co.th/search?q=เก+ษ+ร+ต+กร
หมายถึง [n. adj.] ของไทย, คนไทย, ภาษาไทย หมายถึง [N] ชาวนา หมายถึง [N] ต้นข้าว เมล็ดข้าว หมายถึง [N] การเรียนรู้ หมายถึง [n. adj. vt. vi.] จุดกลางใจกลาง แหล่งกลาง แหล่งรวม
ที่มาข้อมูล : พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน
2-1
ภาพที่ 2.2 แสดงลักษณะโครงการ ที่มา :จากการวิเคราะห์ ,สุภารัตน์ โฉมปราชญ์
2.1.1 คาจากัดความ ศูนย์การเรียนรู้ข้าวและวิธีชีวิตชาวนาไทย จ. ปทุมธานี หมายถึงแหล่งเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจการทา นาในยุคสมัยต่างๆ โดยอาศัยความรู้ความสามารถให้ได้มา ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย
2.1.2 ลักษณะโครงการ โครงการศูนย์การเรียนรู้ข้าวและวิธีชีวิตชาวนาไทย จ.ปทุมธานี เป็นโครงการที่การสนับสนุนนโยบายของจัง ปทุมธานี ให้เป็นโครงการต้นแบบข้าวอินทรีย์ ด้านการผลิต เพื่อใช้ในครัวเรือน โดยโครงการจะเป็นพื้นที่ผลิตเกษตรกรที่มี ความรู้ความเชี่ยวชาญ และพื้นที่ศึกษาเรียนรู้
2-2
2.2 ความเป็นมา ปัจจุบนั และอนาคต ของเรื่องทีจ่ ะศึกษา ทุกวันนี้เขตเมืองมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นไม่ใ ช่แค่ เมืองหลวงอย่างกรุงเทพมหานครเท่านั้นจังหวัดอื่นๆ โดยเฉพาะในเขตปริมณฑลอย่างปทุมธานีเขตเมืองก็ ข ย า ย ตั ว เ พิ่ ม ขึ้ น เ ช่ น กั น ปั จ จุ บั น เ ห ลื อ พื้ น ที่ เกษตรกรรมเพี ย ง 30% ของพื้ น ที่ ทั้ ง จั ง หวั ด ปั ญ ห า ขอ งเมื่ อ เข ตเมื อ งข ยา ย ตั ว ไ ปทั บ พื้ น ที่ การเกษตร ระบบนิเวศจะมีการเปลี่ยนแปลง จากเดิม น้าจะไหลผ่านไปตามร่องสวน ถ้าน้าไหลเร็วและแรงจะ เป็นการเติมออกซิเจนในน้า น้าก็จะไม่เสีย แต่ปัจจุบัน มีหมู่บ้านจัดสรรขวางทางน้าทาให้น้าเน่าเสีย แหล่ง น้าหายไปหรือการเกิดปัญหาน้าเน่าเสียจากโรงงาน อุ ต สาหกรรมและขยะจากชุ ม ชนเมื อ ง “ในเรื่ อ ง สิ่งแวดล้อมทุกอย่างมันเชื่อมโยงกัน มันถึงเวลาแล้ว ที่ เ ราต้ อ งหั น มาสนใจสิ่ งแวดล้ อ ม แต่ คนส่ ว นใหญ่ ตอนนี้ก็ไม่” เดิ ม จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี เ ป็ น สั ง คมเกษตรกรรมแต่ น โ ย บ า ย ข อ ง รั ฐ บ า ล ที่ ต้ อ ง ก า ร พั ฒ น า พื้ น ที่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑลโดยการกระจายแหล่ง งา นแ ละอุ ต สา ห กรรม ซึ่ ง เป็ นที่ ม า หลั ก ที่ พื้ น ที่ เ ก ษ ต ร ก ร ร ม โ ด น ลุ ก ล้ า ปั ญ ห า นี้ ว่ า พื้ น ที่ การเกษตรและการท าเกษตรนั้ น มี ป ริ ม าณลดลง เรื่อยๆ ซึ่งปัจจุบันเกษตรกรหันไปประกอบอาชีพอื่น มากขึ้นรวมไปถึงขายที่ดินทิ้ง เพราะผลตอบแทนจาก การเกษตรไม่คุ้มทุน ผลผลิตมีราคาตกต่า มีการใช้ สารเคมีเร่งผลผลิตจนดิน
เสียน้าเสียไม่สามารถทาการเกษตรได้สิ่งที่เราควรทา คือการพัฒนาที่ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ ถึงเวลาแล้ว ที่เราทุกคนควรหันไปให้ความสาคัญกับการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมบ้าง ในปัจจุบันมี จังหวัดปทุมธานีเป็นแหล่งอุตสาหกรรม เป็นสถานที่ รองรั บการขยายตั วของเมื อ งที่ก าลั งเติ บ โต และมี พื้นที่ทางการเกษตรที่หลายหลายไม่ว่าจะเป็นนาข้าว สวนผลไม้ต่า งๆ แต่เ มื่อ มีการจัด ตั้งศู นย์วิ จัยข้ าวที่ ตั้งอยู่ในบริบท ทาหน้าที่เพียงแค่วิจัยพันธ์ข้าวเพื่อให้ เกษตรกรได้เ มล็ ดพัน ธ์ที่ แข็งแรง ทนทาน และให้ผ ล ผลิ ต ที่ ม า ก แต่ ไ ม่ มี ก ารให้ ค วามรู้ ที่ ถู ก ต้ อ งกั บ เกษตรกร หรื อ ผู้ ที่ ส นใจ เป็ น ปั จ จั ย ที่ เ ห็ น ว่ า ไม่ เหมาะสม จึงเป็นประเด็นให้เกิดคาถามว่า เราสามารถ มีกระบวนการการออกแบบอย่างไร ที่จะสร้างสรรค์ พื้นที่ให้ความรู้ทางเกษตรกรรม สามารถพัฒนาและ เรียนรู้ทรัพยากรการเกษตร ให้ยั่งยืนได้อย่างไร โครงการศึกษาศูนย์การเรียนรู้ข้าวและวิธีชีวิต ชาวนาไทย จึงเป็นทางเลือกหนึ่ง ที่จะมีกระบวนการ การออกแบบสร้ า งสรรค์ พื้ น ที่ ให้ ความรู้ ท างการ เกษตร ให้ ส ามารถพั ฒ นาและเรี ย นรู้ ท รั พ ยากร การเกษตร โดยการออกแบบจะมี รู ปแบบวิ ธี ก ารที่ ม อ ง ถึ ง ค ว า ม ส า พั น ธ์ ที่ ส อ ด ค ล้ อ ง ร ะ ห ว่ า ง สถาปัตยกรรมกับธรรมชาติ เป็นแนวคิดหลักและเพื่อ เป็นการอยู่รวมกันอย่างสมดุลและยั่งยืนต่อไป ที่มาข้อมูล : หนังสือพิมพ์รังสิตฉบับที่ 64 ประจาวันที่ 30 สิงหาคม - 5 กันยายน 2555 หน้า 9
ภาพที่ 2.3 แสดงวิธีฟัดข้าวเพื่อเก็บเกี่ยวเมล็ดข้าว ที่มาของภาพ :https://sites.google.com/site/wathnthrrmkarleiynglukkhnxisan/
2-3
ORGANIC RICE คืออะไร ?
ข้า วอิ น ทรี ย์ เ ป็ น ข้า วที่ ไ ด้ จ ากการผลิ ต แบบเกษตร อินทรีย์ซึ่งเป็นวิธีการผลิตที่ไม่ใ ช้สารเคมีทุกชนิดหรือสาร สั งเคราะห์ ต่ า ง ๆและปุ๋ ย เคมี ใ นทุ ก ขั้ น ตอนการผลิ ต โดย เกษตรกรสามารถใช้วัสดุจากธรรมชาติ และสารสกัดต่าง ๆ จากพืชที่ ไม่ มีส ารพิ ษตกค้ างในผลผลิ ตและสิ่งแวดล้อ ม ทาให้ผลิตผลข้าวมีคุณภาพดี ข้า วอิน ทรี ย์ เป็ นผลผลิ ต ที่ม าจากการผลิ ตแบบอิน ทรี ย์ เป็นการผลิต ที่หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีทุกชนิด หรือสาร สังเคราะห์ต่างๆ รวมไปถึงปุ๋ยเคมี และยาปราบศัตรูพืช ใน ทุกขั้นตอนการผลิตเน้นการใช้สารอินทรีย์ จากธรรมชาติ การเตรี ย มการเริ่ มจากการเตรี ย มพื้ นที่ ต้ องหาโซนการ ผลิต ที่มีน้าฝนอุดมสมบูรณ์ มีการใช้สารเคมี และยาปราบ ศัตรู พืชน้ อยมากมาก่ อน การเตรีย มดิน ทุก ฤดู การผลิ ต ต้องใช้ปุ๋ยจากธรรมชาติ สภาพแวดล้อมของพื้นที่ และพื้นที่ ข้างเคียงต้องปลอดจากสารเคมีด้วย หากมีความจาเป็นใน การปราบศั ต รู พื ช ต้ อ งเป็ น สารอิ น ทรี ย์ ที่ อ ยู่ ใ นบั ญ ชี รายชื่อสารรับอนุญาต ทั้งนี้ต้องไม่มีสารปนเปื้อนตกค้างใน ผลผลิต ในดิน น้า ปัจจุบัน พื้นที่ปลูก
หากเป็นพื้นที่ใช้สารเคมีมาก่อนควรตรวจ วิเคราะห์สารพิษตกค้างในดิน พันธุข์ ้าว มีคุณภาพดีเช่นพันธุ์ข้าวดอกมะลิ 105 ที่ ทนทานต่อสภาพแวดล้อม เมล็ดพันธุ์ ได้จากการปลูกโดยวิธีเกษตรอินทรีย์ ไม่คลุก เมล็ดด้วยสารเคมี การเตรียมดิน ไถดะไถแปร ตากแดดไม่ใช้สารควบคุม วัชพืช วิธป ี ลูก ควรพิจารณาสภาพพื้นที่และการใช้อัตรา เมล็ดพันธุ์ที่เหมาะสม การจัดการดิน ไม่เผาฟางข้าวและตอซังควรไถกลบเพื่อ ปรับปรุงบารุงดินควรใช้ปุ๋ยอินทรีย์ การจัดการน้้า ตามระยะเวลาเจริญเติบโตของต้นข้าว การควบคุมวัชพืช โดยการเตรียมดินอย่างดี ที่มาข้อมูล : http://www.lovefarmer.org/?p=1701
2-4
ภาพที่ 2.4 : แสดงเมล็ดข้าวสังข์หยด ที่มา : https://www.thairicedb.com/rice-detail.php?id=19
หลักการผลิตข้าวอินทรีย์ การผลิ ต ข้ า วมาตรฐานอิ น ทรี ย์ ห รื อ ข้ า ว อินทรีย์เต็มรูปแบบ โดยสามารถจาแนกลาดับขั้น ผลิตผลในระดับต่างๆ กัน ดังนี้
01
ข้าวปลอดสารพิษ
ข้า วปลอดสารพิ ษ หมายถึ งข้ า วที่ ไ ม่ มี การใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืช และวัชพืช ซึ่งถือว่า เป็นข้าวฤดูแรกที่มีเริ่มไม่ใ ช้สารเคมีใ นขั้นตอนการ ผลิ ต โดยเมื่ อ น าไปตรวจสอบยั ง พบปริ ม าณ สารเคมีในผลผลิตข้าว เนื่องจากยังคงมีปริมาณ สารเคมีสะสมในสภาพแวดล้อมโดยเฉพาะในดินและ น้าที่ใช้ปลูกข้าว
02
ข้าวปฐมอินทรีย์
03
ข้าวอินทรีย์ปรับเปลี่ยน
04
ข้าวมาตรฐานอินทรีย์
ข้าวปฐมอินทรีย์ หมายถึงข้าวที่ได้จาก แปลงข้ า วที่ เ ริ่ ม ผลิ ต ข้ า วอิ น ทรี ย์ โดยมี ก ารท า การเกษตรอินทรีย์เป็นบางส่วน นับเป็นข้าวในฤดู การผลิตต่อๆมา โดยปริมาณสารเคมีสะสมในดิน และน้าจะเริ่มลดลง
ข้าวอินทรีย์ปรับเปลี่ยน หมายถึง ข้าว จากแปลงข้าวเริ่มปลูกข้าวอินทรีย์ทั้งแปลงเป็น ปี แ ร ก แ ล ะ ยั ง ไ ม่ ผ่ า น ก า ร ต ร ว จ ส อ บ จ า ก คณะกรรมการจากลุ่ ม ผู้ บ ริ โ ภคซึ่ ง แต่ ง ตั้ ง โดย สานักงานมาตรฐานอินทรีย์
ภาพที่ 2.5 แสดงเมล็ดข้าวหอมนิล ที่มา : https://www.thairicedb.com/rice-detail.php?id=19
ข้าวมาตรฐานอินทรีย์หรือข้าวอินทรีย์ เต็ ม รู ป แบบหมายถึ ง ข้ า วอิ น ทรี ย์ ที่ ไ ด้ รั บ การ ตรวจสอบรั บ รองจากคณะกรรมการจากลุ่ ม ผู้ บ ริ โ ภคซึ่ ง แต่ ง ตั้ ง โดยส านั ก งา นมา ตรฐา น อิ น ทรี ย์ แ ล้ ว ว่ า ผลผลิ ต ไม่ มี ก ารปนเปื้ อ นของ สารเคมี ที่มาข้อมูล : https://positioningmag.com/34730
2-5
ประโยชน์ของการผลิตข้าวอินทรีย์ ช่ ว ยลดต้ น ทุ น การผลิ ต และเพิ่ ม ผลผลิ ต มากขึ้ น เพราะการให้ ปุ๋ ย จุ ลิ น ทรี ย์ จะท าได้ ผ ลผลิ ต 800 กิโลกรัมต่อไร่ โดยต้นทุนในการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ เพียง แค่ประมาณ 200 บาท ต่อไร่ โดยอาจจะต้องใช้ปุ๋ย อิ น ทรี ย์ ม ากในตอนแรก แต่ จ ะค่ อ ย ๆ ลดลงเมื่ อ สภาพดินดีแล้ว ในขณะที่การใช้ปุ๋ยเคมีจะได้ผลผลิต ประมาณ 400 กิโลกรัมต่อไร่ โดยต้นทุนการผลิ ต ประมาณ 400 บาท ต่อไร่ และต้องเพิ่มปริมาณปุ๋ย ให้มากขึ้นในทุก ๆ ปี ได้ส ภาพแวดล้อมที่สมบูรณ์ กลับ คืนมา ดิ นร่ว นซุ ย รากข้าวชอนไชหาอาหารง่าย กบ กุ้ง ปลา ชุกชุม มีสุขภาพชีวิตที่ดี มีอาหารปลอดสารพิษไว้บริโภค
ภาพที่ 2.6 แสดงการเก็บต้นกล้า ที่มาของภาพ : https://www.google.co.th/search?q=เก+ษ+ร+ต+กร
2.2.1 เกษตรภูมป ิ ญ ั ญา หรือข้าวอินทรีย์ ความหมายข้าวอินทรีย์ ข้าวอินทรีย์ คือ ข้าวที่ได้จากการผลิตภายใต้ระบบการ ผลิตข้าวอินทรีย์ซึ่งมีการจัดการการผลิตข้าวที่เกื้อกูลต่อระบบ นิเวศรวมถึงความหลากหลายทางชีวภาพ เน้นใช้วัสดุธรรมชาติ ไม่ใช้วัตถุดิบสังเคราะห์และมีการจัดการกับผลิตภัณฑ์โดยเน้นการ แปรรูปด้วยความระมัดระวังเพื่อรักษาสภาพการเป็นข้าวอินทรีย์ และคุณภาพที่สาคัญของผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์
การผลิตข้าวอินทรีย์ การผลิตข้าวอินทรีย์มาตรฐานสากล มีกระบวนการผลิต การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตภัณฑ์อินทรีย์ และห้าม ใช้ สิ่ งมีชี วิ ต ดัด แปรพั น ธุ์ หรื อ ผลิต ภั ณ ฑ์ที่ ไ ด้ จากสิ่ งมี ชี วิ ตดั ด แปร พั น ธุ์ ใ นกระบวนการผลิ ต และแปรรู ป ข้ า วอิ น ทรี ย์ ซึ่ ง ผู้ ผ ลิ ต และ ผู้ป ระกอบการต้ อ งปฏิ บัติ ตามเพื่อ ให้ไ ด้ รับ การรั บรอง มี ขั้น ตอน การปฏิบัติเป็นลาดับขั้น ที่มาข้อมูล : https://www.thairicedb.com/rice.php?cid=3
2-6
RICE
2.2.2. มาตรฐานข้าวอินทรีย์
ภาพที่ 2.7 แสดงเมล็ดข้าวเปลือก ที่มา : https://www.google.co.th/search?q=ข้าว+ไทย ภาพที่ 2.8 แสดงเมล็ดข้าวสาร ที่มา : https://www.google.co.th/search?q=ข้าว+เจ๊ก+ไท+เสาไห้
- พื้นที่ก ารผลิตที่ ต้องการขอรั บรองมาตรฐานข้า วอิน ทรีย์ ต้อ ง ผ่า น “ระยะปรั บเปลี่ ยน” ซึ่ งระยะปรั บเปลี่ ยนแต่ ล ะมาตรฐานจะ แตกต่างกัน - แหล่ง น้าควรมีม าตรฐานการอนุ รักษ์น้ าที่ใ ช้ใ นแปลงนา น้ าที่ใ ช้ ปลู ก ต้ อ งได้ จ ากแหล่ ง ที่ ไ ม่ มี ส ภาพแวดล้ อ มซึ่ ง ก่ อ ให้ เ กิ ด การ ปนเปื้อนวัตถุอันตราย - การจัดการดินปุ๋ย ต้ องรักษาหรือเพิ่มระดับความอุ ดมสมบูร ณ์ ของดิน และกิ จกรรมทางชี ว ภาพที่เ ป็ นประโยชน์ใ นดิน ปลู ก พื ช ตระกูลถั่ว ใช้ปุ๋ยพืชสด ใช้พืชรากลึกในการปลูกหมุนเวียน - การจัดการคุณภาพในกระบวนการผลิตก่อนการเก็บเกี่ยว - การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว - การบันทึก และจัดเก็บข้อมูล (แหล่งผลิต)ต้องมีการบันทึกข้อมูล เกี่ยวกับ แหล่งที่มาของเมล็ดพันธุ์ แหล่งน้าใช้ การเตรียมการจัด ต้ น ของข้ า วพั น ธุ์ อื่ น ปน การส ารวจและการเข้ า ท าลายของ ศัตรูพืชและการจัดการการใช้วัตถุอันตรายทางการเกษตร - การนวดข้าว การสีแปรสภาพข้าว - การบรรจุหีบห่อ - การบันทึก และจัดเก็บข้อมูล (แหล่งคัดบรรจุ/แหล่งแปรรูป ) ต้อง มีการระบุข้อมูลให้สามารถตรวจสอบแหล่งที่มาการซื้อขาย การ แปรรูป และการคัดบรรจุของผลิตผลได้ ที่มาข้อมูล: https://www.thairicedb.com/standard-detail.php?id=9
2-7
2.2.3. อนาคตของเรือ่ งทีจ่ ะศึกษา การแก้ไขพื้นที่ทางการเกษตร การรวบรวมพื้นที่ทางการเกษตร โดยใช้มาตรการ การอนุ รั ก ษ์ พื้ น ที่ สี เ ขี ย วของจั ง หวั ด เพื่ อ คงพื้ น ที่ ท าง การเกษตรให้ยังคงอยู่และใช้ประโยชน์ สูงสุด เพื่อไม่ให้เสี ย สมดุลทั้งพื้นที่อยู่อาศัย พื้นที่อุตสาหกรรมและพื้นที่สีเขียว และสามารถเป็นพื้นที่เรียนรู้วิธีชีวิตชาวนาดั้งเดิมและการทา นา ให้แก่ผู้สนใจ การศึกษากลุ่มเป้าหมายโครงการ โดยศึกษากิจกรรมหลัก กิจกรรมผู้ใช้โครงการและ กิจกรรมชั่วคราว ที่จ ะเกิ ดขึ้ นภายในโครงการและรูป แบบ ของกิจกรรม
ภาพที่ 2.9 : แสดงเล็ดข้าวพันธ์ต่างๆ ที่มา : https://www.smartsme.co.th/content/64784
2-8
เทคโนโลยีที่จะมาใช้ในอาคาร การนาเอาเทคโนโลยีต่างๆมาใช้ภายในอาคารจึงมี ความจ าเป็ น ต้อ งศึก ษาขั้ น ตอนการท างานของระบบและ ความสามารถของระบบต่างๆขึ้นมาใช้ในโครงการเพื่อให้ได้ มาตรฐานและประโยชน์สูงสุด
ภาพที่ 2.10 แสดงเครื่องสีข้าวโบราญ ที่มา : https://www.google.co.th/search?hl=th&biw=1920&bih
ภาพที่ 2.11 แสดงการเก็บเกี่ยวสมัยใหม่ ที่มา : https://www.google.co.th/search?hl=th&biw=1920&bih=925&tbm
2-9
2.2.4 ตลาดข้าวอินทรีย์ไทย เทรนผู้ บริ โ ภคยุ คใหม่ ใ ส่ใ จสุข ภาพส่ งผลตลาดข้ าวอิ นทรี ย์ เติ บ โตโดดเด่ น 20% ต่ อ เนื่ อ ง 5 ปี รั ฐ บาลส่ ง นโยบาย สนับสนุนเงินกู้ – โควตาส่งออก ข้าวมาบุญครองวางหมาก “ข้าวอินทรีย์” สินค้าดาวเด่นในประเทศ – ส่งออก “แนวโน้มความต้องการสินค้าประเภทอินทรีย์หรือสินค้า ออร์ แกนิ ค ทั้ งในและต่ า งประเทศยั ง คงขยายตั ว อย่ า งโดดเด่ น เนื่องจากไลฟ์สไตล์คนรุ่นใหม่ยังมองหาสินค้าเพื่อสุขภาพและ ยอมจ่ า ยเงิ น มากกว่ า เพื่ อ สิ น ค้ า ที่ มี คุณภาพและตอบโจทย์ เรื่อ งสุ ขภาพที่ มากกว่ าเดิม ตลาดเกษตรอิน ทรี ย์มีแ นวโน้ ม การเติบ โตต่อเนื่ องตลอด 5 ปีที่ ผ่านมา ซึ่งสินค้า กลุ่มข้า ว เป็น สินค้ ากลุ่มหลัก ในตลาดเกษตรอิน ทรีย์ โดยข้ าวปลอด สารพิ ษ และข้ า วอิ น ทรี ย์ มี ก ารเติ บ โตที่ โ ดดเด่ น กว่ า 20% กรมการข้ า วได้ มี น โยบายในการสนั บ สนุ น การผลิ ต ข้ า ว อิ น ทรี ย์ โดยกระตุ้ น ให้ เ กิ ด การเชื่ อ มโยงตลาดสิ น ค้ า ข้ า ว อินทรีย์และข้าว GAP (Good Agricultural Practice) หรือการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสาหรับพืช ที่มุ่ งให้เ กิ ดกระบวนการผลิ ตที่ ไ ด้ ผลิ ต ผลปลอดภั ย ปลอด จากศั ต รู พื ช และคุ ณ ภาพเป็ น ที่ พึ งพอใจของผู้ บ ริ โ ภค โดย ปัจจุบันข้าวมาบุญครองมีสินค้ากลุ่มข้าวอินทรีย์เพื่อรองรับ ตลาดจ านวน 3 ผลิต ภั ณฑ์ ได้ แ ก่ ข้ า วไรซ์เ บอร์ รี่ อิน ทรี ย์ ข้าวหอมมะลิอินทรีย์ ที่มาข้อมูล : https://www.brandbuffet.in.th/2017/08/mbklauch-premium-rice-to-market/
2-10
และข้ า วกล้ อ งหอมมะลิ อิ น ทรี ย์ และได้ รั บ การรั บ รอ ง มา ต ร ฐ า น สู ง สุ ดคุ ณ ภ า พ ข้ า ว อิ น ทรี ย์ ข อ งป ร ะ เ ท ศ สหรัฐอเมริกาและ USDA และจาก EU ซึ่งเป็นมาตรฐาน ระดับ สากล ซึ่งการัน ตีว่าผลิตภัณ ฑ์มีความพิ ถีพิถัน ตั้งแต่ ขั้ น ตอนการปลู ก จนถึ ง มื อ ผู้ บ ริ โ ภค ไม่ มี ก รวดหิ น และ สิ่งเจือปน คุณภาพการหุงต้ม ข้าวสุกนุ่ม อร่อย หุงไม่แฉะ ใช้เทคโนโลยีการบรรจุแบบสูญญากาศเพื่อคงคุณภาพข้าว ป้องกัน มอด แมลง และกลิ่นเหม็นหืน ซึ่งผู้บริโภคมั่นใจใน ความปลอดภัยอย่างแน่นอน “ข้าวอินทรีย์เป็นสินค้าที่มีโอกาสทางการตลาดสูง ซึ่งข้าว มาบุญครองให้ความสาคัญและจะกลายเป็นสินค้าดาวเด่นใน อนาคตทัดเทียมกับตลาดข้าวหอมมะลิ ทั้งตลาดในประเทศที่ ขยายตั วจากความต้องการในของคนไทยที่เข้า ใจและใส่ใ จ เรื่องสุขภาพมากขึ้น เช่นเดียวกับตลาดต่า งประเทศที่ยังมี ความต้ อ งการสั่ ง ซื้ อ สู ง ซึ่ ง สวนทางกั บ ข้ า วอิ น ทรี ย์ ที่ มี มาตรฐานส่งออกที่ยังมีไ ม่มากในตลาด นอกจากนี้ใ นส่ว น ของร้านอาหารสุกี้ยากี้นัมเบอร์วัน และร้านอาหารญี่ปุ่นฮินะ ยังมีแผนที่จะเพิ่มเมนูอาหารจากกลุ่มข้าวอินทรีย์ของข้าวมา บุญครองในร้านมากขึ้น เพื่อให้บริการลูกค้ารุ่นใหม่ที่ใ ส่ใ จ เรื่องความปลอดภัยมากขึ้นอีกด้วย” ภาพที่ 2.12 แสดงผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ปทุม ที่มา : https://www.google.co.th/search?biw=ผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ ปทุม&oq=ผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรียป์ ทุม
“ข้าว คือ ชีวิตของชาวนาชาวไร่ ” ข้าว ที่มีพอกินได้ตลอดปี หมายถึงความมัน่ คงและมั่งคัง่ ของชาวนา ชาวไร่ ปีไหนข้าวปลาอุดมสมบูรณ์หมายถึงปีนนั้ ชาวนาชาวไร่ได้มกี ิน มี ใช้ และมีแบ่งปัน ปีไหนข้าวไม่พอกิน หมายถึงปีนนั้ ลาบากยากยิ่ง
ภาพที่ 2.13 แสดงเมล็ดข้าวเปลือก ที่มา : https://www.gotoknow.org/posts/200665
2-11
2.3 หลักการและทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้อง 2.3.1 ศึกษาและแบ่งประเภทข้าว ข้าว เป็นเมล็ดของพืชในสกุลข้าวที่พบมากในเอเชีย ชื่อ วิท ยาศาสตร์ : Oryza sativa ข้ า วเป็ นธั ญ พืช ซึ่ ง ประชากรโลกบริโภคเป็นอาหารสาคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในทวีปเอเชีย จากข้อมูลเมื่อปี 2553 ข้าวเป็นธัญพืชซึ่งมี การปลู ก มากที่ สุ ด เป็ น อั น ดั บ สามทั่ ว โลกข้ า วเป็ น ธั ญ พื ช ส าคั ญ ที่ สุ ด ในด้ า นโภชนาการและการได้ รับ แคลอรี ข อง มนุษย์เพราะข้าวโพดส่วนใหญ่ปลูกเพื่อจุดประสงค์อื่น มิใช่ ให้มนุษย์บริโภค
01
พันธุ์ของข้าว Oryza sativa ปลูกทั่วไปทุกประเทศ ข้าว ชนิด Oryza sativa ยังแยกออกได้เป็น - Indica มีปลูกมากในเขตร้อน - Japonica มีปลูกมากในเขตอบอุ่น - Javanica
02
แบ่งตามลักษณะเมล็ด แบ่ ง ออกได้ เ ป็ น 2ประเภทคื อ ข้ า วเจ้ า และ ข้าวเหนียวซึ่งมีลักษณะเหมือนกันเกือบทุกอย่างแต่ ต่างกันตรงที่เนื้อแข็งในเมล็ด - เ ม ล็ ด ข้ า ว เ จ้ า ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย แ ป้ ง อ มิ โ ล ส (Amylose) ประมาณร้อยละ 15-30 - เมล็ดข้าวเหนียวประกอบด้วยแป้งอมิโลเพคติน (Amylopectin) เป็นส่วนใหญ่และมีแป้งอมิโลส (Amylose) ประมาณร้อยละ 5-7
CATEGORY
RICE INFORMATION
03
แบ่งตามการปลูก หากแบ่งตามนิเวศน์การปลูก จะแบ่งได้ 7 ประเภท คือ
- ข้าวนาสวน ข้าวที่ปลูกในนาที่มีน้าขังหรือกักเก็บน้าได้ระดับน้า ลึกไม่เกิน 50 เซนติเมตร ข้าวนาสวนมีปลูกทุกภาคของประเทศ ไทย แบ่ ง ออกเป็ น ข้ า วนาสวนนาน้ าฝน และข้ า วนาสวนนา ชลประทาน - ข้าวนาสวนนาน้าฝน ข้าวที่ปลูกในฤดูนาปี และอาศัยน้าฝนตาม ธรรมชาติ ไม่ ส ามารถควบคุ ม ระดั บ น้ าได้ ทั้ ง นี้ ขึ้ น อยู่ กั บ การ กระจายตัวของฝน ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกข้าวนาน้าฝนประมาณ 70% ของพื้นที่ปลูกข้าวทั้งหมด - ข้ า วนาสวนนาชลประทาน ข้ า วที่ ป ลู ก ได้ ต ลอดทั้ ง ปี ใ นนาที่ สามารถควบคุ ม ระดั บ น้ าได้ โดยอาศั ยน้ าจากการชลประทาน ประเทศไทยมีพื้นที่ป ลูกข้า วนาชลประทาน 24% ของพื้น ที่ปลู ก ข้าวทั้งหมด และพื้นที่ส่วนใหญ่จะอยู่ในภาคกลาง - ข้ า วขึ้ น น้ า ข้ า วที่ ป ลู ก ในนาที่ มี น้ าท่ ว มขั ง ในระหว่ า งการ เจริญเติบโตของข้าว มีระดับน้าลึกตั้งแต่ 1-5 เมตร เป็นเวลาไม่ น้อยกว่า 1 เดือน ลักษณะพิเศษของข้ า วขึ้ น น้ าคื อ มี ค วามสามารถในการยื ด ปล้ อ ง (internode elongation ability) การแตกแขนงและรากที่ข้อเหนือ ผิวดิ น (upper nodal tillering and rooting ability) และการชูรวง (kneeing ability) - ข้าวน้าลึก ข้าวที่ปลูกในพื้นที่น้าลึก ระดับน้าในนามากกว่า 50 เซนติเมตร แต่ไม่เกิน 100 เซนติเมตร - ข้าวไร่ ข้าวที่ปลูกในที่ดอนหรือในสภาพไร่ บริเวณไหล่เขาหรือ พื้นที่ซึ่งไม่มีน้าขัง ไม่มีการทาคันนาเพื่อกักเก็บน้า - ข้ า วนาที่ สู ง ข้ า วที่ ป ลู ก ในนาที่ มี น้ าขั ง บนที่ สู ง ตั้ ง แต่ 700 เมตรเหนื อ ระดั บ น้ าทะเล ขึ้ น ไป พั น ธุ์ ข้ า ว นาที่ สู ง ต้ อ ง มี ความสามารถทนทานอากาศหนาวเย็นได้ดี ที่มาข้อมูล : https://th.wikipedia.org/wiki
2-12
2.3.2 รูปแบบการกระจายสินค้า ข้า วนั บ ว่า เป็น พืช เศรษฐกิ จที่ ส าคั ญ ที่สุ ดของประเทศ ไทย ซึ่งมีการเพาะปลูกข้าวในทุกภูมิภาคของประเทศ เนื่องจาก เป็นสินค้าหลักทั้งในตลาดภายในประเทศและตลาดส่งออก อีก ทั้ ง ประชากรในประเทศไทยบริ โ ภคข้ า วเป็ น อาหารหลั ก นอกจากนี้ ยั ง มี ป ระชากรที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การผลิ ต การ รวบรวม การแปรรู ป การเก็บ รัก ษา การกระจายสิน ค้า และ ระบบการซื้อขายเป็นจ านวนมากที่สุด เมื่อเปรียบเที ยบกับพื ช เกษตรอื่น แม้ว่าข้าวจะสร้างรายได้ให้แก่ประเทศและมีมูลค่าการซื้อ ขายในตลาดเพียงไร ระบบห่วงโซ่ อุปทานและระบบโลจิสติกส์ ข้าวยังคงมีปัญหาที่เกิดขึ้นและเป็น อุปสรรคของการแข่งขันใน ตลาดการค้าดังนั้นการทราบถึงต้นทุนการผลิตในทุกขั้นตอน จึงเป็ นสิ่งจ าเป็น เพื่อ ที่จะท าให้ท ราบสาเหตุ ของปั ญหา ซึ่งจะ นาไปสู่การพัฒนาแนวทางการลดต้นทุนที่ซ้าซ้อน
สภาพระบบโลจิสติกส์และศักยภาพปัจจุบน ั มี ป ระเด็ น กา รศึ ก ษา หลั ก ได้ แ ก่ รู ป แ บบใ นกา ร เคลื่อนย้ายสินค้า ข้า ทั้งในรูปแบบของข้า วเปลือกและข้าวสาร ภายในประเทศจากเกษตรกรถึ ง แหล่ ง ผู้ บ ริ โ ภคซึ่ ง รวมถึ ง ระยะเวลา ค่าใช้จ่ายในการขนส่งนอกจากนั้นยังพิจารณาถึ ง ระยะเวลาจัดเก็บข้าวเปลือกและข้าวสารโดยเฉลี่ย ของผู้มีส่วน ได้เสียในทุกจุดของห่วงโซ่อุปทานและศึกษาการสูญเสียระหว่าง การเก็บ เกี่ยวการสีข้าว การเก็บรักษาและการขนถ่ายตลอด ของโลจิสติกส์ข้าวไทย ภาพที่ 2.14 แสดงการขนส่งเมล็ดข้าวเปลือกสู่กงสี ที่มา : https://www.wonnapob.com/th/export-process.html
การศึกษาโครงสร้างโลจิสติกส์ ในระบบโลจิสติกส์ข้าวไทยนั้นประกอบไปด้วยผู้มีส่ว น เกี่ ยวข้อ งหลายหน่ ว ยงาน โดยเริ่ม จาก “เกษตรกร” ซึ่ งเป็ น หน่วยผลิ ตต้นน้าของห่วงโซ่ อุปทานการค้า ข้าว หลั กจากนั้ น ข้ า วเปลื อ กจากเกษตรกรจะถู ก ส่ ง ผ่ า นเพื่ อ ไปแปรสภาพ ข้า วเปลื อกเป็ น ข้า วสาร โดยการผ่ านนี้อ าจถูก ส่งผ่า นด้ ว ย เกษตรกรเอง หรือ ส่งผ่านด้วย “คนกลาง” ซึ่งคนกลางการ ส่งผ่ านในขั้ น ตอนนี้ มีห ลายประเภท ได้ แก่ พ่อ ค้ า ข้า วเปลื อ ก ตั ว แทน นายหน้ า ท่ า ข้ า ว สถาบั น เกษตรกรและสถาบั น รัฐบาล การดาเนินงานของคนกลางแต่ละประเภท จะมีวิธีการ และเงื่อนไขในการดาเนินการที่แตกต่างกันไป
หน่วยงานถัดไปในห่วงโซ่อุปทานได้แก่ “โรงสี” ซึ่งทาหน้าที่แปร สภาพข้าวเปลือกให้เป็นข้าวสาร หลักจากนั้นข้าวสารจะถูกส่งต่อไป ยังหน่วยงานปลายน้ า ได้แก่ “ผู้ ส่งออก” โดยจะส่ งออกสิน ค้าไปยั ง ตลาดต่างประเทศ และ “ผู้ค้าส่ง” ซึ่งจะบรรจุสินค้าเป็นหน่วยย่อยและ ส่ ง ต่ อ ให้ “ผู้ ข ายปลี ก ” ขายสิ น ค้ า ในประเทศ โดยในการส่ ง ผ่ า น ข้าวสารไปยังปลายน้า อาจเป็นการส่ งตรงจากโรงสีไปยังผู้ส่งออก และผู้ค้าส่ง ในขณะที่ “หยง” เป็นคนกลางในการรวบรวมและทาหน้าที่ ประสานงานข้อมูลในการซื้อขายข้าวสาร
TRANSPORT RICE ที่มาข้อมูล :http://surasaklogistics.blogspot.com/2013/04/logisticsthai-of-rice-system.html
2-13
1.ข้าวเปลือก (หลังจากการเก็บเกี่ยวจนถึงโรงสี)
ภาพที่ 2.15 แสดงเล็ดข้าวเปลือก ที่มา : https://www.google.co.th/search?q=ข้าว+ไทย 2-14
เมื่อเกษตรกรผลิตข้าวเปลือกเจ้าได้เรียบร้อย ส่วนหนึ่งจะ ใช้ บ ริ โ ภคภายในครั ว เรื อ น ส่ ว นที่ เ หลื อ จะขาย ซึ่ งอาจจะขาย โดยตรงแก่ โรงสีห รือ ขายผ่า นตัว กลางทั้ งภาครั ฐและเอกชน โดย รูปแบบของการกระจายสิ นค้ าข้ าวของเกษตรกรไทยแบบดั้งเดิ ม สามารถแบ่งได้4 ช่วงหลัก ได้แก่ -ช่วง ต้นฤดูการเก็บเกี่ยว (ประมาณกลางเดือนตุลาคม มกราคม) เกษตรกรจะขายข้าวประมาณร้อยละ 30 ของผลผลิต ที่เก็บเกี่ยวได้ ส่วนที่เหลือจะเก็บในยุ้งข้าว -จากนั้นประมาณเดื อนมีนาคม เกษตรกรจะขายข้า วในยุ้ ง ฉางอี ก ประมาณร้ อ ยละ 30 เพื่ อ จ่ า ยหนี้ สิ น ให้ แ ก่ ธ นาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ์ - จนกระทั้งประมาณเดือนพฤษภาคม เกษตรกรจะขายข้าว อีกประมาณร้อยละ 30 ของผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ในฤดูกาลนั้น - ประมาณเดื อ นกรกฎาคม – สิ ง หาคม ซึ่ ง เป็ น ช่ ว งต้ น ฤดูก าลเพาะปลู กในปี ถัดไป ถ้า มีแ นวโน้ มว่ าปีเ พาะปลูก นั้น ๆ จะมี ภาวะอากาศที่แห้ งแล้ ง เกษตรกรจะเก็บ ข้าวส่วนที่เหลือไว้บริ โภค ภายในครัวเรือน แต่ถ้าสภาวะอากาศเอื้ออานวยต่อการเพาะปลูก และมี แ นวโน้ ม ว่ า จะมี ผลผลิ ต ดี เกษตรกรจะเทขายข้ า วที่ เ หลื อ ทั้งหมด การค้ า ข้ า วที่ ต้ อ งผ่ า นตั ว กลางเอกชน ซึ่ งได้ แ ก่ พ่ อ ค้ า ข้าวเปลือก ตัวแทน / นายหน้าหรือท่ าข้าวจะทาหน้าที่รับซื้อและ รวบรวมข้าวจากชาวนาในปริมาณมากไป ขายต่อยังโรงสีขนาด กลางและขนาดใหญ่ โดยพ่อค้าข้าวเปลือกมี 2 ประเภท คือ พ่อค้า ข้าวเปลือกในหมู่บ้านและพ่อค้าข้าวเปลือกนอกหมู่บ้าน รูปแบบการ เคลื่ อ นย้ า ยข้ า วเปลื อ กจากชาวนาไปยั งโรงสี ส่ ว นมากนิ ย มใช้ รถบรรทุก หรือรถกระบะในการขนส่ง เนื่องจากมีความคล่ องตั ว ในกรณีซื้อข้าวเปลือกสดจากเกษตรกรและนาไปขายที่ตลาดกลาง หรือท่าข้าว จะมีการเก็บข้าวเปลือกไว้ 1 คื น เนื่องจากความชื้ น ของข้ า วเปลื อ กสู งมาก ต้ อ งเร่ งน าไปโรงสี เ พื่ อ ลดความชื้ น ของ ข้าวเปลือก ส่ ว นการค้ า ข้ า วที่ ผ่ า นตั ว กลางภาครั ฐ เช่ น ขายผ่ า น สหกรณ์ ก ารเกษตรหรื อ องค์ ก ารคลั งสิ น ค้ า ในลั ก ษณะของการ จานาข้าวเปลือก ระยะเวลาเก็บข้าวโดยเฉลี่ย ประมาณ 3เดือนนับ จากวันจานาข้าว การที่รัฐบาลรับจานาและประกาศประกันราคา ข้าวนั้นส่งผลให้รูปแบบการกระจายและ การค้าข้าวของเกษตรกร เปลี่ยนแปลงไปจากดั้งเดิม ซึ่งในปัจจุบัน เกษตรกรมีแนวโน้มที่จานา ข้าวเปลือกที่ผลิตได้เข้าร่วมโครงการจานาเพิ่มขึ้น
2. ข้าวสาร(หลังจากแปรสภาพจนถึงการกระจายสินค้า) เมื่อโรงสีท้องถิ่นแปรสภาพข้าวเปลือกเป็นข้าวสารแล้ว ข้าวส่วนหนึ่งจะกระจายสู่ผู้บริโภคในท้องถิ่นใกล้เคียง ส่วนที่เหลือจะ ส่งผ่านผู้ค้าส่งและผู้ส่งออก ซึ่งตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร โดยจะเป็น ศูนย์รวมและกระจายข้าวไปยังผู้บริโภคในจังหวัดต่างๆ ที่ผลิตข้าว ไม่เพียงพอต่อการบริโภค ส่วนโรงสีขนาดกลางแถบชานเมือง กรุงเทพ จะขายข้าวสารให้พ่อค้าขายส่ง พ่อค้าขายปลีกหรือขาย ตรงให้ผู้บริโภครายใหญ่ ส่วนการขายข้าวให้ผู้ส่งออกในปริมาณ มากและการซื้อขายระหว่างโรงสีขนาดใหญ่ กับพ่อค้าส่งออกที่ กรุงเทพ จะทารายการผ่านหยง ซึ่งเป็นคนกลางที่สาคัญใน โครงสร้างการตลาดของข้าว แต่ในด้านการขนส่งข้าวจะขนส่ง โดยตรงจากโรงสีไปยังผู้ค้าส่งและผู้ส่งออก การค้าข้าวโดยผ่านตัวกลางหรือหยงนั้น เริ่มจากผู้ส่งออก และแจ้งความต้องการสินค้าให้กับหยง โดยระบุชนิดและคุณภาพ สินค้า ส่วนหยงมีหน้าที่ติดต่อประสานระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย โดย จัดการส่งคาสั่งซื้อจากผู้ซื้อไปที่โรงสี รวมถึงเป็นตัวกลางในการ ต่อรองเรื่องราคาและคุณภาพสินค้า เพื่อลดความขัดแย้งระหว่างผู้ ซื้อและผู้ขาย หลังจากนั้นโรงสีมีหน้าที่จัดหาสินค้าที่หยงติดต่อมา และจัดส่งสินค้าตามที่ สั่งโดยโรงสีเป็นผู้จัดการเรื่องการขนส่ง การเคลื่อนย้ายและขนส่งข้าวจากโรงสีไปยังโกดังเก็บข้าว ของผู้ส่งออกนิยมใน การขนส่งโดยรถบรรทุกสิบล้อเป็นหลัก โดย เฉลี่ยโรงสีจะมีระยะเวลาในการเก็บข้าวสารประมาณ 6 เดือน ซึ่งมี ปริมาณประมาณร้อยละ 50 ของข้าวสารที่ผลิตได้ และเมื่อแยก ตามประเภทของข้าวพบว่า โรงสีจะเก็บข้าวหอมมะลิประมาณ 2.5 ล้านตันข้าวสาร ข้าวขาว 8 แสนตัน ข้าวสาร และข้าวเหนียว ประมาณ 2.5 ล้านตันข้าวสาร โลจิสติกส์ของข้าวเพื่อการส่งออก ระยะเวลาในการส่งออกข้าว การส่งข้าวสารโดยตรงจากโรงสีไปยังผู้ส่งออกจะใช้เวลาประมาณ 2 วัน เมื่อข้าวถูกขนส่งมาถึงประตูการค้า ข้าวจะถูกลาเลียงลงเรือ โป๊ะเพื่อขนส่งต่อไปยังเรือบรรทุกสินค้าขนาดใหญ่ 2 ประเภท ได้แก่ เรือบรรทุกสินค้าประเภทเทกองและเรือคอนเทนเนอร์ ซึ่งประตู การค้าในการส่งออกข้าวหลักๆ มี 3 แห่ง ได้แก่ ที่ทอดเรือ ภายนอกเกาะสีชัง ท่าเรือแหลมฉบังและท่าเรือกรุงเทพฯ (คลองเตย จากนั้นจะกระจายสินค้าไปใน 2 ช่องทางได้แก่
ช่องทางการค้าแบบดั้งเดิม เช่น ซาปั๊วและโชห่วย เป็นต้น ช่องทางการค้าแบบใหม่ เช่น เทสโก้ โลตัส บิ๊กซี ภาพที่ 2.16 แสดงเล็ดข้าวสาร ที่มา : https://www.google.co.th/search?q=ข้าว+ไทย
2-15
2-16
ภาพที่ 2.17 แสดงเกษตรกรไทย ที่มา : https://www.google.co.th/search?hl=th&biw=1920&bih=925&tbm
ที่นา ชาวนา
ห่วงโซ่อุปทานของข้าวไทย (Supply chain of Thai Rice) ข้าวเปลือก ข้าวสาร โรงสี ผู้กระจายสินค้า คนกลาง
อาหาร CONSUMERS
หน่วยงานสนับสนุน สานักงานเศรษฐกิจ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมการค้าภายใน กรมการค้าต่างประเทศ องค์การค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ศูนย์วิจัยพันธุ์ข้าว ภาพที่ 2.18 แสดงห่วงโซ่อุปทานของข้าวไทย ที่มา :จากการวิเคราะห์ ,สุภารัตน์ โฉมปราชญ์
2-17
ระบบการผลิตข้าวอินทรียท์ ไี่ ด้มาตราทีต ่ ลาดรองรับ
2.3.3 ปัจจัยการผลิต
2.3.4 การเก็บรักษาผลผลิตและผลิตภัณฑ์
มาตรฐานที่ทางองค์กรที่รับรองหน่วยตรวจสอบ รั บ ร อ ง ม า ต ร ฐ า น เ ก ษ ต ร อิ น ท รี ย์ ( Accredited Certification Bodies : AB) จะเป็ น ผู้ ที่ ก าหนด มาตรฐานขึ้ น โดยอาจจะเป็ ฯ องค์ ก รรั บ รองมาตรฐาน เกษตรอินทรีย์ (Certification Body : CB) ด้วยตนเอง หรือให้ผู้อื่นตรวจสอบรับ รองจาก AB เสียก่อนว่า CB นั้นสามารถตรวจสอบตามมาตรฐานที่ AB กาหนดได้
การผลิตข้าวอินทรีย์เป็นระบบการผลิตทาง การเกษตรที่เน้นเรื่องของธรรมชาติเป็นสาคัญ ได้แก่ การ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ ของธรรมชาติ การรักษาสมดุลธรรมชาติและการใช้ประโยชน์ จากธรรมชาติ เพื่อการผลิตอย่างยั่งยืน เช่น ปรับปรุงความ อุดมสมบูรณ์ของดินโดยการปลูกพืชหมุนเวียน การใช้ปุ๋ย อินทรีย์ในไร่นาหรือจากแหล่งอื่น ควบคุมโรค แมลงและสัตว์ ศัตรูข้าวโดยวิธีผสมผสานที่ไม่ใช้สารเคมี การเลือกใช้พันธุ์ ข้าวที่เหมาะสมมีความต้านทานโดยธรรมชาติ รักษาสมดุล ของศัตรูธรรมชาติ การจัดการพืช ดิน และน้า ให้ถูกต้อง เหมาะสมกับความต้องการของต้นข้าว เพื่อทาให้ต้นข้าว เจริญเติบโตได้ดี มีความสมบูรณ์แข็งแรงตามธรรมชาติ การ จัดการสภาพแวดล้อมไม่ให้เหมาะสมต่อการระบาดของโรค แมลงและสัตว์ศัตรูข้าว เป็นต้น การปฏิบัติเช่นนี้ก็สามารถทา ให้ต้นข้าวที่ปลูกให้ผลผลิตสูงในระดับที่น่าพอใจ
ความชื้นของข้าวที่จะเก็บ โดยทั่วไปความชื้นของข้าวไม่ควรสูง เกิน 14% ถ้าเป็นเมล็ดพันธุ์ความชื้นไม่ควรเกิน 12% ความสะอาด ข้าวที่จะเก็บต้องสะอาดไม่มีสิ่งเจือปน เช่น เศษฟาง ตอซั ง วั ช พื ช กรวด หิ น ดิ น ทราย เพราะสิ่ ง เหล่ า นี้ ดู ด ความชื้นได้ดี ทาให้ข้าวมีความชื้นเพิ่มขึ้นในขณะเก็บรักษา การปลอดจากโรค แมลง ศั ต รูต่ า งๆ ข้ า วที่ จ ะน าเข้ าเก็ บต้ อ ง ปลอดจากโรค แมลง และศัตรูต่างๆ หากพบควรหาวิธีป้องกัน กาจัดที่ถูกต้องและเหมาะสม การควบคุมอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ภายในโรงเก็บให้อยู่ใ น สภาพทีเ่ หมาะสม ลัก ษณะและสถานที่ ตั้ งของโรงเก็ บ โรงเก็ บ ที่ ดีควรตั้ งอยู่ บ นที่ ดอน และแห้ ง มี ก ารระบายน้ าดี เพื่ อ ป้ อ งกั น น้ าท่ ว ม รอบๆ บริ เ วณโรงเก็ บ ต้ อ งสะอาด โปร่ ง ไม่ มี ต้ น ไม้ ใ หญ่ ขึ้ น ปกคลุ ม สภาพโรงเก็บ ต้อ งมีผ นั งปิ ด มิด ชิด แน่ น หนา มี หลั ง คากั นแดด กันฝน น้าค้าง
ภาพที่ 2.19 แสดงข้าวปลอดสาร ที่มา : http://netpracharat.com
2-18
เพราะฉะนั้น นอกจากการปฏิบัติ ประเพณีใ นรอบปี ของราชสานักแล้ว ประชาชนแต่ละท้องถิ่นก็มีงานประเพณีใ น รอบปีเช่นเดียวกัน ซึ่งจะมีความคล้ายคลึงและแตกต่างกันไป ประเพณี ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในรอบปี จึ งไม่ ไ ด้ มี เ ฉพาะประเพณี ห ลวง เท่านั้น แต่ยังมีประเพณีราษฎร์หรือประเพณีของแต่ละท้องถิ่น อี ก ด้ ว ย ซึ่ ง ประเพณี ข องท้ อ งถิ่ น นั้ น จะแตกต่ า งกั น ตาม ลั ก ษ ณ ะ ท า ง ภู มิ ศ า ส ต ร์ ลั ก ษ ณ ะ ท า ง ก า ย ภ า พ แ ล ะ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
รวมทั้งประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น ประเพณีใ นรอบปี ของแต่ละภาคจึงมีลักษณะเฉพาะของท้องถิ่นนั้นๆ อย่างไรก็ ตาม ในประเพณี ข องท้ อ งถิ่ น ก็ มี อิ ท ธิ พ ลของศู น ย์ ก ลางอยู่ ด้ ว ย เนื่ อ งจากระบบการเมื อ งการปกครองท าให้ เ กิ ด การ ปฏิสัมพันธ์กันของแต่ละภูมิภาค
2.3.5 ประเพณีสบ ิ สองเดือนในภาคกลาง ประเพณีหลวงและประเพณีราษฎร์ต่า งมีการเลีย นแบบหยิบยื ม วัฒนธรรมซึ่งกันและกันประเพณีหลวง ได้ แบบอย่างของประเพณี ราษฏร์ มาประสมประสานกับวัฒนธรรมต่างประเทศจนกลายเป็นประเพณีหลวง โดยสมบูรณ์ หลังจากนั้นก็มีอิทธิพ ลส่งกลับไปสู่ประเพณีราษฎร์อีกทาให้ ประเพณีราษฎร์ค่อยๆ เปลี่ยนแปลงไปตามประเพณีหลวง เช่นพระราช พิธีที่กระทาในราชสานักมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ก็คือสิ่งที่ได้เค้าโครง มาจากประเพณี ร าษฎร์ ซึ่ ง เป็น ประเพณี ที่ท ามานานและเป็น พิ ธี กรรมที่ เกี่ยวข้องกับการทามาหากินหรือการเกษตรอยู่หลายอย่าง เช่น พิธีการ แรกนา ของชาวบ้า นเป็น การเซ่น ไหว้ต าแฮกหรื อผี นาหรื อพระภูมิ นาให้ คุ้มครองรักษาปกป้องข้าวในนาไม่ให้เกิดอันตราย
ภาพที่ 2.20 แสดงประเพณีของไทยภาคกลาง ที่มา : http://lek-prapai.org/home/view.php?id=869
เป็นการทาพิธีเป็นเคล็ดเพื่อให้หมดความกังวลใจก่อนจะลงมือไถนา การ แรกนาในระยะแรกจึ ง เป็ น ประเพณี ร าษฎร์ ต่ อ มาจึ งพั ฒ นากลายเป็ น ประเพณี ห ลวง คือ พระราชพิ ธี จ รดพระนั งคั ล แรกนาขวั ญ ที่ มี ม าจาก วัฒ นธรรมอิน เดีย เพื่ อ ทาให้เ กิด การยอมรับ หรื อแม้ แต่ การแข่ งเรื อของ ราษฎรตามหมู่บ้านต่างๆ เพื่อความสนุกสนานรื่นเริงในเทศกาลที่เกี่ยวกับ ความเชื่อทางศาสนาของชุมชนนั้นๆ มีการปรุงแต่งจากราชสานักให้เป็น การแข่งเรือเพื่อเสี่ยงทาย เพื่อให้รู้ล่วงหน้าว่าสถานการณ์เรื่องน้าจะเป็ น อย่ า งไร ซึ่ ง พระมหากษั ต ริ ย์ จ ะเสด็ จ เพื่ อ เสี่ ย งทาย ดั งที่ ป รากฏในกฎ มณเฑียรบาล
ในระดั บ ภู มิ ภ า คหรื อ ท้ อ งถิ่ น มี พั ฒ นากา รทา ง การเมืองเกิดเป็นเมืองสาคัญของแต่ละภูมิภาค เช่น ภาคเหนือ มี ห ริ ภุ ญ ชั ย และล้ า นนา ภาคอี ส านมี ศ รี สั ตนาคนหุ ต ภาค กลางมี สุโ ขทัย และอยุ ธ ยา ส่ ว นภาคใต้มี ศ รีวิ ชั ยและตามพร ลิงค์ เมื องเหล่า นี้มีพั ฒนาการและเติบ โตเป็นเมืองศูนย์ กลาง ของแต่ ละท้ องถิ่นและมีอิท ธิพ ลต่ อชุม ชนหมู่บ้ านต่างๆ ที่อ ยู่ ท้ อ งถิ่ น เดี ย วกั น ท าให้ วั ฒ นธรรมและประเพณี ข องแต่ ล ะ ท้องถิ่นมีลักษณะที่เหมอนกันหรือมีแบบแผนที่คล้ายคลึงกัน ใน ขณะเดีย วกัน ก็มี ความแตกต่ างที่เ กิ ดจากความหลากหลาย ของกลุ่มคนที่มาอยู่รวมกัน
TRADITION ที่มา : http://lek-prapai.org/home/view.php?id=869
2-19
เนื่องจากการได้รับอิทธิพลของกรุงศรีอยุธยา ซึ่งถือเป็นเมือง ราชธานีเป็นศูนย์กลางทางการเมือง สังคม และวัฒนธรรม ทาให้ท้องถิ่นรับอิทธิพลจากศูนย์กลางในลักษณะที่เกื้อกูลและ เป็นปฏิกิริยาโต้ตอบกันจนกลายเป็นประเพณีใ นแต่ละท้องถิ่น อันเกิดจากการปรับเปลี่ยนประเพณีหลวงให้มีความเหมาะสม สอดคล้อ งกั บเงื่ อ นไขทั้ งทางกายภาพและสั งคมของตนเอง รวมทั้งเงื่อนไขของความแตกต่างของสังคมใหญ่ การเมือ ง การปกครอง ระบบเศรษฐกิ จ สภาพสั ง คม นั่ น คื อ แต่ ล ะ ท้องถิ่นจะไม่รับประเพณีหลวงมาทั้งหมดหรือปฏิเสธประเพณี หลวงทั้งหมด แต่ชาวบ้านหรือท้องถิ่นจะมีวิธีการ กลไก และ กระบวนการที่จะปรั บเปลี่ยนจนเกิดเป็น ประเพณีข องท้องถิ่ น ขึ้นมา ชุ ม ชนหมู่ บ้ า นต่ า งๆ นั้ น ไม่ ไ ด้ อ ยู่ อ ย่ า งโดดเดี่ ย ว จึ ง มี ก าร แลกเปลี่ยนปัจจัยสี่หรืออาหารการกินที่จาเป็น เช่น ชาวนาก็ จาเป็ น ต้อ งแลกเกลือ หรื อ สิน ค้า อื่ นๆ รวมทั้ งความสั มพั น ธ์ แบบเครือญาติที่เกิดจากการแต่งงานหรือการเกี่ยวพันกันแบบ อื่นๆ ทาให้มีประเพณีและพิธีกรรมของแต่ละชุมชน ผสมผสาน กัน มีความคล้ายคลึงกันหรือแตกต่างกันได้ เช่นเดียวกับใน แต่ ล ะภู มิ ภ าคหรื อ ท้ อ งถิ่ น ไม่ ไ ด้ อ ยู่ อ ย่ า งโดดเดี่ ย วเช่ น กั น จะต้องมีการปฏิสังสรรค์เพื่อแลกเปลี่ยนกลุ่มสินค้าที่ต้องการ ในชี วิต ประจาวัน ท าให้แต่ ละท้อ งถิ่น มีก ารแพร่กระจายหรื อ หยิ บ ยื ม วั ฒ นธรรมของกั น และกั น ไปปรั บ เปลี่ ย นเพื่ อ ให้ เหมาะสมกับ ท้ องถิ่น ของตนเอง ดั งนั้น การผสมผสานทาง วัฒนธรรมจึงเกิดขึ้นทั้งในระดับชุมชน และระดับท้องถิ่น ประเพณี ๑๒ เดื อ น ใ นสั งคมไทยจึ ง เป็ น ผล ผลิ ตจ า ก ส่วนกลางและท้องถิ่ นหรือจากหลวงและราษฎร์ โดยมีวัดซึ่ ง เป็นศูนย์กลางของชุมชนเป็นเครื่องมือที่สาคัญในการส่งผ่าน อิท ธิพ ลของประเพณีห ลวงหรือ ประเพณีร าษฎร์ ที่ไ ด้รั บการ ปรุงแต่งแล้วกลับไปยังชุมชน ประเพณี ๑๒ เดือน ซึ่งปฏิบัติ กันจึงใช้วัดเป็นศูนย์กลางหรือเป็นสถานที่ในการทาพิธีกรรม ที่มา : http://lek-prapai.org/home/view.php?id=869
ภาพที่ 2.21 แสดงประเพณีของไทยภาคกลาง ที่มา : http://lek-prapai.org/home/view.php?id=869
2-20
พิธี กรรมข้ า วมี อ ยู่ใ นช่ว งใดของการปลู ก ข้า วบาง พิ ธี กรรม ข้ า วท าขึ้ น ตลอดปี ข องการปลู ก ข้ า วโดยจั ดต่ อ เนื่ อ งตามฤดู ก าร เพาะปลูก ช่วงเวลาของพิธีกรรมที่ สาคัญจะอยู่ตั้งแต่ก่อนเริ่มฤดูกาล ปลูกจนกระทั้งหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิต พิธี กรรมข้าวที่สาคัญมีอยู่ ในช่วง 4 ช่วงของการ ปลูก คือ
1. พิ ธี ก รรมก่ อ นการเพาะปลู ก วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ บวงสรวง บู ช า สิ่งศักด์สิทธ์หรือบรรพบุรุษให้คุ้มครองป้องกัน ภยันตรายแก่ชีวิตและ ทรัพย์สิน ให้มีความสวัสดิ์มงคล มีความอุดมสมบูรณ์ ขอโอกาสและ มีความเชื่อมั่น ในการ ดารงชีวิตในรอบปีปลูก 2. พิ ธีกรรมช่ วงเพาะปลูก ทาเพื่อบวงสรวงบนบานแก่ เทพเจ้ าหรื อ สิ่ ง ศั ก ด์ สิ ท ธ์ บ อกกล่ า วฝากฝั ง สิ่ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กั บ ข้ า วหรื อ การ เพาะปลูกขอให้การปลูกข้าวดา เนินไปได้ด้วยดีปราศจากภยันตราย ต่างๆ 3. พิธี กรรมเพื่อการบารุงรั กษา ท าเพื่อให้ข้ าวงอกงาม ปลอดภั ย จากสัตว์ต่างๆ หนอนเพลี้ย พิธีกรรมประเภทนี้ จัดขึ้นในช่วงระหว่าง การเพาะปลูกจนกระทั่งเก็บเกี่ยว
4. พิธีกรรมเพื่อการเก็บเกี่ ยวและฉลองผลผลิต ทา เพื่ อให้ได้ผลผลิ ต จานวนมากเพื่อแสดงความอ่อนน้อมกตัญญู ต่อข้าว พิธีกรรมนี้จัดขึ้น ในช่วงฤดูกาลเก็บเกี่ยว พิธี ก รรมทั้งหมดมี วัต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก เพื่อ ความอุดมสมบู ร ณ์ ของข้าวและแสดงให้เห็นถึงวิธีการแก้ไขปัญหาของ ชาวบ้าน รวมถึง สะท้อนภูมิปัญญาของชาวบ้านในการเผชิญกับปัญหาเรื่องปากท้อง และสร้ า งแรงใจเพื่ อ ความอยู่ ร อดของชาวนาไทยแม้ ว่ า พิ ธี ก รรม บางอย่างอาจตัดทอนไป เนื่องจากคนทา นารุ่นลูกหลานเห็นคุณค่า ทางพิธี กรรม น้ อยลงแต่ก็ มี ใ ห้เ ห็นในแหล่ งเพาะปลู กข้ าวภาคอี สาน ภาคเหนื อ ภาคกลาง ยั งมี ความเชื่ อ เละรั ก ษาวั ฒนธรรมข้ า วและ พิธีกรรมทางศาสนาเกี่ยวกับข้าวผ่านประเพณีท่องเที่ยวตามจังหวัด ต่างๆ ที่ได้จัดขึ้นในปัจจุบัน
ภาพที่ 2.22 แสดงประเพณีของไทยภาคกลาง ที่มา : http://www.sac.or.th/databases/museumdatabase/uploads/file/RiceExhibit-01.pdf
ที่มา : http://www.stou.ac.th/study/projects/training/cultur/A2.pdf
2-21
“ถ้าทางโบราณก็เรียกเดือนหก แต่ถ้าธรรมดาก็เรียกพฤษภา ก็ออกไปทา นากับพ่อ กับแม่ เลี้ยงวัวเลี้ยงควายสี่ตัวห้าตัว แต่ก่อนไถนาก็ต้องไถด้วยควาย พอทา ไปประมาณ เดือนหก ก็ตกกล้า ก็ต้องให้ได้เดือนหนึ่งถึงจะถอนได้ถอนมาแล้วก็เอา ไปดา แต่ก่อนก็ใ ช้ดา ทา นาหนเดียว พอประมาณเดือนเจ็ด เดือนแปดกาลังดา นากัน ก็ต้องใช้นาวิดในคลอง ใช้ระหัดวิด แต่ถ้ารอนาฝนคงไม่ได้หรอกตอนที่ป้าเป็นเด็ก มีคลองก็ต้อง ใช้เครื่องวิดนาขึ้น ถ้าฝนตก เมื่อไรมันก็ช่วยได้ดีไม่ดีก็แย่งกัน วิดน า ในคลอง มึ งก็ วิดกู ก็วิ ด บางที่วิดแทบไม่ ทัน ดึก ๆ ก็ ต้อ งลุก ขึ้ นมาวิ ดน า กั น ใช้ ร ะหั ด ใช้ เ ครื่ อ ง พอดา เสร็ จ ก็ ประมาณเดือนสิบ ข้า วก็เริ่ม ตั้งท้อ งแล้ว ก็ทาขวั ญข้าวกั น แต่ต้องทาข้างขึ้นนะ ข้างแรมเขาไม่ทากันนะ ไม่รู้โบราณ เขา เป็ นไง ข้า งขึ้น นี้ต้ องทา ในเดื อนสิ บ แต่ ถ้า คนท า ล่า หน่ อ ย ข้าวก็จะออกล่าหน่อย บางคนก็ทา เกือบเดือนสิบเอ็ด ข้า ว มันไม่เหมือนข้าวนาปรัง เดี๋ยวนี้ข้าวนาปรังพอถึงกา หนดมัน จะออก เดี๋ย วนี้ก็ แบบที่ว่ ามี ก ารทา นาหลายหน สามเดื อ น เกี่ ย วสามเดื อ นเกี่ ย วบางคนปี นึ งท าตั้ งสามครั้ ง ...ข้ าวที่ มั น ปนเปื้อนที่เป็นข้าวปลูก เขาเรียกว่า ข้าวดีดข้าว หญ้าทั้งนั้น ปนเปื้อนเยอะแต่ก่อนนี้ที่เราทา ก็มีผักปอด หนวดปลาดุก ที่ มั น ขึ้ น เราก็ ถ อนได้ ผั ก แว่ น มั น จะขึ้ น ในนา เราก็ ใ ช้ ถ อนเอา เดี๋ยวนี้หาไม่เจอแล้ว ฉีดยาตายหมด”
ภาพที่ 2.23 : แสดงปฎิทินการทานาข้าว ที่มา : http://www.sac.or.th/databases/museumdatabase/uploads/file/RiceExhibit-01.pdf
2-22
2.3.6 การออกแบบอาคาร อาคารผลิ ตมี ขนาดที่ เหมาะสมมีก ารออกแบบและ ก่อสร้างในลักษณะที่ง่ายแก้การทะนุบารุงสภาพรัก ษาความ สะอาดและสะดวกในการปฏิบัติงาน
การสุขาภิบาล น้าที่ใช้ภายในโครงการต้องเป็นน้าสะอาดและจัดให้มี คุณภาพน้าตามความจาเป็น จัดให้มีห้องส้วมและอ่างล้างมือหน้าห้องส้วมให้เพียงพอ สาหรั บผู้มาใช้งาน และต้ องถูก ลักษณะ มี อุปกรณ์ครบถ้ว น และต้อ งแยกต่ างหากจากการผลิต หรื อไม่ เปิ ดสู่ บริเ วณผลิ ต โดยตรงจัดให้มีอ่างล้างมือในบริเวณผลิตให้เพียงพอ จัดวิ ธี ก ารป้ อ งกั นและก าจัดสั ตว์ แ ละแมลงในสถานที่ ผลิตตามความเหมาะสม จัดให้มีภาชนะรองรับขยะมูลฝอยที่มี ฝาปิดในจานวนที่เพียงพอและมีระบบจากัดขยะที่เหมาะสม
โครงสร้างอาคาร การผลิ ต อาหารควรสร้ า งอย่ า งแข็ ง แรงจากวั ส ดุ ที่ ทนทาน ง่ า ยต่ อการบ ารุงรัก ษา ท าความสะอาดและ ณ ที่ จ าเป็ น สามมารถฆ่ า เชื้ อ ได้ โ ดยเฉพาะตามสภาพเฉพาะที่ กาหนดต่อไปนี้ เพื่อป้องกันความปลอดภัยและความเหมาะสม ต่อการบริโภคของอาหาร - พื้นผิวของผนัง - พื้น - เพดานและอุปกรณ์ติดเพดาน - หน้าต่าง - ประตู - พื้นผิวปฏิบัติงาน
โครงสร้างอาคารประตู - ประตูทุกที่ต้องปิดได้แน่นสนิทและมีติดตังสิ่ง ป้องกันแมลงและสัตว์อื่น - หลีกเลี่ยงการติดตั้งประตูภายนอกที่เปิดสู่บริเวณการ ผลิตโดยตรงหากมีประตูดังกล่าว - ควรติดตั้งตะแกรงหรือเป็นประตูแบบเปิดแล้วปิดได้เอง ควรอยู่ในสภาพดีและง่ายต่อการทาความสะอาด
โครงสร้างอาคารพื้นผิวของผนังและเพดาน - พื้นผิวควรซิลปิด และเรียบ ทนต่อการดูดซับน้าและล้าง ง่าย - พื้นผิวควรปราศจากรอยแตกร้าวและเสียหาย - รอยต่อควรมีการซิลปิดและฉาบให้เป็นมุมโค้ง - ป้องกันพื้นผิวไวต่อการเสียหาย
โครงสร้างอาคารพืน้ - ไม่ดูดซับความชื้นและทนทานต่อสารเคมี - มั่นใจว่าความลาดเอียงของพื้นเหมาะสมต่อการไหลสู่ ท่อระบายน้า - ออกแบบเพื่อลดการตกค้างของน้าและเกิดน้าขัง - บริเวณที่มีความเสี่ยงต่าโดยไม่ให้มีการเกิดการไหล ย้อนกลับ
โครงสร้างอาคารหน้าต่าง - หน้าต่างที่เปิดสู่ภายนอก หรือหน้าต่างที่อยู่ใกล้กับ บริเวณการผลิตควรมี - การติดตะแกรงอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อป้องการเข้า มาของแมลงบิน
แสงสว่าง บริเวณที่ทาการผลิตควรมีแสงสว่างเพียงพอสาหรับ การปฏิบัติงานให้ถูกต้องและถูกสุขลักษณะ แสงสว่างไม่ควรมี ผลต่อเรื่องสีซึ่งอาจทาให้สีเพี้ยนไป ควรมีการป้องกันหลอดไฟที่ เหมาะสมเพื่อให้แน่ใจว่าไม่แตกกระจายปนเปื้อนกับข้าว
โครงสร้างอาคารพืน้ ผิวปฏิบต ั ิงาน - พื้นผิวปฏิบัติงานทุกที่ควรทาจากวัสดุที่เหมาะสม โดย ไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย - พื้นผิวควรทนต่อการดูดซับน้า ง่ายต่อการทาความ สะอาดและฆ่าชื้อและไม่กัดกร่อน
การเลือกใช้โครงสร้างเหล็ก ควรเป็นเหล็กกล่องหรือเหล็กรูปตัวแอลโดยที่ ทิศทางของการวางเหล็กควรวางลงเพื่อไม่ให้สะสมฝุ่นได้ ประตูของอาคารควรปิดไว้ตลอดเวลา เพื่อป้องกันนกและ แมลงไม่ให้เข้าอาคาร
ภาพที่ 2.24: แสดงงานระบบท่อ ที่มา : https://www.google.co.th/search?q=การเดินท่อ ภายในอาคาร&tbm 2-23
2.4 แผนพัฒนาทีเ่ กีย่ วข้อง 2.4.1 ประเทศไทย 4.0 “ไทยแลนด์ 4.0” เป็ น วิ สั ย ทั ศ น์ เ ชิ งนโยบายการพั ฒ นา เศรษฐกิ จ ของประเทศไทย หรื อ โมเดลพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ของ รั ฐ บา ล ภา ย ใ ต้ ก า รน า ขอ งพ ลเอ กประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อ ช า นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ที่ เข้ามาบริหารประเทศบนวิสัยทัศน์ที่ ว่า “มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ” ที่มีภารกิจสาคัญในการขับเคลื่อนปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ เพื่อ ปรับแก้ จัดระบบ ปรับทิศทาง และสร้างหนทางพัฒนาประเทศให้ เจริญ สามารถรับมือกับโอกาสและภัยคุกคามแบบใหม่ ๆที่ เปลียน แปลงอย่างเร็ว รุนแรงในศตวรรษที่ 21 ได้ “ประเทศไทย 4.0” จึ งควรมี ก ารเปลี่ ย นวิ ธี ก ารท าที่ มี ลักษณะสาคัญ คือ เปลี่ยนจากการเกษตรแบบดั้งเดิมในปัจจุบัน ไปสู่ก ารเกษตรสมัย ใหม่ ที่เ น้น การบริห ารจัด การและเทคโนโลยี (Smart Farming) โดยเกษตรกรต้ อ งร่ ารวยขึ้ น และเป็ น เกษตรกรแบบเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneur) เปลี่ยนจาก Traditional SMEs หรือ SMEs ที่มีอ ยู่และรัฐ ต้องให้ความ ช่วยเหลืออยู่ตลอดเวลา ไปสู่การเป็น Smart Enterprises และ Startups บริ ษั ท เกิ ด ใ หม่ ที่ มี ศั ก ยภาพ สู ง เปลี่ ย นจ า ก Traditional Services ซึ่งมีการสร้างมูลค่าค่อนข้างต่า ไปสู่ High Value Services และเปลี่ยนจากแรงงานทักษะต่าไปสู่ แรงงานที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และทักษะสูง เพื่ อให้ เกิ ดผลจริ งต้ อ งมี ก ารพัฒ นาวิ ทยาการความคิ ด สร้างสรรค์ นวัตกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการวิจัยและ พัฒนา แล้วต่อยอดในกลุ่มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเป้าหมาย ดังนี้ 1.กลุ่มอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ 2.กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ 3.กลุ่มเครื่องมือ อุปกรณ์อัจฉริยะ หุ่นยนต์ และระบบเครื่องกลที่ใช้ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ควบคุม 4.กลุ่มดิจิตอลเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตที่เชื่อมต่อและบังคับอุปกรณ์ต่างๆ 5.กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และบริการที่มีมูลค่าสูง ที่มา : http://www.drborworn.com/articledetail.asp?id=16223
ภาพที่ 2.25 แสดงกระบือ สัตว์คู่ชาวนา ที่มา : https://picpost.postjung.com/130131.html
2-24
PATHUMTHANI
MODEL
“ปทุมธานีเป็ นเมืองอุตสาหกรรมสะอาดเกษตรปลอดภัย ศูนย์การเรี ยนรู้และสังคมสันติสขุ ”
ภาพที่ 2.26 แสดงชาวนา ที่มา : https://www.tcijthai.com/news/2017/15/current/6667
2.4.2 ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดปทุมธานี วิสัยทัศน์ เมื่อวิเคราะห์ศักยภาพและปัญหา/โอกาสการ พัฒนา จึงกาหนดวิสัยทัศน์พัฒนาจังหวัดปทุมธานี (พ.ศ. 2558-2561) “ปทุมธานีเป็นเมืองอุตสาหกรรมสะอาดเกษตรปลอดภัย ศูนย์การเรียนรู้และสังคมสันติสขุ ”
เป้าประสงค์ เศรษฐกิจของจังหวัดเจริญเติบโตอย่าง มั่นคงและยั่งยืน การสรางความเขมแข็งใหแกภาค การเกษตรการผลิตการคาและบริการ
แผนพัฒนาจังหวัดปทุมธานี ในปี พ.ศ.2558-2561 ได้ กาหนดวิสยั ทัศน์ เพื่อกาหนดทิศ ทางการพัฒนา “ ปทุมธานีเป็นเมือง สิ่ง แวดล้ อ มสะอาด อาหารปลอดภั ย แหล่ ง ท่อ งเที่ ย ว เรีย นรู้ และ พักผ่อนหย่อนใจของอาเซียนสังคมอยู่เย็นเป็นสุข ” โดยมีเป้าประสงค์ คื อ การเป็ น เมื อ งที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ งแวดล้ อ ม เป็ น แหล่ งที่ ผ ลิ ต อาหาร ปลอดภั ย และมี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว ที่ เ ป็ น ที่ พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจ รวมทั้ ง ประชาชนมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ยิ่ ง ขึ้ น โดยมี ห น่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบที่ สาคัญ คือ สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด ปทุมธานี สานักงาน เกษตรจังหวัดปทุมธานี นอกจากแผนพั ฒ นาแล้ ว ยั ง มี น โยบาย เพื่ อ สนั บ สนุ น ทางการพัฒนา “การเสริ มสร้า งความเข้มแข็ง ระบบเกษตรปลอดภั ย อย่ า งครบวงจร” จึ งมี แ นวนโยบายส่ งเสริ ม ให้ เ กษตรกรผลิ ต สิ น ค้ า เกษตร ปลอดสารพิษอย่างครบวงจร
ไม่ว่าจะเป็นสินค้าเกษตรประเภทพืชผัก ปศุสัตว์ และสัตว์ น้ าจื ด เพื่ อ ส่ งต่ อ ให้ กั บ ผู้ บ ริ โ ภค ได้ บ ริ โ ภคสิ น ค้ า เกษตรที่ ป ลอด สารพิษดีต่อสุขภาพ ดังนั้นควรมีศูนย์การเรียนรู้ข้าวและชาวนาไทย เพื่ อ ศึ ก ษาและให้ ค วามรู้ ด้ า นวิ ธี ชี วิ ต ของเกษตรกรและการท า เกษตรกรรมปลอดภัยอย่างถูกวิธี
กลยุทธ์ 1.พัฒนาตลาดค้าส่งให้เป็นศูนย์กลางการค้าผลิตผล การเกษตรในภูมิภาคฯ 2.สร้างมูลค้าเพิ่มให้ข้าวปทุมธานี เป็นสินค้าส่งออกของ ประเทศ 3.ส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ 4.พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและวิถีชาวปทุมธานี
(ที่มา:สานักงานเกษตรจังหวัดปทุมธานี) http://www2.pathumthani.go.th/551017.pdf
2-25
LAW BUILDING ตารางที่ 2.1 : กฎหมายอาคาร
ลาดับ
กฎหมาย
ข้อกาหนดตามกฎหมาย
กรอบในการออกแบบ
1
คาจากัดความ ประเภทอาคาร
“อาคารสาธารณะ” หมายความว่า อาคารที่ใช้เพื่อประโยชน์ในการชุมนุมคนได้โดยทั่วไป เพื่อกิจกรรมทางราชการ การเมือง การศึกษา การศาสนา การสังคม การนันทนาการ หรือการพาณิชยกรรม เช่น โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม โรงพยาบาล สถานศึกษา หอสมุด สนามกีฬากลางแจ้ง สนามกีฬาในร่ม ตลาด ห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้า สถานบริการ ท่าอากาศยาน อุโมงค์สะพาน อาคารจอดรถ สถานีรถ ท่าจอดเรือ โป๊ะจอดเรือ สุสาน ฌาปนสถาน ศาสนสถาน เป็นต้น
ตามข้อกาหนด
2
การกาหนดระยะร่นและแนวกรอบอาคาร
อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษต้องจัดให้มีถนนที่มีผิวการจราจรกว้างไม่น้อยกว่า 6.00 เมตร ที่ปราศจากสิ่ง ปกคลุมโดยรอบอาคาร เพื่อให้รถดับเพลิงสามารถเข้าออกได้โดยสะดวก
ตามข้อกาหนด
3
ความปลอดภัยในอาคาร
เมื่อเกิดเพลิงใหม่ทั้งในอาคารการหนีไฟจะมี 2 ทาง คือ การหนีไฟทางอากาศ และการหนีไฟโดยการหนีออกทางด้าน ล่าง สิ่งที่ควรคานึงถึงในการออกแบบทางหนีไฟ และบันไดหนีไฟนั้นควรคานึงความรวดเร็วในการหนีไฟและความ ปลอดภัยของผู้คนในอาคาร ดังนั้นในการออกแบบบันไดหนีไฟ และทางหนีไฟ จะต้องออกแบบให้ได้มาตรฐาน
ตามข้อกาหนด
4
ลักษณะของพื้นที่ภายในอาคาร
ระยะดิ่งใหวัดจากพื้นถึงพื้น ในกรณีของชั้นใตหลังคาใหวัดจากพนถึงยอดฝาหรือยอดผนังอาคาร และในกรณีของ ห องหรือ สวนของอาคารที่อยูภายในโครงสรางของหลังคา ใหวัดจากพนถึงยอดฝาหรือยอดผนังของหองหรือสวน ของอาคารดังกลาวที่ไมใชโครงสรางของหลังคาหองในอาคารซึ่งมีระยะดิ่งระหวางพื้นถึงพื้นอีกชั้นหนึ่งตั้งแต 5 เมตร ขึ้นไป จะทาพื้นชนลอยในหองนั้นก็ไดโดยพื้นชั้นลอยดังกลาวนั้นตองมีไมเกินรอยละสี่สิบของเนื้อที่หอง ระยะดิ่งระหวาง พื้นชนลอยถึงพนอีกชนหนึ่งตองไมนอยกวา2.40 เมตร และระยะดิ่งระหวางพื้นหองถึงพนชนลอยตองไมนอยกวา 2.40 เมตร ดวยหองน้า หองสวม ตองมีระยะดิ่งระหวางพื้นนถึงเพดานไมนอยกวา 2 เมตร
ตามข้อกาหนด
5
บันได
สาหรับที่ใช้กับชั้นที่มีพื้นที่อาคารชั้นเหนือขึ้นไปรวมกันไม่เกิน 300 ตารางเมตร ต้องมีความ กว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 1.20 เมตร แต่สาหรับบันไดของอาคารดังกล่าวที่ใช้กับชั้นที่มีพื้นที่อาคารชั้นเหนือขึ้นไป รวมกันเกิน 300ตารางเมตร ต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร ถ้าความกว้างสุทธิของบันไดน้อยกว่า 1.50 เมตร ต้องมีบันไดอย่างน้อยสองบันได และแต่ละบันไดต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 1.20 เมตร
ตามข้อกาหนด
6
บันไดหนีไฟ
ประตูหนีไฟต้องทาด้วยวัสดุทนไฟ มีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร สูงไม่น้อยกว่า 1.90 เมตรและต้อง ทาเป็นบานเปิดชนิดผลักออกสู่ภายนอกเท่านั้น กับต้องติดอุปกรณีชนิดที่บังคับให้บานประตูปิดได้เอง และต้อง สามารถเปิดออกได้โดยสะดวกตลอดเวลา ประตูหรือทางออกสู่บันไดหนีไฟต้องไม่มีธรณีหรือขอบกั้น พื้นหน้าบันไดหนี ไฟต้องกว้างไม่น้อยกว่าความกว้างของบันไดและอีกด้านหนึ่งกว้างไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร
ตามข้อกาหนด
ที่มา : http://www.baanlaesuan.com/12832/design/daily-idea-metal-stairs/
2-26
ตารางที่ 2.1 : กฎหมายอาคาร (ต่อ)
ลาดับ
กฎหมาย
ข้อกาหนดตามกฎหมาย
กรอบในการออกแบบ
7
ที่จอดรถ
จานวนที่จอดรถยนตตองจัดใหมีตามกาหนดดังตอไปนี้ โรงมหรสพ ใหมีที่จอดรถยนตไมนอยกวา 1 คันตอจานวนที่นั่งสาหรับคนดู 20 ที่ ภัตตาคารที่มีพื้นที่ตั้งโตะอาหารไมเกิน 750 ตารางเมตร ใหมีที่จอดรถยนตไมนอยกวา 1 คันตอพื้นที่ตั้งโตะอาหาร 15 ตารางเมตร ใหมีที่จอดรถยนตตามอัตราทีก ่ าหนดในวรรคหนึ่งสาหรับพื้น ที่ตั้งโตะอาหาร 750 ตารางเมตรแรก สวนที่เกิน 750 ตารางเมตรใหคิดอัตรา 1 คันตอ หรือให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า 1 คันต่อพื้นที่อาคาร 120 ตารางเมตร เศษของ 120 ตารางเมตร ให้คิดเป็น 120 ตารางเมตร ทั้งนี้ให้ถือที่จอดรถยนต์จานวนที่มากกว่าเป็นเกณฑ์นอกจากนี้อาคารต้องจัดให้มีที่จอดรถสาหรับผู้พิการ หรือทุพลภาพ และคนชราอย่างน้อยตามอัตราส่วน ดังนี้ (1) ถ้าจานวนที่จอดรถตั้งแต่ 10 คัน แต่ไม่เกิน 50 คัน ให้มีที่จอด รถสาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชราอย่างน้อย 1 คัน (2) ถ้าจานวนที่จอดรถตั้งแต่ 51 คัน แต่ไม่เกิน 100 คัน ให้มีที่จอดรถสาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา อย่างน้อย 2 คัน (3) ถ้าจานวนที่จอดรถตั้งแต่ 101 คัน ขึ้นไป ให้มีที่จอดรถสาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชราอย่างน้อย 2 คัน และเพิ่มขึ้นอีก 1 คัน สาหรับทุก ๆ จานวนรถ 100 คันที่เพิ่มขึ้น เศษของ 100 คัน ถ้าเกินกว่า 50 คันให้คิด เป็น 100 คัน ที่จอดรถหนึ่งคันต้องเป็นพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้าและต้องมีลักษณะดังนี้ (1) ในกรณีที่จอดรถตั้งฉากกับแนวทางเดินรถ ให้มีความกว้างไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร และความยาวไม่น้อย กว่า5 เมตร (2) ในกรณีที่จอดรถขนานกับแนวทางเดินรถ หรือทามุมกับทางเดินรถน้อยกว่า 30 องศา ให้มีความกว้างไม่ (3) ในกรณีที่จอดรถทามุมกับทางเดินรถตั้งแต่ 30 องศาขึ้นไป ให้มีความกว้างไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร และ ความยาวไม่น้อยกว่า 5.50 เมตร ที่จอดรถสาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา ต้องเป็นพื้นที่สี่ เหลี่ยมผืนผ้า กว้างไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร และยาวไม่น้อยกว่า 6.00 เมตร และจัดให้มที ี่ว่างข้างที่จอด รถกว้างไม่น้อยกว่า 1.00 เมตร ตลอดความยาวของที่จอดรถโดยที่ว่างดังกล่าวต้องมีลักษณะพื้นผิวเรียบ และมีระดับเสมอกับที่จอดรถ
ตามข้อกาหนด
8
คลังสินค้า
“คลังสินคา” หมายความวา อาคารหรือสวนหนึ่งสวนใดของอาคารที่ใชเปนที่สาหรับเก็บสินคาหรือสิ่งของ เพื่อประโยชนทางการคาหรืออุตสาหกรรม
ตามข้อกาหนด
ที่มา : http://www.baanlaesuan.com/12832/design/daily-idea-metal-stairs/
2-27
ตารางที่ 2.1 : กฎหมายอาคาร (ต่อ)
ลาดับ
กฎหมาย
ข้อกาหนดตามกฎหมาย
กรอบในการออกแบบ
8
โครงสร้างอาคาร
- ส่วนประกอบของโครงสร้างหลักและทางหนีไฟของอาคารที่มีความสูงเกิน 3 ชั้น ต้องไม่เป็นวัสดุติดไฟ - โครงสร้างหลักของอาคารต่อไปนี้ 1. คลังสินค้า โรงมหรสพ โรงแรม อาคารชุด สถานพยาบาล 2. อาคารพาณิชยกรรม อุตสาหกรรม การศึกษา สาธารณสุข และสานักงาน ที่มีความสูงเกิน 3 ชั้น และมี พื้นที่รวมเกิน 1000 ตารางเมตร ให้ก่อสร้างโครงสร้างหลักโดยใช้วัสดุทนไฟ เสาและคานมีอัตราการทนไฟไม้น้อยกว่า 3 ชั่วโมง พื้นหรือตงมีอัตราการ ทนไฟไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมง
ตามข้อกาหนด
9
ผนังกันไฟ
ต้องสร้างด้วยวัสดุทนไฟ บันไดหนีไฟภายในอาคารต้องมีผนังทนไฟโดยรอบ ส่วนบันไดหนีไฟนอกอาคารต้องมีผนังทน ไฟระหว่างบันไดกับตัวอาคาร และผนังทนไฟต้องมีลักษณะดังนี้
ตามข้อกาหนด
3.1.1 ผนังคอนกรีตเสริมเหล็กความหนาไม่น้อยกว่า 12 เซนติเมตร 3.1.2 ผนังอิฐ ความหนาไม่น้อยกว่า 20 เซนติเมตร 3.1.3 ผนังคอนกรีตบล๊อค ความหนาไม่น้อยกว่า 30 เซนติเมตร 3.1.4 ผนังวัสดุอย่างอื่น ต้องมีอัตราการทนไฟ ไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมง 10
ประตูบันไดหนีไฟ
ทางเข้าออกหรือช่องประตูสู่บันไดหนีไฟต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร และสูงไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร และต้องมีลักษณะดังนี้ 3.4.1 ช่องทางเข้าออกต้องมีบานประตูและวงกบทาด้วยวัสดุที่สามารถทนไฟได้ไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมง 3.4.2 มีอุปกรณ์ทาให้บานประตูปิดสนิทเพื่อป้องกันควันและเปลวไฟมิให้เข้าสู่บันไดพร้อมมีอุปกรณ์ควบคุม ให้บานประตูปิดอยู่ตลอดเวลาและสามารถผลักเปิดได้ตลอดเวลา แม้ในขณะที่ประตูได้รับความร้อน 3.4.3 บานประตูต้องเป็นบานเปิดเท่านั้น ห้ามใช้บานเลื่อนและห้ามมีธรณีประตู 3.4.4 ต้องมีชานพักบันไดระหว่างประตูกับบันไดกว้างไม่น้อยกว่า 1.2 เท่าของความกว้างของบันไดนั้น ๆ 3.4.5 ทิศทางการเปิดของประตูต้องเปิดเข้าสู่บันไดเท่านั้นนอกจากชั้นดาดฟ้า ชั้นล่างและชั้นที่เข้าออกเพื่อ หนีไฟสู่ภายนอกอาคารให้เปิดออกจากห้องบันไดหนีไฟ 3.4.6 ห้ามติดตั้งสายยู ห่วง โซ่ กลอน หรือสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันที่อาจยึดหรือคล้องกุญแจ ขัดขวางไม่ให้เปิดประตูจากภายในอาคาร 3.4.7 กรณีที่ติดตั้งกุญแจกับบานประตูเพื่อป้องกันบุคคลเข้าอาคารจากภายนอกให้ติดตั้งแบบชนิดที่ ภายในเปิดออกได้ตลอดเวลาโดยไม่ต้องใช้กุญแจ ส่วนภายนอกเปิดได้โดยใช้กุญแจเท้านั้น ที่มา : http://www.bsa.or.th
2-28
ตารางที่ 2.1 : กฎหมายอาคาร (ต่อ)
ลาดับ
กฎหมาย
ข้อกาหนดตามกฎหมาย
กรอบในการออกแบบ
8
ป้ายบอกทางหนีไฟ
ต้องมีป้ายเรืองแสงหรือเครื่องหมายไฟแสงสว่างด้วยไฟสารองฉุกเฉิน บอกทางออกสู่บันไดหนีไฟติดตั้งเป็นระยะตาม ทางเดินและบริเวณหน้าประตู หรือทางออกสู่บันไดหนีไฟ ส่วนประตูทางออกจากบันไดหนีไฟสู่ภายนอกอาคารหรือชั้น ที่มีทางหนีไฟได้ปลอดภัยต่อเนื่องให้ติดตั้งป้ายที่มีแสงสว่างข้อความ “ทางออก” หรือเครื่องหมายที่มีแสงสว่างแสดง ว่าเป็นทางออกให้ชัดเจน
ตามข้อกาหนด
9
ภายในบันไดหนีไฟ
ภายในบันไดหนีไฟจะต้องไม่มีสิ่งกีดขวางทางหนีไฟสามารถหนีไฟทางบันไดต่อเนื่องกันถึงระดับดินหรือออกสู่ภายนอก อาคารที่ระดับไม่ต่ากว่าชั้นสองได้โดยสะดวกและปลอดภัย ต้องมีเฉพาะประตูทางเข้าและทางออกฉุกเฉินเท่านั้น ห้ามทา ประตูเชื่อมต่อกับห้องอื่น เช่น ห้องสุขา ห้องเก็บของ เป็นต้น และต้องมีหมายเลขบอกชั้นของอาคารภายในบันไดหนี ไฟ
ตามข้อกาหนด
10
แสงสว่างฉุกเฉิน
ต้องมีระบบการให้แสงสว่างฉุกเฉินภายในบันไดหนีไฟและหน้าบันไดหนีไฟ โดยใช้พลังงานไฟฟ้าสารองฉุกเฉินอย่าง เพียงพอที่สามารถให้แสงสว่างได้ไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมง แสงสว่างจะต้องเปิดโดยอัตโนมัติทันทีที่กระแสไฟฟ้าในอาคาร ขัดข้อง
11
ช่องเปิดภายใน
บันไดหนีไฟภายในหรือภายนอกอาคาร ที่มีผนังสามารถเปิดระบายอากาศได้ ต้องมีช่องเปิดทุกชั้นเพื่อช่วยระบาย อากาศ
12
ลูกตั้ง ลูกนอน บันไดหนีไฟ
บันไดแต่ละช่วงสูงไม่เกินความสูงระหว่างชั้นของอาคารมีความกว้างไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร ลูกนอนกว้างไม่น้อย กว่า 22 เซนติเมตร และลูกตั้งสูงไม่เกิน 20 เซนติเมตร
13
การระบายอากาศ
การระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ ให้ใช้เฉพาะกับห้องในอาคารที่มีผนังด้านนอกอาคารอย่างน้อยหนึ่งด้าน โดยจัดให้ มีช่องเปิดสู่ภายนอกอาคารได้ เช่น ประตู หน้าต่าง หรือบานเกล็ด ซึ่งต้องเปิดไว้ระหว่างใช้สอยห้องนั้น ๆ และพื้นที่ ของช่องเปิดนี้ต้องเปิดได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของพื้นที่ของห้องนั้น
การระบายอากาศโดยวิธีกล ให้ใช้กับห้องในอาคารลักษณะใดก็ได้ โดยจัดให้มีกลอุปกรณ์ขับเคลื่อนอากาศ ซึ่งต้อง ทางานตลอดเวลาระหว่างที่ใช้สอยห้องนั้น
ที่มา : http://www.bsa.or.th
2-29
เคยทานา
พึ่งพาธรรมชาติ ภาพที่ 2.27 แสดงชาวนาขณะเกี่ยวข้าว ที่มา : https://www.google.co.th/search?hl=th&biw=1920&bih=925&tbm
2-30
2.5.3 กฎหมายด้านการรับรอมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
กฎหมายปรั บ ปรุ ง ความปลอดภั ย อาหาร (Food Safety Modernization Act – FSMA) ได้ผ่านความ เห็ น ชอบจากสภาคองเกรสของสหรั ฐ อเมริ ก าตั้ ง แต่ ปี 2554 และทางส านัก งานอาหารและยาของสหรั ฐได้เ ริ่ ม จัดท าร่ า งกฎระเบีย บเพื่ อ เริ่ม บั งคั บ ใช้ ก ฏหมายดั งกล่ า ว โดยทางสานั กงานอาหารและยาได้เปิ ดเผยร่า งระเบีย บได้ กล่าว เพื่อรับฟังความคิดเห็นจากสาธารณชนไปเมื่อเดือน มกราคม 2556 ที่ผ่านมา กฏหมายนี้ เ ป็ น การปรั บ ปรุ ง กฏหมายเกี่ ย วกั บ ความ ปลอดภั ย อาหารของสหรั ฐ ซึ่ งฉบั บ เก่ า ถู ก ใช้ม าตั้ งแต่ ปี พ.ศ. 2481 โดยกฏหมายฉบั บ ใหม่ นี้ เ น้ น ที่ ก ารเปลี่ ย น แนวคิดจากการจัดการเมื่อเกิดมีปัญหาความไม่เปลอดภัย ในอาหาร (โดยเฉพาะที่เกิดจากจุลินทรีย์ต่างๆ) มาเป็นการ ป้องกันปัญหาการปนเปื้อนแทน ซึ่งอาหารที่อยู่ในขอบข่าย ที่ต้องได้รับการควบคุมตามกฎหมายนี้คือ ผักและผลไม้สด (ที่นิยมบริโภคสด เช่น ผักสลัด แครอท แต่ยกเว้นผลผลิต ที่เกษตรกรปลูกเพื่อบริโภคเอง) โดยไม่รวมผลผลิตเกษตร ที่ต้องผ่านการปรุงก่อนการบริโภค (เช่น มันฝรั่ง) รวมถึง ผลผลิตเกษตรที่จะนาไปแปรรูปต่อ แต่กฎหมายนี้ไม่ได้เน้น เกี่ ย วกั บ ความไม่ ป ลอดภั ย ของอาหารที่ เ กิ ด จากการ ปนเปื้ อ นจี เ อ็ ม โอ สารเคมี ก าจั ด ศั ต รู พื ช หรื อ การใช้ ย า ปฏิชีวนะในการเลี้ยงสัตว์
มาตรการควบคุมจะมุ่งไปที่แหล่งปนเปื้อน เช่น น้าสาหรั บ การเกษตร ปุ๋ยและสารปรับปรุงดินที่ใช้ในการเพาะปลูก สั ต ว์ ป่ า และสั ต ว์ เ ลี้ ย งในฟาร์ ม คนงานที่ ท างานในฟาร์ ม อุปกรณ์ เครื่อ งมื อการเกษตร สถานที่ ตลอดจนการเก็ บ เกี่ ย วและการบรรจุ หี บ ห่ อ ซึ่ ง กฏหมายใหม่ นี้ ไ ด้ พ ยายาม กาหนดมาตรการควบคุมความปลอดภัยอาหารที่แตกต่าง กันตามขนาดของผู้ประกอบการ การอนุรั กษ์สิ่งแวดล้อ ม และได้ให้อานาจกับสานักงานอาหารและยาเพิ่มขึ้นในหลาย เรื่องในร่างระเบียบของสานักงานอาหารและยาได้กาหนดให้ เกษตรกรต้องจัดทาแผนความปลอดภัยอาหาร (และนาแผน นั้นไปปฏิบัติใช้ด้วย) โดยแผนดังกล่าวต้องครอบคลุม การ วิเคราะห์จุดอันตราย (Hazard analysis) วิธีการป้องกัน (Preventive controls) กระบวนกา รติ ต ตา ม (Monitoring procedures) และ มาตรการแก้ ไ ข (Corrective actions) และ มาตรการตรวจยื น ยั น (Verification) ท า ง เ ค รื อ ข่ า ย เ ก ษ ต ร ยั่ ง ยื น ข อ ง ส ห รั ฐ ( National Sustainable Agriculture Coalition) ได้ ร่ ว มกั น องค์กรสมาชิกวิเคราะห์ร่างระเบี ยบของสานั กงานอาหาร และยาและแสดงความเป็นห่วงเกี่ยวกับผลกระทบที่อาจเกิด กับเกษตรกรที่ทาเกษตรอินทรีย์และเกษตรยั่งยืนในประเทศ
ที่มาข้อมูล : http://actorganic-cert.or.th/th
ภาพที่ 2.28 แสดงข้าวปลอดสารพิษ ที่มา : http://www.thairiceforlife.com/riceproducts/index
2-31
ภาพที่ 2.29 แสดงชาวนา ที่มา : http://www.sac.or.th/databases/museumdatabase/uploads/file/RiceExhibit-01.pdf
2-32
CASE STUDY 2.6
ภาพที่ 2.36 แสดงอาคารตัวอย่าง https://readthecloud.co/location-growing-diversity-park/
2-33
01 CASE
สวนชีววิถี Growing Diversity Park ความเป็นมาของโครงการ
ภายในพืน้ ทีส่ ี่เหลี่ยมผืนผ้าแบ่งออกเป็น 2 ด้าน อาคารด้านซ้ายเป็นของมูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน อาคาร ด้านขวาเป็นของมูลนิธิชีววิถี ทัง้ สองอาคารหันหน้าเข้าหา กัน ตรงกลางเป็นพื้นทีใ่ ช้ร่วมกัน มีทงั้ แปลงพืชผักสวนครัว เรือนเพาะกล้า บ่อปลา เล้าไก่ นิทรรศการพันธุกรรม และ ร้านกาแฟที่จาหน่ายกะปิ น้าปลา เรียนรู้วิถีการกินดี อยู่ดี ด้วยพืชผักสวนครัว เครื่องปรุงปลอดสารพิษ และการ ออกแบบอาคารหลังสวยให้ตอบโจทย์การใช้งานอย่าง ยั่งยืน
ที่อยู่ : 3/12 ซอยบางอ้อ 2 ถนนไทรม้า 22 หมู่ 6 ตาบล ไทรม้า อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000
2-34
ภาพที่ 2.31 แสดงอาคารตัวอย่าง ที่มา : https://readthecloud.co/location-growing-diversity-park/
STUDY
ส่ ว นอาคารของมู ล นิ ธิ เ กษตรกรรม ยั่ ง ยื น มี ห้ อ งสมุ ด และห้ อ งประชุ ม ห้ อ งพั ก คล้ายเรือนนอนสาหรับเครื อข่ายชาวบ้า น บุ ญ ฤ ทธิ์ ตั้ ง ใ จ อ อ กแ บ บ ตั ว อ า คา ร ใ ห้ กลมกลืน กั บ ผู้ ใ ช้ งาน คล้ า ยบ้ า นไม้ ย กสู ง ของคนไทยสมัยก่อน นอกจากสวนชี ว วิ ถี จ ะเป็ น พื้ น ที่ ก าร เรี ย นรู้ แ บบครบวงจร ทั้ งด้ า นการเกษตร และการกินเพื่อชีวิตที่ดี ในอนาคตสวนชีววิถีจะทากิจกรรมร่วมกับ ชุมชนใกล้เคียง จัดตลาดนัดขนาดย่อม ชวนชาวบ้าน น า ผ ล ผ ลิ ต เ ข้ า ม า ข า ย เ พื่ อ ส ร้ า ง ความสัม พัน ธ์อั นดี และส่งเสริม ให้ ชุม ชนได้ เก็บเกี่ยวผลผลิตที่ปลอดสารพิษมาแบ่งปัน ให้พวกเราจับจ่ายใช้สอยกันด้วย
ที่มา : https://readthecloud.co/location-growingdiversity-park/
2-35
02 CASE
Glorious green office in Tokyo a showpiece for urban agriculture ความเป็นมาของโครงการ จากอาคารสานักงานเก่าแก่กว่า 50 ปี ถูกปรับปรุง ใหม่โดยบริษัท Kono Designs เพิ่มผนังไม้เลื้อยรอบ อาคาร เพื่อช่วยลดความร้อนที่จะเข้ามาภายใน และ กลายเป็นแหล่งผลิตอาหารให้กับพนักงานที่อยู่ภายใน บริ ษั ท มี พื้ น ที่ ส าหรั บ ผลิ ต อาหารภายในอาคาร สาหรับการปลูกผักและผลไม้กว่า 200 ชนิด ทั้ง บร็ อกโครลี่ ผั กกาดหอม มะเขือ เทศ และสามารถปลู ก ข้า วบนนาเที ยม โดยใช้ ใ ช้แ สงสั ง เคราะห์ จ ากหลอด ไฟฟ้าแทนแสงอาทิตย์ ชวนให้นึกถึงโดราเอมอน ตอน ที่โนบิตะกับโดราเอมอน ชวนกันไปทานาข้าวกันเองใน บ้านมากๆ
ความเป็นมาของโครงการ “ข้า วไทยนั้น ไม่ มีสารพิษ จริ ง ๆ เป็ นข้ าวที่ มีคุณ ภาพ แต่ ข้ า วที่มี ส ารพิ ษนั้ น เป็ น ข้า วต่ า งประเทศ โดยย้ อ ม แมวว่าเป็นข้าวไทย ทาให้ต่างประเทศเข้าใจผิดว่าข้าว ไทยมีสารพิษ อาร์ซน ี ิค คือสารหนูนั่นเอง สารพิษอาร์ ซีนิค จะมี อยู่ ในดิ น ในน้ า ทาให้สุข ภาพเสี ย ลุ่มแม่น้ า โขงก็ มี ม ากมาย เพราะฉะนั้ น ต้ น ข้ า วก็ ต้ อ งดู ด เอา สารพิษนี้ขึ้นไป ข้าวของไทยนั้นขอให้พวกเราภูมิใจได้ ว่าข้าวไทยเราเป็นข้าวคุณภาพ”
ภาพที่ 2.32 แสดงอาคารตัวอย่าง ที่มา : http://www.talontv.net
2-36
STUDY The Pasona Group’s blooming headquarters doubles as a promotional tool for farming
ที่มา:https://www.curbed.com/2016/11/28/13763 652/green-building-office-urban-farm-tokyopasona 2-37
03 CASE STUDY PALACIO DEALFACE ลักษณะอาคาร ลักษณะของอาคารเป็นอาคารที่มีความโปร่งใสช่วย ในเรื่ อ งแสงในการปลู ก พื ช ที่ ต้ อ งการใช้ แ สงแดดจาก ธรรมชาติ และท าให้ ผู้ ค นด้ า นนอกที่ ม องข้ า มมาเห็ น ถึ ง ขั้ น ตอนการผลิ ต ซึ่ ง ท าให้ ผู้ ค นตระหนั ก ถึ ง คุ ณ ค่ า และ สร้างความปลอกภัย ทาให้รู้สึกเหมือนในสวนหลังบ้าน โครงการนี้ทาให้เกิดการผลิตที่ปลอดภัยสร้างสุขภาพที่ ดีแก่คนเมือง
ภาพที่ 2.29 แสดงอาคารตัวอย่าง ที่มา : http://luciliadiniz.com/palacio-de-alface/ 2-38
ตารางที่ 2.2 : ตารางวิเคราะห์ประเภทอาคารตัวอย่าง
สวนชีววิถี Growing Diversity Park
Glorious green office in Tokyo a showpiece for urban agriculture
PALACIO DEALFACE
พื้นที่ใช้สอยในโครงการ
พื้นที่อาคาร 2.5 ไร่ เป็นของมูลนิธิชีววิถี 1.5 ไร่ และเป็นของมูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน 1 ไร่
อาคารสานักงานสูง 9 ชั้น 43,000 ตารางฟุต
-
โครงสร้างประกอบ
โครงสร้างคอนกรีต เสริมเหล็ก
โครงสร้างคอนกรีต เสริมเหล็ก
โครงสร้างเหล็ก กระจก
อาคารตัวอย่างที่ใช้เปรียบเทียบ
รูปภายนอกอาคาร
รูปภายในอาคาร
2-39
ตารางที่ 2.2 : ตารางวิเคราะห์ประเภทอาคารตัวอย่าง (ต่อ)
สวนชีววิถี Growing Diversity Park การจัดวางผังโครงการ นาวิธีการจัดการผังโครงการ และฟังก์ชั่นการใช้งานในส่วนของ โครงการ และโปรแกรมบางส่วนข้าว และฟังก์ชั่นการบริหารต่างๆทางด้าน การเกษตร
Glorious green office in Tokyo a showpiece for urban agriculture การจัดวางโปรแกรม เลือกวิธีการจัดการ การปลูก ให้มีความหลากหลายและเหมาะสมกับ พื้นที่ ในโครงการตัวเอง
PALACIO DEALFACE
โครงสร้าง การใช้โครงสร้างเหล็กและ กระจก เพื่อให้คนภายนอกมองเห็น ภายในอาคารและวิธีการจัดการกับ โครงสร้างเหล็ก ที่ต้องมีคือการปลูก พืชบนโครงสร้างเหล็ก และการรับ น้าหนักหรือรวมไปถึงการดูแลรักษา
2-40
2-41
SITE ANALYSIS
3.1 ประวัติความเป็นมาที่ตงั้ โครงการ จังหวัดปทุมธานีมีความเป็นถิ่นฐานบ้านเมืองมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 300 ปี นับตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ มหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยา คือ เมื่อ พ.ศ. 2202 มังนันท มิตรได้กวาดต้อนครอบครัวมอญ เมืองเมาะตะมะ อพยพ หนีภัยจากศึกพม่า เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวกรุงเทพทวาราวดีศรีอยุธยา ซึ่งสมเด็จพระ นายรายณ์มหาราชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ครอบครัวมอญเหล่านั้นไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านสาม โค้ก ต่อมาในแผ่นดิน สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชแห่ง กรุงธนบุรีชาวมอญได้อพยพหนีพม่าเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิ สมภารอีกเป็นครั้งที่ 2 พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตั้งบ้านเรือนที่บ้านสามโคกอีก และในรัชกาล พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศล้นภาลัย ก็ได้มีการอพยพชาว มอญครั้งใหญ่จากเมืองเมาะตะมะเข้าสู่ประเทศไทยเรียกว่า "มอญใหญ่" พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชาว มอญบางส่วนตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านสามโคกอีก เช่นเดียวกัน จากชุมชนขนาดเล็ก บ้านสามโคกจึง กลายเป็น เมืองสามโคก ในเวลาต่อมา ต่อมาเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2358 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศล้นภาลัยโปรดเกล้าฯให้ เปลี่ยนชื่อเมืองสามโคก เป็น เมืองประทุมธานี และเมื่อ พ.ศ.2461 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรด เกล้าฯ ให้ใช้คาว่า "จังหวัด" แทน "เมือง" และให้เปลี่ยนการ สะกดชื่อใหม่จาก "ประทุมธานี" เป็น "ปทุมธานี" กลายเป็น จังหวัดปทุมธานี ต่อมาเมื่อ พ.ศ.2475 ในสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ยุบ จังหวัดธัญบุรีมาขึ้นกับจังหวัดปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี จึงได้แบ่งการปกครองเป็น 7 อาเภอดังเช่นปัจจุบัน พ.ศ.2461 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
PATHUMTHANI “ถิ่นบัวหลวง เมืองรวงข้าว เชื้อชาวมอญ นครธรรมะ พระตาหนักรวมใจ สดใส เจ้าพระยา ก้าวหน้าอุตสาหกรรม”
ภาพที่ 3.1 แสดงเอกลักษณ์จังหวัดปทุมธานี ที่มา : จากการวิเคราะห์,สุภารัตน์ โฉมปราชญ์
3-1
3.1.1 ข้อมูลลักษณะทางกายภาพ
01 ทาเลที่ตั้ง เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทยเป็นหนึ่ง ในห้าจังหวัดในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณ ลุ่มแม่น้าเจ้าพญาทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร ี่ตั้งและอาณา เขตปทุมธานีเป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่บนพื้นที่ราบลุ่มภาคกลางของ ประเทศไทย ประมาณละติจูด 14 เหนือ ลองจิจูด 100 ตะวันออก มีเนื้อที่ 1,528.16 ตาราง กิโลเมตร อยู่ทางด้านเหนือของกรุงเทพมหานคร มีอาณา เขตติดต่อบริเวณใกล้เคียงดังนี้คือ ทิศเหนือ ติดต่อกับ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาและสระบุรี ทิศใต้ ติดต่อกับ จังหวัดนนทบุรีและกรุงเทพมหานคร ทิศตะวันออก ติดต่อกับ จังหวัดนครนายก ทิศตะวันตก ติดต่อกับ จังหวัดนนทบุรี ที่มา : http://www2.pathumthani.go.th/index.php
ดังนั้นรายละเอียดโครงการหรือหัวข้อพิจารณาต่างๆ ของ การเลือกที่ตั้ง และความเป็นไปได้ของโครงการจึงจาเป็นจะต้อง คานึงและดาเนินการให้สอดคล้องกับสภาพพื้นฐานขั้นตอนต่างๆที่ จาเป็นต่อโครงการ
02 สภาพภูมิประเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดเป็นที่ราบลุ่มริมสองฝั่งแม่น้า โดยมีแม่น้าเจ้าพระยาไหลผ่านใจกลางจังหวัดในเขตอาเภอเมือง ปทุมธานีและอาเภอสามโคก ทาให้พื้นที่ของจังหวัดปทุมธานีถูกแบ่ง ออกเป็น 2 ส่วน คือ ฝั่งตะวันตกของจังหวัดหรือบนฝั่งขวาของ แม่น้าเจ้าพระยาได้แก่ พื้นทีใ่ นเขตอาเภอลาดหลุมแก้วกับพื้นที่ บางส่วนของอาเภอเมืองและอาเภอสามโคก กับฝั่งตะวันออกของ จังหวัด หรือบนฝั่งซ้ายของแม่น้าเจ้าพระยา ได้แก่ พื้นที่อาเภอเมือง บางส่วน อาเภอธัญบุรี อาเภอคลองหลวง อาเภอหนองเสือ อาเภอลาลูกกา และบางส่วนของอาเภอสามโคก โดยปกติระดับน้าในแม่น้าเจ้าพระยาในฤดูฝนจะเพิ่มสูงขึ้น เฉลี่ยประมาณ 50 เซนติเมตร ซึ่งทาให้เกิดภาวะ น้าท่วมในบริเวณ พื้นที่ราบริมฝั่งแม่น้าเจ้าพระยาเป็นบริเวณกว้างและก่อให้เกิดปัญหา อุทกภัยในพื้นที่ฝั่งขวาของ แม่น้าเจ้าพระยาสาหรับพื้นที่ทางฝั่งซ้าย ของแม่น้าเจ้าพระยานั้นเนื่องจากประกอบด้วยคลองซอยเป็นคลอง ชลประทานจานวนมากสามารถควบคุมจานวนปริมาณน้าได้ทาให้ ปัญหาเกี่ยวกับอุทกภัยมีน้อยกว่า
ลักษณะพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่มอยู่บนสอง ฝั่งของลาน้าเจ้าพระยา ซึ่งไหลผ่านใจกลางจังหวัด แยกพื้นที่ออกเป็น 2 ฝั่ง ฝั่งตะวันออกประกอบด้วย อาเภอธัญบุรี อาเภอล้าลูกกา อาเภอคลองหลวงและ อาเภอหนองเสือฝั่งตะวันตกประกอบด้วย อาเภอลาด หลุมแก้ว ส่วนอาเภอเมือง และอาเภอสามโคกมีพื้นที่ ครอบคลุมทั้งสองฝั่งแม่น้าเจ้าพระยามีคลองสาขา มากมายที่แยกออกจากแม่น้าเจ้าพระยา และแยกเป็น คลองซอยไหลผ่านอาณาบริเวณต่าง ๆ โดยทั่วไป จังหวัดปทุมธานีมีพื้นที่ 2 ใน 3 เป็นนาข้าว ทีเ่ หลือ นอกนั้นเป็นไร่และสวน จังหวัดปทุมธานีอยู่ภายใต้อิทธิพลของมรสุม 2 ชนิดคือมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งพัดจากทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือปกคลุมในช่วงฤดูหนาว ท้าให้ บริเวณจังหวัดปทุมธานีประสบกับสภาวะอากาศ หนาวเย็นและแห้งแล้ง กับมรสุมอีกชนิดหนึ่งคือมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งพัดจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ปก คลุมในช่วงฤดูฝนท้าให้อากาศชุ่มชื้นและมีฝนตก
อาณาเขตการติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง
KHLONG LUANG
PATHUMTHANI
ภาพที่ 3.2 : แสดงแผนที่จังหวัดปทุมธานี ที่มา : จากการวิเคราะห์,สุภารัตน์ โฉมปราชญ์
3-2
3.1.2 ข้อมูลโครงสร้างทางเศรษฐกิจ การศึกษา และวัฒนธรรม อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
หอจดหมายเหตุเฉลิมประเกียติ ฯ วัดเจดีย์หอย
เศรษฐกิจ จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี เ ป็ น พื้ น ที่ เ กษตรกรรมส าคั ญ แห่ ง หนึ่ ง ของ ประเทศ โดยมี พื้ น ที่ ก ารเกษตร 506,678 ไร่ หรื อ ร้ อ ยละ 53.03 ของพื้นที่จังหวัด (สารวจเมื่อปี พ.ศ. 2546) ในปัจจุบัน นอกจากการเกษตรแล้ว จังหวัดยังเป็นพื้นที่อุตสาหกรรมสาคัญ แห่งหนึ่งของประเทศ มีนิคมอุตสาหกรรมกระจายอยู่ทั้งจังหวัด โดยผลิ ต ภั ณ ฑ์ โ ดยรวมเกื อ บร้ อ ยละ 70 ของจั ง หวั ดมาจาก ภาคอุตสาหกรรม (สารวจเมื่อปี พ.ศ. 2543) พื้น ที่ก ารเกษตรมี อยู่ ใ นทุ กอ าเภอ และมีม ากที่ สุดในเขตอ าเภอ หนองเสือ อาเภอลาลูกกา อาเภอลาดหลุมแก้ว และอาเภอคลอง หลวงตามล าดั บ โดยพื้ น ที่ ข องจั งหวั ดจะมี ก ารท าการเกษตร ส่วนใหญ่เป็นที่นา ไม้ผล และไม้ยืนต้น ตามลาดับ การศึกษา จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี มี วิ สั ย ทั ศ น์ ที่ จ ะพั ฒนาปทุ ม ธานี ใ ห้ เ ป็ น เมื อ ง ศูน ย์ ก ลางการศึ ก ษา วิ จั ย และพั ฒนาเทคโนโลยี ข องภู มิ ภ าค (Education and Technology Hub) พร้อมทั้งเสริมสร้าง ความเข้ ม แข็ งวิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม โดยเฉพาะ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการเกษตร โดยใช้จุดได้เปรียบของ การที่มีสถาบันการศึกษาและวิจัย รวมทั้งภาคอุตสาหกรรมด้าน เทคโนโลยี อยู่ในตัวจังหวัดและพื้นที่ใกล้เคียงเป็นจานวนมาก
สถาบันวิจัย อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ศูนย์วิจัย แห่งชาติ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม (ศวฝ.) สถาบันนวัตกรรม ทีโอที (ทีโอที) ภาพที่ 3.3 แสดงเอกลักษณ์จังหวัดปทุมธานี ที่มา : จากการวิเคราะห์,สุภารัตน์ โฉมปราชญ์
3-3
ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี จังหวัดปทุมธานี เปิงสงกรานต์ เป็นประเพณีสงกรานต์ ข้าวแช่ของชาวไทยรามัญ มีการนาข้าว สุกแช่ลงในน้า เย็นลอยดอกมะลิ พร้อมกับจัดอาหารคาวหวาน เป็นสารับแล้วแห่ไปถวายพระ และญาติผู้ใหญ่ที่เคารพนับถือในวัน สงกรานต์ พอตกบ่ายก็จะมีการก่อพระ ทรายและร่วมปล่อยนก ปล่อยปลา นาน้าหอมไปสรงน้าพระ และยกขบวนไปรด น้าอวย พรผู้ใหญ่
ภาพที่ 3.4 แสดงประเพณีเปิงสงกรานต์ ที่มา : https://suttidakeekee.wordpress.com
3-4
ทะแยมอญ ทุกโอกาสที่ต้องการความสนุกสนานครึกครื้น เป็นการละเล่น พื้นเมืองของหนุ่มสาวชาวมอญ มีลักษณะคล้ายหมอลาของภาค อีสาน หรือลาตัดของคนไทยภาคกลาง มีการร้องเพลงเกี้ยวพา ราสีต่อปากต่อคากัน
การราพาข้าวสาร เป็นประเพณีของชาวมอญ นิยมทากันหลังจากการออกพรรษา เป็นช่วงการ ทอดกฐินและทอดผ้าป่า คือ ถ้าวัดใดยังไม่มีการ จองกฐิน หรือยังไม่ได้ทอดกฐินชาวบ้านก็จะช่วยกันจัดกฐินไป ทอด โดยคณะผู้ราพาข้าวสารจะพายเรือไปจอด ที่หัวบันไดบ้าน แล้วจะร้องเพลงเชิญชวนให้ทาบุญ เช่น บริจาคข้าวสาร เงิน ทองและสิ่งของ เมื่อได้รับแล้วก็จะร้องเพลงอวยพรให้ผู้บริจาคมี ความสุข ความเจริญ การราพาข้าวสารจะเริ่มตั้งแต่ 19.00 น. ไปจนถึงเที่ยงคืนจึงเลิกและพากันกลับบ้านและในคืนต่อไปคณะรา พาข้าวสารก็จะพายเรือไปขอรับบริจาคที่ตาบลอื่นๆ จนกระทั่ง เห็นว่าข้าวของที่ได้มาพอที่จะทอดกฐินแล้วจึงยุติการราพา ข้าวสารจากนั้นจึงนาสิ่งของที่ได้ไปทอดกฐินที่วัดนั้น
การจุดลูกหนู เป็นประเพณีเผาศพพระภิกษุ-สามเณรใช้ดอกไม้เพลิงเป็นฉนวน ร้อยด้วยเชือกฉนวน เมื่อจุดไฟ ไฟจะวิ่งตามฉนวนไปยังดอกไม้ เพลิง ดอกไม้เพลิงจะวิ่งไปจุดไฟที่เมรุ
ประเพณีตักบาตรพระร้อย เป็นประเพณีอันดีงามของชาวมอญในจังหวัดปทุมธานีที่ทาใน เทศกาลออก พรรษาในวันแรม 1 ค่า เดือน 11 เป็นต้นไป สืบ ทอดมานับร้อยปี ด้วยการนา อาหารคาว-หวานลงเรือมาจอด เรียงรายริมฝั่งแม่น้าเจ้าพระยาโดยมีเชือกขึงไว้ เป็นแนวเพื่อรอตัก บาตร จากนั้นพระจากวัดต่าง ๆ ก็จะลงเรือมารับบิณฑบาตร จากเรือที่จอดอยู่โดยการสาวเชือกตั้งแต่ต้นจนสุดปลายเชือก หลังจากพิธีตัก บาตรในช่วงเช้าแล้ว ทางวัดจะจัดให้มีงานปิด ทองนมัสการพระประธานใน โบสถ์ มีการแข่งเรือ และมหรสพ พื้นบ้าน
มอญรา เป็นประเพณีของชาวรามัญโบราณตั้งแต่สมัยสมเด็จพระ นารายณ์มหาราช มีการใช้ปพ ี่ าทย์มอญเล่นประกอบการราและ การร้อง ใช้หญิงสาวจานวน 8-12 คนขึ้นไปราในงานพิธีมงคล โดยจะแต่งกายชุดของชาวมอญห่มสไบเฉียง เสื้อแขนยาว ทรงกระบอกคอกลม เกล้าผมมวยรัดด้วยดอกมะลิ ทัดดอกไม้ สดข้างหูและสวมกาไลที่ข้อเท้า
การเล่นสะบ้า จัดขึ้นในวันสงกรานต์เป็นการละเล่นพื้นบ้านของชาวมอญจัดขึ้น ในวันสงกรานต์ตอนบ่ายๆ หนุ่มสาวชาวบ้านพบปะสมาคมกัน อย่างใกล้ชิด โดยพวกผู้ใหญ่ทั้งสองฝ่ายจะเปิดโอกาสให้ลูกหลาน ของตนแต่งกายให้สวยงาม มาชุมนุมเล่นทอยลูกสะบ้ากัน
ที่มา : https://www.baanjomyut.com/76province/center/pratumthani/costom.html
3.2 การวิเคราะห์ทาเลที่ตั้ง หลักการพิจารณาเลือกกลุ่มที่ตั้งโครงการโดยกาหนด ดังนี้ - ย่าน เนื่องจากเป็นโครงการที่รองรับการใช้งานของ ชุมชน จึง ตั้งอยู่ในเขตเมือง - การจราจร การคมนาคมอยู่ในที่การจราจรสะดวกในปัจจุบันและ อนาคต - การเข้าถึงถ้ายานพาหนะ และผู้คนเข้าถึงง่าย เป็นที่รู้จักสาหรับ คนทั่วไปหรือมีแนวโน้มคนที่จะรู้จักมากขึ้น - ความสาพันธ์เชื่อมต่อกับส่วนอื่น มีความสาพันธ์กับพื้นที่อื่นๆ เป็นศูนย์กลางซึ่งผู้คนจากแหล่งต่างๆ - ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการพร้อมสะดวกเพียง พอที่จะรองรับกับกิจกรรมโครงการ - การขยายตัวในอนาคต พื้นที่นั้นๆต้องส่งเสริมโครงการอยู่ในเมือ่ มีการขยายตัวในอนาคต - สภาพแวดล้อม เป็นพื้นที่เดิมในการทาเกษตร ใกล้แหล่งเรียนรู้ ใกล้แหล่งน้า
SITE ANLYSIS ภาพที่ 3.5 แสดงการวิเคราะห์ทาเลที่ตั้ง ที่มา : จากการวิเคราะห์,สุภารัตน์ โฉมปราชญ์
3-5
3.2.1 การวิเคราะห์เปรียบเทียบการพิจารณาโครงการ ตารางที่ 3.1 : ตารางการเปรียบเทียบที่ตั้งโครงการ
3-6
ตารางที่ 3.1 : ตารางการเปรียบเทียบที่ตั้งโครงการ (ต่อ)
01 -
ที่ตั้ง ตาบล คลองห้า อาเภอ คลองหลวง ปทุมธานี 12120 ขนาดพื้นที่ 18,698 ตารางเมตร = 11.68625 ไร่ พื้นที่ประเภท ชุมชนและเกษตรกรรม FAR : 1 / OFR : 40 เป็นพื้นที่ทางเกษตรแต่เดิม อยู่ใกล้พิพิธภัณฑ์ แหล่งการเรียนรู้ สถานศึกษา - อยู่ใกล้แหล่งน้า
02 -
ที่ตั้ง ตาบล คลองห้า อาเภอ คลองหลวง ปทุมธานี 12120 ขนาดพื้นที่ 18,000 ตารางเมตร = 11 ไร่ พื้นที่ประเภท ชุมชนและเกษตรกรรม FAR : 1 / OFR : 40 เป็นพื้นที่ทางเกษตรแต่เดิมและยังเป็นพื้นที่ในโซนแหล่งการเรียนรู้ ที่อยู่ในระยะ 500 เมตร อยู่ใกล้พิพิธภัณฑ์ แหล่งการเรียนรู้ สถานศึกษา
03 -
ที่ตั้ง ตาบล คลองสี่ อาเภอ คลองหลวงปทุมธานี 12120 ขนาดพื้นที่ 24,474 ตารางเมตร = 15.29625 ไร่ พื้นที่ประเภท ชุมชนและเกษตรกรรม FAR : 1 / OFR : 40
3-7
แผนภูมิ 3.1 การวิเคราะห์แล้วเปรียบเทียบข้อพิจารณาเลือกที่ตั้งให้เหมาะสมกับโครงการ
การเข้าถึงโครงการ การคมนาคม/การสัญจร
เป็นพื้นที่โล่งแจ้ง สามารถขยายตัวได้ในอนาคต
อยู่ใกล้แหล่งการเรียนรู้ แหล่งการศึกษา พื้นที่ชุมชน
SITE 2
SITE 1
10
SITE 2
10 10
SITE 3
ตารางที่ 3.2 แสดงการวิเคราะห์และเปรียบเที่ยบทาเลที่ตั้ง ที่มา : จากการวิเคราะห์,สุภารัตน์ โฉมปราชญ์
3-8
10
SITE 2
4 5 8
SITE 2
SITE 3
TOTAL
8
SITE 1
SITE 1
พื้นที่อนุรักษ์เกษตรอินทรีย์
5
SITE 3
SITE 3
เป็นพื้นที่เกษตรกรรมเดิม
6 6
SITE 1
6 29
SITE 1
34
SITE 2 SITE 3
25
- ที่ตั้ง ตาบล คลองห้า อาเภอ คลองหลวง ปทุมธานี 12120 - ขนาดพื้นที่ 18,000 ตารางเมตร = 11 ไร่ - ที่ตั้งโครงการอยู่จากถนนหลัก 3.3 กม. เดินทางใช้เวลาไม่นาน - การมาถึงโครงการจากถนนเส้น รังสิตนครนายกเลี้ยวลงถนนทางหลวงชนบท ปทุมธานี 3010
LOCATION
SITE 02 หมู่บ้านธาราวิลล์
ที่ตั้งโครงการ และพื้นที่ใกล้เคียง
บึงน้าสาธารณะ
วัดแสวงสามัคคีธรรม อ่างเก็บน้าพระรามเก้า ฯ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม
อาคารอนุรักษ์พลังงานเฉลิมพระเกียรติ
พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์
ภาพที่ 3.6 แสดงแผนที่บริเวณที่ตั้งโครงการ ที่มา : จากการวิเคราะห์,สุภารัตน์ โฉมปราชญ์
3-9
3.3 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การใช้ประโยชน์ของโครงการ อยู่ในเขตสีเขียว ชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) ก 1 บริเวณพื้นที่เกษตรกรรม การสงวน รักษา สภาพทางธรรมชาติและการส่งเสริม เศรษฐกิจการเกษตร ก 2 บริเวณที่เป็นชุมชนและศูนย์ กลางการ ให้บริการทางสังคมและส่งเสริมเศรษฐกิจ ชุมชนในพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม ก 3 บริเวณที่เป็นพื้นที่รองรับการขยายตัว ของที่ อยู่อาศัยจากศูนย์ กลางเมืองและ ชานเมือง
ภาพที่ 3.7 แสดงแผนที่บริเวณที่ตั้งโครงการ ที่มา : https://map.longdo.com/
3-10
3.4 รายละเอียดทีต ่ ั้งโครงการ 3.4.1 วิเคราะห์ลักษณะทางการภาพ ลักษณะการใช้ที่ดิน
ลักษณะที่ดินในเขตอาเภอคลองหลวง เป็นที่ดิน ประเภทสีเขียว ประเภทพื้นที่ชุมชนและ เกษตรกรรม
ระบบสาธารณูปโภค
ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ในเขต อาเภอครบครัน
ราคาที่ดิน
บาท
ที่ตั้งโครงการ
เป็นพื้นที่ทางการเกษตรใกล้แหล่งการเรียนรู้ แหล่งน้า ชุมชน
ขนาดพื้นที่
78.86 M 170.82 M
SITE 178.37 M
92.60 M ถนนทางหลวงชนบท ปทุมธานี 3010
ขนาดที่ดิน 11 ไร่ (18,000 ตารางเมตร)
หน่วยงานที่รับผิดชอบ รัฐบาล 18,000
ศักยภาพการขยายตัว เนื่องจากเป็นที่ดินประเภทสีเขียว ใกล้แหล่งการ เรียนรู้ จึงมีโอกาสในการขยายตัวทางด้าน แหล่งการเรียนรู้ และธุรกิจ
ภาพที่ 3.8 แสดงขนาดที่ตั้งโครงการ ที่มา : จากการวิเคราะห์,สุภารัตน์ โฉมปราชญ์
3-11
3
1
2
แสดงมุมมองจากที่ตั้งโครงการ
แสดงมุมภาพที่2 3-12
แสดงมุมภาพที่ 1
แสดงมุมภาพที่ 3
ภาพที่ 3.9 แสดงมุมมองบริเวณที่ตั้งโครงการ ที่มา : https://map.longdo.com/
3 2 1
แสดงมุมมองจากภายนอกที่ตั้งโครงการ
แสดงมุมภาพที่2
แสดงมุมภาพที่ 1
แสดงมุมภาพที่ 3
ภาพที่ 3.10 แสดงมุมมองบริเวณที่ตั้งโครงการ ที่มา : https://map.longdo.com/
3-13
เส้นทางการเข้าถึงโครงการ (จากถนนรังสิต นครนายก-ถนนทาง หลวงชนบท ปทุมธานี 3010 )
3-14
แหล่งน้า (จากอ่างเก็บน้าพระรามเก้าผ่านลา คลองชลประทาน 5)
สิ่งแวดล้อมรบกวน เสียง ฝุ่น ที่เข้าสู่โครงการ
ภาพที่ 3.11 : แสดงการวิเคราะห์บริเวณที่ตั้ง ที่มา : https://map.longdo.com/ โครงการ
ภูมิสัญลักษณ์ -
พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ อาคารอนุรักษ์พลังงานเฉลิมพระเกียรติ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมรอบๆโครงการ
สภาพอากาศ
อาคารอนุรักษ์พลังงาน เฉลิมพระเกียรติ
พิพิธภัณฑ์ วิทยาศาสตร์
ศูนย์วิจัยและฝึกอบรม ด้านสิ่งแวดล้อม
ภาพที่ 3.12 : แสดงวิเคราะห์บริเวณที่ตั้งโครงการ ที่มา : https://map.longdo.com/
3-15
หมู่บ้านธาราวิลล์
1 2
3
วัดแสวงสามัคคีธรรม
6
อ่างเก็บน้าพระรามเก้า ฯ
4
5
อาคารอนุรักษ์พลังงาน เฉลิมพระเกียรติ
ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ภาพที่ 3.13 แสดงสถานที่บริเวณที่ตั้งโครงการ ที่มา : https://map.longdo.com/
3-16
“อยู่ที่นี่เราสบาย ถ้าจะไปใจแม่หาย เพราะเขาไม่รู้บุญคุณ แม่ จะให้แต่เมล็ดข้าวไปดูแลฝูงคน เมื่อ เก็บนึกถึง เรา เราจะไปปีละหน ตรวจดูผู้คน เก็บเกี่ยวแล้วให้ทาขวัญ” ที่มา : http://www2.tsu.ac.th/icofis/main/files_menu.pdf
ภาพที่ 3.14 แสดงวิธีชีวิตชาวนา ที่มา : https://suttidakeekee.wordpress.com 3-17
ARCHITECTURAL PROGRAMMING
ภาพที่ 4.1 แสดงที่อยู่อาศัยกลางนาข้าว ที่มา : https://travel.mthai.com/blog/169041.html
04
การกาหนดรายละเอียดโครงการ 4.1 ความเป็นมาของโครงการ
ประเทศไทยเป็นประเทศผู้ผลิตข้าวเป็นอันดั บ ต้น ๆ ของโลกด้ ว ยลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศของประเทศ ไทยนั้น เหมาะสมเป็น อย่ างยิ่งในการประกอบอาชี พ เกษตรกรรมโดยเฉพาะการทานาข้า ว แต่ด้ว ยการ เปลี่ ยนแปลงของโลก ทรัพ ยากรธรรมชาติที่ถู กทา ลายลงไปเป็ น อย่ า งมาก นามาสู่ ก ารเสี ย สมดุ ล ปัญหาราคาผลผลิตที่ตกต่่ากลับยิ่งตอกย้่าว่า บัดนี้ การทานาข้าว มิใ ช่อาชีพที่เป็นทางเลือกที่เหมาะสม กับทุกๆ คน ทุกๆ พื้นที่เสมอไป จั งหวั ด ปทุ ม ธานี เ ป็ น พื้ น ที่ เ กษตรกรรมส่ า คั ญ แห่ ง หนึ่งของประเทศโดยมีพื้นที่ก ารเกษตร506,678ไร่ หรือร้ อยละ53.03ของพื้นที่ จังหวัดในปัจจุบั นพื้น ที่ การเกษตรมี อ ยู่ ใ นทุ ก อ่ า เภอและมี ม ากที่ สุ ด ในเขต อ่าเภอหนองเสืออ่าเภอลาลูกกาอ่าเภอลาดหลุมแก้ว และอ่ า เภอคลองหลวงตามลาดั บ โดยพื้ น ที่ ข อง จังหวัดจะมีการทาการเกษตรส่วนใหญ่เป็นที่นาข้าว ไม้ผลและไม้ยืนต้นตามลาดับ จังหวัดปทุมธานีมีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ อย่างรวดเร็วในปีพ.ศ.2543ประชากรมีรายได้เฉลี่ย ต่อคน2,064,288บาทต่อปีนับว่าสูงเป็นอันดับที่ 6 ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ร อ ง จ า ก จั ง ห วั ด ร ะ ย อ ง ช ล บุ รี กรุ งเทพมหานครสมุ ท รสาครและจั งหวั ด ภู เ ก็ ต โดย พื้ น ที่ เ ข ตอ่ า เ ภอ คล อ งหลว งมี จ า นวนโ รงงา น อุตสาหกรรมหนาแน่นมากที่สุด รองลงมาคืออ่าเภอ เมื องปทุม ธานี อ่า เภอลาลู กกาอ่ า เภอธัญ บุรี อ่ าเภอ ลาดหลุมแก้วและอ่าเภอสามโคกส่วนพื้นที่ที่มีโรงงาน น้อยที่สุดได้แก่อ่าเภอหนองเสือ ปัจจุบันพื้นที่ของจังหวัดปทุมธานีแบ่งออกเป็น -พื้นที่เกษตรกรรมรกร้าง 40% -พื้นที่เกษตรกรรม 30% -พื้นที่ชุมชนและแหล่งงานอีก 30%
จังหวัดปทุมธานีเป็นสังคมเกษตรกรรม แต่นโยบาย ของรั ฐ บาลที่ ต้ อ งการพั ฒ นาพื้ น ที่ ข อ งจั ง หวั ด กรุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑล โดยการกระจาย แหล่ งงานและอุ ต สาหกรรมซึ่ งเป็ น ที่ ม าหลั ก ที่ พื้ น ที่ เกษตรกรรมโดนลุกล้า แผนพัฒนาจังหวัดปทุมธานี ในปีพ.ศ.2558-2561 ได้ก่าหนดวิสัยทัศน์ เพื่อก่าหนดทิศ ทางการพัฒนา “ ปทุ ม ธานี เ ป็ น เมื อ งสิ่ ง แวดล้ อ มสะอาด อาหาร ปลอดภัย แหล่งท่องเที่ยว เรียนรู้ และพักผ่อนหย่อน ใ จ ข อ ง อ า เ ซี ย น สั ง ค ม อ ยู่ เ ย็ น เ ป็ น สุ ข ” โ ด ย มี เป้ า ป ร ะ ส งค์ คื อ ก า ร เป็ น เ มื อ ง ที่ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่งแวดล้อม เป็นแหล่งที่ผลิตอาหารปลอดภัย และมี แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว ที่ เ ป็ น ที่ พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจ รวมทั้ ง ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น โดยมีหน่วยงานที่ รั บ ผิ ด ชอ บที่ ส่ า คั ญ คื อ สา นั ก งานเกษตรและ สหกรณ์จังหวัด ปทุมธานี สานักงานเกษตรจังหวัด ปทุมธานี นอกจากแผนพัฒนาแล้วยั งมีนโยบายเพื่อ สนับสนุ น ทางการพัฒนา“การเสริ มสร้างความเข้มแข็งระบบ เกษตรปลอดภั ยอย่า งครบวงจร”จึงมีแ นวนโยบาย ส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตสินค้าเกษตรปลอดสารพิษ อย่ า งครบวงจรไม่ ว่ า จะเป็ น สิ น ค้ า เกษตรประเภท พืชผักปศุสัตว์และสัตว์น้าจืดเพื่อส่งต่อให้กับผู้บริโภค ได้บ ริโ ภคสิน ค้า เกษตรที่ป ลอดสารพิ ษดี ต่อ สุข ภาพ ดังนั้น ควรมี ศูนย์ก ารเรี ยนรู้ข้ าวและชาวนาไทยเพื่ อ ศึกษา และให้ ความรู้ ด้านวิธีชีวิตของเกษตรกรและ การทาเกษตรกรรมปลอดภัยอย่างถูกวิธี
ภาพที่ 4.2 แสดงที่อยู่อาศัยกลางนาข้าว ที่มา : จากการวิเคราะห์,สุภารัตน์ โฉมปราชญ์
4-1
พื้นที่แสดงภูมิปัญญาของชาวนาไทย
4.2 วัตถุประสงค์โครงการ - เพื่ อ ออ กแบบ สถาปั ต ยกรรมที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การเกษตร - เพื่อออกแบบสถาปัตยกรรมที่แสดงถึงวิถี ชีวิตการ ท า น า ข้ า ว ข อ ง จั ง ห วั ด ป ทุ ม ธ า นี ที่ ก า ลั ง เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย - เพื่อออกแบบสถาปั ตยกรรมที่แสดงถึ งภูมิ ปัญญา ของชาวนาหรื อ เกษตรกรไทย จากอดี ต จนถึ ง ปัจจุบัน - เพื่อออกแบบโครงการประเภทศูนย์การเรียนรู้
4.2.1 หน่วยงานเจ้าของโครงการ ภายใต้การดูและและส่งเสริมจากรัฐบาล
พื้นที่เรียนรู้วิธีชีวิต
ภาพที่ 4.3 แสดงวัตถุประสงค์โครงการ ที่มา : จากการวิเคราะห์,สุภารัตน์ โฉมปราชญ์
4-2
PROJECT
MANAGEMENT
4.3 ก่าหนดโครงสร้างการบริหารโครงการ ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู้ ข้ า วและวิ ธี ชี วิ ต ชาวนาไทย เป็ น โครงการ การท่าเกษตรทางเลือกหรือเกษตรอินทรีย์เพื่อส่งเสริม ภูมิปัญญาชาวนาไทย ที่เป็นต้นแบบของการท่าเกษตรในปัจจุบัน และเพื่อให้การด่าเนินงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์ จึงแบ่งรูปแบบ การบริหารโครงการ ดังนี้
4.3.1 โครงสร้างทางการบริหารงานโครงการ แบ่งเจ้าหน้าที่ ดังนี้ - เจ้าหน้าที่ประจ่าโครงการ ซึ่งท่าหน้าที่ประจ่าอยู่ภายใน โครงการ - เจ้าหน้าที่ส่วนต่างๆจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการ ประสานงานกับโครงการ - ส่วนของวิทยากรเจ้าหน้าที่พิเศษ
ภาพที่ 4.4 แสดงวัตถุประสงค์โครงการ ที่มา : จากการวิเคราะห์,สุภารัตน์ โฉมปราชญ์
4-3
4-4
4.4 โครงสร้างการบริหารโครงการ
ศูนย์การเรียนรู้ข้าวและวิธีชีวิตชาวนาไทย คณะกรรมการบริหาร
ผู้บริหารโครงการ รองผู้บริหาร
เลขานุการ
ฝ่ายธุรการ
ฝ่ายทะเบียน สถิติ
หัวหน้าฝ่าย
หัวหน้าฝ่าย
หัวหน้าฝ่าย
หัวหน้าฝ่าย
หัวหน้าฝ่าย
หัวหน้าฝ่าย
-
- เจ้าหน้าที่ ประชาสัมพันธ์ - เจ้าหน้าที่ทะเบียน - เจ้าหน้าที่เอกสาร
-
- เจ้าหน้าที่แปรรูป - เจ้าหน้าที่ฝ่ายผลิต
- เจ้าหน้าที่อาคาร - เจ้าหน้าที่อุปกรณ์ - เจ้าหน้าที่รักษา ความปลอดภัย
- วิทยากรเฉพาะทาง - เจ้าหน้าที่ให้ความรู้ - เจ้าหน้าที่ดูแล กิจกรรม
เจ้าหน้าที่ธุรการ เจ้าหน้าที่เอกสาร เจ้าหน้าที่บุคคล เจ้าหน้าที่พัสดุ
ฝ่ายบัญชีการเงิน
เจ้าหน้าที่บัญชี เจ้าหน้าที่การเงิน เจ้าหน้าที่ฝ่ายซื้อ เจ้าหน้าที่ฝ่ายขาย
ฝ่ายผลิตและ แปรรูป
ฝ่ายอาคาร สถานที่
ฝ่ายกิจกรรม
ตารางที่ 4.1 แสดงโครงสร้างการบริหารโครงการ 4-5
USER
4.5 วิเคราะห์ผใู้ ช้โครงการ
ANALYSIS 4.5.1 ประเภทผูใ้ ช้โครงการ
02 ผู้ให้บริการ
01ผู้ใช้บริการ
80%
35% 25% นักท่อง เที่ยว
เกษตรกร
เจ้าหน้าที่ ประจาโครงการ
40% นักเรียน นักศึกษา
20% เจ้าหน้าที่ชั่วคราว -วิทยากร -เจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญ
4-6
03 ผู้ที่มาติดต่อ ผู้มาให้บริการชั่วคราวให้แก โครงการ ในส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องกับ กิจกรรมหลักของโครงการ
4.5.2 การวิเคราะห์พฤติกรรมผูใ้ ช้โครงการ
TIME LINE
USER 01
08.00-09.00
09.00-10.00
10.00-11.00
11.00-12.00
12.00-13.00
13.00-14.00
14.00-15.00
15.00-16.00
16.00-17.00
17.00-18..00
18.00-19.00
19.00-20.00
ผู้ใช้บริการ
02 ผู้ให้บริการ
03
ผู้ที่มาติดต่อ
4-7
ส่วนบริหาร
4.5.3 การวิเคราะห์อัตราก่าลังเจ้าหน้าที่
ตารางที่ 4.2 แสดงการวิเคราะห์อัตราก่าลังเจ้าหน้าที่
จ่านวน
จากอัตราก่าลังเจ้าหน้าที่ สามารถแบ่ง บุคลากร และเจ้า หน้า ที่ข องโครงการศึ กษาจาก หน่วยที่คล้ายคลึงกัน โดยสามารถแบ่งบุคลากร และเจ้าหน้าที่ออกเป็นฝ่ายต่างๆดังนี้
1.1 ผู้อ่านวยการ 1.2 รองผู้อ่านวยการ 1.3 เลขานุการ รวมเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหาร
- หัวหน้าในการด่าเนินการบริหาร เป็นผู้รับผิดชอบการ บริหารงานภายในโครงการทั้งหมด - ผู้ช่วยในการด่าเนินงาน บริหาร วางแผนการควบคุมต่างๆ - ปฏิบัติตามเจ้าหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายจากผู้บริหารเช่นจด บันทึกรายการประชุม รวบรวมสถิติ
1
1 1
ส่วนบริหารการ ประชุม 2.1 ห้องประชุม รวมเจ้าหน้าที่ฝ่ายการประชุม
- ควบคุมดูแลห้องประชุม
2 2
ส่วนเจ้าหน้าที่ โครงการ
ภาพที่ 4.5 แสดงการเก็บต้นกล้า ที่มา : http://www.naewna.com/local/323991 4-8
3.1 ฝ่ายบัญชี - หัวหน้าฝ่าย - เจ้าหน้าที่ 3.2 ฝ่ายบุคคล - หัวหน้าฝ่าย - เจ้าหน้าที่ 1.3 ฝ่ายธุรการ - หัวหน้าฝ่าย -เจ้าหน้าที่ธุรการ
- รับผิดชอบดูแลตรวจสอบบัญชีและควบคุมการลงทะเบียน - ท่าบัญชีและทะเบียนวัสดุในการตรวจสอบสินค้า
1 3
- รับผิดชอบติดต่อประสานงาน - จัดท่าเอกสารและด่าเนินงานติดต่อ
1 2
- รับผิดชอบงานสารบัญ ติดต่อในประเทศ - รับผิดชอบรับ-ส่งหนังสือ จัดพิมพ์เอกสาร
1 2
ตารางที่ 4.2 แสดงการวิเคราะห์อัตราก่าลังเจ้าหน้าที่ (ต่อ)
ส่วนเจ้าหน้าที่ โครงการ จ่านวน
3.4 ฝ่ายให้ความรู้ - หัวหน้าฝ่าย - เจ้าหน้าที่
- รับผิดชอบติดต่อด่าเนินการวางแผนทางการให้ความรู้ - จัดท่าเอกสารและด่าเนินงานวางแผนการให้ความรู้
1 5
3.5 ฝ่ายอาคารสถานที่ - หัวหน้าฝ่าย - เจ้าหน้าที่ - รักษาความปลอดภัย - นักการภารโลง
-
ควบคุมดูแลการจัดการสถานที่ รับผิดชอบงานจัดซื้อ จัดจ้าง พัสดุ ควบคุม ดูแลความปลอดภัย ดูแลความสะอาด
1 2 5 5
3.6 งานประชาสัมพันธ์ - หัวหน้าฝ่าย - เจ้าหน้าที่
- รับผิดชอบในการด่าเนินงานประชาสัมพันธ์ - จัดท่าเอกสารส่าหรับการเผยแพร่ข้อมูลในโครงการ
1 2
3.7 งานพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าว - หัวหน้าฝ่าย - เจ้าหน้าที่
- รับผิดชอบในการด่าเนินงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวท่ามือ - จัดท่าการเก็บ การคัดแยก บรรจุหีบห่อ
1 10
3.8 ฝ่ายผลิต - หัวหน้าฝ่าย - เจ้าหน้าที่
- ควบคุมการผลิตให้ได้ตามมาตรฐาน - รับผิดชอบด้านการปลูก และให้ความรู้แก่ผู้สนใจ
2 20
- ผู้รับผิดชอบควบคุมงานด้านเทคนิคทั้งหมด - ด่าเนินการควบคุมดูแลงานด้านการซ่อมบ่ารุงงานเทคนิค อาคาร
1 15
3.9 ส่วนเทคนิค - หัวหน้าฝ่ายเทคนิค - เจ้าหน้าที่เทคนิค
รวมเจ้าหน้าที่โครงการ
115
ภาพที่ 4.6 แสดงการเพราะพันธ์พันธ์ข้าว ที่มา : http://www.naewna.com/local/323991
4-9
PROGRAM ANALYSIS
4.6 การก่าหนดองค์ประกอบของโครงการ
ตารางที่ 4.3 แสดงการวิเคราะห์โปรแกรม
learning culture
Exposition culture
เรียนรู้การใช้เครื่องมือการท่านาของภาคกลาง เกษตร 1 ตารางเมตร ตลาดนัดข้าว ออฟฟิต ห้องเก็บอุปกรณ๋
ห้องจัดแสดงรูปแบบการท่านานในยุตสมัยต่างๆ ห้องจัดแสดงเทคนิคการท่านา ห้องจักแสดงอุปกรณ์ท่านา ห้องจัดแสดงวิธีข้าว ห้องจัดแสดงตามรอบพ่อ ออฟฟิต
2,246.4 ตร.ม
1,646 ตร.ม
4-10
ลานกิจกรรม วิธีชาวนาไทย ลานจัดแสดงประเพณีข้าวไทยตามความเชื่อ ของเกษตรกรไทยภาคกลาง ครัวพื้นที่รับประทานอาหาร ส่วนแปรรูปข้าว
1,200 ตร.ม
Technical Area ห้องงานระบบ ห้องเก็บของ
220 ตร.ม
Eercuration 1,800 ตร.ม Parking 845 ตร.ม
TOTAL
30% 22% 20%
25% 3% 7,957.4 ตร.ม
4.6.1 การก่าหนดกิจกรรมส่วนการเรียนรูข้ องโครงการ ตารางที่ 4.3 แสดงการวิเคราะห์โปรแกรม (ต่อ)
01 เรียนรู้และปฏิบัติการ เกษตร 1 ตารางเมตร
1. การเตรียมพื้นที่ในการใช้ เพราะปลูก 2. การเตรียมเมล็ดพันธ์ 3. การเตรียมการปลูก 4. การเตรียมการดูแลรักษา 5. การเตรียมการเก็บเกี่ยว
1,200 ตร.ม
02 เรียนรู้และปฏิบัติการ ปลูกข้าวในภายนอกอาคาร
1. การเตรียมพื้นที่ในการใช้ เพราะปลูก 2. การเตรียมเมล็ดพันธ์ 3. การเตรียมการปลูก 4. การเตรียมการดูแลรักษา 5. การเตรียมการเก็บเกี่ยว พื้นที่ภายนอกอาคาร
03 เรียนรู้การใช้เครื่องมือ การท่านาของภาคกลาง
1. รู้จักเครื่องมือแต่ละประเภท 2. เรียนรู้วิธีใช้
400 ตร.ม
04 แปลงนาสาธิต
05 ตลาดนัดข้าว
1. เรียนรู้แปลงนาสาธิต 2. เรียนรู้การท่าเกษตร
พื้นที่ภายนอกอาคาร
800 ตร.ม 4-11
4.1 การก่าหนดกิจกรรมส่วนนิทรรศการของโครงการ ตารางที่ 4.3 แสดงการวิเคราะห์โปรแกรม (ต่อ)
01 ห้องจัดแสดงรูปแบบการท่านา ในยุตสมัยต่างๆ
ห้องจัดแสดงเทคนิคการท่านา
1. เรียนรู้การท่านารูปแบบต่างๆ 2. เรียนรู้การท่านาในยุคสมัย ต่างๆ
1. เรียนรู้การเทคนิคในการท่านา ตามวิธีชาวนา
446 ตร.ม
200 ตร.ม
22% 4-12
02
03 ห้องจักแสดงอุปกรณ์ท่านา
04 ห้องจัดแสดงวิธีข้าว
1. เรียนรู้ความเป็นมาของข้าว
500 ตร.ม
200 ตร.ม
05 ห้องจัดแสดงตามรอบพ่อ
1. จัดแสดงเกษตรตามทฤษฎี
300 ตร.ม
4.5.1 การก่าหนดกิจกรรมส่วนลานกิจกรรม วิธีชาวนาไทยของโครงการ ตารางที่ 4.3 แสดงการวิเคราะห์โปรแกรม (ต่อ)
00
01 ลานจัดแสดงประเพณีข้าวไทย ตามความเชื่อของเกษตรกร ไทยภาคกลาง
02 ครัวพื้นที่รับประทานอาหาร
03
00
ส่วนแปรรูปข้าว
1. ร่วมกิจกรรมประเพณีต่างๆ 2. เรียนรู้การประเพณีนั้นๆ
1. เรียนรู้การท่าครัวไทย สมัยก่อน จากข้าว
1. เรียนรู้การแปรรูปข้าวเป็น ผลิตภัณฑ์ต่างๆ 2. เรียนรู้กระบวนการแปรรูป ต่างๆ
600 ตร.ม
200 ตร.ม
400 ตร.ม 4-13
4.7 การประมาณการงบประมาณของโครงการ ในส่วนของงบประมาณการลงทุนมีการแบ่งหัวข้องบประมาณการก่อสร้าง ดังนี้
พื้นที่โครงการโดยประมาณ ราคาที่ดินทังหมด
7,957.4 ตร.ม 105,600,000 บาท
ค่าก่อสร้างตารางเมตรละ 14,000 * 7,957.4 = 111,403,600 บาท ค่าตกแต่งเฟอร์นิเจอร์ (20% จากราคาก่อสร้าง) 22,280,720 บาท ค่าด่าเนินการ (5% จากการก่อสร้าง) 5,570,180 บาท
ค่าบริหารโครงการ (2% จากราคาก่อสร้าง) 2,228,072 บาท ค่าความคลาดเคลื่อน (8% จากราคาก่อสร้าง) 8,912,288 บาท รวมราคาค่าก่อสร้างทั้งหมด 150,394,860 บาท รวมงบประมาณเป็นเงิน 255,994,860 บาท
ภาพที่ 4.7 แสดงเงินเปรียบเทียบ ที่มา : https://www.thairath.co.th/content/1306394
4-14
SYSTEM BUILDING
ภาพที่ 4.8 แสดงตัวอย่างอาคาร ที่มา : https://es.123rf.com/photo_44520978altura-l.html
4-15
4.8 งานระบบวิศวกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง 4.8.1 ระบบโครงสร้างอาคาร (เสา-คาน)
ระบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก เสาคานคอนกรีตหรือ ค ส ล นั้น ประกอบด้วย”คอนกรีต”ซึ่งท่าหน้าที่รับแรงอัด และมี “เหล็กเส้น”อยู่ภายในมีหน้าที่รับแรงดึงปกติ ในแบบก่อสร้างนั้นจะมีการระบุรายละเอียดของเสา และคานทุกจุด มีการระบุขนาดเหล็กเส้นที่ใช้ในเสา คาน คอนกรีตเหล็กเสริม ส่วนอาคารบ้านเรือน ทั่วไปนั้นมักใช้เสาและคานที่ท่าด้วยคอนกรีตเสริม เหล็ก
01
ที่มา : http://www.scgbuildingmaterials.com(2561)
ภาพที่ 4.9 แสดงภาพระบบโครงสร้าง คสล ที่มา : http://www.scgbuildingmaterials.com(2561)
ระบบโครงสร้างเหล็ก เหล็กโครงสร้างคือวัสดุก่อสร้างที่ท่าจากเหล็ก ซึ่งสร้างขึ้นให้มีรูปร่างและองค์ประกอบทางเคมีที่ เฉพาะเจาะจง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานของแต่ ละโครงการ ส่วนผสมหลักของเหล็กโครงสร้าง คือ เหล็กและ คาร์บอน แมงกานีส โลหะผสม และสารเคมี บางอย่าง เพิ่มไปยังเหล็กและคาร์บอนเพื่อเพิ่มความ แข็งแรงและความทนทาน
02
ที่มา : https://atad.vn/th(2561)
ภาพที่ 4.10 แสดงภาพระบบโครงสร้างเหล็ก ที่มา : https://atad.vn/th(2561)
4-16
4.8.2 ระบบเสาเข็มเจาะ เสาเข้มเจาะ ขบวนการหลักจะเน้นเสาเข็ม หล่อในสถานที่ก่อสร้าง คือต้องเตรียมวัสดุ หิน ปูน ทราย และเหล็กเสริมไปสถานที่ก่อสร้าง พร้อมทั้ง เครื่องขุดเจาะขาหยั่ง 3 ขา โดยทั่วไปจะมีขนาด เส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 35 40 50 60 80 100 ซ.ม. เจาะไปถึงชั้นทราย แล้วแต่สภาพพื้นที่ น้่าหนัก ปลอดภัยได้ประมาณ 35 ตัน
แรงสั่นสะเทือนขณะท่าเสาเข็ม ต่่า การท่างานในพื้นที่จ่ากัด สามารถท่าได้ เสียงดังแต่ไม่ดังเท่าเข็มตอก เหมาะสมก่อสร้างต่อเติมเมื่อมีอาคารใกล้เคียง มีราคาสูง
ที่มา : http://www.pile.in.th/about-us.html ภาพที่ 4.11 แสดงระบบเสาเข็มเจาะ ที่มา : http://www.pile.in.th/about-us.html
4-17
4.8.3 ระบบโครงสร้างพืน้
02
01 ภาพที่ 4.12 แสดงภาพโครงสร้างพื้นเหล็ก ที่มา : http://www.tatc.ac.th/2561
พื้นเหล็ก ใช้เป็นพื้นในโรงงานอุตสาหกรรม และ พื้นที่ภายนอก อาคารทั่วไปเป็นส่วนใหญ่เพราะพื้นเหล็กจะมีความสามารถ ในการรับน้่าหนักและมีความแข็งแรงมากกว่า พื้นคอนกรีต หรือพื้นไม้ที่มักนิยมใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมหรือภายนอก อาคาร ที่มา : http://www.tatc.ac.th/2561
03 03
ภาพที่ 4.13 แสดงภาพโครงสร้างพื้นส่าเร็จรูป ที่มา : http://www.promtconcrete.com/2561
แผ่นพื้นสาเร็จรูป แผ่นพื้นคอนกรีตส่าเร็จรูปเหมาะกันงานประเภท อาคารทั่วไป ทุกขนาดเพราะการใช้พื้นที่สา่ เร็จรูปจะท่า ให้การก่อสร้างท่าได้ดีและรวดเร็วทั้งยังช่วยให้ประหยัด ต้นทุนกว่าพื้นระบบหล่อ พื้นส่าเร็จรูป เหมาะกับช่วง พาดตั้งแต่สั้นที่สุด จนถึงสูงที่สุดประมาณ 5 เมตร ที่มา : http://www.promtconcrete.com/2561
ภาพที่ 4.14 แสดงภาพระบบโครงสร้างพื้นโพสเทนชั่น ที่มา : http://www.tatc.ac.th/2561
ระบบพื้นโพสเทนชั่น ระบบพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดดึงที่หลัง มีการใช้อย่าง แพร่หลายโดยเฉพาะอาคารสูง อาคารที่มีช่วงพาดยาวมากๆ เนื่องจากค่าก่อสร้างจะถูกกว่า และรวดเร็วกว่าระบบพื้น คอนกรีตเสริมเหล็กทั่วไป ระบบพื้น PC-Post Tensioned Slab เป็นระบบ Bonded System ซึ่งเป็นระบบที่นิยมมาก ที่สุดในปัจจุบัน มีความทันสมัยในการก่อสร้าง เพิ่มช่วงห่าง ระหว่างเสาได้มากกว่าจะมีพื้นที่การใช้สอยมากขึ้น ระบบพื้น โพสเทนชั่น เหมาะส่าหรับระยะช่วงเสา 6 เมตรขึ้นไปก่อสร้าง รวดเร็ว ใช้เวลาประมาณ 10-14 วันต่อชั้น ที่มา : http://www.tatc.ac.th/2561
4-18
4.8.4 ระบบโครงสร้างผนัง
BEARING WALL
01
ภาพที่ 4.15 แสดงภาพโครงสร้างผนังรับน้่าหนัก ที่มา : http://thesis5105364.blogspot.com/2013/03/3.html
03
02
ภาพที่ 4.16 แสดงภาพโครงสร้างผนังกระจก ที่มา : http://www.2e-building.com
ภาพที่ 4.17 แสดงภาพโครงสร้างผนังก่ออิฐฉาบปูน ที่มา : https://pixabay.com/th
ระบบผนังรับน้าหนัก(BearingWall)
ผนังกระจก (Structural glass wall)
ระบบผนังก่ออิฐฉาบปูน
ผนัง รับน้่าหนักเป็นระบบการก่อสร้างรูปแบบหนึ่ง ในหลายๆรู ป แบบที่ มี ใ ช้ กั น ใน ปั จ จุ บั น ระบบผนั ง รั บ น้่าหนักจะใช้ตัวผนังเป็นทั้งตัวกันห้อง และเป็นชิ้นส่วนที่ใ ช้ รับ ก่ า ลั งในแนวดิ่ งต่ า งๆที่ เกิ ด ขึ้ น กั บอาคารทั้ง แรงลม น้่า หนั กบรรทุก จร น้่ าหนัก บรรทุก ตายตั ว ฯลฯ ความ แตกต่างกันนี้ท่าให้การออกแบบโครงสร้างต่างๆตลอดจน ขั้ น ตอนการก่ อ สร้ า งมี ความแตกต่ า งกั น กั บ ระบบ โครงสร้างเสาคานที่พบเห็นกันอยู่ทั่วๆไป
Glass wall คื อ ระบบที่ ป ระกอบด้ ว ยระบบ กระจกและระบบโครงสร้างที่เปิดเผย ซึ่งระบบโครงสร้าง นี้ท่าหน้าที่ด้านความแข็งแรงให้ทั้งกระจกและโครงสร้า ง ทนต่ อ แรงต่ า ง ๆ ให้ ส มดุ ล อยู่ ไ ด้ ต่ า งจาก Curtain wallซึ่งเป็นระบบผนังที่ต้องอาศัยแขวนเข้ากับโครงสร้าง ของอาคาร ซึ่ งส่ ว นใหญ่ มั กจะแขวนเข้ า กั บ หน้ า คาน หรือ ผิวหน้าของแผ่นพื้นในแต่ละชั้น Curtain wall นั้น มักจะถูกใช้ใ นอาคารที่ มีผนั งต่อ เนื่อ งขึ้น ไปหลาย ๆชั้ น ส่วนระบบโครงสร้างผนังกระจกมักใช้ใ นส่วนโถงเปิดโล่ง ของด้านหน้าของอาคารเป็นส่วนใหญ่
ผนังชนิดนี้เป็นชนิดที่พบเห็นกันบ่อยที่สุดเพราะวัสดุที่ ใช้ก่อผนังซึ่งเรียกได้ว่าอิฐมอญนั้นเป็นวัสดุหาง่าย ราคาถูก จึงนิยมใช้กันทั่วไปท่าได้ทั้งเป็นผนังรอบนอกของอาคาร และ ผนังกั้ นห้องภายใน ให้ ความแข็งแรงทนทานและคุ้ม แดดคุ้ ม ฝนได้ดี ไม่ค่อยดูดซึมหรือเก็บความชื้น มี 2 แบบ ผนังก่ออิฐโชว์แนว และ ผนังก่ออิฐฉาบปูน
ที่มา : https://somchaimom.wordpress.com(2561)
ที่มา : http://www.besthousegroup.com(2561)
ที่มา : http://www.2e-building.com
4-19
4.8.5 ระบบปรับอากาศ ปรับอากาศระบบซิลเลอร์ (Chiller)
CHILLER 4-20
ภาพที่ 4.18 แสดงภาพการท่างานของเครื่องปรับอากาศระบบชิลเลอร์ ที่มา : http://tiptopengineering.thailandpocketpages.com (2561)
โดยทั่วไปเครื่องปรับอากาศที่ใช้ใ้อาคารขนาดใหญ่จะ เป็ น เครื่ อ งปรั บ อากาศแบบรวมศู น ย์ ที่ เ รี ย กว่ า้ ชิ ล เลอร์ (Chiller) ซึ่งแบ่งเป็นระบบระบายความร้อนด้วยน้า และระบบ ระบายความร้อนด้วยอากาศซึ่งชิลเลอร์จะอาศัยน้า เป็นตัวนา พาความเย็ น ไปยังห้อ งหรื อจุ ดต่ างๆ โดยน้า เย็น จะไหลไปยั ง เครื่องท่า ลมเย็น (Air Handling Unit : AHU หรือ Fan Coil Unit : FCU) ที่ติดตั้ งอยู่ใ้ นบริเ วณที่จ ะปรับ อากาศ จากนั้น น้่ า ที่ ไหลออกจากเครื่องท่ าลมเย็น จะถูกปั๊ม เข้าไปใน เครื่ อ งท่ า น้ า เย็ น ขนาดใหญ่ ที่ ติ ด ตั้ ง อยู่ ใ้ น ห้ อ งเครื่ อ งและ ไหลเวียนกลับไปยังเครื่องท่าลมเย็นอยู่เ้ช่น น้่าส่าหรับเครื่องท่า น้่าเย็น จะต้องมีการน่าความร้อนจากระบบออกมาระบายทิ้งที่ ภายนอกอาคารดัวย ซึ่งระบบทา ความเย็นแบบรวมศูนย์ส่วน ใหญ่ที่ใช้มีขนาดประมาณ 100 ถึง 1,000 ตัน เป็นระบบที่ใ ช้ เ้พื่อต้องการทา ความเย็นอย่า้งรวดเร็ว การท่าความเย็นอาศัย คุณสมบัติดูด ซับความร้อนของสารท่าความเย็นหรือน้่ายาท่า ความเย็ น (Liquid Refrigerant) มี ห ลั ก การท่ า งาน คื อ ปล่อยสารท่าความเย็น ที่เป็นของเหลวจากถังบรรจุไปตามท่อ เมื่อสารเหลวเหล่านั้นไหลผ่าน เอ็กซ์แพนชั่นวาลว์ (Expansion Valve) จะถูกท่าให้มี้ความดัน สูงขึ้น ความดันจะต่า ลงเมื่อรับ ความร้อนและระเหยเป็นไอ (Evaporate) ที่ทา ให้เกิดความเย็น ขึ้นภายในพื้นที่ปรับอากาศ เครื่องปรับอากาศระบบชิลเลอร์ใ น งาน ติดตั้งชิลเลอร์ เป็นระบบปรับอากาศที่มีขนาดใหญ่มีขนาด บีที ยู 100 ถึง 1000 ตัน เป็ นระบบที่ เหมาะกับ การลั กษณะ งานที่ให้ความเย็นตลอดเวลา มีความรวดเร็วสามารถท่าความ เย็นได้หลายๆ จุดพร้อมกัน เนื่องจากใช้ท่อที่เดินอยู่ผนังซึ่งง่าย ต่อการการะจายไปยังจุดต่างๆ เหมาะกับการติดตั้งตามโรงงาน อาคารส่านักงาน โรงเรียน โรงพยาบาล ไลน์การผลิต เป็นต้น ประเภทเครือ่ งปรับอากาศระบบซิลเลอร์ (Chiller)ในงานติดตั้ง ชิลเลอร์ ที่มา : http://www.research-system.siam.edu07_ch2.pdf (2561)
4.8.6 ระบบไฟฟ้า
01
02
ระบบไฟฟ้า 3 เฟส ระบบไฟฟ้า 3 เฟส คือ มีแรงดันไฟฟ้าระหว่าง สายไลน์ กับ ไลน์ 380 – 400 โวลท์ และแรงดันไฟฟ้าระหว่างสายไลน์ กับ นิวทรอล 220 – 230 โวลท์ และมีความถี่ 50 เฮิร์ซ (Hz) จะมีสายไฟในระบบจ่านวน 4 สาย ไฟฟ้าระบบนี้ไม่ สามารถน่ามาใช้กับระบบแสงสว่างหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าตามบ้านได้โดยตรง มาถึง ตรงนี้ หลายคนคงจะสงสัยว่าเมื่อระบบไฟฟ้า 3 เฟสไม่สามารถน่ามาใช้กับ อุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆตามบ้านได้ โดยตรงแล้วจะเอามาแนะน่ากันเพื่ออะไร ข้อ สงสัยนี้สามารถอธิบายได้โดยไม่ยาก กล่าวคือ การน่า ระบบไฟฟ้า 3 เฟสเข้ามา ใช้ในบ้านนั้นมิได้เป็นการใช้ไฟฟ้าทั้ง 3 เฟสกับอุปกรณ์ไฟฟ้าแต่ละชิ้นโดย ตรง แต่ เป็นการน่าไฟฟ้า 3 เฟสนั้นมาแบ่งแยกให้เป็นระบบไฟฟ้า 1 เฟส 3 ชุด แล้ว กระจายไป ตามจุดต่างๆที่มีการใช้ไฟฟ้า การกระจายจุดของการใช้งานเช่นนี้ท่า ให้ไฟฟ้าแต่ละเฟสไม่ถูกใช้งานมาก ถือเป็นการเฉลี่ยการใช้ไฟฟ้า ท่าให้ประหยัดค่า ไฟฟ้า เพราะการคิดอัตราค่าใช้ไฟฟ้าซึ่งมีหน่วยเป็น กิโลวัตต์ - ชั่วโมงจะคิดเป็น อัตราก้าวหน้า กล่าวคือยิ่งมีการใช้ไฟฟ้ามากก็จะยิ่งเสียค่าไฟฟ้าในอัตรา ที่ สูงขึ้น ฉะนั้นการกระจาย การใช้ไฟฟ้าออกเป็น 3 ส่วนจากระบบไฟฟ้าที่น่าเข้า 3 เฟสดังกล่าว จึงท่าให้การใช้ไฟฟ้าในแต่ละส่วนหรือแต่ละเฟสน้อยลง จึงไม่ต้องเสีย ค่าไฟฟ้าในอัตราที่สูง ภาพที่ 4.19 แสดงภาพการท่างานของระบบไฟฟ้า ที่มา : http://www.tngroup.co.th/media/article_detail/(2561)
ระบบไฟฟ้าสารอง (Generator Set) เครื่องก่าเนิดไฟฟ้าหรือเครื่องปั่นไฟ (Generator set) เป็นอีกรูปแบบหนึ่ง ของระบบส่ารองไฟที่นิยมใช้กัน โดยที่หลักการของเครื่องก่าเนิดไฟฟ้า คือ การ เปลี่ยนแปลงพลังงานกลมาเป็นพลังงานไฟฟ้าโดยอาศัยการเหนี่ยวน่าของ แม่เหล็กตามหลักการของ ไมเคิล ฟาราเดย์ คือ การเคลื่อนที่ของขดลวดตัวน่า ผ่านสนามแม่เหล็ก หรือการเคลื่อนที่แม่เหล็กผ่านขดลวดตัวน่า จะท่าให้เกิด แรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวน่าขึ้นในขดลวดตัวน่านั้น ซึ่งเครื่องก่าเนิดไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือชนิดกระแสตรงเรียกว่า ไดนาโม (Dynamo) และชนิดกระแสสลับเรียกว่า อัล เตอร์เนเตอร์ (Alternator) ส่าหรับเครื่องก่าเนิดไฟฟ้าที่ใช้งานในเชิง อุตสาหกรรมนั้น โดยมากจะเป็นเครื่องก่าเนิดไฟฟ้าชนิดกระแสสลับ ซึ่งมีทั้งแบบ 1 เฟส และแบบ 3 เฟส ซึ่งจะมีทั้งแบบขับเคลื่อนด้วย เครื่องยนต์เบนซินและ เครื่องยนต์ดีเซล โดยที่เครื่องก่าเนิดไฟฟ้าประกอบไปด้วยอุปกรณ์หลักๆ คือ เครื่องยนต์ (Engine) ไดร์ปั่นไฟ (Alternator) และชุดควบคุม (Controller)
ภาพที่ 4.20 แสดงภาพการท่างานของระบบไฟฟ้า ที่มา : http://www.compomax.co.th/industries/genset/ 4-21
4.8.7 ระบบป้องกันอัคคีภัย อุปกรณ์ส่าหรับป้องกันอัคคีภัยประกอบด้วย
01
อุปกรณ์ตรวจจับควัน (Smoke Detector) ตรวจจับเพลิงไหม้ ที่เกิดจากการคุตัวของเถ้า ความร้อน
04
ถังดับเพลิงแบบมือ
ภาพที่ 4.21 แสดงภาพระบบป้องกันอัคคีภัย ที่มาของภาพ : http://eng.rtu.ac.th/ESD/ch13.pdf ที่มา : http://eng.rtu.ac.th/ESD/ch13.pdf
4-22
02
อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน ตรวจจับเพลิง ไหม้ ที่เกิดจากความร้อนสูงอย่างรวดเร็วและ มีควันน้อย
05
อุปกรณ์ส่องสว่างฉุกเฉิน
03
ระบบดับเพลิงอัตโนมัติแบบฉีดฝอย
4.8.8 ระบบสุขาภิบาล
01 ระบบจ่ายน้า่ โดยแรงโน้มถ่วง (Gavity Feed/Downfeed System) เป็นการสูบน้่าขึ้นไปเก็บไว้ดาดฟ้าแล้ว ปล่อย ลงมาตามธรรมชาติ ในการส่ารองน้่าส่าหรับการใช้ งานนั้นจะต้องมีการใช้ถังเก็บน้่าแบบต่างๆ มา ประกอบการใช้งาน ถังเก็บน้่าที่ใช้กันอยู่ โดยทั่วไปใน ปัจจุบันนั้นมีหลายแบบให้เลือกใช้ รวมทั้งอาจจะต้องมี เครื่องสูบน้่าติดตั้งอีกด้วย แต่เครื่องสูบน้่านั้น ห้าม ต่อระหว่างระบบสาธารณะกับถังพักน้่าในบ้าน เพราะ เป็นการกระท่าที่ผิดกฎหมาย เนื่องจากเป็นการสูบน้่า จากระบบสาธารณะ โดยตรงซึ่งเป็นการเอาเปรียบ ผู้อื่นการสูบน้่าในบ้านจะต้องปล่อยให้น้่าจาก สาธารณะมาเก็บในถังพักตามแรงดันปกติเสียก่อนแล้ว ค่อยสูบน้่าไปยังจุดที่ต้องการอื่นๆได้ ต่าแหน่งที่ตั้งถังเก็บน้่าที่ใช้งานทั่วไปมีที่ตั้ง 2 แบบ คือ -ถังเก็บน้่าบนดิน -ถังเก็บน้่าใต้ดิน ภาพที่ 4.22 แสดงภาพระบบสุขาภิบาล ที่มา : http://202.129.59.73/tn/kimSite%201/sheet1.htm
ที่มา : http://202.129.59.73/tn/kimSite%201/sheet1.htm
02 การบาบัดน้าเสียแบบใช้ออกซิเจน การบ่าบัดน้่าเสียทางชีวภาพ แบ่งเป็นแบบใช้ ออกซิเจน (Aerobic Process) และแบบไม่ใช้ ออกซิเจน (Anaerobic Process) ซึ่งแบบใช้ ออกซิเจนอาศัยการท่างานของจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน เปลี่ยนความสกปรก (สารอินทรีย์) ให้กลายเป็นก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และน้่า (H2O) เช่นใน กระบวนการเอเอส ระบบฟิล์มตรึง ระบบโปรยกรอง เป็นต้น ส่วนแบบไม่ใช้ออกซิเจนอาศัยการท่างานของ จุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนเปลี่ยนความสกปรก (สารอินทรีย์) ให้กลายเป็น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ก๊าซมีเทน(CH4) และก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์(H2S) เช่น ในกระบวนการย่อยไร้ออกซิเจน ถังกรองไร้ อากาศ ระบบยูเอเอสบี เป็นต้น กระบวนการเอเอสเป็นกระบวนการบ่าบัดน้่าเสียทาง ชีวภาพแบบใช้ออกซิเจน โดยอาศัยสิ่งมีชีวิตพวก จุลินทรีย์ ทั้งหลายในการย่อยสลาย ดูดซับ หรือ เปลี่ยนรูปของมลสารต่างๆ ที่มีอยู่ในน้่าเสียให้มีค่า ความสกปรกน้อยลง หลักการท่างานของระบบเอเอส เป็นวิธีที่เลียนแบบธรรมชาติ ที่มา : http://bio-naroo.blogspot.com
4-23
บรรณนานุกรม กรมการข้าว.//(2561).//พื้นที่ทางการเกษตรที่ลดลงของจังหวัดปทุมธานี.//(ออนไลน์) จาก https://sites.google.com/site/wathnthrrmkarleiynglukkhnxisan กรมการข้าว.//(2561).//การเกษตรดั้งเดิม จังหวัดปทุมธานี//(ออนไลน์) จาก http://www.lovefarmer.org/?p=1701 เกษตรกรไทย.//(2555).//มาตราฐานการเกษตร.//(ออนไลน์) จาก https://positioningmag.com/34730 ระพีพรรณ บุญมาก.//(2561)//การทานาโบราญ.//(ออนไลน์) จาก https://www.thairicedb.com/standard-detail.php?id=9 สานักงานเกษตรจังหวัดปทุมธานี.//(2561).//ข้อมูลพื้นฐานทางด้านเกษตรจังหวัดปทุมธานี.//(ออนไลน์) จาก http://lek-prapai.org/home/view.php?id=869 ท่องเที่ยว//(2560).//ท่องเที่ยวชาวนาไทย.//(ออนไลน์) จาก https://travel.mthai.com/blog/169041.html ท่องเที่ยว //(2561).//พื้นที่เกษตรกรรม //(ออนไลน์) จาก https://atad.vn/th(2561 ท่องเที่ยว //(2561).//แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์//(ออนไลน์) จาก https://somchaimom.wordpress.com(2561) ท่องเที่ยว //(2561).//พื้นที่เกษตรสีเขียว//(ออนไลน์) จาก http://www.2e-building.com ท่องเที่ยว //(2561).//เกษตรดั้งเดิม//(ออนไลน์) จาก http://www.besthousegroup.com(2561) ท่องเที่ยว.//(2561).//วิธีชีวิตชาวนาไทย//(ออนไลน์) จาก http://tiptopengineering.thailandpocketpages.com (2561) วิกิพีเดีย.//(2561)//ข้อมูลทางกายภาพ//(ออนไลน์) จาก http://www.sac.or.th/databases/museumdatabase//RiceExhibit-01.pdf วิกิพีเดีย.//(2561)//ข้อมูลโครงสร้างทางเศรษฐกิจ การศึกษา และวัฒนธรรม.//(ออนไลน์) จาก http://www.drborworn.com/articledetail.asp?id=16223 วิกิพีเดีย.//(2561)//ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี จังหวัดปทุมธานี.//(ออนไลน์) จาก http://www2.pathumthani.go.th/551017.pdf หนังสือพิมพ์รังสิตฉบับที่ 64 .//(2555).//พื้นที่ทางเกษตรเหลือเพียง 30%.//(ออนไลน์) จาก http://www.sac.or.th/databases/museumdatabase/RiceExhibit-01.pdf เอสซีจีบิวดิ้ง.//(2561)//โครงสร้างอาคาร.//(ออนไลน์) จาก http://www2.pathumthani.go.th/index.php โครงสร้างอาคาร//(2561).//โครงสร้างพื้น//(ออนไลน์) จาก http://www.naewna.com/local/323991 โครงสร้างอาคาร //(2561).//โครงสร้างผนังและกระจก//(ออนไลน์) จาก http://www.naewna.com/local/323991 โครงสร้างอาคาร //(2561).//โครงสร้างเหล้ก//(ออนไลน์) จาก https://www.thairath.co.th/content/1306394 โครงสร้างอาคาร //(2561).//ระบบปรับอากาศอาคารสาธารณะ//(ออนไลน์) จาก https://es.123rf.com/photo_44520978altura-l.html