ติวสบายฟิสิกส์ (พื้นฐาน) บทที่ 01 บทนำ p01 การเคลื่อนที่แนวตรง(1)

Page 1

http://www.prokru.com

ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

บทที่ 1 การเคลือ่ นที่ 1.1 การเคลือ่ นทีแ่ นวตรง 1.1.1 ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว และความเร็ว ระยะทาง คือ ความยาวตามแนวที่เคลื่อนที่ได้จริ ง มีหน่วยเป็ นเมตร ( m ) การกระจัด คือ ความยาวที่วดั เป็ นเส้นตรงจากจุดเริ่ มต้นถึงจุดสุ ดท้ายของการเคลื่อนที่มี หน่วยเป็ นเมตร ( m ) ตัวอย่างเช่น หากวัตถุกอ้ นหนึ่งเคลื่อนที่จาก C จุด A ไปจุด B แล้วเคลื่อนต่อไปจุด C ในทิศที่ต้ งั ฉาก 3 เมตร กันดังรู ป จะได้วา่ A 4 เมตร B ระยะทาง = ความที่ตามแนวที่เคลื่อนที่ได้จริ ง ระยะทาง = 4 + 3 เมตร ระยะทาง = 7 เมตร ( ไม่ตอ้ งสนใจทิศ ทาง ) และจะได้อีกว่า การกระจัด = ความยาวที่วดั เป็ นเส้นตรงจาก 5 เมตร จุดเริ่ มต้นถึงจุดสุ ดท้าย A 4 เมตร การกระจัด = 5 เมตร การกระจัดนี้มีทิศจากจุดเริ่ มต้น (A) ไปถึงจุดสุ ดท้าย (C) 1. ระยะทาง และการกระจัดของการเคลื่อนที่ต่อไปนี้ มีขนาด เท่ากับ กี่เมตร ตามลาดับ 1. 12 , 8 2. 8 , 10 3. 8 , 12

1

C 3 เมตร B

2 ม. 10 ม.

4. 10 , 8


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

2(แนว O–net) คลองที่ตดั ตรงจากเมือง A ไปเมือง B มีความยาว 72 กิโลเมตร ขณะที่ถนน คดเคี้ยวจากเมือง A ไปเมือง B มีความยาว 83 กิโลเมตร ถ้าชายคนหนึ่งขนสิ นค้าจาก เมือง A ไปเมือง B โดยรถยนต์ ถามว่าการเคลื่อนที่ครั้งนี้มีขนาดการกระจัดเท่าใด 1. 11 km 2. 65 km 3. 72 km 4. 83 km

3(แนว O–net) วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่เป็ นวงกลมรัศมี 14 เมตร ครบหนึ่งรอบ การกระจัดมีค่า เท่าใด 1. 0 เมตร 2. 14 เมตร 3. 44 เมตร 4. 88 เมตร

อัตราเร็วเฉลีย่ หาค่าได้จากอัตราส่ วนระหว่างระยะทางที่เคลื่อนที่ได้กบั เวลาที่ในการ เคลื่อนที่ช่วงนั้น มีหน่วยเป็ นเมตรต่อวินาที ( m/s ) ่ อ่ นที่ นัน่ คือ อัตราเร็ วเฉลี่ย = ระยะทางทีเคลื เวลาทีใ่ ช้ ความเร็วเฉลีย่ หาค่าได้จากอัตราส่ วนระหว่างการกระจัดของเคลื่อนที่กบั เวลาที่ในการ เคลื่อนที่ช่วงนั้น มีหน่วยเป็ นเมตรต่อวินาที ( m/s ) นัน่ คือ ความเร็ วเฉลี่ย = การกระจัด เวลาทีใ่ ช้

2


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

4(แนว O-Net) เด็กคนหนึ่งวิง่ เป็ นเส้นตรงไปทางขวา 10 เมตร ในเวลา 3 วินาที จากนั้นก็ หันกลับแล้ววิง่ เป็ นเส้นตรงไปทางซ้ายอีก 5 เมตร ในเวลา 2 วินาที อัตราเร็ วเฉลี่ย ของ เด็กคนนี้เป็ นไปตามข้อใด 1. 1 เมตรต่อวินาที 2. 3 เมตรต่อวินาที 3. 5 เมตรต่อวินาที 4. 8 เมตรต่อวินาที

5(แนว O-Net) จากข้อที่ผา่ นมา ขนาดของความเร็ วเฉลี่ยของเด็กคนนี้เป็ นไปตามข้อใด 1. 1 เมตรต่อวินาที 2. 3 เมตรต่อวินาที 3. 5 เมตรต่อวินาที 4. 8 เมตรต่อวินาที

6(แนว O–net) เด็กคนหนึ่งเดินไปทางทิศตะวันออกได้ระยะทาง 40 เมตร จากนั้นเดินไปทาง ทิศเหนือได้ระยะทาง 30 เมตร ใช้เวลาเดินทางทั้งหมด 100 วินาที เด็กคนนี้เดินด้วย อัตราเร็ วเฉลี่ยกี่เมตร/วินาที 1. 0.5 m/s 2. 0.7 m/s 3. 1.0 m/s 4. 1.4 m/s

3


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

7(แนว O–net) ตอนเริ่ มต้นวัตถุอยูห่ ่างจากจุดอ้างอิงไปทางขวา 2.0 เมตร เมื่อเวลาผ่านไป 10 วินาที พบว่าวัตถุอยูห่ ่างจากจุดอ้างอิงไปทางซ้าย 3.0 เมตร จงหาความเร็ วเฉลี่ยของวัตถุน้ ี 1. 0.5 เมตรต่อวินาที ทางขวา 3. 1.0 เมตรต่อวินาที ทางขวา

2. 0.5 เมตรต่อวินาที ทางซ้าย 4. 1.0 เมตรต่อวินาที ทางซ้าย

8(แนว มช) รถโดยสารเริ่ มออกเดินทางจากกรุ งเทพฯ เวลา 22.00 น. มาถึงเชียงใหม่เวลา 8.00 น. กาหนดให้ระยะทางจากกรุ งเทพฯ ถึงเชียงใหม่เป็ น 720 กิโลเมตร จงหาว่ารถ โดยสารคันนี้วงิ่ ด้วยอัตราเร็ วเฉลี่ยเท่าใด 1. 10 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง 2. 100 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง 3. 72 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง 4. 720 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง

4


http://www.prokru.com

ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

9(มช 53) จากรู ปแสดงแถบกระดาษบันทึกข้อมูลการเคลื่อนที่ของวัตถุผา่ นเครื่ องเคาะ สัญญาณเวลาซึ่งใช้ไฟฟ้ ากระแสสลับความถี่ 50 เฮิรตซ์ จงหาอัตราเร็ วเฉลี่ยในหน่วย เซนติเมตร/วินาที ณ จุดใดจุดหนึ่งที่มีค่าสู งสุ ดของการเคลื่อนที่น้ ี เมื่อแถบด้านล่างแสดง ตัวเลขระยะเป็ นเซนติเมตรของจุดที่บนั ทึกบนแถบข้อมูล

0

1. 150

1

8.5 10.5 12 13 14 3. 117 4. 75

2 3.5 5.5 2. 125

10(แนว O–net) ในการทดลองปล่อยถุงทรายได้ตกแบบเสรี โดยลากแถบกระดาษผ่านเครื่ องเคาะ สัญญาณเวลาที่เคาะถี่ 50 จุดต่อวินาที จุดบนแถบกระดาษปรากฏดังรู ป ถ้าระยะระหว่าง จุดที่ 9 ถึงจุดที่ 10 วัดได้ 3.80 เซนติเมตร และระยะระหว่างจุดที่ 10 ถึงจุดที่ 11 วัดได้ 4.20 เซนติเมตร ความเร็ วที่จุดที่ 10 จะเป็ นกี่เมตรต่อวินาที 1 2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

กรณี ที่วตั ถุเคลื่อนที่ไปด้วยความเร็ วคงที่ จะได้วา่ ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ = อัตราเร็ ว x เวลาที่ใช้เคลื่อนที่ หรื อ s=Vt เมื่อ s คือระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ หน่วยเป็ นเมตร ( m ) V คืออัตราเร็ วซึ่ งคงที่ หน่วยเป็ นเมตรต่อวินาที ( m/s ) t คือเวลาที่ใช้เคลื่อนที่ หน่วยเป็ นวินาที ( s ) 5

12


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

11. รถยนต์คนั หนึ่งวิง่ ด้วยอัตราเร็ วคงตัว 15 เมตรต่อวินาที เป็ นเวลานาน 60 วินาที ระยะทางที่รถยนต์คนั นี้เคลื่อนที่ได้จะมีขนาดเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. 45 m 2. 90 m 3. 450 m 4. 900 m

12(แนว O–net) รถยนต์คนั หนึ่งวิง่ ด้วยอัตราเร็ วคงตัว 15 เมตรต่อวินาที นานเท่าใดจึงจะ เคลื่อนที่ได้ระยะทาง 450 เมตร 1. 10 s 2. 15 s 3. 30 s 4. 45 s

13(แนว O–net) รถยนต์คนั หนึ่งวิง่ ด้วยอัตราเร็ วเฉลี่ย 90 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง จากเมือง A ไป เมือง B ที่อยูห่ ่างกัน 270 กิโลเมตร ต้องใช้เวลาเดินทางกี่ชวั่ โมงจึงจะถึงเมือง B 1. 2.0 2. 2.5 3. 3.0 4. 4.5

6


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

14(แนว O–net) จากข้อที่ผา่ นมาถ้าออกเดินทางจากเมือง A เวลา 13.00 น. จะถึงเมือง B เวลาเท่าใด 1. 15.00 น. 2. 15.30 น. 3. 16.00 น. 4. 16.30 น.

15(แนว O-Net) รถยนต์คนั หนึ่งแล่นด้วยอัตราเร็ วคงตัว 30 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง ระยะทางที่ รถยนต์คนั นี้แล่นได้ในเวลา 6 นาที เป็ นไปตามข้อใด 1. 0.3 กิโลเมตร 2. 2.0 กิโลเมตร 3. 3.0 กิโลเมตร 4. 12 กิโลเมตร

16(มช 52) เต่าตัวหนึ่งเดินเป็ นเส้นตรงด้วยอัตราเร็ วคงตัว 30 เซนติเมตรต่อนาที จงหาว่าเต่า ตัวนี้จะเดินไปได้ไกลกี่เมตร เมื่อเวลาผ่านไป 4 ชัว่ โมง 1. 2 2. 18 3. 7.2 4. 72

7


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

17(แนว O–net) เด็กคนหนึ่งออกกาลังกายด้วยการวิง่ ด้วยอัตราเร็ ว 4 เมตรต่อวินาที เป็ นเวลา 1 นาที แล้วเดินด้วยอัตราเร็ ว 2 เมตรต่อวินาที อีก 1 นาที จงหาอัตราเร็ วเฉลี่ยในช่วงเวลา 2 นาทีน้ ี 1. 3.0 m/s 2. 3.5 m/s 3. 4.0 m/s 4. 4.5 m/s

18(แนว O–net) A กับ B วิง่ ออกกาลังกายจากจุดๆ หนึ่งด้วยอัตราเร็ วสม่าเสมอ 10 เมตรต่อวินาที และ 15 เมตรต่อวินาทีตามลาดับ เมื่อเวลาผ่านไป 30 วินาที A กับ B จะอยูห่ ่างกันกี่เมตร

19. ถ้าเพื่อนพูดว่า “ รถแข่งวิง่ บนทางโค้งด้วยความเร็ วคงตัว 100 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง ” คา กล่าวนี้ถูกต้องหรื อผิดอย่างไร 1. ถูก เพราะคนขับไม่ได้เหยียบเบรกความเร็ วจึงคงตัว 2. ถูก เพราะความเร่ งมีค่าเป็ นศูนย์ ความเร็ วจึงคงตัว 3. ผิด เพราะทิศทางของการเคลื่อนที่เปลี่ยนแปลง ความเร็ วจึงไม่คงตัว 4. ผิด เพราะคนขับเหยียบคันเร่ งไว้ ความเร็ วจึงไม่คงตัว

8


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

ปกติแล้วเวลาที่เราขับรถไปข้างหน้าแล้วเห็นสิ่ งกีดขวาง ในช่วงแรก ( ประมาณ 0.2 วินาที ) สมองของเราจะยังไม่สั่งการให้เราทาการเบรก ช่วงนี้รถจะยังคงเคลื่อนที่ไปข้างหน้า ด้วยความเร็ วเท่าเดิม ระยะทางที่ เคลื่อนที่ได้ในช่วงแรกนี้เรี ยกระยะคิด หลัง ระยะคิด ระยะเบรก ระยะคิด จากนั้นจึงเกิดการเบรกทาให้รถเคลื่อนที่ชา้ ระยะคิด ระยะคิด ระยะหยุด ลงจนหยุดนิ่งในที่สุด ระยะทางที่เคลื่อนที่ ได้ในช่วงนี้เรี ยกระยะเบรก และระยะคิดรวมกับระยะเบรกเรี ยกว่าระยะหยุด นัน่ คือ ระยะหยุด = ระยะคิด + ระยะเบรก 20. ชายคนหนึ่งคนขับรถมาแล้วเห็นสิ่ งกีดขวางเขาจึงเหยียบเบรกเพื่อหยุดรถ พบว่าระยะหยุด ของเขาคือ 25 เมตร โดยแบ่งเป็ นระยะคิด 10 เมตร และระยะเบรกอีกระยะหนึ่ง จงหา ระยะเบรกดังกล่าว 1. 10 m 2. 12 m 3. 15 m 4. 20 m

21(มช 50) คนขับรถคันหนึ่ง ขับมาด้วยอัตราเร็ ว 40 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง แล้วเห็นสัญญาณให้ หยุดรอ เขาจึงเหยียบเบรกเพื่อหยุดรถ พบว่าระยะหยุดของเขาคือ 20 เมตร โดยแบ่งเป็ น ระยะคิด (คือเริ่ มตั้งแต่มองเห็นจนกระทัง่ เท้าเริ่ มแตะเบรก) 8 เมตร และระยะเบรก 12 เมตร ถ้าเขากาลังขับรถคันนี้มาด้วยอัตราเร็ ว 100 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง ระยะคิดของเขา เป็ น กี่เมตร 1. 20 2. 30 3. 32 4. 48

9


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

1.1.2 ความเร่ ง ความเร่ ง คือ ความเร็ วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลา หาค่าได้จาก ความเร่ ง = ความเร็ว ทีเ่ ปลีย่ นไป เวลาทีใ่ ช้ ความเร่ ง = ความเร็ว ปลาย  ความเร็วต้น เวลาทีใ่ ช้ v2  v1 หรื อ a = t เมื่อ a คือความเร่ ง มีหน่วยเป็ นเมตรต่อวินาที 2 ( m/s2) v1 คือความเร็ วต้น มีหน่วยเป็ นเมตรต่อวินาที ( m/s ) v2 คือความเร็ วปลาย มีหน่วยเป็ นเมตรต่อวินาที ( m/s ) t คือเวลาที่ใช้ มีหน่วยเป็ นวินาที ( s ) 22(แนว O–net) รถยนต์คนั หนึ่งเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปบนเส้นทางตรง เวลาผ่านไป 10 วินาที มีความเร็ วเป็ น 25 เมตร/วินาที ถ้าอัตราเร็ วเพิ่มขึ้นอย่างสม่าเสมอ รถยนต์คนั นี้มีความเร่ ง เท่าใด 1. 2.0 m/s2 2. 2.5 m/s2 3. 4.0 m/s2 4. 5.0 m/s2

10


http://www.prokru.com

ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

23. เด็กคนหนึ่ง วิง่ ตรงไปด้วยความเร่ ง 3 เมตรต่อวินาที 2 ถ้าเขาเริ่ มต้นวิง่ จากหยุดนิ่ง อีก 10 วินาทีต่อมา เขาจะมีความเร็ วเท่าใด 1. 2 m/s 2. 10 m/s 3. 15 m/s 4. 30 m/s

24(แนว มช) รถยนต์คนั หนึ่ง เร่ งความเร็ วจากหยุดนิ่งจนมีความเร็ ว 72 กิโลเมตร/ชัว่ โมง ใน เวลา 4 วินาที คิดเป็ นความเร่ งเฉลี่ยได้กี่เมตร/วินาที2 1. 25

2. 18

3. 10

11

4. 5


http://www.prokru.com

ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

25(แนว มช) รถคันหนึ่งแล่นมาด้วยความเร็ ว 108 กิโลเมตร/ชัว่ โมง ก่อนถึงไฟแดงคนขับ เหยียบเบรก และทาให้รถหยุดตรงตาแหน่งไฟแดงโดยใช้เวลา 10 วินาที ความเร่ งเฉลี่ย ของรถในช่วงเหยียบเบรกมีค่ากี่เมตร/วินาที 2 1. 3

2. 5 3.

–3

4.

–5

26(แนว มช) จากคาถามข้อที่ผา่ นมา ณ จุดเริ่ มต้นรถหยุดนิ่ง ภายในเวลา 10 วินาที รถยนต์คนั นี้ เคลื่อนที่ได้ระยะทางกี่เมตร 1. 15 2. 30 3. 150 4. 300

ควรทราบ ถ้าความเร่ ง ( a ) มีค่าเป็ นบวก จะทาให้ความเร็ ว ( v ) ของการเคลื่อนที่มีค่าเพิม่ ขึ้น ถ้าความเร่ ง ( a ) มีค่าเป็ นลบ ( อาจเรี ยกอีกอย่างว่าความหน่ วง ) จะทาให้ความเร็ ว ( v ) ของการเคลื่อนที่มีค่าลดลง ถ้าความเร่ ง ( a ) มีค่าเป็ นศูนย์ จะทาให้ความเร็ ว ( v ) ของการเคลื่อนที่คงที่ 12


http://www.prokru.com

ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

27(แนว O–net) ในการเคลื่อนที่เป็ นเส้นตรง กราฟข้อใดแสดงว่าวัตถุเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วคงตัว ความเร่ ง

ความเร่ ง

ความเร่ ง

ความเร่ ง 0

0

1.

เวลา

เวลา

0

2.

เวลา

0

3.

4.

เวลา

เกีย่ วกับการเคลือ่ นทีเ่ ป็ นเส้ นตรงในแนวดิ่ง ขณะวัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่งวัตถุจะถูกแรงดึง ดูดของโลกดูดเอาไว้ ทาให้เกิดความเร่ งเนื่องจากแรง โน้มถ่วงในทิศพุง่ ลงสู่ พ้นื โลก และมีขนาดประมาณ 9.8 เมตร/วินาที2 ความเร่ งนี้นิยมใช้สัญลักษณ์แทน ด้วย g 28(แนว O–net) ปล่อยวัตถุให้ตกลงมาตามแนวดิ่ง เมื่อเวลาผ่านไป 6 วินาที วัตถุมีความเร่ ง เท่าใด 1. 9.8 เมตรต่อวินาที2 2. 19.6 เมตรต่อวินาที2 3. 29.4 เมตรต่อวินาที2 4. 39.2 เมตรต่อวินาที2

13


http://www.prokru.com

ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

29(มช 49) นักเรี ยนโยนก้อนหิ นขึ้นไปในแนวดิ่งถึงจุดสู งสุ ด 12 เมตร ก้อนหิ นหยุดนิ่งก่อนตก ลงมา ณ จุดสู งสุ ดก้อนหิ นมีความเร่ งกี่เมตร/วินาที 2 1. 0

2. 9.8

3. 12

4. 19.6

30(แนว มช) วัตถุ A และ B มีมวลเท่ากัน ตกจากที่สูง 0.5 และ 1.0 เมตร ตามลาดับ ใน ขณะที่เหรี ยญตกเกือบถึงพื้น ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง 1. วัตถุ B มีความเร่ งมากกว่าวัตถุ A 2. วัตถุ B มีความเร่ งน้อยกว่าวัตถุ A 3. วัตถุ B มีความเร่ งเท่ากับวัตถุ A 4. มีขอ้ ที่ไม่ถูกมากกว่า 1 ข้อ

31(มช 53) เมื่อโยนลูกเทนนิสขึ้นในแนวดิ่ง ถ้าไม่คิดแรงต้านของอากาศ ความเร่ งของลูกเทนนิสจะมีทิศเข้าสู่ ศูนย์กลางของโลกเมื่อใดบ้าง ก. เมื่อลูกเทนนิสกาลังเคลื่อนที่ข้ ึน ข. เมื่อลูกเทนนิสอยูท่ ี่ตาแหน่งสู งสุ ด ค. เมื่อลูกเทนนิสกาลังตกลงจากตาแหน่งสู งสุ ด 1. ข. เท่านั้น 3. ข. และ ค. เท่านั้น

2. ก. ข. และ ค. 4. ก. และ ค. เท่านั้น

14


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

ค่าความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงนี้สามารถนาไปใช้คานวณได้โดยถือหลักการดังนี้ 1) ขณะวัตถุกาลังเคลื่อนที่ข้ ึน ให้ใช้คา่ ความ เร่ งเป็ น –9.8 เมตร/วินาที2 เพราะความเร่ งนี้มีทิศลงตรง กันข้ามกับความเร็ วของการเคลื่อนที่ซ่ ึ งมีทิศขึ้น 2) ขณะวัตถุกาลังเคลื่อนที่ลง ให้ใช้ค่าความ เร่ งเป็ น +9.8 เมตร/วินาที 2 เพราะความเร่ งนี้มีทิศลง เหมือนกับความเร็ วของการเคลื่อนที่ 3) หากวัตถุเคลื่อนที่ข้ ึนในแนวดิ่ง ขณะวัตถุอยูท่ ี่จุดสู งสุ ดของการเคลื่อนที่จะมี ความเร็ วในแนวดิ่งเป็ นศูนย์เสมอ 32(แนว O-Net) ถ้าปล่อยให้วตั ถุตกลงในแนวดิ่งอย่างเสรี หากวัตถุน้ นั ตกกระทบพื้นดินใน เวลา 10 วินาที ถามว่าวัตถุกระทบดินด้วยความเร็ วเท่ากับกี่เมตร/วินาที 1. 4.9 m/s 2. 9.8 m/s 3. 49 m/s 4. 98 m/s

33(มช 51) เมื่อโยนก้อนหิ นขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็ ว 4.9 เมตรต่อวินาที ใช้เวลานานกี่ วินาทีกอ้ นหิ นจึงจะมีความเร็ วเป็ นศูนย์ 1. 0.5 2. 1.0 3. 2.0 4. 4.0

15


http://www.prokru.com

ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

34(มช 49) ถ้ายิงก้อนหิ นขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็ วต้น 98 เมตร/วินาที ก้อนหิ นจะถึง จุดสู งสุ ดใช้เวลานานกี่วนิ าที 1. 5 2. 10 3. 29.8 4. 49

35(แนว O-Net) กราฟของความเร็ ว v กับเวลา t ข้อใดสอดคล้องกับการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ ถูกโยนขึ้นไปในแนวดิ่ง 1. v 2. v

t

t

3.

4.

v

v

t

t

16


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

36(แนว O-Net) ข้อใดต่อไปนี้ไม่ได้ทาให้การเคลื่อนที่ของวัตถุเป็ นการตกแบ บเสรี กาหนดให้ การเคลื่อนที่ทุกข้อไม่คิดแรงต้านอากาศ 1. ผูกถุงทรายเข้ากับสปริ งในแนวดิ่งซึ่ งตรึ งไว้กบั เพดาน ดึงถุงทรายลงแล้วปล่อย 2. ขว้างลูกบอลลงจากดาดฟ้ าตึก 3. ลูกมะพร้าวหล่นลงจากยอดมะพร้าวลงมาในแนวดิ่ง 4. ขว้างก้อนหิ นจากยอดหน้าผาออกไปในแนวระดับ

1.2 การเคลือ่ นทีแ่ บบโพรเจกไทล์ การ เคลือ่ นทีแ่ บบโพรเจกไทล์ คื อการเคลื่อนที่ในแนวโค้งรู ปพาราโบลา เกิดจากการ เคลื่อนที่หลายมิติผสมกัน ตัวอย่างเช่นหากเราขว้างวัตถุออกไปในแนวร ะดับจากดาดฟ้ าตึกแห่ง หนึ่ง เราจะพบว่าวัตถุจะมีความพยายามที่จะเคลื่อนที่ไปใน แกน X แนวระดับ ( แกน X ) ตามแรงที่เราขว้าง พร้อมกันนั้นวัตถุ จะถูกแรงโน้มถ่วงของโลก ดึงให้เคลื่อนที่ตกลงมาในแนว ดิ่ง ( แกน Y ) ด้วย และเนื่องจากการเคลื่อนที่ท้ งั สองแนว แกน Y นี้เกิดในเวลาเดียวกัน จึงเกิดการผสมผสานกันกลายเป็ น การเคลื่อนที่แบบเส้นโค้งพาราโบลาพุง่ ออกมาระหว่างกลางแนวระดับ (แกน X ) และแนวดิ่ง ( แกน Y ) ดังรู ป การเคลื่อนที่ในวิถีโค้งแบบนี้เรี ยกว่าเป็ น การเคลือ่ นทีแ่ บบโพรเจกไทล์ 37(แนว O–net) ข้อใดใกล้เคียงกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์มากที่สุด 1. เครื่ องบินขณะบินขึ้นจากสนามบิน 2. เด็กเล่นสะพานลื่น 3. ลูกเทนนิสที่ถูกตีออกไปข้างหน้า 4. เครื่ องร่ อนขณะร่ อนลง

17


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

ข้ อควรรู้ เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับการเคลือ่ นทีแ่ บบโพรเจกไทล์ 1. อัตราเร็ วของการเคลื่อนที่ในแนวระดับ (แกน X) (vx) จะมีค่าคงที่ แต่ในแนวดิ่ง(แกน Y)

แกน X

วัตถุจะมีความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง ( g ) คง ตัวอยูต่ ลอดเวลา จึงทาให้ความเร็ วในดิ่ง (vy) มีค่าเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา 2. พิจารณาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ชนิด โยนวัตถุจากพื้นขึ้นไปบนอากาศแล้วให้โค้งตกลงมา หากต้องการให้วตั ถุเคลื่อนที่ไปในแนวระดับได้ไกล ที่สุดต้องโยนวัตถุข้ ึนไปในแนวเอียงทามุม 45o กับ

แกน Y

vx

vy 45o

vx

แนวระดับ และที่จุดสู งสุ ดของการเคลื่อนที่ ความเร็ วของแนวดิ่ง (แกน Y) (vx) จะมีค่าเป็ น ศูนย์เหลือแต่ความเร็ วในแนวระดับ (แกน X) (vx) ซึ่ งจะมีค่า เท่ากับความเร็ วแนวระดับของ ตอนเริ่ มต้น เพราะความเร็ วแนวระดับจะคงที่ ทุกๆ จุดของการเคลื่อนที่จะมีค่าเท่ากันตลอดเวลา 38(แนว O–net) ขว้างลูกบอลจากดาดฟ้ าตึกไปในแนวระดับ ปริ มาณใดของวัตถุมีค่าคงตัว 1. 2. 3. 4.

การกระจัด ระยะทาง ความเร็ วในแนวระดับ ความเร็ วในแนวดิ่ง

18


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

39(แนว O–net) ยิงลูกปื นออกไปในแนวระดับ ทาให้ลูกปื นเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตอนที่ ลูกปื นกาลังจะกระทบพื้น ข้อใด ถูกต้ องทีส่ ุ ด ( ไม่ตอ้ งคิดแรงต้านอากาศ ) 1. ความเร็ วในแนวระดับเป็ นศูนย์ 2. ความเร็ วในแนวระดับมีขนาดมากกว่าตอนที่ถูกยิงออกมา 3. ความเร็ วในแนวระดับมีขนาดน้อยกว่าตอนที่ถูกยิงออกมาแต่ไม่เป็ นศูนย์ 4. ความเร็ วในแนวระดับเท่ากับความเร็ วตอนต้นที่ลูกปื นถูกยิงออกมา

40(แนว O-Net) วัตถุเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ขณะที่วตั ถุอยูท่ ี่จุดสู งสุ ด ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 1. ความเร็ วของวัตถุมีค่าเป็ นศูนย์ 2. ความเร่ งของวัตถุมีค่าเป็ นศูนย์ 3. ความเร็ วของวัตถุในแนวดิ่งมีค่าเป็ นศูนย์ 4. ความเร็ วของวัตถุในแนวราบมีค่าเป็ นศูนย์

19


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

41(แนว O–net) เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ข้ ึนไปถึงตาแหน่งสู งสุ ดของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ อัตราเร็ วของวัตถุจะเป็ นอย่างไร 1. มีค่าเท่ากับอัตราเร็ วแนวราบเมื่อเริ่ มเคลื่อนที่ 2. มีค่าเท่ากับอัตราเร็ วแนวดิ่งเมื่อเริ่ มเคลื่อนที่ 3. มีค่าเป็ นศูนย์ 4. มีค่าเท่ากับจุดอื่นๆ ของการเคลื่อนที่

42(แนว O-Net) เตะลูกบอลออกไป ทาให้ลูกบอลเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ดงั รู ป และกาหนด ให้ทิศขึ้นเป็ นบวก กราฟในข้อใดต่อไปนี้บรรยาย ความเร่ งในแนวดิ่งของลูกบอลได้ถูกต้อง ถ้าไม่ คิดแรงต้านอากาศ 1. ความเร่ ง 2. ความเร่ ง 0

0 เวลา

3. ความเร่ ง 0

เวลา ความเร่ ง

4. 0

เวลา

20

เวลา


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

43(มช 52) ในการยิงปื นใหญ่ ผูย้ งิ ควรใช้มุมในการยิงกี่องศา จึงจะทาให้ลูกปื นเคลื่อนที่ไปได้ ไกลที่สุด 1. 30 2. 45 3. 60 4. 65

1.3 การเคลือ่ นทีแ่ บบวงกลม การเคลื่อนที่แบบวงกลม เป็ นการเคลื่อนที่ในแนวโค้งรอบจุดศูนย์กลางจุดหนึ่ง เช่นการ เคลื่อนที่ของวัตถุที่ผกู ไว้ดว้ ยเชือกแล้วเหวีย่ งให้เคลื่อนที่เป็ นวงกลม , การเคลื่อนที่ของรถไฟ เหาะตีลงั กา , การเลี้ยวโค้งบนถนนของรถ หรื อการโคจรของดวงจันทร์ รอบโลกเป็ นต้น

T

44(มช 49) การเคลื่อนที่ในข้อใดไม่เป็ นการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ 1. ชูต้ ลูกบาสเก็ตบอลลงห่วง 2. ขว้างก้อนหิ นในแนวระดับ 3. ยิงลูกธนูเข้าเป้ าตาวัว 4. ขับรถยนต์เข้าโค้ง

21


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

ก่อนศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบวงกลม นักเรี ยนต้องทาความเข้าใจคาศัพท์ต่อไปนี้ให้ดีก่อน 1. คาบ ( T ) คือเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ มีหน่วยเป็ นวินาที ( s ) 2. ความถี่ ( f ) คือจานวนรอบที่เคลื่อนที่ได้ในหนึ่ง หน่วยเวลามีหน่วยเป็ น รอบ/วินาที หรื อเฮิรตซ์ (Hz) เราสามารถหาค่าความถี่ได้จากสมการต่อไปนี้ f = จานวนรอบ หรื อ f = T1 เวลา เมื่อ

f คือความถี่ ( Hz ) , T คือคาบของการเคลื่อนที่ ( วินาที )

45(แนว O–net) เหวีย่ งจุกยางให้เคลื่อนที่เป็ นแนววงกลมในระนาบระดับศีรษะ 10 รอบ ใช้ เวลา 4 วินาที จุกยางเคลื่อนที่ดว้ ยความถี่เท่าใด 1. 0.25 รอบ/วินาที 2. 0.5 รอบ/วินาที 3. 2.5 รอบ/วินาที 4. 5.0 รอบ/วินาที

46(แนว O–net) รถไต่ถงั เคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ วสม่าเสมอและวิง่ ครบรอบได้ 4 รอบ ในเวลา 8 วินาที หากคิดในแง่ความถี่ของการเคลื่อนที่ ความถี่จะเป็ นเท่าใด 1. 2.0 Hz 2. 1.5 Hz 3. 0.5 Hz 4. 0.4 Hz

22


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

47(แนว O–net) จากคาถามข้อที่ผา่ นมา คาบของการเคลื่อนที่จะมีค่าเป็ นเท่าใด 1. 2.0 s 2. 1.5 s 3. 0.5 s 4. 0.4 s

โดยทัว่ ไปแล้วการเคลื่อนที่แบบวงกลม จะมีแรง แรงหนีศูนย์กลาง เกี่ยวข้องอย่างน้อย 2 แรงเสมอ ได้แก่ 1. แรงหนีศูนย์กลาง จะพยายามผลักวัตถุออก ไปจากวงกลมอยู่ตลอดเวลา 2. แรงเข้าสู่ ศูนย์กลาง จะพยายามดึงวัตถุเข้า แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง สู่ จุดศูนย์กลางของวงกลมเสมอ ปกติแล้ วแรงทั้งสองนีจ้ ะมีขนาดเท่ ากัน แต่ มีทศิ ตรงกันข้ ามดังรู ป ทั้งนีเ้ พือ่ ให้ วตั ถุอยู่ ในภาวะสมดุลของแรงนั่นเอง แรงเข้ าสู่ ศูนย์ กลางของการเคลือ่ นทีแ่ ต่ กรณีอาจมีลกั ษณะทีแ่ ตกต่ างกันไป ตัวอย่ างเช่ น การเคลือ่ นทีข่ องวัตถุทผี่ ูกไว้ ด้วยเชื อกแล้ วเหวีย่ ง แรงดึงเชือก ให้ เคลือ่ นทีเ่ ป็ นวงกลม แรงทีท่ าหน้ าทีเ่ ป็ นแรงเข้ าสู่ ศูนย์ กลางคือแรงดึงเชื อก การเลีย้ วโค้ งบนถนนของรถ แรงทีท่ าหน้ าทีเ่ ป็ น แรงเข้ าสู่ ศูนย์ กลางคือแรงเสี ยดทานระหว่ างยางรถกับพืน้ ถนน การโคจรของดวงจันทร์ รอบโลกแรงทีท่ าหน้ า ทีเ่ ป็ นแรงเข้ าสู่ ศูนย์ กลางคือแรงดึงดูดทีโ่ ลกดูดดวง จันทร์ ไว้นั่นเอง 23

แรงเสี ยดทาน

แรงดึงดูดโลก


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

การเคลือ่ นทีข่ องรถไฟเหาะตีลงั กา หากรถ อยู่ทจี่ ุดสู งสุ ดของราง แรงทีท่ าหน้ าทีเ่ ป็ นแรงเข้ า สู่ ศูนย์ กลางคือนา้ หนักรถไฟรวมกับแรงดันของพืน้ ราง แต่ ถ้ารถอยู่ทจี่ ุดต่าสุ ดของรางแรงทีท่ าหน้ าที่ เป็ นแรงเข้ าสู่ ศูนย์ กลางคือแรงดันพืน้ อย่ างเดียว ดังแสดงในรู ป

น้ าหนักรถ

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

แรงดันพื้น แรงดันพื้น

น้ าหนักรถ

48(แนว O–net) การเคลื่อนที่ใดที่แรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุมีทิศตั้งฉากกับทิศของการเคลื่อนที่ ตลอดเวลา 1. การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ 2. การเคลื่อนที่แบบฮาร์ มอนิกอย่างง่าย 3. การเคลื่อนที่ในแนวตรง 4. การเคลื่อนที่แบบวงกลมด้วยอัตราเร็ วคงตัว

49(แนว O–net) ผูกเชือกเข้ากับจุกยาง แล้วเหวีย่ งให้จุกยางเคลื่อนที่เป็ นวงกลมในแนวระดับ เหนือศีรษะด้วยอัตราเร็ วคงตัว ข้อใดถูกต้อง 1. แรงที่กระทาต่อจุกยางมีทิศเข้าสู่ ศูนย์กลางวงกลม 2. แรงที่กระทาต่อจุกยางมีทิศเดียวกับความเร็ วของจุกยาง 3. จุกยางมีความเร็ วคงตัว 4. จุกยางมีความเร่ งเป็ นศูนย์

24


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

50(มช 51) เมื่อเหวีย่ งลูกบอลผูกเชือกเป็ นวงกลมขนานพื้นราบเหนือศีรษะ หากเชือกขาดลูก บอลจะเคลื่อนที่อย่างไร 1. เคลื่อนที่ต่อไปตามแนวสัมผัส 2. เคลื่อนที่ต่อไปตามแนวรัศมี 3. เคลื่อนที่ต่อไปด้วยผลรวมความเร็ วทั้งสองแนว 4. ไม่อาจคาดการณ์ทิศทางลูกบอลได้

51(มช 53) เมื่อนามวล m ก้อนเล็กๆ มาผูกด้วยเชือกที่มีความยาวพอเหมาะ แล้วแกว่งเป็ นวง กลมเหนือศีรษะด้วยความเร็ วเชิงมุมคงที่ ถ้าเชือกที่ผกู มวลขาดทันทีในขณะที่กาลังแกว่งอยู่ มวล m จะเคลื่อนที่อย่างไร ก. เคลื่อนที่ออกตามแนวเส้นสัมผัสวงกลมที่กาลังแกว่งอยู่ ข. เคลื่อนที่ออกตามแนวรัศมีของวงกลมที่กาลังแกว่งอยู่ ค. เคลื่อนที่เป็ นทางโค้งโพรเจคไทล์ ข้อใดถูกต้องที่สุด 1. ก. เท่านั้น 2. ข. เท่านั้น 3. ก. และ ค. 4. ข. และ ค.

25


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

52. ขณะที่รถกาลังเลี้ยวโค้งรอบวงเวียนแห่งหนึ่งนั้น แรงที่ทาหน้าที่เป็ นแรงเข้าสู่ ศูนย์กลางคือ แรงในข้อใดต่อไปนี้ 1. แรงดึงดูดระหว่างมวล 2. แรงดึงเชือก 3. แรงผลักของสนามโน้มถ่วง 4. แรงเสี ยดทาน

53. หลังฝนตกทางลื่น หากขับรถเลี้ยวโค้งบนถนนอย่างเร็ วเกินขีดจากัด เหตุใดรถจึงไถลออก นอกเส้นทาง 1. เพราะยางรถจะเสื่ อมสภาพ 2. เพราะล้อรถจะหมุนเร็ วเกินไป 3. เพราะสนามโน้มถ่วงมีขนาดลดลง 4. แรงเสี ยดทานมีนอ้ ยเกินไป

54. เหตุใดการสร้างถนนตรงช่วงทางโค้งต้องยกพื้นถนนให้เอียงทามุมกับพื้นราบ 1. เพื่อให้น้ าฝนที่ตกไหลลงไปจากถนน 2. เพื่อลดน้ าหนักรถที่กดถนน 3. เพื่อให้แรงดันพื้นส่ วนหนึ่งดันรถเข้า สู่ ศูนย์กลางวงกลม 4. มีขอ้ ที่ถูกมากกว่า 1 ข้อ

26


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

55(แนว O-Net) ลูกแก้วมวล 1 กิโลกรัม เคลื่อนที่ข้ ึนรางโค้งตีลงั กาอันมีรัศมี 1 เมตร ด้วย ความเร็ วคงที่ ดังแสดงในรู ป ขณะที่ลูกแก้วอยูท่ ี่จุดสู งสุ ด ของราง แรงในข้อต่อไปนี้ที่ทาหน้าที่เป็ นแรงสู่ ศูนย์กลาง 1. แรงดันพื้น 2. น้ าหนักของลูกแก้ว 3. แรงดันพื้นลบน้ าหนักของลูกแก้ว 4. แรงดันพื้นบวกกับน้ าหนักของลูกแก้ว

1.4 การเคลือ่ นทีแ่ บบฮาร์ มอนิกอย่ างง่ าย การเคลื่อนที่แบบฮาร์ มอนิกอย่างง่าย คือการเคลื่อนที่ซ่ ึ งเคลื่อนที่กลับไปมาซ้ าทางเดิม โดยผ่านตาแหน่งสมดุลโดยมีคาบของการเคลื่อนที่คงตัว ตัวอย่างเช่นการสั้นของสปริ ง การ แกว่งของลูกตุม้ นาฬิกาหรื อชิงช้า เป็ นต้น

amax

amax vmax

จุดสมดุล

27


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

56(แนว O-Net) ข้อใดต่อไปนี้ไม่ได้ทาให้วตั ถุมีการเคลื่อนที่แบบฮาร์ มอนิกอย่างง่าย 1. แขวนลูกตุม้ ด้วยเชือกในแนวดิ่ง ดึงลูกตุม้ ออกมาจนเชือกทามุมกับแนวดิ่งเล็กน้อย แล้วปล่อยมือ 2. ผูกวัตถุกบั ปลายสปริ งในแนวระดับ ตรึ งอีกด้านของสปริ งไว้ ดึงวัตถุให้สปริ งยืดออก เล็กน้อย แล้วปล่อยมือ 3. ผูกวัตถุกบั ปลายสปริ งในแนวดิ่ง ตรึ งอีกด้านของสปริ งไว้ ดึงวัตถุให้สปริ งยืดออก เล็กน้อย แล้วปล่อยมือ 4. แขวนลูกตุม้ ด้วยเชือกในแนวดิ่ง ผลักลูกตุม้ ให้แกว่งเป็ นวงกลมในแนวราบ โดยเส้น เชือกทามุมคงตัวกับแนวดิ่ง

28


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

ข้ อควรรู้ เกีย่ วกับการเคลือ่ นทีแ่ บบฮาร์ มอนิกอย่ างง่ าย 1. ขณะที่วตั ถุกาลังเคลื่อนที่ผา่ นจุดสมดุล (จุดตรงกลาง) วัตถุจะมีความเร็ วสู งสุ ด (vmax) แต่มีความเร่ ง (a) ต่าที่สุด ขณะที่วตั ถุอยูท่ ี่จุดตรงปลายของการเคลื่อนที่ วัตถุจะมีความเร่ งสู งสุ ด ( ความเร็ ว (v) ต่าที่สุด 2. คาบ ( T ) คือเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ มีหน่วยเป็ นวินาที ( s ) สาหรับคาบของการเคลื่อนที่ฮาร์ มอนิกอย่างง่ายแบบ แกว่ง เราสามารถหาคาบของการแกว่งได้จากสมการ T = 2 Lg เมื่อ T คือคาบของการแกว่ง มีหน่วยเป็ นวินาที (s)

amax) แต่มี

A

C B

g คือความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง มีหน่วยเป็ น เมตร/วินาที 2 (m/s2) L คือระยะจากจุดตรึ งสายแกว่งถึงจุดศูนย์กลางลูกตุม้ มีหน่วยเป็ น เมตร (m) 3. ความถี่ ( f ) คือจานวนรอบที่เคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยเป็ น รอบ/วินาที หรื อเฮิรตซ์ (Hz) เราสามารถหาค่าความถี่ได้จากสมการต่อไปนี้ f = จานวนรอบ หรื อ f = T1 เวลา เมื่อ

f คือความถี่ ( Hz ) , T คือคาบของการเคลื่อนที่ ( วินาที )

57(แนว O–net) ลูกตุม้ นาฬิกากาลังแกว่งกลับไปกลับมาแบบฮาร์ มอนิกอย่างง่าย ที่ตาแหน่ง สมดุล ของการแกว่งลูกตุม้ นาฬิกามีสภาพการเคลื่อนที่เป็ นอย่างไร 1. ความเร็ วสู งสุ ด ความเร่ งต่าสุ ด 2. ความเร็ วต่าสุ ด ความเร่ งต่าสุ ด 3. ความเร็ วสู งสุ ด ความเร่ งสู งสุ ด 4. ความเร็ วต่าสุ ด ความเร่ งสู งสุ ด

29


http://www.prokru.com

ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

58(มช 54) ลูกตุม้ ของนาฬิกาแขวนผนังเรื อนหนึ่งแกว่งด้วยความถี่ 1 รอบ/วินาที เริ่ มต้นแกว่ง ณ เวลาเที่ยงตรง เมื่อนาฬิกาบอกเวลาบ่ายโมงสิ บห้านาทีลูกตุม้ จะแกว่งไปทั้งหมดกี่รอบ 1. 75

2. 115

3. 4,500

59(แนว O–net) ถ้าการแกว่งของน็อตแบบฮาร์ มอนิก อย่างง่ายจากตาแหน่ง A ไป B ใช้เวลา 1.0 วินาที คาบการแกว่งจะมีค่ากี่วนิ าที

4. 6,900

A

C B

60(แนว O-Net) การทดลองเรื่ องการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิก อย่างง่าย ถ้าให้ลูกตุม้ เคลื่อนที่จาก A ไป B ไป C แล้วไป B ดังรู ป ใช้เวลา 6 วินาที คาบของการเคลื่อน ที่มีค่าเท่าใด 1. 2 s 2. 3 s 3. 4 s 4. 8 s

30

A

C B


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

61(แนว O–net) ลูกตุม้ นาฬิกาแกว่งแบบฮาร์ มอนิกอย่างง่าย พบว่าผ่านจุดต่าสุ ดทุกๆ 1 วินาที ความถี่ของการแกว่งของลูกตุม้ นี้เป็ นไปตามข้อใด 1. 0.5 เฮิรตซ์ 2. 1.0 เฮิรตซ์ 3. 2.0 เฮิรตซ์ 4. 4.0 เฮิรตซ์

62(แนว O-Net) ข้อความใดถูกต้องเกี่ยวกับคาบของลูกตุม้ อย่างง่าย 1. ไม่ข้ ึนกับความยาวเชือก 2. ไม่ข้ ึนกับแรงโน้มถ่วงของโลก 3. ไม่ข้ ึนกับมวลของลูกตุม้ 4. มีคาบเท่าเดิมถ้าไปแกว่งบนดาวอังคาร

31


ติ3 วันพร้อมสอบฟิสิกส์ O-Net

http://www.prokru.com

บทที่ 1 การเคลื่อนที่

เฉลย บทที่ 1 การเคลือ่ นที่ 1. ตอบข้ อ 1. 5. ตอบข้ อ 1. 9. ตอบข้ อ 1. 13. ตอบข้ อ 3. 17. ตอบข้ อ 1. 21. ตอบข้ อ 1. 25. ตอบข้ อ 3. 29. ตอบข้ อ 2. 33. ตอบข้ อ 1. 37. ตอบข้ อ 3. 41. ตอบข้ อ 1. 45. ตอบข้ อ 3. 49. ตอบข้ อ 1. 53. ตอบข้ อ 4. 57. ตอบข้ อ 1. 61. ตอบข้ อ 1.

2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบ 2 11. ตอบข้ อ 4. 12. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 4. 18. ตอบ 150 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 4. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 1. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 1. 38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบข้ อ 3. 43. ตอบข้ อ 2. 44. ตอบข้ อ 4. 46. ตอบข้ อ 3. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 4. 50. ตอบข้ อ 1. 51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 4. 54. ตอบข้ อ 3. 55. ตอบข้ อ 4. 56. ตอบข้ อ 4. 58. ตอบข้ อ 3. 59. ตอบ 4 60. ตอบข้ อ 4. 62. ตอบข้ อ 3. 

32


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.