1
โครงการในพระราชดาริฝนหลวง royally initiated project Artificial rain
นางสาวสุธาสินี สุตะลัย (Sutasinee Sutalai) รหัส 5810111223005 ชัน้ ปีที่ 3 สาขาวิชาภาษาไทย วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
คานา หนังสืออิเ ล็กทรอนิก ส์ (E-BOOK) เป็ นส่ว นหนึ่งของวิชาการผลิตสื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ จัดทาขึ้นเพื่อเพื่อศึกษาการผลิตสื่อทางการศึกษา และเพื่อ น าไปใช้ ใ นการเรี ย นการสอนเกี่ ย วกั บ โครงการในพระราชด าริ ข อง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 9 โดยแบ่งเนื้อหาเป็น 3 บท ดังนี้ บทที่ 1 ที่มาของโครงการฝนหลวง ซึ่งเป็นการอธิบายถึงที่มาและความสาคัญ รวมไปถึงวัตถุประสงค์ บทที่ 2 ขั้นตอนการทาฝนหลวง จะเป็นการอธิบาย ขั้นตอนการทาฝนทียมทั้งหมด บทที่ 3 สรุปผลของโครงการและประโยชน์ ขอขอบพระคุณผู้ประพันธ์ตาราและเจ้าของผลงานทุกท่าน ที่ ผู้เขียนได้ น ามา เป็ น เ อกส ารอ้ า งอิ ง ป ระก อบ กา รเขี ย น แ ละขอ ขอบ พ ระคุ ณ ดร.ทรงศักดิ์ สุริโยธิน ที่ได้ให้คาปรึกษา แนะนาจนหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สาเร็จลุล่วงเป็นอย่างดี ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อนักเรียน นักศึกษา และ ผู้ที่สนใจศึกษาได้ต่อไป
ผู้จัดทา นางสาวสุธาสินี
สุตะลัย
สารบัญ เรื่อง
หน้า
บทที่ 1 ที่มาของโครงการฝนหลวง
3
History Artificial rain -แบบทดสอบก่อนเรียน pre-test
4
-แบบทดสอบหลังเรียน post-test
7
บทที่ 2 ขั้นตอนการทาฝนหลวง
8
The process of making artificial rain -แบบทดสอบก่อนเรียน pre-test
9
-แบบทดสอบหลังเรียน post-test
13
บทที่ 3 สรุปผลของโครงการและประโยชน์
14
The benefits of artificial rain -แบบทดสอบก่อนเรียน pre-test
15
-แบบทดสอบหลังเรียน post-test
19
สรุปบทเรียน Lesson summary
20
บทที่ 1 ฝนหลวงมาจากไหน ? History Artificial rain
4
แบบทดสอบก่อนเรียน pre-test 1.พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลใด ที่เป็นผู้ที่มีพระราชดาริโครงการฝนหลวง ก. รัชกาลที่ 4 ข. รัชกาลที่ 5 ค. รัชกาลที่ 6 ง. รัชกาลที่ 9 2. พระราชดาริโครงการฝนหลวงมุ่งเน้นแก้ปัญหาในด้านใดเป็นหลัก ก. ปัญหาดินเปรี้ยว ข. ปัญหาขาดแคลนน้า ค. ปัญหาหน้าดินเสีย ง. ปัญหาขาดพื้นที่ทากิน 3. พระราชดาริโครงการฝนหลวงริเริ่มขึ้นเมื่อใด ก. พ.ศ. 2498 ข. พ.ศ. 2499 ค. พ.ศ. 2500 ง. พ.ศ. 2501
ไม่ยากไช่ไหมครับ
5
บทที่ 1 ฝนหลวงมาจากไหน ? ประวัตโิ ครงการฝนหลวง History Artificial rain โครงการพระราชดาริฝนหลวง royally initiated project Artificial rain เป็นโครงการที่ก่อกาเนิดจากพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ใน รัชกาลที่9ที่ทรงห่วงใยในความทุกข์ยากของพสกนิกรในท้องถิ่นทุรกันดาร ซึ่งต้อง ประสบปัญหาขาดแคลนน้า เพื่ออุปโภคบริโภค และใช้ในการเกษตรกรรม อัน เนื่องมาจากภาวะแห้งแล้ง ที่มีสาเหตุจากความผันแปร และคลาดเคลื่อนของฤดูกาล ตามธรรมชาติ กล่าวคือ ฤดูฝนเริ่มต้นล่าช้าเกินไป หรือหมดเร็วกว่าปกติ หรือฝน ทิ้งช่วงยาวในช่วงฤดูฝน ระหว่างทางที่เคยเสด็จพระราชดาเนิน ทั้งภาคพื้นดิน และทางอากาศยาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 9ทรงสังเกตเห็นว่า มีเมฆปริมาณมากปก คลุมท้องฟ้า แต่ไม่สามารถก่อรวมตัวกันจนเกิดเป็นฝนได้ เป็นเหตุให้เกิดภาวะฝน ทิ้ ง ช่ ว งระยะยาวทั้ ง ๆ ที่ เ ป็ น ช่ ว งฤดู ฝ น ทรงคิ ดค านึ งว่ า น่ า จะมี ม าตรการทาง วิทยาศาสตร์ ที่จะช่วยให้เมฆเหล่านั้นก่อรวมตัวกันจนเกิดเป็นฝนได้ ทรงเชื่อมั่นว่า ด้วยลักษณะของกาลอากาศ ภูมิอากาศ และภูมิประเทศของประเทศไทยซึ่งตั้งอยู่ใน ภูมิภาคเขตร้อน และอยู่ในอิทธิพลของฤดูมรสุมของทวีปเอเชีย โดยเฉพาะฤดูมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้ซึ่งเป็นฤดูฝน และเป็นฤดูเพาะปลูกประจาปีของประเทศไทย จะ สามารถดัดแปรสภาพอากาศ ให้เกิดเป็นฝนตกได้
6
ดังนั้น ตั้งแต่ พ.ศ. 2498 เป็นต้นมา พระองค์ทรงศึกษาค้นคว้า และวิจัย ทางเอกสาร ทั้งด้านวิชาการอุตุนิยมวิทยา (Meteorology) และการดัดแปรสภาพ อากาศ จนทรงมั่นพระทัย ก่อนพระราชทานแนวคิดนี้แก่ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ผู้ เ ชี่ ย วชาญในการวิ จั ย ประดิ ษ ฐ์ ท างด้ า นเกษตรวิ ศ วกรรม (Agricultural engineering) ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ใ นขณะนั้ น และในปี ถั ด มา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้หาลู่ทางที่จะทาให้เกิดการทดลอง ปฏิบัติการบนท้องฟ้า กระทั่งในปี พ.ศ. 2512 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จัดตั้งหน่วยบิน ปราบศัตรูพืชกรมการข้าว เพื่อให้การสนับสนุนในการสนองพระราชประสงค์ โดย ในปีเดียวกันนั้นเอง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ทาการทดลอง ปฏิบัติการจริงในท้องฟ้าเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 1 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2512 โดย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แต่งตั้งให้ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล เป็นผู้อานวยการ โครงการ และหัวหน้าคณะปฏิบัติการทดลองคนแรก และเลือกพื้นที่วนอุทยานเขา ใหญ่เป็นพื้นที่ทดลองแห่งแรก ต่อ มา ได้ มี ป ฏิ บั ติ ก ารโดยทดลองหยอดก้ อ นน้ าแข็ งแห้ง ขนาดไม่ เ กิ น 1 ลูกบาศก์นิ้ว เข้าไปในยอดเมฆสูงไม่เกิน 10,000 ฟุต ที่ลอยกระจัดกระจายอยู่ เหนือพื้นที่ทดลองในขณะนั้น ทาให้กลุ่มเมฆทดลองเหล่านั้น มีการเปลี่ยนแปลง อย่างเห็นได้ชัด จนเกิดการกลั่นรวมตัวกันหนาแน่น และก่อยอดสูงขึ้นเป็นเมฆฝน ขนาดใหญ่ ใ นเวลาอั น รวดเร็ ว แล้ ว และจากการติ ด ตามผลโดยการส ารวจทาง ภาคพื้นดิน ก็ได้รับรายงานยืนยันจากราษฎรว่า เกิดฝนตกลงสู่พื้นที่บริเวณวน อุทยานเขาใหญ่ในที่สุด การทดลองดังกล่าวจึงเป็นนิมิตหมายที่ดี ที่บ่งชี้ให้เห็นว่า การบังคับเมฆให้เกิดฝนเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ และความสาเร็จดังกล่าว ยังส่งผลให้มี การพัฒนา ปรับปรุง และต่อยอดโครงการฝนหลวงมาจนถึงปัจจุบัน
7
แบบทดสอบหลังเรียน post-test 1. พระราชดาริโครงการฝนหลวงมุ่งเน้นแก้ปัญหาในด้านใดเป็นหลัก ก. ปัญหาดินเปรี้ยว ข. ปัญหาขาดแคลนน้า ค. ปัญหาหน้าดินเสีย ง. ปัญหาขาดพื้นที่ทากิน 2. พระราชดาริโครงการฝนหลวงริเริ่มขึ้นเมื่อใด ก. พ.ศ. 2498 ข. พ.ศ. 2499 ค. พ.ศ. 2500 ง. พ.ศ. 2501 3.พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลใด ที่เป็นผู้ที่มีพระราชดาริโครงการฝนหลวง ก. รัชกาลที่ 4
ทาได้แล้วไช่ไหมครับ
ข. รัชกาลที่ 5 ค. รัชกาลที่ 6 ง. รัชกาลที่ 9
เฉลย ตอบ ข, ก, ง ตามลาดับข้อ
บทที่ 2 ฝนตกได้ยังไง ? The process of making artificial rain
9
แบบทดสอบก่อนเรียน pre-test 1. ขั้นตอนแรกของการทาฝนหลวง คือขั้นตอนใด ก. ก่อกวน ข. เลี้ยงให้อ้วน ค. โจมตี (เมฆอุ่น) ง. โจมตี (เมฆเย็น) 2. ข้อใดเรียงลาดับการทาฝนหลวงได้ถูกต้อง ก. โจมตี(เมฆเย็น) โจมตี(เมฆอุ่น) เลี้ยงให้อ้วน ก่อกวน ข. ก่อกวน โจมตี(เมฆอุ่น) โจมตี(เมฆเย็น) เลี้ยงให้อ้วน ค. ก่อกวน เลี้ยงให้อ้วน โจมตี(เมฆอุ่น) โจมตี(เมฆเย็น) ง. เลี้ยงให้อ้วน ก่อกวน โจมตี(เมฆอุ่น) โจมตี(เมฆเย็น) 3. ขั้นการก่อกวนเมฆ ควรเริ่มไม่ควรเกินเวลาเท่าไหร่ ก. 08.00 น.
ลองทาดูนะครับ
ข. 09.00 น. ค. 10.00 น. ง. 11.00 น.
เฉลย ตอบ ก, ค, ค ตามลาดับข้อ
10 00
บทที่ 2 ฝนตกได้ยังไง ?
ขั้นตอนที่หนึ่ง : ก่อกวน Harass การก่ อ กวน เป็ น ขั้ น ตอนที่ เ มฆธรรมชาติ เ ริ่ ม ก่ อ ตั ว ทางแนวตั้ ง การปฏิบัติการฝนหลวงในขั้นตอนนี้ จะมุ่งใช้สารเคมีไปกระตุ้น ให้มวลอากาศ เกิ ด การลอยตั ว ขึ้ น สู่ เ บื้ อ งบน เพื่ อ ให้ เ กิ ด กระบวนการชั ก น าไอน้ า หรื อ ความชื้นเข้าสู่ระบบการเกิดเมฆ ระยะเวลาที่จะปฏิ บัติการในขั้นตอนนี้ ไม่ควร เกิน 10.00 น. ของแต่ละวัน โดยการใช้สารเคมีที่สามารถดูดซับไอน้าจากมวล อากาศได้ แม้ จ ะมี เ ปอร์ เ ซ็ น ต์ ค วามชื้ น สั ม พั ท ธ์ ต่ า เพื่ อ กระตุ้ น กลไกของ กระบวนการกลั่นตัวไอน้าในมวลอากาศ ทางด้านเหนือลมของพื้นที่เป้าหมาย เมื่อเมฆเริ่มเกิดมี การก่อตัวและเจริญเติบโตในแนวตั้ง จึงใช้สารเคมีที่ใ ห้ ปฏิกิริยาคายความร้อน โปรยเป็นวงกลม หรือเป็นแนวถัดมาทางใต้ลมเป็น ระยะทางสั้น ๆ เข้ าสู่ก้ อนเมฆ เพื่อกระตุ้น ให้เกิดกลุ่ มแกนร่วมในบริเวณ ปฏิบัติการสาหรับใช้เป็นศูนย์กลางที่จะสร้างกลุ่มเมฆฝนในขั้นตอนต่อไป
11 00
ขั้นตอนที่สอง : เลี้ยงให้อ้วน Fatten การเลี้ยงให้อ้วน เป็นขั้นตอนที่เมฆกาลังก่อตัวเจริญเติบโตซึ่งเป็นระยะที่ สาคัญมากในการปฏิบัติการฝนหลวง เพราะจะต้องไปเพิ่มพลังงานให้กับการ ลอยตั ว ของก้ อ นเมฆให้ ย าวนานออกไป โดยต้ อ งใช้ เ ทคโนโลยี แ ละ ประสบการณ์ หรือศิลปะแห่งการทาฝนควบคู่ไปพร้อม ๆ กัน เพื่อตัดสินใจ โปรยสารเคมีฝนหลวงชนิดใด ณ ที่ใดของกลุ่มก้อนเมฆ และในอัตราใดจึง เหมาะสม เพราะ ต้องให้กระบวนการเกิดละอองเมฆสมดุลกับการลอยตัวของ เมฆ มิฉะนั้นจะทาให้เมฆสลาย
ยังไม่หมดนะคะ
12 00
ขั้นตอนที่สาม : โจมตี Attacking การโจมตี ถือเป็นขั้นตอนสุดท้ายของกรรมวิธีปฏิบัติการฝนหลวง โดย เมฆ หรือ กลุ่มเมฆฝน ต้องมีความหนาแน่นมากพอที่จะสามารถตกเป็นฝนได้ ภายในกลุ่มเมฆจะมีเม็ดน้าขนาดใหญ่มากมาย หากเครื่องบินบินเข้าไปในกลุ่ม เมฆฝนนี้ จะมีเม็ดน้าเกาะตามปีก และกระจังหน้าของเครื่องบิน ซึ่ งในจะต้อง ปฏิบัติการเพื่อลดความรุนแรงในการลอยตัวของก้อนเมฆ หรือทาให้อายุการ ลอยตั ว นั้ น หมดไป ส าหรั บ การปฏิ บั ติ ก ารในขั้ น ตอนนี้ จะต้ อ งพิ จ ารณา จุดมุ่งหมายของการทาฝนหลวง ซึ่งมีอยู่ 2 ประเด็น คือ เพื่อเพิ่มปริมาณฝน ตก และเพื่อให้เกิดการกระจายการตกของฝน
13 00
แบบทดสอบหลังเรียน post-test 1. ขั้นตอนแรกของการทาฝนหลวง คือขั้นตอนใด ก. ก่อกวน ข. เลี้ยงให้อ้วน ค. โจมตี (เมฆอุ่น) ง. โจมตี (เมฆเย็น) 2. ข้อใดเรียงลาดับการทาฝนหลวงได้ถูกต้อง ก. โจมตี(เมฆเย็น) โจมตี(เมฆอุ่น) เลี้ยงให้อ้วน ก่อกวน ข. ก่อกวน โจมตี(เมฆอุ่น) โจมตี(เมฆเย็น) เลี้ยงให้อ้วน ค. ก่อกวน เลี้ยงให้อ้วน โจมตี(เมฆอุ่น) โจมตี(เมฆเย็น) ง. เลี้ยงให้อ้วน ก่อกวน โจมตี(เมฆอุ่น) โจมตี(เมฆเย็น) 3. ขั้นการก่อกวนเมฆ ควรเริ่มไม่ควรเกินเวลาเท่าไหร่ ก. 08.00 น.
ทาได้แล้วไช่ไหมครับ
ข. 09.00 น. ค. 10.00 น. ง. 11.00 น.
เฉลย ตอบ ก, ค, ค ตามลาดับข้อ
บทที่ 3 ฝนหลวงมีประโยชน์ ยังไง ? The benefits of artificial rain
15 00
แบบทดสอบก่อนเรียน pre-test 1. ข้อใดคือประโยชน์ของโครงการฝนหลวง ก. ด้านการอุปโภค บริโภค ข. ด้านการแก้ไขปัญหาคุณภาพน้า ค. ด้านการป้องกันและบาบัดภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้อม ง. ถูกทุกข้อ 2. โครงการฝนหลวงมีประโยชน์ต่อเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ในด้านใดโดยตรง ก. ด้านการท่องเที่ยว ข. ด้านเศรษฐกิจ ค. ด้านการโทรคมนาคม ง. ด้านการผลิตกระแสไฟฟ้า 3. การที่มนุษย์มีน้าไว้กิน ไว้ใช้สอย เป็นคุณประโยชน์ในด้านใด ก. ด้านการป้องกันและบาบัดภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้อม ข. ด้านการอุปโภค บริโภค
ลองทาดูนะครับ
ค. ด้านการแก้ไขปัญหาคุณภาพน้า ง. ด้านการโทรคมนาคม
เฉลย ตอบ ง, ง, ข ตามลาดับข้อ
16 00
บทที่ 3 ฝนหลวงมีประโยชน์ยังไง ? ประโยชน์ของโครงการฝนหลวง The benefits of artificial rain ด้านการเกษตร : มีการร้องขอฝนหลวงเพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้าในช่วงที่ เกิดภาวะฝนแล้ ง หรื อฝนทิ้ งช่ วงยาวนาน ซึ่งมีผลกระทบต่อ แหล่งผลิ ตทางการ เกษตรที่กาลังให้ผลผลิตในพื้นที่ต่าง ๆ
ด้านการแก้ไขปัญหาคุณภาพน้า : เนื่องจากใต้พื้นดินของภาคอีสานมีแหล่งหินเกลือ เป็นจานวนมากและครอบคลุมพื้นที่กว้างขวาง หากยามใดอ่างเก็บน้าขนาดเล็กและ ขนาดกลางเกิดมีปริมาณน้าเหลือน้อย ย่อมส่งผลให้น้าเกิดน้ากร่อยหรือเค็มได้ ดังนั้น การทาฝนหลวงมีความจาเป็นมากในการช่วยบรรเทาปัญหาดังกล่าว
17 00
ประโยชน์ของโครงการฝนหลวง (ต่อ) ด้านการเสริมสร้างเส้นทางคมนาคมทางน้า : เมื่อปริมาณน้าในแม่น้าลด ต่าลง จนไม่สามารถสัญจรไปมาทางเรือได้ จึงต้องมีการทาฝนหลวงเพื่อเพิ่ม ปริมาณน้าให้กับบริเวณดังกล่าว เพราะการขนส่งสินค้าทางน้าเสียค่าใช้จ่ายน้อย กว่าทางอื่น และการจราจรทางน้ายังเป็นอีกช่องทางหนึ่ง สาหรับผู้ที่ต้องการ หลีกเลี่ยงปัญหาการจราจรทางบก ที่นับวันยิง่ ทวีความรุนแรงมาก
ด้านการอุปโภค บริโภค : การทาฝนหลวงได้ช่วยตอบสนองภาวะความ ต้องการ น้ากิน น้าใช้ ที่ทวีความรุนแรงมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เนื่องจาก คุณสมบัติของดินในภูมิภาคนี้เป็นดินร่วนปนทรายไม่สามารถอุ้มซับน้าได้ จึงไม่ สามารถเก็บกักน้าได้ดีเท่าที่ควร
18 00
ประโยชน์ของโครงการฝนหลวง (ต่อ) ด้านการป้องกันและบาบัดภาวะมลพิษของสิง่ แวดล้อม : หากน้าในแม่น้า เจ้าพระยาลดน้อยลงเมื่อใด น้าเค็มจากทะเลอ่าวไทยก็จะไหลหนุนเนื่องเข้าไป แทนที่ทาให้เกิดน้ากร่อย และสร้างความเสียหายแก่เกษตรกรเป็นจานวนมาก ดังนั้นการทาฝนหลวง จึงช่วยบรรเทาภาวะดังกล่าว อีกทั้งการทาฝนหลวงยังช่วยใน เรื่องของสิ่งแวดล้อมที่เป็นพิษอันเกิดจากการระบายน้าเสียทิ้งลงสู่แม่น้าเจ้าพระยา โดยปริมาณน้าจากฝนหลวงจะช่วยผลักสิ่งแวดล้อมที่เป็นพิษให้ออกสู่ท้องทะเล ทา ให้ภาวะมลพิษจากน้าเสียเจือจางลงการทาฝนหลวงจึงมีความสาคัญในด้านดังกล่าว ด้วยเช่นกัน เป็นต้น
ด้านการเพิม่ ปริมาณน้าในเขือ่ นภูมพิ ลและเขื่อนสิรกิ ติ ิ์เพือ่ ผลิตกระแสไฟฟ้า : เนื่องจากบ้านเมืองเราเริ่มประสบปัญหาการขาดแคลนพลังงานไฟฟ้ามากขึ้น เนื่องจากมีความต้องการใช้ไฟฟ้าในปริมาณที่สูงมาก ดังนั้นเมื่อเกิดภาวะวิกฤติ โดยระดับน้าเหนือเขื่อนมีระดับต่ามากจนไม่เพียงพอต่อการใช้พลังงานน้าในการ ผลิตกระแสไฟฟ้า
19 00
แบบทดสอบหลังเรียน post-test 1. ข้อใดคือประโยชน์ของโครงการฝนหลวง ก. ด้านการอุปโภค บริโภค ข. ด้านการแก้ไขปัญหาคุณภาพน้า ค. ด้านการป้องกันและบาบัดภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้อม ง. ถูกทุกข้อ 2. โครงการฝนหลวงมีประโยชน์ต่อเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ในด้านใดโดยตรง ก. ด้านการท่องเที่ยว ข. ด้านเศรษฐกิจ ค. ด้านการโทรคมนาคม ง. ด้านการผลิตกระแสไฟฟ้า 3. การที่มนุษย์มีน้าไว้กิน ไว้ใช้สอย เป็นคุณประโยชน์ในด้านใด ก. ด้านการป้องกันและบาบัดภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้อม ข. ด้านการอุปโภค บริโภค ค. ด้านการแก้ไขปัญหาคุณภาพน้า ง. ด้านการโทรคมนาคม
เฉลย ตอบ ง, ง, ข ตามลาดับข้อ
20
สรุปบทเรียน Lesson summary โครงการพระราชดาริฝนหลวง royally initiated project Artificial rain เป็นโครงการที่ก่อกาเนิดจากพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ใน รัชกาลที่9ที่ทรงห่วงใยในความทุกข์ยากของพสกนิกรในท้องถิ่นทุรกันดาร ซึ่งต้อง ประสบปัญหาขาดแคลนน้า เพื่ออุปโภคบริโภค และใช้ในการเกษตรกรรม พระองค์ทรงศึกษาค้นคว้า และวิจัยทางเอกสาร ทั้งด้านวิชาการอุตุนิยมวิทยา และการดัดแปรสภาพอากาศ จนทรงมั่นพระทัย ก่อนพระราชทานแนวคิดนี้แก่ ม.ร.ว. เทพฤทธิ์ เทวกุ ล ผู้ เ ชี่ ย วชาญในการวิ จั ย ประดิ ษ ฐ์ ท างด้ า นเกษตรวิ ศ วกรรม ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในขณะนั้น และในปีถัดมา ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าโปรดกระหม่อม ให้หาลู่ทางที่จะทาให้เกิดการทดลองปฏิบัติการบนท้องฟ้า ขั้นตอนการทาฝนหลวง ขั้นตอนที่หนึ่ง : ก่อกวน Harass ขั้นตอนที่สอง : เลี้ยงให้อ้วน Fatten ขั้นตอนที่สาม : โจมตี (เมฆอุ่น,เมฆเย็น) Attacking ประโยชน์ของฝนหลวง ด้านการเกษตร ด้านการแก้ไขปัญหาคุณภาพน้า ด้านการอุปโภค บริโภค ด้านการเสริมสร้างเส้นทางคมนาคมทางน้า ด้านการป้องกันและบาบัดภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้อม