Artr2

Page 1

นิยามศัพท์,ภูมิปัญญาไทย, สัตว์หิมพานต์และการสัมภาษณ์ องค์ความรู ้ของบุคคลในพื้นที่

แฟ้มสะสม

ผลงาน ศิลปะไทยสมัยรัตนโกสินทร์ สุทาสินี ราชวังเมือง ๕๖๓๔๐๗๙๒๒๕ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์


งานทีไ ่ ด้รบ ั มอบหมายชิน ้ ที่ ๑ นิยามศัพท์ วัฒนธรรม น. สิ่งที่ทำควำมเจริญงอกงำมให้ แก่หมูค่ ณะ, วิถีชีวิตของหมูค่ ณะ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิ ตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ สิปปะ น. ศิลปะ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ สร้างสรรค์ ว. มีลกั ษณะริ เริ่ มในทางดี พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ อารยธรรม น. ความสงบสุ ขของสังคมที่ต้ งั อยูบ่ นรากฐานแห่งศีลธรรมและกฎหมาย พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ อนารยธรรม น. ควำมต่ำช้ ำ, ควำมป่ ำเถื่อน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ มนุษย์ น. สัตว์ที่รู้จกั ใช้เหตุผล;สัตว์ที่มีจิตใจสู ง, คน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ภูมิปัญญา น. พื้นความรู ้ความสามารถ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ เอกลักษณ์ น. ลักษณะที่เหมือนกันหรื อมีร่วมกัน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ไตรภพ,ไตรภูมิ น. ภพทั้ง ๓ คือ กามภพ รู ปภพ อรู ปภพ,ตามไสยศาสตร์ วา่ สวรรค์ มนุษยโลก บาดาล พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒


จารีตประเพณี น. ประเพณีที่นิยมและประพฤติกนั สืบมำ ถ้ ำฝ่ ำฝื นถือว่ำเป็ นผิดเป็ นชัว่ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ปราสาท น. เรื อนมียอดเป็ นชันๆส ้ ำหรับเป็ นที่ประทับของพระเจ้ ำแผ่นดินหรื อเป็ นที่ประดิษฐำนสิ่งศักดิส์ ิทธิ์ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ตาลปัตร น. พัดในตาล มีดา้ มยาว สาหรับพระใช้ในพิธีกรรม เช่น ช่วงเวลาให้ศีล ต่อมาอนุ โลมเรี ยกพัดที่ทาด้วย ผ้าหรื อไหม ตาลปัตรบังเพลิง น. ตาลปั ตรที่มีลกั ษณะเช่นเดียวกับพัดยศของพระสงฆ์ ใช้ประดับสถานที่ในงานพระเมรุ ชั้นพระมหากษัตริ ยแ์ ละพระราชวงศ์ช้ นั สู ง นิยมทาเป็ นรู ปตุก๊ ตานัง่ คุกเข่าถือตาลปั ตรรายรอบบริ เวณพระเมรุ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ พระบฏ น. ผืนผ้าที่มีรูปพระพุทธเจ้าเป็ นต้นและแขวนไว้เพื่อบูชา พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ โขน น. การเล่นอย่างหนึ่งคล้ายละครรา มักเล่นเรื่ องรามเกียรติ์ โดยผูแ้ สดงสวมหัวจาลองต่างๆที่เรี ยกว่า หัวโขน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ โขน หมายถึง นาฏศิลป์ ชั้นสู งที่เก่าแก่ของไทย มีมาตั้งแต่สมันกรุ งศรี อยุธยา ตามหลักฐานจากจดหมายเหตุ ของลาลูแบร์ ราชทูตฝรั่งเศสสมัยสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้กล่าวถึงโขนว่า เป็ นการเต้นออกท่าทางเข้ากับ เสี ยงซอและเครื่ องดนตรี อื่นๆ ผูเ้ ต้นสวมหน้ากากและถืออาวุธ หนังสื อมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ๒๕๕๒ ช่อฟ้า เป็ นองค์ประกอบของสถาปั ตยกรรมไทยที่ใช้ประดับส่ วนบนสุ ดของหน้าบัน(จัว่ ) ฤทัย ใจจงรั ก,หนังสื อสัดส่ วนสถาปั ตยกรรมไทย หางหงส์ เป็ นส่ วนประกอบของตัวลายองติดตั้งอยูต่ รงหน้าบันใช้กบั อาคารทางศาสนามีหลายแบบ แบบปาก ปลา แบบปากนก หัวนาค นาคเบือน แล้วแต่ช่างประดิษฐ์ ฤทัย ใจจงรั ก,หนังสื อสัดส่ วนสถาปั ตยกรรมไทย


ศาลาการเปรียญ เป็ นอาคารทางศาสนา เดิมเรี ยก “ธรรมศาลา” คือโรงฟังธรรม สาหรับพระภิกษุนงั่ ฟังการ บรรยายธรรมของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ฤทัย ใจจงรั ก,หนังสื อสัดส่ วนสถาปั ตยกรรมไทย หอไตร เป็ นอาคารที่อยูใ่ นเขตสังฆาวาส ถ้าหอไตรนั้นออกแบบสร้างเพื่อเป็ นห้องสมุดมักอยูต่ ิดกับกุฏิพระครู หรื อเจ้าคณะไว้ใช้คน้ หาความรู ้เพิม่ เติมจากหนังสื อธรรมะต่างๆเพื่อนสอนพระนวกะ แต่มีหอไตรอีกชนิดหนึ่ง ตั้งอยู่ เป็ นเอกเทศ ไม่อยูใ่ นเขตสังฆวาสหรื อเขตพุทธาวาส คือ หอไตรประดิษฐานพระไตรปิ ฎก สร้างไว้เป็ น ธรรมะบูชา ไม่มีบนั ไดขึ้น อยูก่ ลางสระน้ า เพื่อให้ศาสนิกชนกราบไหว้บูชาพระธรรม ฤทัย ใจจงรั ก,หนังสื อสัดส่ วนสถาปั ตยกรรมไทย หอระฆัง ตั้งอยูใ่ นเขตสังฆวาส เป็ นอาคารทรงสู ง มักสร้างเป็ นอาคารสองชั้น ชั้นบนแขวนระฆัง ชั้นล่างแขวน กลอง สาหรับตีบอกเวลาทาวัตรเช้า-เย็น และเวลาเพล (๑๑.๐๐น.) เพื่อบอกเวลาพระฉันอาหาร ฤทัย ใจจงรั ก,หนังสื อสัดส่ วนสถาปั ตยกรรมไทย มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม หมายถึง องค์ความรู ้หรื อผลงานที่เกิดจากบุคคลกลุ่มชนที่ได้มีการ สร้างสรรค์พฒั นา สั่งสม สื บทอด และประยุกต์ใช้ในวิถีการดาเนินชีวิตมาอย่างต่อเนื่อง และสอดคล้องเหมาะสมกับ สภาพสังคมและสิ่ งแวดล้อมของแต่ละกลุ่มชน อันแสดงให้เห็นถึงอัตลักษณ์และความหลากหลายทางวัฒนธรรม หนังสื อมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ๒๕๕๒ พระมหามณเฑียร คือ หมู่พระที่นงั่ ที่มีความสาคัญที่สุด สาหรับประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระมหากษัตริ ยใ์ นพระบรมราชจักรี วงศ์ทุกพระองค์ หนังสื อพระบรมมหาราชวัง ซุ้มจระนา น. ชื่อซุม้ ท้ายวิหารหรื อท้ายโบสถ์ เป็ นช่องตัน มักเป็ นที่ ประดิษฐานพระพุทธรู ป http://dict.longdo.com ปฏิสังขรณ์ น. การซ่ อมแซม , การตกแต่ง , การทาให้ดีเหมือนเดิม ,ไทยใช้เป็ นคากริ ยาได้ดว้ ย พจนานุกรมไทย, มานิต มานิตเจริ ญ : ๒๕๔๓ : หน้ า ๕๔๘


ช่างสิปปหมู่ น. ช่างสิ บหมู่ (โบราณ) ช่างเขียน , ช่างรัก(ลงรัก) , ช่างหุ่น , ช่างบุ , ช่างสลัก , ช่างแกะ , ช่างกลึง , ช่างปูน , ช่างปั้ น และ ช่างหล่อ รวมเรี ยก ช่างสิ บหมู่ พจนานุกรมไทย, มานิต มานิตเจริ ญ : ๒๕๔๓ : หน้ า ๒๙๘ พระเมรุ เป็ นคากร่ อนมาจากเขาพระสุ เมรุ ตามคติไตรภูมิ เขาพระสุ เมรุ เป็ นแกนกลางเหมือนเป็ นการเชื่อมภูมิ ต่างๆ การปาฐกถา เรื่ องสถาปั ตยกรรมพระเมรุ โดย ศาสตราจารย์ กิตติคุณ หม่ อมราชวงศ์ แน่ งน้ อย ศักดิ์ศรี วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๗ พระเมรุมาศ หรื อพระเมรุ เป็ นสถาปั ตยกรรมไทย ประเภทสิ่ งก่ อสร้ างชั่วคราว เป็ นศิลปกรรมไทยที่สร้ าง ขึน้ เป็ นการเฉพาะ มีระเบียบแบบแผนที่ต้องอาศัยฝี มือช่ างชั้นครู ทุกแขนง เป็ นผู้รังสรรค์ ในการออกแบบก่ อสร้ าง ประดับตกแต่ งพระเมรุ มาศหรื อพระเมรุ ให้ สมพระเกียรติ รวมไปถึงอาคารประกอบต่ างๆ ที่จัดสร้ างขึน้ ในบริ เวณทุ่ง พระเมรุ หรื อท้ องสนามหลวง ที่มีลานกว้ างสามารถรั บการมาประชุมกันของผู้คนจานวนมากได้ โดยรวมหมายถึงการ จาลองสวรรค์ ชั้นดาวดึงส์ (สวรรค์ ชั้นที่ ๒) บนเขาพระสุเมรุ ที่เป็ นศูนย์ กลางจักรวาล ซึ่ งเป็ นที่ประทับของพระอินทร์ ดังนั้นพระเมรุ ที่สร้ างจะต้ องมีความสูง มียอดแหลมให้ เหมือนวิมานไพชยนต์ ที่ประทับ http://the-threeworlds.blogspot.com/2012/02/blog-post.html วิหารคด คือส่ วนหนึ่งของสถาปั ตยกรรมพุทธศาสนสถาน มีลกั ษณะเป็ นวิหารล้อมรอบลานด้านในของวิหาร หลักและคดเป็ นข้อศอกตรงมุม มีลกั ษณะเทียบได้กบั ระเบียงฉันนบถ ในสถาปัตยกรรมตะวันตก http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8% AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%94 ไขรา น. ส่ วนของหลังคาอาคารสถาปั ตยกรรมไทย เฉพาะตอนที่ยนื่ พ้นผนังอาคารออกไปยังขอบหลังคา ถ้าส่ วนที่ ยืน่ นั้นอยูต่ รงหน้าจัว่ เรี ยก ไขราหน้าจัว่ ถ้าอยูป่ ลายหน้าบัน เรี ยก ไขราหน้าบัน ถ้าเป็ นหลังคาปี กนก เรี ยก ไขราปี กนก ถ้าเป็ นหลังคาบังสาดตามขนาดยาวของเต้า เรี ยกไขราจันทันเต้า หรื อ ไขราเต้า. http://dictionary.sanook.com/search/dict-th-th-royalinstitute/%E0%B9%84%E0%B8%82%E0%B8%A3%E0%B8%B2


เกย น. เกยขนาดเล็กเคลื่อนย้ายไปได้ สาหรับเจ้านายใช้เป็ นที่เสด็จขึ้นหรื อลงพาหนะ http://dictionary.sanook.com/search/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A2 ไพที น. ที่รอง แท่น ขอบชายคา คือ ที่สุดชายคาชั้นบนต่อกับชายคาชั้นล่างฐานบัวคว่าบัวหงายที่พระเจดีย ์ http://dictionary.sanook.com/search/%E0%B9%84%E0%B8%9E%E0%B8%97%E0%B8%B5 กูบ น. ประทุนหลังช้าง ประทุนรถเช่นรถม้าที่มีรูปโค้ง ลักษณะนามว่า หลัง. http://dictionary.sanook.com/search/dict-th-throyal-institute/%E0%B8%81%E0%B8%B9%E0%B8%9A ใบระกา น. ชื่อไม้สลักหรื อปูนปั้ นรู ปเป็ นครี บ ๆ หรื อลวดลายต่าง ๆ ติดกับตัวลายองระหว่างช่อฟ้ ากับหางหงส์ ประกอบ ๒ ข้างหน้าบันโบสถ์ วิหาร และปราสาท เป็ นต้น. http://dictionary.sanook.com/search/%E0%B9%83%E0%B8%9A %E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2 รักแร้ เรี ยกส่ วนของสิ่ งก่อสร้างตอนที่ผนังกับผนังจดกันเป็ นมุมฉากทั้งด้านในและด้านนอกเช่น รักแร้ปราสาท รักแร้กาแพงแก้ว รักแร้โบสถ์. http://dictionary.sanook.com/search/%E0%B8%A3 %E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B9%89 ลูกมะหวด น. ลูกตั้งมักทาด้วยหิ นหรื อไม้เป็ นต้น เป็ นรู ปกลม ๆ ป้ อม ๆ คล้ายผลมะหวดเรี ยงกันเป็ นลูกกรงใช้ แทนหน้าต่าง เช่น ลูกมะหวดที่ปราสาทหิ น. http://dictionary.sanook.com/search/%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%A1%E0%B8%B0 %E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%94 เรือนแก้ว น. สิ่ งที่ทาเป็ นกรอบมีลวดลายล้อมพระพุทธรู ป. http://dictionary.sanook.com/search/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8 %99%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%A7 กรองทอง น. ผ้าโปร่ งอันทอหรื อถักด้วยเส้นลวดทองหรื อไหมทอง. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒


โกศ น. ที่ใส่ ศพนัง่ เป็ นรู ปกลมทรงกระบอก ฝาครอบมียอด,ที่ใส่ กระดูกผี มีขนาดต่าง ๆ ฝาครอบมียอด (ส.). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ลายอง น. ส่ วนประกอบช่วงบนของปั้ นลมปราสาทหรื อวิหาร. ว. สวย งาม. http://dictionary.sanook.com/search/%E0%B8%A5%E0%B8%B3%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%87 เครื่องราชกกุธภัณฑ์ น. เครื่ องหมายความเป็ นพระราชาธิบดี ตามที่แสดงไว้ในบรมราชาภิเษก ร. 7 คือ 1. พระมหาพิชยั มงกุฎ 2. พระแสงขรรค์ชยั ศรี 3. ธารพระกร 4. วาลวีชนี (พัดกับแส้จามรี ) 5. ฉลองพระบาท รวมเรี ยกว่า เบญจราชกกุธภัณฑ์. (ป. กกุธ ว่า เครื่ องหมายความเป็ นพระราชา + ภณฺ ฑ ว่า ของใช้; ระบุไว้ในอภิธานัปปทีปิกา คาถาที่ 358 ว่า พระขรรค์ ฉัตร อุณหิ ส ฉลองพระบาท วาลวีชนี คือ มีฉตั รแทนธารพระกร; ในจดหมายเหตุบรม ราชาภิเษก รัชกาลที่ 2 มีท้ งั ฉัตรและธารพระกร พระแสงขรรค์ พระแสงดาบ วาลวีชนี พระมหาพิชยั มงกุฎ และฉลอง พระบาท รวมเป็ น 7 สิ่ ง. วาลวีชนี ที่ปรากฏวัตถุเป็ นพัดกับแส้จามรี น้ นั แต่ก่อนเป็ นพัดใบตาลอย่างที่เรี ยกว่า พัชนี ฝัก มะขาม ต่อมาท่านเห็นควรเป็ นแส้จามรี จะถูกกว่า เพราะศัพท์วา่ วาลวีชนี หมายความเป็ นแส้ขนโคชนิดหนึ่ง จึงสร้าง แส้จามรี ข้ ึน แต่ก็ไม่อาจเลิกพัดใบตาลของเก่า เป็ นอันรวมไว้ท้ งั 2 อย่างในเครื่ องที่เรี ยกว่า วาลวีชนี) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ เครื่องสูง น.ของสาหรับแสดงอิสริ ยยศหรื อยศ เช่น ฉัตร พัดโบก จามร กลด. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ บุษบก น.มณฑปขนาดเล็กแต่ดา้ นข้างโปร่ ง เป็ นที่ประทับของพระมหากษัตริ ยใ์ นพระราชพิธี หรื อประดิษฐานปู ชนียวัตถุเช่นพระพุทธรู ปเป็ นต้น. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ทับเกษตร อาคารที่ปลูกริ มรั้วราชวัติ โดยสร้างเป็ นอาคารโถงทรงไทยทับเกษตรนี้ ใช้เป็ นที่สาหรับข้าราชการ ที่มาในพระราชพิธีพกั และฟังสวดพระอภิธรรม http://dict.longdo.com/search/%E0%B8%97%E0%B8%B1 %E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%95%E0%B8%A3


ลอมพอก น.เครื่ องสวมศีรษะรู ปยาวแหลมคล้ายชฎา เช่น เทวดาสวมลอมพอก นาคสวมลอมพอก หมวกสาหรับขุนนางไทยที่นิยมใช้ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ฯ ทาด้วยผ้าขาวที่พนั พับเป็ นหมวกทรง แหลมอย่างประณี ต สันนิษฐานว่ารู ปแบบของลอมพอกนี้ ได้อิทธิ พลมาจากผ้าโพกศีรษะของชาวเปอร์ เซี ยผสมผสาน กับรู ปแบบชฎายอดแหลมของไทย เหตุที่เรี ยก ”ลอมพอก” เพราะขณะสวมใส่ ตอ้ งลอมผมหรื อมวยผมขึ้นไปให้สูง (อย่างลอมฟาง) และ นาไม้ไผ่เหลาบางๆ มาสานประกบ แล้วจึงพอกหรื อโพกด้วยผ้า พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ https://www.facebook.com/thailovekingthai/posts/108022452710551 http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/life-style/lifestyle/20120919/470647/เสรี เหนือศีรษะ.html เขามอ มาจากคาว่า "ถมอ" ในภาษาเขมร แปลว่า ก้อนหิ น หมายถึง ภูเขาจาลองที่ก่อขึ้นจากหิ นจนมีรูปทรง คล้ายคลึงกับภูเขา อาจแบ่งได้เป็ น ๒ ประเภท คือ เขามอขนาดเล็กที่ประดับอยูใ่ นกระถาง ซึ่ งเป็ นศิลปะการจัดสวน แบบหนึ่งคู่กบั การเล่น “ไม้ดดั ” และเขามอขนาดใหญ่ สาหรับก่อลงบนพื้นดินหรื อกลางสระน้ า จัดให้มียอดเขาสู ง ลดหลัน่ ตามลาดับเป็ นซุ ม้ คูหา ใช้ประดับตกแต่งพระอารามและพระราชอุทยาน เป็ นที่นิยมมาแต่สมัยกรุ งศรี อยุธยา http://www.watprayoon.com/kaomo/index.php?url=about ทรงจอมแห น่าจะมาจากการตากแหให้แห้งของชาวบ้าน โดยนาก้นแหไปผูกกับปลายไม้ไผ่หรื อคล้องกับกิ่งไม้ ที่มีความสู งมากกว่าความยาวของปากแห ใช้ไม้ค้ าปากแหให้ถ่างออก จึงเกิดเป็ นลักษณะของเส้นทรงที่เรี ยกว่า “ทรง จอมแห” นี้เอง รศ.สมใจ นิ่มเล็ก (ราชบัณฑิต)วารสารหน้ าจั่ว ฉบับประวัติศาสตร์ สถาปั ตยกรรม และ สถาปั ตยกรรมไทย ฉบับที่ 2 โดยคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ ม.ศิลปากร มุขกระสัน น. มุขที่เชื่อมระหว่างพระที่นงั่ องค์หนึ่งกับอีกองค์หนึ่ง. http://dictionary.sanook.com/search/dict-th-th-royalinstitute/%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E 0%B8%B1%E0%B8%99


งานทีไ ่ ด้รบ ั มอบหมายชิน ้ ที่ ๒ ภูมป ิ ัญญาไทย ซิ่นตีนจก คือ ผ้าซิ่ นที่มีโครงสร้าง ๓ ส่ วน คือ ส่ วนหัว ส่ วนตัว และส่ วนตีนที่ทอด้วยกลวิธีจก การต่อ เชิง (ตีนซิ่ น) มีลวดลายพิเศษต่างจากซิ่ นที่ใช้ปกติในชีวติ ประจาวัน ลวดลายจกที่นาไปต่อซิ่ น เรี ยกว่า “ตีนจก”

กรรมวิธีการทอผ้าจก เป็ นการทอและปั กผ้าไปพร้อมๆกัน จก คือ การทอลวดลายบนผืนผ้าด้วยวิธีการเพิ่ม ด้ายเส้นพุง่ พิเศษเข้าไปเป็ นช่วงๆ ไม่ติดต่อกันตลอดหน้ากว้างของผ้า การจกจะใช้ไม้หรื อขนเม่นหรื อนิ้วก้อยยกขึ้น จก(ควัก) เส้นด้ายสี สันต่างๆขึ้นมาบนเส้นยืนให้เกิดลวดลายตามที่ตอ้ งการ ความงามของลวดลายผ้าตีนจก นอกจากสะท้อนให้เห็นฝี มืออันประณี ตของช่างผูท้ อแล้ว ยังสะท้อนให้เห็น ถึงธรรมเนียมของสตรี ชาวไท-ลาว ในการนุ่งซิ่ นตีนจกในโอกาสต่างๆอีกด้วย เช่น การไปวัดการแต่งงาน ฯลฯ และ ความพร้อมที่จะออกเรื อนเป็ นแม่บา้ นของกุลสตรี ไท-ลาว หนังสื อมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ๒๕๕๒


สีไทยโทน Thaitone color เป็ น เอกลักษณ์ไทยที่พบเห็นค่อนข้างน้อยในการนามาใช้ในการออกแบบเลขศิลป์ ไทย ส่ วนมากโทนสี ของไทย และชื่อเรี ยกสี ต่างๆของไทยที่เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัว จะใช้กนั ในหมู่ของช่างหัตถศิลป์ ไทยพวกจิตรกรรม ไทย และพวกหัวโขน เป็ นต้น จิตกรรมไทย ประเพณี เป็ นส่ วนมาก ไม่มีการส่ งเสริ ม เผยแพร่ หรื อนามาวิเคราะห์และปรับใช้หรื อ เปรี ยบเทียบให้เป็ นแบบสากล ทาให้เลือนหายไปทุกทีและจากผลการวิเคราะห์และเปรี ยบเทียบเปอร์ เซ็นต์ ตาม ระบบการพิมพ์ และการจับคู่สีตามหลักสากลก็จะทาให้การใช้งานในการออกแบบเลขนศิลป์ ง่ายขึ้น น่าจะทาให้ แพร่ หลายในการนาไปใช้ได้มากขึ้น กลายเป็ นความภูมิใจของคนไทยและบ่งบอกเอกลักษณ์ความเป็ นไทยได้อีก อย่างหนึ่ง ซึ่ งจะช่วยเพิ่มมูลค่าทางความคิดภูมิปัญญา และคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ให้กบั งานออกแบบเลขนศิลป์ ไทยได้ โทนสี ของไทยโดยส่ วนมากจะเป็ นสี ที่ได้ จากธรรมชาติเป็ นแบบสี หม่นไม่สดใสเหมือนกับสี สมัยใหม่ ให้ บุคลิกของความคลาสสิ ก ขลัง ย้อนยุค เก่า หรู หราตระการตา เป็ นต้น อาจจะไม่ถูกใจ หรื อไม่ตรงกับบุคลิกภาพของ การนาไปใช้ในกลุ่มของประชาชนที่ใช้ในงานรื่ นเริ ง สนุกสนาน ที่ตอ้ งการให้สะดุดตา มีการใช้ สี สดๆ สี สะท้อน แสงในงานออกแบบเลขนศิลป์ อยูม่ ากมาย ซึ่ งก็สะท้อนบุคลิกภาพของคนไทยที่รักสนุกได้เป็ นอย่างดีถือเป็ น เอกลักษณ์ ไทยที่ไม่สามารถมองข้ามได้


ผลงานวิจยั สี ไทยโดยการนาของอ.ไพโรจน์ พิทยเมธี และทีมงาน "แรงบันดาลไทย" https://www.facebook.com/thaitonecolor?ref=profile


โขน พัฒนามาจากศิลปะการแสดงหลายแขยงด้วยกัน คือ นาวิธีเล่นและวิธีแต่งตัวบางอย่างมาจากการเล่นชักนาค ดึกดาบรรพ์ นาท่าต่อสู ้โลดโผนท่าราท่าเต้นมาจากกระบี่กระบอง และนาศิลปะการพากย์ การเจรจา เพลงและเครื่ อง ดนตรี ที่ใช้ประกอบกิริยาอาการของผูแ้ สดงที่เรี ยกว่าเพลงหน้าพาทย์มาจากการแสดงหนังใหญ่ ลักษณะสาคัญของ โขนอยูท่ ี่ผแู ้ สดงต้องสวมหัวโขนหมดทุกตัว ยกเว้นตัวพระ ตัวนาง และตัวเทวดา มีตน้ เสี ยงลูกคู่ร้องบทให้ มีคน พากย์และเจรจา แสดงเรื่ องรามเกียรติ์แต่เพียงเรื่ องเดียว การแสดงโขนมีพฒั นาการมาเป็ นลาดับ จาแนกประเภทได้ดงั นี้

๑. โขนกลางแปลง เป็ นการแสดงโขนบนพื้นกลางสนาม ไม่ตอ้ งสร้างโรง ใช้ภูมิประเทศ ธรรมชาติเป็ น ฉากในการแสดง ผูแ้ สดงเป็ นชายล้วน ตัวละครทุกตัวต้องสวมหัวโขน นิยมแสดงตอนยกทัพรบกันเป็ น พื้น จึงแบ่งผูแ้ สดงออกเป็ น ๒ ฝ่ ายผลัดกันออกมาแสดงดาเนินเรื่ องดังนั้นจึงต้องใช้วงปี่ พาทย์ ประกอบการแสดงพร้อมกัน ๒ วง ไม่มีบทร้อง มีแต่บทพากย์และเจรจาบ้าง ๒. โขนโรงนอกหรื อโขนนัง่ ราว เป็ นการแสดงโขนบนโรง ไม่มีเตียงสาหรับตัวนายโรงนัง่ มีราวพาดตาม ส่ วนยาวของโรง ตรงหน้าฉากออกมามีช่องทางให้ผแู ้ สดงเดินได้รอบราว ตัวโรงมักมีหลังคา เมื่อตัว โขนแสดงบทของตนแล้วก็จะนัง่ บนราว สมมติเป็ นเตียงหรื อเป็ นที่นงั่ ประจาตาแหน่งส่ วนผูท้ ี่แสดงเป็ น เสนาหรื อวานรยังคงนัง่ พื้นแสดงปกติ การแสดงโขนประเภทนี้ไม่มีการขับร้อง มีแต่การพากย์และเจรจา ดนตรี วงปี่ พาทย์ ๒ วง บรรเลงเพลงหน้าพาทย์


๓. โขนหน้าจอ เป็ นโขนที่แสดงตรงหน้าจอหนังใหญ่ โดยเจาะผ้าดิบทั้ง ๒ ข้างของจอทาเป็ นช่องประตูเข้า ออกแล้วทาเป็ นซุม้ ประตูดา้ นหนึ่งเป็ นปราสาทราชวัง สมมติเป็ นกรุ งลงกา อีกด้านหนึ่ งเป็ นค่าย พลับพลาพระรามแล้วโขนก็ข้ ึนไปแสดงบนโรง มีการพากย์และเจรจา มีดนตรี ปี่พาทย์ประกอบการ แสดงเพียงวงเดียว ๔. โขนโรงใน เป็ นศิลปะการผสมผสานระหว่างโขนหน้าจอกับละครใน คือเริ่ มมีผหู ้ ญิงแสดงเข้ามาปะปน มีการออกท่ารา เต้น ผูแ้ สดงเป็ นตัวพระเริ่ มไม่ตอ้ งสวมหัวโขนมีการพากย์และเจรจาตามแบบโขน นา เพลงขับร้องและดนตรี แบบละครในและระบาราฟ้ อนเข้ามาผสมด้วย ๕. โขนฉากหรื อโขนโรง สันนิ ษฐานว่าเกิดขึ้นราวรัชกาลที่๕โดยมีผคู้ ิดสร้างฉากมาประกอบการแสดง โขนบนเวทีในโรง (วิก) คล้ายกับการแสดงละครดกดาบรรพ์การแสดงแบ่งเป็ นฉากเป็ นตอน วิธีการ แสดงดาเนิ นเช่นเดียวกับโขนโรงใน ลักษณะที่สาคัญของโขนอีกประการหนึ่ง คือเครื่ องแต่งกาย แบ่ง ออกเป็ น ๓ ฝ่ าย ฝ่ ายมนุษย์-เทวดา(พระ-นาง) ฝ่ ายยักษ์ และฝ่ ายลิง โดยแบ่งเครื่ องแต่งกายได้ ๓ ประเภท คือ เครื่ องประดับศีรษะ เสื้ อผ้าเครื่ องนุ่งห่ม และเครื่ องประดับกายต่างๆ

หนังสื อมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ๒๕๕๒ http://ich.culture.go.th/index.php/th/ich/performing-arts/236-performance/155--m-s


หนังตะลุง คือศิลปะกรแสดงประจาท้องถิ่นอย่างหนึ่งของภาคใต้ เป็ นมหรสพที่นิยมแพร่ หลายอย่างยิง่ มาเป็ น เวลานาน แต่เดิมคนในท้องถิ่นภาคใต้เรี ยกหนังตะลุงสั้นๆว่า “หนัง” ดังคากล่าวที่ได้ยนิ กันว่า “ไปแลหนัง โนรา” เมื่อมีการนาหนังจากภาคใต้มาแสดงให้เป็ นที่รู้จกั ภาคกลางจึงได้เกิดคาว่า “หนังตะลุง” ขึ้น เพื่อ ไม่ให้ซ้ ากับหนังใหญ่ ซึ่ งแต่เดิมเรี ยกว่า “หนัง” เช่นเดียวกัน หนังจากภาคใต้เข้าไปเล่นในกรุ งเทพฯ ครั้งแรก ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั โดยพระยาพัทลุง (เผือก) นาไปเล่นแถวนางเลิ้งหนังที่เข้าไป ครั้งนั้นเป็ นนายหนังจากพัทลุง คนกรุ งเทพฯจึงเรี ยก “ หนังพัทลุง” ต่อมาเสี ยงเพี้ยนเป็ น “หนังตะลุง” หนังตะลุงเป็ นการเล่าเรื่ องราวทีผกู ร้อยเป็ นนิยายดาเนินเรื่ องด้วยบทร้อยกรองที่ขบั ร้องเป็ นสาเนียง ท้องถิ่นหรื อที่เรี ยกกันว่าการ “ว่าบท” มีบทสนทนาแทรกเป็ นระยะและการใช้การแสดงเงาบนจอผ้าเป็ นสิ่ ง ดึงดูดสายตาของผูช้ มซึ่ งการว่าบท การสนทนา และการแสดงเงานี้ นายหนังตะลุงเป็ นคนแสดงเองทั้งหมด อุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงหนังตะลุงที่สาคัญ ได้แก่ จอหนัง ไฟสาหรับส่ องแสง เครื่ องดนตรี หนัง ตะลุงประกอบด้วย ปี่ ใน โหม่ง ทับ กลองตุก๊ ฉิ่ ง และแตระ โดยมีนกั ดนตรี เรี ยกว่า “ลูกคู่” ทาหน้าที่บรรเลง ขณะแสดง ในบรรดาเครื่ องดนตรี ท้ งั หมด “ทับ” เป็ นเครื่ องกากับจังหวะและท่วงทานองที่สาคัญที่สุด ผูบ้ รรเลงดนตรี ชิ้นอื่นๆต้องคอยฟังและยักย้ายจังหวะตามเพลงทับ


ส่ วนรู ปหนังที่ใช้ในการแสดงประกอบด้วย รู ปฤๅษี รู ปพระอิศวร รู ปเจ้าเมือง-นางเมือง รู ปพระเอกนางเอก รู ปเทวดา รู ปยักษ์ รู ปตัวตลก และรู ปต่าง ซึ่ งจะเก็บไว้ในแผงหนัง

โดยในส่ วนของตัวหนังนี้ “ตัวตลกหนังตะลุง” เป็ นตัวละครที่มีความสาคัญยิง่ ที่ขาดไม่ได้สาหรับ การแสดงหนังตะลุง บทตลกคือเสน่ห์ ที่นายหนังสร้างความประทับใจให้กบั คนดู หนังตะลุง นอกจากจะให้ความบันเทิงต่อผูช้ มแล้วสิ่ งที่ทาให้หนังตะลุงได้รับความนิยมจกอดีต จนถึงปัจจุบนั คือ ปฏิภาณไหวพริ บของนายหนังตะลุงที่นาเรื่ องราวทางสังคมมาใช้ในการแสดงถ่ายทอด ผ่านรู ปหนัง เป็ นการสะท้อนให้เห็นบุคลิกนิสัยของคนใต้ที่ให้ความสนใจเกี่ยวกับเหตุการณ์บา้ นเมือง หนัง ตะลุงจึงมีความผูกพันกับสังคมวัฒนธรรมของชาวใต้มาทุกยุคสมัย หนังสื อมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ๒๕๕๒ http://ich.culture.go.th/index.php/th/ich/traditional-craftsmanship/241-craft/179--m-s


เครื่องจักสานย่านลิเภา เป็ นเครื่ องจักสานประเภทหนึ่งที่สานด้วยย่านลิเภา ซึ่ งเป็ นพืชตระกูลเฟิ ร์ น หรื อเถาวัลย์ชนิดหนึ่ง มี สมบัติที่ดี คือ ลาต้นเหนียว ชาวบ้านจึงนามาจักสานเป็ นภาชนะเครื่ องใช้ต่างๆ แหล่งผลิตที่สาคัญของจัก สานย่านลิเภาอยูท่ ี่บา้ นหมน ตาบลท่าเรื อ อาเภอเมือง จังหวัดนครศรธรรมราช

กระบวนการผลิตเครื่ องจักสานย่านลิเภา เริ่ มจากการนาย่านลิเภามาจักผิวเป็ นเส้นๆ แล้วชักเรี ยดให้ เส้นเรี ยบเสมอกัน จากนั้นนามาสานขัดกับตัวโครงที่ทาจากหวายและไม่ไผ่ให้เป็ นภาชนะเครื่ องใช้ต่างๆ งานจักสานย่านลิเภา แสดงให้เห็นถึงฝี มืออันประณี ตความอุตสาหะของช่างผูผ้ ลิตซึ่งสร้างความภา ภูมิใจให้แก่ผคู ้ รอบครอง หนังสื อมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ๒๕๕๒


ก่องข้าวดอก คือ ภาชนะเครื่ องจักสานไม้ไผ่สาหรับใส่ ขา้ วเหนียวนึ่งเพื่อบริ โภค มีแหล่งผลิตอยูท่ ี่บา้ นไผ่ เมือง มาย ตาบลเมืองมาย อาเภอแจ้ห่ม จังหวัดลาปาง กระบวนการผลิตมี ๒ แบบ คือ กล่องข้าวขาว สานด้วยตอกผิวไม้ไผ่สีธรรมชาติ และก่องข้าวดอก ใช้ตอกผิวไม้ไผ่ยอ้ มสี มะเกลือ สานสลับกับตอกสี ธรรมชาติ ยกดอกเป็ นลวดลายเฉพาะด้านนอก ขาก่องข้าว ทาด้วยไม้สัก หูรอยเชื อกทาด้วยหวาย โดยทัว่ ไปก่องข้าวดอกจะมีรูปทรงแตกต่างกัน เช่น ก่องข้าวคอกิ่ว ก่องข้าวคอเลิง และลวดลายหลายแบบ เช่น ลายดอกหลวง ลายดอกจันแปดกลีบ ลายดอกกาบ้ง ลายดอกกาบี้ ลายดอกกาบจุม เป็ นต้น

คุณลักษณะพิเศษของก่องข้าวดอกบ้านไผ่เมืองมาย คือ สาน ๒ ชั้นทาให้ระบายอากาศและรักษา ความชื้นได้ดี ช่วยป้ องกันไม่ให้ขา้ วแฉะหรื อแห้งเกินไป รักษาคุณภาพของข้าวไว้ได้นาน ก่องข้าวดอกที่มีลวดลายสวยงามต้องใช้ทกั ษะในการสานเป็ นพิเศษ จึงมักใช้โอกาสสาคัญเช่น ต้อนรับแขก ถวายอาหารพระฯ หนังสื อมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ๒๕๕๒


มีดอรัญญิก เป็ นมีดที่ทาด้วยเหล็กกล้า ตีจนเนื้ อเหล็กแน่น แข็งแรง ตัวมีดคมบาง แต่ไม่แตกหรื อบิ่นแหล่งผลิต มีดอรัญญิกอยูท่ ี่บา้ นต้นโพธิ์ และบ้านไผ่หนอง ตาบลอรัญญิก อาเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรี อยุธยา

การทามีดอรัญญิกเริ่ มจากการคัดเลือกเหล็กเส้นตามความเหมาะสม ตัดตามขนาดที่ตอ้ งการ เผาไฟ ให้ได้ที่แล้วนามาตีข้ ึนรู ป จากนั้นนากลับไปเผาไฟซ้ า ตีเพื่อตบแต่งอีกครั้งให้มีความคม นาไปเผาไฟเพื่อชุบ แข็งอีกครั้งหนึ่งแล้วนาไปเข้าด้ามเป็ นขั้นตอนสุ ดท้าย การ “ตีมีด” แม้มีกลวิธีไม่ซบั ซ้อน แต่ผตู ้ ีตอ้ งมีทกั ษะและต้องทางานร่ วมกันหลายคน เช่น คนตี พะเนิน (ค้อนใหญ่) ต้องฝึ กทางานร่ วมกันให้ได้จงั หวะ ไม่ขดั กัน รู ้วา่ มีดรู ปไหนควรตีตรงไหนและจะต้อง ฟังสัญญาณการใช้เสี ยงของผูจ้ บั เหล็ก ที่เรี ยกว่า “หน้าเตา” ซึ่ งจะต้องเป็ นคนที่มีความรู ้เกี่ยวกับการทามีด อย่างดีเยีย่ ม จนได้เครื่ องเหล็กคุณภาพดีมีชื่อเสี ยงเป็ นที่รู้จกั ทัว่ ประเทศ หนังสื อมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ๒๕๕๒


งานช่างแทงหยวก เป็ นงานช่างวิจิตรศิลป์ ที่ใช้มีดสองคมแทงลงไปบนกาบกล้วยให้เกิดลวดลายเป็ นแบบลายไทยใน ลักษณะต่างๆ โดยไม่ตอ้ งมีการร่ างเส้นลวดลายลงบนกาบกล้วย เพราะจะทาให้กาบกล้วยช้ า เป็ นรอยไม่ สวยงาม วัสดุที่นามาใช้เป็ นสิ่ งที่ได้จากธรรมชาติ ตัดและเก็บมาสดๆ สามารถหาได้ในท้องถิ่นนั้นๆ นายช่าง ที่ดีจึงจาเป็ นจะต้องฝึ กฝนทักษะด้านต่างๆ ให้เกิดความเชี่ยวชาญและชานาญอยูเ่ สมอ งานช่างแทงหยวก ใช้ได้ท้ งั ในงานพิธีมงคล เช่น ประกอบเบญจาในงานโกนจุก ใช้ตกแต่งธรรมมาสน์เทศน์ในงานเทศมหาชาติ ตกแต่งประดับตั้งองค์กฐิน และในงานอวมงคล ซึ่ งพบการแทงหยวกตกแต่งเชิงตะกอนเผาศพ เป็ นต้น งาน ช่างแทงหยวกมีการสื บทอดกทั้งในรู ปแบบของงานช่างในราชสานัก และรู ปแบบของสกุลช่างชาวบ้าน ตาม ชุมชนหรื อจังหวัดต่างๆ เช่น ช่างแทงหยวกสกุลช่างวัดระฆังโฆษิตาราม ช่างแทงหยวกสกุลช่างวัดอัปสร สวรรค์ ช่างแทงหยวกสกุลช่างวัดดงมูลเหล็ก และช่างแทงหยวกสกุลเพชรบุรี เป็ นต้น

http://ich.culture.go.th/index.php/th/ich/traditional-craftsmanship/241-craft/107-----m-s


ไตรภูมิจักรวาล

https://www.facebook.com/thaithaigraphic/photos/a.106995456028789.14206.106985419363126/ 471116622950002/?type=1&theater

“ไตรภูมิ” เป็ นจักรวาลวิทยา (Cosmology) หรื อโลกสัณฐานตามมติในพุทธศาสนา ซึ่งอธิบายโครงสร้างและ ลักษณะต่างๆ ของจักรวาล ตั้งแต่กาเนิ ด จนสิ้ นสลาย รวมทั้งความเป็ นมาของชีวติ และความเป็ นไปหลังความตาย


อันที่จริ งพระพุทธเจ้ามิได้ทรงบรรยายถึงรู ปลักษณ์ของโลกและจักรวาลไว้โดยตรง ด้วยทรงเน้นที่การดับทุกข์ มากกว่า และปั ญหาเหล่านี้ก็ไม่ได้ทาให้คนพ้นจากความทุกข์แต่อย่างใดเลย นอกจากนี้ ยงั เป็ นสิ่ งที่ไม่สามารถอธิ บาย ได้กระจ่างชัด หรื ออภิปรายได้ไม่จบสิ้ น “ไตรภูมิกถา” หรื อ “ไตรภูมิพระร่ วง” พระราชนิพนธ์ในพระมหาธรรมราชาที่ 1 หรื อพญาลิไท พระมหากษัตริ ยพ์ ระองค์ที่ 5 แห่งอาณาจักรสุ โขทัย ซึ่ งทรงพระราชนิพนธ์ข้ ึนในปี พ.ศ. 1888 หรื อเมื่อ 600 กว่าปี ก่อน ส่ วนอีกเล่มคือ “ไตรภูมิโลกวินิจฉัย” ที่พระยาธรรมปรี ชา (แก้ว) แต่งขึ้นในปี พ.ศ. 2345 หรื อช่วงต้นกรุ ง รัตนโกสิ นทร์ นอกจากนี้ก็ยงั มีหนังสื อที่เขียนเป็ นภาพให้ชาวบ้านเข้าใจง่าย หรื อที่เรี ยกว่า “สมุดภาพไตรภูมิ” http://www.oknation.net/blog/print.php?id=848621

ปรี ชา เถาทอง, “ป่ าหิ มพานต์ กลางคืน” ปี 2547, สี อะคริ ลิคบนผ้ าใบ 270x300 ซม.


เส้นทรงจอมแห คาว่า ทรงจอมแห นี้เป็ นคาที่คุน้ เคยกันดีในวงการสถาปั ตยกรรมไทย เนื่ องจากงานออกแบบในด้านนี้ มักมี การนาทรงจอมแห มากากับหรื อเป็ นกรอบช่วยในการออกแบบ เพื่อให้ผลลัพธ์ของตัวสถาปั ตยกรรมมีความงดงาม ตามแบบแผนงานศิลปะสถาปั ตยกรรมไทย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ทรวดทรงของอาคารทางสู ง ประเภท เจดีย ์ ปรางค์ หรื ออาคารที่มียอดพุง่ สู งขึ้นด้านบน ซึ่ ง รศ.สมใจ นิ่มเล็ก (ราชบัณฑิต) ได้กล่าวว่า ทรงจอมแห น่าจะมาจากการ ตากแหให้แห้งของชาวบ้าน โดยนาก้นแหไปผูกกับปลายไม้ไผ่หรื อคล้องกับกิ่งไม้ที่มีความสู งมากกว่าความยาวของ ปากแห ใช้ไม้ค้ าปากแหให้ถ่างออก จึงเกิดเป็ นลักษณะของเส้นทรงที่เรี ยกว่า “ทรงจอมแห” นี้เอง

แม้วา่ ทรงจอมแหจะเป็ นชื่ อทรงงานสถาปั ตยกรรมไทยในแนวดิ่ง จาพวกเจดีย ์ ปรางค์ หรื ออาคารที่มีส่วนหัว (ชุดหลังคา)ซึ่ งอยูใ่ นลักษณะเครื่ องยอด และเป็ นดัง่ โครงร่ างที่กากับทรงโดยรวมอยูก่ ็ตาม แต่การนาไปใช้ในงาน ออกแบบ จะเห็นได้วา่ มีการขยับทรงที่แตกต่างกันไปดังได้อธิ บายไว้ตอนต้น ผูอ้ อกแบบงานจะต้องคานึงถึงทรง อาคารและองค์ประกอบที่เกี่ยวเนื่องกันไป โดยหลักวิธีอาจจะต้องใช้เป็ นกรอบในการออกแบบ แต่ก็เป็ นเพียงเครื่ อง ประคองเท่านั้น สามารถยักเยื้องแก้ไขให้ขยายกว้างหรื อแคบเข้าไปตามความเหมาะสมของงานแต่ละประเภทได้ ส่ วนสาคัญที่ตอ้ งระวังคือส่ วนองค์ประกอบบริ เวณปลายสุ ดของทรง ที่อาจเกิดการกลืนหายไปดังคาครู ช่างที่วา่ “อากาศกิน” ไม่เช่นนั้น ในเวลาการก่อสร้างแล้วเสร็ จ จะเกิดปรากฏการณ์ยอดด้วนเอาได้ ซึ่ งเรื่ องนี้ในสมัยก่อนจะใช้ วิธีดูกะระยะกันที่หน้างาน และยังคงทางานจริ งด้วยวิธีการนี้เรื่ อยมาจวบจนปั จจุบนั เนื่ องจากเป็ นกระบวนการที่มี ความแม่นยาที่สุด ผูม้ ีประสบการณ์ในการออกแบบจะสามารถกะเกณฑ์ได้ต้ งั แต่ทาแบบบนกระดาษ แต่อย่างไรก็ ตามยังคงจาเป็ นต้องตามไปดูขณะทาการก่อสร้างด้วย เพื่อมิให้เกิดความผิดพลาดคลาดเคลื่อนและอีกทั้งยังเป็ นการ ตรวจสอบความคิดความเข้าใจที่มีต่องานออกแบบในคราวเดียวกัน http://www.nopsiri.com/index.php/2013-03-19-08-44-47/143-004-18


ศิลปะ “จิตรกรรม” ไทย จิตรกรรมไทย คือ ศิลปะแขนงหนึ่งในศิลปะไทย โดยเป็ นแขนงที่เกี่ยวกับการวาด การเขียนในแบบไทย งาน จิตรกรรมของไทยมีรากเหง้ามาตั้งแต่สมัยโบราณ ย้อนกลับไปถึงสมัยหิ นที่ยงั เป็ นลวดลายเขียนสี นู่นเลย โดยในยุค แรกๆ ลวดลายแบ่งเป็ น 2 ชนิด คือ ลายเรขาคณิ ต และลายก้านขด โดยใช้สีดากับสี แดงในการวาด นอกจากนี้ ยังมี แผ่นอิฐเขียนสี ในลวดลายลักษณะเดียวกัน แต่อาศัยสี แดงกับสี ขาวในการเขียน ถัดมาในสมัยศรี วชิ ยั (พ.ศ.13-14) จิตรกรรมย้ายเข้ามาอยูบ่ นผนังถ้ า โดยพบภาพเขียนสี เป็ นภาพพระพุทธรู ป ปางมารวิชยั เขียนแค่อก ด้านซ้ายของพระพุทธรู ปเป็ นนางเงือก บ้างก็มีรูปอุบาสก อุบาสิ กา อยูท่ ี่เบื้องซ้ายและเบื้อง ขวา รู ปชาวบ้านในภาพจิตรกรรมไทยสมัยนั้น มีลกั ษณะเหมือนภาพหนังตะลุง คือเป็ นภาพด้านข้างท่าทางตลกๆ นอกจากนั้น ยังมีรูปวาดเทพธิ ดา มีเครื่ องประดับเศียร เอี้ยวกายในลักษณะอ่อนช้อย ครั้นย่างเข้าสมัยสุ โขทัย (พ.ศ.19-20) จิตรกรรมไทยเริ่ มย้ายเข้ามาอยูต่ ามผนังวัด เป็ นภาพเขียนสี ฝนผสมกาว ุ่ แบบเอกรงค์ โดยใช้สีแดงและสี ดาที่ฝาผนังเจดีย ์ สี ที่ใช้ส่วนใหญ่ได้มาจากธรรมชาติ เช่น ดิน ยางไม้ อย่างสี ดินแดง สี ดินเหลือง และดินดา ลักษณะภาพเป็ นเส้นและสี ระบายพื้นสี แดง ตัดเส้นด้วยสี ดา ผิวเนื้อขาว ลวดลายมีสีเหลือง บ้างเล็กน้อย ส่ วนสมัยอยุธยา (พ.ศ.20-23) นับว่าเป็ นสมัยที่เจริ ญรุ่ งเรื องมากสมัยหนึ่ง ทาให้งานศิลปะมีความ เจริ ญรุ่ งเรื องตามไปด้วย จุดเด่นของจิตรกรรมไทยสมัยอยุธยา คือการเริ่ มต้นของการเป็ นจิตรกรรมบริ สุทธิ์ อย่าง สมบูรณ์ เริ่ มมีสีสันหลากหลาย และเริ่ มมีการใช้ “ทอง” ปิ ดลงบนรู ปและลวดลาย และเริ่ มมีอิทธิ พลของภาพเขียนจีน เข้ามาปะปนอยูบ่ า้ ง โดยส่ วนใหญ่ยงั คงเป็ นภาพจิตรกรรมฝาผนัง ทว่า เป็ นการเขียนภาพฝาผนังที่เต็มรู ปแบบทาง ศิลปะมากยิง่ ขึ้น คือ แม้จะยังเป็ นภาพในเชิง 2 มิติ ตามเอกลักษณ์ไทย รวมทั้ง เอกลักษณ์ของอิทธิ พลภาพเขียนจีน ก็ ยังมีการเขียนภาพให้มีมิติลดหลัน่ ซับซ้อนยิง่ ขึ้น โดยในภาพประกอบด้วยพระพุทธรู ป ภาพคน สัตว์ ลวดลายไทย ดอกไม้ ส่ วนสมุดภาพไตรภูมิพระร่ วงนั้น เขียนภาพเรื่ องราวไตรภูมิและ เรื่ องชาดก ส่ วนใหญ่เป็ นเรื่ องทศชาติครบ ทั้ง 13 กัณฑ์ โดยเป็ นภาพที่ใช้หลากหลายสี ในการระบาย ล่วงมาถึงสมัยรัตนโกสิ นทร์ (พ.ศ.24-25) ภาพจิตรกรรมไทยยังคงคล้ายๆ กับสมัยอยุธยาตอนปลาย ทว่า หลังจากรัชกาลที่ 4 เป็ นต้นมา เมื่อมีการติดต่อกับต่างประเทศ จึงเริ่ มมีอิทธิ พลของต่างชาติเข้ามาปะปนอยูใ่ น จิตรกรรมไทย http://artofmylifeasafrog.blogspot.com/2010/12/blog-post_08.html


ภาพถ่ าย:ภาพมาผจญ จิ ตรกรรมฝาผนังพระอุโบสถ วัดวัง จังหวัดพัทลุง

ภาพถ่ าย:ภาพเทพพนม จิตรกรรมฝาผนัง วัดวิหารเบิก จังหวัดพัทลุง


งานทีไ ่ ด้รบ ั มอบหมายชิน ้ ที่ ๓ สัตว์หม ิ พานต์

เหรา

อาศัยอยูใ่ นทะเล บิดาเป็ นนาค มารดาเป็ นมังกร เหรามี ๔ เท้า หัวมีหงอน เหมือนกับพญานาค ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕.

พญานาค

ในวรรณคดีต่าง ๆ และพุทธประวัติ พญานาคจะมี บทบาทสาคัญในเรื่ องแทบทั้งสิ้ น ในจานวนสัตว์หิม พานต์ท้ งั หลาย พญานาค เราจะพบเห็นบ่อยที่สุดใน สังคม อย่างน้อยตามวัดวาอารามต่าง ๆ ก็จะต้องมี พญานาคจะอยูต่ ามกาแพงวัด บันไดทางขึ้นวัดหรื อส่ วน ใดก็แล้วแต่วา่ ทางวัดจะมีการตกแต่งอย่างไร พญานาค ศิลปะในแต่ละภาค แต่ละท้องถิ่น ตลอดจนความเชื่ อก็มี ความแตกต่างกันออกไป ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕.


คชปักษา

พื้นสี ขาว ขาและหางเป็ นนกคล้ายหงส์ ลาตัวท่อนอกและแขนคล้ายครุ ฑ หัวมีงวงและงาแบบช้าง ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕.

กุญชรวารี

ตัวเป็ นปลา หัวกับเท้าหน้าเป็ นช้าง ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕.


กรินทร์ปักษา

พื้นสี ดา ปี กหางสี แดงชาด ตัวเป็ นช้าง ปี กและหางเป็ นนก ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕.

ช้างเอราวัณ

ช้างเอราวัณเป็ นช้างที่พระอิศวร ทรงประทานให้แก่พระอินทร์ เป็ นเทพบุตรองค์หนึ่งชื่อ เอราวัณ เมื่อพระ อินทร์ ตอ้ งการเสด็จไปไหน เอราวัณเทพบุตรก็จะแปลงกายเป็ นช้างเผือก สู งถึง ๑ ล้าน ๒ แสนวา มีหวั ๓๓ หัว แต่มี งา ๗ งา งาแต่ละอันยาว ๔ ล้านวา งาแต่งามีสระบัวอยู่ ๗ สระ แต่ละสระมีบวั ๗ กอ บัวแต่ละกอมีดอกบัว ๗ ดอก แต่ละดอกมี ๗ กลีบ แต่ละกลีบมีนางฟ้ าร่ ายรา ๗ นาง นางฟ้ าแต่ละนางมีสาวใช้ ๗ คน ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕.


การวิก หรือ การเวก

พื้นสี หงเสนอ่อน เป็ นนกที่บินสู งเหนื อเมฆ กินลมเป็ นอาหารจึงสันนิษฐานว่าเป็ นตัวเดียวกับนก วายุภกั ษ์ซ่ ึ งแหลว่า นกที่กินลมเป็ นอาหาร ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕.

นกหัสดี

พื้นสี ขาว ปี กสี หงดินอ่อน ตัวเป็ นนก หัวคล้ายสิ งห์ แต่มีงวงและงาคล้ายช้าง ชื่อนกหัสดีแปลตามตัวก็ หมายถึง นกช้าง ในวรรณคดีมีชื่อนกคล้ายๆ กันหนึ่งคือ นกหัสดีลิงค์ ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕.


สกุณเหรา

พื้นสี หงดิน หัวและหางเป็ นเหราหรื อนาค ตัวเป็ นนก ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕.

นาคปักษิณ

พื้นสี ชาด ตัวเป็ นนกแบบหงส์ หัวเป็ นนาค มองเผินๆ คล้ายกับสกุณเหรา เป็ นการตั้งชื่ อตามลักษณะคือ นาค ประสมกับนกมีชื่อที่เรี ยกคล้ายๆกัน ชื่อหนึ่ง คือนาคปั กษี มีรูปอยูท่ ี่ประตูโบสถ์วดั นางนองธนบุรี ทาเป็ นรู ป ท่อนตัวและหัวเป็ นมนุษย์สวมชฎายอดเป็ นหัวนาค ท่อนล่างเป็ นนก หางเป็ นหางนาค ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕.


นกเทศ

พื้นสี หงชาด หางมีลกั ษณะแบบไก่ชน ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕.

สินธุปักษี

พื้นสี น้ าเงิน ตัวเป็ นนก หางเป็ นปลา

ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕.


ปลาอานนท์ เป็ นปลาที่ใหญ่โต เป็ นใหญ่ในหมู่ปลา คนโบราณเชื่ อกันว่าใต้ โลกเรามีปลาอานนท์ หนุนอยู่ เมื่อปลาอานนท์ไหวตัวคราใดก็ จะเกิดแผ่นดินไหว ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕.

เทพปักษี

พื้นสี เหลือง ตัวสี ขาว ปี กหางสี หงชาด ตัวเป็ นเทพ ปี กหางเป็ นนก ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕.


เทพนรสิงห์ ท่อนบนเป็ นเทพ ท่อนล่างเป็ นสัตว์ มีเท้าเป็ นกีบ ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕.

คชปักษา

พื้นสี ขาว ขาและหางเป็ นหกคล้ายหงส์ ลาตัวท่อนอกและแขนคล้ายครุ ฑ หัวมีงวงและงาแบบช้าง ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕.


กิเลน

ลักษณะคล้ายสิ งห์ เท้าเป็ นกีบคู่ มีเขา ๑ คู่ ไม่มีกิ่ง ตามลาดับเป็ นเกล็ด พื้นสี น้ าเงิน เกล็ดสี ม่วง ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕.

อสุรวายุภักษ์ ตัวเป็ นนกอินทรี หน้าเป็ นยักษ์ พื้นสี น้ าเงิน มีตวั อยูใ่ นเรื่ อง รามเกียรติ์

ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕.


สิงหะพานร

พื้นสี หงชาด ท่อนบนเป็ นพญาวานร ท่อนล่างเป็ นสิ งห์ แต่นิ้วเท้าเป็ นแบบวานร หางเหมือนหางสิ งห์ ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕. ดุรงค์ปักษิณ

พื้นสี ขาว ปี กหางสี เขียว กีบสี ดา ตัวเป็ นม้า มีปีกหางเป็ นหางนก ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕.


สินธพนัทธี

ตัวเป็ นม้า หางเป็ นปลา พื้นสี ขาว ครี บหางสี แดงชาด แปลตามตัวก็น่าจะหมายถึง ม้าน้ า (สิ นธพ-ม้า,นที - น้ า) ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕.

อัสดรเหรา

ตัวเป็ นม้า หัวเป็ นแบบมังกร มีเขาและเครา พื้นสี ม่วงอ่อน ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕.


อัสดรวิหค

ตัวเป็ นม้า หัวและคอเป็ นนก พื้นหน้า ตัวสี เหลือง สร้อยคอและปี ก สี หงชาด หางและกีบเท้าสี ดา ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕.

เหมราอัสดร

ตัวเป็ นม้า หัวเป็ นเหม พื้นสี ดาหางสี ขาว กายสี ดาพาดขาว ธานี สังข์ เอีย้ ว. สัตว์ หิมพานต์ . – กรุ งเทพฯ : วาดศิลป์ , ๒๕๕๕.


สิงหคักคา สิ งหคักคา หรื อสี หะคักคามีกายเป็ นเกล็ดสี ม่วงเข้ม แม้ จะมีส่วนหัวและตัวเป็ นสิ งห์ กลับมีเท้าเหมือนช้าง

http://www.himmapan.com http://th.wikipedia.org/wiki/


งานทีไ ่ ด้รบ ั มอบหมายชิน ้ ที่ ๔ การสัมภาษณ์องค์ความรูข ้ องบุคคลในพื้นที่จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา

ร้ านแม่ ทองพิมพ์ หนังปลาทอด

ผูใ้ ห้สัมภาษณ์ พี่แป้ ง ปลาที่ใช้ในการทา มีหลายชนิด ได้แก่ ปลากราย ปลานิล ปลากะพง วิธีการทา ๑.นาหนังปลาสดล้างทาความสะอาด ๒.ปรุ งรส โดยเครื่ องปรุ งรสจะสั่งทาเหมือนน้ าจิม้ แต่จะทาเป็ นแบบอบแห้ง ๓.ชุบแป้ งทอดให้แก้ง ๒ รอบ โดยพักทิ้งไว้ ๒ คืน แล้วจึงทอดรอบที่ ๒


ร้ านโรตีสายไหม

ผูใ้ ห้สัมภาษณ์ พี่เมย์ วัตถุดิบที่ใช้ทา ได้แก่ น้ าใบเตย แป้ งสาลี เกลือ น้ าตาลทราย วิธีการทา ๑. แป้ งโรตี นาน้ าใบเตยต้มใส่ แป้ งสาลีและเกลือที่ละลายละเอียดแล้ว ๒.สายไหม นาน้ ามันกับแป้ งกวนรวมกันจนเป็ นก้อน เทในกะละมัง นาน้ าตาลที่เป็ นก้อนมาคลึง รวมกับแป้ งสาลีที่ผสมกับน้ ามันบัว ให้เข้ากัน นาน้ าตาลที่ผสมกันแล้ว มาคลึงบนถาดอลูมิเนียม โดยใช้ไม้คลึงทั้ง สองด้านให้ได้เป็ นเส้นสายไหม ***แป้ งโรตีสามารถอยูไ่ ด้อย่างมาก ๔ วัน


ร้ านสมนึก ข้ าวเกรียบสู ตรโบราณ

ผูใ้ ห้สัมภาษณ์ คุณมาลี เกรี ยบกุง้ ข้าวเกรี ยบฟักทอง มีวธิ ี ทาเหมือนกันแต่จะต่างกันตรงเครื่ องปรุ งรส คือ ข้าวเกรี ยบกุง้ จะปรุ งรส ด้วย กุง้ เกลือ กระเทียม พริ กไทย น้ าตาล และข้าวเกรี ยบฟักทอง ปรุ งรสด้วย ฟักทอง เกลือ กระเทียม พริ กไทย น้ าตาล โดยแป้ งที่ใช้ทาคือแป้ งมันสาปะหลัง วิธีการทาข้าวเกรี ยบรสต่างๆ ๑. กวนเครื่ องปรุ งต่างๆให้เดือด ๒. นาไปปั้ นเป็ นก้อน แต่ปัจจุบนั มีเครื่ องมือช่วยทา ๓. นาไปนึ่ง ๔. แช่น้ าแข็ง ๕. หัน่ เป็ นแผ่น ๖. ตากแดดให้แห้ง ๗. ทอด


ร้ านข้ าวตังหมูหยอง

ผูใ้ ห้สัมภาษณ์ ป้ าหน่อย วัตถุดิบหลัก ข้าวหอมมะลิ ให้ความหอมนุ่ม อร่ อยกว่าข้าวชนิดอื่น วิธีการทา ๑. นาข้าวหอมมะลิมาหุงให้สุกบาน แล้วกวน ๒. ปูแผ่นพลาสติกรอง ตักข้าวลงบนแผ่นพลาสติกที่ปูไว้ แล้วกดให้เป็ นแผ่น ๓.กดพิมพ์ ลงไปเพื่อให้ได้เป็ นแผ่นวงกลม ๔.นาไปตากแดดให้เหลือง ๕.ทอด ๖.ทาน้ าพริ กเผาที่ทาตั้งไว้ และโรยหน้าด้วยหมูหยอง ๗.ใส่ ถาดแล้วนาเข้าเตาอบเพื่อให้ได้ความกรอบ สิ่ งที่เน้นและสาคัญที่สุดในการทาข้าวตังนั้นคือ แสงแดด เพราะอะไรก็สู้ธรรมชาติไม่ได้ ขนมไทยส่ วนมาก จะต้องใช้ธรรมชาติมามีส่วนร่ วมอยูใ่ นขั้นตอนการผลิต ซึ่ งมันจะให้ความนุ่มความอร่ อย รสชาติที่ได้จากการที่ตากแสงแดดก่อนกับเข้าเตาอบทันทีน้ นั จะต่างกัน มาก แสงแดดนั้นจะสามารถยืดแป้ งให้ออกเป็ นแผ่นบาง ยืดความบางของข้าว ความนุ่มจะไม่เหมือนกัน ถ้าเอาเข้าเตา อบแป้ งมันจะหนา *** ทานไม่หมดรัดยางให้แน่นแล้วเก็บไว้ในตูเ้ ย็นสามารถรักษาความกรอบได้


ภาคผนวก

หางหงส์ ภาพถ่ าย: ที่พิพิธภัณฑ์ วดั พระศรี รัตนศาสดาราม

ช่อฟ้ า ภาพถ่ าย: ที่พิพิธภัณฑ์ วดั พระศรี รัตนศาสดาราม


ที่มาภาพ : วารสารหน้ าจั่ว ฉบับประวัติศาสตร์ สถาปั ตยกรรม และสถาปั ตยกรรมไทย ฉบับที่ 2 โดยคณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ ม.ศิลปากร


มุขกระสัน ในหมูพ่ ระวิมำน พระบรมมหำรำชวัง http://www.nopsiri.com/index.php/2013-03-19-08-44-47/140-004-017


เครื่ องรำชกกุธภัณฑ์ http://www2.crma.ac.th/arm/CrownJewels.asp


ลอมพอก ภาพถ่ าย:ที่ นิทรรศน์ รัตนโกสิ นทร์




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.