{
M OTvsHE R GRAND M OT HE R
ก า ร เ ลี้ ย ง เ ด็ ก แ บ บ เ ก่ า ข อ ง คุ ณ ย า ย จ ะ เ ก๋ า พ อ ที่ จ ะ ช น ะ ก า ร เ ลี้ ย ง ดู แ บ บ ใ ห ม่ ข อ ง คุ ณ แ ม่ ไ ด้ ห รื อ ไ ม่ แ ม่ ห รื อ ย า ย ใ ค ร จ ะ ช น ะ ใ น ศึ ก ค รั้ ง นี้
}
Pu b l i s he d i n T h ail a n d in 2 0 1 3 by At i sta n H e m a 200/ 10 S a m ma korn Vil l age , S o i F 2 Sa p ha ns ung Di strict, Ra m k h a m h ae n g 1 1 2 Ba ng ko k , T H AI L A ND 1 0 2 4 0 Co p yr i g ht © 201 3 by A tista n H e m a Al l r i g ht s re s e r ve d . No part of th is p u bl ica ti o n ma y b e re p ro d u ce d, store d in a re trieval syste m , or t ra ns mi t te d in a n y form o r b y an y m e ans, ele c t ro ni c , me ch a n ical , p h o toco py in g , re co rdi ng, or o t he r wi s e , w ith ou t p rior w ritte n pe rm issi o n f ro m t he p ub l i s h e r. De s i g n © 2013 b y A tistan H e m a Illust ra t i o ns © 2 0 1 3 by A tista n H e m a
{
i l l u st ra ted by des i gn by
A t i sta n Hema A t i sta n Hema
M OTvsHE R G RAND M OT HE R
}
INTRO D Uค า นCา T I O N
หลายครอบครัวสมัยนี้เมื่อมีลูกน้อยแล้ว ในการเลี้ยงดูนั้นก็มักจะมีครอบครัวที่มี คุณย่าคุณยายช่วยเลี้ยงดูหลานด้วย ปัญหาที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งคือการเลี้ยงดูระหว่าง คุณแม่และคุณย่าคุณมักมีความเห็นไม่ตรงกัน คุณ ยายอยากเลี้ยงดูหลานในแบบ ของคุณยายที่เลี้ยงตัวคุณแม่มา คุณแม่อยากเลี้ยงลูกน้อยของตัวเองในแบบที่ ทันสมัยมากขึ้น ทำ�ให้ความเห็นไม่ตรงกัน หนังสือเล่มนี้ยังชี้ให้เห็นความเห็นต่างระหว่างคุณแม่และคุณยายว่ามีการเลี้ยงลูก เลี้ยงหลานว่าแตกต่างกันอย่างไรบ้าง ในเรื่องไหนบ้าง และพร้อมทั้งบอกหนทาง ในการหลีกเลี่ยงไม่ให้คุณแม่และคุณยายทะเลาะกัน และเลี้ยงลูกหลานอย่างสงบ
อธิษฐาน เหมะ
CON TENTS ส า ร บั ญ
c h ap te r 1
BE L IE F ค ว า ม เ ชื่ อ กั บ ก า ร เ ลี้ ย ง เ ด็ ก
๐๘ -19
c h ap te r 2
ACT IO N การตอบสนอง พ ฤ ติ ก ร ร ม ที่ มี ต่ อ เ ด็ ก
๒๐ - 31
c h ap te r 3
RAIS ING ก า ร เ ลี้ ย ง ดู เ ด็ ก ปั ญ ห า แ ล ะ วิ ธี แ ก้ ไ ข
๓๒ - 39
c h ap te r 4
TO G E T HE R ก า ร เ ลี้ ย ง ลู ก เ ลี้ ย ง ห ล า น อ ย่ า ง ส ม า น ฉั น ท์
๔๐ - 45
ch ap te r 1
RA IS ING ก า ร เ ลี้ ย ง ดู เ ด็ ก ปั ญ ห า แ ล ะ วิ ธี แ ก้ ไ ข
หากครอบครัวใหนมีคุณย่าคุณยาย มีส่วนร่วมในการเลี้ยงเด็กด้วย มีโอกาสสูงมากที่ความเชื่อในสมัยโบราณ จะมีอิทธิพลต่อการเลี้ยงเด็ก
GRAND MOTHER SIDE
โกนผมไฟ
การโกนผมไฟหรือการทำ�ขวัญเดือน จะทำ�ขึ้นเมื่อ หลานอายุครบ 1 เดือน กับ 1 วัน ซึ่งจัดให้มีการ ทำ�ขวัญ โกนผม ตั้งชื่อ เพื่อเป็นสิริมงคลแก่หลาน และทำ�เมื่อโกนเสร็จก็ทาด้วยน้ำ�ดอกอัญชัญ ผมที่ งอกขึ ้ น มาใหม่ จ ะได้ ด กดำ � ซึ ่ งหากโกนผมไฟช้ า เชื่อกันว่าจะทำ�ให้หลานดื้อและเลี้ยงยาก
๑๐
MOTHER SIDE
ไม่ต้องโกนก็ได้
ไม่จำ�เป็นต้องโกนเสมอไป สมัยก่อนนั้นเรา เชื่อว่าผมของลูกที่ ติดมาตั้ ง แต่ อยู่ ใ นท้ องแม่ ไม่สะอาดนักจึงโกนทิ้ง ซึ่งในสมัยก่อนไม่มี แชมพู ส ระทำ � ความสะอาดผม หรื อ น้ ำ � อุ ่ น อาบน้ำ�ลูก หากดูแลความสะอาดของเส้นผมได้ ลู ก ไม่ ร้ อ นไม่ รำ � คาญสระด้ ว ยน้ำ � อุ่ น แล้ ว เช็ดด้วยเบบี้ออยก็เพียงพอแล้ว
11
GRAND MOTHER SIDE
ใส่กำ�ไลข้อเท้า
ให้ ห ลานใส่ กำ � ไลข้ อ เท้ า หรื อ กระพรวนนั้ น จะเกิ ด โชคลาภวาสนากั บ หลานและครอบครั ว จะทำ � เป็ น วงกลมเกลี้ยงๆ รูดให้กระชับปรับขนาดเล็กใหญ่ได้โดย ปลายสองข้ า งทำ � เป็ น ห่ ว งกลมสอดไขว้ ก ั น อาจมี ลูกกระพรวนติดเพื่อให้มีเสียงดังตอนขยับตัวบอกให้ คุ ณ ยายรู้ ว่ า หลานหลั บ อยู่ ห รื อ ตื่ น ขึ้ น หรื อ การบอก ตำ�แหน่งของหลานเมื่อหลานเคลื่อนที่ก็จะเกิดเสียงให้ คุณยายรู้ว่าหลานอยู่ตรงไหน
๑๒
MOTHER SIDE
ไม่ต้องใส่ก็ได้
หลีกเลี่ยงกำ�ไลข้อเท้าที่มีส่วนคม เพราะอาจจะทำ�ให้ ลูกบาดเจ็บได้เพราะขาขยับไปมา หากนำ�กระดิ่งมาผูก ไว้กับแปลก็สามารถทำ�ให้รู้ได้เหมือนกันว่าลูกตื่นหรือ ยังหลับอยู่ และควรหลีกเลี่ยงการใช้วัสดุมีค่าเช่น ทองคำ� เพราะอาจล่อตาล่อใจของผู้ไม่หวังดีทั้งหลายและต้อง คอยเปลี่ยนขนาดตามข้อเท้าลูกเพื่อไม่ให้เกิดการรัดข้อ เท้าจนเกิดการบาดเจ็บ
GRAND MOTHER SIDE
นอนควำ่�
ทำ�ให้หลานมีศรีษะสวย อย่างที่เรียกว่าหัวทุย การนอนคว่ำ � ทำ � ให้ อ าหารเคลื่ อ นลงจาก กระเพาะอาหารสู่ลำ�ไส้เล็กเร็วขึ้น ทำ�ให้อากาศ ในท้องถูกทับแล้วหลานจะเรอเอาลมออกได้ ง่ายขึ้น หลานจะหลับได้นานเพราะหน้าอก อบอุ่นซุกอยู่กับที่นอน หากหมอนนุ่มเกินไป จะทำ � ให้ ใ บหน้ า จมู ก ของหลานจมลงไปใน หมอนจนขาดอากาศหายใจได้
๑๔
MOTHER SIDE
นอนหงาย
การนอนหงายลดความเสี่ยงในการขาดอากาศ หายใจของลูก และในเด็กที่มีปัญหาขาบิด ขาเก ที่มีต้นเหตุมาจากการที่หัวกระดูกต้นขาหมุน ไม่ถูกต้อง ถ้าคุณแม่จับลูกนอนหงาย ลูกจะ สามารถยกแข้งยกขา ขยับเขยื้อนออกกำ�ลังขา ได้อย่างอิสระ
15
GRAND MOTHER SIDE
แพทย์แผนไทย
เมื่อหลานเป็นไข้ ไม่สบาย เบื่ออาหาร อาการไอ เจ็บคอ ลิ้นเป็นฝ้า เป็นไข้ เบื่ออาหาร ร้อนใน กวาดยาคือการเอายาป้ายในลำ�คอโดยใช้นิ้ว มือเป็นการรักษาแบบแผนโบราณ การกวาดคอ จะใช้ ส มุ น ไพรไทยรั ก ษาการกวาดยาจะ เป็นการช่วยเคลียร์ทางเดินหายใจให้กับเขา เพราะตัวยาบางอย่างทีเ่ ป็นส่วนผสมของยากวาด จะมีฤทธิ์ในการกัดเสมหะ หรือกวาดยาเพื่อ ป้องกันโรค
๑๖
MOTHER SIDE
แพทย์แผนปัจจุบัน
เมื่อลูกเป็นไข้ ควรเช็ ดตั วลดไข้ ด้ วยน้ ำ � อุ ่ น โดยเช็ ด ค่ อ นข้ า งแรงให้ ห ลอดเลื อ ดขยายตั ว และระบาย ความร้อน และควรเน้นการเช็ดบริเวณข้อพับ ซอกคอ รั ก แร้ ในขณะเช็ ด ตั ว ควรถอดเสื ้ อ ผ้ า ลู ก ให้ ห มด ปิ ด แอร์ ห รื อ พั ด ลมหลั ง เช็ ด ตั ว ควรใส่ เ สื ้ อ บางๆ เพื่อให้ความร้อนระบาย ไม่แนะนำ�ให้ใส่เสื้อหนาๆ เพื่อให้เหงื่อออก เนื่องจากอุณหภูมิอาจขึ้นสูงจนเกิด อ า ก า ร ชั ก ไ ด้ ใ น ก ร ณี ที่ ยั ง มี ไข้ สู ง ห ลั ง เช็ ด ตั ว ให้ไปพบแพทย์ทันที
GRAND MOTHER SIDE
ยาสมุนไพร
สมุนไพรในครัวที่ใช้ในการรักษาโรคพื้นฐานในทางเดิน หายใจและทางเดินอาหาร มะนาว : น้ำ�ในผล กัดเสมหะในลำ�คอ แก้น้ำ�ลาย เหนียว เป็นกระสายยากวาดคอเด็ก มะกรูด : ราก แก้ไข้กลับซ้ำ� แก้ร้อนในกระหายน้ำ� ขิง : เหง้าแห้ง บรรเทาอาการไอแบบมีเสมหะ ตะไคร้ : ลำ�ต้น ขับเหงื่อในคนเป็นไข้ หอมแดง : หัว แก้หอบหืด หวัด หายใจไม่ออก มะม่วง : ผลสุก ยาระบาย กะเพรา : ใบ แก้ปวดท้อง ท้องขึ้น จุกเสียดในท้อง ทับทิม : ดอก สมานลำ�ไส้ แก้ทอ้ งเสีย เปลือกและผล แก้บิด ท้องร่วง ชา : ใบ แก้ท้องร่วง ท้องเดิน มะขาม : เนื้อผล ยาระบาย ยาถ่าย
MOTHER SIDE
ยาแผนปัจจุบัน ยาสามั ญ ที่ ค วรมี ติ ด บ้ า นไว้ ต ลอดเวลา เ ผื่ อ เว ล า ลู ก น้ อ ย มี อ า ก า ร ไ ม่ ส บ า ย ไว้ สำ � หรั บ ปฐมพยาบาลเบื้ อ งต้ น ก่ อ น ถึงมือคุณหมอ
ยาลดไข้แก้ตัวร้อน ยาแก้ไข้หวัดไอ ยาแก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ยาแก้หวัดคัดจมูก ยาแก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ยาบรรเทาอาการปวด
19
c h ap te r 2
ACT IO N การตอบสนอง พ ฤ ติ ก ร ร ม ที่ มี ต่ อ เ ด็ ก
หากเด็กน้อยมีพฤติกรรมที่ไม่ดี การตอบ สนองพฤติกรรมเหล่านั้น ที่ผู้ปกครองจะ ทำ�จะเป็นอย่างไร ระหว่างคุณย่าคุณยายและคุณแม่
GRAND MOTHER SIDE
ตี
ไม้ เรี ย วทำ � ให้ รู้ สึ ก เจ็ บ ผิ ว หนั ง เท่ า นั้ น ไม่ ทำ � ให้ อ วั ย วะ ภายในบาดเจ็บ ถ้าตีด้วยมือหรือขึ้นศอกขึ้นเข่าอาจเกิด แรงกระแทกเป็นอันตรายต่ออวัยวะสำ�คัญได้ มือของ คุณยายคือสื่อรักที่ใช้โอบกอด หากใช้มือตีหลานจะรู้สึก สับสนว่ามือที่เคยให้ความรักความอบอุ่นทำ�ไมกลาย เป็นมือที่ทำ�ร้ายเขาไปได้ หากใช้มือตีมักจะตีหลานทันที โดยไม่ยั้งคิด เพราะตีได้ทันทีต่างจากการใช้ไม้เรียว ที่ต้องเดินไปหยิบซึ่งระหว่างนั้นอาจได้คิดสำ�รวจอารมณ์ ตั ว เองไปด้ ว ย การตี ใ ห้ ปลอดภั ย ควรตี ที ่ ก ้ นเพราะมี กล้ามเนื้อที่หนาป้องกันการบาดเจ็บต่ออวัยวะภายใน การตีที่อื่น เช่นที่น่อง แขน ขา อาจเกิดรอยทำ�ใหหลาน อับอายได้ การตีก็ต้องตีให้แรงเพียงครั้งเดียว เพื่อให้ หลานเจ็บและจำ�
๒๒
MOTHER SIDE
ทบทวน
เมือ่ ลูกทำ�ผิดให้พาไปในทีเ่ งียบๆ ไม่มสี งิ่ ดึงดูดความสนใจ เพื่อให้เขาได้ทบทวนการกระทำ�ของตัวเอง โดยระยะ เวลาอาจขึ้นอยู่กับอายุของลูก เช่น 1 นาทีต่อ 1 ขวบ อาจจะเป็นการไปนั่งอยู่ในห้องคนเดียว ห้ามเล่นอะไร หรือว่าไปนัง่ อยูม่ มุ ห้องอยูค่ นเดียวห้ามทำ�อะไรให้นง่ั เฉยๆ เป็นการนั่งให้คิด และให้รู้สึกผิดว่าที่นั่งมานั่งตรงนี้ เพราะทำ�ผิด การให้เขาไปนั่งนี้มีการจับเวลาว่าจะต้อง นั่งนานแค่ไหน ห้านาที สิบนาที ก็แล้วแต่ความผิดที่ได้ทำ�
GRAND MOTHER SIDE
ปลอบโยน
ตีแล้วก็ให้จบแค่นั้นบอกหลานไปทำ�อย่างอื่นต่อ ในเด็ก เล็กถ้าเขากำ�ลังเล่นอยู่ก็ให้ไปเล่นต่อ หากร้องไห้ให้เดิน เข้าไปแล้วโอบกอดปลอบใจหลานแล้วบอกเหตุผลทีห่ ลาน ทำ�ผิดอธิบายสัน้ ให้เข้าใจและกระชับทีส่ ดุ ไม่ควรจับหลาน มานั่งสั่งสอนใดๆทั้งสิ้น เพราะหลานไม่พร้อมจะรับฟัง คุณยายแน่นอน
MOTHER SIDE
ยอมรับ
ถ้าลูกร้องไห้ไม่หยุด เราก็จะยังไม่เริ่มจับเวลาคุณแม่จะเริ่มนับ เวลาเมื่อลูกเงียบ นิ่ง หรือถ้าไม่เงียบสักทีก็จับเวลาเพิ่มขึ้นไปได้ โดยบอกกับลูกว่า ถ้าลูกไม่เงียบหรือไม่นั่งเฉยๆ จากนั่งห้านาที ตอนนี้เป็นเจ็ดนาทีแล้ว ลูกก็จะอยู่ในนั้นไปเรื่อยๆ จนกว่าลูกจะ สงบสติอารมณ์ลงได้ ซึ่งวิธีนี้จะทำ�ให้ลูกรู้จักควบคุมตัวเองได้ดี และยอมรับฟังความคิดเห็นผู้อื่นอีกด้วย
25
รางวัล
ให้เป็นสิ่งของ สิ่งนั้นก็ ไ ม่ ควรเป็ น ของที ่ แพงเกิ น ไป เพราะนั่นจะยิ่งทำ�ให้หลานคิดว่า รางวัลมีความสำ�คัญ มากกว่าการประพฤติตัวดี และความรู้สึกเช่นนี้อาจจะ ส่งผลเสียต่อหลานในอนาคตข้างหน้าได้ ที่สำ�คัญไม่ควร ให้ ร างวั ล พร่ำ � เพรื่ อ ควรให้ ต ามความเหมาะสม เพื่อรางวัลนั้นจะเป็นรางวัลที่มีคุณค่า และศักดิ์สิทธิ์ เพราะบางที ก ารทหลานทำ � ตั ว ดี น ่ า รั ก เขาก็ ไ ม่ ไ ด้ ต้องการรางวัลตอบแทนเสมอไป ควรเน้นให้รางวัลที่ ความพยายามของหลาน ไม่ ว ่ า การทำ � งานนั ้ น จะ ประสบความสำ�เร็จหรือไม่ก็ตาม ซึ่งจะทำ�ให้หลานมี กำ�ลังใจและพยายามมากขึ้นในครั้งต่อไป
๒๖
GRAND MOTHER SIDE
MOTHER SIDE
คำ�ชม
หากชมเชยลู ก ด้ ว ยความจริ ง ใจและมี เ หตุ ผ ลสมควร จะเป็นการให้กำ�ลังใจที่ดี ทำ�ให้ลูกรู้สึกว่าตัวเองมีคุณค่า และมีความรับผิดชอบเพิ่มขึ้นเมื่อลูกทำ�ความดี หรือทำ� สิ ่ ง ใดได้ ส ำ � เร็ จ พ่ อ แม่ ค วรให้ ร างวั ล ด้ ว ยคำ � ชมเชย เพื่อแสดงการรับรู้และเห็นดีเห็นงามกับลูก ลูกจำ�เป็น ต้องรู้สึกว่าตัวเองมีความสำ�คัญ และการกระทำ�ของเขา มีความหมายต่อคนอื่นๆ โดยเฉพาะต่อพ่อแม่ที่รักเขา คำ�ยกย่องชมเชยที่ให้กับลูก จะช่วยให้เด็กเห็นตัวเอง เป็ น คนมี คุ ณ ค่ า และมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบสู ง ขึ้ น เรื่ อ ยๆ หากไม่มกี ารให้รางวัลในลักษณะการออกปากชมเชยบ้าง ลูกอาจหมดกำ�ลังใจ ไม่มีแรงจูงใจที่จะทำ�ความดีต่อไป ไม่อยากอาใจคนอื่น และอาจเริ่มเรียนหนังสือไม่ดีก็ได้
27
ก้าวร้าว
เมื่อหลาน ร้องไห้ งอแง เริ่มอาละวาด เมื่อไม่ได้ก็ลงไป นอนดิ้นไปมาบนพื้น แสดงถึงอารมณ์โกรธและต้องการ สิ่งของสิ่งนั้น คุณยายหลานท่านอาจจะใจอ่อนซื้อของ ให้หลานเพราะอยากให้เรื่องจบๆไป หรือเพราะอาย สายตาของคนรอบข้าง หรือกลัวหลานเป็นอันตรายบ้าง หากใจอ่อนซื้อให้ต่อไปหากเด็กต้องการอะใรจะแสดง พฤติกรรมเช่นนี้อีก เด็กก็ใช้วิธีการนี้ซ้ำ�ๆ เป็นท่าไม้ตาย ของเขาจนเด็กติดนิสัยไปจนโต
๒๘
GRAND MOTHER SIDE
MOTHER SIDE
เรียกร้อง
เมื่อลูกเกิดแผดเสียง โยนข้าวของขึ้นมา นั่นเป็นเพราะ ว่าเด็กกำ�ลังเรียกร้องความสนใจ และหากว่าคุณพ่อ คุณแม่ให้ความสนใจ ก็จะทำ�ให้เขาเข้าใจไปว่า สิ่งที่ กำ�ลังทำ�เป็นเรื่องที่ยอมรับได้ครั้งต่อไปเด็กก็จะนำ�วิธีนี้ มาใช้อีก หากเด็กแสดงพฤษติกรรมเรียกร้องสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ควรทำ � ให้ ลู ก เข้ า ใจว่ า เขาจะไม่ ไ ด้ รั บ สิ่ ง ที่ ต้ อ งการ หากไม่หยุดพฤติกรรมดังกล่าว ด้วยการพูดกับลูกด้วย น้ำ�เสียงปกติ ว่า “ถ้าลูกไม่หยุดร้อง ลูกก็จะไม่ได้ในสิ่งที่ ต้องการ” เด็กจะค่อยๆ เรียนรู้วิธีการระงับอารมณ์ด้วย
29
หลอก
“ถ้าไม่เชื่อเดี๋ยวให้ตำ�รวจมาจับนะ” “อย่านอนกินเดี๋ยวเป็นงูนะ” “รีบนอนได้แล้ว เดี๋ยวผีมาหลอกนะ” ความกลัวเป็นธรรมชาติของเด็ก เพราะเด็กยังไม่สามารถ เข้าใจในเรื่องต่างๆ ได้ดีเกือบทั้งหมด เนื่องจากการรับรู้ หรื อ เรี ย นรู้ ค รั้ ง แรกของเด็ ก เป็ น ธรรมดาที่ ทำ � ให้ เ กิ ด ค ว า ม ไ ม่ ก ล้ า ห รื อ เ กิ ด ค ว า ม ก ลั ว ไ ด้ น อ ก จ า ก นี้ ยังรวมไปถึงระดับพัฒนาการ และความสามารถในการ ช่วยเหลือตัวเองของเด็กที่ในบางครั้งยังช่วยเหลือตัวเอง ได้ไม่ดี เด็กจึงรู้สึกไม่แน่ใจ และไม่ปลอดภัยก่อให้เกิด เป็นความกลัว
๓๐
GRAND MOTHER SIDE
MOTHER SIDE
ความจริง
ผู้ใหญ่สมัยก่อนอาจมองว่า การหลอกเป็นกุศโลบายใน การสอนเด็ก เพราะไม่รู้จะบอกเด็กให้เชื่อฟังได้อย่างไร สมัยนีพ้ อ่ แม่เข้าใจและจะใช้เหตุผลในการสอนลูกมากขึน้ เช่น ถ้าลูกไม่นอน ก็จะชี้แจงให้ลูกเข้าใจว่า หนูควรรีบ นอนได้ แ ล้ ว เพราะพรุ ่ งนี ้ หนู จ ะต้ อ งตื ่ นแต่ เช้ า เพื ่ อ ไปโรงเรียนให้ทันเวลา ถ้าหนูนอนดึกไปกว่านี้หนูจะนอน ไม่พอ พอถึงเวลาตื่นก็จะไม่อยากตื่น อารมณ์ไม่แจ่มใส ที่สำ�คัญจะทำ�ให้หนูไปโรงเรียนไม่ทัน
31
ch ap te r 3
RA IS ING ก า ร เ ลี้ ย ง ดู เ ด็ ก ปั ญ ห า แ ล ะ วิ ธี แ ก้ ไ ข
วิธีการเลี้ยงดูเด็กอย่างถูกต้องเหมาะสม และวิธีการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม ว่าเป็นอย่างไรรวมทั้งปัญหา และวิธีแก้ไขในเรื่องนิสัยของเด็ก
RAISING
การเลี้ยงดูเด็ก ปัญหาและวิธีแก้ไข
๓๔
การเลี้ยงเด็ก ที่เหมาะสม การควบคุม สิ่งแวดล้อม
พ่อแม่ผู้ปกครองจะต้องจัดสิ่งแวดล้อมที่ทำ�ให้ เกิดพฤติกรรมที่พึงประสงค์ เช่น การจัดให้ เล่นเกมเพื่อเด็กจะได้รู้จักกฎเกณฑ์ และการรู้ แพ้รู้ชนะ การจัดหาหนังสือที่มีประโยชน์อ่าน ให้เด็กฟัง เพื่อให้เกิดนิสัยรักการอ่าน
การให้รางวัล ทางด้านบวก
เป็นวิธีที่ใช้ได้ผลอย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อเด็ก ได้กระทำ�พฤติกรรมที่พึงปรารถนาจะมีการให้ รางวัลหรือสิ่งตอบแทน เช่น ความรัก ความ สนใจคำ � ชมเชยซึ่ ง จะทำ � ให้ ก ารกระทำ � นั้ น ๆ เกิดขึ้นอีก
การควบคุม พฤติกรรม
ผู้ปกครองควรควบคุมพฤติกรรมเหล่านี้ด้วย วิธีการต่างๆ ที่เหมาะสมกับปัญหาเช่นการ แยกเด็กออกจากกลุ่มในช่วงเวลาสั้น การห้าม ไม่ให้เด็กทำ�สิ่งหนึ่งที่สำ�คัญสำ�หรับตัวเด็กใน ช่วงเวลาหนึ่งการตีจะใช้ก็ต่อเมื่อใช้วิธีการอื่น ไม่ได้ผลแล้ว ไม่ควรทำ�กับเด็กช่วงอายุ 2 ขวบ และไม่ควรทำ�รุนแรง
การเป็น แบบอย่าง
พ่ อ แม่ ผู้ ป กครองจะต้ อ งเป็ น ผู้ มี ศี ล ธรรม ประพฤติปฏิบัติแต่ในสิ่งที่ดีและถูกต้องและ เป็นแบบอย่างในทางที่ดีให้กับเด็กๆ
การสร้าง ความผูกพัน
พื้นฐานสำ�คัญในการอบรมเลี้ยงดู ผู้ปกครอง จะต้องเริ่มสร้างความผูกพันรักใคร่ให้เกิดขึ้น ตั้งแต่เด็กยังอยู่ในวัยแรกเกิด ผู้ปกครองได้ สัมผัสลูกอย่างอ่อนโยน อุ้มอย่างทะนุถนอม เลี้ยงดูเอาใจใส่ในการทำ�กิจกรรมต่างๆ ดูแล ความสุ ข สบายพู ด คุ ย กด้ ว ยเสี ย งที่ นุ่ ม นวล สิ่งนี้จะเป็นพื้นฐานที่จะช่วยให้การอบรมในวัย เด็กได้ผลดี
การตอบ สนองกลับ
เป็นการเปิดโอกาสให้เด็กได้พดู เพือ่ แสดงความ รู้ สึ ก ของตนออกมาทั้ง ทางบวกและทางลบ เมื่อ เด็ ก มี ปั ญ หาผู้ ป กครองควรตั ด สิ น ใจฟั ง เด็กว่ากำ�ลังพูดอะไร เมื่อเด็กพูดจบ จะต้อง สะท้อนความรู้สึกที่เด็กได้แสดงออกกลับไป ด้วยคำ�พูดผู้ปกครองเอง ซึ่งจะทำ�ให้เด็กรู้สึก ว่าตนเองเป็นที่ยอมรับและมีคุณค่า จะส่งผล ให้ผู้ปกครองและเด็กเข้าใจได้ตรงกัน
35
การเลี้ยงเด็ก ทีไม่่เหมาะสม การขู่
การสัญญา
การพูดเหน็บ
การหยอกล้อ
พ่อแม่ผู้ปกครองมักใช้คำ�ขู่เด็กเมื่อมีความ สั ม พั น ธภาพระหว่ า งพ่ อ แม่ ผู้ ป กครอง โกรธ เด็กไม่ยอมทำ�ตาม ไม่เชื่อฟัง ดังนั้น และเด็กควรอยู่บนพื้นฐานของความเชื่อ ในการสอนอบรมเด็กไม่ควรนำ�คำ�ขู่มาใช้ ถือ เชื่อใจซึ่งกันและกันไม่ใช่การสัญญา ที่พ่อแม่ผู้ปกครองประสงค์ทำ�เพื่อประชด หรื อ ให้ เ ด็ ก ได้ เ จ็ บ โดยหวั ง ว่ า เด็ ก จะมี พฤติกรรมที่ดีขึ้น แต่ในข้อเท็จจริงแล้ว กลั บ กลายเป็ น การทำ � ลายสั ม พั น ธ์ ภ าพ ระหว่างพ่อแม่ผู้ปกครองกับเด็ก
การดุด่า
การดุด่าไม่ควรนำ�มาใช้จะทำ�ให้เด็กเกิด ความรู้สึกเกลียดพ่อแม่และผู้ปกครอง
๓๖
การหลอกหรื อ หยอกล้ อ เด็ ก ในทาง ที่ไม่ควร เพื่อหวังผลให้เด็กหยุดพฤติกรรม ที่กำ�ลังทำ�อยู่ หรือเพื่อความสนุกสนาน นอกจากจะทำ�ให้เด็กเกิดความรู้สึกกลัว โดยไร้เหตุผลแล้วยังเป็นการขัดขวางความ อยากรู้อยากเห็นของเด็กอีกด้วย
37
นิสัยไม่ดี มาจาก ไหนกัน ?
จินตนาการ
เด็กที่ ชอบโกหก
เพราะความไร้ เ ดี ย งสาทำ � ให้ ไ ม่ ส ามารถ จะแยกจินตนาการและความจริงได้สง่ิ ทีพ่ ดู ออกมาก็ไม่ได้ตั้งใจจะโกหกแต่แค่พูดไป ตามจินตนาการเท่านั้น
กลัวการลงโทษ
หลีกเลี่ยงการลงโทษ เมื่อลูกรู้ตัวว่าตัวเอง ทำ � ผิ ด ก็ จ ะสร้ า งเรื่ อ งโกหกพ่ อ แม่ เ พื่ อ หลีกเลี่ยงการถูกลงโทษ
เรียกร้องความสนใจ
เรียกร้องความสนใจ บางครั้งพ่อแม่ไม่มี เวลาดู แลลู กๆ เด็ กเลยต้ อ งโกหกสร้ า ง สถานการณ์ เพื่อให้พ่อแม่หันมาสนใจ
ทำ�ตามใจตัวเอง
๓๘
อยากทำ�สิ่งที่ต้องการบ้าง บางครั้งพ่อแม่ก็ หวงลูกเกินไปตีกรอบให้ทำ�ไปทุกอย่างทำ� ให้ลูกๆ รู้สึกว่าต้องฉีกกฎออกมาบ้าง เพื่อ ทำ�ตามใจตัวเองดูสักครั้งก็ยังด
ของของหนู
เด็กที่ ชอบโขมย
ทุกอย่างคือของของตัวเองลูกจะมองว่าโลก คื อ สนามเด็ ก เล่ น ใหญ่ ๆ สนามหนึ่ ง และ ทุกอย่างบนโลกนี้ก็คือของของเขาดังนั้น จึงคิดว่าหยิบอะไรมาเล่นก็ได้
เป็นที่สนใจ
อยากทำ�ให้ตัวเองเด่น เช่นถ้ามีของเล่นชิ้น ใหม่คนอื่นก็จะหันมาสนใจตัวเอง เลยต้อง ขโมยของเล่นชิ้นนั้น
อำ�นาจ
อยากมีอำ�นาจบ้าง ไม่ว่าลูกจะทำ�อะไร หรืออยากได้อะไรก็ตอ้ งถามผูป้ กครองก่อน ทุกครั้ง ดังนั้นลูกๆก็เลยพยายามขโมยของ เพื่อทำ�ให้เขารู้สึกว่าตัวเองมีอำ�นาจและ รู้สึกอิสระมากขึ้น
วิธีแก้ นิสัยไม่ดี แบบอย่าง
กำ�ลังใจ
ลงโทษตามเหมาะสม
อธิบาย
นิทานสอน
เล่นกับลูก
ผู้ ป กครองควรเป็ น ตั ว อย่ า งที่ ดี ใ ห้ กั บ ลู ก สอนให้ ลูก รู้ จั ก แยกแยะสิ่ งดี กั บสิ่ งที่ ไ ม่ ดี และตัวพ่อแม่เองก็ต้องทำ�ให้ลูกเห็นด้วย ว่าสิ่งที่ดีควรทำ�อย่างไร ไม่ควรลงโทษหรือตำ�หนิ ถ้าเป็นครั้งแรก ของลูก ควรพูดคุยอธิบายให้ลูกเข้าใจก่อน แต่ถา้ ลูกยังทำ�พฤติกรรมนัน้ อยู่ ก็ควรลงโทษ ตามความเหมาะสม หาหนังสือนิทานให้ลกู อ่านหรืออ่านให้ลกู ฟัง บ้างเพราะนิทานแต่ละเรือ่ งก็จะแฝงด้วยคติ สอนใจซึ่งนิทานจะช่วยให้เด็กจินตนาการ และเห็นผลของการกระทำ�ได้มากขึน้
เอาชนะ
ให้กำ�ลังใจลูกเมื่อลูกทำ�ดีแม้ว่าสิ่งที่ลูกทำ� นัน้ จะเป็นแค่เรือ่ งเล็กน้อย เช่น ตักข้าวเอง หรือเก็บของเล่นเอง จะทำ�ให้ลูกรู้สึกว่า การทำ�ดีกท็ �ำ ให้พอ่ แม่หนั มาสนใจได้ พู ด กั บ ลู ก ให้ เข้ า ใจดี ก ว่ า การลงโทษหรื อ ถามลูกว่าทำ�ไมต้องทำ�แบบนี้ เพราะที่เด็ก ทำ�ไปนั้น เกิดความไม่รู้ไม่เข้าใจ ดังนั้นสิ่ง ที่ผู้ปกครองควรทำ�คือค่อยๆอธิบายให้ฟัง เล่นกับลูก และคอยสอดแทรกวิธีการเล่น ที่ถูกต้องให้กับลูก หรือจะใช้วิธีการเปรียบ เทียบการเล่นสองแบบเพือ่ ให้ลกู เห็นว่าการ เล่นตามกฎสนุกกว่าการเล่นแบบคนขีโ้ กง
เด็กที่ ชอบขี้โกง
อยากเอาชนะ ลูกจะมองไปที่เป้าหมาย อย่างเดียวโดยไม่สนใจวิธกี าร ฉะนัน้ ลูกก็จะทำ� ทุกอย่างเพื่อชนะคนอื่นให้ได้
สนใจ
อยากได้ รั บ ความสนใจเพราะลู ก ๆรู้ ว่ า คนทีช่ นะจะมีคนมาเอาอกเอาใจและดูดกี ว่า การเป็นผู้แพ้ ดังนั้นไม่ว่าจะเป็นการแข่งขัน อะไรก็ตาม จะพยายามเป็นทีห่ นึง่ ให้ได้เสมอ
39
c h ap te r 4
TO GE T HE R ก า ร เ ลี้ ย ง ลู ก เ ลี้ ย ง ห ล า น อ ย่ า ง ส ม า น ฉั น ท์
เลี้ยงลูกเลี้ยงหลานอย่างไรให้ตัวคุณแม่ และคุณย่าคุณยายไม่ผิดใจกันในเรื่องของ วิธีการเลี้ยงดูเพื่อให้การเลี้ยงดูเด็กเป็นไป อย่างสบายและราบรื่น
๔๒
TOGETHER 1 2
การเลี้ยงลูกเลี้ยงหลาน อย่างสมานฉันท์
เลิกทำ�ตัวเป็นฝ่ายค้าน ที่เหนื่อยอยู่ทุกวันนี้ ส่วนหนึ่ง อาจเป็ น เพราะเถี ย งไปทุ ก เรื่ อ งก็ เ ป็ น ได้ ท่ า นให้ คำ�แนะนำ�มาถ้าไม่ตั้งการ์ดสูงมากนัก คุณแม่ก็จะเห็นว่า บางครั้งคำ�แนะนำ� หรือความเห็นของท่านก็ถูกเสียด้วย เพราะฉะนั้นอย่ารีบค้านเร็วนักรับฟังไว้ก่อนส่วนถึงเวลา ปฏิบัติจะใช้วิธีของเราเอง หรือลองวิธีของท่านดูบ้าง ก็ไม่เป็นไร เรื่องที่จำ�เป็นต้องค้านน่ะมีอยู่แล้วเก็บเอาไว้ ค้านกันเฉพาะเรื่องสำ�คัญๆ น่าจะดีกว่า พยายามเห็นพ้องต้องกัน วิธีการเลี้ยงลูก และคำ�แนะนำ� ของคุณย่าคุณยายต้องมีจุดเล็กๆบางจุดที่คิดเหมือนกัน บ้าง คุณย่าอาจบอกว่าคุณแม่ใจดีกับลูกมากเกินไปต้อง ตีลูกเสียบ้าง แต่คุณแม่ค้านหัวชนฝากับวิธีตีเด็กแต่ถ้า บอกท่านว่า เราใจดีเกินไปจริงๆ เท่านี้ก็ไม่ต้องถกเถียง กันในเรื่องสิทธิเด็กอะไรไปโน่น แล้วคุณย่ายายก็คงไม่ มาคอยตามเช็กหรอกว่าตีลูกแล้วหรือยัง
3 4 5
ใจดีเกินไปในเรื่องไหน มีอะไรที่ต้องปรับบ้าง ซึ่งคน เราต้องการให้มีคนรับฟัง และใส่ใจในความคิดเห็นก็ เท่านั้นเอง คุณแม่ไม่ต้องไปทำ�อะไรมาก ส่วนเรื่องไหนที่ รับมาปฏิบตั แิ ล้วได้ผลต้องรีบรายงานส่วนเรือ่ งไหนชืน่ ชม ก็บอกให้ท่านปลื้มใจ หลี ก เลี ่ ย งการปะทะ ถ้ า ฟั งคำ � แนะนำ � ที ่ ไ ม่ เ ห็ นด้ ว ย ให้ใช้ความอดทน ก้มหน้านิ่งรับคำ� “ค่ะ” นอกจากนี้ ควรเบี่ยงเบนความสนใจชวนท่านคุยเรื่องน่ารักน่าชัง หรือความทะเล้นซุกซนของหลานแทน น่าจะพอช่วย ชี ว ิ ต ได้ ถ้ า ยั งคุ ย เรื ่ อ งไกลตั ว อี ก หน่ อ ย เลื อ กเรื ่ อ งดี ๆ ฟังแล้วรื่นรมย์ อะไรที่ขัดหูขัดตาขัดใจท่านเหลือเกิน ก็พยายามอย่าปฏิบัติให้เห็นกันต่อหน้าต่อตา ยืดหยุ่นหน่อย คุณแม่มือใหม่มักจะระมัดระวังทุกเรื่อง ที ่ เ กี ่ ย วกั บ ลู ก วางระเบี ย บแบบแผนเอาไว้ เ ป๊ ะ ทุ ก ประการ บางคนพาลูกไปบ้านคุณยาย พร้อมกับตาราง การดูแล และรายละเอียดครบครัน ยังกับลูกเป็นเครื่อง ใช้ไฟฟ้า ต้องมาพร้อมคู่มือการใช้งาน คุณยายทำ�ตาม ตารางไม่ตรงก็ถูกดุ โดยลืมไปว่าท่านเป็นแม่ของเรา ดังนั้นขอให้คุณแม่คลายเกลียวให้หายตึง ข้อไหนไม่มี อันตราย หรือเป็นผลเสียมากนัก ก็ยืดหยุ่นกันหน่อย ถ้าเรื่องสำ�คัญก็ค่อยเคร่งครัด
43
6 7
๔๔
อยู่กับแม่ต้องกฎของแม่ เด็กในวัยที่โตขึ้นมาหน่อย อาจจะสับสนกับกฎระเบียบของแม่อันแสนจะเคร่งครัด ชอบกฎสบายๆ ของคุณยายมากกว่า ไม่ต้องกังวลใจ คุณแม่ตั้งกฎชัดเจนให้ลูกรู้ไปเลยว่า อยู่กับแม่ต้องกฎนี้ เท่านั้น ลูกจะเรียนรู้ไปเองว่า นโยบายของยายกับแม่ ถ้าลูกยังทำ�ตัวดีมีป่วนบ้างแต่ในที่สุดก็กลับเข้าที่เข้าทาง ก็อย่าซีเรียส แล้วก็หาโอกาสพูดกับคุณยาย ว่าจะต้อง เอาจริงเอาจังในบางเรื่องกับหลานแล้ว อ้างอิงคุณหมอ เรื่องสำ�คัญเรื่องไหนที่ไม่เห็นด้วยกับ คุณย่าคุณยาย คุณแม่อ่านมาหรือได้ยินได้ฟังมาหรือ คุณหมอบอกมาก็ขอยืมคุณหมอเป็นโล่ก�ำ บังได้ในบางครัง้ คนรุ่นคุณย่าคุณยายหลายท่านไม่ค่อยฟังลูกเป็นปกติ ธรรมดาอยู่แล้ว แต่ยังรับฟังผู้รู้จริงอย่างคุณหมอ
8 9
เรียนรูไ้ ปด้วยกันแทน ทีจ่ ะพูดให้ทา่ นเสียใจว่าวิธขี องท่าน ตกสมั ย แต่ ค วรชวนท่ า นมาอั พ เดทข้ อ มู ล ใหม่ ๆ ไปพร้ อ มๆกั น เปิ ด รายการที ว ี แ ม่ ๆ ลู ก ๆ ชวนกั นดู หาหนังสือมาให้อ่านบ้าง มีอบรมพ่อแม่ที่ไหน ก็อาจจะ เห็นมุมมองความเชื่อของเรา ยอมรับเรามากขึ้นไปโดย ปริ ย าย แล้ ว ก็ อ ย่ า ลื ม เปิ ด ใจรั บมุ ม มองของท่ า นด้ ว ย ก็น่าจะมีเรื่องพูดคุยกันมากกว่าจะเถียงกัน เรื่องดีๆ ยังมีมากมายให้มองถ้าหัดมองบ่อยๆ ก็จะยิ่ง เห็นแง่มุมเพิ่มขึ้น วิธีที่คุณแม่จะเลือกใช้แก้ปัญหาจะ นุ่มนวลกว่าการเฝ้าจับจ้องแต่ปัญหา และอย่าลืมว่า ลู ก ของเราไม่ ใ ช่ ข องพ่ อ แม่ เ ท่ า นั้ น แต่ เ ป็ น หลาน ของปู่ย่าตายาย ลุงป้า น้าอาด้วย เพราะพวกท่าน ก็เป็นสมาชิกคนหนึ่งใน “ครอบครัว” เหมือนกัน
45
abo ut the illu stra tor Atista n Hema i s the stude nt o f B angko k Uni ve rsi ty, Scho o l o f f i ne and appli e d ar t, m aj o r i n C o m m uni cati o n de si gn and thi s i s Th esis pro j e ct.