บทที่ 1 การใช้งานโปรแกรม

Page 1

การใช้ง านโปรแกรม Microsoft Visual C# 2008 Express


โปรแกรม Microsoft Visual C# 2008 Express Edition เป็น โปรแกรมที่อยู่ในชุดโปรแกรมของ MS Visual Studio 2008 ซึ่งเป็นชุด โปรแกรมที่เก็บเครื่องมือในการพัฒนาไว้มากมายการเรียกใช้งาน โปรแกรมทำาได้ตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. คลิก Start -> All Programs -> Microsoft Visual C# 2008 ExpressEdition

ภาพที่ 1 การเรีย กใช้ง านโปรแกรม 2. ปรากฏหน้าต่างโปรแกรม Microsoft Visual C# 2008 Express Edition ดังภาพที่ 2


ภาพที่ 2 หน้า ต่า งโปรแกรม Microsoft Visual C# 2008 Express Edition ส่วนประกอบของ Microsoft Visual C# 2008 Express Edition มีดังนี้ 2.1 หน้าต่าง Start Page เป็นหน้าต่างหลักและเป็นหน้าต่างแรกที่ เกิดขึ้นเมื่อเปิดโปรแกรม Microsoft Visual C# 2008 Express Edition ขึน ้ มาโดยภายในจะมีหน้า ต่างย่อยอื่นๆ 2.2 หน้าต่าง Recent Project เป็นหน้าต่างย่อยภายในหน้าต่าง Start Page เป็นส่วนที่ใช้สร้าง

โปรเจ็กต์ใหม่ หรือเปิดโปร

เจ็กต์เก่าขึ้นมาทำางาน 2.3 หน้าต่าง Getting Started เป็นส่วนที่ใช้เรียนรู้เกี่ยวกับการ พัฒนาซอฟต์แวร์โดย Microsoft Visual C# 2.4 หน้าต่าง Gets New from Microsoft เป็นส่วนที่ใช้ดาวน์โหลด เครื่องมือใหม่ ๆ จากไมโครซอฟต์ ส่ว นประกอบของหน้า ต่า งโปรแกรม Microsoft Visual C# 2008 Express Edition หมายเลข 1 Title bar เป็นส่วนบอกชื่อโปรแกรมและชื่อโปร เจ็กต์ หมายเลข 2 Menu bar เป็นแถบแสดงรายการคำาสั่ง หมายเลข 3 Standard Toolbar ใช้สำาหรับเรียกใช้แทนคำาสั่ง Menu bar หมายเลข 4 Solution Explorer ใช้สำาหรับควบคุมการทำางาน ของหน้าจอ หมายเลข 5 พื้นที่สำาหรับการเขียนและออกแบบโปรแกรม


หมายเลข 6 ToolBox หรือกล่องเครื่องมือ มี Control ต่าง ๆ ใช้ สำาหรับการออกแบบวัตถุต่าง ๆ ลงบนส่วนของการออกแบบฟอร์มใน พื้นที่หมายเลข 5 หมายเลข 7 Error List ใช้สำาหรับแจ้งข้อผิดพลาดจากการ เขียนโปรแกรม หลังจากทำาการ Compile แล้ว หมายเลข 8 Properies Window ใช้สำาหรับการกำาหนด คุณสมบัติของวัตถุในส่วนการออกแบบ

ภาพที่ 3 ส่ว นประกอบของหน้า ต่า ง Microsoft Visual C# 2008 Express Edition การสร้า ง เปิด บัน ทึก โปรเจ็ก ต์

ภาพที่ 4 การสร้างโปรเจ็กต์และเปิดโปรเจ็กต์


1. ในส่วน Recent Project ที่ Create คลิกเลือก Project ดังภาพที่ 4 2. เมื่อคลิก " Project" แล้วจะ

ปรากฏหน้า

จอ

ภาพที่ 5 หน้าต่าง New Project 3. เลือก Windows Forms Applications ดังภาพที่ 5 และพิมพ์ ชื่อ project ในช่อง

Name ดังภาพที่ 5

โดยตั้งชื่อตามที่

ต้องการโดยเป็น

ภาษาอังกฤษ จาก

นั้นคลิกปุ่ม OK

จะได้หน้าต่าง

Project_1 ดังภาพ

ที่ 6

ภาพที่ 6 หน้าต่าง Project_1 การบัน ทึก Project สามารถทำา ได้ 3 วิธ ี 1.

การบัน ทึก โดยใช้ส ัญ ลัก ษณ์ Save All


ภาพที่ 7 แสดง

สัญลักษณ์ในการ Save All

2.

วิธ ีท ี่ 2 เลือ กเมนู File -> Save All ดัง ภาพที่ 8

ภาพที่ 8 การบันทึกโดยเลือกเมนู File -> Save All 3.

วิธีที่ 3 กดปุ่ม Ctrl + Shift + S

เมื่อเลือกวิธีใดวิธห ี นึ่ง จะปรากฏหน้าต่าง Save Project ดังรูปที่ 9 โดยในช่อง Name : พิมพ์ชื่อโปรเจ็กต์ ในส่วนของ Location ให้ คลิกปุ่ม Browse.. เพื่อเลือกไดร์ฟ

และไดเร็ก

ทรอรี่ที่ต้องการเก็บข้อมูล

คลิก

และ

เครื่องหมายถูกในช่อง Create directory for solution จากนั้นบันทึกโดย กดปุ่ม Save


ภาพที่ 9 หน้าต่าง Save Project เมื่อบันทึกโปรเจ็กต์เรียบร้อย โปรแกรมจะทำาการจัดเก็บข้อมูล อัตโนมัติ

ซึ่งจะประกอบไปด้วยไดเร็กทรอรี่ยอ ่ ยและไฟล์จำานวนมาก

ซึ่งไฟล์ที่เราสามารถเปิดและ

ทำาการ

แก้ไขโปรเจ็กต์คือไฟล์ Project_1 10

ดังภาพที่

ภาพที่ 10 หน้าต่างแสดงไฟล์หลังจากบันทึก การเปิด โปรเจ็ก ต์ท ี่ม ีอ ยู่แ ล้ว การเปิดโปรเจ็กต์ที่มีอยู่แล้วสามารถทำาได้ 3 วิธี 1.

เปิดโปรแกรม Microsoft Visual C# 2008 Express Edition คลิกเลือก Project_1 ดังหมายเลข 1 ดังภาพที่ 11


ภาพที่ 11 หน้าต่างในการเปิด project ที่มีอยู่แล้ว 2.

เปิดจากการคลิกเลือก Project ในส่วนของ Open: ดัง หมายเลข 2 และทำาการเลือก Project ตามที่อยู่ที่เก็บข้อมูล ไว้ ดังภาพที่ 11

3.

เปิดโปรแกรม Windows Explore เลือกไดร์ฟที่เก็บข้อมูล เช่น

F:\Project_1 เลือกไฟล์โปรเจ็กต์ดังภาพที่ 13 ภาพที่ 13 หน้าต่างการเปิดโปรเจ็กต์ด้วยโปรแกรม Windows Explore


การเรีย กส่ว นประกอบของหน้า ต่า งโปรแกรม Microsoft Visual C# 2008 Express Edition การเรียกส่วนประกอบสำาคัญของหน้าต่างโปรแกรม Microsoft Visual C# 2008 Express Edition ทำาได้ 2 วิธี คือ เรียกที่เมนู View หรือ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

Standard Toolbar 1.

การเรียกใช้ Toolbox

ทำาได้ 2 วิธี ดังนี้ คลิกเมนู

View -> Toolbox หรือคลิก

ที่สัญลักษณ์

ภาพที่ 14 หน้าต่าง Toolbox 2.

การเรียก

ใช้ Solution Explorer ทำาได้ 2 วิธี ดังนี้

คลิกเมนู

View -> Solution Explorer หรือคลิกที่

สัญลักษณ์


ภาพที่ 15 หน้าต่าง Solution Explorer 3.

การเรียกใช้ Properties Window ทำาได้ 2 วิธี ดังนี้ คลิกเมนู View -> Properties Window หรือคลิกที่สัญลักษณ์

ภาพที่ 16 หน้าต่าง Properties Window 4.

Error List คลิกเมนู View -> Error List ดังรูป

ภาพที่ 17 หน้าต่าง Error List


การใช้ง านฟอร์ม ของโปรแกรม Microsoft Visual C# 2008 Express Edition 1.

การเรียกใช้ฟอร์ม เปิดโปรเจ็กต์ Project_1 แล้วดับเบิ้ลคลิกที่ Form1.cs ในหน้าต่าง Solution Explorer ดังรูปที่ 18

ภาพที่ 18 หน้าต่าง Form Designer 2.

การใช้งาน Toolbox หน้าต่าง Toolbox ในส่วน Common Controls ให้คลิก Button แล้วคลิกเมาส์ที่ Form1 ลากให้มี

ปุ่มขนาดตามที่ต้องการ


ภาพที่ 19 การใช้งานคอนโทรล Button เมื่อคลิกเมาส์ที่ปุ่มจะปรากฏกรอบสี่เหลี่ยมรอบวัตถุในส่วนของ การออกแบบ

หากต้องการ

เปลี่ยนแปลงข้อความหรือกำาหนดค่าอื่น ๆ สามารถไปที่หน้าต่าง พร็อพ เพอร์ตี้ (Name) ชื่อ button1 และที่ Text ให้ใส่คำาว่า Close จะได้ปุ่ม Close ตามต้องการ

ภาพที่ 20 หน้าต่างของพร็อพเพอร์ตี้ ของคอนโทรล Button 3.

เมื่อต้องการเขียนคำาสั่งให้กับปุ่มนั้น ๆ สามารถกระทำาได้โดย ดับเบิ้ลคลิกที่ปุ่ม จะปรากฏหน้าต่าง

แสดงมุมมองของการเขียนโค้ด และทำาการเขียนคำาสั่ง Close(); ลงไป ซึ่งหมายถึงการให้จบการทำางานหรือปิด Form1 โดยสังเกตเห็นว่าคำา สั่ง Close(); จะอยู่ภายใน เมท็อด ที่ชอ ื่ button1_Click ซึ่งหมายถึง เมื่อเกิดเหตุการณ์ที่เมาส์คลิกที่ปุ่มชื่อ button1 จะให้ทำาการปิด Form1 โครงสร้างการทำางานของภาษา C# จะถูกกำาหนดด้วย namespace และภายใต้ namespace จะ


ประกอบด้วย class จะมีเมท็อด ต่าง ๆ ซึ่ง button1_Click ก็เป็นเมท็อด หนึ่งภายใต้ class ที่ชื่อ Form1 และภายใต้ namespace ชื่อ Project_1 ในส่วนของหมายเลข 1 โปรแกรมจะสร้างขึ้นมาให้เอง คำาสั่ง using System; นั้น เป็นการกำาหนด ว่าอยู่ภายใต้ namespace ที่ชื่อว่า System ซึ่งจะทำาให้สะดวกต่อการ ใช้คำาสั่งต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้ว ส่วน namespace Project_1 นั้นจะต้องมี เครื่องหมาย { ตามหลังชื่อ และเครื่องหมาย }

อยู่ล่างสุดของ

โปรแกรม และที่ class Form1 ก็เช่นเดียวกัน จะต้องมีเครื่องหมาย { และ } เสมอ

รูปที่ 21 หน้าต่างแสดงมุมมองของการเขียนโค้ด เมื่อสร้างเสร็จแล้วจะทำาการรันโปรแกรมด้วยการกดปุ่ม <F5> หรือเลือกเมนู Debug -> start Debugging หรือเลือกที่ Icon จะได้ผลการรันโปรแกรม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.