TAKOLA NAKHON

Page 1



ตะโกลา นคร.

โครงการปรั บ ปรุ ง และฟื้ น ฟู พื้ น ที่ เมื อ งเก่ า ตะกั่ ว ป่ า และการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรม



TAKUAPA CULTURE FACILITIES AND LOCAL ATTRACTION PLACE

TANACHIT BUMPENPOL

A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULLFILLMENT OF THE REQUIREMENT FOR THE BACHELOR DEGREE ARCHITECTURE DIVISION OF ARCHITECTURAL TECHNOLOGGY FACULTY OF ARCHITECTUTRE RAMAJANANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THANYABURI



โครงการปรับปรุ งฟื้ นฟู พื้นที่สาธารณะเมืองเก่าตะกั่วป่ าและการท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรม

ธนชิ ต บาเพ็ญผล

วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรสถาปั ตยกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุ รี 2560


ABSTRACT บทคั ด ย่ อ


ACKNOWLEDGMENT กิ ต ติ ก รรมประกาศ การจัดทาวิทยานิพนธ์ฉบับนีส้ ามารถสาเร็จได้ดว้ ยดีเนื่องจากการช่ วยเหลือ และคาแนะนา จากบุคคลหลากหลายท่าน ทางผู จ้ ดั ทาโครงการขอขอบคุณไว้ ณ ทีน่ ่ ี โดยมีดงั นี้ ขอขอบคุณพ่อ – แม่ และบุ คคลอืน่ ๆในครอบครัว ทีส่ นับสนุนในด้านทุนทรัพย์และให้กาลังใจตลอดมา ขอบคุณอาจารย์คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ ทุกทานทีไ่ ด้สอนและความรู ้ และประสบการณ์ผา่ นการ ทางานและให้คาปรึกษาตลอดมา ตัง้ แต่ ปี 1 – ปี 5 ขอขอบคุณ อาจารย์ กันย์ ลีบารุง อาจารย์ทป่ ี รึกษา ทีใ่ ห้คาแนะนา ดูแลตลอดทุกขัน้ ตอนในทา วิทยานิพนธ์ให้ลลุ ว่ งด้วยดี และอาจารย์ ลิขติ ศิรโิ ชติ ผู ค้ วบคุมวิชาวิทยานิพนธ์ สาหรับทุก คาแนะนาใน การทาวิทยานิพนธ์


สารบัญ.

02 หลักการออกแบบและทฤษฎีท่เี กี่ยวข้อง

บทคัดย่อ

กิตติกรรมประกาศ

2.1 ความหมายและคาจากัดความ

2-01

สารบัญ

2.2 ความเป็นมาของเรื่องที่ศึกษา

2-05

สารบัญภาพ

2.3 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้อง

2-17

สารบัญตาราง

2.4 ทฤษฎีหรือแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ

2-18

2.5 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับโครงการ

2-26

2.6 การศึกษาและเปรียบเทียบอาคาร

2-28

01 บทนา 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของการศึกษา

1-03

1.2 ขอบเขตของการศึกษาโครงการ

1-05

1.3 วัตถุประสงค์ของการศึกษาโครงการ

1-06

1.4 ขัน้ ตอนและวิธีการศึกษา

1-07

1.5 ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รับจากการศึกษาโครงการ 1-08

03 การศึกษาและวิเคราะห์ท่ตี งั้ โครงการ 3.1 การศึกษาและวิเคราะห์องค์ปะกอบของเมือง

3-03

3.2 การศึกษาและวิเคราะห์ทาเลที่ตงั้ โครงการ

3-13

3.3 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

3-21

3.4 ศึกษาและวิเคราะห์ท่ตี งั้ โครงการ

3-23


04 การกาหนดรายละเอียดโครงการ

06 บทสรุ ป และข้อเสนอแนะ

4.1 ความเป็นมาของโครงการ

4-03

6.1 บทสรุ ปโครงการ

6-

4.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ

4-03

6.2 เสนอแนะ

6-

4.3 การกาหนดโครงสร้างการบริหารโครงการ

4-04

4.4 โครงสร้างการบริหารงาน

4-05

บรรณานุกรม

4.5 รายละเอียดผู ้ใช้โครงการ

4-09

4.6 การกาหนดรายละเอียดและกิจกรรมของโครงการ

4-12

ภาคผนวก

4.7 สรุ ปพื้นที่ใช้สอยโครงการ

4-18

1 Statement

ผ-01

4.8 การประมาณราคาค่าก่อสร้าง

4-19

2. ประวัติผู้จัดทา

ผ-03

4.9 ระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง

4-21

05 แนวความคิดและผลงานออกแบบ 5.1 แนวคิดในการออกแบบ

5-

5.2 เงื่อนไขในการพัฒนาแนวความคิด

5-

5.3 ขัน้ ตอนการพัฒนาแบบสถาปั ตยกรรม

5-

5.4 ผลงานทางสถาปั ตยกรรม

5-

5.5 ภาพถ่าย MODEL

5-

5.6 CHART PRESENTATION

5-


สารบัญภาพ.

01

บทนา ภาพที่ 1.1 : ที่ทาการเทศบาลเมืองตะกั่วป่ า

1-01

ภาพที่ 1.2 : ที่ทาการเทศบาลเมืองตะกั่วป่ า

1-03

ภาพที่ 1.3 : ชิ โนโปตุกีส บาบ๋า - ยะหย๋า

1-04

ภาพที่ 1.4 : ชิ โนโปรตุกีส ตลา่ดใหญ่ ตะกั่วป่ า

1-05

ภาพที่ 1.5 : เทศกาลกินผัก ตะกั่วป่ า

1-06

ภาพที่ 1.6 : บริษัท เรือขุ ดแร่จุติ

1-08

02 หลักการออกแบบและทฤษฎีท่เี กี่ยวข้อง

ภาพที่ 2.10 : สีสันของอาคารเก่า

2-12

ภาพที่ 2.11 : บาบ๋า ย่าหยา ตะกั่วป่ า

2-13

ภาพที่ 2.12 : พิธีแต่งงาน บาบ๋า

2-14

ภาพที่ 2.13 : เทศกาลกินผัก ตะกั่วป่ า

2-16

ภาพที่ 2.14 : ภาพแสดงผังเมืองตะกั่วป่ า

2-17

ภาพที่ 2.15 : การอนุรักษ์ย่านเมืองเก่า

2-18

ภาพที่ 2.16 : เพิ่มคุณค่าให้เมืองเก่า

2-19

ภาพที่ 2.17 : เฮง เฮง เฮง

2-20

ภาพที่ 2.18 : มุ ่งสู่ วัฒนธรรม

2-21

ภาพที่ 2.1 : ภาพประกอบบทที่ 2

2-01

ภาพที่ 2.19 : การท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรม

2-23

ภาพที่ 2.2 : ป้ายบอกทางบริเวณถนน อุ ดมธารา ภาพที่ 2.3 : โรงแร่จุติ ตะกั่วป่ า

2-03

ภาพที่ 2.20 : พื้นที่สาธารณะ

2-24

2-04

ภาพที่ 2.21 : แนวคิดสาธารณะของพื้นที่สาธารณะในเมือง

2-24

ภาพที่ 2.4 : ถนนสายวัฒนธรรม

2-05

ภาพที่ 2.22 : การท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรม

2-25

ภาพที่ 2.5 : ตานานที่ยังมีลมหายใจ

2-06

ภาพที่ 2.23 : ภาพแสดงอาคารกรณีศึกษา 1

2-26

ภาพที่ 2.6 : ภาพอดีตบริเวณถนน ศรีตะกั่วป่ า

2-09

ภาพที่ 2.24 : ภาพแสดงอาคารกรณีศึกษา 2

2-29

ภาพที่ 2.7 : ภาพอดีตบริเวณถนน ศรีตะกั่วป่ า

2-10

ภาพที่ 2.25 : ภาพแสดงอาคารกรณีศึกษา 3

2-30

ภาพที่ 2.8 : ร้านแป๊ะซาเต ร้านกาแฟหัวโค้ง

2-10

ภาพที่ 2.26 : ภาพแสดงอาคารกรณีศึกษา 4

2-31

ภาพที่ 2.9 : ยุ คต่างๆของ อาคารชิ โนโปรตุกีส

2-11


03

การศึกษาและวิเคราะห์ท่ตี งั้ โครงการ

ภาพที่ 3.18 : ผังแสดงบริบทโดยรอบที่ตงั้

3-24

ภาพที่ 3.19 : สถานที่สาคัญในเมืองเก่าตะกั่วป่ า

3-25

ภาพที่ 3.20 : การวิเคราะห์มุมมองที่มีผลต่อโครงการ

3-26

ภาพที่ 3.21 : ร่อนแร่ กาแฟใต้

3-28

ภาพที่ 3.1 : ภาพประกอบบทที่ 3

3-01

ภาพที่ 3.2 : ผังเมืองตะโกลา นคร

3-03

ภาพที่ 3.3 : ผังแสดงแหล่งบริการสาธารณะเมืองตะกั่วป่ า

3-04

ภาพที่ 3.4 : ภาพถ่ายทางอากาศเมืองเก่าตะกั่วป่ า

3-05

ภาพที่ 3.5 : ภาพถ่ายทางอากาศเมืองเก่าตะกั่วป่ า

3-06

ภาพที่ 4.1 : ภาพประกอบบทที่ 4

4-01

ภาพที่ 3.6 : ภาพถ่ายทางอากาศเมืองเก่าตะกั่วป่ า

3-09

ภาพที่ 4.2 : ภาพประกอบบทที่ 4 -1

4-03

ภาพที่ 3.7 : ภาพถ่ายทางอากาศเมืองเก่าตะกั่วป่ า 2

3-10

ภาพที่ 4.3 : เด็กน้อยในตลาดใหญ่

4-04

ภาพที่ 3.8 : งานบวงสรวงองค์เทวรู ปพระนารายณ์ฯ

3-11

4-09

ภาพที่ 3.9 : เทศกาลกินผัก และประเพณีชักพระแข่งเรือ

ภาพที่ 4.4 : ผู ้ใช้บริการโครงการ

3-12

ภาพที่ 4.5 : เมืองสวย ด้วยตัวเรา

4-12

ภาพที่ 3.10 : ผังวิเคราะห์ทาเลที่ตงั้

3-13

ภาพที่ 4.6 : การคานวณค่าใช้จ่ายของโครงการ

4-20

ภาพที่ 3.11 : ผังวิเคราะห์ทาเลที่ตงั้ 2

3-14

ภาพที่ 4.7 : ภาพแสดงระบบฐานรากอาคาร

4-21

ภาพที่ 3.12 : สองแถว ย่านยาว—ตลาดใหญ่

3-15

ภาพที่ 4.8 : ระบบเสาและคานที่ใช้กับอาคาร

4-22

ภาพที่ 3.13 : ผังแสดงการวิเคราะห์ท่ ตี งั้ โครงการ

3-16

ภาพที่ 4.9 : โครงสร้างของผนังรับน้าหนัก

4-23

ภาพที่ 3.14 : ผังวิเคราะห์ทาเลที่ตงั้ 2

3-19

ภาพที่ 4.10 : ลักษณะของโครงสร้างช่ วงผาดกว้าง

4-24

ภาพที่ 3.15 : ถนนศรีตะกั่วป่ า

3-20

ภาพที่ 4.11 : ลักษณะของโครงสร้างพื้น 1

4-25

ภาพที่ 3.16 : กาหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง

3-22

ภาพที่ 4.12 : ลักษณะของโครงสร้างพื้น 2

4-26

ภาพที่ 3.17 : ผังแสดงพื้นที่ของเมืองเก่าตะกั่วป่ า

3-23

ภาพที่ 4.13 : ลักษณะการก่อผนังที่ใช้กับโครงการ

4-27

04

การกาหนดรายละเอียดโครงการ


สารบัญตาราง.

02

หลักการออกแบบและทฤษฎีท่เี กี่ยวข้อง

ภาพที่ 4.14 : ลักษณะผนังกระจกและโครงสร้าง

4-28

ภาพที่ 4.15 : ระบบสุขาภิบาล

4-29

ตารางที่ 2.1 : ตารางแสดงวิวัฒนาการเมืองเก่าตะกั่วป่ า

2-07

ภาพที่ 4.16 : ผังการระบายน้าทิ้งภายในอาคาร

4-30

ตารางที่ 2.2 : ตารางเปรียบเทียบอาคารกรณีศกึ ษา

2-32

ภาพที่ 4.17 : อุ ปกรณ์ควบคุมไฟฟ้าในอาคาร

4-31

ภาพที่ 4.18 : ลักษณะของไฟฟ้าส่องสว่างของอาคาร

4-32

ภาพที่ 4.19 : ระบบปรับอากาศ

4-33

ภาพที่ 4.20 : ภาพประกอบบันไดที่ใช้กับโครงการ

4-34

ภาพที่ 4.21 : ระบบป้องกันอัคคีภัยภายในอาคาร ภาพที่ 4.22 : ระบบป้องกันอัคคีภัยในอาคาร

4-35

04 การกาหนดรายละเอียดโครงการ

4-36

ตารางที่ 4.1 : ผังบริหารองค์กร

4-05

ตารางที่ 4.2 : อัตรากาลังของพนักงานและเจ้าหน้าที

4-06

ตารางที่ 4.3 : วิเคราะห์จานวนผู ้ใช้โครงการ

4-10

ตารางที่ 4.4 : วิเคราะห์ช่วงเวลาการใช้งานโครงการ

4-11

ตารางที่ 4.5 : รายละเอียดพื้นที่ใช้สอยของโครงการ

4-13

03 การศึกษาและวิเคราะห์ท่ตี งั้ โครงการ ตารางที่ 3.1 : การใช้ประโยชน์ท่ ดี ินเขตเทศบาลเมืองตะกั่วป่ า ตารางที่ 3.2 : วิเคราะห์สภาวะแวดล้อมและศักยภาพ

3-21 3-27



ภาพที่ 1.2 : ที่ทาการเทศบาลเมืองตะกั่วป่ า ที่มา ภาพถ่ายโดย นาย ธนชิ ต บาเพ็ญผล ,2560

1-01


01

INTRODUCTION บทที่ 1 บทนา

1-02


1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของการศึกษา ชุมชนตะโกลา หรือ เมืองตะกั่วป่ า เกิดขึน้ เมื่อประมาณ 2000 ปี มาแล้ว เป็ นเมืองที่มีความเจริญรุ ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณ เป็นที่รู้จักของคน หลากหลายเชื้ อชาติทงั้ จีน อินเดีย อาหรับ ในชื่ อเมืองท่าตะโกลา (TAKOLA) เป็นศูนย์กลางการค้าขาย และเป็นเส้นทางลัดในการขนส่งสินค้าจากคาบสมุ ทร มาลายู ไปยังอ่าวไทยการตัง้ ถิ่นฐานของชุ มชนไทยยุ คแรกที่เข้ามาเพื่อขุดหาแร่ ดีบุก มีช่ ื อเรียกว่า ตะกั่วป่ าและในบริเวณอื่นที่มีแร่ดีบุกที่อุดมสมบรู ณ์อีก หลายแห่ง ได้แก่ ตะกั่วทุง่ ถลาง ซึ่ งสรุ ปเกี่ยวกับชื่ อตะกั่วป่ าได้ 2 ประเด็น คือ กลุ่ ม แรกสั น นิ ฐ านว่ า เพี้ ย นมาจากค าว่ า ตะโกลา อี ก ประเด็ น หนึ่ ง มี ความเห็นว่าน่าจะมาจากการเรียก ดีบุกที่ถลุงแล้วว่า ตะกั่วผสมกับคาว่า ป่ า คือ ตะกั่ว ที่อยู ใ่ นทุง่

ภาพที่ 1.2 : ที่ทาการเทศบาลเมืองตะกั่วป่ า ที่มา ภาพถ่ายโดย นาย ธนชิ ต บาเพ็ญผล ,2560

1-03


ประเด็นปั ญหา เมื อ งตะกั่ ว ป่ ายั ง คงหลงเหลื อ ร่ อ งรอยความเป็ น อดี ต บริเ วณ ชุ มชนตลาดใหญ่เ ป็ น พื้น ที่ท่ี ซึ่ งรู ป แบบสถาปั ต ยกรรม แบบชิ โนโปรตุ กี ส ในปั จจุ บั น มี ก ารเปลี่ ย นแปลงไปเนื่ อ งจาก ปรับปรุ งโดยเจ้าของซึ่ งขาดความรู ้ความเข้าใจเรื่องการอนุรักษ์ เมืองเก่า บ้าบ๋า-ย่าหยาจากอดีตที่เคยสวมใส่ตามบ้านเรือนได้เลือน หายไปจากอดีต จากการเข้า มาของกระแสการท่ อ งเที่ย วและ ความทันสมัยที่เปลี่ยนแปลงไปจนหลงลืมเครื่องแต่งกายแบบพื้น ถิ่นจากพื้นที่ท่ ีเคยเงียบและเหงาจากการ ยุ บตัวลงของกิจการ เหมืองแร่ดีบุก ได้กลับมาอีกครั้งผ่านกิจกรรมที่ผ่านการรังสรรค์ พื้น ที่ว่างในชุ มชนที่ มีวั ฒนธรรมในอดี ตเป็ น จุ ดขาย ท่ ามกลาง สภาวการณ์เปลี่ยนแปลงและการไหลตามของทุนนิยม การที่คนใน พื้นที่ต้องมีการปรับเปลี่ยนและปรับตัวโดยการนาทุนจากอดีตมา ปรับใช้เช่ น การนาอัตลักษณ์มาประกอบ เพื่อสร้างสถาปั ตยกรรม ที่หวนนึกถึงอดีต

ภาพที่ 1.3 : (บน,ล่าง) ชิ โนโปตุกีส บาบ๋า - ยะหย๋า ที่มา ภาพถ่ายโดย นาย ธนชิ ต บาเพ็ญผล , 2560

1-04


1.2 ขอบเขตของการศึกษาโครงการ โครงการปรับปรุ งฟื้ นฟู พื้นที่สาธารณะเมืองเก่าตะกั่วป่ า และการท่องเที่ยวเชิ ง วัฒนธรรม เป็นโครงการที่ครอบคลุมบริเวณถนนศรีตะกั่วป่ า และถนนราษฎร์บารุ ง โดยมีขอบเขตการศึกษา ดังนี้ ก) ศึกษาประวัติศาสตร์ของเมืองเก่าตะกั่วป่ า ตัง้ แต่สมัยของรัชกาลที่ 5 จนถึง ปั จจุ บัน จากข้อมู ลที่ตีพิมพ์ในเอกสารทางวิชาการและการลงพื้นที่สารวจ ข) ศึกษาวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต ความเป็นอยู ่ของชาวพื้นถิ่นตะกั่วป่ า ประกอบ ค) ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการที่จะเกิดขึ้น รวมไปถึงปั จจัยในด้านต่างๆ ที่สนับสนุนให้เกิดโครงการ ง) ศึกษาทฤษฏีและแนวคิดเกี่ยวกับการใช้พื้นที่สาธารณะและการฟื้ นฟู ย่าน ประวัติศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรม

ภาพที่ 1.4 : (บน,ล่าง) )ชิ โนโปรตุกีส ตลา่ดใหญ่ ตะกั่วป่ า ที่มา ภาพถ่ายโดย นาย ธนชิ ต บาเพ็ญผล ,2560

1-05


1.3 วัตถุประสงค์ของการศึกษาโครงการ ก) หาประสบการณ์จากสถานที่จริง เพื่อเรียนรู ้สภาพปั จจุ บันของบริบท บริเวณเมืองเก่าตะกั่วป่ า ข) เรียนรู ้ทาความเข้าใจเรื่องราวของประวัติศาสตร์ความเป็นมา รวมทั้ง ศึกษาวิถีชีวิตความเป็นอยู ่จากอดีตสู่ปัจจุ บันผ่านข้อมู ลที่อ้างอิงได้ ค) วิเคราะห์รวบรวมข้อมู ลที่สนับสนุนโครงการ เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ ของโครงการ ง) ศึกษาแนวทางการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี ที่มีอัตลักษณ์เป็นของ ตนเองเพื่อนาไปพัฒนาสู่งานสถาปั ตยกรรม จ) สร้างทางเลือกในการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะในย่านเมืองเก่า และ พื้นฟู การท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรม

ภาพที่ 1..5 : เทศกาลกินผัก ตะกั่วป่ า ที่มา http://oknation.nationtv.tv/blog/theeratatt2/2009/10/20/entry-1

1-06


1.4 ขัน้ ตอนและวิธีการศึกษา (ตารางที่ 1.1 : ผังแสดงขัน้ ตอนและวิธีการศึกษา) การเดินทางท่องเที่ยว

หนังเรื่อง มหาลัยเหมืองแร่

ชุ ม ชนตลาดใหญ่ ต ะกั่ว ป่ าพั ง งา สนใจในเรื่ อ งของประวั ติ ศ าสตร์ วัฒนธรรมพื้นถิ่น

ฉากในหนังสามารถเก็บรายละเอียด ยุ คทองของเหมืองแร่ดบี ุ กได้อย่าง ครบถ้วน

การศึกษาความเป็นมา

ข้อมู ลการสารวจพื้นที่

เหตุผลที่เกิดโครงการนี้

การศึกษาข้อมู ลเบื้องต้น

ประวัติศาสตร์วิถชี ี วิต วัฒนธรรม ตัง้ แต่อดีตจนถึงปั จจุ บัน ความเป็นไปได้ของโครงการ

แนวคิดในการออกแบบ

1-07

กลุ่มเป้าหมาย

สถานที่ตงั้ โครงการสภาพแวดล้อม โดยรวมปั ญหาทางกายภาพ

แผนพัฒนาตะกั่วป่ า พังงา (พ.ศ. 2560-2564)แนวทางการ อนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า การอนุรักษ์และการท่องเที่ยวเชิ ง

กฎหมายผังเมืองและการอนุรักษ์ รวบรวมข้อมู ล

แบบสถาปั ตยกรรม-หุ่นจาลอง

นโยบายรองรับ

ประเด็น ปั ญหา อดีตนครหลวงแห่งดีบุก บาบ๋า - ย่าหย๋า ตะกั่วป่ า อาคารเก่าชิ โนโปรตุกีส เทศกาลถือศิลกินผัก

วิเคราะห์

ขัน้ ตอนการนาเสนอผลงาน

สร้างแนวความคิดในการออกแบบ

ลักษ สร้างทางเลือก

การออกแบบเบื้องต้น

วัฒนธรรม พัฒนาแบบ


1.5 ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รับจากการศึกษาโครงการ 1.5.1 สามารถวิเคราะห์ข้อมู ลทางประวัติศาสตร์ ที่จะนาไปสู่เหตุผลในการเกิดโครงการรวม ไปถึงแนวทางในการออกแบบสถาปั ตยกรรมเพื่อฟื้ นฟู แหล่งท่องเที่ยววัฒนธรรม 1.5.2 รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมู ลเกี่ยวกับทฤษฎี การออกแบบ และประเภทการใช้ ง านพื้ น ที่ ป ระเภท สาธารณะ เพื่อเป็นทางเลือกในการ จัดสรรพื้นที่ภายในโครงการ 1.5.3 วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการใน ด้านต่างๆ และศึกษาแนวทางในการอนุรักษ์ประเพณี วิถีชีวิต ซึ่ งเป็นรากฐานของชุ มชนตะกั่วป่ าต่อดีตจนถึง ปั จจุ บันให้เหมาะสมกับการใช้งานพื้นที่ภายในโครงการ ภาพที่ 1.6 : บริษัท เรือขุดแร่จุติ ที่มา ภาพถ่ายโดย นาย ธนชิ ต บาเพ็ญผล , 2560

1-08


ภาพที่ 2.1 : ภาพประกอบบทที่ 2 ที่มา http://jaymantri.com/

2-01


LITERATURE REVIEW AND CASE STUDY บทที่ 2 หลักการออกแบบและทฤษฎีท่เี กี่ยวข้อง

2-02


2.1 ความหมายและคาจากัดความ โค รง กา รป รั บ ปรุ งฟื้ นฟู พื้ น ที่ เ มื อ งเ ก่ า ตะ กั่ ว ป่ า แ ล ะ ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ชิ ง วั ฒ น ธ ร ร ม คื อ โ ค ร ง ก า ร จ ะ ช่ ว ย ส่ ง เ ส ริ ม แ น ว ท า ง ก า ร อ นุ รั ก ษ์ เ มื อ ง เ ก่ า ต ะ กั่ ว ป่ า ให้ มี ค ว า ม ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ก า ร ป รั บ ป รุ ง ฟื้ น ฟู พื้ น ที่ ส า ธ า ร ณ ะ เ พื่ อ ต อ บ ส น อ ง ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ใ น พื้ น ที่ ซึ่ งต้ อ งการพลิ ก ฟื้ นความทรงจ าในอดี ต ที่ เคย รุ ่ ง เ รื อ ง ใ ห้ ก ลั บ ม า อี ก ค รั้ ง โ ด ย ใ ช้ ต้ น ทุ น ท า ง ปร ะวั ติ ศ า ส ตร์ วั ฒน ธร ร มที่ เ ป็ น เ อก ลั ก ษ ณ์ ข อ งช า ว ต ะ กั่ ว ป่ า เ พื่ อ ห วั ง ที่ จ ะ พ ลิ ก ฟื้ น เ มื อ ง เ ก่ า ต ะ กั่ ว ป่ า ขึ้ น ม า อี ก ค รั้ ง เ ห มื อ น ก า ร ร ว ม ข อ ง เ ก่ า ที่ ห า ย ไ ป ภ า ย ใ ต้ บ ริ บ ท ข อ ง พื้ น ที่ ที่ ยั ง ค ง ไ ว้ ซึ่ ง เ รื่ อ ง ร า ว ใ น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ วั ฒ น ธ ร ร ม ป ร ะ เ พ ณี แ ล ะ วิ ถี ชี วิ ต ข อ ง ค น ต ะ กั่ ว ป่ า แ ล ะ เ ป็ น แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ชิ ง วั ฒ นธรรมอี ก หนึ่ งของจั ง หวั ด พั ง งา

ภาพที่ 2.2 : ป้ายบอกทางบริเวณถนน อุ ดมธารา ที่มา http://www.phuketneophoto.com/

2-03


ภาพที่ 2.3 : โรงแร่จุติ ตะกั่วป่ า ที่มา http://www.phuketneophoto.com

2-04


2.2 ความเป็นมาของเรื่องที่ศึกษา 2.2.1 รุ ่งเรืองเหมืองแร่ นับตัง้ แต่สมัยรัชกาลที่ 5 เมืองตะกั่วป่ าถูกจัดฐานะ เป็นจังหวัด ประกอบด้วย 3 อาเภอ คือ อาเภอตะกั่วป่ า อาเภอ คุร ะบุ รี และอ าเภอกะปง จนกระทั่ ง ปี พ.ศ. 2456 ได้ ย้ า ยตั ว เมืองไปตั้งที่บ้านย่านยาว ตาบลตะกั่วป่ า คือ อาเภอตะกั่วป่ า ปั จจุ บันและเป็นใจกลางความเจริญของเมืองตะกั่วป่ ามาจนถึง ปั จจุ บั น แต่ เ นื่ อ งจากแหล่ ง น้ า ตื้ น เขิ น ไม่ ส ามารถเดิ น เรื อ ได้ เช่ นเดิม ทาให้ความสาคัญของบ้านตลาดใหญ่หมดความสาคัญ ลงไป (โครงการกาหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่าตะกั่วป่ า ,2560) ในยุ คเหมื อ งแร่ เ ฟื่ องฟู สมั ย รั ช กาลที่ 7 เพราะ บริ เ วณนี้ อุ ดมสมบรู ณ์ ด้ ว ยแร่ ดี บุ ก จึ ง มี ค นจี น อพยพเข้ า มา ท างานในเหมื อ งแร่ เ ป็ น จ านวนมาก และทั่ ง ร่ อ งรอยของ วัฒนธรรมที่ผสมผสานกันระหว่างตะวันออกและตะวันตก เห็น ได้จากอาคารบ้านเรือนร้านค้าของชาวจีนที่เรียกว่า “ชิ โนโปร ตุกีส” บริเวณถนนอุ ดมธารา และถนนศรีตะกั่วป่ า (ตลาดใหญ่)

ภาพที่ 2.4 : ถนนสายวัฒนธรรม ที่มา hthttp://www.phuketneophoto.com/

2-05


แต่ปั จ จุ บั น การท าเหมือ งแร่ ดี บุ กนั้น ได้ ยุ ติ ล ง เส้นทางการค้าทางเรือที่เคยรุ ่งเรืองก็ได้ยุติลง ทาให้จาก เมื อ งใหญ่ ถู ก ลดความส าคั ญ ลงเหลื อ เพี ย งชุ ม ชนเล็ ก ๆ ด้ ว ยกาลเวลาที่ เ ปลี่ ย นไปเมื่ อ พิ ษ ของ เศรษฐกิ จ เข้ า ครอบง า ท าให้ ร าคาดี บุ กตกต่ าส่ ง ผลกระทบกั บ เมื อ ง ตะกั่ ว ป่ าให้ ซ บเซาลงตามราคา ของเหมื อ งแร่ ข อง ตลาดโลกตามไปด้ ว ย แม้ เ หมื อ งแร่ ดี บุ กจะปิ ดตั ว ลงไป พร้อมกับยุ คความรุ ่งเรือง ของเหมืองแร่ในตะกั่วป่ าสิ่งที่ ยังคงเหลือร่องรอยไว้เป็นหลักฐาน การเจริญเติบโตของ เมืองทาให้ผู้คนเข้าไปทางานในพื้นที่เมืองกันมาก ชุ มชน ตลาดใหญ่แห่งนี้จึงกลายเป็นชุ มชนที่เงียบเหงา ทรุ ดโทรม มีผู้สูงอายุ เป็นส่วนใหญ่ท่ ยี ังอาศัยอยู ่แห่งนี้ แต่ก็ ยั ง มี ก ลุ่ ม คนที่ ยั ง รั ก และแห่ ง คุ ณ ค่า ของ ชุ มชนร่วมกันฟื้ นฟู ให้ชุมชนกลับมามีกิจกรรมต่างๆเพื่อ กระตุ้นการท่องเที่ยวของชุ มชน อีกทัง้ ชุ มชนตลาดใหญ่ยัง ได้ รั บ การขึ้ น ทะเบี ย นเป็ น ชุ ม ชนอนุ รั ก ษ์ โดยส านั ก งาน นโยบายและแผนทรัพยากรสิ่งแวดล้อม

ภาพที่ 2.5 : ตานานที่ยังมีลมหายใจ ที่มา http://jaymantri.com/post/

2-06


เมืองท่าตะโกลา

กรรมกรจีนในเหมืองแร่ดบี ุ ก

ที่ว่าการจังหวัดตะกั่วป่ า

ชุ มชนคนจีนในตะกั่วป่ า

เมื อ งตะกั่ ว ป่ าขึ้ น อยู ่ กั บ เมื อ ง พังงา

มี ช า ว จี น อ พ ย พ เ ข้ า ม า ท า เหมืองแร่ดีบุกที่ตะกั่วป่ าและได้ ตั้ ง ตั ว เป็ น อั่ ง ยี่ 3 พวก คื อ พวกไฮ่ เ ซ่ ง พวกปนเถาก๋ ง และพวกยี่หิน เกิดกบฏอั่งยี่จีน ขึ้นทัง้ ที่ ภูเก็ต ระนองและตะกั่ว ป่ า

มีการแก้ไขการปกครอง มณฑล เมืองตะกั่วป่ ามีฐานะเป็ นจังหวัด ขึ้นอยู ่ในการปกครองของมลฑล ถลาง (ภูเก็ต)

ได้แบ่งเขตหัวเมืองตะกั่วป่ าออกเป็น 3 อ าเภอ คื อ อ าเภอตลาดใหญ่ อาเภอเกาะคอเขาและอาเภอกะปง

พ.ศ. 2388 - 2404

ตารางที่ 2.1 : ตารางแสดงวิวัฒนการของเมืองตะกั่วป่ า ที่มา วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล , 2560

2-07

พ.ศ. 2419

พ.ศ. 2437

พ.ศ. 2441


เมืองท่าตะโกลา นคร

ยุ คตกต่ าของเหมืองแร่

ย้า ยเมื อ งตะกั่ ว ป่ าไปตั้ง ที่ เกาะคอเขาทางปากน้าตะกั่วป่ าเพื่อ สะดวกในการคมนาคมในการขน ถ่ายสินค้าและการค้าขาย

เศรษฐกิจของประเทศและทั่ว ่ โลกตกตาอย่างมาก จึงมีพระบรมรา ชองการให้ยุบจังหวัดตะกั่วป่ าลงเป็ น อ าเภอ (โดยเปลี่ ย นชื่ อจากอ าเภอ ตลาดใหญ่เป็นอาเภอตะกั่วป่ า) ขึ้นต่อ จังหวัดพังงา

พ.ศ. 2444

พ.ศ. 2475

เทศบาลเมืองตะกั่วป่ า จัดตัง้ เทศบาลเมืองตะกั่วป่ า

พ.ศ. 2480

2-08


2..2.2 ชิ โนโปรตุกีส ตลาดใหญ่ (โครงการกาหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่า ตะกั่วป่ า) จากประวัติเมืองตะกั่วป่ าพบว่า ชุ ม ชนเก่ า ที่ มี ส ถาปั ต ยกรรมชิ โ นโปรตุ กี ส เกิ ด ขึ้ น สมั ย ต้ น กรุ งรั ต นโกสิ น ทร์ จ นถึ ง รัชกาลที่ 7 การวางผังเมือง หรือการตั้ง ชุ ม ชนในยุ ค แรกของชุ ม ชนเมื อ งตะกั่ ว ป่ า (เก่ า ) ซึ่ งมี อ ายุ เ ก่ า แก่ ท่ี สุ ด จะตั้ง เมือ งอยู ่ บริเ วณคุ้ง น้ า ของแม่น้ าตะกั่ วป่ า ในจุ ดที่ น้ า ลึ ก ไหลช้ า ท าให้ ง่ า ยต่ อ การเที ย บเรื อ สินค้าขนาดใหญ่ และการตัง้ เมืองโอบล้อม ของหุ บ เขาลั ก ษณะของที่ ดิ น เป็ น ผื น แคบ ยาวเกาะไปตามถนน มีความลึกของที่ดิน ไม่ แ น่ น อน รู ปแบบทางศิ ล ปกรรมและ ลักษณะของตัวอักษรศิลาจารึกที่พบในเขต อ าเภอตะกั่ ว ป่ า แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง อิ ท ธิ พ ล ของชาวอิ น เดี ย ใต้ แ ละชาวจี น ฮกเกี้ ย น ตามลาดับ ภาพที่ 2.6 : ภาพอดีตบริเวณถนน ศรีตะกั่วป่ า ที่มา http://collections.lib.

2-09

ลักษณะของสถาปั ตยกรรมแบบชิ โน โ ป ร ตุ กี ส ห รื อ อ า ค า ร ยุ ค อ า ณ า นิ ค ม (COLONIAL STYLE) ถ้าเป็ นอาคารสองชั้ นกึ่ง ร้ า นค้ า กึ่ งที่ อยู ่ อ าศั ย (SHOP-HOUSE OR SEMI RESIDENTAIL) จะมีด้านหน้าอาคารที่ชั้น ล่างมีช่องโค้ง (ARCH) ต่อเนื่องกันเป็นระยะๆ เพื่อให้เกิดการเดินเท้าหรือที่ภาษาจีนฮกเกี้ยน เรี ย กว่ า “หง่ อ คาขี่ ” ซึ่ งมี ค วามหมายว่ า ทางเดินกว้าง 5 ฟุ ต นอกจากอาเขตแล้วจะมี การน าลวดลายศิ ล ปะตะวั น ตกแบบกรี ก โรมั น หรื อ เรี ย กว่ า “ยุ ค คลาสสิ ก ” เช่ น หน้ า ต่ า งวง โ ค้ ง เ กื อ ก ม้ า ห รื อ หั ว เ ส า แ บ บ ไ อ โ อ นิ ก ผสมผสานศิ ล ปะจี น คื อ ลวดลายการตกแต่ ง ไม่ว่าจะเป็นภาพประติมากรรมนูนต่ าหรือนูนสูง ทาด้วยปู นปั้ นระบายสีของช่ างฝี มือจีนประดับ อยู ่บนโครงสร้างอาคารแบบชิ โนโปรตุกีส


หลังคากระเบื้อง

ผนังแยกระหว่างตึก

กาบกล้วย (กาบู ) ขอบหน้าต่าง

แผ่นลายฉลุ

เสาหิน

หัวเสา

ช่ องแสง

ตัวเสา

บานหน้าต่าง

ฐานเสา

ปู นฉาบชั้ นสอง

ติดผนัง

ช่ องลม

ประตูระเบียงบานใหญ่ หน้าต่างเหล็กดัด เสาหิน ภาพที่ 2.7 : ภาพอดีตบริเวณถนน ศรีตะกั่วป่ า

ภาพที่ 2.8 : ร้านแป๊ะซาเต ร้านกาแฟหัวโค้ง

ที่มา สถาปั ตยกรรมในมุ มมองที่เงียบเหงา ,2555

ที่มา http://collections.lib.uwm.edu

2-10


กลุ่มชุ มชนเก่าที่อยู ่ในเมืองตะกั่วป่ าที่มีสถาปั ตยกรรม แบบ ชิ โนโปรตุกีส สามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ประเภทที่ 1 ได้แก่ อาคารชิ โนโปรตุกีสที่มีโครงสร้างเป็น ผนังรับน้ าหนัก มีอาเขตด้านหน้าอาคารและมีลวดลายประดับ อาคารเป็นแบบยุ โรป เช่ น ที่หัวเสา ปู นปั้ นประดับผนังอาคารหรือ ขอบหน้ า ต่ า ง โดยนั บ รวมถึ ง อาคารทรงจี น จะไม่ ค่ อ ยมี ก าร ตกแต่งลวดลายใดๆ บนอาคารกลุ่มนี้ ประเภทที่ 2 ได้ แก่ อาคารชิ โนโปรตุกี ส ประยุ ก ต์ เป็ น อาคารที่มีโครงสร้างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก (ค.ส.ล) จะมีอาเขต หรือไม่ก็ได้ แต่ต้องมีลวดลายประดับอาคารในส่วนต่างๆ ไม่ว่า จะเป็นลวดลายแบบจีนหรือยุ โรป ประเภทที่ 3 ได้แก่ สถาปั ตยกรรมท้องถิ่นเป็นอาคาร เรือนแถวไม้ท่พ ี บเป็นส่วนใหญ่ในพื้นที่ มีอาเขตหรือไม่ก็ได้ โดยมี หลักการพิจารณา คือ ความหนาแน่น ความต่อเนื่อง หรือการ กระจุ กตัวของอาคาร และตาแหน่งที่ตั้งและบทบาทการใช้สอย อาคาร

ภาพที่ 2.9 : ยุ คต่างๆของ อาคารชิ โนโปรตุกีส (บน,กลาง,ล่าง) ที่มา http://www.phuketneophoto.com

2-11


บริเวณชุ มชนตลาดเก่า (ตลาดใหญ่) ซึ่ งถือเป็นย่านเก่า หรือเมืองเก่าของเมืองตะกั่วป่ าในปั จจุ บัน โดยบริเวณที่แสดงให้ เห็ น ถึ ง ความเป็ น เมื อ งเก่ า ได้ แ ก่ จวนเจ้ า เมื อ งวั ด หน้ า เมื อ ง อาคารบ้านเรือนรู ปทรงชิ โนโปรตุกีส และอาคารสมัยเก่าของผู ้มี ฐานะ เช่ น บ้านขุ นอินทร์ ซึ่ งเป็นลูกหลานของตระกูล ณ นคร (เจ้าเมืองนคร) สาหรับรู ปแบบการสร้างอาคารแบบชิ โนโปรตุกีส นั้นได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการก่อสร้างอาคารมาจากพระ ยารัษฎานุประดิษฐ์ (อดีตเจ้าเมืองตรัง) ซึ่ งเคยดารงตาแหน่งเป็น เจ้าเมืองตะกั่วป่ าในอดีต แต่ในปั จจุ บันอาคารแบบชิ โนโปรตุกีส ดั ง กล่ า วได้ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงไปหลายหลั ง เนื่ อ งจากการ ปรั บ ปรุ งอาคารที่ ท รุ ดโทรมโดยเจ้ า ของเอง และจากการ เปลี่ยนแปลงอันเนื่องจากการขยายถนนเมื่อประมาณ 20 ปี ก่อน (โครงการกาหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่าตะกั่วป่ า ,2560)

ภาพที่ 2.10 : สีสันของอาคารเก่า ที่มา http://www.phuketneophoto.com

2-12


2.2.3 บาบ๋า - ย่าหยาตะกั่วป่ า ชุดการแต่งกายของ “บะบ๋า บ่าหยา” นับว่า เป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของพืน้ ทีเ่ มืองเก่าตะกัว่ ป่ า แสดง ถึงการผสมผสานทางวัฒนธรรมของชนชาวจีน-มลายูทม่ ี ี

การรับเข้ามาจากอดีตเป็นกลุ่มลูกครึ่งมลายู -จีนที่มี วัฒนธรรมผสมผสานมีการสร้างวัฒนธรรมแบบใหม่ขนึ้ มา โดยเป็นการนาวัฒนธรรมจีน และมลายู มารวมกันคนใน ชุมชนตะกัว่ ป่ ามีการอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรมผ่านเครือ่ งแต่งกาย โดยประกอบการสร้างผ่านกิจกรรม โดยน าชุดพืน้ เมือง บะบ๋า ย่าหยา มาใส่จากอดีตทีเ่ คยสวมใส่ตามบ้านเรือนและ ได้เลือนหายไปตามอดีต (อัตลักษณ์และการแต่งกาย ชาวบาบ๋าฝั่ งทะเลอันดามัน ,2560)

ภาพที่ 2.11 : บาบ๋า ย่าหยา ตะกั่วป่ า ที่มา http://www.phuketneophoto.com/forums

2-13


2.2.3.1 บทบาท ของชาวจี น และลู ก บาบ๋ า ทางด้านสังคมและวัฒนธรรมในเมืองตะกั่วป่ า 2.2.3.2 ทางสังคม มีการรักษาขนบธรรมเนียม ประเพณี ด่ั ง เดิ ม ของตนไว้ อ ย่ า งชั ด เจน เช่ น การสร้ า ง “อ๊า ม” (ศาลเจ้ า ) เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ก ลางของชุ ม ชน ในการ พบปะพู ดคุ ย และร่ ว มท ากิ จ กรรมต่ า งๆ ต่ อ มามี ก ารตั้ ง สมาคมและโรงเรียนจีน เพื่อลูก หลานที่เกิ ดมาได้เล่าเรีย น ภาษาจี น ของพ่ อ ซึ่ งจะก่ อ ตั ว เป็ น สายใยถั ก ทอความ ผู กพัน ที่ จ ะส่ ง ลู ก ไปเรี ย นต่ อ เมื อ งปี นั ง อั น เป็ น รากเหง้ า บรรพชนของพ่อ 2.2.3.3 ทางวัฒนธรรม วิถีชีวิตของชาวจีน ในเมืองตะกั่วป่ าจะมีความคล้ายคลึงกับชาวจีนในเมืองปี นัง เช่ น ประเพณี ท้ อ งถิ่ น วั ฒ นธรรมทางภาษา อาหาร ความเชื่ อ พิธีกรรม พิธีแต่งงาน และอัตลักษณ์การแต่ง กาย อดีต (อัตลักษณ์และการแต่งกายชาวบาบ๋าฝั่ งทะเล อันดามัน ,2560)

ภาพที่ 2.12 : พิธีแต่งงาน บาบ๋า ที่มา http://www.phuketneophoto.com/forums/

2-14


2.2.4 เทศกาลกินผัก ตะกั่วป่ า (พิธีกรรมกินเจในสังคมชาว จีนภาคใต้: กรณีชาวจีนในอาเภอตะกั่วป่ า จังหวัดพังงา ) เมื่อถึงช่ วงเทศกาลถือศีลกินผัก ก็ถึงเวลาที่ศาลเจ้าพ่อ กวนอู (ซิ่ นใช่ ตึ๋ ง ) จะถู ก ใช้ เ ป็ น สถานที่ ป ระกอบพิ ธี ก รรมต่ า ง ๆ มากมาย และที่น่าสนใจมากที่สุดคือพิธีแห่พระ ซึ่ งจะแตกต่างจาก ของภูเก็ต ตรงที่จะแห่เพียง 2 วันเท่านั้น คือวันขึ้น 6 ค่ า และขึ้น 9 ค่ า (วันส่งพระ) เดือน 9 ตามปฎิทินจีน เดือน 9 ขึ้น 6 ค่ า (เก้าโง๊ยเช่ ล้าก) ตามปฏิทินจีน จะทาพิธี อัญ เชิ ญเทพเจ้าและกิ่ว อ๋อ งไต่เ ต่อ อกแห่ ไปทั่ว ตลาดตะกั่ว ป่ า โดย มีฮวดกั้ว ม้าทรง และประชาชนมารวมตัวกันเพื่อประกอบพิธีกรรม ก่อนทาการเคลื่อนขบวนไปตามท้องถนน ถือได้ว่าเป็นวันรวมญาติ ของชาวตะกั่วป่ า เพราะลูกหลานที่ไปเรียน หรือทางานต่างจังหวัด ก็ จะกลับมาอยู ่พร้อมหน้า ทาให้ย่านตลาดเก่าตะกั่วป่ ากลับมาคึกคัก อีกครัง้ (สถาปั ตยกรรมในมุ มมองที่เงียบเหงา ,2555)

2-15

ก่อนพิธีกินผักจะเริ่ม 1 วัน จะมีการทาความสะอาด ศาลเจ้า รมกายานไม้หอม และมีการยกเสาธงไว้หน้าศาลเจ้า สาหรับ อันเชิ ญดวงวิญญาณของเจ้า เที่ยงคืนก็ประกอบพิธีอัญเชิ ญยกอ๋อง ฮ่องเต้ (พระอิศวร) และกิ๋วอ๋องไตเต หรือกิวอ่องฮุ ดโจ้ว (ผู ้เป็นใหญ่ ทั้ง 9) มาเป็นประธานในพิธี จากนัน้ ก็แขวนตะเกียงน้ามัน 9 ดวง อัน เป็นสัญลักษณ์ของดวงวิญญาณกิ๋วอ๋องไตเต ไว้บนเสาธง อันเป็น การแสดงว่าพิธีกินผักเริ่มขึ้นแล้ว ประเพณีกินผักในจังหวัดพังงา โดยเฉพาะที่อาเภอตะกั่ว ป่ า ในการทาพิธีกินผัก ผู ้คนที่ร่วมพิธีจะล้างทาความสะอาดอุ ปกรณ์ ที่จะใช้ประกอบอาหารจนสะอาดหมดกลิ่นคาว บ้างก็ใช้ภาชนะชุ ดใหม่ ในการประกอบอาหารหรือใส่อาหารผัก บ้างก็ไปรับประทานอาหารที่ โรงครัว ในช่ วงกินผักนี้ผู้ท่ ีเคร่งครัดในพิธีจะแต่งกายด้วยเสื้อผ้าสี ขาวตลอดทั้ง 9 วัน โรงครัวของศาลเจ้าจะรับภาระหนักมากในเรื่อง การประกอบอาหารให้กับผู ้ท่ ีร่วมกินผัก ผู ้ใดที่ประสงค์จะรับอาหาร จากศาลเจ้าต้องไปลงชื่ อแจ้งความประสงค์บอกจานวนบุ คคลในบ้านที่ ร่วมกินผัก และจานวนวัน เพื่อว่าโรงครัวจะได้จัดเตรียมอาหารได้ เพียงพอ เมื่อถึงเวลาอาหารจะนาปิ่ นโตตักอาหารไปรับประทานที่บ้าน และเนื่องจากจานวนของผู ้ร่ว มกิ นผั กมี มากทางโรงครัว จึง ต้อ งหา อาสาสมั ค รมาช่ วยงานครั ว เป็ น จ านวนมาก ส าหรั บ อาหารและ ค่าใช้จ่ายในโรงครัวนัน้ ได้รับบริจาคจากผู ้มีใจศรัทธา และบุ คคลทั่วไป และจากผู ้เข้าร่วมกินเจ (สถาปั ตยกรรมในมุ มมองที่เงียบเหงา ,2555)


ภาพที่ 2.13 : (บน,ล่าง) เทศกาลกินผัก ตะกั่วป่ า ที่มา https://pantip.com/topic/32700859

2-16


2.3 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้อง 2.3.1 ยุ ทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดพังงา (แผนพัฒนาจังหวัดพังงา พ.ศ. 2560-2564) ประกอบด้วย 5 ประเด็นยุ ทธศาสตร์ โดยเรียงตาม ลาดับความสาคัญ ดังนี้

ประเด็นยุ ทธศาสตร์ท่ี 1 : สร้างเสริมคุณภาพการ ท่องเที่ยวเชิ งนิเวศครบวงจร ประเด็นยุ ทธศาสตร์ท่ ี 4 : ยกระดับคุณภาพชี วิตที่ ดี สร้างสังคมมั่นคงน่าอยู ่ ประเด็นยุ ทธศาสตร์ท่ ี 5 : สร้างเสริมระบบความ มั่นคงปลอดภัยในชี วิตและทรัพย์สิน

2.3.2 แนวทางการอนุรกั ษ์และพัฒนาเมืองเก่าตะกั่วป่ า การพัฒ ั นาเมืองพังงาอย่างสมดุล ทางด้านเศรษฐกิจสังคมและ สิง่ แวดล้อมบนอัตลักษณ์ของชุมชน โครงการศึกษาความเหมาะสมเพือ่ ปรับปรุ งฟิ้ นฟู พืน้ ที่เมืองเก่าตะกั่วป่ าและส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิ ง วัฒนธรรม (โครงการกาหนดขอบเขตพืน้ ทีเ่ มืองเก่าตะกัว่ ป่ า สานักงาน นโยบายทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม) 2.3.3 การกาหนดขอบเขตเมืองเก่าตะกั่วป่ า ในการอนุรกั ษ์จาเป็นที่จะต้องอนุรกั ษ์ทงั้ อาคารสภาพแวดล้อม และบริเวณที่มคี ณ ุ ค่า ซึ่งมักมีความแตกต่างกันไปทัง้ จากปั จจัยด้าน ประวัตศิ าสตร์โบราณคดีความเก่าแก่(อายุ) คุณค่าด้านสถาปัตยกรรม ศิลปกรรม และสภาพอาคารรวมทั้ง คุณ ค่าด้านการเป็ น องค์ประกอบของเมืองเก่าของโบราณสถาน และสถานทีส่ าคัญนัน้ การ ประเมินเพื่อจัดลาดับความสาคัญ เป็นแนวทางหนึ่งที่ทาให้ทราบถึง คุณค่าตลอดจนระดับคุณค่าของโบราณสถานอาคารและสถานที่ เหล่านัน้ อันเป็นประโยชน์ในการกาหนดขอบเขตพืน้ ที่เมืองเก่า และ ความสาคัญของพืน้ ที่ (Zones) (โครงการกาหนดขอบเขตพืน้ ทีเ่ มืองเก่า ตะกัว่ ป่ า สานักงานนโยบายทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม)

ภาพที่ 2.14 : ภาพแสดงผังเมืองตะกั่วป่ า ที่มา โครงการกาหนดขอบเขตเมืองเก่าตะกั่วป่ า

2-17


2.4 ทฤษฎีหรือแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ 2.4.1 การอนุรักษ์เมืองเก่า 2.4.1.1 แนวคิดการอนุรักษ์เมืองและย่านประวัติศาสตร์ (โครงการนามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม ประเภท ย่านชุ มชนเก่า ) การทบทวนแนวคิดด้านอนุรักษ์เมืองมีเนือ้ ใน 6 ด้านคือ กฎบัตรและมาตรฐานระหว่างประเทศที่เกี่ยวกับการอนุรกั ษ์เมือง แนวคิดหลักการของการอนุรักษ์ชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อม ทางวัฒนธรรม แนวคิดการสร้างสรรค์สถาปั ตยกรรมบ้านเมือง แนวคิดและหลักการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า แนวทางการ รักษา เอกลักษณ์ ภูมิทัศน์ และการฟื้ นฟู เมืองเก่า และขอบเขต การอนุรักษ์ส่ งิ แวดล้อมศิลปกรรม (แนวทางการพัฒนาบนวิถี ชี วิตไทย, 2552

ภาพที่ 2.15 : การอนุรักษ์ยา่ นเมืองเก่า ที่มา โครงการกาหนดขอบเขตเมืองเก่าตะกั่วป่ า

2-18


2.4.1.2 ประเภทของสิ่งที่ควรอนุรักษ์ (โครงการนามาตรฐาน คุณภาพสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม ประเภทย่านชุ มชนเก่า ) สิ่งที่ควรอนุรักษ์มีอยู ่หลายประเภท ทั้งที่เป็นรู ปธรรมหรือกายภาพ มีตั้งแต่ ขนาดใหญ่ เช่ น เมือง พื้นที่บางส่วนของเมืองหรือบริเวณ ไป จนถึง ขนาดเล็ ก วั ต ถุ ห รื อ ชิ้ น ส่ ว นของอาคาร และอาจรวมถึ ง สิ่ ง ที่ เ ป็ น นามธรรม เช่ น ประเพณี วิถีชีวิต เป็นต้น ประเภทของสิ่งที่ควรอนุรักษ์มี อยู ่หลากหลาย ก) ความสัมพันธ์ของเมือง หรือพื้นที่เมืองกับที่ตั้งที่อยู ่โดยรอบ ทัง้ ที่เป็นธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น บทบาทหน้าที่ท่หี ลากหลายของเมืองหรือพื้นที่เมืองที่ส่งั สมมาตามกาลเวลา ข) ย่านและชุ มชนย่อย (Districts and Neighborhoods) ในเมือง ทุกเมืองมักจะมีย่านที่มีความสาคัญทางด้านประวัติศาสตร์ หรือมีความ สวยงามทางด้านสถาปั ตยกรรมของกลุ่มอาคาร หรือ ภูมิทัศน์ของชุ มชน ชุ มชนย่อยเป็นที่อยู ่อาศัยของกลุ่มชนบางกลุ่มที่มีเชื้ อชาติลักษณะทางสังคม วัฒนธรรมและวิถีชีวิตที่นา่ สนใจและแตกต่างไปจากบริเวณอื่นๆ (โครงการ น ามาตรฐานคุ ณ ภาพสิ่ งแวดล้ อ มศิ ล ปกรรม ประเภทย่ า นชุ มชน เก่า ,2560 )

ภาพที่ 2.16 : เพิ่มคุณค่าให้เมืองเก่า ที่มา https://www.pinterest.com/

2-19


ค) มรดกทางวัฒนธรรม (Cultural Heritage) มรดทางวัฒนธรรมอาจปรากฏเป็นรู ปร่างที่ชัดเจน เช่ น อาคาร สิ่ ง ก่ อสร้า ง สถานที่ หรื อเป็ น นามธรรม เช่ น ประเพณี พิธีกรรม วิถีชีวิต ฯลฯ

2.4.1.3 ย่านเมืองเก่าตะกั่วป่ า ฉ า ก ข อ ง อ ดี ต ที่ ถู ก เ ก็ บ อ ยู ่ ภ า ย ใ ต้ สถาปั ตยกรรมอันเก่าแก่ได้ถูกนามาประกอบสร้าง เป็ น กิ จ กรรมในการอนุ รั ก ษ์ ทั้ ง ทางนิ ท รรศการ

มรดกทางวั ฒ นธรรม เป็ น ค่ า ที่ นิ ย มใช้ อ ย่ า ง

วัฒนธรรม ประเพณี ถนนคนเดินสายวัฒนธรรม

แพร่ ห ลาย มี ค วามหมายลึ ก ซึ้ ง กว้ า งขวางและ ครอบคลุมสิ่งที่สมควรได้รับการอนุรักษ์เกือบทุกประเภท

เ ป็ น ต้ น ล้ ว น จั ด ขึ้ น ภ า ย ใ ต้ ฉ า ก ห ลั ง ข อ ง สถาปั ตยกรรม ที่ ใ นพื้ น ที่ ย่ า นเมื อ งเก่ า ตะกั่ ว ป่ ามี

ซึ่ งในความหมายที่ครอบคลุมนี้สามารถสร้างกรอบของ

จุ ดเด่ น ที่ ดึ ง ดู ด กั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วตื อ เรื อ นแถวแบบ เตี้ยมฉู่ ทัง้ สองฟากฝั่ งของถนน และลวดลายปู นปั้ น

การอนุรักษ์ทงั้ ในมิติด้านกายภาพและไม่ใช่ กายภาพ อีก ทั้งยังรวมถึงปฎิสัมพันธ์ระหว่างกายภาพกับสิ่งที่จับต้อง ได้ยาก ทาให้มิติของการอนุรักษ์เกิดการขับเคลื่อนอย่าง มีชีวิตชี วาและมีพลวัตมากขึ้น (โครงการนามาตรฐาน คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ มศิ ล ปกรรม ประเภทย่ า นชุ ม ชน เก่า ,2560 )

ต่างๆ อาทิ เครือเถาผลไม้ มาลีระบัดช่ อ หรือสัตว์ ในนิทานปรัมปรา รวมทั้งหัวเสาแบบไอโอนิกและโคริ เทียนที่ประดับตัวอาคาร Purotakanon (2015) สิ่งที่ เป็นอัตลักษณ์และมีคุณค่าของย่านเมืองเก่าตะกั่วป่ า ถู ก น า ม า เ ป็ น จุ ด ที่ ถู ก ท า ใ ห้ เ ป็ น จุ ด ข า ย ท า ง วั ฒ นธรรมรั บ ใช้ ก ารท่ อ งเที่ ย วถวิ ล หาอดี ต ที่ เ คย เลื อ นหายไปแล้ ว ผ่ า นตึ ก อาคาร (พื้ น ที่ ย่ า นเมื อ ง เก่า : การประกอบอัตลักษณ์เพื่อการท่องเที่ยวถวิล หาอดีต)

ภาพที่ 2.17 : เฮง เฮง เฮง ที่มา ttps://pantip.com/topic/32700859

2-20


2.4.2 วีถีชีวิตของวัฒนธรรม 2.4.2.1 แนวคิดเกี่ยวกับวิถีชีวิต (Way of life) ไว้ ว่า วิถีชีวิตของมนุษย์ในสังคมถูกกาหนดโดยวัฒนธรรม ของมนุ ษ ย์ ตั้ง แต่เ กิ ด จนตาย ตั้ ง แต่ ต่ ื น นอนจนเข้ า นอน

พฤติกรรมต่าง ๆ ที่ม นุษย์ทาไม่ว่าจะเป็นการแปรงฟั น สวมใส่ เ สื้ อ ผ้ า เครื่ อ งประดั บ ตลอดจนการเล่ น กี ฬ า ดู โทรทัศน์ ล้วนแล้วแต่เป็นเรื่องของวัฒนธรรมทัง้ สิ้น (พวง เพชร สุรัตนกวีกุล, 2544)

2-21

2.4.2.2 ชุ ดแต่งกายบาบ๋า -ย่าหยา (พื้นที่ย่าน เมื อ งเก่ า : การประกอบอั ต ลั ก ษณ์ เ พื่ อการ ท่องเที่ยวถวิลหาอดีต) นอกจากถู ก ยกระดั บ ภายในหน่ ว ยงานแล้ ว การน าชุ ด บาบ๋ า -ย่ าหยา มาใช้ในการจัด งานและ กิจกรรมภายใต้บริบทเมืองเก่าตะกั่วป่ าการโหยหา อดีตในระดับสังคมที่มีการปรับทุนทางวัฒนธรรม

วั ฒ นธรรมเป็ น ตั ว กาหนดรู ป แบบของครอบครั ว

การแต่งกายในอดีตนามารื้อฟื้ น ตัด และตกแต่ง

เศรษฐกิ จ การปกครอง การศึ ก ษา ศาสนา เป็ น ต้ น วัฒนธรรมจะกาหนดว่า สิ่งใดดี สิ่งใดไม่ดี สิ่งใดถูก สิ่ง

ใหม่ อีกครัง้ ตามแบบยุ คสมัยและนาเป็นชุ ดพื้นเมือง ของตะกั่วป่ าอีกครั้งผ่านกิจกรรมต่างๆ ที่ร่วมกัน

ใดผิด รวมทั้งเป้าหมายในชี วิตว่าควรเป็นอย่างไร ฉะนั้น กิจกรรมทุกอย่างของมนุษย์ไม่ว่าจะเป็นการกิน การดื่ม

จั ด ขึ้ น ตามแบบฉบั บ ของเมื อ งของความเป็ น พหุ วั ฒ นธรรม อี ก นั ย หนึ่ ง เป็ น การยกระดั บ การ

การพู ด การอ่าน การเขียน การคิด การทางาน การเล่น การติดต่อสัมพันธ์ ล้วนแล้วแต่เป็นเรื่องของวัฒนธรรม

ท่องเที่ยวให้ผู้พบเห็นที่มีความสนใจในการแต่งกาย แบบพื้นถิ่นสามารถเลือกหาผ้าแบบบาบ๋า-ย่าหยาที่

ทัง้ สิ้น วัฒนธรรมจึงเป็นวิถีชีวิตของมนุษย์ในสังคม

ถูกนามาจัดจาหน่ายโดยคนในชุ มชนเพื่อตอบรับกับ กระแสการท่องเที่ยว


2.4.3 การท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรม 2.4.3.1 แนวคิดการท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรม (การ จั ด การการท่ อ งเที่ ย วเชิ งวั ฒ นธรรมของ วั ด โสธรวราราม วรวิหารจังหวัดฉะเชิ งเทรา”)

ก) การท่ อ งเที่ ย งเชิ ง ศิ ล ปวั ฒ นธรรม เป็ น การ ท่องเที่ ยวเพื่ อการชมหรือสัมผั ส ศิล ปวัฒนธรรมแขนงต่าง ๆ รวมทั้ ง งานเทศกาล ประเพณี ตลอดจนเที่ ย วชมมรดกทาง ประวัติศาสตร์ ที่เป็นแหล่งประวัติศาสตร์ โบราณสถาน และศา สนสถาน สามารถแบ่ ง ได้ เ ป็ น การท่ อ งเที่ ย ว เชิ งศิ ล ปกรรม ประเพณี และแหล่งประวัติศาสตร์ ข) กระแสความต้องการของนักท่องเที่ยวให้เกิดการ เรียนรู ้ในแหล่งท่องเที่ยว เป็นกระแส ความต้องการที่มีมากขึ้นกลุ่ม นักท่องเที่ยวที่ต้องการได้รับความรู ้ความเข้าใจเรื่องการท่องเที่ยว 15 มากกว่าความสนุกเพลิดเพลินเพียงอย่างเดียว เพื่อสร้างความ พึงพอใจให้แก่นักท่องเที่ยวในรู ปแบบใหม่

ภาพที่ 2.18 : มุ ่งสู่ วัฒนธรรม ที่มา http://jaymantri.com/

2-22


2.4.3.2 ตะกั่วป่ ากับการท่องเที่ยววิถีวัฒนธรรม (พื้นที่ย่าน เมือง เก่า : การประกอบอัตลักษณ์เพื่อการท่องเที่ยวถวิลหาอดีต) ถนนสายวัฒนธรรมตะกั่วป่ าเมืองเก่าเล่าความหลัง เป็นการ บอกเล่าเรื่องราวของอดีต ที่สอดแทรกภายใต้กิจ กรรมเพื่อ การ ย้อนอดีตวิถีของคนตะกั่วป่ าที่เคยมีในปั จจุ บันหรืออาจเลือนหายไป แล้ ว บ้ า งแล้ ว น ามาสร้ า งเป็ น ถนนคนเดิ น โดยน าทุ ต้ น ทุ น ทาง วัฒนธรรมที่มีวิถีชีวิตที่ เรียบง่ายของคนตะกั่วป่ าการผสมผสานระ หว่ า จี น แลไทยไว้ ผ่ า นกิ จ กรรม เป็ น การบอกเล่ า เรื่ อ งราวทาง ประวัติศาสตร์ท่ ีคนในชุ มชนร่วมกันจัดขึ้นทั้งมีการแสดงนิทรรศการ เรื่องเล่าจากอดีตซึ่ งถูกจัดขึ้นทุกวันอาทิตย์ของเดือนเมษายนถึง เดือนพฤษภาคม เวลา 15:00-21:00 เป็นต้นไป นักท่องเที่ยวจะได้ เงินทั้งการกิน การแต่งกาย วัฒนธรรมก็จะถูกนามาแสดงอีกครั้ง ผ่านภาพจาลองหรือการผลิต ฉายซ้ าที่ถูกเล่าผ่านเรื่องราวของ เมืองตะกั่วป่ าท่ามกลางถนนคนเดินตลอดทัง้ สาย

ภาพที่ 2.19 : การท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรม ที่มา http://jaymantri.com/

2-23


2.4.4 หลักการออกแบบ 2.4.4.1 พื้นที่สาธารณะ (isovist field) สิ่งปิ ดล้อมในพื้นที่ ชุ มชนหรือเมือง ตลอดจนการจัดวางตัวของพื้นที่นัน้ ที่ สัมพันธ์กับพื้นที่อ่ืนๆ มีผลทาให้ขนาดของสนามทัศน์

การวิเคราะห์ระดับสนามทัศน์ของพื้นที่ (space) ที่แตกต่างหลากหลายความสัมพันธ์

ในแต่ละตาแหน่งเปลี่ยนแปลงไป ซึ่ งจะส่งผลโดยตรงทา ให้ประสบการณ์และพฤติกรรมของคนภายในพื้นที่นั้นๆ

หรือไม่และอย่างไร จึงมีประโยชน์ต่อการระบุ

“สนามทัศน์”

เช่ น การเลือกเส้นทางการเข้าถึงเดินผ่าน หยุ ดพบปะ พู ดคุ ย ยื น นั่ ง แลกเปลี่ ย นข้ อ มู ลข่ า วสาร สิ น ค้ า

กับรู ปแบบการใช้พื้นที่ (space use pattern) หรือทานายลักษณะรู ปทรงและการจัดวางของ พื้นที่ว่างสาธารณะที่สัมพันธ์กับคุณภาพของ การใช้อย่างอเนกประโยชน์ในพื้นที่นนั้ ๆ ได้

บริการ หรือมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมในลักษณะต่างๆ (Benedikt 1976)

ภาพที่ 2.20 : พื้นที่สาธารณะ

ภาพที่ 2.21 : ภาพแสดงแนวคิดสาธารณะของพื้นที่สาธารณะในเมือง

ที่มา http://jaymantri.com/

ที่มา แนวคิดสาธารณะของพื้นที่สาธารณะในเมือง ,2560

2-24


2..4..4.2 รู ปแบบการจัดนิทรรศการ ก) นิทรรศการกลางแจ้ง (outdoor exhibition) เป็นการจัดนิทรรศการภายนอกตัว อาคาร และอาจจัดในสนามโดยใช้เต็นท์นิทรรศการประเภทนี้ มีขนาดใหญ่หรือเล็กขึ้นอยู ่กับ รู ปแบบ ลักษณะวิธี จั ดด้ ว ย และมี ขอบเขตการแสดงกว้ างขวาง นิ ท รรศการกลางแจ้ งแบบ ชั่ ว คราว อาจจะจั ด ในสนามโดยใช้ เ ต็ น ท์ ก าง และยกพื้ น ขึ้ น เพื่อ จั ด แสดงก็ ได้ นิ ท รรศการ กลางแจ้งแบบชั่ วคราวนี้ อาจจะมีขนาดใหญ่หรือเล็กก็ได้ เช่ น งานประจาปี งานฉลองเทศกาล ปี ใหม่ ข องจั ง หวั ด ต่ า งๆก็ จั ด ค่ อ น ข้ า งใหญ่ แต่ ห ากจั ด ประกอบงานพิ ธี อ่ ื น ๆก็ มั ก เล็ ก ลง นิทรรศการกลางแจ้งแบบเคลื่อนที่มักเป็นนิทรรศการขนาดย่อยที่สุดเช่ น รถเผยแพร่การทาหมัน ของโรงพยาบาล ซึ่ งอาจมีการฉายภาพยนตร์ สไลด์ หรือวีดีทัศน์ประกอบ

ข) นิทรรศการในร่ม (Indoor Exhibition) คือ นิทรรศการที่จัดใน บริเวณอาคารหรือจัดสร้างอาคารเพื่อแสดงนิทรรศการโดยวิธีแบบถาวร แบบชั่ วคราว หรือ แบบเคลื่อ นที่ก็ได้ นิทรรศการในร่มแบบถาวร เช่ น ใน อาคารของพิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ ก รุ ง เทพมหานาครหรื อ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ จังหวัด นิทรรศการในร่มแบบชั่ วคราวจัดขึ้นโดยมีระยะ เวลาแสดงแน่นอนมี จุ ดมุ ่ง หมาย แคบลงแต่ เด่ น ชั ด การจั ด นิท รรศการประเภทนี้ ผู้จัด มี ค วาม สะดวกในการเตรียมงานได้ดีกว่าจัดภายนอกอาคาร ค) นิทรรศการหมุ นเวียน (Traveling exhibition) หรือนิทรรศการ สั ญ จร หมายถึ ง นิ ท รรศการที่ จั ด ทาเป็ น ชุ ด ส าเร็ จ รู ปถาวร สามารถ เคลื่อนย้ายไปแสดงในที่ต่าง ๆ หมุ นเวียนสลับกันไปหรืออาจแสดงในรู ปของ รถเผยแพร่เคลื่อนที่ (Mobile units) ซึ่ งจัดแสดงเพียงครึ่งวันหรือหนึ่งวัน นิทรรศการประเภทนี้สามารถเข้าถึงบุ คคลเป้าหมายได้อย่างแท้จริงโดยเฉพาะ ในท้องถิ่นทุรกันดาร การคมนาคมไม่สะดวก

ภาพที่ 2.22 : การท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรม ที่มา http://jaymantri.com/

2-25


2.5 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับโครงการ 2.5.1 กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 “อาคารสาธารณะ” หมายความว า่ อาคารท ี่ใชเ้ พื่อ ประโยชน ใ์ นการชุ ม นุ ม คนได โ้ ดยทั่ ว ไป เพ ื่อ กิ จ กรรมทาง ราชการ การเมือง การศึกษา การศาสนา การสังคม การ นั น ทนาการ หรื อ การพาณิ ช ยกรรม เช น่ โรงมหรสพ หอประชุ ม โรงแรม โรงพยาบาล สถานศึกษา หอสมุ ด สนาม กี ฬ ากลางแจ ง้ สนามกี ฬ าในร ม่ ตลาด ห า้ งสรรพสิ น ค า้ ศูนยก์ ารคา้ สถาน บริการ ทาอากาศยาน อุ โมงค ส์ ะพาน อาคารจอดรถ สถานี ร ถ ท า่ จอดเรื อ โป ะ๊ จอดเรื อ สุ ส าน ฌานสถาน ศาสนสถาน

2.5.3 แนวอาคารและระยะต่างๆ ของอาคาร ก ) อ า ค า ร ที่ ก่ อ ส ร้ า ง ห รื อ ดี ด แ ป ล ง ใ ก ล้ ถ น น สาธารณะที่มีความ กว้างน้อยกว่า 6 เมตร ให้หล่นอาคารห่าง จากกึ่งกลางถนนสาธารณะอย่างน้อย 3 เมตร ข) อาคารที่ก่อสร้างหรือดัดแปลงใกล้แหล่งน้าสาธารณะ เช่ น แม่น้า คู คลอง สาราง หรือลากระโดง ถ้าแหล่งน้าสาธารณะนั้นมี ความกว้างน้อยกว่า 10 เมตร ต้องหล่นแนวอาคารให้ห่างจากเขต แหล่งน้าไม่น้อยกว่า 3 เมตร แต่ถ้าแหล่งน้ านั้นมีความกว้างตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไป ต้องหล่นแนวอาคารจากเขตแหล่งน้ าไม่น้อยกว่า 6 เมตร

2.5.2 ที่วา่ งภายนอกอาคาร อาคารสาธารณะ และอาคารอื่นๆ ซึ่ งไมไ่ ดใ้ ชเ้ ป็ นท ี่ อยู อ่ าศั ย ต อ้ งมีท่ีว า่ งไม น่ อ้ ยกว า่ 10 ใน 100 ส ว่ น ของ

พื้นที่ชั้นใดชั้นหนึ่งมากที่สุดของอาคาร

2-26


2.5.4 แบบและจ านวนห้ อ งน้ า ห้ อ งส้ ว มข้ อ 9 ห้ อ งน้ าและห้ อ ง

2.5.5 ห้องน้าคนพิการ

ส้ ว มจะแยกจากกั น หรื อ อยู ่ ใ นห้ อ งเดี ย วกั น ได้ แต่ ต้ อ งมี ลั ก ษณะที่ รั ก ษาความสะอาดได้ ง่ า ย

ต้องจัดให้มีห้องส้วมสาหรับผู ้พิการหรือทุพพลภาพ และ

ข) ที่จอดรถ อาคารขนาดใหญ่ ให้มีท่ จี อด รถยนต์ตามจานวนที่กาหนดของแต่ละประเภทอาคาร ที่ใช้

และต้ อ งมี ช่ องระบายอากาศไม่ น้ อ ยกว่ า ร้ อ ย ละ20ของพื้ น ที่ ห้ อ งหรื อ พั ด ลมระบายอากาศ

คนชราอย่ า งน้ อ ย 1 ห้ อ งในห้ อ งส้ ว มนั้ น หรื อ แยก

เป็นที่ประกอบกิจการในอาคารใหญ่นนั้ รวมกัน หรือมีท่ ี

ออกมาอยู ่ บ ริ เ วณเดี ย วกั น กั บ ห้ อ งส้ ว มสาหรั บ บุ คคล ทั่ ว ไปก็ ไ ด้ มี พื้ น ที ว่ า งภายในห้ อ งส้ ว มเพื่ อ ให้ เ ก้ า อี้ ล้ อ

จอดรถไม่น้อยกว่า 1 คันต่อ 120 ตารางเมตร

ได้ เ พี ย งพอระยะดิ่ ง ระหว่ า งพื้ น ห้ อ งถึ ง เพดาน ยอดฝา หรื อ ผนั ง ตอนต่ าสุ ด ต้ อ งไม่ น้ อ ยกว่ า 1.80 เมตร ในก รณี ท่ี ห้ องน้ า และห้ อ งส้ ว ม แยกกั น ต้ อ งมี ข นาดพื้ น ที่ ข องห้ อ งไม่ น้ อ ยกว่ า 0.90เมตร แต่ ถ้ า ห้ อ งน้ า และห้ อ งส้ ว มรวมอยู ่ ในห้ อ งเดี ย วกั น ต้ อ งมี พื้ น ที่ ภ ายในไม่ น้ อ ยกว่ า 1.50 ตารางเมตร

อาคารที่จัดให้มีห้องส้วมสาหรับบุ คคลทั่วไป

สามารถหมุ นตัวกลับได้ ซึ่ งมีเส้น ผ่านศูนย์กลางไม่น้อย กว่า 1,500 มิลลิเมต ประตูของห้องที่ตั้งโถส้วมเป็น แบบบานเปิ ดออกสู่ภายนอก โดยต้องเปิ ดค้างไว้ ไม่น้อย กว่า 90 องศาหรือเป็นแบบบานเลื่อน และมีสัญลักษณ์ คนพิการติดไว้ท่ปี ระตู ก) บันไดของอาคารที่ใช้เป็นที่ชุมนุมของคน จานวนมาก เช่ น บันไดของห้องประชุ มหรือห้องบรรยาย ที่มีพื้นที่รวมตั้งแต่ 500 ตารางเมตรขึ้นไป หรือบันได ห้ อ งรั บ ประทานอาหารหรื อ สถานบริ ก ารที่ มี พื้ น ที่ ร วม ตั้งแต่ 1,000 ตารางเมตรขึ้นไป หรือบันไดของอาคาร นั้นที่มีพื้นที่รวมทั้งแต่ 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป ต้องมี ความกว้างไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร อย่างน้อย 2 บันได ถ้ามีบันไดเดียวให้มีความกว้างไม่น้อยกว่า 3 เมตร

2-27


2.6 การศึกษาและเปรียบเทียบอาคาร ตัวอย่างต่างประเทศและในประเทศ

ภาพที่ 2.23 : ภาพแสดงอาคารกรณีศึกษา 1 (บน,กลาง,ล่าง) ที่มา http://www.archdaily.com/

2-28


2.6.1 Play Landscape be-MINE Architects : Carve , OMGEVING Location : Beringen, Belgium Architect in Charge : Elger Blitz, Jasper van de Schaaf (Carve), Area : 1200.0 sqm

เ ห ล่ า ผู ้ ใ ช้ ส า ม า ร ถ เ ลื อ ก ไ ด้ ว่ า จ ะ เ ล่ น กั บ สถาปั ต ยกรรมแบบไหนตามใจชอบ ทั้งปี นด้ วยเชื อก ปี น ด้วยปุ่ ม พัก ชมวิวระหว่างทาง มุ ดเข้าถ้ า หรื อจะไถลตั ว ด้วยสไลเดอร์ก็ย่อมได้ปลุกพื้นที่เก่าให้มีวิญญาณอีกครั้ง ไม่จาเป็นต้องทาให้ขึงขังจนผู ้ใช้เกร็ง แต่สามารถเลือกจะให้ เล่นไปกับประวัติศาสตร์ได้เช่ นกัน

Project Year : 2016 แปลงเหมื อ งถ่ า นหิ น เก่ า สู่ กิ จ กรรมใหม่ เ ป็ น พื้นที่สวนสนุกแห่งการเล่น ตัวสวนนี้ออกแบบให้ ล้อไปภูมิประเทศเดิมที่เป็นภูเขาขนาดย่อม พื้นที่ถูก แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ทั้งปี นดงเสาที่มีเสาจานวน มากวางเป็นกริดพร้อมกับติดอุ ปกรณ์ให้ผู้ใช้เข้าไป เล่นได้เต็มที่ ส่วนที่ 2 คือ การเล่ น กั บ ระนาบที่ พั บ ไปมาเพื่ อ สื่ อ ถึ ง การทาเหมืองที่ยากลาบาก และส่วนสุดท้ายคอลาน ถ่านหินที่อยู ่ส่วนบนสุดของเขา

ภาพที่ 2.24 ภาพแสดงอาคารกรณีศึกษา 2 (บน,กลาง,ล่าง) ที่มา http://www.archdaily.com

2-29


2.6.2 McDonalds Cycle Center at Millennium Park Architects : Muller&Muller Location : Chicago, IL, United States Client : City of Chicago Department of Transportation

โดยออกแบบพื้น ที่ ก ารใช้ ง านเป็ น 3 ส่ ว น หลั ก คื อ ส่ ว นที่ เ ป็ น ที่ จ อดจั ก ยาน ส่ ว นคาเฟ่ และส่ ว นบริ ก าร มี จานวน 3 ชั้ นโดยชั้ นใต้ดินจะเป็นพื้นที่จอดจักยาน ชั้ น1 จะ เป็นห้องเก็บของ ห้องาบน้ า พื้นที่เซอร์วิสจักยาน และส่วน ชั้ นดาดฟ้าเป็นลานพลาซ่ าให้เช่ าจัดกิจกรรมเกี่ยวกับจักยาน

Area : 1486.0 sqm Program : parking for 300 bikes bike repair and parts shop showers and lockers โครงการนี้ตั้งอยู ่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ เมืองชิ คาโก (Millennium Park) มีฟังชั นก์การใช้งานเป็น พื้ น ที่ เ ก็ บ จั ก ยานกว่ า 300 คั น ล๊ อ คเกอร์ เ ก็ บ ของใช้ ส่วนตัว ห้องอาบน้ า และพื้นที่ซ่อมจักยาน มีส่วนอย่าง มากต่อการส่งเสริมการขนส่งทางจักยานภายในเมืองชิ คา โก

ภาพที่ 2.25 : ภาพแสดงอาคารกรณีศึกษา 3 (บน,กลาง,ล่าง) ที่มา http://www.archdaily.com/31324

2-30


2.6.3 Phuket Gateway Architects : IDIN Architects Location : Phuket, Thailand Architect in Jeravej Hongsakul, Montve Jirawatve Area : 1600.0 sqm Project Year : 2007 น าเสนอวั ฒ นธรรมพื้ น ถิ่ นในภาคใต้ ข อง ประเทศไทยผ่านสถาปั ตยกรรมแบบร่วมสมัย ภูเก็ต เกตเวย์จะทาหน้าที่เป็นพื้นที่สาธารณะสาหรับต้อนรับ นักท่องเที่ยว เสมือนห้องนั่งเล่นของเมืองภูเก็ตเป็ น การหล่ อหลอมวัฒนธรรมที่ หลากหลาย ทั้งพื้ นถิ่ น ภาคใต้แบบดั่งเดิม จีน มุ สลิมและชิ โนโปรกีส

ภาพที่ 2.26 : ภาพแสดงอาคารกรณีศึกษา 4 (บน,กลาง,ล่าง) ที่มา : http://www.archdaily.com/315505/phuket

2-31

ที่มันถูกสร้างขึ้นเป็นพื้นที่สาธารณะ อาคาร อยู ่ ใ นต าแหน่ ง ที่ หั น หน้ า ไปทางประตู ท างเข้ า จั ง หวั ด ถ่ า ยทอดเรื่ อ งราวผ่ า นประติ ม ากรรมที่มี “ชี วิ ต ชี ว า” เป็นตัวแทนที่บอกเล่าประวัติศาสตร์เกี่ยวกับเมืองภุเก็ต ให้กับผู ้เข้าชมมีปฏิสัมพันธ์กับประติมากรรมผ่านการ อ่านและการถ่ายภาพ


2.6.4 ตารางเปรียบเทียบการศึกษาอาคารตัวอย่าง Case Study

Play Landscape be-mine

McDonalds Cycle Center at Millennium Park

Phuket Gateway

Location

Beringen, Belgium

Chicago, IL, United States

Phuket, Thailand

Area

1200.0 sqm.

1486.0 sqm

1600.0 sqm

Attraction

A Multipurpose

Bicycle transit into downtown

Public Space

Element

Meeting room / Playground

Bike Station / Locker

/ museum

/ Bathroom / Special Events

A Public Space Contemporary Building Landscape

Circulation

ตารางที่ 2.2 : ตารางเปรียบเทียบอาคารกรณีศึกษา ที่มา : วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล , 2560

2-32


ภาพที่ 3.1 : ภาพประกอบบทที่ 3

ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=Zw

3-01


03

LOCATION STUDIES AND SITE ANALYSIS บทที่ 3 การศึกษาและวิเคราะห์ท่ตี งั้ โครงการ

wT1ht18riI&t=6s

3-02


3.1 การศึกษาและวิเคราะห์องค์ปะกอบของเมือง 3.1.1 สภาพทางภูมิศาสตร์และภูมิทศั น์ของเมือง 3.1.1.1 สภาพทางภูมิศาสตร์ พื้น ที่ ส่ว นใหญ่ ของเมื อ งตะกั่ว ป่ าเป็ นเนิ น เขาเตี้ย ๆ สลับซั บซ้อน ไม่ค่อยมีท่ีราบ ทอดตัวเป็ น แนวยาว ตอนกลางเป็ น ที่ร าบลุ่ม มี แ ม่ น้ า ส าคั ญ คื อ แม่น้ าตะกั่วป่ าและสาขา พื้นที่ส่วนใหญ่จะเป็นเนินมู ล ทรายที่เหลือจากการทาเหมืองแร่ และมีการขุ ดเหมือง ตลอดสองข้างของฝั่ งแม่น้าตะกั่วป่ าตอนบนเป็นป่ าชาย เลนบริเวณปากแม่น้ า และทางตะวันตกเป็นที่ราบลาด ลงไปตามชายฝั่ งทะเลมีชายฝั่ งทะเลเป็นแนวยาวกว่า 70 กิโลเมตร แม่น้าตะกั่วป่ าไหลจากอาเภอปะกงขึ้นไป ทางเหนือ ผ่านตาบลตาตัวตาบลบางไทร ตาบลโคก เคีย น ต าบลตะกั่ ว ป่ า และต าบลบางนายสี และมี ล า คลองสาขาที่ไหลลงสู่แม่น้ าสายนี้คือ คลองปิ คลอง

3.1.1.2 สภาพภูมอิ ากาศ อาเภอตะกั่ วป่ าได้รับอิ ทธิ พลจากลมมรสุ ม ตะวั นตกเฉีย งใต้และลมมรสุมตะวัน ออกเฉี ยงเหนื อ เต็มที่ จึงทาให้มีฝนตกชุ กเกือบตลอดปี นานถึงแปด เดือน จึงได้สมญานามว่า “เมืองฝนแปด แดดสี่” ลั ก ษณะอากาศของเมื อ งตะกั่ ว ป่ าเป็ น แบบ ร้ อ นชื้ น ได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากลมมรสุ ม ตลอดทั้ ง ปี่ ประมาณ 6 เดือน จึงมีฝนตกชุ กตลอดทั้งปี นานถึง 8 เดือน ฤดูฝนเริ่มในเดือนพฤษภาคมถึงเดือนธนวา คม ฤดูแล้งเริ่มในเดือนมกราคมถึงเมษายน ปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยปี ละ 240.50 มิลลิเมตร อุ ณภูมิเฉลี่ยระหว่าง 23.09—31.94 เซลเซี ยส

บางอี คลองปั ก คลองบางลาน และคลองบางกรัก นอกจากนี้ยังมีลาน้าสายสัน้ ๆไหลจากทิศตะวันออกลง สู่ทะเลอันดามัน

ภาพที่ 3.2 ผังเมืองตะโกลา นคร ที่มา hthttp://www.phuketneophoto.com/forums

3-03


A F

3.1.1.3 แหล่งบริการสาธารณะ

B I

A ตลาดสดเทศบาลเมืองตะกั่วป่ า (ย่านยาว) B สถานีตรวจภูธรอาเภอตะกั่วป่ า C ตลาดย่านยาว D สถานีขนส่งผู ้โดยสารอาเภอตะกั่วป่ า E สะพานเหล็ก โคกขนุน

C J

F สนามกีฬากลางเทศบาลเมืองตะกั่วป่ า I โรงเรียนตะกั่วป่ าคีรีเขต J สถานีตารวจภูธรตาบลตลาดใหญ่ K ตลาดสดเทศบาลเมืองตะกั่วป่ า

D K

L สวนสาธารณะทุ่งพระโพธิ์ ภาพที่ 3.3 : ผังแสดงแหล่งบริการสาธารณะเมืองตะกั่วป่ า ที่มา วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล ,2560

3-04 E L


3.1.2 โครงสร้างของเมืองและการปกครอง 3.1.2.1 สภาพทั่วไปของเมือง เทศบาลเมื อ งตะกั่ ว ป่ า ได้ รั บ การจั ด ตั้ ง ตามพระราช กฤษฎีกาการจัดตัง้ เทศบาล ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ

วันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2480 โดยยกระดับฐานะบางส่วนของ

3.1.2.2 ลักษณะที่ตงั้ ของเมือง ตะกั่วป่ า เป็นหนึ่งใน 8 อาเภอของจังหวัดพังงา ตั้งอยู ่ชายฝั่ งทะเลตะวันตก หรือฝั่ งทะเลอันดามัน ห่าง จากอ าเภอเมื อ งพั ง งาไปทางเหนื อ ประมาณ 60

ตาบลตลาดเหนือ ตาบล ตลาดใต้ และตาบลย่านยาว อาเภอ ตะกั่วป่ า ให้มีฐานะเป็นเทศบาลเมือง ต่อมาในปี พ.ศ. 2534

กิ โ ลเมตร อยู ่ ห่ า งจากกรุ งเทพ ฯ โดยทางหลวง

เทศบาลเมื อ งตะกั่ ว ป่ าได้ แ บ่ ง การบริ ห ารการปกครอง

800 กิโลเมตร ทิศเหนือติดต่อกับ อาเภอคุระบุ รี ทาง

หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม หรื อ A 2) ประมาณ

ออกเป็น 6 ชุ มชน คือ ชุ ม ชนเสนาราษฎร์ ชุ มชนบ้า นย่า น

ตะวันออกติดต่อกับอาเภอกะปง ทิศใต้ติดต่อกับอาเภอ

ยาวชุ มชนศรีเมือง ชุ มชนบางมรา-ตอตั้ง ชุ มชนราษฎร์บารุ ง และชุ มชนตลาดใหญ่ และในปี พ.ศ. 2547 จัดตั้งเพิ่มอีก 1

ท้ายเหมือง ส่วนทิศตะวันตกเป็นทะเลอันดามัน อาเภอ ตะกั่วป่ ามีเนื้อที่ประมาณ 475 ตารางกิโลเมตร พื้นที่

ชุ มชน คือ ชุ มชนเสนานุชรังสรรค์

ส่วนใหญ่เป็นเนินเขาสลับซั บซ้อน ไม่ค่อยมีท่ ีราบ แม่น้า ที่สาคัญคือแม่น้าตะกั่วป่ าซึ่ งเกิดจากเทือกเขาในอาเภอ

ทิศเหนือ ติดต่อกับตาบลบางนายสี ทิศใต้ ติดต่อกับตาบลบางไทรและตาบลตาตัว

กะปง ไหลลงสู่ทะเลอันดามัน

ทิศตะวันออก ติดต่อกับตาบลบางนายสี ทิศตะวันตก ติดต่อกับตาบลบางนายสี

3-05

ภาพที่ 3.4 : ภาพถ่ายทางอากาศเมืองเก่าตะกั่วป่ า ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=ZwT1ht18riI


3.1.2.3 ประเภทของอาคารในพื้นที่ กลุ่มชุ มชนเก่าที่อยู ่ในเมืองตะกั่วป่ าเป็ นชุ มชนที่มี อิ ท ธิ พ ลจากทั้ ง ศาสนาพุ ทธศาสนาฮิ น ดู และศาสนา อิสลาม โดยเฉพาะศาสนาพุ ทธที่ยังคงปรากฏร่องรอย ของโบราณสถาน และวั ด วาอารามเป็ น จ านวนมาก รวมถึงกลุ่มอาคารที่มีสถาปั ตยกรรมแบบชิ โนโปรตุกีสอัน เกิดจากอิทธิพลทางการค้ากับ ชาวต่า งชาติ สามารถ แบ่งกลุ่มสถาปั ตยกรรมของอาคาร ออกเป็น 3 ประเภท

ประเภทที่ 1 ได้ แ ก่ อาคารทางศาสนา ส่ ว น ใหญ่เป็นอาคารทางศาสนาในพุ ทธสถาน ทัง้ นิกายเถร วาทและมหายาน ซึ่ งได้รับอิทธิพลจากชาวจีนที่อพยพ เข้ามาอยู ่ในพื้นที่ ประเภทที่ 2 ได้ แ ก่ อาคารชิ โ นโปรตุกี ส เป็ น อาคารที่ มี โ ครงสร้ า งเป็ น ผนั ง รั บ น้ า หนั ก มี อ าเขต ด้านหน้าอาคาร และมีลวดลายประดับอาคารเป็นแบบ ยุ โรป เช่ น ที่หัวเสา ปู นปั้ นประดับผนังอาคารหรือขอบ หน้าต่าง ซึ่ งรวมถึงอาคารทรงจีนที่มักไม่ค่อยมีการ ตกแต่งลวดลายใด ๆ บนอาคาร ประเภทที่ 3 ได้แก่ อาคารชิ โนโปรตุกีสประยุ กต์ เป็นอาคารที่มีโครงสร้างเป็น คอนกรีตเสริมเหล็ก จะมี อาเขตหรือไม่ก็ได้ มีลวดลายประดับอาคารในส่วนต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นลวดลายแบบจีน หรือยุ โรปหรือแบบร่วม

ภาพที่ 3.5 : ภาพถ่ายทางอากาศเมืองเก่าตะกั่วป่ า ที่มา https://pantip.com/topic/35436005

สมัย

3-06


3.1.3 ประชากรและวัฒนธรรม

รายการ

ปี ปัจจุ บัน (2559)

ปี ท่ แี ล้ว (2558)

1ปี ท่ แี ล้ว (2557)

2 ปี ท่ แี ล้ว (2556)

3 ปี ท่ แี ล้ว (2555)

3.1.3.1 ลักษณะประชากรในพื้นที่

ประชากรชาย (คน)

4,297

4,299

4,332

4,325

4,223

สถิติจานวนประชากรในเขตเทศบาลเมืองตะกั่วป่ า

ประชากรหญิง (คน)

4,477

4,515

4,545

4,515

4,402

8,774

8,814

8,877

8,840

8,625

2,622

2,607

2,599

2,594

2,571

ณ เดือนมกราคม 2559 มีจานวน 8,774 คน เป็นชาย

4,297 คน และหญิ ง จ านวน 4,477 คน อั ต ราการ เจริญเติบโตของประชากรในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองตะกั่ว ป่ า มี ก ารเปลี่ ย นแปลงจ านวนประชากรลดลงเพี ย ง เล็ก น้อ ยเท่า นั้น โดยประชากรในเขตเมื อ งตะกั่ วป่ าจะ

รวมประชากร (คน) บ้าน (หลังคาเรือน) ประชากรแยกตามช่ วงอายุ

จานวนประชากร (คน) ชาย

หญิง

รวม

แรกเกิด - 3 ปี

126

116

242

บ้านและชุ มชน

ช่ วงอายุ 4 - 6 ปี

232

227

459

การคาดการณ์ จ ากจ านวนสถิ ติ ข้ อ มู ลด้ า น ประชากรของเทศบาลเมื อ งตะกั่วป่ า นับ ได้ ว่า เทศบาล

ช่ วงอายุ 7 - 12 ปี

774

782

1,556

ช่ วงอายุ 13 - 18 ปี

572

529

1,101

เมืองตะกั่วป่ า เป็นสังคมผู ้สูงอายุ ซึ่ งจากเปรียบเทียบได้ จากอัตราการเพิ่มขึ้นของจานวนประชาชนในวัยแรกเกิด

ช่ วงอายุ 19 - 22 ปี

192

192

384

– 3 ปี มีเพียง 300 คน แต่อัตราผู ้สูงอายุ มีจานวนเพิ่ม สูงขึ้นทุกปี ปั จจุ บันเทศบาลเมืองตะกั่วป่ ามีประชาชนช่ วง

ช่ วงอายุ 15 - 59 ปี

2,290

2,425

4,715

ช่ วงอายุ 23 - 59 ปี

1,736

1,852

3,588

ช่ วงอายุ 60 ปี ขึ้นไป

638

776

1,424

อาศั ย อยู ่ อ ย่ า งหนาแน่ น ในชุ ม ชนศรี เ มื อ ง ซึ่ งเป็ น ย่ า น ธุ รกิจพาณิชย์ในปั จจุ บัน จานวนประชาชนจาแนกตาม

อายุ 60 ปี ขึ้นไป จานวน 1,424 คน

ที่มา : ข้อมู ลจากสานักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลเมืองตะกั่วป่ า ข้อมู ล ณ เดือนมกราคม 2559

3-07


ภาค/จังหวัด 3.1.3.2 แนวโน้มของนักเที่ยวในพื้นที่ สถานการณ์การท่องเที่ยวของจังหวัดพังงา ในช่ วง 5 ปี ย้อนหลัง จะเห็นได้ว่ามีการเจริญเติบโต มากขึ้นเรื่อยๆ โดยมีรายได้จากการท่องเที่ยวของปี 2557 ประมาณ 30 ล้านบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปี 2556 ร้อยละ 89.73 และการคาดการณ์แนวโน้ม ของการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง จากการดาเนินงาน เชิ ง รุ ก ของจัง หวัด ด้ า นการท่ อ งเที่ย วในด้า นต่ า งๆ ภายในจังหวัดพังงา

รายได้จากการท่องเที่ยว ภาคใต้ จังหวัดพังงา รายได้จากผู ้มาเยือน (ล้านบาท) สัดส่วนการเติบโต ∆ (%) จานวนนักท่องเที่ยว ภาคใต้ จังหวัดพังงา จานวนผู ้มาเยือน (คน) สัดส่วนการเติบโต ∆ (%)

2554

2555

2556

2557

2558

307,238.93

382,491.60

468,511.47

505,557.88

592,074.51

5,677.57 +41.01

10,153.75 +78.84

15,459.06 +52.25

29,329.80 +89.73

37,214.75 +26.88

27,319,500

31,809,348

37,634,779

41,672,972

45,923,464

834,316 +27.04

1,612,978 +93.33

2,158,682 +33.83

3,730,398 +72.81

4,176738 +11.96

ที่มา : กลุ่มยุ ทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดพังงา (แผนพัฒนาจังหวัดพังงา พ.ศ. 2560-2564)

3-08


3.1.4 สภาพชุ ม ชนและสังคม (โครงการก าหนด ขอบเขตพื้นที่เมืองเก่า ตะกั่วป่ า) อาเภอตะกั่วป่ า เป็นเมืองเก่าแก่มาตั้งแต่สมัย โบราณ เดิมชื่ อ “ตะโกลา” ชาวกลิงราษฎร์ในอินเดีย ตะวันออกเฉียงใต้ได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานตั้งแต่ปี พ.ศ. 200-300 และได้ น าศิ ล ปวั ฒ นธรรมและ โบราณสถานมาสร้างไว้มากมายดังปรากฏให้เห็นใน ปั จจุ บั น ปั จจุ บั น เทศบาลเมื อ งตะกั่ ว ป่ าแบ่ ง การ บริ ห ารการปกครอง ออกเป็ น 7 ชุ ม ชน ซึ่ งแต่ ล ะ ชุ มชนมีรายละเอียดดังนี้ 3.1.4.1 ชุ มชนราษฎร์บารุ ง ชาวบ้านเรียก "ราษฎร์บารุ ง" ชื่ อชุ มชนมา จากความร่วมมือของประชาชนที่อาศัยตั้งรกรากใน

พื้นที่ และได้ช่วยกันบารุ ง รักษา ดูแล และพัฒนาให้ เจริญ ชุ มชนราษฎร์บารุ งมีภูมิทัศน์วัฒนธรรมที่ มี ความส าคัญด้ านสถาปั ตยกรรมและประวัติ ศาสตร์ คือ วัดคงคาภิมุข และอาคารโรงเรียนเต้าหมิง

3.1.4.2 ชุ มชนบ้านย่านยาว ในอดีตพื้นที่บริเวณนี้มีประชาชนเข้ามาตั้ง บ้านเรือนอาศัยเป็นแถวยาวเหยียดเป็นเอกลักษณ์ท่ ี

เห็นได้เด่นชั ด "ย่าน" หมายถึง แถว ถิ่น บริเวณ ที่ตรงและยาว ซึ่ งตัง้ ชื่ อตามลักษณะเด่นของชุ มชน ว่า "ย่านยาว" อีกความหมายหนึ่ง คือ บริเวณที่ มีลาน้ าตรงเป็นระยะทางยาวชุ มชนบ้านย่านยาวมี ภู มิ ทั ศ น์ วั ฒ น ธ ร ร ม ที่ มี ค ว า ม ส า คั ญ ท า ง ประวัติศาสตร์และโบราณคดี คือ อาคารที่ว่าการ อาเภอตะกั่วป่ า ตั้งอยู ่ท่ ีถนนหลังวัฒนะ สร้างเมื่อ ปี พ.ศ. 2472 เดิมเป็นศาลากลางจังหวัดตะกั่วป่ า ภายหลังจังหวัดตะกั่วป่ าถูกลดฐานะเป็นอาเภอ จึง ใช้เป็นที่ว่าการอาเภอตั้งแต่ปี พ.ศ. 2475 จนถึง ปั จจุ บัน ศาลาที่ว่าการอาเภอตะกั่วป่ าได้รับการ ประกาศขึ้ น ทะเบี ย นเป็ น โบราณสถานจากกรม ศิลปากร ภาพที่ 3.6 : ภาพถ่ายทางอากาศเมืองเก่าตะกั่วป่ า ที่มา https://pantip.com/topic/35436005

3-09


3.1.4.3 ชุ มชนตลาดใหญ่ ชาวบ้ า นเรี ย ก "ตลาดเก่ า " ในอดี ต ประมาณ 160 ปี ท่ ีแล้ว พื้นที่บริเวณนี้เป็นชุ มชนที่มีความเจริญ มาก มีผู้คนอาศัย อยู ่คับ คั่ง มีต ลาดใหญ่ก ว่า ที่อ่ืน สภาพอาคารบ้านเรือนเป็นตึกแถว บ่งบอกถึงความ เจริญอย่างมากในสมัยนั้น จึงเรียกว่า "ตลาดใหญ่" ชุ ม ช น ต ล า ด ใ ห ญ่ มี ภู มิ ทั ศ น์ วั ฒ น ธ ร ร ม ที่ มี ความสาคัญด้านสถาปั ตยกรรมและโบราณคดี คือ ตึก แถวโบราณ ตั้ง อยู ่ ถ นนอุ ดมธารา เป็ น ตึ ก แถว สองชั้ นติดต่อกัน เสาก่อด้วยอิฐเป็นรู ปสี่เหลี่ยมขนาด

3.1.4.4 ชุ มชนเสนานุชรังสรรค์ ชาวบ้านเรียกว่า "ตลาดเก่า" เดิมอยู ่ในเขต ชุ มชนตลาดใหญ่ ต่อมาในปี พ.ศ.2547 ได้แยก มาตั้ ง เป็ น ชุ มชนเสนานุ ช รั ง สรรค์ เ นื่ อ งจากมี ประชากรเพิ่ ม มากขึ้ น โดยน าชื่ อวั ด เสนานุ ช รังสรรค์ซ่ ึ งเป็นโบราณสถานสาคัญมาตั้งเป็นชื่ อ ชุ ม ช น ชุ ม ช น เ ส น า นุ ช รั ง ส ร ร ค์ มี ภู มิ ทั ศ น์ วัฒนธรรมที่มีความสาคัญด้านประวัติศาสตร์และ โบราณคดี ได้ แ ก่ เขาพระพุ ทธบาท ตั้ ง อยู ่ ใ น พื้นที่วัดพระธาตุคีรีเขต ซากพระเจดีย์ร้าง ตั้งอยู ่ เชิ งเขาพระบาท และวัดเสนานุชรังสรรค์

ใหญ่ ฝาผนั งก่ อ อิ ฐถื อ ปู นมี ค วามหนามากรู ป ทรง หลังคาแบบจีน ลักษณะสถาปั ตยกรรมเป็นแบบชิ โน โปรตุกีส สันนิษฐานว่าสร้างพร้อมกับเมืองตะกั่วป่ า เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2386 นอกจากนี้ยั งมี สานั ก สงฆ์คูหาภิมุข กาแพงจวนเจ้าเมือง บ้านขุ นอินทร์และ วัดปทุมธารา ซึ่ งมีอุโบสถหลังเก่าและหม้อสตีมไอน้ า อยู ่ภายในบริเวณวัด ภาพที่ 3.7 : ภาพถ่ายทางอากาศเมืองเก่าตะกั่วป่ า 2 ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=ZwT1ht18riI

3-10


3.1.5 ลักษณะทางวัฒนธรรมประเพณี งานเทศกาลประเพณีท่ีสาคัญ ของเมืองตะกั่วป่ า จัดขึ้นเพื่อ ส่งเสริมสืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่นที่บ่งบอกถึงเอกลักษณ์แห่งวิถีชีวิต แห่งผู ้คน และมีการสืบทอดมาตัง้ แต่อดีตจนถึงปั จจุ บัน ได้แก่

ก) ประเพณีวันขึ้นปี ใหม่ จัดขึ้นทุกวันที่ 1 มกราคม ของทุกปี ณ สวนสาธารณะอุ ทยานพระนารายณ์ ข) งานบวงสรวงองค์เทวรู ปพระนารายณ์ จัดขึ้นช่ วงปลาย เดื อ นมี น าคม—เมษายนของทุ ก ปี ณ สวนสาธารณะอุ ทยานพระ นารายณ์ โดยจั ด ให้ มี ก ารตั้ง เครื่ อ งบวงสรวง การร าถวายองค์ เทวรู ป และเทพบรวาร จั ด เครื่ อ งเซ่ นไหว้ บ วงสรวงตามแบบพิ ธี พราหมณ์และมีการจัดงานมหรสพรื่นเริง ค) ประเพณีสงกรานต์ จัดขึ้นทุกวันที่ 13 เมษายนของทุกปี ณ สวนสาธารณะอุ ทยานพระนารายณ์ กิ จ กรรมส าคั ญ ได้ แ ก่ การสรงน้าพระพุ ทธสิหิงค์ สรงน้ าพระสงค์ รดน้ าขอพรผู ้ใหญ่ และ การแห่พระพุ ทธสิหิงค์ไปรอบเมือง

ภาพที่ 3.8 : งานบวงสรวงองค์เทวรู ปพระนารายณ์และการทาบุ ญขึ้นปี ใหม่ ที่มา https://pantip.com/topic/35436005

3-11


ง) ประเพณีชักพระแข่งเรือ จัดขึ้นหลังจากออกพรรษา ณ ชุ มชน ย่า นยาวเทศบาลเมือ งตะกั่ ว ป่ า โดยนิ ม นต์ พ ระพุ ทธรู ป ประดิ ษ ฐานบน รถยนต์ ประชาชนร่วมชั กพระแห่รอบเมือง จัดถวายเพลพระสงฆ์ เมื่อถึง วันหยุ ดสุดสัปดาห์จัดให้มีกิจกรรมแข่งเรือในแม่น้าตะกั่วป่ า จ) ประเพณีกินเจ งานกินเจหรือกินผักจัดขึ้นในเดือน 9 ขึ้น 1 ค่ า ถึง 9 ค่ า งดเว้นการกินเนื้อสัตว์เป็นเวลา 9 วัน 9 คืน ฉ) ประเพณี ล อยกระทง จั ด ในวั น เพ็ ญ เดื อ น 12 ของทุ ก ปี ณ สวนสาธารณะทุ่งพระโพธิ์มีการจัดกิจกรรมมากมาย เช่ น ประกวดกระทง ประกวดธิ ด านพมาศ การแสดงบนเวที ข องนั ก เรี ย น การแสดงแสง สี เสียง มหรสพ และการละเล่นพื้นบ้าน

ภาพที่ 3.9 : เทศกาลกินผักตะกั่วป่ าและประเพณีชักพระแข่งเรือ ที่มา http://2g.pantip.com/cafe/blueplanet/topic/E11088035/E11088035.html

3-12


3.2 การศึกษาและวิเคราะห์ทาเลที่ตั้งโครงการ

3.2.1 การวิเคราะห์ทาเลที่ตงั้ 3.2.1.1 ลักษณะทาเลที่ตงั้ โครงการ ก) ย่าน ย่านยาว ตะกั่วป่ ามีลักษณะเป็นชุ มชนเมืองสมัยใหม่ ที่เป็นแหล่งรวมของศูนย์ราชการ อาคารบ้านเรือน ตัง้ แต่สมัยที่ตะกั่วป่ ายัง เป็ นจั งหวัด หนึ่งของประเทศไทย และในปั จจุ บัน ยัง คงหลงเหลื อโบราณ สถานที่สาคัญทางประวัติศาสตร์ให้พบเห็นอยู ่ คือ อาคารที่ว่าการจังหวัด ตะกั่ ว ป่ า ตั้ง อยู ่ บ ริ เ วณถนนวั ฒ นะ ซึ่ งถู ก ขึ้ น ทะเบี ย นอนุ รั ก ษ์ โ ดยกรม ศิลปากรให้เป็นโบราณสถานที่ควรค่าแก่การศึกษาด้านประวัติศาสตร์ของ

ตะกั่วป่ า ข) ย่ า นชุ ม ชนตลาดใหญ่ ตะกั่ ว ป่ าเป็ น ชุ ม ชนดั่ ง เดิ ม ของ อาเภอตะกั่วป่ า ซึ่ งในอดีตเคยเป็นย่านการค้าขายที่เจริญรุ ่งเรืองที่สุดใน ยุ คของเมื องท่ าและในยุ ค ของกิ จ การเหมือ งแร่ ดีบุ ก ท าให้ ชาวต่ า งชาติ โดยเฉพาะชาวจีนฮกเกี้ยนเข้ามาทาการค้าขายจนร่ ารวย จนเกิดเป็นชุ มชน ตลาดใหญ่ขึ้นมา โดยในพื้นที่ตลอดสองข้างทางบนถนนศรีตะกั่วป่ า จะ เห็นตึกรามบ้านช่ องแบบ ชิ โนโปรกีส เรียงรายเต็มตลอดถนน และชาวบ้าน ในชุ มชนยังคงรักษาวีถีชีวิตแบบดั่งเดิมเอาไว้ ถึงแม้ในปั จจุ บัน ชุ มชนนี้จะ ไม่มีความคึกคักเหมือนครัง้ อดีตก็ตาม

3-13

ภาพที่ 3.10 : ผังวิเคราะห์ทาเลที่ตงั้ ที่มา วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล ,2560

อาคารที่ว่าการจังหวัด ตะกั่วป่ า สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2472 ครัง้ ที่ตะกั่วป่ ามีฐานะเป็นจังหวัดและต่อมาในปี พ.ศ. 2475ถูกใช้เป็นที่ว่าการอาเภอตะกั่วป่ าที่ขึ้นตรง กับจังหวัดพังงา

อาคารแบบ ชิ โนโปรตุกี ส ในชุ ม ชนตลาดใหญ่ เป็ น ผลผลิ ต จากยุ ครุ ่ ง เรื อ งทางการค้ า กั บ ต่างชาติ แต่ในปั จจุ บันมีบางอาคารที่ถูกทิ้งร้าง ให้ชารุ ดทรุ ดโทรมโดยขาดการดูแลและซ่ อมแซม


ภาพที่ 3.11 : ผังวิเคราะห์ทาเลที่ตงั้ 2 ที่มา วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล ,2560

3.2.1.2 การเข้าถึงทาเลที่ตงั้ โครงการ ก) ย่ า น ย่ า นยาว เข้ า ถึ ง ได้ อ ย่ า งสะดวกเนื่ อ งจากตั ว ที่ ตั้งอยู ่ริมถนนเพชรเกษมที่มาจากอาเภอท้ายเหมืองเข้าสู่เทศบาล เมืองตะกั่วป่ า สามารถใช้บริการรถสาธารณะได้เพราะสถานีขนส่ง ผู ้โดยสารอยู ่ใกล้กับตัวที่ตงั้ โครงการเพียง 1 กิโลเมตร

ข) ย่าน ชุ มชนตลาดใหญ่ ตั้งอยู ่บนถนนศรีตะกั่วป่ า อยู ่ ห่างจากตาบลย่านยาวประมาณ 10 กิโลเมตร การเดินทางสถานี ขนส่งตะกั่วป่ าผ่านถนนราษฎร์บารุ งและถนนมนตรี 2 เพื่อเข้า สู่ ถนนศรีตะกั่วป่ า ที่ตงั้ โครงการอยู ่ทางซ้ายมือของถนน

3-14


3.2.2 เกณฑ์ในการประเมินทาเล และบริเวณที่ตงั้ โครงการ 3.2.2.1 ด้านเทคนิค โครงการนี้มุ่งเน้นที่จะลดการใช้รถยนต์ส่วนตัวและส่งเสริมให้ใช้จัก ยานเพื่อท่องเที่ยวและสัญจรภายในเมืองเก่าตะกั่วป่ า โดยต้องเป็นพื้นที่ท่ ี สะดวกต่อการเข้าถึงโครงการได้จากระบบขนส่งสาธารณะ และทางรถ ขนาดเล็ก 3.2.2.2 ด้านสังคมและวัฒนธรรม

โครงการนี้ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรมพื้นถิ่นจึงมุ ่งเน้นการ เลือกพื้นที่ท่ ีมี ความเด่นชั ดทางด้านวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของชาว ตะกั่วป่ า เพื่อให้สอดคล้องกับปริมาณประชากรและนักท่องเที่ยวในช่ วง เทศกาล 3.2.2.3 ด้านความเหมาะสมของที่ตงั้ โครงการ เนื่องจาก เมืองตะกั่วป่ านั้นเป็นเมืองเก่าที่มีประวัติศาสตร์ ในการ เลือกที่ตั้งโครงการต้องพิจารณาถึง ผลกที่จะเกิดขึ้นกับบริบทโดยรอบ ซึ่ ง ขนาด รู ป ร่ า ง ของที่ดิ น และศั ก ยภาพมี ผ ลต่ อ การเปลี่ ย นแปลงใน อนาคต

ภาพที่ 3.12 : สองแถว ย่านยาว—ตลาดใหญ่ ที่มา https://pantip.com/topic/35436005

3-15


3.4.2.4 การวิเคราะห์ท่ตี งั้ โครงการทางกายภาพ

ก) ผังการวิเคราะห์การสัญจรในเมืองเก่า

ข) ผังการวิเคราะห์ลักษณะของชุ มชน

ค) ผังอาคารเก่าแบบชิ โนโปรตุกีส

ง) ผังการวิเคราะห์มมุ มองทีม่ ผี ลต่อโครงการ

จ) ผังการวิเคราะห์ทิศทางของแดดและฝน

ฉ) ผังที่ตงั้ โครงการ C1 - C2

ภาพที่ 3.13 : ผังแสดงการวิเคราะห์ท่ตี งั้ โครงการ ที่มา วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล ,2560

3-16


3.2.3 การประเมินความเหมาะสมของทาเลที่ตงั้ โครงกากร (ที่มา : วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล ,2560) เกณฑ์ในการประเมิน

การประเมินที่ตงั้ โครงการ

ค่าน้าหนักของ เกณฑ์ ก

ด้านเทคนิค 1. ข้อจากัดทางกฎหมายที่มีผลต่อโครงการ 2. ความสะดวกในการเข้าถึงโครงการโดนรถเล็ก 3. ความพร้อมของระบบขนส่งสาธารณะ 4. ความพร้อมขององค์ประกอบชุ มชนอื่นๆ รวมผลการประเมิน ด้านสังคมและวัฒนธรรม 1. ความสอดคล้องของประชากรและนักท่องเที่ยวในช่ วงเทศกาล 2. ความสอดคล้องของประเภทอาคารที่อยู ่ข้างเคียง 3. สภาพทางกายภาพของประเภทอาคารในท้องถิ่น รวมผลการประเมิน ความเหมาะสมของที่ตงั ้ 1.ขนาดที่ดินและรู ปร่าง 2. ศักยภาพของการขยายตัวในอนาคต รวมผลการประเมิน ผลการประเมินทัง้ หมด

3-17

2 3 3 2

คะแนน 3 5 4 3

ข รวม 6 15 12 6

คะแนน 3 2 4 4

39 4 4 3

2 2 2

34 8 8 6

5 4 5

22 4 2

27

4 3

20 16 15 51

16 6 22 83

รวม 8 6 12 8

3 5

16 10 26 111


3.2.3.1 การประเมินความเหมาะสมของที่ตงั้ โครงกากร (ที่มา : วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล ,2560) เกณฑ์ในการประเมิน

การประเมินที่ตงั้ โครงการ

ค่าน้าหนัก ของเกณฑ์ ก

ด้านเทคนิค 1. ข้อจากัดทางกฎหมายที่มีผลต่อโครงการ 2. ความสะดวกในการเข้าถึงโครงการโดนรถเล็ก 3. ความพร้อมของระบบขนส่งสาธารณะ 4. ความพร้อมขององค์ประกอบชุ มชนอื่นๆ รวมผลการประเมิน ด้านสังคมและวัฒนธรรม 1. ความสอดคล้องของประชากรและนักท่องเที่ยวในช่ วงเทศกาล 2. ความสอดคล้องของประเภทอาคารที่อยู ่ข้างเคียง 3. สภาพทางกายภาพของประเภทอาคารในท้องถิ่น รวมผลการประเมิน ความเหมาะสมของที่ตงั ้ 1.ขนาดที่ดินและรู ปร่าง 2. ศักยภาพของการขยายตัวในอนาคต รวมผลการประเมิน ผลการประเมินทัง้ หมด

2 3 3 2

คะแนน 3 2 2 1

ข รวม 6 6 6 2

คะแนน 4 3 3 4

20 5 4 3

2 2 2

10 8 6

2 1

คะแนน 5 3 4 2

3 4 3

15 16 9

4 3

4 5 3

20 20 9 49

20 6 26 100

รวม 10 9 12 4 35

40 10 2

12 56

รวม 8 9 9 8 34

24 5 2

3 5

15 10 25 109

3-18


3.2.1.2 ลักษณะที่ตงั้ โครงการ

ที่ ตั้ ง ก ตั้ ง อยู ่ บ ริ เ วณสามแยกถนนราษฎร์ บารุ งตัดกับทางหลวงชนบทพังงา 3088 มีขนาดที่ดิน ประมาณ 10,000 ตรม. บริ เ วณนี้ เ ป็ น พื้ น ที่ โ ล่ ง สามารถเปิ ดมุ มมองด้านหน้าโครงการได้เนื่องจากมี หน้ า กว้ า งที่ ค่ อ นข้ า งมากทางด้ า นที่ ติ ด ทางหลวง ชนบท ภาพที่ 3.14 : ผังวิเคราะห์ทาเลที่ตงั้ 2 ที่มา วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล ,2560

3-19

ที่ตงั้ ข ตัง้ อยู ่บริเวณถนน มนตรี 2 จากทางแยกที่

ที่ ตั้ ง ค ตั้ ง อยู ่ บ ริ เ วณถนน ศรี ต ะกั่ ว ป่ า ภายใน

ตัดถนนราษฎร์บารุ งมาทางขวา ตรงข้ามกับ โรงเรียนสุทธิ นอนุสรณ์ ขนาดที่ดินประมาณ 4200 ตรม. ที่ตงั้ โครงการ

ชุ มชนตลาดใหญ่ ตั้งอยู ่บริเวณสามแยก ตรงข้ามกับร้าน กาแฟ โกติ -จี้มุ้ย และด้านหลัง โดยที่ตงั้ ค นี้ ถูกแบ่งเป็น

อยู ่บนเส้นทางที่จะเข้าสู่เมืองเก่าตะกั่วป่ า พื้นที่เป็นที่โล่ง 2

2 พื้นที่ โดยพื้นที่ ค.1 มีขนาดพื้นที่ 1,100 และพื้นที่ ค.2

ข้างติดกับอาคารบ้านเรือน ส่วนด้านหลังคิดกับ จวนเจ้า เมืองตะกั่วป่ า

มีขนาด 3,100 ตรม. โดยมีถนนหน้าเมืองตัดผ่าน


3.2.4 สรุ ปการเลือกทาเล และบริเวณที่ตงั้ โครงการ การเลือกทาเลที่ตั้งของโครงการมีความสาคัญต่อลักษณะของ กิจกรรมภายในพื้นที่ เนื่องจากย่านชุ มชนตลาดใหญ่มีอดีตที่รุ่งเรืองใน ยุ คทองของกิจการเหมืองแร่ดีบุกในตะกั่วป่ า ซึ่ งเป็นรากฐานให้กับคนใน พื้น ที่ ม าจนถึง ปั จจุ บัน ตลอดเวลาที่ ผ่ า นมา ย่ า นชุ ม ชนตลาดใหญ่ ยั ง คงสภาพความเป็ น อยู ่ วิ ถี ชี วิ ต วั ฒ นธรรม ประเพณี ที่ เ ป็ น เอกลัก ษณ์เ ฉพาะไว้ได้อ ย่า งครบถ้ว น ซึ่ งท าเลที่ตั้งนี้จ ะส่ง เสริม การ ท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรมให้กับพื้นที่ ผ่านกิจกรรมต่างๆที่มีในโครงการ นี้ ที่ มุ่ ง เน้ น การฟื้ นฟู พื้ น ที่ ส าธารณะภายในเมื อ งเก่ า ให้ ส ามารถ ตอบสนองความต้องการของคนพื้นที่และใช้วัฒนธรรมวิถีชีวิตของชาว ตะกั่ ว ป่ าเป็ น เครื่ อ งมื อ ในการสร้ า ง จุ ดขายหรื อ แบรนด์ ให้ กั บ ย่ า น ประวัติศาสตร์ เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวและผู ้ท่ ีสนใจเกี่ยวกับสังคมแบบ พหุวัฒนธรรมให้เข้าใช้บริการโครงการนี้

ภาพที่ 3.15 : ถนนศรีตะกั่วป่ า ที่มา https://pantip.com/topic/35436005

3-20


3.3 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) 3.3.1 การใช้ประโยชน์ท่ดี ิน “ที่ดินประเภทชุ มชน” ให้ใช้ประโยชน์ท่ดี ินเพื่อการอยู ่อาศัย พาณิชยกรรม เกษตรกรรม สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา

สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ สาหรับ การใช้ ป ระโยชน์ ท่ ี ดิ น เพื่อ กิ จ การอื่ น ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนด ดังต่อไปนี้ (1) ให้ดาเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่ ไม่ใช่ อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่ (2) ให้มีท่ ีวางไม ่ น้อย กว่าร้อยละ20ของแปลงที่ดินที่ย่ นื ขออนุญาต

ตารางที่ 3.1 : การใช้ประโยชน์ท่ดี ินเขตเทศบาลเมืองตะกั่วป่ า ที่มา กรมโยธาการและผังเมือง (2555)

3-21


3.3.2 บริเวณห้ามก่อสร้างอาคาร

ภาพที่ 3.16 : กาหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ที่มา แผนที่ท้ายกฎกระทรวงฉบับที่ 55 พ.ศ. 2522

(ก) ภายในบริเวณที่ 1 ห้ามบุ คคลใดก่อสร้างอาคารพาณิชยกรรม ประเภทค้าปลีกค้าส่งที่มีพื้นที่ใช้สอยอาคารรวมกันเพื่อประกอบกิจการใน อาคารหลังเดียวกันหรือหลายหลัง ตัง้ แต่ 300 ตารางเมตรขึ้นไป (ข) ภายในบริเวณที่ 2 ห้ามบุ คคลใดก่อสร้างอาคารดังต่อไปนี้ (ค) อาคารพาณิชยกรรมประเภทค้าปลีกค้าส่งที่มีพื้นที่ใช้สอยอาคาร รวมกันเพื่อประกอบกิจการในอาคารหลังเดียวกันหรือหลายหลังเกิน 1,000 ตารางเมตร (ง) อาคารพาณิชยกรรมประเภทค้าปลีกค้าส่งที่มีพื้นที่ใช้สอยอาคาร รวมกันเพื่อประกอบกิจการในอาคารหลังเดียวกันหรือหลายหลังเกิน 300 ตารางเมตร แต่ไม่เ กิน 1,000 ตารางเมตร เว้ นแต่อ าคารพาณิช ยกรรม ประเภทค้าปลีกค้าส่งนัน้ จะเป็นไปตามข้อกาหนดในกฎกระทรวงนี้ (จ) อาคารที่ได้รับอนุญาตหรือใบรับแจ้งการก่อสร้าง ดีดแปลง หรือ เปลี่ ย นการใช้ ง านตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยการควบคุ ม อาคาร หรื อ ที่ ไ ด้ รั บ อนุญาตตามกกหมายเฉพาะว่าด้วยกิจการนั้นก่อนวันที่กฎกระทรวงนี้บังคับ ใช้และยังก่อสร้าง ดีดแปลง หรือเปลี่ยนแปลง หรือเปลี่ยนการใช้ไม่แล้วเสร็จ ให้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามกฎกระทรวงนี้ แต่จะขอเปลี่ยนแปลงการ อนุญาตหรือการแจ้งให้เป็นการต่อกฏกระทรวงนี้ไม่ได้

3-22


3.4 ศึกษาและวิเคราะห์ท่ตี งั้ โครงการ 3.4.1 ข้อมู ลและรายละเอียดที่ตงั้ โครงการ 3.4.1.1 ที่ตงั้ ค.1 ขนาด 11,00 ตรม. (0.68 ไร่) 3.4.1.2 ที่ตงั้ ค.2 ขนาด 4,000 ตรม (2.50 ไร่) รวมพื้นที่ ค.1+ค.2 5,100 ตารางเมตร

3.4.2 ข้อกาหนดของที่ตงั้ โครงการ ที่ดินประเภทชุ มชน ให้ใช้ประโยชน์ท่ ีดินเพื่อการ อยู ่ อ าศั ย พาณิ ช ยกรรม เกษตรกรรม สถาบั น ราชการ สถาบันการศึก ษา สถาบันศาสนา การสาธารณูปโภคและ สาธารณูปการ สาหรับการใช้ประโยชน์ท่ ีดินเพื่อกิจการอื่น นอกจากที่กาหนดตามวรรคแรก ต้องเป็ นการใช้ประโยชน์ ที่ดินที่ไม่ใช่ อาคารขนาดใหญ่

ภาพที่ 3.17 : ผังแสดงพื้นที่ของเมืองเก่าตะกั่วป่ า ที่มา วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล ,2560

อาคารที่มีอยู ่แล้วในบริเวณพื้นที่ท่ ีกาหนดตาม ข้ อ 2 ก่ อ นหรื อ ในวั น ที่ ก ฎกระทรวงนี้ ใ ช้ บั ง คั บ ให้ ไ ด้ รั บ ยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามกฎกระทรวงนี้ แต่ห้ามดัดแปลงหรือ เปลี่ยนการใช้อาคารดังกล่าวให้เป็นอาคารชนิดหรือประเภทที่ มีลักษณะต้องห้ามตามที่กาหนด

42.00

21.00 21.00

83°

32.00 51.00 ที่ตงั้ ค.1

3-23

30.00

51.00

152°

30.0

119°

32.00 45°

213°

246° 45°

36.0 ที่ตงั้ ค.2

90.00


3.4.3 วิเคราะห์ท่ตี งั้ โครงการ

ก) ลักษณะเป็ นชุ มชนที่มีบ้านเรือนแบบ

3.4.3.1 บริบทโดยรอบที่ตงั้

ตึ ก แถวรี ย งกั น อยู ่ห นาแน่ น ตามถนนสายหลั ก ของชุ มชน เช่ น ถนนอดุมธารา เส้นศรีตะกั่วป่ า ถนนมนตรี 2 ซึ่ งในแต่ละช่ วงของถนนต่างๆนั้น ก็ จ ะมี ส ถาปั ตยกรรมหรื อ โบราณสถานที่ มี ความส าคั ญ และมี คุ ณ ค่ า ต่ อ ชุ ม ชนแต่ ค นใน พื้นที่ ส่วนใหญ่ยังอยู ่ในสภาพพอใช้ได้บางแห่ง ก็ถูกปรับปรุ งดูแลจากกรมศิลปากร แต่อีกบาง อาคารยั ง ถู ก ปล่ อ ยร้ า งไม่ ไ ด้ รั บ การปรั บ ปรุ ง ฟื้ นฟู

ที่ตงั ้ ค

ภาพที่ 3.18 : ผังแสดงบริบทโดยรอบที่ตงั้ ที่มา วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล ,2560

3-24


1. วัดคีรีเขต

2. วัดเสนานุชรังสรรค์

7. ศาลเจ้ากวนอู

4. โรงเรียนต้าหมิง

8. วัดหน้าเมือง

ศาลเจ้าเมืากวนอู 6. 7.จวนเจ้ อง

9. วัดศรีนคิ ม

5. ศาลเจ้าปุ่ นเท่ากงกา

3. บ้านขุ นอินทร์

5. ศาลเจ้าปุ่ นเถ่ากงกา

ภาพที่ 3.19 : ภาพโบราณสถานและสถานที่สาคัญในเมืองเก่าตะกั่วป่ า ที่มา วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล ,2560

3-25


3.4.3.3 การวิเคราะห์มุมมองที่มีผลต่อที่ตงั้ โครงการ

ช) การวิเคราะห์มุมมองที่มีผลต่อที่ตงั้ ค.1 เป็นมุ มมองที่เปิ ดกว้างไปตามถนนหน้าเมือง สามารถเปิ ดมุ มมองเพื่อนาคนเข้าสู่โครงการ และด้วยที่ตงั้ เป็นอาคารร้างที่ไม่ได้ใช้งาน เหมาะแก่การปรับปรุ งฟื้ นฟู เพื่อใช้ประโยชน์ให้กับชุ มชนได้

ซ) การวิเคราะห์มุมมองที่มีผลต่อที่ตงั้ ค.2 เป็นพื้นที่โล่งทอดยาวไปตามถนนหน้าเมือง ด้านหลังเป็นคลองปี สามารถเปิ ดมุ มมองได้รอบด้าน เหมาะแก่การพัฒนาตามวัตถุประสงค์ของ โครงการ

ภาพที่ 3.20 : การวิเคราะห์มุมมองที่มีผลต่อโครงการ ที่มา วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล ,2560

3-26


3.4.4 การวิเคราะห์เชิ งพื้นที่เมืองเก่าตะกั่วป่ า

ด้านอายุ อาคาร

ด้านคุณค่าทางสถาปั ตยกรรม

การวิวัฒนาการของอาคาร

การผสมผสานระหว่ า งศิ ล ปะ

ในชุ นชนตลาดใหญ่ แบ่ ง เป็ น 3

ตะวั น ตกและศิ ล ปะตะวั น ออกโดยอาศั ย สถาปั ตยกรรมเป็ น เครื่ อ งมื อ ในการ

ช่ วงเวลาของกลุ่มอาคาร ประกอบ ไปด้วย กลุ่มอาคารที่มีอายุ มากที่สุด

แสดงออกถึ ง ฐานะความมั่ ง คงทาง เศรษฐกิจ ที่หลงเหลือให้เห็นในปั จจุ บัน

ด้านคุณค่าทางวัฒนธรรมวิถีชีวิต การไหว้ เ จ้ า กลิ่ นธู ป ควั น เที ย น พิ ธี ก รรมต่ า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากความศรั ท ธา และนับถือยิ่งทาให้พื้นที่นี้มีมนต์ขลังทุกครั้งใน ยามมีเทศกาลผู ้คนหลั่งไหลมาจากทั่วสารทิศ

ผ่านอาคารแบบโคโนเนียลผสมศิลปะแบบ

แต่ในเวลากลับกัน พื้นที่นี้ก็กลายเป็นพื้นที่แห่ง การถวิลหาอดีตของคนในชุ มชน ที่พยายาม

อุ ดมธารา รองลงมาคื อ กลุ่ ม อาคารบริเวณถนนศรีตะกั่วป่ า และ

จีน การตกแต่งลวดลายและการเลือกใช้

พลิกฟื้ นตะกั่วป่ าโดยใช้ต้นทุนทางวัฒนธรรม

วั ส ดุ ที มี คุ ณ ภาพ ที เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ ข อง

เป็นตัวแทน “ความคิดถึง”

มนตรี 2 ตามลาดับ

อาคารประเภทนี้

คื อ ก ลุ่ ม อ า ค า ร ชิ โ น โ ป ร กี ส ผสมผสานศิลปะจีน ที่บริเวณถนน

ด้านสภาพภูมิอากาศ “ฝนที่น่ ี” ตกพร่ าติดต่อกันได้เป็ น 10 วัน ภูเขาเปี ยกจนละลาย ฝนปั กษ์ใต้ทา ให้ได้ความคิดว่า ถ้าเปลี่ยนอาชี พมาเป็นคน รองน้าฝนขาย สงสัยจะรวยกว่าทาเหมือง

ในที่ สุ ด เราจึ ง ท าตั ว เป็ น ลู ก ของ ธรรมชาติไปเลย เราต้องเป็นคนของป่ า เป็น ลูกอ่อนของความหนาว และเป็นเพื่อนกับฝน (มหาลัย เหมืองแร่ , 2560) ตารางที่ 3.2 : วิเคราะห์สภาวะแวดล้อมและศักยภาพ ที่มา วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล ,2560

3-27


3.2.4 สรุ ปการวิเคราะห์ท่ ตี งั้ โครงการ การวิเคราะห์ท่ตี งั้ โครงการ

ได้พิจารณาสภาพบริบท โดยรอบว่าส่งผลอย่างไรบ้าง กับโครงการ เนื่องจากพื้นที่ ภายในเมืองเก่าที่มจี านวนจากัดนัน้ ส่งผลให้การวิเคราะห์ท่ ตี งั้ โครงการจึงจาเป็นต้องแยกที่ตงั้ โครงการนี้แบ่งเป็น2ส่วนเพื่อ สะดวกกับการใช้งานพื้นที่และเพียงพอต่อประชาชนกรและ จานวนนักท่องเที่ยวในช่ วงเกศกาล

ภาพที่ 3.21 : ร่อนแร่ กาแฟใต้ ที่มา https://pantip.com/topic/35436005

3-28


4-01


04

PROGRAMMING บทที่ 4 การกาหนดรายละเอียดโครงการ

ภาพที่ 4.1 : ภาพประกอบบทที่ 4 ที่มา http://publicdomainarchive.com/

4-02


4.1 ความเป็นมาของโครงการ 4.1.1 ชุ มชนตลาดใหญ่ ตะกั่วป่ า อดีตที่เคยรุ ่งเรืองของเมืองตะกั่วป่ านับว่าเป็นเมืองที่เต็มไปด้วยแร่ ดีบุก ที่ถือเป็นทรัพยากรหลักที่สาคัญต่อกิจการเหมืองแร่ท่ ีนับว่าสร้าง รายได้ ก่อให้เกิดการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ทาให้มีความเจริญมีแรงงาน เข้ามาทางานจานวนมากโดยเฉพาะ “ย่านตลาดใหญ่” ที่เต็มไปด้วยผู ้คน ทั่วสารทิศที่เดินทางเข้ามายังเมืองนี้ ถนนศรีตะกั่วป่ ายังคงเป็นถนนสายหลักตั้งแต่อดีตมาจนถึงปั จจุ บัน และยังเป็นศูนย์กลางทางการค้าและการตั้งชุ มชน โดยมีอาคาร ชิ โนโปร ตุกีส ตัง้ เรียงรายอย่างหนาแน่น และค่อนข้างสมบรู ณ์ มีสภาพการจราจร ที่เป็นไปอย่างเบาบางเหมาะแก่การอนุรักษ์และฟื้ นฟู เมืองเก่าและย่านชุ มชน ตลาดใหญ่ยังคงหลงเหลือร่องรอบของอดีตอยู ่อย่างชั ดเจน จากความรุ ่งเรืองในอดีตทาให้โครงการนี้เป็นพื้นที่ของการถวิลหา อดีต โดยใช้ต้นทุนจากอดีตนั้นมาปรับใช้ให้กลายเป็นพื้นที่สาธารณะของ ชุ ม ชน ผ่ า นกิ จ กรรมที่ ส ร้ า งสรรค์ แ ละใช้ ก ารผลิ ต ซ้ าทางวั ฒ นธรรม ประเพณีท่ีมีอัตลักษณ์มาเป็นจุ ดขาย จากเดิมที่เป็นชุ มชนที่อยู ่อาศัย ให้ เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรมให้กับเมืองเก่าตะกั่วป่ าแห่งนี้

ภาพที่ 4.2 : ภาพประกอบบทที่ 4-1 ที่มา http://publicdomainarchive.com/

4-03

4.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.2.1 เป็นพื้นที่เอนกประสงค์ให้กับชุ มชน “ตลาดใหญ่” โดยที่ สามารถเป็นพื้นที่รองรับนักท่องเที่ยวและคนในชุ มชนในช่ วงเทศกาล สาคัญของตะกั่วป่ า 4.2.2 ส่งเสริมการใช้รถจักยานและยานพาหนะทางเลือกเพื่อ การท่ อ งเที่ ย วในย่ า นเมื อ งเก่ า ตะกั่ ว ป่ า ลดการใช้ ย านพาหนะที่ ใ ช้

เชื้ อเพลิงและสร้างมลภาวะในกับเมือง 4.2.3 เป็นพื้นที่ของการถวิลหาอดีตที่เคยรุ ่งเรืองเพื่อการเรียนรู ้ และซึ มซั บเรื่องราวทางประวัติศาสตร์วัฒนธรรมวิถีชิตของชาวตะกั่ว ป่ าเพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรมและสร้ า งจิ ต ส านึ ก ใน อนุรักษ์และฟื้ นฟู บ้านเกิด 4.2.4 สะท้อนอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมวิถีชีวติ ของชาวตะกั่วป่ า ผ่านสถาปั ตยกรรมที่ทุกคนสามารถรับรู ้หรือสัมผัสได้ถึงความน้อบ น้อมต่อบริบทและสภาพแวดล้อมของเมืองที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์


4.3 การกาหนดโครงสร้างการบริหารโครงการ ชมรมบาบ๋ า ย่า หยาฝั่ งทะเลอัน ดามัน เป็ นผู ้ ดู แ ลและรั บผิ ด ชอบ โครงการฟื้ นฟุ พื้นที่สาธารณะเมืองเก่าตะกั่วป่ าและการท่องเที่ยวเชิ ง วัฒนธรรม เพื่อให้การดาเนินงานและการบริหารโครงการเป็นไปตาม วัต ถุ ป ระสงค์ท่ี ต้องการฟื้ นฟู และอนุ รั ก ษ์ ย่ า นเมื อ งเก่ า ที่มี คุ ณ ค่ า จึ ง มี รู ปแบบการบริหารโครงการดังต่อไปนี้

4.3.1 รู ปแบบการบริหารงานของโครงการ 4.3.1.1 จัดสรรการใช้พื้นที่ภายในโครงการ 4.3.1.2 ดูแลและจัดการโดยอาศัยความร่วมมือจากชุ มชน 4.3.1.3 พัฒนาภายใต้แนวคิดในการอนุรักษ์เมืองเก่า 4.3.2 โครงสร้างการบริหารงานของโครงการ 4.3.2.1 ส่วนบริหารจัดการ 4.3.2.2 ส่วนนโยบายแนวคิด

4.3.2.3 ส่วนบริการนักท่องเที่ยว 4.3.2.4 ส่วนอาคารสถานที่และอุ ปกรณ์

ภาพที่ 4.3 : เด็กน้อยในตลาดใหญ่ ที่มา http://jaymantri.com/page/2

4-04


4.4 โครงสร้างการบริหารงาน

ผู ้อานวยการโครงการ

4.4.1 แผนผังการบริหารโครงการ คณะกรรมการบริหารโครงการ

รองผู ้อานวยการโครงการ

รองผู ้อานวยการโครงการ

รองผู อ้ านวยการโครงการ

ฝ่ ายบริการนักท่องเที่ยว

ฝ่ ายบริหารโครงการ

สนับสนุนโครงการและบริการชุมชน

ฝ่ ายบริการนักท่องเที่ยว - หัวหน้าฝ่ ายบริการ

ฝ่ ายประชาสัมพันธ์ - หัวหน้าฝ่ ายประชาสัมพันธ์

- เจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการและ - เจ้าหน้าที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ต้อนรับนักท่องเที่ยว

ฝ่ ายธุ รการและการเงิน

ฝ่ ายบุ คคล

- หัวหน้าฝ่ ายธรุ การและ การเงิน

- หัวหน้าฝ่ ายบุ คคล

- เจ้าหน้าที่ฝ่ายธุ รการ

- เจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน และบัญชี

-เจ้าหน้าที่ฝ่ายบุ คคล

ฝ่ ายเอกสารและพัสดุ - หัวหน้าฝ่ ายเอกสารและ จัดการพัสดุ -เจ้าหน้าที่ฝ่ายเอกสาร และจัดการพัสดุ

ฝ่ ายสนับสนุน โครงการและบริการ ชุ มชน

ฝ่ ายเทคนิคและซ่ อม บารุ ง

- หัวหน้าฝ่ ายสนับสนุน โครงการ

- หัวหน้าฝ่ ายเทคนิค และซอมบารุ ง

- เจ้าหน้าที่ฝ่ายสนับสนุน โครงการ

- เจ้าหน้าที่ฝ่าอาคาร สถานที่

- เจ้าหน้าที่รักษาความ ปลอดภัย

- เจ้าหน้าที่ทาความ สะอาด

ตารางที่ 4.1 : ผังบริหารองค์กร ที่มา วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล , 2560

4-05


4.4.2 ตารางอัตรากาลังของพนักงานและเจ้าหน้าที่ แผนกของหน่วยงาน

ตาแหน่ง

1 . ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร 1. ผู ้อานวยการโครงการ โครงการ 2. รองผู ้อานวยการโครงการ 3.ฝ่ ายคณะกรรมการ 4.ฝ่ ายนโยบายและแผนพัฒนา 5. เลขานุการโครงการ รวม 2. ฝ่ ายบริการนักท่องเที่ยว

หน้าที่

อัตรา

ควบคุมดูแลการทางานและบริหารบุ คลากรภายในโครงการ สนับสนุนการควบคุมงานภายในโครงการ และทาหน้าแทนผู ้อานวยการในกรณีพิเศษ ตรวจสอบการบริหารงานภายในโครงการทัง้ หมด วางแผนการดาเนินงานและจัดทาแผนพัฒนาโครงการ สนับสนุนและติดต่อประสานกับฝ่ ายต่างๆ

1 2 3 3 3

ควบคุมดูแลและบริหารงานให้บริการนักท่องเที่ยว ดาเนินงานภายใต้นโยบายและแผนพัฒนาโครงการ

12 1

2. หัวหน้าฝ่ ายบริการ

จัดการและตรวจสอบการดาเนินงานเกี่ยวกับการบริการนักท่องเที่ยวหรือผู ้เข้าใช้โครงการ

1

- เจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการและต้อนรับ นักท่องเที่ยว

สนับสนุนและตรวจสอบการจัดการเกี่ยวกับงานบริการนักท่องเที่ยว

1. รองผู ้อานวยการโครงการ ฝ่ ายบริการนักท่องเที่ยว

- ฝ่ ายบริการนักท่องเที่ยว - ฝ่ ายประชาสัมพันธ์

รับผิดชอบงานเกี่ยวกับการบริการนักเที่ยวหรือผู ้เข้าใช้โครงการทัง้ ชาวไทยและชาวต่างชาติ

1. หัวหน้าฝ่ ายประชาสัมพันธ์. - เจ้าหน้าที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์

จัดการและตรวจสอบการดาเนินงานเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์และติดต่อสอบถาม สนับสนุนและตรวจสอบเกี่ยวกับงานประชาสัมพันธ์ รับผิดชอบงานเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์และติดต่อประสานงาน

รวม

6

1 5 14

ตารางที่ 4.2 : อัตรากาลังของพนักงานและเจ้าหน้าที่ ที่มา วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล , 2560

4-06


แผนกของหน่วยงาน 3. ฝ่ ายบริหารโครงการ

- ฝ่ ายธุ รการและการเงิน - ฝ่ ายบุ คคล - ฝ่ ายเอกสารและพัสดุ

ตาแหน่ง

หน้าที่

อัตรา

รองผู ้อานวยการโครงการฝ่ ายบริหาร โครงการ

ควบคุมและตรวจสอบการบริหารงานธรุ การและการเงินของโครงการ

- หัวหน้าฝ่ ายธรุ การและการเงิน

จัดการและตรวจสอบการดาเนินงานของฝ่ ายธุ รการและการเงิน

1

1 เจ้าหน้าที่ฝ่ายธุ รการ

สนับสนุนและตรวจสอบการดาเนินงานของฝ่ ายธุ รการและการเงิน

6

2 เจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงินและบัญชี

รับผิดชอบงานเกี่ยวกับธุ รการและการติดต่อประสานงานเอกสารหรืออื่นๆ

4

1

รับผิดชอบงานทางด้านการเงินและบัญชี และจัดสรรงบประมาณภายในโครงการ

- หัวหน้าฝ่ ายบุ คคล

ดูแลและตรวจสอบจัดการบุ คลากรภายในองค์กร

1

1 เจ้าหน้าที่ฝ่ายบุ คคล

สนับสนุนและตรวจสอบการทางานเกี่ยวกับบุ คลากรภายในองค์กร

4

- หัวหน้าฝ่ ายเอกสารและจัดการพัสดุ

จัดการและตรวจสอบเกี่ยวกับงานเอกสารพัสดุและการประสานงานกับฝ่ ายต่างๆ

1

1 เจ้าหน้าที่ฝ่ายเอกสารและจัดการพัสดุ

สนับสนุนและตรวจสอบเกี่ยวกับงานเอกสารและพัสดุ รับผิดชอบงานเอกสารและการประสานงานเกี่ยวกับพัสดุ

4

รวม

22

ตารางที่ 4.2 : อัตรากาลังของพนักงานและเจ้าหน้าที่ (ต่อ) ที่มา วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล , 2560

4-07


แผนกของหน่วยงาน

ตาแหน่ง

4. ฝ่ ายสนับสนุนโครงการและ บริการชุ มชน

1. รองผู อ้ านวยการโครงการสนับสนุน โครงการ 1. หัวหน้าฝ่ ายเทคนิคและซอม

- ฝ่ ายสนับสนุนและบริการ ชุ มชน - ฝ่ ายเทคนิคและซ่ อมบารุ ง

หน้าที่ ควบคุมและตรวจสอบการสนับสนุนและเทคนิคการซ่ อมบารุ งของโครงการ

อัตรา 1

จัดการและตรวจสอบเกี่ยวกับงานซ่ อมบารุ งภายในโครงการ สนับสนุนการจัดการและตรวจสอบเกี่ยวกับงานซ่ อมบารุ งและการทาความสะอาดภายในโครงการ

1

- เจ้าหน้าที่ฝ่าอาคารสถานที่

รับผิดชอบงานซ่ อมบารุ งส่วนประกอบของอาคารและอุ ปกรณ์ในการจัดกิจกรรม

6

- เจ้าหน้าที่ทาความสะอาด

รับผิดชอบงานทาความสะอาดทุกส่วนของอาคารภายในโครงการ

- เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย

รับผิดชอบงานรักษาความปลอดภัยและอานวยความสะดวกให้กับผู ้ใช้โครงการ

6 3

บารุ ง

รวม

17

รวมทัง้ โครงการ

53

ตารางที่ 4.2 : อัตรากาลังของพนักงานและเจ้าหน้าที่ (ต่อ) ที่มา วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล , 2560

4-08


4.5 รายละเอียดผู ้ใช้โครงการ 4.5.2 กลุ่มเป้าหมายของผู ้เช้าใช้โครงการ

4.5.1 ประเภทของผู ้เข้าใช้โครงการ

4.5.2.1 กลุ่มผู ้ใช้หลัก

ประเภทของผู ้เข้าใช้โครงการ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 4.5.1.1 ผู ้ให้บริการ (บุ คลากรและเจ้าหน้าที่ภายในโครงการ)

ก) กลุ่มชาวบ้านในชุ มชน

ก) คณะกรรมการบริหารโครงการ

12

คน

ข) กลุ่มนักเรียน นักศึกษา

ข) ส่วนงานบริการนักเที่ยว

14

คน

ค) ผู ้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรม

ค) ส่วนบริหารโครงการ

22

คน

ง) ส่วนสนับสนุนโครงการ

17

คน

ก) กลุ่มนักท่องเที่ยวชาวไทย

รวม

65

คน

ข) กลุ่มนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ

4.5.2.2 กลุ่มผู ้ใช้รอง

4.5.1.2 ผู ้ใช้บริการโครงการ ก) คนในชุ มชน ข) นักเรียน นักศึกษา ค) นักเที่ยวชาวไทย ง) นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 4.5.1.3 ผู ้ให้บริการสินค้าและผลิตภัณฑ์ ก) พนักงานขา ข) พนักงานผู ้ช่วย

ภาพที่ 4.4 : ผู ้ใช้บริการโครงการ ที่มา http://publicdomainarchive.com/

4-09


4.5.3 ลักษณะแนวโน้มและจานวนของผู ้เข้าใช้โครงการ 4.5.3.1 ตารางจานวนผู ้เข้าใช้โครงการ ผู ้ใช้หลัก นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ นักท่องเที่ยวชาวไทย ผู ้ใช้รอง ชาวบ้านและคนทั่วไป นักเรียนและนักศึกษา ผู ้ให้บริการ คณะผู ้บริหารและพนักงาน

360 คน 291 คน กราฟแสดงแนวโน้มของนักท่องเที่ยวชาวไทย—ต่างชาติ ในช่ วงปี 2555-2558

274 คน 161 คน 65 คน

กราฟแสดงแนวโน้มของประชากรในพื้นที่ ในช่ วงปี 2555-2559

จานวนผู ้ใช้หลัก

จานวนผู ้ใช้รอง

นักท่องเที่ยว 650 คน

ชาวบ้านและนักเรียน 435 คน ผู ้ให้บริการโครงการ 65 คน

ตารางที่ 4.3 : วิเคราะห์จานวนผู ้ใช้โครงการ ที่มา วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล , 2560

4-10


4.5.4 ช่ วงเวลาการใช้งานของผู ้ใช้โครงการ เปิ ดบริการทุกวัน จันทร์ - เสาร์ เวลา 08.30—17.00 น. วันอาทิตย์ 09.00 - 23.30 น.

นักท่องเที่ยว

นักเรียานและนั กศึก่วษา ชาวบ้ นและคนทั ไป

นักเรียนและนักศึกษา

บุ คลากรภายในโครงการ

08.30 09.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.00 15.00 16.00 17.00 18.00 19.00 20.00 21.00 22.00 วันจันทร์ — เสาร์ ตารางที่ 4.4 : วิเคราะห์ช่วงเวลาการใช้งานโครงการ ที่มา วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล , 2560

4-11

วันอาทิตย์


4.6 การกาหนดรายละเอียดและกิจกรรมของโครงการ 4.6.1 การกาหนดกิจกรรมภายในโครงการ 4.6.1.1 ส่วนผู ้บริหาร

4.6.1.3 ส่วนงานบริหารโครงการ

ก) ส่วนห้องผู ้บริหาร

ก) ส่วนธุ รการ

ข) ส่วนพื้นที่พักคอย

ข) ส่วนการเงิน

ค) ห้องประชุ มฝ่ ายบริหาร

ค) ห้องประชุ มฝ่ ายบริหาร

ง) ห้องน้าและส่วนบริการ

ง) ส่วนงานเอกสารและพัสดุ

4.6.1.2 ส่วนบริการนักท่องเที่ยว

จ) ห้องน้าและส่วนบริการ

ก) ส่วนงานประชาสัมพันธ์

ฉ) พื้นที่พักคอย

ข) ส่วนงานบริการนักท่องเที่ยว

4.6.1.4 ส่วนพื้นที่เอนกประสงค์

ค) ส่วนต้อนรับและพักคอย

ก) ลานกิจกรรมเอกประสงค์

ง) ห้องน้า

ข) ส่วนจัดนิทรรศการชั่ วคราว

4.6.1.5 ส่วนสนับสนุนและซ่ อมบารุ ง

ค) ส่วนต้อนรับและพักคอย

ก) ส่วนงานซ่ อมบารุ งอุ ปกรณ์

ง) ส่วนพื้นที่เช่ าจักยาน

ข) ส่วนงานอาคารสาถานที่

จ) ห้องน้าและส่วนบริการ

ค) ส่วนงานรักษาความปลอดภัย ง) ส่วนงานทาความสะอาด

ภาพที่ 4.5 : เมืองสวย ด้วยตัวเรา ที่มา http://publicdomainarchive.com/page/5/

4-12


4.6.2 ตารางกาหนดรายละเอียดเกี่ยวกับพื้นที่ใช้สอยโครงการ องค์ประกอบ

จานวนผู ใ้ ช้ (คน)

พื้นที่ตอ่ หน่วย (ตรม./คน)

พื้นที่รวม (ตรม.)

อ้างอิง

1. ส่วนพื้นที่เอนกประสงค์ - ส่วนต้อนรับและพักคอย

180 - 200

1.5

270

A

- ส่วนลานกิจกรรมเอนกประสงค์เพื่อชุ มชน

50

3.00

500

C

- ส่วนจัดนิทรรศการกาลหมุ นเวียน

120

3.00

360

A/C

- ร้านอาหารพื้นถิ่น ตะกั่วป่ า

15

1.60

35

A

- ส่วนพักทานอาหาร

180 / 45 โต๊ะ

1.60

290

A

- ห้องน้าและส่วนบริการ

5

3.75

62.50

A

รวม ตารางที่ 4.5 : รายละเอียดพืน้ ที่ใช้สอยของโครงการ ที่มา ข้อมู ลจาก Architect Data และ Case study วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล , 2560

4-13

1520


องค์ประกอบ

จานวนผู ใ้ ช้ (คน)

พื้นที่ตอ่ หน่วย (ตรม/คน)

พื้นที่รวม (ตรม.)

อ้างอิง

2. ส่วนบริการนักท่องเที่ยว -ห้องรองผู ้อานวยการฝ่ าย

1

3.00

15

A

- ห้องหัวหน้าฝ่ ายประชาสัมพันธ์

1

3.00

12

A

- ห้องหัวหน้าฝ่ ายบริการนักท่องเที่ยว

1

3.00

12

A

- ส่วนงานประชาสัมพันธ์

14-15

1.40

70

A

- ส่วนเช่ าจักยานเพื่อการท่องเที่ยว (app ofo)

50

1.14

80

C

- แกลลอรี ตะกั่วป่ า มายโฮม

465-500

3.00

13,95

C

- ร้านกาแฟ

45

1.50

225

A/C

- ร้านขายสินค้าของที่ลึก

45

1.50

225

A/C

- ห้องเก็บของ

1

3.00

12

A

- ห้องน้าและส่วนพักคอย

10

105

A

- พื้นที่จอดรถ

20 คัน รวม

13.75

440 2,486

ตารางที่ 4.5 : รายละเอียดพืน้ ที่ใช้สอยของโครงการ (ต่อ) ที่มา ข้อมู ลจาก Architect Data และ Case study วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล , 2560

4-14


จานวนผู ใ้ ช้ (คน)

พื้นที่ตอ่ หน่วย (ตรม./คน)

พื้นที่รวม (ตรม.)

อ้างอิง

- ห้องผู ้อานวยการโครง

1

3.00

15

A

- ห้องรองผู ้อานวยการ

2

3.00

24

A

- ห้องคณะกรรมการบริหาร

3

3.00

36

A

- ห้องฝ่ ายนโยบายและแผนพัฒนา

3

3.00

36

A

- ส่วนเลขาณุการโครงการ

3

3.00

36

A

- ห้องพักรับรอง

5

1.50

25

A

- ห้องประชุ มฝ่ ายบริหาร

17-20

1.50

100

A/C

- ห้องน้าและส่วนบริการ

4

3.75

50

A/C

องค์ประกอบ 3. ส่วนผู ้บริหารโครงการ

รวม ตารางที่ 4.5 : รายละเอียดพืน้ ที่ใช้สอยของโครงการ ที่มา ข้อมู ลจาก Architect Data และ Case study วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล , 2560

4-15

320


องค์ประกอบ

จานวนผู ใ้ ช้

พื้นที่ตอ่ หน่วย (ตรม.)

พื้นที่รวม (ตรม.)

อ้างอิง

4. ส่วนงานบริหารโครงการ - ห้องรองผู อ้ านวยการฝ่ าย

1

3.00

15

A

- ห้องหัวหน้าฝ่ ายธุ รการและการเงิน

1

3.00

12

A

- ส่วนงานธุ รการและการเงิน

6

1.60

32

A

- ห้องหัวหน้าฝ่ ายบุ คคล

1

3.00

12

A

- ส่วนงานฝ่ ายบุ คคล

4

1.60

21.50

A

-ห้องน้าและส่วนบริการ

4

3.75

50

A/C

- ห้องหัวหน้าฝ่ ายงานเอกสารและพัสดุ

1

1.50

12

A

- ส่วนงานเอกสารและพัสดุ

4

1.6

21.50

A

- ห้องประชุ มใหญ่

51

1.6

275

A/C

รวม

450

ตารางที่ 4.5 : รายละเอียดพืน้ ที่ใช้สอยของโครงการ (ต่อ) ที่มา ข้อมู ลจาก Architect Data และ Case study วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล , 2560

4-16


องค์ประกอบ

จานวนผู ใ้ ช้

พื้นที่ตอ่ หน่วย (ตรม.)

พื้นที่รวม (ตรม.)

อ้างอิง

5. ส่วนงานสนับสนุนและซ่ อมบารุง - ห้องรองผู ้อานวยการฝ่ าย

1

3.00

15

A

-ห้องหัวหน้าฝ่ ายเทคนิคและซ่ อมบารุ ง

1

3.00

12

A

- ส่วนงานเทคนิคและซ่ อมบารุ ง

6

3.00

60.

A

- ส่วนงานอาคารสถานที่

3

3.00

30.

A

- ส่วนงานรักษาปลอดภัย

5

1.50

25

A/C

- ส่วนงานทาความสะอาด

6

1.50

50

A

- ห้องเก็บของ

2

3.15

24

A/C

รวม รวมทัง้ หมด

216 5,000

ตารางที่ 4.5 : รายละเอียดพืน้ ที่ใช้สอยของโครงการ (ต่อ)

A : ARCHOTECT DATA

ที่มา ข้อมู ลจาก Architect Data และ Case study วิเคราะห์โดย ธนชิ ต บาเพ็ญผล , 2560

C : CAST STUDY

4-17


4.7 สรุ ปพื้นที่ใช้สอยโครงการ 4.7.1 พื้นที่ใช้สอยหลัก

4.7.2 พื้นที่ใช้สอยรอง

ก) แกลลอรี ตะกั่วป่ า มายโฮม

ก) ส่วนพื้นที่เอนกประสงค์เพื่อชุ มชน

ข) ส่วนจัดนิทรรศการกาลหมุ นเวียน

ก) ร้านกาแฟ

ค) ส่วนเช่ าจักยานเพื่อการท่องเที่ยว

ข) ร้านขายสินค้าของที่ลึก

ง) ส่วนจัดนิทรรศการกาลหมุ นเวียน

ค) ส่วนงานสนับสนุนและซ่ อมบารุ ง

4.34 %

9.05 % 6.43 %

สรุปพื้นที่ใช้สอย

30.5 %

5,000 ตรม.

ง) ร้านอาหารพื้นถิ่น ตะกั่วป่ า

4.7.3 พื้นที่บริการ

4.7.4 พื้นที่ฝ่ายริหารโครงการ

49.5 %

ก) ที่จอดรถ

ก) แผนกผู ้บริการ

ส่วนพื้นที่เอนกประสงค์

ข) ร้านขายสินค้าของที่ลึก

ข) แผนกงานบริหารโครงการ

ส่วนบริการนักท่องเที่ยวรวมที่จอดรถ 2486 ตรม

ค) ส่วนพักทานอาหาร

ค) ส่วนงานสนับสนุนและซ่ อมบารุ ง

ส่วนงานบริหารโครงการ

450 ตรม.

ง) ร้านขายสินค้าของที่ลึก

ส่วนผู ้บริหารโครงการ

320 ตรม

ฉ) ห้องน้า

ส่วนงานซ่ อมบารุง

216 ตรม

รวมทัง้ โครงการ

5,000 ตรม

1520 ตรม.

4-18


4.8 การประมาณราคาค่าก่อสร้าง ข) ค่าดาเนินการ

4.8.1 ราคาที่ดิน (ถนนศรีตะกั่วป่ า ต.ตะกั่วป่ า อ.ตะกั่วป่ า จ.พังงา)

8,800,000 บาท (8 % จากราคาค่าก่อสร้าง)

4.8.1.1 ราคาประเมิน

ค) ค่าบริหารโครงการ

ขนาดที่ดิน 5,100 ตรม. (3.18 ไร่)

5,500,000 บาท (5 % จากราคาค่าก่อสร้าง)

4.8.1.2 ราคาซื้ อขายตามจริง ราคาที่ดิน / ตรม. 12.,500 บาท (www.teedin108.com , กรมธรารักษ์,2558)

จ) ค่าความคลาดเคลื่อนทางเศรษฐกิจ

ราคาค่าที่ดิน 12,500 x 5,100 = 63,750,000 บาท

8,800,000 บาท (8 % จากราคาค่าก่อสร้าง)

4.8.2 ราคาค่าก่อสร้าง ค่าก่อสร้าง 22,000 บาท / ตรม. พื้นที่โครงการ 5,000 ตรม. ราคาค่าก่อสร้างรวม 110,000,000 บาท ก) ค่าเฟอร์นิเจอร์และอุ ปกรณ์ประกอบอาคาร

5%

8% ค่าก่อสร้าง

8%

22,000,000 บาท (20 % จากราคาค่าก่อสร้าง)

ค่าเฟอร์นิเจอร์ ค่าดาเนินการ

มู ลค่าการก่อสร้าง

20 %

ค่าบริหาร

173,750,000 บาท

ค่าความคาดเคลื่อน

69 %

4-19


4.8.3 การคาดคะเนรายได้และค่าใช้จ่ายของโครงการ 4.8.3.1 รายได้ของโครงการ ก) บริการให้เช้าจักยานเพื่อการท่องเที่ยว อัตราค่าบริการ 1 เหรียญสหรัฐ / 35 บาท : 1 ชม.

รายได้ทงั้ หมดของโครงการต่อเดือน 28,802,100 บาท

(ข้อมู ลจาก app OFO Ride)

4.8.3.2 ค่าใช้จ่ายของโครงการ

จักยานทั้งหมด 50 คัน (ในระยะเริ่มต้น) การเช้า ครึ่งวัน 3 ชม. และ เต็มวัน 6 ชั่ วโมง = 20 x 315 บาท/วัน = 472,500

ราคาค่าก่อสร้างรวมค่าที่ดิน 173,750,000 บาท

บาท/เดือน ข) ค่าเข้าชมแกลลอรีและนิทรรศการ อัตราค่าบริการ นักศึกษา 30 บาท/คน ชาวไทย 50 บาท/คน ชาวต่างชาติ 150 บาท/คน ผู ้เข้าชมโครงการคิดเป็น 80 % ของผู ้เข้าใช่ โครงการทัง้ หมด = 6,265,200 บาท/เดือน ค) ร้านขายสินค้าและของที่ระลึก อัตรากาลังการซื้ อเฉลี่ย 300 บาท/คน 9% จากรายได้การขายสินค้า = 22,064,400 บาท/เดือน

ในการบริหารโครงการจะต้องคานึกถึงการแบ่งสัดส่วน เงิ น จากรายได้ เพื่ อ เป็ น การจ่ า ยค่ า ด าเนิ น การต่ า งๆของผู ้ ให้บริการในโครงการ ก) ค่ า บริ ห ารโครงการ (คิ ด เป็ น 60 % ของรายได้ ทัง้ หมดต่อเดือน) = 17,281,260 บาท/เดือน ข) ค่ า ก่ อ สร้ า งอาคาร (คิ ด เป็ น 40 % ของรายได้ ทัง้ หมดต่อเดือน) 11,520,840 บาท/เดือน โครงการนี้ จ ะสามารถคื น ทุ น ใน 10 ปี ข้ า งหน้ า เนื่องจากเป็นโครงการที่ไม่ได้หวังผลกาไรจากการลงทุน แต่ ต้องการที่จะฟื้ นฟู พื้นที่เมืองเก่าตะกั่วป่ าให้กลับมามีชีวิตชี วา

ภาพที่ 4.6 : ภาพประกอบการคานวนค่าใช้จ่ายของโครงการ ที่มา http://jaymantri.com/post/119561577503/download

4-20


4.9 ระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง 4.9.1 ระบบโครงสร้างอาคาร 4.9.1.1 ระบบฐานรากอาคาร (Footing) ท าหน้ า ที่ รั บ น้ า หนั ก จากโครงสร้ า งทั้ ง หมดแล้ ว ถ่ า ยน้ าหนั ก ลงสู่ เ สาเข็ ม หรื อ ดิ น โดยตรง คุณสมบัติของดินที่รองรับฐานรากควรมีความสามารถ รองรั บ น้ า หนั ก บรรทุ ก ได้ โ ดยไม่เ กิด การเคลื่ อ นตั ว หรื อ พังทลายของดินใต้ฐานรากและต้องไม่เกิดการทรุ ดตัวลง มากจนก่อให้เกิดความเสียหายแก่โครงสร้าง ซึ่ งฐานราก แต่ประเภทมีความสมารถในการรับน้าหนักต่างต่างกัน

ซึ่ งอาคารที่มีขนาดปานกลางและก่อสร้างติดกับ อาคารเดิ ม ที่ มี ค วามเก่ า แก่ นั้ น การเลื อ กฐานรากให้ เหมาะสมกับโครงสร้างอาคาร มีดังนี้ ก) ฐานแบบแผ่เดี่ยว ข) ฐานรากแบบมีคานรัด ค) ฐานรากแบบแพ ง) ฐานรากต่อเนื่องรับกาแพง

ฐานราก ถูกแบ่งออกตามลักษณะได้ 2 ชนิด คือ ก) ฐานรากตื้น (Shallow Foundation) หรือแบบ ไม่มีเสาเข็มรองรับ ข) ฐานรากลึ ก (Deep Foundation) หรื อ แบบมี เสาเข็มรองรับ หมายถึงฐานรากที่ถ่ายน้ าหนักโครงสร้าง ลงสู่ดินด้วยเสาเข็ม

ภาพที่ 4.7 : ภาพแสดงระบบฐานรากอาคาร (บน,กลาง,ล่าง) ที่มา https://www.scgbuildingmaterials.com/th/LivingIdea/NewBuild/

4-21


4.9.1.2 ระบบเสาและคาน (Skeleton Frame or Column and beam) เ ป็ น โครงสร้างหลักของอาคาร ในการออกแบบและก่อสร้างอาคาร ต้อง พิจารณาเสาคานให้เหมาะสมกับสภาพที่ตั้งและลักษณะของอาคารที่ ก่อสร้าง ก) เสาเหล็ก แข็งแรงทนทานกว่าเสาไม้ สามารถสั่งซื้ อ ขนาดมาตรฐานต่าง ๆ ได้ เหล็กแข็งแรง ทนทาน น้าหนักเบา ก่อสร้าง ง่าย รวดเร็ว แต่ก็ยังมีปัญหาเรื่องสนิม และความทนไฟ จึงอาจต้อง หุ้ม ด้ว ยคอนกรี ต หรื อทาสี กั นสนิ มทั บ นอกจากนั้นเสาเหล็ก จะต้ อ ง ออกแบบรอยต่อให้ดี ไม่ว่าจะต่อกับโครงสร้างชนิดใด ไม่ว่าจะโดยวิธี เชื่ อม หรือใช้สลักเกลียว ข) เสาคอนกรีต นิยมใช้มากที่สุดในปั จจุ บัน เนื่องจาก สามารถหล่อขึ้นรู ปต่าง ๆ เช่ น อาจเป็นเสากลม หรือเหลี่ยมได้ตามที่

ต้องการโดยทั่วไปนิยมหล่อเสาคอนกรีตหน้าตัดสี่เหลี่ยมเนื่องจากทา แบบหล่อง่ายกว่า ส่วนหน้าตัดกลมต้องใช้แบบหล่อพิเศษ เสาคอนกรีต จะเสริมยืน (ที่มุม หรือรอบ ๆ หน้าตัด และตลอดความยาวเสา) เพื่อ ช่ วยต้ า นทานน้ า หนั ก หรื อ แรง และเหล็ ก ปลอกอาจเป็ น วงเดี่ ย ว ๆ (เหล็กปลอกเดี่ยว) หรือเหล็กปลอกที่พันต่อเนื่องเป็ นเกลียว รอบ ๆ เหล็กยืน โดยเหล็กปลอกจะช่ วยต้านทานการวิบัติ

ค) คานเหล็ก นิยมใช้ในอาคารขนาดใหญ่ หรืออาคารที่ต้องการลดระยะเวลาก่อสร้าง หรือต้องการ ให้โครงสร้างโดยรวมมีน้ าหนักเบากว่าใช้คอนกรีตเสริม เหล็ ก ไม่ นิ ย มใช้ กั บ อาคารขนาดเล็ ก เพราะราคาจะ

ค่อนข้างแพง อีกทั้งต้องออกแบบจุ ดต่ออย่างพิถีพิถันให้ มั่นคงแข็งแรง และต้องป้องกันอัคคีภัย คานเหล็กใช้เหล็ก รู ปพรรณชนิดรีดร้อนหรือเหล็กรีดเย็น ตามความจาเป็น คานเหล็กอาจใช้ประกอบกับเสาเหล็ก หรือเสาคอนกรีต คานเหล็กอาจใช้รองรับตงไม้ หรือตงเหล็ก อีกนัยหนึ่ง คานเหล็กอาจรองรับพื้นเหล็ก พื้นคอนกรีต ง) คานคอนกรีตเสริมเหล็ก ส่วนใหญ่หล่อ ในที่ โดยยื่นเหล็กเสริมเข้าไปในเสาคอนกรีตเพื่อยึด หรือ ถ่ า ยน้ า หนั ก โดยทั่ ว ไปไม่ ใ ช้ ค านคอนกรี ต กั บ เสาเหล็ ก หรือเสาไม้ เนื่องจากทาการเชื่ อมต่อ หรือยึดกันได้ยาก ดังนั้นคานคอนกรีตเสริมเหล็กมักใช้ร่วมกับเสาคอนกรีต เสริมเหล็ก แต่คานคอนกรีตเสริมเหล็ก ใช้ร่วมกับระบบพื้น ได้แทบทุกชนิด เช่ น พื้นคอนกรีต (ทั้งแผ่นพื้นสาเร็จรู ป หรือแผ่นพื้นหล่อในที่) พื้นเหล็ก หรือแม้แต่พื้นไม้

ภาพที่ 4.8 : ระบบเสาและคานที่ใช้กับอาคาร ที่มา

http://www.oldcastleprecastspokane.com/

beam-and-columns

4-22


4.9.1.3 ระบบผนังรับน้าหนัก (Bearing wall) ผนังรับน้าหนักเป็นระบบการก่อสร้างรู ปแบบหนึ่ง ในหลายๆรู ปแบบที่มีใช้กันใน ปั จจุ บัน ระบบผนังรับน้ าหนักจะใช้ตั ว ผนังเป็นทั้งตัวกันห้อง และเป็นชิ้ นส่วนที่ใช้รับกาลังในแนวดิ่งต่างๆที่ เกิดขึ้นกับอาคารทัง้ แรงลม น้าหนักบรรทุกจร น้าหนักบรรทุกตายตัว ฯลฯ ความแตกต่างกันนี้ทาให้การออกแบบโครงสร้างต่างๆตลอดจน ขั้นตอนการก่อสร้างมี ความแตกต่างกันกับระบบโครงสร้างเสาคานที่ พบเห็นกันอยู ่ท่วั ๆไป

ภาพที่ 4.9 : โครงสร้างของผนังรับน้าหนัก ที่มา https://www.scgbuildingmaterials.com/th/LivingIdea/NewBuild/

4-23


4.9.1.4 ระบบโครงสร้างช่ วงพาดกว้าง โดยหลั ก การออกแบบแล้ ว เป็ น โครงสร้ า งที่ มี ลั ก ษณะช่ วงพาดยาวคลุ ม เนื้ อ ที่ ได้ ก ว้ า ง โดยมี

เนื่ อ งจากข้ อ จ ากั ด ว่ า ผิ ว ผ้ า ต้อ งพลิก กลั บ ด้ า นกั น มันจึงมีรูปร่างที่จา กัด แต่กระนั้น เราก็สามรถใช้

หลากหลายประเภทตามแต่การใช้งานของอาคาร โดย ระบบโครงสร้างที่นามาใช้กับโครงการ มีดังนี้

โครงเหล็กช่ วยในจุ ดที่สาคัญ หรือเอา รู ปร่างต่าง ๆ ที่ มั น ท าได้ ม าประกอบเข้ า ด้ ว ยกั น เกิ ด เป็ น roof

ก) ระบบโครงถัก

จะประกอบขึ้นจากชิ้ นส่วนย่อยเชื่ อมต่อเข้าด้วยกัน ด้วยจุ ดยึดหมุ นได้ (Hinges)ให้มีลักษณะเป็นรู ปร่างแบบ โครงสามเหลี่ยม (Triangulated Patterns) ชิ้ นส่วนแต่ละ ชิ้ น จะรับ เพี ย งแรงตามแนวแกนและแรงจะมี ข นาดคงที่ ตลอดความยาวของชิ้ นส่ ว นนั้ น ๆ จุ ดรองรั บ ของ

form ที่ เ ราต้ อ งการได้ เมื่ อ เกิ ด ลมพั ด Tension Fabric Structure จะ Balance load ด้ ว ยตั ว ของ มันเอง เพื่อให้ทุกจุ ดบนผ้ากลับมาตึงเท่ากันหมด มัน จึงใช้โครง สร้างเหล็กน้อยกว่า และมีราคาต่อตาราง เมตรที่ถูกกว่าหลังคาแบบมี โครง (ถ้าออกแบบให้ แข็งแรงกดเท่ากัน)

โครงสร้ า งจะเป็ น แบบหมุ น ได้ (Hinges) หรื อ ไม่ ก็ แ บบ เลื่อนได้ (Roller) ข) โครงสร้างแบบเต็นท์หรือแบบแผ่นผ้าใบ คือการเอาผ้าใบ มาคลุมบนโครงสร้าง ที่อาจจะ เป็นไม้ หรือโครงเหล็กก็แล้วแต่ รู ปร่างของมันก็จะเป็นไป ตามรู ปร่างของโครงที่มันไปหุ้มอยู ่ เพราะฉะนั้นเต็นท์จึง จาเป็นต้องมีแปมา รองรับทุก ๆ 1-3 เมตร เมื่อมีลมพัด ก็จะมีการเคลื่อนตัว มีผลทาให้ใยผ้าด้านในเกิดการเสียด สี และขาดเมื่อใช้งานไปนาน ๆ

ภาพที่ 4.10 : ลักษณะของโครงสร้างช่ วงผาดกว้าง ที่มา http://2.bp.blogspot.com/-tuoIm4r7czY/T7_vTOaBWBI/AAAAAAAAAUg/Z50Btt3qi80/s1600/01.png

4-24


4.9.2 ระบบพื้น 4.9.2.1 พื้ น ส าเร็ จ รู ปแบบแผ่ น ท้ อ งเรี ย บ (Precast Concrete Slabs ) โครงสร้างของพื้นชนิดนี้จะประกอบด้วยพื้นคอนกรีตอัดแรง สาเร็จรู ปแบบแผ่นท้องเรียบ (นามาจัดวางเรียงกันเป็นพื้นห้องแล้วเททับ ด้ ว ยคอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก อี ก ชั้ น หนึ่ ง พื้ น ประเภทนี้ เ ป็ น ที่ นิ ย มใช้ กั น

แพร่ ห ลาย พื้ น คอนกรี ต อั ด แรงแบบแผ่ น ท้ อ งเรี ย บที่ นิ ย มใช้ กั น และมี จาหน่ายทั่วไปในท้องตลาดนั้น ทาจากปู นซี เมนต์ชนิดแข็งตัวเร็วเสริม ด้วยลวดเหล็กอัดแรงกาลังสูงส่วนใหญ่จะเป็นพื้นสาเร็จรู ปที่มีขนาดความ กว้าง 30-35 เซนติเมตร หนา 5 เซนติเมตรและมีช่วงความยาว 1.0-4.5 เมตร ใช้โครงลวดเหล็กอัดแรงขนาด 4-5 มิลลิเมตร 4.9.2.2 พื้ น ส าเร็ จ รู ป แบบกลวง (Hollow Core Slab) เป็ น พื้ น คอนกรีตสาเร็จรู ปอีกรู ปแบบหนึ่ง พื้นชนิดนี้จะมีช่วงผาดที่ยาวกว่าแบบ ท้องเรียบ โดยมีช่วงผาดถึง 12 เมตรโดยไม่แอ่นตัวจึงไม่ต้องใช้ไม้ค้ า เวลาก่อสร้าง มีขนาดและความหนาให้เลือกมากกว่า สามารถรับน้าหนัก

ได้ ดี ก ว่ า การเทคอนกรี ต ทั บ หน้ า อาจท าหรื อ ไม่ ก็ ไ ด้ ขึ้ น อยู ่ กั บ วัตถุประสงค์ในการใช้ งาน เนื่อ งจากพื้นมีลั กษณะที่กลวงฉะนั้นพื้น ที่ ภายในก็สามารถเดินสายไฟหรือท่อน้าได้ ภาพที่ : 4.11 ลักษณะของโครงสร้างพื้น 1 ที่มา http://2.bp.blogspot.com/-tuoIm4r7czY/T7_vTOaBWBI/AAAAAAAAAUg/Z50Btt3qi80/s1600/01.png

4-25


4.9.2.3 พื้ น คอนกรี ต หล่ อ ในที่ (Cast-in-Place Concrete Slabs) จะมี ก ระบวนการท าแบบส าหรั บ หล่ อ พื้ น ผู กเหล็ ก เสริ ม ของพื้ น เชื่ อมกั บ เหล็ ก ในคาน แล้ ว จึ ง เทคอนกรี ต พื้น ให้ เ ป็ น เนื้ อ เดี ย วกั บ คานส่ ว นบน โดย สาหรับพื้นชั้ นสองขึ้นไปต้องมีการตั้งค้ ายันแบบใต้ท้องพื้นจนกว่าคอนกรีต จะแข็งตัว อย่างน้อย 14 วัน ซึ่ ง พื้นคอนกรีตหล่อในที่มี 2 รู ปแบบคือ พื้น คอนกรีตวางบนคาน และ พื้นคอนกรีตวางบนดิน 4.9.2.4 แผ่นเหล็กพื้นโครงสร้าง (Metal Deck) เป็นระบบที่เหมาะกับ โครงสร้ า งเหล็ ก ประกอบด้ ว ยแผ่ น เหล็ ก รี ด เป็ น ลอนต่ า งๆ ซึ่ งผลิ ต จาก โรงงานน ามาวางบนคาน โดยมี หั ว หมุ ด เหล็ ก (Shear stud) ยึ ด กั บ คาน เหล็กเป็นระยะๆ แล้วเทคอนกรีตด้านบน แผ่นเหล็กนี้จะเป็นทั้งแบบและเหล็ก เสริมไปในตัว ดังนั้นเหล็กเสริมจะน้อยกว่าแผ่นพื้นระบบอื่นๆ แต่ยังคงต้อง เสริมเหล็กในคอนกรีตเพื่อกันการแตกร้าว นอกจากนี้ ท้องแผ่นเหล็กใช้เป็น ฝ้าเพดานสาหรับชั้ นใต้พื้นนั้นได้ด้วย พื้นชนิดนี้ค่อนข้างเบาและก่อสร้าง รวดเร็ว สามารถใช้ทาหลังคาดาดฟ้ารวมถึงพื้นที่เปี ยกได้ โดยควรทาระบบ กันซึ มเพิ่มเติม อย่างไรก็ตาม ราคาค่าก่อสร้างโดยรวมยังสูงกว่าระบบพื้น ประเภทอื่น และควรพ่นหรือทาสีกันสนิมและกันไฟเพิ่มเติมด้วย ภาพที่ 4.12 : ลักษณะของโครงสร้างพื้น 2 ที่มา http://2.bp.blogspot.com/-tuoIm4r7czY/T7_vTOaBWBI/AAAAAAAAAUg/Z50Btt3qi80/s1600/01.png

4-26


4.9.3 ระบบผนัง 4.9.3.1 ผนังก่ออิฐฉาบปู น ผนั ง อาคารที่ ใ ช้ วั ส ดุ ก่ อ อย่ า งเช่ น อิ ฐ มอญ อิ ฐ มวลเบา คอนกรีตบล็อก ฯลฯ หรือหล่อคอนกรีตเสริมเหล็ก (ทั้งแบบหล่อในที่และ ผนังคอนกรีตสาเร็จรู ปที่เรียกว่าผนัง Precast) โดยอาจจะมีการฉาบปู นทับ ที่ ผิ ว หน้ า หรื อ โชว์ ผิ ว ของวั ส ดุ ก่ อ (ผนั ง ก่ อ อิ ฐ โชว์ แ นว) หรื อ ผิ ว ของ คอนกรีต (ผนังคอนกรีต เปลือ ย/ผนั งปู นเปลือย) นิยมใช้ในงานก่ อสร้า ง อาคารทุกประเภทตั้งแต่บ้านชั้ นเดียวไปจนถึงอาคารสูง เนื่องจากมีความ แข็งแรงทนทาน และเป็นเทคนิคการก่อสร้างที่ช่างบ้านเราคุ้นเคย แต่ผนังที่ หนารวมประมาณ 10 ซม. จะมีน้ าหนักค่อนข้างมากประมาณ 90 - 240 กิโลกรัมต่อตารางเมตร โดยลักษณะการก่อนั้นมีด้วยกัน 3 ลักษณะ ขึ้นอยู ่ กับความเหมาะสมในการเลือกใช้กับอาคาร ก) ผนังก่ออิฐครึ่งแผ่น

ข) ผนังก่ออิฐเต็มแผ่น ค) ผนังก่ออิฐสองชั้ น

ภาพที่ : 4.13 ลักษณะการก่อผนังที่ใช้กับโครงการ ที่มา https://www.scgbuildingmaterials.com/th/LivingIdea/NewBuild/

4-27


4.9.3.2 ระบบผนังกระจก ผนั ง กระจก คื อ ผนั ง ที่ ท าจากกระจกทั้ ง ผื น โดยมี ค วามสู ง ตั้งแต่พื้นถึงท้องคาน หรือท้องพื้นชั้ นบน หรืออาจสูงต่อเนื่องมากกว่าหนึ่ง ชั้ น มี ทั้ ง บานกระจกแบบติ ด ตาย และบานกระจกที่ เ ป็ น ช่ องเปิ ดประตู หน้าต่าง หรือจะติดตั้งทั้งสองแบบไว้ร่วมกัน สามารถแบ่งตามรู ปแบบการ ติดตัง้ ได้เป็น 2 แบบตามแต่ลักษณะการใช้งานและความสวยงามของอาคาร ก) ระบบโครงสร้างผนังกระจก (Structural Glass Wall หรือ Glass Wall) - โครงสร้างเหล็ก (Steel Structure System) - โครงสานเหล็กรับแรงดึง (Tension Rod System) - โครงสันกระจก (Glass Rib System)

- โครงเคเบิลขึง (Cable Net System) ข) ระบบผนัง Curtain wall

ภาพที่ 4.14 : ลักษณะผนังกระจกและโครงสร้าง ที่มา https://www.scgbuildingmaterials.com/th/LivingIdea/NewBuild/

4-28


4.9.4 ระบบสุขาภิบาล 4.9.4.1 ระบบน้าภายในอาคาร การน าน้ า มาใช้ ในอาคารต้ อ งมี ก ารจั ด ระบบ น้ าประปา ระบบการกาจัดน้ าทิ้ งและก าจัด น้ า โสโครกที่ ดี

จ) ระบบท่ อ ระบายอากาศ หรื อ เรี ย กสั้ น ๆว่ า ท่ อ อากาศ ท่อนี้จะติดตั้งเข้ากับระบบท่อระบายน้ าเพื่อป้องกันปั ญหา สุญญากาศในท่อระบายน้าทาให้ระบบระบายน้ าสามารถทางานได้

เพื่อให้เกิดความสะดวกในการใช้งานและการบารุ งรักษา ให้เหมาะสมกับลักษณะใช้งาน เพื่อประสิทธิภาพในการใช้

อย่างสะดวก

งาน ระบบท่อสุขาภิบาลในอาคารมีอยู ่ 7ระบบ ได้แก่

ฝนตก ออกจากตัวอาคาร

ก) ระบบน้าดี (หรือน้ าประปา) เป็นระบบท่อที่ใช้งาน ในการลาเลียงน้าสะอาดไปใช้ตามจุ ดต่างๆภายในโครงการ

ช) ระบบระบายน้ าภายนอกตัวอาคาร เป็นระบบท่อที่ ระบายน้าบริเวณโดยรอบอาคารเข้าสู่ระบบระบายน้าสาธารณะ

ข) ระบบระบายน้ าโสโครก เป็นระบบท่อที่นาน้ าเสียที่

ระบบสุ ข าภิ บ าลทั้ ง 7 ระบบนี้ ท างวิ ศ วกรจะท าการ

ถูกใช้งานจากโถส้วมหริโถปั สสาวะออกจากตัวอาคารและ เข้าสู่ระบบบาบัดน้าเสียก่อนปล่อยออกสู่ภายนอกโครงการ

ออกแบบแนวท่อ ให้การทางานแต่ละส่วนสามารถทางานร่วมกันได้ รวมถึงขนาดและการเชื่ อมต่อของระบบท่อ

ค) ระบบระบายน้ าทิ้ง เป็ นระบบท่อที่นาน้ าเสียจาก การใช้งานกิจกรรมอื่นๆ ออกจากตัวอาคารและเข้าสู่ระบบ

ระบบน้ าดีจะเป็นระบบท่อที่ต้องการแรงดันน้ าจากปั้ ม เพื่อผลักดันน้าไปยังส่วนต่างๆของอาคารได้ตามต้องการ

บาบัดน้าเสียก่อนปล่อยออกสู้ภายนอกโครงการ

ท่อระบายนั้นจะอาศัยแรงดึงดูดของโลกในการลาเลียง ฉะนัน้ การวางแนวท่อระบายน้าควรคานึงถึงทิศทางการไหลของน้า ในท่อเสมอด้วยหลักที่ว่า น้าไหลจากที่สูงลงสู่ท่ ตี ่ า

ง) ระบบบาบัดน้าเสีย เป็นระบบที่ใช้บาบัดน้ าที่ถูกใช้ งานภายในโครงการให้มีค่าคุณสมบัติต่างๆของน้ าอยู ่ใน

ฉ) ระบบท่อระบายน้าฝน ทาหน้าที่ลาเลียงน้าที่เกิดจาก

เกณฑ์มาตรฐานก่อนปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ ภาพที่ 4.15 : ภาพแสดงระบบสุขาภิบาล ที่มา ภาพถ่ายโดย นาย ธนชิ ต บาเพ็ญผล ,2559

4-29


4.9.4.1 ระบบบาบัดน้าเสียในอาคาร น้ า ที่ ผ่ า นการใช้ ง านภายในอาคารจะเปลี่ ย นสภาพ กลายเป็นน้ าเสีย เนื่องจากปนเปื้ อน สิ่งสกปกต่างๆ โดยทั่วไปแล้ว ประเภทของระบบบาบัดน้าเสียมีอยู ่ 2 ระบบ ก) ระบบบาบัดน้าทิง้ (Waste Water System) ข) ระบบบาบัดน้าโสโครก (Soil Water System) ซึ่ งการบาบัดน้ าเสียก่อนระบายกลับสู่สาธารณะตาม กฎหมายบาบัดน้าโสโครกที่นิยมใช้กันทั่วไป มี 2 ระบบ - บ่อเกรอะ บ่อซึ ม - ระบบถังบาบัดสาเร็จรู ป ค) บ่อดักไขมัน (Grease Trap)

ภาพที่ 4.16 : ผังการระบายน้าทิ้งภายในอาคาร ที่มา https://www.scgbuildingmaterials.com/th/LivingIdea/NewBuild/

4-30


4.9.5 ระบบไฟฟ้า 4.9.5.1 ระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ระบบไฟฟ้าเป็นระบบสาธารณูปโภคที่มีความสาคัญ โดยส่งจาก แหล่งกาเนิดไปยังผู ้ใช้ไฟฟ้า ตามประเภทการใช้งาน ซึ่ งมีลาดับ การส่งกระไฟฟ้าจากสถานีไฟฟ้าแรงสูง สถานีไฟฟ้าย่อย หม้อ แปลงไฟฟ้า ให้กระแสไฟฟ้าต่ าลงและเข้าสู้ตัวอาคาร โดยระบบ

ไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 ระบบ ดังนี้ ก) ระบบไฟฟ้า 1 เฟส 3 สาย มีแรงดันไฟฟ้าขนาด 220 โวลท์ เหมาะสาหรับบ้านพักอาศัยทั่วไป ข) ระบบไฟฟ้ า 3 เฟส 5 สาย มี แ รงดั น ไฟฟ้ า ระหว่ า งระหว่ า งเฟสกั บ นิ ว ทรั ล เท่ า กั บ 220 โวลท์ และ แรงดันไฟฟ้าระหว่างเฟสด้วยกันเท่ากับ 380 โวลท์ 4.9.3.2 การเดินสายไฟภายในอาคาร ก) การเดินสายไฟแบบเปิ ด การเดินสายไฟฟ้าไปตาม

ผนังหรือเพดาน โดนใช้เข็มขัดรัดสายเป็นตัวยึดสายไฟ ข้อดีคือ สามารถตรวจสอบซอมแซมได้ง่าย

ภาพที่ 4.17 : อุ ปกรณ์ควบคุมไฟฟ้าในอาคาร ที่มา https://www.scgbuildingmaterials.com/th/LivingIdea/NewBuild/

4-31


4.9.5.2 ระบบการให้แสงสว่างของอาคาร

ระบบการให้แสงรอง

ห้อ ง ผู ้อ ยู ่ในห้ อ ง การมองเห็ น และสไตล์ ก ารตกแต่ ง

ก) แสงสว่างแบบส่องเน้น (Accent Lighting) เป็น การให้แสงแบบส่องเน้นที่วัตถุใดวัตถุหนึ่งเพื่อให้เกิดความ

ระบบการให้แสงสว่างโดยพื้นฐานประกอบด้วย ระบบการ

สนใจ โดยทั่วไปแสงประเภทนี้ได้มาจากแสงสปอต

ให้แสงหลัก และระบบการให้แสงรอง

ข) แสงสว่างแบบเอฟเฟค หมายถึงแสงเพื่อสร้าง บรรยากาศที่น่าสนใจ แต่ไม่ได้ส่องเน้นวัตถุเพื่อเรียกร้อง

ระบบการให้แสงสว่างนั้นขึ้นอยู ่กับการใช้งานของ

ระบบการให้แสงหลัก ก) แสงสว่างทั่วไป คือ การให้แสงกระจายทั่วไป เท่ากันทั้งบริเวณพื้นที่ใช้งาน ซึ่ งใช้กับการให้แสงสว่างไม่ มากเกินไป แสงสว่างดังกล่าวไม่ได้เน้นเรื่องความสวยงาม มากนัก ดังนั้นการประหยัดพลังงานสามารถทาได้ในแสง สว่างทั่วไปนี้ ข) แสงสว่างเฉพาะที่ คือ การให้แสงสว่างเป็นบาง บริเวณเฉพาะที่ทางานเท่านั้น เพื่อการประหยัดพลังงาน ไฟฟ้า โดยไม่ต้องให้สม่ าเสมอเหมือนแบบแรก เช่ น การให้ แสงสว่ า งจากฝ้ าเพดานโดยติ ด ตั้ ง เฉพาะเหนื อ โต๊ ะ หรื อ บริเวณใช้งานให้ได้ความส่องสว่างตามต้องการ

ความสนใจ เช่ นโคมที่ติดตั้งที่เพดานเพื่อสร้างรู ปแบบของ แสงที่กาแพง เป็นต้น ค) แสงสว่ า งตกแต่ ง เป็ น แสงที่ ไ ด้ จ ากโคมหรื อ หลอดที่สวยงามเพื่อสร้างจุ ดสนใจในการตกแต่งภายใน ง)

แสงสว่ า งงานสถาปั ตย์ บางที ก็ เ รี ย ก Structural Lighting ให้ แ สงสว่ า งเพื่ อ ให้ สั ม พั น ธ์ กั บ งาน ทางด้านสถาปั ตยกรรม เช่ น การให้แสงไฟจากหลืบ การ ให้แสงจากบังตา หรือการให้แสงจากที่ซ่อนหลอด จ) แสงสว่างตามอารมณ์ แสงสว่างประเภทนี้ ไม่ใช่ เทคนิคการให้แสงพิเศษแต่อย่างใด แต่อาศัยการใช้ สวิตช์ หรือตัวหรี่ไฟเพื่อสร้างบรรยากาศของแสงให้ได้ระดับ ความส่องสว่างตามการใช้งานที่ต้องการ

ภาพที่ 4.18 : ลักษณะของไฟฟ้าส่องสว่างของอาคาร ที่มา https://i.ytimg.com/

4-32


4.9.6 ระบบปรับอากาศ 4.9.4.1 ประเภทของระบบปรับอากาศ ก) ระบบปรับอากาศแบบแยกส่วน เป็ น ระบบปรั บ อากาศที่ ติ ด ตั้ง ใช้ ง านง่ า ย มี ค วาม ยืด หยุ ่ นในการใช้ ง านสู ง แต่ ป ระสิ ท ธิ ภ าพต่ า กว่ า เหมาะ ส าหรั บ อาคารที่ แ บ่ ง เป็ น พื้ น ที่ ข นาดเล็ ก หลายๆ ส่ ว นเช่ น

อาคารชุ ดพักอาศัย ข) ระบบปรับอากาศแบบชุ ดหรือแพ็คเกจ เป็ น ระบบที่ ติ ด ตั้ ง ง่ า ย แต่ ส าหรั บ เครื่ อ งที่ มี ข นาด ใหญ่ อาจจาเป็นต้องมีห้องเครื่องและงานระบบส่งจ่ายลม เย็น โดยทั่วไปมีประสิทธิภาพสูงกว่าแบบยากส่วน เหมาะ สาหรับ อาคารที่ แ บ่ง พื้ นที่ เ ป็ นชั้ น และต้อ งการเปิ ด -ปิ ดใช้ งานอย่างอิสสระ

ภาพที่ 4.19 : ภาพแสดงระบบปรับอากาศ ที่มา http://www.americancoolingandheating.com/wp-content/uploads/2011/11/Trane-14-SEER-Package-Heat-Pump.jpg

4-33


4.9.7 ระบบขนส่งภายในอาคาร 4.9.5.1 รู ปแบบของบันได ก) บั น ไดช่ วงเดี ย วหรื อ บั น ไดทางตรง เป็ น ่ บันไดทีไม่มีการเลี้ยวโค้ง เหมาะกับอาคารที่มีหน้าแคบ แต่ทรงยาว และสามารถใช้โครงสร้างให้เป็นประโยชน์ได้ บันไดทางตรงค่อนข้างเล่น ลุกเล่นได้เยอะ ทั้ง ในเรื่อ ง โครงสร้าง วัสดุ ราวบันได

ข) บันไดแบบหัก ฉากหรือ บันไดรู ป ตัวแอล มี ลักษณะของบันไดเลี้ยวหักเป็นมุ มฉาก 90 องศา แบ่ง บันไดได้ 2 ช่ วง โดยมีชานพักกลาง จานวนขั้นบันได ช่ วงแรกกับช่ วงที่สองไม่จาเป็นต้องเท่ากันก็ได้ แล้วแต่ ลักษณะของพื้นที่ ซึ่ งจะประหยัดพื้นที่ได้มากขึ้น ค) บันไดแบบหักกลับ มีลักษณะของบันไดแบบ หั ก กลั บ 180 องศา จะพบเห็ น ได้ ใ นบ้ า นส่ ว นใหญ่ เหมาะสาหรับอาคารที่มีแปลนของแต่ล่ะชั้ นคล้ายๆกัน ง) บันไดแบบโค้งวงกลม เหมาะสาหรับอาคารที่ มีขนาดใหญ่ ซึ่ งสามารถเปิ ดมุ มมองให้กับผู ้ใช้งานได้ เห็นพื้นที่ต่างๆภายในโครงการ มักอยู ่ด้านหน้าอาคารที่ ดูเป็นทางการ จ) บันไดเกลียวหรือบันไดเวียน เหมาะสาหรับ อาคารที่มีขนาดเล็กและต้ องการประหยัดพื้นที่ใช้สอย แต่อาจจะไม่สะดวกต่อการใช้งาน

ภาพที่ 4.20 : ภาพประกอบบันไดที่ใช้กับโครงการ ที่มา ภาพถ่ายโดย นาย ธนชิ ต บาเพ็ญผล ,2558

4-34


4.9.8 ระบบป้องกันอัคคีภัย การออกแบบอาคาร คือการออกแบบให้ตัวอาคารมี ความสามารถในการทนไฟ หรื อ อย่ า งน้ อ ยให้ มี เ วลาพอ สาหรับหนีไฟได้ นอกเหนือจากนั้น ต้องมีการออกแบบที่ทา ให้การเข้าดับเพลิงทาได้ง่าย และมีการอพยพคนออกจาก อาคารได้สะดวก มีทางหนีไฟที่ดีมีประสิทธิภาพ 4.9.8.1 รู ปแบบการป้องกันอัคคีภัย ก) การป้องกันอัคคีภัยวิธีการ PASSIVE ข) การป้องกันอัคคีภัยวิธี Active 4.9.8.2 ระบบดับเพลิงด้วยน้า คื อ ระบบที่ มี ก ารเก็ บ กั ก น้ าส ารอง ที่ มี แ รงดั น พอสมควร และเมื่ อ มี เ หตุ เ พลิ ง ไหม้ จ ะสามารถใช้ ร ะบบ

4.9.8.3 เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ เป็ น อุ ปกรณ์ ข นาดเล็ ก ข้ า งในบรรจุ สารเคมี สาหรับ ดับ เพลิง แบบต่า ง ๆ ในกรณีท่ ี เพลิ งมี ขนาดเล็ ก ก็ สามารถใช้เครื่องดับเพลิงขนาดเล็กหยุ ดยั้งการลุกลามของ ไฟได้ 4.9.8.4 ระบบควบคุมควันไฟ การสาลักควันไฟเป็น สาเหตุหลักของการเสียชี วิตในเหตุไฟไหม้ อาคารจึงต้องมี ระบบ ที่จะทาให้มีการชะลอ การแพร่ ของควันไฟ โดยมาก จะใช้การอัดอากาศลงไปในจุ ดที่เป็นทางหนีไฟ, โถงบันได และโถงลิฟต์ โดยไม่ให้ควันไฟลามเข้าไป ในส่วนดังกล่าว เพิ่มระยะเวลาการหนีออกจากอาคาร และมีการดูดควันออก จากตัวอาคารด้วย

ดับเพลิง ในการดับไฟได้ระบบนี้จะประกอบไปด้วย ก) ถึงน้าสารองดับเพลิง ข) เครื่องสูบระบบท่อ แนวตัง้ แนวนอน ค) หัวรับน้าดับเพลิง ง) สายส่งน้าดับเพลิง จ) หัวกระจายน้าดับเพลิง

ภาพที่ 4.21 : ภาพประกอบระบบป้องกันอัคคีภัยภายในอาคาร ที่มา https://www.scgbuildingmaterials.com/th/LivingIdea/NewBuild/

4-35


ภาพที่ 4.22 : ภาพประกอบการป้องกันอัคคีภัย ที่มา http://moveast.me/

4-36


บรรณานุกรมและข้อมู ลเว็บไซต์ สานักจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม. (2553). ความเป็นมาเมืองเก่าตะกั่วป่ า. สืบค้นเมื่อ มิถุนายน, 2560, จาก ชื่ อเว็บไซต์: www.onep.go.th สานักจัดการธรรมชาติและศิลปกรรม. (2553). สภาพชุ มชนและสังคม. สืบค้นเมื่อ กรกฎาคม, 2560, จาก ชื่ อเว็บไซต์: www.onep.go.th สานักจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม. (2553). แนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าตะกั่วป่ า . สืบค้นเมื่อ กรกฎาคม, 2560, จาก ชื่ อเว็บไซต์: www.onep.go.th ภูสิทธ์ ขันติกุล. (2553). แนวทางการพัฒนาบนวิถีชีวิตไทย. สืบค้นเมื่อ กรกฎาคม, 2560, จาก ชื่ อเว็บไซต์: www.onep.go.th สยุ มภู ยมนา. (2555). สถาปั ตยกรรมในมุ มมองที่เงียบเหงา. สืบค้นเมื่อ กรกฎาคม, 2560, จาก ชื่ อเว็บไซต์: http://www.lib.su.ac.th/ โครงการนามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม ประเภทย่านชุ มชนเก่า . (2558). ประเภทของสิ่งที่ควรอนุรักษ์. สืบค้นเมื่อ กรกฎาคม, 2560, จาก ชื่ อเว็บไซต์ : www.kpi.msu.ac.th ชาวบาบ๋าฝั่ งทะเลอันดามัน. (2559). อัตลักษณ์และการแต่งกายชาวบาบ๋าฝั่ งทะเลอันดามัน. ,2560 สืบค้นเมื่อ กรกฎาคม, 2560, จาก ชื่ อเว็บไซต์: www.andaman365.blogspot.com

ศุภชั ย ชั ยจันทร์ และ ณรงพน ไล่ประกอบทรัพ์. (2559). แนวคิดสาธารณะของพื้นที่สาธารณะ. ,2560 สืบค้นเมื่อ สิงหาคม, 2560, จาก ชื่ อเว็บไซต์: www.arch.kku.ac.th สานักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลเมืองตะกั่วป่ า (2559). สถิติประชากรในเทศบาลตะกั่วป่ า. ,2560 สืบค้นเมื่อ สิงหาคม, 2560, จาก ชื่ อเว็บไซต์: www.takuapacity.go.th/ กลุ่มงานยุ ทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด . (2560). แผนพัฒนาจังหวัดพังงา พ.ศ. 2560-2564. สืบค้นเมื่อ สิงหาคม, 2560, จาก ชื่ อเว็บไซต์: www.phangnga.go.th/



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.