สารบัญ บทที่ 1วิเคราะห์พื้นที่ 1.พื้นที่ศึกษา 2.วิวัฒนาการ ความเป็นมา 3.โครงสร้างและองค์ประกอบทางกายภาพ 4.โครงข่ายการคมนาคม 5.การใช้ประโยชน์ที่ดิน 6.ลักษณะอาคารและส่งปลูกสร้าง 7.ข้อมูลประชากรและชุมชน 8.มรดกวัฒนาธรรมที่จาต้องได้/ไม่ได้ 9.กิจกรรมทางการค้า 10.ความสาคัญของพื้นที่ศึกษา 11.โครงการในอนาคตที่เกี่ยวข้อง 12.SWOT ANALYSIS 13.กาหนดของเขตพื้นที่โครงการ 14.ประเด็นสาคัญพื้นที่โครงการ 15.CHARACTER ของพื้นที่ 16.เส้นทางการสัญจรการเข้าถึงพื้นที่โครงการ 17.กิจกรรมทางการค้าหนัง 18.รูปตัดถนน 19.กฎหมายและข้อบังคับ 20.กรรมสิทธิ์ที่ดิน 21.โครงการในอนาคตและแนวโน้มในการเปลี่ยนแปลง 22.SWOT ANALYSIS บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎี 1.แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.กรณีศึกษา เมืองแทกู ประเทศเกาหลี บทที่ 3 ภาพอนาคตของย่าน 1.เทรนด์ในการเปลี่ยนแปลง 2.USER ANALYSIS 3.วิสัยทัศน์ 4.ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาพื้นที่ ด้านการจราจร -ด้านสิ่งแวดล้อมและภูมิทัศน์ ด้านเศรษฐกิจ -ด้านการท่องเที่ยวและการเรียนรู้ ด้านที่อยู่อาศัย -ด้านส่งเสริมเอกลักษณ์ของย่าน 5.ผังกาหนดแนวทางในการออกแบบ บทที่ 4 ผังแม่บท 1.CONCEPTUAL DIAGRAME 2.ผังรายละเอียดด้านพื้นที่โครงการ (ZONING) 3.ผังกาหหนดแนวทางการออกแบบ ก่อน หลัง 4.ผังโครงข่ายการสัญจร 5.ผังระบบเส้นทางการสัญจร 6.ผังระแบบเส้นทางท่องเที่ยว 7.ผังควบคุมความสูงอาคารตามบัญญัติ 8.เครืองมือในการออกแบบ 9.MASTERPLAN 10.โครงการนาร่อง 11.โครงการพัฒนาการเชื่อมโยงกิจกรรมการท่องเที่ยว CONCEPT ในการวางผัง -ISOMATRIC แนวความคิดในการออกแบบ DETAIL PLAN -ภาพก่อนการพัฒนา รูปตัด -ภาพทัศนียภาพ 12.โครงการส่งเสริมเศรษฐกิจสตาร์ทอัพ CONCEPT ในการวางผัง -ISOMATRIC แนวความคิดในการออกแบบ DETAIL PLAN -ภาพก่อนการพัฒนา รูปตัด -ภาพทัศนียภาพ 13.โครงการพัฒนาพื้นที่พักอาศัยแนวตั้ง CONCEPT ในการวางผัง -ISOMATRIC แนวความคิดในการออกแบบ DETAIL PLAN -ภาพก่อนการพัฒนา รูปตัด -ภาพทัศนียภาพ บทที่ 4 ผังแม่บท (ต่อ)
บทที่ 1
วิเคราะห์พื้นที่ศึกษา
พื้นที่ศึกษา 1.1.1 ที่ตั้งและขอบเขตพื้ นที่ศึกษา 1.1.2 บทบาทของพื้ นที่ศึกษาและความสัมพันธ์กับพื้นที่โดยรอบ พื้นที่ศึกษาทั้งหมด 4.40 ตารางกิโลเมตร อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ถนนประชาธิปก ถนนอิสรภาพ และ แขวงวัดท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ ทิศใต้ ติดต่อกับ ทางรถไฟสายวงเวียนใหญ่ มหาชัย และถนนเจริญรัถ ทิศตะวันออก ติดต่อกับ แม่น้าเจ้าพระยา ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ถนนรัชดาภิเษก KEYMAP พื้นที่ศึกษาครอบคลุมทั้งหมด 3 เขต เขต บางกอกใหญ่ เขตธนบุรี เขตคลองสาน จังหวัดกรุงเทพมหานคร
วิวัฒนาการของย่าน ยุคเริ่มแรกการตั้งถิ่นฐาน สมัยรัชกาล 1-3 ยุคการก่อร่างสร้างเมือง สมัยรัชกาล 4-7 เมืองมีความเจริญ เริ่มมีการขยายตัวของเมืองออกไปยัง พื้นที่อื่นๆโดยรอบ พ.ศ.2565 (ปัจจุบัน) ยุคการพัฒนาและเปลี่ยนแปลง สมัยรัชกาล 8-9
โครงสร้างและองค์ประกอบทางกายภาพ
ข้อมูลเชิงกายภาพ โครงข่ายการคมนาคม เส้นทางคมนาคมทางบก ถนน อินทรพิทักษ์ ถนน เจริญรัถ ถนน ลาดหญ้า สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่ศึกษา ถนนสายประธาน ถนนสายหลัก ถนนสายรอง ถนนสายย่อย
ข้อมูลเชิงกายภาพ โครงข่ายการคมนาคม เส้นทางคมนาคมทางราง สถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ สถานีรถไฟฟ้าท่าพระ สถานีรถไฟฟ้าคลองสาน ขอบเขตพื้นที่ศึกษา รถไฟสายวงเวียนใหญ่ - มหาชัย รถไฟฟ้าสายสีลม รถไฟฟ้าสายสีทอง รถไฟฟ้าสายสีน้าเงิน
ข้อมูลเชิงกายภาพ โครงข่ายการคมนาคม เส้นทางคมนาคมทางน้า ท่าเรือท่าดินแดง ท่าเรือคลองสาน ท่าเรือวัดอินทราราม ขอบเขตพื้นที่ศึกษา แม่น้า คลอง ท่าเรือ
ข้อมูลเชิงกายภาพ การใช้ประโยชน์ที่ดิน ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม ที่ดินประเภทอนุรักษ์เพื่อส่งเสริมเอกลักษณ์ ศิลปวัฒนธรรมไทย ที่ดินประเภทสถานบันราชการ สาธารณูปโภค และสาธารณูปการ สัญลักษณ์
ข้อมูลเชิงกายภาพ ลักษณะอาคารและสิ่งปลูกสร้าง
ข้อมูลประชากรและชุมชน ข้อมูลเชิงสังคมและวัฒนธรรม 1.แขวงคลองสาน มีจานวนครัวเรือน 6,402 หลังคาเรือน 2.แขวงสมเด็จเจ้าพระยา มีจานวนครัวเรือน 5,426 หลังคาเรือน 3.แขวงหิรัญรูจี มีจานวนครัวเรือน 3,963 หลังคาเรือน 4.แขวงบางยี่เรือ มีจานวนครัวเรือน 7,935 หลังคาเรือน 5.แขวงวัดท่าพระ มีจานวนครัวเรือน 21,108 หลังคาเรือน 6.แขวงตลาดพลู มีจานวนครัวเรือน 106 หลังคาเรือน รวมครัวเรือนทั้งหมด 44,940 หลังคาเรือน รวมประชากรทั้งหมดในพื้นที่ศึกษา ในปี 2564 จานวน 108,076 คน
มรดกวัฒนธรรมที่จับต้องได้ ข้อมูลเชิงสังคมและวัฒนธรรม 1.โบราณสถานขึ้นทะเบียนแล้ว 2.โบราณสถานยังไม่ขึ้นทะเบียน 3.อาคารทรงคุณค่า
มรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ ข้อมูลเชิงสังคมและวัฒนธรรม 1.ประเพณีทิ้งกระจาด วัดกัลยาณมิตร วรมหาวิหาร ย่านกุฎีจีน 2.บ้านสกุลทอง ร้านอาหารโปรตุเกส 3.เทศกาลคริสต์มาส ณ โบสถ์ซางตาครู้ส 4. งานประจาปีง่วนเซียวศาลเจ้าพ่อกวนอู 5. ศาลเจ้าหม่าโจ้ว อายุ 200 ปี เล้ง 1919 7. ขลุ่ยบ้านลาว 6. บ้านโขนไทย 8.วันสมเด็จพระเจ้าตากสิน 9.วันอีดิลอัฏฮา ณ มัสยิดสวนพลู 10.ประเพณีชักพระวัดนางชี 7 ประเพณีทางน้า ประเพณีทางบก
กิจกรรมทางการค้า ข้อมูลเชิงเศรษฐกิจ ตลาดท่าดินแดง แขวงสมเด็ดเจ้าพระยา ตลาดวงเวียนใหญ่ แขวงคลองสาน ตลาดมูลนิธิพุทธสมาคม แขวงหิรัญรูจี ตลาดบางยี่เรือ แขวงบางยี่เรือ ตลาดชุมชนวัดสังข์กระจาย
ความสาคัญของพื้นที่ศึกษา ย่านบ้านแขก ย่านท่าดินแดง ในสมัยก่อนมีชาวไทยเชื้ออินเดีย อีกทั้งในย่าน บ้านแขกยังมีชาวมุสลิม อยู่อาศัยเป็นจานวนมาก ในอดีตย่านนี้เป็นพื้นที่สวนปลูกผลไม้ และมีการ รวมกลุ่มทางศาสนาหลายวัฒนธรรมเข้าไว้ ด้วยกัน ปัจจุบันเป็นจุดศูนย์รวมทางการค้าและ การศึกษาระดับอุดมศึกษา เป็นย่านการค้าเก่าแก่แห่งหนึ่งของกรุงเทพ เพราะ เป็นจุดเชื่อมต่อจกาย่านชุมชนชาวจีนเยาวราช และย่านสาเพ็ง -พาหุรัด โดยจะเชื่อมต่อกัน บริเวณท่าเรือท่าดินแดงข้ามฟากไปฝั่งท่าเรือ ราชวงศ์ ย่านตลาดพลู ย่านเจริญรัถ เป็นย่านที่มีคนจีนอยู่อาศัยจานวนมาก ในอดีต ย่านนี้ทาสวนพลูเป็นอาชีพอยู่ทั่วพื้นที่ ทาให้ พื้นที่บริเวณนี้เป็นตลาดขายพลูขนาดใหญ่ ต่อมา ได้มีการค้ารูปแบบอื่นเข้ามาในพื้นที่ โดยย่าน ตลาดพลูเปรียบเสมือนศูนย์กลางด้านการค้าขาย ของฝั่งธนบุรี ปัจจุบันย่านตลาดพลูโดดเด่นเรื่อง ด้านอาหารการกิน เป็นแหล่งค้าปลีก-ส่งผ้าและวัสดุอุปกรณ์สาหรับ ผลิตกระเป๋าที่ใหญ่และครบครันที่สุดในประเทศ ไทย ถนนเส้นนี้ได้รับความนิยมจากโรงงานผู้ผลิต กระเป๋าทั้งรายเล็กและรายใหญ่ในวงการ อุตสาหกรรมของประเทศไทยมาเป็นเวลานานนับ หลายสิบปี โดยตลอดสองข้างทางของถนนเจริญ รัถจะเต็มไปด้วยร้านขายผ้าและวัสดุอุปกรณ์ สาหรับทากระเป๋า รองเท้า หรือ นาไปหุ้ม เฟอร์นิเจอร์ ย่านวงเวียนใหญ่ ย่านวงเวียนใหญ่ เป็นชุมชนของคนฝั่งธนบุรี ที่มีทั้งคนไทยคนจีนที่ย้ายเข้ามา ตั้งรกรากทาการค้าขายโดยมีตลาดวงเวียนใหญ่และตลาดเงินวิจิตรเป็นแหล่ง การค้าประเภทของสด และอาหารทะเลที่ส่งตรงมาจากมหาชัยโดยขนส่งมา ทางรถไฟ และมีจุดนาสายตาที่โดดเด่นภายในย่านนี้ คือ อนุสาวรีย์สมเด็จพระ เจ้าตากสินที่สามารถบ่งบอกความย่านนี้อย่างชัดเจน อนุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสิน
โครงการในอนาคตที่เกี่ยวข้อง พาณิชยกรรมศูนย์กลางรอง (SUB CBD) SUB CBD อันเป็นส่วนต่อจาก ศูนย์กลางเศรษฐกิจ ที่สามารถพัฒนาเป็นที่ อยู่อาศัย ห้างสรรพสินค้า รวมไปถึงอาคาร สานักงาน โดยที่มีระบบคมนาคม และ ขนส่ง มวลชน ในแนวเดียวกับพื้นที่ที่เป็นเขต CBD และ มีจุดขายในส่วนของพื้นที่สีเขียวที่มีพื้นที่ มากกว่า
โครงการในอนาคตที่เกี่ยวข้อง เส้นรถไฟฟ้าสายสีแดงเข้ม หัวลาโพง - มหาชัย มีระยะทางทั้งหมด 38 กม. มีทั้งหมด 17 สถานี ยังคงต้องรอการจัดทาแผนแม่บทโครงข่ายรถไฟฟ้าเพื่อ พัฒนาขนส่งมวลชนในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล (M-Map) ระยะที่ 2 มีปัญหาในทางช่วงคลองสาน -วงเวียนใหญ่ ต้องการให้เป็น อุโมงค์ใต้ดิน ซึ่งต้องลงทุนเพิ่มอีกหลายหมื่นล้าน เลยทาให้ต้องมีการแก้ไขแบบ และไปเริ่มกระบวนการเตรียมการก่อสร้างใหม่ รถไฟฟ้าสายสีม่วง ส่วนต่อขยาย จากสถานีเตาปูน ช่วยเชื่อมกรุงเทพฯ ทั้งฝั่งธนบุรีและฝั่งพระนคร รวมถึงสมุทรปราการเข้าด้วยกัน จึงเป็น ระบบขนส่งมวลชนที่นาคนจากปริมณฑลและชานเมืองเข้าสู่ใจกลางเมืองในย่านเมืองเก่า เช่น สะพานพุทธ วังบุรพา ผ่านฟ้า และบางขุนพรหม ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว
สรุปผลการวิเคราะห์ศักยภาพ ศักยภาพด้านกายภาพ ศักยภาพด้านสังคม ศักยภาพด้านเศรษฐกิจ ศักยภาพด้านวัฒนธรรม 1.โครงข่ายคมนาคมที่ครบถ้วน 2.มีแม่น้าเจ้าพระยาและคลองที่มีความป็นมา 3.มีจุดหมายตาที่มีความชัดเจน 4.มีชุมชนดั้งเดิม มีที่เอกลักษณ์ 1.มีสารธารณูปโภค สารธารณูปการ ที่ครบครัน 1.มีเศรษฐกิจที่มีเฉพาะที่ 2.มีเศรษฐกิจที่หลากหลาย 1.มีวัฒนธรรมที่มีเฉพาะพื้นที่
สรุปผลการวิเคราะห์ปัญหา 1.พื้นที่ชุมชนแออัด 2.แหล่งน้าในคลอง เน่าเสีย 3.ขาดจุดดึงดูดพื้นที่บริเวณริมน้า 4.พื้นที่จอดรถไม่เพียงพอต่อการใช้งาน 1. การเข้ามากลุ่มประชากรแฝงอาจทาให้ กิจกรรมและวิถีชีวิตดั้งเดิมเปลี่ยนแปลงไป 1.การค้า/แผงลอยลุกล้าทางเดินเท้า 2.ผลกระทบจาก COVID 3.ขาดการดูแลสุขอนามัย พื้นที่ตลาด 4.การกระจุกตัวด้านพาณิชยกรรม ปัญหาด้านกายภาพ ปัญหาด้านสังคม ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ปัญหาด้านวัฒนธรรม 1.ขาดการส่งเสริมกิจกรรมทางวัฒนธรรม
วิเคราะห์พื้นที่โครงการ
พื้นที่โครงการครอบคลุมทั้งหมดของย่านเจริญรัถ อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ถนนลาดหญ้า ทิศตะวันออก ติดต่อกับ BTS คลองสาน ทิศใต้ ติดต่อกับ ถนนกรุงธนบุรี ทิศตะวันตก ติดต่อกับ สถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ 1. เป็นย่านการค้าที่สาคัญและมีเอกลักษณ์เฉพาะ 2. มีโครงข่ายการสัญจรที่สาคัญ 3. มีจุดหมายตาที่มีความสาคัญ 4. อนาคตพื้นที่เป็นพื้นที่รองรับนักท่องเที่ยว เนื่องจากแผน พัฒนาเป็นพื้นที่รองรับการพัฒนาทางด้าน (SUB CBD) 5. การเข้ามาของโครงสร้างพื้นฐาน ในอนาคต ปัจจัยในการเลือกพื้นที่โครงการ ขนาดพื้นที่โครงการ 0.60 ตารางกิโลเมตร สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนนสายหลัก ถนนสายรอง กาหนดขอบเขตพื้นที่โครงการ
ECONOMIC CRAFT DISTRICT SOCIAL & MENTAL มีการรวมกลุ่มทางการค้า เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจให้กับพื้นที่ โดยรอบ แต่ไม่ตอบโจทย์กับการใช้งานในปัจจุบันและในอนาคต มีอาคารที่เคยรุ่งเรืองและเป็นที่รู้จัก ที่เป็นศูนย์กลางของ เศรษฐกิจในสมัยก่อน แต่ปัจจุบันกลับถูกปล่อยทิ้งร้างไม่ได้ใช้งาน เนื่องจากวิกฤตต้มยากุ้งในอดีต สังคมเป็นเมืองที่มี NODE สาคัญของเมือง ที่เป็นตัวเปลี่ยนถ่าย หรือเชื่อมต่อระหว่างเมือง แต่ขาดการรับรู้และเกิดความสับสน จิตรใจและความรู้สึก จาก LAND MARK พระเจ้าตาก ที่มี ความเป็นมา ซึ่งเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตรใจ และยังเป็นสิ่งสาคัญ ทางการรับรู้ และเข้าถึงแต่กลับถูกบดบังทัศนียภาพที่ดีของพื้นที่ พื้นที่เคยเป็นย่านเศรษฐกิจการค้าหนังที่โด่งดังในอดีต แต่ใน ปัจจุบัน มีตลาดคู่แข่งที่มาก และ ไม่ได้มีการพัฒนาหรือส่งเสริม เริ่มมีพื้นที่สอนการทาเครื่องหนังและการรวมตัวกลุ่มเศรษฐกิจ งานหัตถกรรมประเภทเครื่องหนัง แต่ยังไม่ได้เป็นที่รู้จักมากนัก สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนนสายหลักที่เชื่อมต่อพื้นที่เมือง เส้นทางสายสาคัญการสัญจรภายในพื้นที่ ศูนย์กลางทางการค้าในพื้นที่ ย่านเศรษฐกิจการค้าหนัง จุดหมายตาและชุมทางที่สาคัญ สถานีรถไฟ(ศักยภาพจุดเปลี่ยนถ่าย) พื้นที่วงเวียนใหญ่ พื้นที่เศรษฐกิจ พื้นที่หัตถกรรม พื้นที่หัตถกรรม ประเด็นสาคัญของพื้นที่โครงการ
ตลาด เงินวิจิตร ศาลเจ้า ศาลเจ้า ถนนเจริญรัถ ได้ชื่อว่าเป็น แหล่งค้าปลีก-ส่งผ้า และวัสดุอุปกรณ์สาหรับผลิตกระเป๋าที่ใหญ่และ ครบครันที่สุดในประเทศไทย ถนนเส้นนี้ได้รับ ความนิยมจากโรงงานผู้ผลิตกระเป๋าทั้งรายเล็ก และรายใหญ่ในวงการอุตสาหกรรมของประเทศ ไทยมาเป็นเวลานานนับหลายสิบปี โดยตลอด สองข้างทางของถนนเจริญรัถจะเต็มไปด้วยร้าน ขายผ้าและวัสดุอุปกรณ์สาหรับทากระเป๋า รองเท้า หรือ นาไปหุ้มเฟอร์นิเจอร์ ย่านเจริญรัถ วงเวียนใหญ่เชื่อมต่อย่าน กุฎีจีน-ตลาดพลู ตลาดวงเวียนใหญ่ ตลาดสดเงินวิจิตร ตลาด วงเวียนใหญ่ เชื่อมต่อพื้นที่โดยสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่และรถไฟฟ้าสถานีวงเวียนใหญ่ ย่านการค้าเศรษฐกิจเก่าแก่ของพื้นที่ มีความเป็นมายาวนานกว่า 50 ปี สัญลักษณ์ เส้นทางรางรถไฟ สถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ รถไฟฟ้าสถานีวงเวียนใหญ่ ระบบราง CHARACTER PLAN พื้นที่และการเชื่อมโยงกิจกรรม
เส้นทางการสัญจรเข้าถึงพื้นที่โครงการ จุดรวมที่จอดรถสามล้อ (ตุ๊กตุ๊ก) สัญลักษณ์
กิจกรรมการค้าย่านหัตถกรรมหนัง กิจกรรมการค้าหนัง สัญลักษณ์ การขนส่งสินค้า มีรถขนส่งของมาส่ง ด้านหลังอาคาร พื้นที่ที่มีทางรถเข้าถึง ส่วน อาคารที่ไม่มีการเข้าถึงด้านหลังอาคาร ก็ จะมีการส่งของ ด้านหน้าอาคาร ร้านรับออกแบบและสอนทาเครื่องหนังหน้าร้านการค้าหนังและอุปกรณ์ ร้านคาเฟ่และผลิตภัณฑ์หนังถนนเจริญรัถ การกระจุกตัว ของธุรกิจการค้า เครื่องหนัง
รูปตัดถนน KEYMAP อาคาร อาคาร อาคาร อาคาร 1.00 1.00 3.00 6.00 3.003.00 3.00 2.00 อาคาร อาคาร3.00 3.00 3.00 3.00 1.00 3.00 1.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 1.รูปตัดถนนเจริญรัถ 2.รูปตัดถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน
กฎหมาย ข้อบังคับ ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ปรับปรุงครั้งที่ 4 ที่ดินประเภท พ.7 เป็นที่ดินประเภทพาณิชยกรรม ที่ดินประเภท ย.11 เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก FAR = 6 OSR = 5 FAR = 8 OSR = 4 ข้อกาหนดพัฒนาโครงการขนาดใหญ่
กรรมสิทธิ์ที่ดิน สัดส่วนกรรมสิทธิ์ที่ดิน 95% 5% สัดส่วนที่ดินส่วนใหญ่เป็นของ เอกชน สัญลักษณ์ ที่ดินราชพัสดุ ที่ดินเอกชน ขอบเขตพื้นที่
โครงการในอนาคต สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ รถไฟฟ้าใต้ดินสายสีม่วง รถไฟฟ้าใต้ดินสายสีแดงเข้ม สถานีรถไฟฟ้า รัศมีการให้บริการ 0.5 Km.
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลง รูปแบบกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นในอนาคต การใช้ประโยชน์ที่ดินที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เป็นพื้นที่ศูนย์กลางพาณิชยกรรมรอบสถานีรถไฟฟ้า เนื่องจาก พื้นที่เดิมเป็นพาณิชยกรรมหลักอยู่แล้ว และมีโครงการมาสนับสนุนในการพัฒนาและส่งเสริม พื้นที่ให้เกิดศักยภาพได้เต็มรูปแบบมากยิ่งขึ้น เป็นที่พักอาศัยแนวตั้ง รองรับการพักอาศัยของประชากร ที่จะเพิ่มมากขึ้น จากการพัฒนาในอนาคต สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ รถไฟฟ้าใต้ดินสายสีม่วง รถไฟฟ้าใต้ดินสายสีแดงเข้ม สถานีรถไฟฟ้า รัศมีการให้บริการ 0.5 Km. การใช้ประโยชน์ที่ดินรูปแบบพาณิชยกรรม การกระจายตัวของเศรษฐกิจ IDEO สาทร วงเวียนใหญ่ตัวอย่างการเติบโตของเมือง
SWOT ANALYSIS 1.มีเส้นทางเข้าถึงพื้นที่ได้สะดวก 2.ผังเมืองรวมการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทพาณิชยกรรมเป็น ส่วนใหญ่ 3.มีจุดหมายตาที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ 4.มีรถไฟสายสาคัญ สายวงเวียนใหญ่-มหาชัย 5.พื้นที่เป็นที่ตั้งแหล่งกิจกรรมการค้าและการค้าเครื่องหนัง 6.มีศาสนสถานที่มีความสาคัญ 7. มีโครงการในอนาคตที่เข้ามาสนับสนุนพื้นที่ เช่น รถไฟฟ้า สายสีม่วง 8. ผังเมืองรวมเป็นการใช้ประโยชน์ที่ดินแบบพาณิชยกรรมทา ให้เกิดโอกาสในการสนับสนุนพื้นที่พัฒนาให้เต็มประสิทธิภาพ 1.แหล่งน้าในคลองเน่าเสีย 2.ขาดจุดดึงดูดเพื่อส่งเสริมด้านการค้าภายในพื้นที่ 3.การจราจรในบางช่วงเวลาติดขัด และพื้นที่จอดรถไม่เพียงต่อ การใช้งาน 4.พื้นที่ของตลาดสดที่มีความสกปรก 5.มีปัญหาเรื่องชุมชนแออัด และ ถนนที่แคบมาก 6.การค้า/แผงลอยรุกล้าทางเดินเท้า 7.ภายในพื้นที่การค้าและบริการขาดการจัดการ และการรองรับ ที่ไม่เพียงพอ 8.กิจกรรมภายในพื้นที่เพิ่มมากขึ้นทาให้มีประชากรแฝงเกิดขึ้น เป็นจานวนมาก 9.ขาดการส่งเสริมกิจกรรมทางธุรกิจเครื่องหนังที่เป็น เอกลักษณ์ของย่าน 10.การเป็นพื้นที่ SUB CBD และโครงการรถไฟฟ้าในอนาคต อาจจะให้เอกลักษณ์ของย่านหายไป ศักยภาพ ปัญหา 1.พัฒนาการเข้าถึงของพื้นที่ เพื่อเพิ่มศักยภาพเดิม และรวมถึงส่งเสริมพื้นที่ให้พัฒนาเต็มศักยภาพ 2.พัฒนาพื้นที่พาณิชยกรรมด้านการค้า โดนใช้โอกาส ที่จะมีการพัฒนาพื้นที่ในอนาคตมาแก้ไขจุดอ่อนของพื้นที่เดิม 3.พัฒนาการเข้าถึงควบคู่กับพาณิชยกรรมและ ส่งเสริมเศรษฐกิจการค้าหนังเดิมให้มีศักยภาพและกิจกรรม หลากหมายมากยิ่งขึ้น 4.พัฒนาพื้นที่การค้า พื้นที่สาธารณะเพื่อรองรับ ประชากรที่จะเข้ามาในอนาคต ควบคู่ไปกับกิจกรรมการค้า หนังและในด้านของการเรียนรู้ S O W O S T W T จุดแข็ง + โอกาส จุดอ่อน + โอกาส จุดแข็ง + อุปสรรค จุดอ่อน +อุปสรรค
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และกรณีศึกษาที่เกี่ยวข้อง
CREATIVE CRAFT DISTRICT CREATIVE BUSINESS AND ENVIRONMENT DISVERSITY CRAFT CO CREATE EXCHANG LEARN CREATIVE CITY ด้าน หัตถกรรม ด้าน ดนตรีด้าน ภาพยนต์ ด้าน การออกแบบ ด้าน วรรณคดี ด้าน อาหาร ด้าน มีเดียอาร์ต สร้างสรรค์ ส่งเสริม เศรษฐกิจหัตถกรรม โดยธุรกิจและสภาพแวดล้อมกลิ่นอายเดิมที่ดีขึ้น CREATIVE CITY เป็นแนวคิดที่เกิดจากการร่วมกันผลักดันพลังการสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อน การพัฒนาเมืองให้เกิดความยั่งยืน แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
กรณีศึกษา : เมืองแทกู ประเทศเกาหลี เมืองแทกู ประเทศเกาหลี เมืองที่มีขนาดใหญ่อันดับ 4 ของเกาหลีใต้ (รองจากกรุงโซล ปูซาน และอินชอน) ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศเกาหลีใต้ อยู่ในจังหวัดคยองซังบุก ปัจจุบันเป็นศูนย์กลางการทอผ้า และศูนย์กลางอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ แทกูกับวงการแฟชั่น เริ่มต้นในช่วงปลายทศวรรษ 1990 Daegu ได้พยายามอย่างแข็งขันในการส่งเสริมอุตสาหกรรม แฟชั่นโดยอิงจาก อุตสาหกรรมการผลิตสิ่งทอและเสื้อผ้าภายใต้ Daegu Fashion City เมืองนี้เปิดนิทรรศการมากมายที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมแฟชั่นและสิ่งทอรวมถึง งานแฟชั่น แทกู ทุกปีหรือครึ่งปี และ มุ่งเป้าไปที่ศูนย์กลางแฟชั่นของเอเชียตะวันออก คอมเพล็กซ์สิ่งทอ, สถาบันแฟชั่นสิ่งทอ, โรงเรียนนานาชาติ, แฟชั่น มอลล์รวมถึงพื้นที่ที่อยู่อาศัยมีแผนที่จะพัฒนาในเขตเมืองแทกู
บทที่ 3
ภาพอนาคตของย่าน
เทรนด์การเปลี่ยนแปลง 1. Retelling the Detailing เล่าเรื่องเดิมๆ ในมิติที่แตกต่าง เชื่อมโยงเอาคุณค่าแบบเดิม ที่อาจถูกมองว่า เป็นสิ่งไกลตัว กลับมาสู่มือของผู้บริโภค 2. Tropical Dream ธรรมชาติรูปแบบเสมือน เทรนด์การออกแบบที่อิงกับธรรมชาติ เป็นการจาลองธรรมชาติเข้าไปในงานออกแบบ เทรนด์ผู้บริโภคยุคนี้ เน้น BACK TO BASIC ดังนั้น ความนิยมในสินค้าแบรนด์เนมหรือสินค้าที่ วางขายทั่วไปตามห้างสรรพสินค้า คงไม่ตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภค โครงการวิจัย REMIX CULTURE พบว่า ผู้บริโภคทั่วโลกต่างมองเห็นถึงแรงบันดาลใจที่ซ่อนอยู่ใน สินค้าและบริการของชุมชนและท้องถิ่น ซึ่งสามารถนามาปรับให้สอดรับกับบุคลิกลักษณะเฉพาะของตนมากขึ้น REGLOCALIZING (อัตลักษณ์ท้องถิ่นร่วมสมัย) SACICT CRAFT TREND 3. Righteous Crafts ที่มา ที่ไป ใส่ใจสิ่งแวดล้อม เป็นการนาเสนอเรื่องราวความถูกต้องของผลิตภัณฑ์ ว่าผลงานชิ้นนี้จะส่งผลดีผลเสียต่อโลกอย่างไรบ้าง 4. Surreal Hospitality ประสบการณ์เหนือจริง ประสบการณ์เหนือจริง เป็นการตอบสนองพฤติกรรมของ ผู้บริโภคยุคใหม่ที่มีไลฟ์สไตล์ประสบการณ์ของตัวเองลงในโลกโซเชียล
นักเรียน นักศึกษา นักท่องเที่ยว คนทางาน คนใช้แรงงาน ผู้ค้าขาย เปิดกิจการ พ่อค้าแม่ค้า ผู้อยู่อาศัยในพื้นที่ดั้งเดิม ผู้อยู่อาศัยใหม่ ในพื้นที่ ผู้สนใจงานหัตถกรรมนักเรียน นักศึกษา นักท่องเที่ยว คนทางาน ผู้ค้าขาย เปิดกิจการ พ่อค้าแม่ค้า ผู้อยู่อาศัยในพื้นที่ดั้งเดิม คนใช้แรงงาน USER ANALYSIS BEFORE AFTER
ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาพื้นที่ 1.ด้านการจราจร 2.ด้านสิ่งแวดล้อมและภูมิทัศน์ 3.ด้านเศรษฐกิจ 4.ด้านการท่องเที่ยวและการเรียนรู้ 5.ด้านที่อยู่อาศัย 6.ด้านส่งเสริมเอกลักษณ์ของย่าน แผนยุทธศาสตร์ ปรับปรุงและฟื้นฟูพื้นที่เศรษฐกิจและส่งเสริมธุรกิจรูปแบบใหม่ ปรับเปลี่ยนการใช้งานอาคารและพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ พัฒนาที่อยู่อาศัยรูปแบบใหม่ ปรับหน้าตาอาคาร สี วัสดุ ให้เป็นแนวทางเดียวกัน ปรับปรุงภูมิทัศน์เมืองและตามแนวถนน เพิ่มพื้นที่สาธารณะให้ตอบโจทย์กับการใช้งาน กายภาพ สังคม เศรษฐกิจ พัฒนาพื้นที่การเรียนรู้ เชื่อมโยงกิจกรรมการท่องเที่ยว พัฒนาเส้นทางการสัญจรเพิ่มศักยภาพให้กับพื้นที่ จุดเปลี่ยนที่สะดวกสบายและความชัดเจน ปรับปรุงฟาซาดและทางเท้าส่งเสริมเอกลักษณ์
1.ยุทธศาสตร์ด้านการจราจร ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ ด้านการจราจร เพิ่มขนาดเส้นทางจราจร เพื่อให้สร้างอาคารสูงได้ เต็ม ศักยภาพของผังการใช้ ประโยชน์ที่ดินและ FAR BONIS 1.1 การพัฒนาโครง ข่ายการสัญจร 1.1.1โครงการตัดและ ขยายเส้นทางจราจร เพิ่มจุดเปลี่ยน ให้เกิด การรับรู้ในการเข้าถึงพื้นที่ และพื้นที่ ที่จะจ่ายประชากร ไปในพื้นที่ต่างๆ 1.2 โครงการพัฒนา จุดเปลี่ยนถ่าย 1.2.1 โครงการพัฒนา จุดเปลี่ยนถ่าย
2. ยุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อมและภูมิทัศน์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ ด้านสิ่งแวดล้อม และภูมิทัศน์ เพื่อเปิดมุมมองแนว แกนเมืองที่สาคัญของพื้นที่ 1.1 การปรับปรุงภูมิทัศน์ 1.1.1โครงการปรับปรุง ภูมิทัศน์เพื่อส่งเสริม มุมมองแนวแกนเมือง เพิ่มสวนสาธาณะขนาดเล็ก เพื่อเพิ่มพื้นที่พักผ่อน ให้ ประชาเข้าถึงได้ง่ายมากขึ้น 1.2 โครงการพัฒนา สวนสาธารณะขนาด เล็ก 1.2.1 โครงการ โครงการพัฒนา สวนสาธารณะขนาด เล็ก แผนแม่บทด้านสิ่งแวดล้อมและภูมิทัศน์
แผนแม่บทด้านเศรษฐกิจ 3. ยุทธศาสตร์ด้านเศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ ด้านเศรษฐกิจ เพิ่มคุณค่าและความ หลากหลายด้าน การใช้งาน 1.1 การปรับปรุงฟื้นฟูพื้นที่ การค้า 1.1.1โครงการฟื้นฟู ย่านการค้า ส่งเสริมการพัฒนา เศรษฐกิจสร้างสรรค์ จากฐานเศรษฐกิจ ชุมชนเดิม 1.2 การพัฒนาพื้นที่ สร้างสรรค์ 1.2.1โครงการพัฒนา พื้นที่คลังสินค้าประเภท เครื่องหนัง 1.2.2โครงการพัฒนา พื้นที่จัดแสดงงาน หัตถกรรมเครื่องหนัง รองรับการเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจ จากผู้อยู่อาศัยใหม่ 1.3 การพัฒนาพื้นที่ เศรษฐกิจยุคใหม่ 1.3.1โครงการส่งเสริม ผู้ประกอบการธุรกิจ สตาร์ทอัพ (Startup)
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ ด้านการท่องเที่ยว และการเรียนรู้ เสริมสร้างพื้นที่ กิจกรรมการเรียนรู้และ การท่องเที่ยว 4.1 ด้านการท่องเที่ยวและ การเรียนรู้ 4.1.1 โครงการ ส่งเสริมการเชื่อมโยง กิจกรรมการท่องเที่ยว 4.1.2 โครงการพัฒนา พื้นที่ส่งเสริมการ เรียนรู้ 4. ยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวและการเรียนรู้ แผนแม่บทด้านการท่องเที่ยวและการเรียนรู้
5. ยุทธศาสตร์ด้านที่อยู่อาศัย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ ด้านที่อยู่อาศัย เพิ่มพื้นที่พักอาศัย รองรับกับการเพิ่มขึ้น ของประชากร 5.1 ด้านการพัฒนา 5.1.1โครงพัฒนาพท้น ที่พักอาศัยแนวตั้ง แผนแม่บทด้านที่อยู่อาศัย
6. ยุทธศาสตร์ด้านส่งเสริมเอกลักษณ์ของย่าน ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ ด้านการส่งเสริม เอกลักษณ์ของย่าน ส่งเสริมเอกลักษณ์ของ ย่านด 6.1 ด้านการปรับปรุงเพื่อ เพื่อเพิ่มอัตลักษณ์ ให้กับพื้นที่ 6.1.1 โครงการ ปรับปรุงฟาซาดเพื่อ ส่งเสริมเอกลักษณ์ของ ย่าน 6.1.2 โครงการ ปรับปรุงทางเท้าเพื่อ ส่งเสริมเอกลักษณ์ของ ย่าน แผนแม่บทด้านการส่งเสริมเอกลักษณ์ของย่าน
ผังกาหนดแนวทางการออกแบบ 1.โครงการตัดและขยายเส้นทางจราจร 2.โครงการพัฒนาจุดเปลี่ยนถ่าย 3.โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์เพื่อส่งเสริมมุมมองแนวแกนเมือง 4.โครงการโครงการพัฒนาสวนสาธารณะขนาดเล็ก 5.โครงการส่งเสริมเศรษฐกิจสตาร์ทอัพ 6.โครงการพัฒนาพื้นที่จัดแสดงงาน 7.โครงการฟื้นฟูย่านการค้า 8.โครงการพัฒนาพื้นที่คลังสินค้างานเครื่องหนัง 9.โครงการพัฒนาการเชื่อมโยงกิจกรรมการท่องเที่ยว 10.โครงการพัฒนาพื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้หัตถกรรมเครื่องหนัง 11. โครงการพัฒนาพื้นที่พักอาศัยแนวตั้ง 12. โครงการปรับปรุงทางเท้า ส่งเสริมอัตลักษณ์ย่าน 13.โครงการปรับปรุงฟาสาด ส่งเสริมอัตลักษณ์ย่าน 6.ด้านส่งเสริมเอกลักษณ์ของย่าน 1.ด้านการจราจร 2.ด้านสิ่งแวดล้อมและภูมิทัศน์ 3.ด้านเศรษฐกิจ 4.ด้านการท่องเที่ยวและการเรียนรู้ 5.ด้านที่อยู่อาศัย สัญลักษณ์ เส้นทางจราจรใหม่ เส้นทางสัญจรทางเท้า จุดเปลี่ยนถ่าย ปรับปรุงภูมิทัศน์ ส่งเสริมสิ่งแวดล้อม สวนสาธารณะขนาดเล็ก โครงการฟื้นฟูย่านการค้า โครงการพัฒนาพื้นที่คลังสินค้าประเภทเครื่องหนัง โครงการพัฒนาพื้นที่จัดแสดงงานหัตถกรรมเครื่องหนัง โครงการส่งเสริมผู้ประกอบการธุรกิจสตาร์ทอัพ (Startup) โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวและการเรียนรู้ พื้นที่พักอาศัยแนวตั้ง ฟาซาดส่งเสริมเอกลักษณ์ย่าน โครงการพัฒนาพื้นที่จัดแสดงงาน จุดเชื่อมโยงการท่องเที่ยว
บทที่ 4 ผังแม่บท
CONCEPTUAL
DIAGRAME
RETAIL FASHION
CREATIVE AND EXHIBITION
OF ENTERPRENEUR NODE
TRANSPORT STATION
RESIDENT
HOUSE
ผังรายละเอียดด้านพื้นที่โครงการ (ZONING)
HUB
WARE
INDUSTRY
BEFORE AFTER
ผังกาหนดแนวทางการออกแบบ
เส้นทางคมนาคมเส้นทางแบบใหม่ ถนนสายหลัก ถนนสายรอง ถนนสายย่อย เส้นทางเดินสายใหม่ ขอบเขตพื้นที่โครงการ
เส้นทางคมนาคมเส้นทางแบบใหม่ เส้นทาง Service จุดโอนถ่ายสินค้า ขอบเขตพื้นที่โครงการ
เส้นทางท่องเที่ยวในพื้นที่โครงการ เส้นทางท่องเที่ยว จุดเชื่อมโยงการท่องเที่ยว ขอบเขตพื้นที่โครงการ
ผังควบคุมความสูงตามบัญญัติ ภายในรัศมี 200 เมตรจากจุดกึ่งกลางของอนุสาวรีย์ ห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้เป็นอาคารที่มีความสูงเกิน 17 เมตร ภายในรัศมี 300 เมตรจากจุดกึ่งกลางของอนุสาวรีย์ ห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้เป็นอาคารที่มีความสูงเกิน 27 เมตร ข้อกาหนดให้การก่อสร้างอาคารมีลักษณะดังต่อไปนี้คือ สีของผนังภายนอกต้องเป็นโทนสีครีม ห้ามใช้วัสดุสะท้อนแสง สีของหลังคาต้องเป็นโทนสีเทาเข้ม และห้ามติดตั้งกันสาด สีของผนังภายนอก สีของหลังคา พ.7 ย.11 กฎกระทรวงบริเวณห้ามก่อสร้างโดยรอบอนุสาวรีย์พระเจ้าตากสินฯและอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ พ.ศ.2563 FAR BONUS พื้นที่เพื่ออานวยความสะดวกแก่ ประชาชนทั่วไปในบริเวณเปลี่ยนถ่าย การสัญจรของระบบรถไฟฟ้าขนส่ง มวลชน ภายในระยะ 200 เมตรจาก บริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่ง มวลชน ให้มีพื้นที่อาคารรวมที่ เพิ่มขึ้น 5เท่าของพื้นที่เพื่ออานวย ความสะดวกแก่ประชาชนดังกล่าว มาตรการให้อุตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มขึ้น FAR BONUS พ.7 ย.11 FAR = 6 OSR = 5 FAR = 8 OSR = 4
REDEVELOPMENT REHABILITATION
92% 8%
PROGRAMMATIC
MASTER PLAN
พ.8 พ.7 พ.6 1.โครงการตัดและขยายเส้นทางจราจร 2.โครงการพัฒนาจุดเปลี่ยนถ่าย 3.โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์เพื่อส่งเสริมมุมมองแนวแกนเมือง 4.โครงการโครงการพัฒนาสวนสาธารณะขนาดเล็ก 5.โครงการส่งเสริมเศรษฐกิจสตาร์ทอัพ 6.โครงการพัฒนาพื้นที่จัดแสดงงาน 7.โครงการฟื้นฟูย่านการค้า 8.โครงการพัฒนาพื้นที่คลังสินค้างานเครื่องหนัง 9.โครงการพัฒนาการเชื่อมโยงกิจกรรมการท่องเที่ยว 10.โครงการพัฒนาพื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้หัตถกรรมเครื่องหนัง 11. โครงการพัฒนาพื้นที่พักอาศัยแนวตั้ง 12. โครงการปรับปรุงทางเท้า ส่งเสริมอัตลักษณ์ย่าน 13.โครงการปรับปรุงฟาสาด ส่งเสริมอัตลักษณ์ย่าน ย่าน สร้างสรรค์ ส่งเสริม หัตถกรรมร่วมสมัย รองรับ วิถีชีวิตสังคมยุคใหม่ เกิดการสัญจรที่สะดวกสบายและเข้าถึงง่าย เพื่อเชื่อมโยงกิจกรรมด้านการค้าและการท่องเที่ยว รวมถึงพัฒนาที่พักอาศัยรูปแบบใหม่ เพื่อรองรับประชากรที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต โครงการพัฒนาเชื่อมโยง กิจกรรมการท่องเที่ยว โครงการพัฒนาพื้นที่ พักอาศัยแนวตั้ง เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ สังคม โครงการนาร่อง โครงการส่งเสริม เศรษฐกิจสตาร์ทอัพ
โครงการส่งเสริมเศรษฐกิจสตาร์ทอัพ โครงการพัฒนาการเชื่อมโยงกิจกรรมการท่องเที่ยว โครงการพัฒนาพื้นที่พักอาศัยแนวตั้ง
1.โครงการพัฒนาการเชื่อมโยงกิจกรรมการท่องเที่ยว
โครงการพัฒนาการเชื่อมโยงกิจกรรมการท่องเที่ยว
25 100
25 100
B B A A
A 20.00 20.0020.0012.0010.0010.0025.0025.0025.00 12.00 12.00 Warehouse Warehouse Multipurpose Workshop Retail shopRetail shop Workshop
B 25.00 25.0012.0055.00 34.0090.00 Learning Center Exhibition Factory Factory
2. โครงการส่งเสริมเศรษฐกิจสตาร์ทอัพ
โครงการส่งเสริมเศรษฐกิจสตาร์ทอัพ
STRAT UP BUSINESS
COMMERCIAL
BANGKOK MASS TRANSIT SYSTEM
TRANSPOR STATION
SKY WALKCOMMERCIAL
START UP BUSINESS
START UP BUSINESS
TRANSPORTATION
SKY WALK
MIX USE
FEEDER HUB
BTS WONGWIANYAI PLAZA
25 50 100 0 175
BTS วงเวียนใหญ่ อาคารเมอรี่คิง วงเวียนใหญ่
โครงการส่งเสริมเศรษฐกิจสตาร์ทอัพ
MIX USE
USE
PLAZA MIX USE
MIX
MIX USE SKY WALK BTS วงเวียนใหญ่
TRANSPORSTATION
START UP BUSINESS
SKY WALKSTART UP BUSINESSMIX USE
3.โครงการพัฒนาพื้นที่พักอาศัยแนวตั้ง
โครงการพัฒนาพื้นที่พักอาศัยแนวตั้ง
โครงการพัฒนาพื้นที่พักอาศัยแนวตั้ง
สนามกีฬาและพื้นที่ออกกาลังกาย ลานอเนกประสงค์ พื้นที่พักผ่อนและพบปะผู้คน อาคาร Mix Use Type A อาคาร Mix Use Type B ถนนเจริญรัถ ถนนลาดหญ้า ถนนท่าดินแดง ถนนอิสรภาพ
MIX-USE TYPE A MIX-USE TYPE B 10,000 ตารารงเมตร 5,000 ตารารงเมตร พื้นที่พักผ่อนสาธารณะ พื้นที่พักผ่อนสาธารณะ พื้นที่พักผ่อนสาธารณะ สนามกีฬาและพื้นที่ออกกาลังกาย 25 50 100 0 175
25.0016.00 10.00 25.00 10.00 12.00 10.00 25.00 25.00แนวอาคาร แนวอาคาร 10.00 ถนนลาดหญ้า ถนนเจริญรัถพื้นที่สีเขียว พื้นที่สีเขียว
โครงการเร่งด่วน โครงการระยะกลาง โครงการระยะยาว MAP PHASING
PHASING
1. นายภูมินทร์ น้อยเทพ รหัส 1611020951101 2. นายธนพล สะราคา รหัส 1611020951102 3. นายวชิรวิทย์ มูลทองน้อย รหัส 1611020951107 4. นายภัทรพล แก้วจริยพล รหัส 1611020951111 คณะผู้จัดทา RESTORATION AND DEVELOPMENT CHAROEN RAT HANDICRAFT AREA