สรุปผลการเรียน วิชา การออกแบบการฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์ tanawan-5311310543

Page 1


คานา รายงานการจัดทาโครงการฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการออกแบบกราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์ (AITD3314) ซึ่งจัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการนาเสนอการจัดทาโครงการออกแบบสินค้าและบรรจุภัณฑ์ตาม แนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ “Final Project Tamarind Honey Soap” อันเป็นโครงการพัฒนาการ ออกแบบกราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์ร่วมกับกลุ่มหัตถกรรมสุขภาพหมู่บ้านหนองสมบัติ จังหวัดชัยนาท โดยเป็น การศึกษาวิเคราะห์วิพากษ์และใช้เป็นต้นแบบการศึกษาวิจัยด้วยวิธี Visual & Swot Analysis และการให้ ชุมชนมีส่วนร่วมในการศึกษาและพัฒนา (Community-based participatory research : CBPR) ร่วมให้ข้อมูลและร่วมตัดสินใจคัดเลือกผลงานโดยวิธีการแบบประชุมสนทนากลุ่มย่อย (Focus Groups) เพื่อ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์“ สบู่มะขามน้าผึ้ง” ให้มีความแปลกใหม่ ทันสมัยและดึงดูดความสนใจของผู้พบเห็น ซึ่ง เนื้อหาของรายงานการจัดทาโครงการฉบับนี้ ประกอบไปด้วย ขั้นตอนและวิธีการจัดทาโครงการ ตั้งแต่การ สืบค้นข้อมูลและเก็บข้อมูลของผลิตภัรฑ์ ขั้นตอนการออกแบบโลโก้ ขั้นตอนการออกแบบ บรรจุภัณฑ์ และการสรุปผลโครงการ ในการจัดทาโครงการ“Final Project Tamarind Honey Soap”ครั้งนี้ทางผู้จัดทาโครงการมีก็หวัง เป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ติอผู้ที่ต้องการศึกษาและสืบค้นเพื่อเป็นประโยชน์ในการนาไปใช้ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งโครงการนี้มีความประสงค์ที่จะเพิ่มมูลค่าให้กับผลไม้ธรรมดาอย่างมะขามและสร้างรายได้ให้กับสมาชิก กลุ่ม ชุมชนและครอบครัวเพิ่มมากขึ้น หากโครงการ“Final Project Tamarind Honey Soap”และรูปเล่มรายงานการจัดทาโครงการมี ความผิดพลาดปรการใด ทางผู้จัดทาขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์ ผู้จัดทา


กระบวนการออกแบบโดยใช้แผนผัง Mind Mapping โดย ผศ.ประชิด ทิณบุตร


การดาเนินงานการจัดทาโครงการออกแบบสินค้าและบรรจุภัณฑ์ ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ สาหรับสินค้า “สบู่มะขามน้าผึ้ง” กลุ่มหัตถกรรมสุขภาพหมู่บ้านหนองสมบัติ จังหวัดชัยนาท การดาเนินงานการจัดทาโครงการเป็นการดาเนินงานตามกระบวนการ 3ส ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้

ส.1 สืบค้น (Research) ข้อมูลการผลิตและการจั ดจาหน่ายของกลุ่มวิ สาหกิจชุมชน ชื่อวิสาหกิจชุมชน กลุ่มหัตถกรรมสุขภาพ บ้านหนองสมบัติ รูปแบบและกิจกรรมการผลิต มีทั้งแบบต่อเนื่องละตามใบสั่งซื้อจากลูกค้า มีปริมาณการผลิตไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขของเวลา จานวนสมาชิกที่สร้างงานและปริมาณการสั่งซื้อจากลูกค้า สรรพคุณ บารุงผิวให้เนียนนุ่ม ขาวกระจ่างใส ไร้ความหมองคล้า วิธีใช้ ควรใช้ทาความสะอาดผิวหน้าและผิวกายเป็นประจาเช้า-เย็น แนวคิดของสินค้า / การดาเนินการผลิต / ข้อมูลประวัติการผลิตสิน ค้า ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มเกิดจากการพัฒนาและเพิ่มมูลค่าให้กับพืชท้องถิ่นอย่าง “มะขาม” เป็นสบู่ซึ่งมี ส่วนผสมของน้าผึ้ง จึงถูกเรียกว่า “สบู่มะขามน้าผึ้ง” ให้เป็นผลิตภัณฑ์ของกลุ่มหัตถกรรมสุขภาพ บ้านหนองสมบัติ โดยมีแนวคิดว่ามะขามเป็นพืชที่มากในท้องถิ่น และมีประโยชน์ สรรพคุณมากกว่าการเป็น ผลไม้หรือวัตถุดิบประกอบอาหารธรรมดา หากแต่มะขามยังมีสรรพคุณเกี่ยวกับความงามด้วย อีกทั้งในปัจจุบัน คนทุกเพศทุกวัยต่างให้ความสาคัญกับเรื่องความสวยความงามมากขึ้ น จึงทาให้ทางประธานกลุ่มสนใจและเริ่ม ที่จะศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างผลิตภัณฑ์ความงามจากมะขามเพื่อตอบสนองความต้องการของคนใน กลุ่มต่างๆ แล้วทาการจัดตั้งกลุ่มสมาชิกเพื่อการผลิต อีกทั้งมีการเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวทางในการผลิต และประยุกต์ให้มีสรรพคุณที่มากขึ้นกว่าสบู่มะขามธรรมดาที่มีทั่วไป โดยการใส่ส่วนผสมของน้าผึ้ง เพื่อเพิ่ม สรรพคุณของสบู่ จนเกิดเป็นสบู่มะขามน้าผึ้ง ซึ่งเพิ่มมูลค่าให้กับผลไม้ธรรมดาอย่างมะขามและยังสร้างรายได้ ให้กับสมาชิกของกลุ่มหัตถกรรมสุขภาพ บ้านหนองสมบัติอีกด้วย


เป้าหมายและความคาดหวังของธุรกิ จ / การขยายงาน / การผลิตสินค้าและการใช้บรรจุภั ณฑ์ ต้องการเพิ่มมูลค่าให้กับผลไม้ธรรมดาอย่างมะขามและสร้างรายได้ให้กั บสมาชิก กลุ่ม ชุมชนและ ครอบครัว สภาพปัจจุบัน / ปัญหาที่เกิดขึ้น / ความต้องการพัฒนาผลิ ตภัณฑ์ และบรรจุ ภัณฑ์ เพื่อ การแข่งขัน 1. สภาพปัจจุบัน / ปัญหาที่เกิดขึ้นกับการผลิตผลิตภัณฑ์ - กาลังการผลิตน้อย เครื่องมือไม่มีศักยภาพ 2. สภาพปัจจุบัน / ปัญหาที่เกิดขึ้นกับบรรจุภัณฑ์ - ไม่ดึงดูดสายตาหรือความสนใจของผู้ซื้อ 3. สภาพปัจจุบัน / ปัญหาที่เกิดขึ้นกับการตลาดและการขนส่ง - มีตลาดลูกค้าไม่กว้างขวางและมีระบบขนส่งไม่สมบูร ณ์พร้อ มจึงทาให้ การกระจายสินค้าไม่ กว้างขว้าง การศึกษาวิเคราะห์วิพากษ์ และใช้เป็น ต้นแบบการศึก ษาวิจั ยด้ว ยวิธี Visual & Swot Analysis และการให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการศึกษาและพั ฒนา (Community-based participatory research : CBPR) ร่วมให้ข้อมูลและร่วมตัดสินใจคัดเลื อกผลงานโดยวิ ธีการแบบประชุม สนทนากลุ่ม ย่อย (Focus Groups) วิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน อุปสรรคและโอกาส (SWOT Analysis) ผลิตภัณฑ์สบู่มะขามน้าผึ้งกลุ่มหัตถกรรมสุขภาพ บ้านหนองสมบัติ จุดแข็ง - ผลิตภัณฑ์มีราคาย่อมเยา - ใช้วัสดุท้องถิ่น ทาให้ผลิตภัณฑ์มีต้นทุนการผลิตไม่สูง - ผลิตภัณฑ์สามารถใช้ได้กับคนทุกระดับ จุดอ่อน - กาลังการผลิตน้อย เวลาในการผลิตไม่แน่นอน - มีคู่แข่งในตลาดมาก - การประชาสัมพันธ์ไม่กว้างขวาง - รูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์ไม่ดึงดูดความสนใจ - ผู้ประกอบการขาดทักษะทางการตลาด


โอกาส - มีความพร้อมทางด้านแหล่งวัตถุดิบ - สามารถรับงานการผลิตตามสั่งของลูกค้าได้ - หน่วยงานรัฐให้การสนับสนุน - ผลิตภัณฑ์สามารถประยุกต์ และพัฒนาได้ อุปสรรค - จานวนผู้ผลิตสินค้าชนิดเดียวในตลาดมีมาก - ค่าแรงงานและค่าขนส่งมีราคาสูง - สินค้าไม่เป็นที่รู้จักของคนทั่วไป - หน้าร้านที่จัดจาหน่ายไม่กว้างขวาง

ภาพที่ 1.1 ภาพการลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลจากผู้ประกอบการ (1) ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557


ภาพที่ 1.2 ภาพการลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลจากผู้ประกอบการ (2) ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557

ภาพที่ 1.2 ภาพการลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลจากผู้ประกอบการ (3) ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557


ภาพที่ 1.3 ภาพบรรจุภัณฑ์เดิม (ด้านหน้า) ทีม่ า : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557

ภาพที่ 1.4 ภาพบรรจุภัณฑ์เดิม (ด้านหลัง) ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557


การวิเคราะห์ข้อมูลผลิตภัณฑ์ด้วยการมอง

ภาพที่ 1.5 ภาพแสดงการวิเคราะห์ข้อมูลผลิตภัณฑ์ด้วยการมอง ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผลิตภัณฑ์ด้วยการมอง หมายเลข 1. หีบห่อไม่แข็งแรง หมายเลข 2. ตราโลโก้กลุ่มว่างเด่นเกินไป หมายเลข 3. สรรพคุณไม่ชัดเจน หมายเลข 4. ป้ายติดราคาไม่เป็นทางการ หมายเลข 5. สีพื้นหลังของบรรจุภัณฑ์ไม่ดึงดูดและกลมกลืนกับภาพประกอบ หมายเลข 6. ชื่อสินค้าไม่ชวนมองและไม่ทันสมัย หมายเลข 7. เนื้อสบู่เรียบง่ายดูไม่ชวนให้สัมผัสและใช้งาน


เครื่องหมายการค้า คาว่า เครื่องหมายการค้า ทั่วไปคงจะไม่คุ้นเคยกันนัก แต่คาว่า ยี่ห้อ ตรา โลโก้ หรือแบรนด์ จะเป็น คาที่คุ้นเคยรู้จักและเรียกขานคาเหล่านี้มากกว่า หากท่านสังเกตรอบตัวเราจะเห็นว่าชีวิตประจาวันของเรา เกี่ยวข้องกับเครื่องหมายการค้า นับตั้งแต่ตื่นนอนตอนเช้าจนถึงเข้านอนล้วนแล้วแต่ต้องสัมผัสกับสิ่งของ เครื่องใช้ เครื่องอุปโภค บริโภค ที่มีเครื่องหมายการค้า ไม่ว่าจะเป็นนาฬิกาปลุกที่ ปลุกให้เราตื่นนอนตรงเวลา สุขภัณฑ์ที่ใช้ทาธุระในห้องน้า ยาสีฟัน แปรงสีฟัน สบู่ แชมพู เครื่องแต่งกายทุกชิ้น อาหาร เครื่องดื่มล้วน แล้วแต่มีเครื่องหมายการค้าทั้งนั้น เครื่องหมายการค้านาฬิกาปลุก เช่น ไซโก้ ซิติเซ่น เครื่องหมายการค้าของ เครื่องสุขภัณฑ์ เช่น อเมริกันแสตนดาร์ด คอตโต้ ยาสีฟัน แปรงสีฟัน เช่น คอลเกต ใกล้ชิด ไลอ้อน สบู่ เช่น ลักซ์ นกแก้ว แชมพู เช่น ซันซิล แพนทีน ที่เป็นอาหาร เช่น บะหมี่ มาม่า ไวไว ยายา ขนมปัง เช่น ฟาร์มเฮ้าส์ เอสแอนด์พี ยามาซากิ เครื่องดื่ม เช่น เป็ปซี่ โค้ก แฟนต้า สไปรท์ เป็นต้น

ประวัติเครื่องหมายการค้าในประเทศไทย ประเทศไทยได้มีกฎหมายเครื่องหมายการค้าบั งคับใช้แ ละพัฒนาปรับปรุงแก้ไขเป็นระยะๆ ดังนี้ 1. กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ.127 ประกาศใช้ในปี พ.ศ. 2450 ถูกยกเลิกในปี พ.ศ. 2500 และมีประมวล กฎหมายอาญามาใช้บังคับแทน 2. พ.ร.บ. ลักษณะเครื่องหมายการค้าและยี่ห้อการค้าขาย พ.ศ. 2457 เป็นกฎหมายเครื่องหมายการค้าฉบับ แรกของไทยที่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการรับจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า 3. พ.ร.บ. เครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2474 พ.ร.บ. ฉบับนี้ใช้บังคับแทน พ.ร.บ. เครื่องหมายการค้าและยี่ห้อการ ค้าขาย พ.ศ. 2457 ที่ถูกยกเลิกไป มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2474 ในสมัยรัชกาลที่ 7 มีการ ปรับปรุงแก้ไข 2 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2476 และ พ.ศ. 2504 4. พ.ร.บ. เครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534 ใช้บังคับแทน พ.ร.บ. เครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2474 ที่ยกเลิกไป เนื่องจาก พ.ร.บ. พ.ศ. 2474 บังคับใช้มานานมาก กฎหมายที่ใช้ไม่ทันต่อสภาวะเศรษฐกิจของโลกที่มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทาให้ไม่สามารถคุ้มครองผู้บริโภคและบริโภคในสภาวะปัจจุบันได้อย่างเพียงพอ จึง ได้ทาการยกร่างกฎหมายฉบับใหม่ขึ้น คือ พ.ร.บ. เครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2535 มีผลใช้บังคับใช้ เมื่อ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2535 จนถึงปัจจุบัน กฎหมายฉบับนี้ได้บัญญัติเพิ่มเติมเครื่องหมายบริการ เครื่องหมาย รับรอง เครื่องหมายร่วม และสัญญาอนุญาตให้ใช้เครื่องหมายการค้าเพิ่มเข้ามาให้เป็นกฎหมายฉบับที่มีความ ทันสมัย

บทบาทของเครื่องหมายการค้าในเชิงพาณิชย์ 1. เป็นสื่อกลางในการซื้อขายสินค้า เครื่องหมายการค้าทาหน้าที่เป็นสื่อกลางในการซื้อขายสินค้า ดังนี้ 1.1) เป็นสัญลักษณ์แทนตัวผู้ผลิตสินค้า 1.2) บอกแหล่งที่มาของสินค้า 1.3) แสดงคุณภาพของสินค้า ผู้ซื้อสินค้าสามารถเลือกซื้อสินค้าโดยจดจาเครื่องหมายการค้าที่ใช้กับสิน ค้านั้นๆ ได้


2. รักษาสิทธิประโยชน์ของเจ้าของเครื่องหมายการค้า เจ้าของเครื่องหมายการค้า ย่อมได้รับความคุ้มครอง ตามกฎหมาย ดังนี้ 2.1) สิทธิแต่เพียงผู้เดียวในการใช้เครื่องหมายการค้ากับสินค้า ของตน 2.2) สิทธิที่จะโอนหรืออนุญาตให้ผู้อื่นใช้เครื่องหมายการค้าของตนได้ 2.3) สิทธิที่จะเรียกร้องค่าทดแทนทางแพ่ง 2.4) สิทธิฟ้องร้องดาเนินคดีอาญา 3. คุ้มครองผู้บริโภคสินค้า เครื่องหมายการค้าแตกต่างกันย่อมเป็นประโยชน์ต่อผู้ บริโภค ดังนี้ 3.1) ผู้บริโภคซื้อสินค้าได้ถูกต้องไม่สับสนหลงผิด 3.2) เพิ่มโอกาสในการเลือกซื้อสินค้าในการบริโภค 4. โฆษณาสินค้า การโฆษณาสินค้าเป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภค ดังนี้ * ผู้บริโภคสามารถจดจาสินค้าจากเครื่องหมายการค้าที่กากับอยู่กับตัวสินค้าได้

เครื่องหมายคืออะไร เครื่องหมาย คือ ภาพถ่าย ภาพวาด ภาพประดิษฐ์ ตรา ชื่อ คา ตัวหนังสือ ตัวเลข ลายมือชื่อ หรือสิ่ง เหล่านี้อย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน แต่ไม่หมายความรวมถึงแบบผลิตภัณฑ์ตามกฎหมายว่าด้วยสิ ทธิบัตร

เครื่องหมายการค้าคืออะไร เครื่องหมายการค้า คือ เครื่องหมายที่ใช้กากับสินค้า เพื่อแสดงว่าสิน ค้าที่ใช้เครื่องหมายนั้นเป็นของ ผู้ใด แตกต่างกับสินค้าของผู้อื่นอย่างใด เครื่องหมายการค้าอาจจะเป็น ภาพ คา ตัวอักษร ลายมือชื่อหรือ ตัวเลข ฯลฯ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกันก็ได้

ประเภทของเครื่องหมายการค้า เครื่องหมายการค้าแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1. เครื่องหมายการค้า (TRADEMARKS) 2. เครื่องหมายบริการ (SERVICE MARKS) 3. เครื่องหมายรับรอง (CERTIFCATION MARKS) 4. เครื่องหมายร่วม (COLLECTIVE MARKS)

ความหมายของเครื่องหมายการค้าแต่ละประเภท 1. เครื่องหมายการค้า คือ เครื่องหมายที่ใช้กากับสินค้า เพื่อให้ผู้ซื้อสินค้าหรือคนทั่วไปแยกแยะได้ว่า สินค้านั้นแตกต่างกับสินค้าของผู้อื่น เช่นสินค้าน้าอัดลม โค้ก แตกต่างกับเป็ปซี่ เป็นต้น


2. เครื่องหมายบริการ เป็นเครื่องหมายที่ใช้กับธุรกิจบริการ เพื่อแยกแยะว่าธุรกิจบริการนั้นแตกต่างจาก ธุรกิจบริการที่ใช้เครื่องหมายบริการของผู้อื่น เช่น เครื่องหมายบริการรูปดอกจาปีของสายการบินไทย แตกต่าง กับสายการบินอื่นๆ เป็นต้น 3. เครื่องหมายรับรอง เป็นเครื่องหมายที่เจ้าของเครื่องหมายใช้รับรองคุณภาพหรือบริการของผู้อื่น ว่า คุณภาพหรือลักษณะของสินค้าหรือบริการนั้นมีคุณภาพเป็นอย่างไร เช่น เครื่องหมายรับรองรูปชาม เชลล์ชวนชิม เครื่องหมายรับรองเปิปพิสดาร เครื่องหมายรับรอง MOHAIR รับรองผ้าขนสัตว์ เป็นต้น 4. เครื่องหมายร่วม เป็นเครื่องหมายการค้าหรือบริการที่ใช้โดยบริษัท หรือรัฐวิสาหกิจในกลุ่มเดียวกัน หรือโดยสมาชิกของสมาคม สหกรณ์ เป็นต้น เช่น รูปช้างในรูปตะกร้อของเครือปูนซีเมนต์ไทย เป็นต้น

ภาพที่ 1.6 ภาพแสดงตัวอย่างเครื่องหมายการค้า ที่มา : www.artdesignvillage.com


ส.2 สมมติฐ าน (Resume) จากการลงพื้นที่และเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทาใหทราบถึงปัญหาและความต้องการของผู้ประกอบการ ดังนี้ 1. บรรจุภัณฑ์ของสบู่มะขามน้าผึ้งไม่ดึงดูดสายตาหรือความสนใจของผู้ซื้อ จึงทาให้แข่งขันกับ ผู้ประกอบการรายอื่นที่มีสินค้าชนิดเดียวกันไม่ได้ 2. ผู้ประกอบการต้องการให้บรรจุภัณฑ์มีความทัยสมัย โดยเน้นให้มีภาพฝักมะขามและน้าผึ้งบนบรรจุ ภัณฑ์ 3. เนื้อของสบู่มะขามน้าผึ้งไม่สวยงาม จึงไม่เป็นที่นิยมในกลุ่มผู้ใช้

Sketch Idea Logo Tamarind Honey Soap set 1

ภาพที่ 2.1 ภาพแสดงการร่างแบบโลโก้ Tamarind Honey Soap ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557

Skete Idea Logo Tamarind Honey Soap set 1

ภาพที่ 2.2 ภาพแสดงการร่างแบบโลโก้ Tamarind Honey Soap ด้วยโปรแกรม illustrator ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557


Sketch Idea Logo Tamarind Honey Soap set 2

ภาพที่ 2.3 ภาพแสดงการร่างแบบโลโก้ Tamarind Honey Soap ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557

Skete Idea Logo Tamarind Honey Soap set 2

ภาพที่ 2.4 ภาพแสดงการร่างแบบโลโก้ Tamarind Honey Soap ด้วยโปรแกรม illustrator ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557


Design Package Tamarind Honey Soap

ภาพที่ 2.5 ภาพแสดงการร่างแบบบรรจุภัณฑ์ Tamarind Honey Soap ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557


Design Package Tamarind Honey Soap

ภาพที่ 2.6 ภาพแสดงการร่างแบบบรรจุภัณฑ์ Tamarind Honey Soap ด้วยโปรแกรม illustrator ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557


การผลิตผลงานด้วยโปรแกรม illustrator

ภาพที่ 2.7 ภาพแสดงการผลิตผลงานด้วยโปรแกรม illustrator (1) ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557

ภาพที่ 2.8 ภาพแสดงการผลิตผลงานด้วยโปรแกรม illustrator (2) ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557


การผลิตผลงานด้วยโปรแกรม Sketch Up

ภาพที่ 2.9 ภาพแสดงการการผลิตผลงานด้วยโปรแกรม Sketch Up (1) ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557

ภาพที่ 2.10 ภาพแสดงการการผลิตผลงานด้วยโปรแกรม Sketch Up (2) ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557


ส.3 สรุปผลการออกแบบ (Result) จากการที่ ผู้ จั ด ท าโครงการได้ ท าการ ออกแบบสิ น ค้ า และบรรจุ ภั ณฑ์ ต ามแนวคิ ด เศรษฐกิ จ เชิ ง สร้างสรรค์ “Final Project Tamarind Honey Soap” อั น เป็ น โครงการพั ฒ นาการออกแบบกราฟฟิ ก บน บรรจุภัณฑ์ร่วมกับกลุ่มหัตถกรรมสุขภาพหมู่บ้านหนองสมบั ติ จั ง หวั ด ชั ย นาท โดยเป็ น การศึ ก ษาวิ เ คราะห์ วิพากษ์และใช้เป็นต้นแบบการศึกษาวิ จั ย ด้ ว ยวิ ธี Visual & Swot Analysis และการให้ ชุ มชนมี ส่ ว นร่ ว มใน การศึกษาและพัฒนา (Community-based participatory research : CBPR) ร่วมให้ข้อมูลและร่ว มตั ด สิ น ใจ คัดเลือกผลงานโดยวิธีการแบบประชุ มสนทนากลุ่ มย่ อ ย (Focus Groups) เพื่ อ การพั ฒ นาบรรจุ ภั ณฑ์ “ สบู่ มะขามน้าผึ้ง” ให้มีความแปลกใหม่ ทันสมัยและดึงดูดความสนใจของผู้ พบเห็ น โดยผู้ จั ด ท าได้ มีก ารลงพื้ น ที่ เพื่อทาการศึกษา หาข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาและความต้ อ งการของผู้ ป ระกอบการ จนได้ มีก ารออกแบบโลโก้ สินค้า กล่องบรรจุภัณฑ์ และแนวคิดเกี่ ย วกั บ การพั ฒ นารู ป ลั ก ษณ์ ข องตั ว สิ น ค้ า ให้ มีค วามน่ า สนใจ ดึ ง ดู ด ผู้บริโภคโดยยังคงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของตัวสิน ค้าและกลุ่ มผู้ผลิ ต ซึ่งมีผลงานการตามภาพ ดังนี้

ภาพที่ 3.1 ภาพแสดงโลโก้ผลิตภัณฑ์สบู่มะขามน้าผึ้ง ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557


ภาพที่ 3.2 ภาพแสดง Artwork กล่องบรรจุภัณฑ์สบู่มะขามน้าผึ้ง (1) ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557

ภาพที่ 3.2 ภาพแสดง Artwork กล่องบรรจุภัณฑ์สบู่มะขามน้าผึ้ง (2) ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557


นาผลงานที่ได้ทาการออกแบบจนเสร็จสมบูร ณ์ แล้วมาทาเป็นรู ปแบบสามมิ ติ ด้วยโปรแกรม Sketch Up ทั้ง 6 มุมมองเพื่อให้เห็นรูปแบบงานจริงอย่างชัดเจน

ภาพที่ 3.3 ภาพแสดงด้านหน้าของกล่องบรรจุภัณฑ์สบู่มะขามน้าผึ้ง ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557

ภาพที่ 3.4 ภาพแสดงหลังของกล่องบรรจุภัณฑ์สบู่มะขามน้าผึ้ง ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557


ภาพที่ 3.5 ภาพแสดงด้านบนของกล่องบรรจุภัณฑ์สบู่มะขามน้าผึ้ง ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557

ภาพที่ 3.6 ภาพแสดงด้านล่างของกล่องบรรจุภัณฑ์สบู่มะขามน้าผึ้ง ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557


ภาพที่ 3.7 ภาพแสดงด้านซ้ายของกล่องบรรจุภัณฑ์สบู่มะขามน้าผึ้ง ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557

ภาพที่ 3.8 ภาพแสดงด้านขวาของกล่องบรรจุภัณฑ์สบู่มะขามน้าผึ้ง ที่มา : นายธนาวรรณ โพธิ์พิทักษ์, 2557


จัดทำโดย นำยธนำวรรณ โพธิ์พิทักษ์ รหัสนักศึกษำ 5311310543 กลุ่มเรียน 201 วิชำ กำรออกแบบกรำฟิกสำหรั บบรรจุภัณฑ์ ARTD3302 Web blog : http://artd3302-tanawan.blogspot.com/



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.