นางสาวธนพร ประเสริฐวงษ์เดชา รหัส ๕๗๑๐๑๑๑๒๑๙๐๓๙ สาขานาฏศิลป์ไทย วิทาลัยการฝึกหัดครู
คานา หนังสือเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชานวัตกรรมทางนาฏศิลป์ไทยที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับภูมิปัญญาทางด้าน ศาสนาและประเพณีที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาของไทยเราเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับด้านศาสนาและประเพณี หากหนังสือเล่มนี้ผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาต้องขออภัยมา ณ ที่นี้และขอขอบพระคุณอาจารย์ทรงศักดิ์ สุริโยธิน ผู้ให้คาแนะนาที่ทาให้หนังสือเล่มนี้สมบูรณ์
This book is part of Thai Dramatic Arts Innovation. The content of religious and traditional wisdom. Related to the wisdom of Thailand. It offers religious. If this book is a mistake. The author has to apologize here, and thank you, Songsak Suriyothin, who gave the advice that made this book complete.
ผู้จัดทา ธนพร ประเสริฐวงษ์เดชา Thanaporn Prasertwongdecha
สารบัญ รายการ
หน้า
คานา
ก
สารบัญ
ข
แบบฝึกหัดก่อนเรียนบทที่………………………………………..…………….…..…๔ บทที่ ๑ ภูมิปัญญาไทย…………………………………………………………….....๕ ความหมายของภูมิปัญญาไทย…………………………………...……………๕ ลักษณะของภูมิปัญญาไทย………………………………………………...…๖ แบบฝึกหัดหลังเรียน…………………………………………………...…...๗ แบบฝึกหัดก่อนเรียนบทที่๒…………………………………………………….……..๘ บทที่ ๒ ศาสนาและประเพณี………………………………………………………....๙ ศาสนา……………………………………………….…………..………..๙ ความหมายของศาสนา……………………………………..………..……….๙ ความสาคัญของศาสนา………………………………………..……….....…๑๐ ประเพณี…………………………………………………….……....……..๑๑ ความหมายของประเพณี………………………….………………..…….…..๑๑ ความสาคัญของประเพณี………………………………….…..….………….๑๑ แบบฝึกหัดหลังเรียน………………………………………….….….….…..๑๒ แบบฝึกหัดก่อนเรียนบทที่๓……………………………………………….....….…….๑๓ บทที่ ๓ ความเชื่อทางศาสนาและประเพณีที่ยังคงปฏิบัติ…………………………..…….๑๔ ความเชื่อทางศาสนา……………………………………………………....๑๔-๑๕ ประเพณีที่ยังคงปฏิบัติ……………………………………………...……..๑๖-๑๗ แบบฝึกหัดหลังเรียน…………………………………………………….….๑๘
แบบฝึกหัด ก่อนเรียน
1. จงอธิบายความหมายของภูมิปัญญาไทยมาพอสังเขป ? ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………
2. จงบอกลักษณะของภูมิปัญญาไทยอย่างน้อย ๓ ข้อ ? ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………
3. ภูมิปัญญาไทยแบ่งได้กี่สาขา จงบอกสาขามาอย่างน้อย ๕ สาขา ? ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… เข้าสูบ่ ทเรียนกันเถอะ
บทที่ ๑
ความหมายของภูมปิ ัญญาไทย ภูมิปัญญาไทย หมายถึง ความรู้ความสามารถ วิธีการ ผลงานที่คนไทยได้ค้นคว้า รวบรวม และจัดเป็นความรู้ ถ่ายทอด ปรับปรุง จากคนรุ่นหนึ่งมาสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง จนเกิดผลิตผลที่ดี งดงาม มีคุณค่า มีประโยชน์
สามารถนามาแก้ปัญหาและพัฒนาวิถีชีวิตได้แต่ละหมู่บ้าน แต่ละชุมชนไทย ล้วนมีการทามาหากินที่สอดคล้องกับภูมิ ประเทศ มีผู้นาที่มีความรู้ มีฝีมือทางช่าง สามารถคิด ประดิษฐ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาของชาวบ้านได้ ผู้นาเหล่านี้ เรียกว่า ปราชญ์ชาวบ้าน หรือผู้ทรงภูมิปัญญาไทย
ลักษณะภูมิปัญญาไทย Characteristics of Thai wisdom
1. ภูมิปัญญาไทยมีลักษณะเป็นทั้งความรู้ ทักษะ ความเชื่อ และพฤติกรรม 2. ภูมิปัญญาไทยแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ 3. ภูมิปัญญาไทยเป็นองค์รวมหรือกิจกรรมทุกอย่างในวิถีชีวิตของคน 4. ภูมิปัญญาไทยเป็นเรื่องของการแก้ปัญหา การจัดการ การปรับตัว และการเรียนรู้ เพื่อความอยู่รอดของบุคคล ชุมชน และสังคม 5. ภูมิปัญญาไทยเป็นพื้นฐานสาคัญในการมองชีวิต เป็นพื้นฐานความรู้ในเรื่องต่างๆ 6. ภูมิปัญญาไทยมีลักษณะเฉพาะ หรือมีเอกลักษณ์ในตัวเอง 7. ภูมิปัญญาไทยมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อการปรับสมดุลในพัฒนาการทางสังคม จากการศึกษาพบว่า มีการกาหนดสาขาภูมิปัญญาไทยไว้หลากหลาย ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และ หลักเกณฑ์ต่างๆ นักวิชาการแต่ละท่านกาหนดในภาพรวมภูมิปัญญาไทยสามารถแบ่งได้เป็น 10 สาขาดังนี้
1. สาขาเกษตรกรรม 2. สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม 3. สาขาการแพทย์แผนไทย 4. สาขาการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. สาขากองทุนและธุรกิจชุมชน
6. สาขาสวัสดิการ 7. สาขาศิลปกรรม 8. สาขาการจัดการองค์กร 9. สาขาภาษาและวรรณกรรม 10. สาขาศาสนาและประเพณี หมายถึง ความสามารถประยุกต์และปรับใช้หลักธรรมคา สอนทางศาสนา ความเชื่อ และประเพณีดั้งเดิม ที่มีคุณค่าให้เหมาะสมต่อการประพฤติปฏิบัติ ให้บังเกิดผลดีต่อบุคคลและสิ่งแวดล้อม เช่น การถ่ายทอดหลักธรรมทางศาสนา การบวชป่า ประเพณีต่าง ๆ เช่น บวชพราหมณ์ เป็นต้น
แบบฝึกหัด หลังเรียน
1. จงอธิบายความหมายของภูมิปัญญาไทยมาพอสังเขป ? ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………
2. จงบอกลักษณะของภูมิปัญญาไทยอย่างน้อย ๓ ข้อ ? ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………
3. ภูมิปัญญาไทยแบ่งได้กี่สาขา จงบอกสาขามาอย่างน้อย ๕ สาขา ? ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………
แบบฝึ กหัด ก่อนเรียน
1. จงอธิบายความหมายและความสาคัญของคาว่า ‘ศาสนา’ มาพอสังเขป …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………
2. จงอธิบายความหมายและความสาคัญของคาว่า ‘ประเพณี’ มาพอสังเขป …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………….
บทที่ ๒ ศาสนา ( Religion )
“ศาสนา”คือ ลัทธิความเชื่อในหลักการ กรรมวิธี การปฏิบัติตนเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมาย สูงสุดในชีวิตที่ศาสดาของแต่ละศาสนาสั่งสอนหรือบัญญัติไว้สาเหตุการเกิดศาสนา
ความหมาย ของศาสนา
ประการแรก เกิดจากความกลัวของมนุษย์เนื่องจากมนุษย์ไม่มีความรู้ความเข้าใจ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ภัยพิบัติต่าง มนุษย์คิดว่า สิ่งเหล่านี้เกิดจากอานาจของ วิญญาณและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ดลบันดาลให้เป็นไป มนุษย์จึงแสวงหาวิธีภักดี อ่อนน้อมให้อยู่ ใต้อานาจด้วยการแสดงออกต่าง ๆ นานา เช่น การเคารพบูชา การเซ่นสังเวย การ ทาทุกกิริยาเพื่อให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์เห็นใจ ประการต่อมาเกิดจาก การค้นหาความจริงของธรรมชาติ โลกและชีวิต โดยไม่หวังพึ่งพิง อานาจศักดิ์สิทธิ์ใด ๆ เมื่อค้นหาความจริงพบแล้วจึงนามาประกาศศาสนา เพื่อให้ ชาวโลกรู้ตาม คือ พระพุทธเจ้า เป็นต้น
1. เป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ ช่วยให้มนุษย์เกิดความมั่นใจในการดารงชีวิต และช่วย
ให้รู้สึกปลอดภัย 2. ช่วยสร้างความสามัคคีในหมู่มนุษย์ช่วยให้มนุษย์ร่วมมือกันแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ตลอดจนร่วมมือกันสร้างสรรค์สิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อศาสนาและชีวิต
ความสาคัญ ของศาสนา
3. เป็นเครื่องมือขัดเกลาสมาชิกในสังคมให้สมาชิกยึดมั่น เชื่อถือ ปฏิบัติตนเป็นคน ดีตามคาสอน กลัวบาปที่เกิดจากความประพฤติไม่ดีต่าง ๆ3 4. ช่วยพัฒนาและยกระดับจิตใจการกระทาของมนุษย์ให้สูงขึ้น คือช่วยให้มนุษย์ เสียสละและอดทน อดกลั้นยิ่งขึ้น ทาความดีมากยิ่งขึ้น เป็นต้น 5. เป็นบ่อเกิดแห่งศาสตร์ความรู้ด้านศิลปะ ขนบธรรมเนียม ประเพณีต่างๆ มี กาเนิดจากศาสนา
ประเพณี ( Tradition )
ความหมายของประเพณี แบบความประพฤติที่คนส่วนรวมถือเป็นธรรม เนียมหรือระเบียบแบบแผนและปฏิบัติสืบต่อกันมา ช้านาน จนเกิดเป็นแบบอย่างความคิดหรือการ กระทาที่ได้สืบต่อกันมา และยังมีอิทธิพลอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งอยู่ในรูปแบบของ จารีต ประเพณี ขนบประเพณีและขนบธรรมเนียมประเพณี
1. เป็นเครื่องบอกความเจริญของชาตินั้น ๆ ชาติที่เจริญในปัจจุบันมีประเพณี ต่าง ๆ ที่แสดงถึงความเจริญก้าวหน้า 2. ประเพณีส่วนมากสืบค้นความเป็นมาของประเพณีนั้น ๆ ตัง้ แต่อดีต เชื่อมโยงถึงปัจจุบันประเพณีจึงสามารถใช้เป็นแนวทางในการศึกษา ประวัติศาสตร์ได้เป็นอย่างดี 3. ประเพณีทาให้คนในสังคมเกิดความภาคภูมิใจในความดีงามของเผ่า และ ชาติบ้านเมืองตนเอง 4. ประเพณีทาให้คนในสังคมได้ทากิจกรรมร่วมกัน อันเป็นการดารงความรัก สามัคคี ทาให้คนในเผ่า ชุมชน ภาค และเป็นชาติมีความมั่นคงสืบต่อกันมา 5. ประเพณีเป็นสัญลักษณ์ที่สาคัญ ซึ่งแสดงออกความเป็นเผ่า ชุมชน ภาค เป็นชาต
ความสาคัญ ของประเพณี
แบบฝึกหัด หลังเรียน 1. จงอธิบายความหมายและความสาคัญของคาว่า ‘ศาสนา’ มาพอสังเขป …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………
2. จงอธิบายความหมายและความสาคัญของคาว่า ‘ประเพณี’ มาพอสังเขป …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………….
แบบฝึกหัด ก่อนเรียน
1. อธิบายความเชื่อทางศาสนามาพอสังเขป …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………
2. จงอธิบายประเพณีที่ยังคงปฏิบัติพร้อมยกตัวอย่างประเพณี …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………
บทที่ ๓
ความเชื่อทางศาสนา Religious beliefs
ก่อนที่กลุ่มชาติพันธุ์ไทยโซ่งจะมาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทย ชาวไทยโซ่งไม่มี ศาสนา มีแต่การนับถือแถนและการไหว้บรรพบุรุษ แต่อิทธิพลของวัฒนธรรมไทยที่เข้า มามีส่วนเกี่ยวข้องในการดารงชีวิตของชาวไทยโซ่ง ทาให้ชาวไทยโซ่งหันมานับถือศาสนา พุทธ ร่วมปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนาพุทธ เช่น พิธีศพมีการนิมนต์พระสงฆ์มาสวดพระ อภิธรรมก่อนนาศพไปเผา แต่ชาวไทยโซ่งยังมีพิธีบอกทางไปเมืองแถง เชิญผีขึ้นเรือน งานขึ้นบ้านใหม่มีการนิมนต์พระสงฆ์มาเจริญพระพุทธมนต์พิธีแต่งงานมีการตักบาตร พระสงฆ์และนิมนต์พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ให้คู่บ่าวสาวและผู้มาร่วมงาน แม้ว่าศาสนาพุทธจะเข้ามามีบทบาทในวิถีชีวิตของชาวไทยโซ่ง
แต่ก็ไม่ได้ทาให้ความเชื่อดั้งเดิมของชาวไทยโซ่งเลือน หายไป และยังมีพิธีกรรมอีกหลายพิธีกรรมที่ยังไม่มี พระพุทธศาสนาเข้ามาเกี่ยวข้อง ได้แก่ พิธีเสน เรือน พิธีเสนตัว พิธีเสนแก้เคราะห์ เป็นต้น
สาหรับความเชื่อเรื่องศาสนาพุทธจะเน้นความเชื่อ เรื่อง กรรม การชดใช้กรรมที่ก่อขึ้น กรรมจะมี ผลกับชีวิต และความเชื่อเรื่องนรก-สวรรค์ ทาให้ เมื่อถึงบั้นปลายชีวิตชาวไทยโซ่งทุกคนที่มีโอกาส เลือก จึงเลือกไปตามประเพณีไทยโซ่ง คือให้บอก ทางไปเมืองแถงและกลับมาอยู่ในกะล้อห่อง
ประเพณีที่ยังคงปฏิบัติ The tradition is still practiced.
กลุ่มชาติพันธุ์ไทยโซ่งยังคงถือปฏิบัติประเพณีดั้งเดิมของตนอยู่หลาย ประเพณี แนวปฏิบัติพิธีกรรมดังกล่าวไม่แตกต่างจากในอดีตที่เคยปฏิบัติ กันมา หากมีข้อแตกต่างก็เพียงเล็กน้อยที่มีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสม และสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยทางเศรษฐกิจ เช่น การเสนเรือนผู้ต้าวในอดีตต้องใช้วัว ในปัจจุบันใช้หมูแทน เป็นต้น
ในปัจจุบันไทยโซ่งส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ครอบครัวใดที่นับถือคริสต์จะไม่มีการ นับถือผีเรือน ไทยโซ่งนับถือผี และมีความเชื่อเรื่องขวัญ ไทยโซ่งมีการนับถือผีอย่าง เคร่งครัด และมีพิธีกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการนับถือผีซึ่งอาจจาแนกออกได้ดังนี้
พิธีกรรมที่เกี่ยวกับผีเฮือนหรือผีบรรพบุรุษ : พิธีขึ้นบ้านใหม่ พิธีเชิญผีขึ้นเรือน พิธีเสนกวัดไกวหรือเสนกวัดถวาย พิธีเสน ปาดตง พิธีปาดตงข้าวใหม่ พิธีเสนเรือน
พิธีกรรมที่เกี่ยวกับผีนาและแม่โพสพ : พิธีเลี้ยงผีนา การเรียกขวัญข้าวขึ้นยุ้ง
พิธีกรรมที่เกี่ยวกับผีประจาหมู่บ้าน : ประเพณีไหว้ศาลประจาหมู่บ้าน
พิธีกรรมที่เกี่ยวกับผีมด (ผีที่ทาให้เจ็บป่วย) : พิธีเสนหับมด พิธีเสนกินปาง พิธีตามขวัญ ผู้ป่วย พิธีเสนตัว พิธีเสนแก้เคราะห์
พิธีกรรมที่เกี่ยวกับผีเกือด (แม่ซื้อ): พิธีเสนฆ่าเกือด
พิธีกรรมที่เกี่ยวกับ แถนหรือผีฟ้า (เทวดาอยู่บนฟ้า) : พิธีเสนเต็งหรือเสนผี น้อยจ้อย
แบบฝึกหัด หลังเรียน
1. อธิบายความเชื่อทางศาสนามาพอสังเขป …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………
2. จงอธิบายประเพณีที่ยังคงปฏิบัติพร้อมยกตัวอย่างประเพณี …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………