ประเพณีไทย

Page 1


หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง “ประเพณีไทย ๔ ภาค” จัดทาโดย นางสาวจิรภัทร์ จักรสาร รหัสนักศึกษา ๕๕๓๐๕๐๐๓๔-๔ นายณัฏภัทร บุญคาภา รหัสนักศึกษา ๕๕๓๐๕๐๒๕๘-๒

นักศึกษาสาขาสังคมศึกษา ชั้นปีที่ ๒

เสนอ รศ.ดร.สุมาลี ชัยเจริญ ผศ.ดร.จารุณี ซามาตย์ รายวิชา 241203 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการเรียนรู้ INNOVATION AND INFORMATION TECHNOLOGY FOR LEARNING

ภาคการเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

“ประเพณีไทยเป็นเรือ ่ งของพิธท ี ห ี่ มูช ่ น หมูห ่ นึง่ ร่วมปฏิบต ั แิ ละมีแบบแผนสืบ ต่อกันมา มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไข คงไว้บา้ ง ประเพณไทยแสดงถึงความ เป็นญ ั ลักษณ์ของชาติ ซึง่ แต่ละภาค ของไทยก็มป ี ระเพณีแตกต่างกันไป แม้วา่ ลักษณะของประเพณีทแี่ ตกต่าง แต่มล ี ก ั ษณะบางประการทีร่ ว ่ มกันคือ จุดประสงค์ทเี่ กีย ่ วข้องกับ พระพุทธศาสนาและบรรพบุรษ ุ ฉะนัน ้ ประเพณีไทยทีม ่ ค ี วามดีงามดังกล่าว ควรที่จะอนุรก ั ษ์ คงไว้ และประพฤติ ปฏิบต ั เิ ป็นประเพณีต่อไป เพือ ่ รักษาไว้ ให้คนรุน ่ หลังได้ชน ื่ ชม และร่วมกัน อนุรก ั ษ์ตอ ่ ไป “


๒๖ บรรณานุกรม ฐิติรัตน์ เกิดหาญ. (๒๕๕๔). “ประเพณีไทย ๔ ภาค”. กรุงเทพฯ : สกายบุก ๊ ส์. “ประเพณีไทย”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://www.prapayneethai.com/. ๒๕๕๖. สืบค้นเมื่อ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๖. “ประเพณีฮีตสิบสิง”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://www.baanmaha.com/community/ thread5759.html. ๒๕๕๐. สืบค้นเมือ ่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๖. สานักประชาสัมพันธ์ เขต ๗ จันทบุร.ี “ประเพณีภาคใต้”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://region7.prd.go.th/ main.php?filename=southculture01. สืบค้นเมือ ่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๖.

ก คานา หนังสือ “ประเพณีสี่ภาค” เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 241 203 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ( Innovation and information technology for learning ) จัดทาขึน ้ เพื่อ ประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาให้เป็นสื่อ ประกอบการเรียนรู้ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม คณะผู้จด ั ทาได้รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับประเพณีสี่ ภาคของประเทศไทย ซึ่งเป็นการยกตัวอย่างและอธิบายประเพณี สาคัญของแต่ละภาคจากภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลางและภาคใต้ โดยเป็นประเพณีทม ี่ ีความโดดเด่น สัมพันธ์ ต่อวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของคนในแต่ละภาค คณะผู้จด ั ทาได้เลือกหัวข้อนี้เพราะเป็นการอนุรักษ์ประเพณี และวัฒนธรรมไทยทั้งสี่ภาคของไทย หวังว่าผู้อ่าน จะได้รับ ข้อมูล ความรู้จากสื่อประกอบการเรียนรู้ฉบับนี้และเกิดประโยชน์ แก่ผู้อ่านทุกๆ ท่าน สุดท้ายนี้ หากหนังสือมีความผิดพลาด ประการใด คณะผูจ้ ัดทาจึงขออภัยมา ณ โอกาสนี้ คณะผู้จด ั ทา


๒๕

ข ประเพณีชงิ เปรต

กิตติกรรมประกาศ หนังสือเรื่อง ประเพณีสภ ี่ าค เล่มนี้สาเร็จลุล่วงโดย ได้รับความอนุเคราะห์และให้คาปรึกษาอย่างดีจาก ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร.จารุณี ซามาตย์ อาจารย์ผู้สอนรายวิชา 241 203 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ( Innovation and information technology for learning ) ซึ่ง ได้ให้คาปรึกษาและเสียสละเวลาอันมีค่าแนะนาแนวคิด วิธีการในการจัดทาตลอดจนการดาเนินการด้วยการเอาใจใส่ อย่างดียิ่ง คณะผู้จด ั ทาจึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ขอขอบพระคุณผู้ช่วยอาจารย์ ( Teaching assistant ) ที่ให้ความรู้ ข้อเสนอแนะ ตลอดจนข้อแก้ไขบกพร่องต่างๆ สาหรับสมุดเล่มนี้ และขอบขอบคุณเพื่อนๆที่ให้คาแนะนา เกี่ยวกับการจัดทาหนังสือเล่มนี้ จนทาให้หนังสือเล่มนี้สาเร็จ ลุล่วงไปได้อย่างสมบูรณ์

จิรภัทร์ จักรสาร ณัฏภัทร บุญคาภา

จัดขึ้นในวันแรม ๑ ค่า เดือน ๑๐ และ วันแรม ๑๕ ค่า เดือน ๑๐ "ชิงเปรต" เป็นประเพณีของภาคใต้ทก ี่ ระทากันในวันสารท เดือน ๑๐ เป็นประเพณีสาคัญทีจ ่ ด ั ขึน ้ เพือ ่ ทาบุญอุทศ ิ แก่ บรรพบุรุษผูล ้ ว ่ งลับไปแล้ว ผู้ตงั้ เปรตจะนาอาหารอีกส่วนหนึง่ ไปเพื่อการตัง้ เปรต ขนม ทีไ่ ม่ขาดคือ ขนมลา ขนมพอง ขนมบ้า ขนมเบซา(ดีซา) นอกจากขนมดังกล่าวแล้ว ยังมีของแห้งที่ใช้เป็นเสบียง กรังก็จด ั ฝากไปด้วย เช่น ข้าวสาร หอม กระเทียม รวมกัน ตั้งไว้บน "ร้านเปรต" ซึง่ สร้างไว้กลางวัดยกเสาสูง บนร้านเปรตจะมีสายสิญจน์วงล้อมไว้รอบและต่อยาวไป จนถึงพระสงฆ์ทน ี่ งั่ อยู่ใน วิหารทีเ่ ป็นทีท ่ าพิธก ี รรม โดย สวดบังสุกล ุ อัฐห ิ รือกระดาษเขียนชือ ่ ของผูต ้ าย ขนมต่าง ๆ จะถูกแบ่งออกส่วนหนึง่ พร้อมกับของแห้งไว้ถวายพระ อีก ส่วนหนึง่ ให้เปรตชนทีพ ่ อมีกาลังเข้ามาเสพได้ ใน ขณะเดียวกันผูท ้ ม ี่ าร่วมทาบุญทัง้ หนุ่มสาว เฒ่าแก่ และด็ก จะเข้าไปรุมกันแย่งขนมที่ตงั้ เปรตด้วยความสนุกสนาน เพราะถือว่าได้บญ ุ กุศล


๒๔

ประเพณี ยี่เป็ง

ประเพณีการแข่งเรือกอและด้วยฝีพาย ประเพณีการแข่งเรือกอและและเรือยาวด้วยฝีพายหน้า พระทีน ่ งั่ ได้จด ั ขึน ้ เป็นประจาทุกปี ในระหว่างวันที่ ๒๑-๒๕ กันยายน ซึง่ เป็นระยะเวลาที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หว ั และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินน ี าถ พร้อมด้วยพระ บรมวงศานุวงศ์ ได้เสด็จแปรพระราชฐานมาประทับแรม ณ พระตาหนักทักษิณราชนิเวศน์ ประชาชนชาวจังหวัดนราธิวาสต่างเห็น พ้องต้องกัน ว่าสมควรจัดให้มก ี ารแข่งขันเรือกอและอันเป็นประเพณี เก่าแก่ของ ชาวจังหวัดนราธิวาสถวายทอดพระเนตรเพื่อ เทิดพระเกียรติในพระมหากรุณาธิคณ ุ อัน ล้นพ้นและเป็น การฟืน ้ ฟูประเพณีการแข่งเรือกอและด้วยฝีพาย หน้าพระที่ นัง่ การแข่งขันใช้เรือกอและระยะทาง ๖๕๐ เมตร ผู้ ควบคุมลาละ ๑ คน จานวนฝีพายรวมทัง้ นายท้ายไม่เกิน ลาละ ๒๓ คน และมีฝีพายสารองไม่เกินลาละ ๕ คน การ เปลีย ่ นตัวในแต่ละเทีย ่ วทาได้เทีย ่ วละไม่เกิน ๕ คนการ แข่งขันแบ่งเป็น ๔ รอบ รอบที่ ๑ และรอบที่ ๒ เป็นรอบ คัดเลือก รอบที่ ๓ เป็นรอบรองชนะเลิศและรอบที่ ๔ เป็น รอบชิงชนะเลิศ

Concept Map

ประเพณี ปอยหลวง

ประเพณี อู้สาว

ประเพณี ทานตุง

ประเพณี ฮีตสิบสอง

ภาคเหนือ ภาค อีสาน

ประเพณีโคม ลอย

ประเพณีไทย ๔ ภาค

ประเพณี ชิงเปรต

ประเพณีอุ้ม พระดาน้า

ภาคใต้

ประเพณี ลอบเรือ

ภาค กลาง

ประเพณี แข่งเรือกอและ ด้วย ประเพณี ลากพระ (ชัก พระ)

ประเพณีตัก บาตรเทโว

ประเพณีรับ บัว

ประเพณีวิ่ง ควาย ประเพณีกวน ข้าวทิพย์


๒๓

ง ประเพณีลากพระ (ชักพระ)

สารบัญ คานา กิตติกรรมประกาศ Concept Map สารบัญ ประเพณีภาคเหนือ ประเพณีภาคอีสาน ประเพณีภาคกลาง ประเพณีภาคใต้ บรรณานุกรม

ก ข ค ง ๑ ๗ ๑๕ ๒๑ ๒๖

วันลากพระ จะทากันในวันออกพรรษา คือวันแรม ๑ ค่า เดือน ๑๑ แรม ๒ ค่า เดือน ๑๑ จึงลากพระกลับ วัด ปฏิบัติตามความเชือ ่ ว่า เมื่อครัง้ ที่พระพุทธเจ้าเสด็จไป โปรดพระมารดา ณ สวรรค์ชน ั้ ดาวดึงส์ เมื่อครบพรรษาจึง เสด็จกลับมายังโลกมนุษย์ พุทธศาสนิกชนไปรับเสด็จ แล้วอัญเชิญพระพุทธเจ้าประทับบนบุษบกแล้วแห่แหน พิธก ี รรม ๑. การแต่งนมพระ นมพระ หมายถึงพนมพระเป็น พาหนะที่ใช้บรรทุกพระลาก นิยมทา ๒ แบบ คือ ลากพระ ทางบก เรียกว่า นมพระ ลากพระทางน้า เรียกว่า "เรือพระ" ๒. การอัญเชิญพระลากขึน ้ ประดิษฐานบนนมพระ พระลาก คือพระพุทธรูปยืน แต่ทน ี่ ย ิ มคือ พระพุทธรูปปาง อุ้มบาตร เมื่อถึงวันขึน ้ ๑๕ ค่า เดือน ๑๑ พุทธบริษท ั จะสรง น้าพระลากเปลีย ่ นจีวร แล้วอัญเชิญขึน ้ ประดิษฐานบนนม พระ ๓. การลากพระ ใช้เชือกแบ่งผูกเป็น ๒ สาย เป็นสาย ผู้หญิงและสายผูช ้ าย


ประเพณีลอยเรือ

๒๒

เป็นประเพณีที่สบ ื ทอดมาจากบรรพบุรุษดัง้ เดิมของ ชาวอูรก ั ลาโวย ทีอ ่ าศัยอยูใ่ นจังหวัดกระบีแ่ ละจังหวัด ใกล้เคียง เมื่อถึงเวลาสมาชิกในชุมชนและญาติพี่น้องทีแ่ ยก ย้ายถิน ่ ไปทามาหากิน ในแถบทะเล และหมู่เกาะต่าง ๆ ใน ทะเลอันดามันจะพากันเดินทางกลับมายังถิ่นฐาน เพื่อ ประกอบพิธีนี้ ในวันขึ้น ๑๓ ค่า ช่วงเช้า ชาวเลจะเดินทางไปบริเวณที่ จะทาพิธี ผู้หญิงจะทาขนม ผูช ้ ายจะสร้างและซ่อมแซมทีพ ่ ก ั ชั่วคราว ช่วงเย็น ทัง้ หญิงและชายจะไปรวมกันทีศ ่ าลบรรพ บุรุษเพื่อนาอาหารเครือ ่ งเซ่นไปเซ่นไหว้ บรรพบุรุษเป็นการ บอกกล่าวให้มาร่วมพิธล ี อยเรือ เช้าของวันขึ้น ๑๔ ค่า ผูช ้ ายส่วนหนึง่ เดินทางไปตัดไม้ เพื่อนาไม้มาทาเรือผูห ้ ญิงจะร้องราทาเพลง และคืนวันขึน ้ ๑๔ ค่า มีพธ ิ ฉ ี ลองเรือโดยมีการรารอบเรือ เพื่อถวาย วิญญาณบรรพบุรุษ โต๊ะหมอจะทาพิธใี นช่วงเริม ่ ฉลองเรือ และมีพธ ิ ส ี าดน้าตอนเทีย ่ งคืน (เลฮฺบาเลฮฺ) และทาพิธีอก ี ครัง้ ในช่วงเช้าตรูว ่ น ั ขึน ้ ๑๕ ค่า ก่อนนาเรือไปลอยใน ทิศทางลมซึง่ แน่ใจว่าเรือจะไม่ลอยกลับเข้าฝัง่ บ่ายวันขึน ้ ๑๕ ค่า ผูช ้ ายแยกย้ายไปตัดไม้และหาใบกะพร้อเพือ ่ ทาไม้กัน ผีสาหรับทาพิธี ฉลองในเวลากลางคืน จนกระทัง่ ใกล้จะ สว่างโต๊ะหมอจะทา พิธเี สกน้ามนต์ ทานายโชคชะตา และสะเดาะเคราะห์ ให้สมาชิกทีเ่ ข้า ร่วมพิธก ี อ ่ นจะ อาบน้ามนต์

ประเพณี ภาคเหนือ


๒๑

ประเพณี ภาคใต้


๒๐

ประเพณี ตกั บาตรเทโว

ประเพณี ปอยหลวง ประเพณีปอยหลวงจัดขึน ้ ในช่วงเวลาจาก เดือน ๕ จนถึงเดือน ๗ ของภาคเหนือ ซึง่ ตรงกับ เดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนเมษายนหรือเดือน พฤษภาคมของทุกปี) ระยะเวลาประมาณ ๓-๗ วัน

จัดขึน ้ ในวันแรม ๑ ค่า่ เดือน ๑๑ (วันออกพรรษา) มีความส่าคัญคือ งานตักบาตรเทโว เป็นงานประเพณีทชี่ าว อุทยั ธานียดึ ถือปฏิบัตกิ น ั มา จนกลายเป็นเอกลักษณ์ที่ชาว อุทยั ธานีทกุ คนภูมิใจกันมาก เพราะเป็นการจัดงานตักบาตร เทโว ทีม่ ีความสอดคล้องกับพุทธต่านานมากทีส่ ดุ โดยบรรดาพุทธศาสนิกชนจะร่วมท่าบุญตักบาตร ข้าวสารอาหารแห้งพร้อมทั้งข้าวต้มลูกโยนกันอย่างเนือง แน่น นอกจากจะมีการท่าบุญตักบาตรแล้วยังมีการจัดขบวน แห่รถบุผาชาติ โดยมีการแห่ขบวนผ่านตลาดและเข้าถึงลาน วัดสังกัสรัตนคีรซ ี ึ่งเป็นทีต่ ักบาตรนอกจากนี้ ใน ตลาดและ หน่วยงานราชการห้างร้านต่าง ๆ ได้จดั โต๊ะหมู่บชู าประดับ ด้วยงาช้างตั้ง ตกแต่ง เป็นทีส่ วยงามอย่างยิง่

เป็นงานทาบุญเพื่อเฉลิมฉลองศาสนสมบัติ ต่าง ๆ เพือ ่ ให้เกิดอานิสงส์แก่ตนและครอบครัว นอกจากนี้ยงั เป็นเครือ ่ งแสดงถึงความสามัคคี กลมเกลียวของคณะสงฆ์และชาวบ้านด้วยเพราะ เป็นงานใหญ่ การทาบุญปอยหลวงทีน ่ ย ิ มทากัน คือทาบุญเพือ ่ อุทศ ิ ส่วนกุศลให้พ่อแม่ ปู่ยา่ ตายาย หรือญาติพน ี่ ้องทีล ่ ว ่ งลับไปแล้วก็ได้


๔ ประเพณียเี่ ป็ง คือ ประเพณีลอยกระทงแบบ ล้านนา โดยค่าว่า ยี่ แปลว่า สอง ส่วน เป็ง แปลว่า เพ็ญ หรือ คืน พระจันทร์เต็มดวง ซึง่ หมายถึง ประเพณีในวันเพ็ญเดือนสอง ของชาวล้านนา ซึง่ ตรงกับเดือน สิบสองของไทย โดยงาน ประเพณีจะมีสามวัน คือ  วันขึน ้ สิบสามค่า่ หรือ วัน ดา เป็นวันซือ้ ของเตรียม ไปท่าบุญที่วดั  วันขึน ้ สิบสีค่ า่ จะไปท่าบุญกันทีว่ ดั พร้อมท่ากระทงใหญ่ไว้ที่ วัดและน่าของกินมาใส่กระทงเพือ่ ท่าทานให้แก่คนยากจน  วันขึน ้ สิบห้าค่า่ จะน่ากระทงใหญ่ทวี่ ดั และกระทงเล็ก ส่วนตัวไปลอยในล่าน้า่ ในช่วงวันยีเ่ ป็งจะมีการประดับตกแต่งวัด บ้านเรือน ท่าประตูปา่ ด้วยต้นกล้วย ต้นอ้อย ทางมะพร้าว ดอกไม้ ตุง ช่อประทีป และชักโคมยีเ่ ป็งแบบต่าง ๆ ขึ้นเป็นพุทธบูชา และมีการจุดถ้วยประทีป (การจุดผางปะตีบ๊ ) เพือ่ บูชาพระรัตนตรัย และมีการจุดโคมลอยปล่อยขึน ้ สูท ่ อ้ งฟ้าเพื่อ บูชาพระเกตุแก้วจุฬามณีบนสรวงสวรรค์ ชัน ้ ดาวดึงส์

๑๙ ประเพณีกวนข้าวทิพย์ ประเพณีกวนข้าวทิพย์ เป็นพระราชพิธกี ระท่าในเดือน ๑๐ ซีมาตัง้ แต่สมัยสุโขทัยและกรุงศรีอยุธยา ในปัจจุบน ั ส่วนใหญ่จะจัดในเดือน ๑๒ บางแห่งจะจัดในเดือน ๑ ซึ่ง เป็นช่วงทีข่ า้ วกล้าในท้องนามีรวงข้าว และเครื่องกวนข้าว ทิพย์ประกอบด้วยถั่ว นม น้า่ ตาล น้า่ ผึง้ น้า่ อ้อย งา เนย น้า่ กะทิ และนมทีค่ น ั้ จากรวงข้าว เป็นพิธกี รรมของศาสนาพราหมณ์ ที่สอดแทรกใน พิธกี รรมทางพุทธศาสนา เพื่อถวายแด่พระภิกษุสงฆ์ บูชา พระรัตนตรัย และอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผตู้ าย จังหวัดสิงห์บรุ ยี งั คงรักษาประเพณีกวนข้าวทิพย์ โดย มีเหลืออยูเ่ พียง ๓ หมูบ่ า้ น คือ หมู่บา้ นพัฒนาโภคาภิวัฒน์ หมู่บา้ นวัดกุฎท ี อง และหมู่บา้ นในอ่าเภอพรหมบุรี ซึง่ ยัง คง รักษาประเพณี และมีความเชื่อถืออย่างมัน ่ คง เป็นแบบอย่าง ทีด่ ี แฝงด้วยจริยธรรมและคติธรรมอยู่มาก


๑๘ ประเพณีวิ่งควาย ประเพณีวงิ่ ควายจะจัดขึน ้ ใน ในวันขึน ้ ๑๔ ค่า่ เดือน ๑๑ ก่อนออกพรรษา ๑ วัน ของทุกปี เป็นประเพณีเกีย่ วกับอาชีพ เกษตรกรรม ซึ่งตกทอดมาจากบรรพบุรษ ุ จนถึงปัจจุบน ั จุดมุ่งหมายเพื่อให้ชาวบ้านได้เตรียมของไปถวายวัด ปัจจัย ไทยธรรมได้พกั ผ่อนและได้สังสรรค์กน ั ระหว่างชาวบ้านซึง่ เหนือ่ ยจากงานและให้ควายได้พกั เนื่องจากต้องตรากตร่าใน การท่านา ปัจจุบน ั ประเพณีวิ่งควายเป็นประเพณีของ จังหวัดชลบุรี โด่งดังเป็นทีร่ จู้ ักของชาวไทยและต่างประเทศ

ประเพณีทานตุง ตุง" ในภาษาถิ่นล้านนาหมายถึง "ธง" ใน ภาษาไทยกลางตรงกับลักษณะธงประเภท "ปฏากะ" ของอินเดีย คือ มีลก ั ษณะเป็นแผ่นวัตถุส่วนปลาย แขวนติดกับเสา ห้อยเป็นแผ่นยาวลงมา จุดประสงค์ของการทาตุงในล้านนาก็คือ การ ทาถวายเป็นพุทธบูชา ชาวล้านนาถือว่าเป็นการ ทาบุญอุทศ ิ ให้แก่ผท ู้ ล ี่ ่วงลับไปแล้ว หรือถวายเพื่อ เป็นปัจจัยส่งกุศลให้แก่ตนไปในชาติหน้า วันที่ ถวายตุงนั้นนิยมกระทาในวันพญาวันซึ่งเป็นวัน สุดท้ายของเทศกาลสงกรานต์ ปัจจุบันชาวล้านนาส่วนใหญ่ยังนิยมสร้างตุง เพื่อใช้ในพิธีกรรมต่างๆ ทั้งทางศาสนา ประเพณี เกี่ยวกับชีวต ิ ประเพณีเกี่ยวกับความตาย งาน เทศกาลและเฉลิมฉลองงานต่างๆ


๑๗

๖ ประเพณี อูส ้ าว “อู้สาว” ก็คอื พูดกับสาว คุยกับสาว หรือแอ่วสาวการอู้ สาวเป็นการพดคุยกันเป็นท่านองหรือเป็นกวีโวหาร ท่าตอนกลางคืนโดยชายหนุม่ (หรือชายไม่หนุม่ ก็ได้)เรียกว่า บ่าว จะไปไหนมาไหนเป็นกลุม่ ๆ และพูดคุยกันอย่าง สนุกสนานเพือ่ ไป “เซาะอู”้ (คือการไปคุยกับสาวๆ ตอน กลางคืนช่วงว่างงาน)ถ้าผู้หญิงทีม่ เี รือนหรือแต่งงานแล้ว จะไม่ออกมาอูเ้ ด็ดขาด ส่วนสาว ๆ เมื่อเสร็จตอนกลางวันแล้ว ตกค่า่ ก็จะรีบ อาบน้า่ แต่งตัวอย่างสวยงาม แต่ถา้ สาวใดมีงานเล็กๆน้อยๆ เช่นงานท่อผ้าไทยหรืองานปัน ่ ฝ้ายก็จะออกมาท่างานทีห ่ น้า บ้าน แต่จะมีพ่อแม่หรือญาติพน ี่ ้องมานัง่ คุยด้วย และถ้ามีผู้ บ่าวมาแอ่ว พ่อแม่ก็จะเปิดโอกาศให้ได้คยุ กันสองต่อสอง

ประเพณีรบ ั บัว ประเพณีรับบัว-โยนบัว เป็น ประเพณีทอ้ งถิน ่ ซึง่ มีเพียงแห่งเดียว ในประเทศไทย คือ ทีอ่ า่ เภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ด้วยเหตุทแ ี่ ต่เดิมนัน ้ พืน ้ ที่ในละแวกอ่าเภอบางพลีขึ้นชือ่ ว่า อุดมไปด้วยดอกบัวหลวง (Nelumbo nucifera Gaertn.) สะพรัง่ ไปทัว่ ทุกล่าคลองหนองบึง เมือ่ ใกล้จะถึงวันท่าบุญในช่วงออก พรรษา ชาวบ้านในอ่าเภอใกล้เคียงจึงมักพากันพายเรือมาเก็บ ดอกบัวไปถวายพระ ชาวบางพลีเห็นเช่นนัน ้ จึงอาสาเป็นผูเ้ ก็บ ดอกบัวให้ ต่อมา เมือ่ ใกล้จงึ วันออกพรรษาคราใด ชาวบางพลีจะ พากันเก็บดอกบัวไว้คอยท่าเผื่อมีคนต่างถิน ่ พายเรือมาขอรับ ดอกบัว นานวันนานปี จากน้่าใจของชาวบ้านบางพลี ก็กลายมา เป็นประเพณีรบั บัว


๑๖

ประเพณีอม ุ้ พระดาน้า

ประเพณีพระด่าน้า่ เป็นประเพณีที่ มีเพียงแห่งเดียวในประเทศไทย เกิดจาก ความเชื่อเกีย่ วกับอภินิหารของพระพุทธรูปส่าคัญ คู่บา้ นคูเ่ มืองคือพระพุทธมหาธรรมราชา ซึ่งคนหาปลาสอง สามีภรรยาทอดแหได้ทวี่ งั เกาะระสารในบริเวณลุม่ น้่าป่าสัก ในเขตตัวเมืองเพชรบูรณ์ จึงน่าไปไว้ทวี่ ดั ไตรภูมิ เมื่อถึง เทศกาลสารทพระพุทธรูปองค์นจี้ ะหายไปและชาวบ้านจะพบ มาเล่นน้า่ ทีบ่ ริเวณที่คน ้ พบเดิม ดังนัน ้ ในเทศกาลท่าบุญ สารทหลังจากท่าบุญเสร็จแล้วจะมีพธิ ีอญ ั เชิญพระพุทธมหา ธรรมราชาลงริว้ ขบวนเรือไปสรงน้า่ ทีว่ ังเกาะระสาร แต่ ปัจจุบน ั น่ามาท่าพิธท ี ท ี่ า่ น้า่ ของวัดโบสถ์ชนะมารในวันแรม ๑๕ ค่า่ เดือน ๑๐

ประเพณี ภาคอีสาน (ตะวันออกเฉียง เฉียงเหนือ)


๘ ประเพณีสาคัญของชาวอีสานก็คอื “ประเพณีฮตี สิบสอง” คือ ประเพณี ๑๒ เดือนของชาว อีสานทีต่ า่ งจากประเพณี ๑๒ เดือนของภาคอืน่ หลายประเพณี

๑. เดือนอ้าย หรือเดือนเจียง งานบุญเข้ากรรม มีงานบุญ ดอกผ้า (น่าผ้าห่มหนาวไปถวายสงฆ์) ประเพณีเส็งกลอง ท่า ลานตี(ลานนวดข้าว)ท่าปลาแดก (ท่าปลาร้าไว้เป็นอาหาร) เกีย่ ว ข้าวในนา เล่นว่าว ชักว่าวสนู นิมนต์พระสงฆ์เข้าประวาส กรรม ตามป่ระเพณีนน ั้ มีการท่าบุญทางศาสนา เพื่ออนิสงฆ์ ทดแทนบุญคุณต่อบรรพบุรษ ุ ชาวบ้านเลีย้ งผีแถน ผีบรรพ บุรุษ มีการตระเตรียมเก็บสะสมข้าวปลาอาหารไว้กินในยาม แล้ง

๑๕

ประเพณี ภาคกลาง


๑๔ ๒. เดือนยี่ งานบุญคูนลาน ท่าบุญที่วดั พระสงฆ์ เทศน์เรือ่ งแม่โพสพ ท่าพิธีปลงข้าวในลอมและฟาดข้าวใน ลาน ขนข้าวเหลือกขึน ้ เล้า (ยุ้งฉาง) นับเป็นความเชือ่ ในการ บ่ารุงขวัญและสิริมงคลทางเกษตรกรรม มีทั้งท่าบุญที่วดั และบางครัง้ ทกบุญทีล่ านนวดข้าว เมื่อขนข้าวใส่ยงุ้ แล้วมัก ไปท่าบุญทีว่ ดั ๑๒. เดือนสิบสอง บุญกฐิน ท่าบุญข้าวเม่าพิธถี วายกฐินเมือ่ ถึงวันเพ็ญจัดท่าข้าวเม่า(ข้าวใหม่)น่าไปถวายพระ พร้อมส่ารับ คาวหวานขึน ้ ตอนบ่ายฟ้งเทศน์เป็นอานิสงส์จดั พิธท ี อดกฐิน ตามวัดที!่ !จองกฐินไว้ งานบุญในฮีตสิบสองนัน ้ ตามหมู่ทเี่ คร่ง ประเพณียงั คงจัดกันอย่างครบถ้วนบางแห่งจัดเฉพาะงานบุญ ใหญ่ๆตามแต่คณะกรรมการหมู่บา้ นร่วมกันจัด บางแห่งเป็น งานใหญ่ประจ่าปี งานบุญแห่เทียนพรรษา ชาวจังหวัดอุบลฯ จัดเป็นงานใหญ่ทกุ ปีงานลอยเฮือไฟ ชาว จังหวัดนครพนมจัดเป็นงานใหญ่ประจ่า และงานแห่ปราสาทผึง้ ชาวเมืองสกลนคร จัดเป็นงานใหญ่ประจ่า เป็นต้น ปัจจุบน ั นี้ มีการฟืน ้ ฟูการจัดงานฮีตสิบสองเป็นงาน ใหญ่ๆเพือ่ การอนุรกั ษ์สินมรดกทาง วัฒนธรรมและส่งเสริมการท่องเทีย่ วสู่ จังหวัดด้วย

๓. เดือนสาม บุญข้าวจี่ มีพธิ เี ลีย้ งลาตาแฮก (พระภูมน ิ า) เพราะขนข้าวขึน ้ ยุง้ แล้ว งานเอิน ้ ขวัญข้าวหรือกูข่ วัญข้าว เพ็ญเดือนสามท่าบุญข้าวจี่ตอนเย็นท่ามาฆบูชา ลงเข็นฝ้าย หาหลัวฟืน (ไม้เชื้อเพลิงล่าไม้ไผ่ตายหลัว กิง่ ไม้แห้ง-ฟืน) ตามประเพณีหลังจากเก็บเกีย่ วข้าวใส่ยุ้งแล้ว มีการท่าบุญ เซ่นสรวงบูชาเจ้าทีน ่ า ซึ่งชาวอีสานเรียกว่าตาแฮก และ ท่าบุญแผ่สว่ นกุศลให้ผปี ู่ยา่ ตายาย อันเป็นการแสดงความ กตัญญูต่อบรรพบุรุษ โดยการท่าข้าวจี่(ข้าวเหนียวปัน ้ เป็น ก้อนสอดไส้นา้่ ตาลหรือน้า่ อ้อยชุบไข่ปงิ้ จนเหลือง) น่าไป ถวายพระพร้อมอาหารคาวหวานอืน ่ ๆ


๑๓

๑๐

๔. เดือนสี่ บุญพระเวส (อ่านออกเสียงพระ-เหวด) มีงาน บุญพระเวส (ฟังเทศน์มหาชาติ) แห่พระอุปคุตตัง้ ศาลเพียงตา ท่าบุญแจกข้าวอุทิศให้ผตู้ าย (บุญเปตพลี) ประเพณีเทศน์ มหาชาติเหมือนกับประเพณีภาคอืน ่ ๆ ด้วย เป็นงานบุญทางพุทธ ศาสนาทีถ่ อื ปฏิบัตท ิ า่ บุญถวายภัตตาหารแล้วตอนบ่ายฟังเทศน์ เรือ่ งเวสสันดรชาดก ตามประเพณีวดั ติดต่อกัน 2-3 วันแล้วแต่ ก่าหนดในช่วงทีจ่ ดั งานมีการแห่พระอุปคุตเพือ่ ขอให้บน ั ดาลให้ ฝนตกด้วย

๕. เดือนห้า บุญสรงน้่า หรือเทศกาลสงกรานต์ ชาวอีสาน เรียกกันว่า สังขานต์ ตามประเพณีจดั งานสงกรานต์นั้น บาง แห่งจัดกัน 3 วัน บางแห่ง 7 วัน แล้วแต่กา่ หนดมีการท่าบุญ ถวายภัตตาหารคาวหวาน หรือถวายจังหันเช้า-เพลตลอดเทศกาล ตอนบ่ายมีสรงน้่าพระ รดน้่าผูใ้ หญ่ผเู้ ฒ่า ก่อเจดียท ์ ราย

๑๐. เดือนสิบ บุญข้าวสาก ข้าวสากหมายถึงการกวน กระยาสารท คล้ายงานบุญสลากภัตในภาคกลาง จัดงานวันเพ็ญ เดือน 10 น่าส่ารับคาวหวานพร้อมกับข้าวสาก(กระยาสารท) ไป ท่าบุญทีว่ ดั ถวายผ้าอาบน้า่ ฝนและเครือ่ งไทยทาน แต่กอ่ นทีจ่ ะ ถวายนัน ้ จะท่าสลากติดไว้ พระสงฆ์องค์ใดจับสลากใดได้กร็ บั ถวายจากเจ้าของส่ารับนัน ้ ตอนบ่ายฟังเทศน์เป็นอานิสงส์

๑๑. เดือนสิบเอ็ด บุญออกพรรษา มีพธิ ถี วายผ้าห่มหนาวใน วันเพ็ญ มีงานบุญตักบาตรเทโว พิธกี วนข้าวทิพย์ พิธีลอยเรือไฟ นับเป็นช่วงทีจ่ ดั งานใหญ่กน ั เกือบตลอดเดือน นับแต่วน ั เพ็ญ มี การถวายผ้าห่มหนาวแต่พระพุทธพระสงฆ์ วันแรม 1 ค่า่ งาน บุญตักบาตรเทโว ตอนเย็นวันขึน ้ 14 ค่า่ มีพธิ กี วนข้าวทิพย์ มีงาน ช่วงเฮือ (แข่งเรือ) ในวันเพ็ญมีงานแห่ปราสาทผึง้ พิธลี อย เฮือ ไฟ (ไหลเรือไฟ) เพือ่ ถวายเป็นพุทธบูชา มีทงั้ งานบุญกุศลและ สนุกสนานรื่นเริง


๑๑

๑๒

๘. เดือนแปด งานบุญเข้าพรรษา มีพธิ ห ี ล่อเทียนพรรษา งานบุญเทศกาลเข้าพรรษา แต่ละหมู่บา้ นช่วยกันหล่อเทียน พรรษา ประดับให้สวยงาม จัดขบวนแห่เพือ่ นน่าไปถวายเป็น พุทธบูชา มีการท่าบุญถวายภัตตหาร เครือ่ งไทยทานและผ้าอาบ น้่าฝน เพือ่ พระสงฆ์จะได้น่าไปใช้ตลอดเทศกาลเข้าพรรษา ๙. เดือนเก้า บุญข้าวประดับดิน จัดงานวันแรม 14 ค่า่ เดือน 9 นับแต่เช้ามืด ชาวบ้านจัดอาหารคาวหวาน หมากพลูบห ุ รีใ่ ส่ กระทงเล็กๆ น่าไปวางไว้ตามลานบ้าน ใต้ตน ้ ไม้ ข้างพระอุโบสถ เพือ่ เป็นการให้ทานแก่เปรตหรือวิญญาณทีต่ กทุกข์ได้ยากตอน

๖. เดือนหก บุญบัง้ ไฟ บางแห่งเรียก บุญวิสาขบูชา มี งานบุญบัง้ ไฟ (บุญขอฝน) บุญวิสาขบูชา วันเพ็ญเดือนหก เกือบตลอดเดือนหกนี้ ชาวอีสานจัดงานบุญบัง้ ไฟ จัดวันใด แล้วแต่คณะกรรมการหมูบ่ ้านก่าหนดถือเป็นการท่าบุญบูชา แถน (เทวดา) เพือ่ ขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาลและความอุดม สมบูรณ์ของข้าวปลาอาหารในปีตอ่ ไปครัน ้ วันเพ็ญหก เป็นงาน บุญวิสาขบูชาประเพณีส่าคัญทางพุทธศาสนา มีการท่าบุญฟัง เทศน์และเวียนเทียนเพือ่ ผลแห่งอานิสงส์ในภพหน้า

๗. เดือนเจ็ด บุญช่าฮะ มีพธิ เี ลี้ยงตาแฮก ปูต่ า หลักเมือง งานบุญเบิกบ้านเบิกเมือง งานเข้านาคเพือ่ บวชนาค คติความเชือ่ หลังจากหว่านข้าวกล้าด่านาเสร็จ มีการท่าพิธเี ซ่น สรวงเจ้าทีน ่ า เพือ่ ความเป็นสิริมงคลให้ข้าวกล้าในนางงอกงาม บ้านทีก่ ุลบุตรมีงานอุปสบททดแทนบุญคุณบิดามารดาและ เตรียมเข้ากรรมในพรรษา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.