Nameinse textiles

Page 1

ผ า ทอบ า นนาหมืน่ ศรี จ.ตรัง ธัญญามาศ สุรยิ า



1


ผ า ทอบ า นนาหมืน ่ ศรี จ.ตรัง “ทอโหกเหอ...ทอฟ ม สามสิบสอง ทอดอกเข็มทอง มาสองเดือนครึง่ ไมใชตวั นอง ใครหอนทอถึง ทดสองเดือนครึง่ จนผาขึน้ ราขาว” สวนหนึง่ ในบทรองเพลงกลอมเด็กของชาวบานนาหมืน่ ศรี ทีส่ ะทอนถึงวิถชี วี ติ การ ทอผาไดเป น อยางดี ชีวติ ของสตรีชาวบานทีค่ วรยึดถือและกระทําคือ การทอผา ยิง่ ทองาม ก็เปรียบไดกับความงามของหญิงสาวผูน นั้ ดวย ผาทอแตละผืนถือเป น เรือ่ งราวของหญิงสาว ทีถ่ า ยทอดความดี ความงาม ความตัง้ ใจ ซึง่ เรียงรอยเส น ดายจนเป น แผนผืน ชายหนุม ก็มกั จะมองหญิงสาวทีส่ วมใสอาภรณทมี่ คี วามละเอียด ประณีตเป น ทีต่ งั้ เพราะถือวาหญิงผูน นั้ จะมีอปุ นิสยั ทีล่ ะเอียด เรียบรอ ย และงดงามดังผาทีเ่ ธอผูน นั้ ทอขึน้ มา จังหวัดตรังนั้น เดิมเป น เมืองทาเรือโบราณที่ติดตอการค า ระหวางอินเดียกับ คาบสมุทรมลายู เป น ตนทางใหแกเมืองนครศรีธรรมราช เมืองพัทลุง เพือ่ สงตอไปยังอยุธยา เปรียบไดกับเมืองทาเรือตัง้ สินคาหรือแวะพัก อาจกลาวไดวา การติดตอคาขายนีเ้ ป น จุดกําเนิด ใหกับการทอผานาหมืน่ ศรีในคราวตอมา

2


3


ผ า ทอนาหมืน ่ ศรีสาํ คัญอยางไร? ผ า ทอนาหมื่นศรีนั้นเป น ผ า ทอของภาคใตที่มีประวัติศาสตรมาอยางยาวนาน คาดวามีการทอตั้งแตกอ นสงครามโลกครั้งที่สอง เพราะสงครามในครั้งนั้นทําให ฝ า ย ขาดตลาดไมสามารถหาวัตถุดบิ มาทอผา ไดทงั้ ยังมีสภาพแวดลอมทีย่ ากตอการเพาะปลูก ทําให เ กิดการเขา มาของผา โรงงานซึง่ มีราคาตํา่ กวา หาซือ้ งาย การทอผา จึงลดบทบาทลง ประมาณป พ .ศ. 2514 ยายนาง ชวยรอด ไดรวบรวมเพือ่ นๆ ชางทอผามารวมกันซอมแซม และทอผา อีกครัง้ ซึง่ ตัง้ ใจวาจะใหล กู หลานรูจ กั การทอผา แบบดัง้ เดิมโดยความหวังครัง้ นี้ ไมไดสญู เปลา เพราะความสนใจของบุตรสาวเป น แรงผลักดันให เ กิดกลุม ทอผา นาหมืน่ ศรี อยาง นางกุศล นิลลออ ทีพ่ ฒ ั นา เผยแพรองคความรู  ทําใหผา ทอนาหมืน่ ศรีเป น ผาทอที่ มีชอื่ เสียงของจังหวัดและกลายเป น คุณคาทีง่ ดงามจวบป จจุบนั นี้

4


ความสวยงามของผ า ทอนาหมืน ่ ศรี ผาทอเป น รากฐานทีส่ าํ คัญยิง่ ในการดํารงชีวติ ขัน้ พืน้ ฐาน นับวาเป น อาชีพสําคัญ รองลงมาจากอาชีพเกษตรกรรม ผ า ทอนัน้ มักจะทําในยามทีว่ า งจากฤดูการทํานา เป น งานทีช่ ว ยกันภายในครอบครัว พอป น ฝ าย แมนงั่ ทอผา ใตถนุ เรือนเป ย  มดวยความสุข รอยยิม้ ลูกหลานก็มานัง่ เลนนัง่ ดู วิถชี วี ติ ทีเ่ รียบงายก็ไดซมึ ซับผานการมองเห็น การสัมผัส และครอบครัว จะบมเพาะความเป น ตัวตนใหเด็กๆ ทีละนอย กระทัง่ ทําใหเกิดความเขาใจ ในคุณคา สืบทอดและอนุรกั ษการทอผ า ตอไป เพราะไมมใี ครจะเข า ใจความเป น ตัวตน เอกลักษณ ความงามของผาทอไดดีไปกวาคนในทองถิน่ เอง

5


หากจะกลาวถึงคุณคาของผาทอนาหมืน่ ศรีนนั้ คงไมพน ทีจ่ ะกลาวถึงอายุของผา ทอทีเ่ กาแกถงึ 90 ป แ มว า การทอผา นัน้ จะเป น เพียงงานเสริมจากการทํานาแตการทอที่ คอยเป น คอยไป ทอดวยความตัง้ ใจ ทําใหผา แตละผืนมีความละเมียดละไม เป น ผาทอทีเ่ ต็ม ไปดวยเรือ่ งราวตัง้ แตการทอผา วิถชี วี ติ ความเป น อยูท สี่ อดแทรกอยูในลวดลายของผืนผา และเนือ้ ผาทีท่ อ ซึง่ แสดงใหเห็นถึงความตัง้ ใจทีถ่ า ยทอดเรือ่ งราวผานบนผืนผา

6


ประเภทของผ า ทอนาหมืน ่ ศรี ผาทอนาหมืน่ ศรีนนั้ มีความเป น เอกลักษณเฉพาะตัว ในดานวัฒนธรรม รวมถึง การใหความหมาย ความสําคัญของผาทอซึง่ สรุปไดดังนี้ 1. ผ า เช็ดหน า หรือผ า กราบพระ บางถิน่ เรียกวาผานุย หรือลูกผา ทอดวย ฝ าย ไหม หรือฝ ายปนไหม เป น รูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ขนาด 40-50 เซนติเมตร ทอเป น ผาพืน้ ผาลายตาราง หรือผาทอยกดอก เชน ผาเช็ดหนานิยมทอลายลูกแกว แกวชิงดวง ดอกจัน ดาวลอมเดือน เม็ดแตง ดอกกก ชอลอกอ ( ชอมะละกอ ) ชอมาลัย ถาเป น ผาเช็ดปากนิยม ทอเป น ผาพืน้ หรือผาตาสีแดง ถาเป น ผาปูกราบพระจะนิยมทอลายดอกกก นอกจากนีย้ งั ใชเ ป น ผากราบขอขมา หอขันหมาก หรือเหน็บเอวอวดกัน ซึง่ เป น ทีน่ ยิ มทัง้ หญิงและชาย

7


2. ผ า พาดเฉียงหรือผ า บงเฉียง เป น ผา สไบทีใ่ ช ร ดั อกโดยชายผา สวนทีเ่ หลือ เอาไวบนบา ความยาวประมาณ 4 ศอกคืบ กวางประมาณ 6-8 นิว้ ผูห ญิงสูงอายุสว นมาก นิยมใช ห ม ทับเสือ้ ชัน้ นอก ถือวาเป น การแตงกายทีส่ ภุ าพ ในอดีตนิยมสีพนื้ แดงยกสีเหลือง ขาว เขียวตอง ดํา นํา้ เงิน ทอยกลายดอกจัน ดาวลอมเดือน แกวชิงดวง เม็ดแตง ชอมาลัย ชอลอกอ ลายประสมรูปคน สัตวและตัวหนังสือ ผาพาดเฉียงใช  ในโอกาสไปทําบุญ ตอนรับ แขกผู  ใหญ หรือไปงานพิธบี วชนาค แตงงาน เป น ตน

8


โครงสร า งของผืนผ า 1. ริมตีน คือ สวนนอกสุดของผา ใช ดายยืนสีขาวขางละ 5 ชอง ฟ น ฟ ม แตละ ชองจะใช ด า ยคู ทําให ร ิมตีนมีความหนาเป น พิเศษกวาเนือ้ ผ า นิยมใช ด า ยสีขาวเสมอ 2. แมแคร คือ สวนทีถ่ ดั จากริมตีนเข า มาใชด า ยยืนสีพนื้ ทําให เ นือ้ ผ า เป น สีพนื้ สีเดียว 3. ลูกเกียบ คือ สวนทีม่ ลี กั ษณะเป น เส น คูท มี่ ลี ายหรือสีพนื้ อยูต รงกลางเหมือนถูกคีบ ไวดวยตะเกียบ มีทงั้ แนวเส น ดายยืนและแนวเส น ดายพุง 4. หน า ผ า คือ สวนทีเ่ ริม่ ของ เสน ดายสีสาํ หรับยกดอก ลูกเกียบใชเ ป น แนวหลักใหเสน ดายพุง ยกดอกไดเกาะกอนวนกลับ ครัง้ ตอไป 5. ชายบัด คือ สวนแรกทีเ่ ริม่ ทอกอนยกดอก และเป น สวนป ด ทายเมือ่ ทอยกลาย เสร็จ มีความยาวเทากันทัง้ หัวและทาย 6. ชายครุย คือ สวนของชายผาทีเ่ วนเส น ดายไว ยาวประมาณ 4 นิว้ มักใช กับผาหมหรือผาสไบ ไมนยิ มใช กับผาเช็ดหนา

9


3. ผ า พานช า ง เป น ผาใชส าํ หรับพาดโลงศพ เพือ่ สือ่ ใหผตายได ู  รบั บุญกุศลทีญ่ าติ ทําสงไปให โดยทอเป น ผาเช็ดหนา หรือผากราบพระ ติดตอกันเป น ผืนยาว จํานวน 12 ผืน หรือนอยกวานัน้ แตเป น จํานวนคู มีลวดลายยกดอกเหมือนผาเช็ดหนา แตชา งทอบางคน ทอผาพานชา งเป น ลายยกดอกอืน่ ๆ สลับกับลายตัวอักษร สัง่ สอนใหทาํ ความดี รักษาศีล จะไดขนึ้ สวรรค ผา พานชา งนีเ้ มือ่ เสร็จงานศพแลว เจาภาพจะตัดแบงเป น ผืนถวายพระ หรือแจกใหลกู หลานเก็บไวเป น ทีร่ ะลึก การทอผาพานชา งนัน้ ไมไดทอทัว่ ไป ผูท อมีเจตนา เก็บไวสาํ หรับงานศพของตนเองหรือทอใหแกผูท ตี่ นรักและเคารพเทานัน้

10


4. ผ า ตัง้ คือผานุง หมทีท่ อขึน้ เพือ่ ใช  ในพิธแี ตงงาน เป น ผาทีเ่ จาสาวทอเตรียมไว สําหรับเจาบาว ให เ หมาะสมดับเงินสินสอดเชนเมือ่ ฝา ยชายไปเจรจาขอหมัน้ ฝา ยหญิงจะ ตกลง หรือเรียกสินสอดเป น เงิน ซึง่ ในอดีตจะคิดเป น เงิน 9 บาท 19 บาท 29 บาท เจาสาว จะทอผาใหกับเจาบาวตามสินสอดทีเ่ รียก เชน เรียก 9 บาท ตองทอผา 1 สํารับ เรียก 19 บาท ตองทอ 2 สํารับ เรียก 29 บาท ตองทอ 3 สํารับ เป น ตน ใน 1 สํารับ ประกอบดวย ผานุง 1 ผืนและผาหม 1 ผืน เมือ่ เจาบาวยกขันหมากมาถึงบานเจาสาวก็จะตองเปลีย่ นผา สํารับใหมทเี่ จาสาวเตรียมไว ให

11


5. ผ า ถวายพระ มี 2 ขนาด คือขนาดผาเช็ดหนาและขนาดผาอาสนะ มักทอลาย ตัวหนังสือเพือ่ บอกความประสงคอดุ มคติหรือศรัทธาไว ในผืนผาหรืออาจมีการทําลวดลาย อืน่ เพือ่ ความสวยงามอีกดวย 6. ผ า นุง แบงเป น 2 ประเภทยอย คือ ผายาวและผาถุงหรือโสรง ผายาวใช น งุ เป น โจงกระเบน มีทงั้ แบบทีม่ ลี วดลายและไมมลี วดลาย ผ า ถุงหรือโสรง ใช น งุ  แบบขมวดชายพก มักใช ส นี าํ้ เงิน มวง แดง เหมือนกับ ผายาว มีทงั้ แบบมีลวดลายและไมมลี วดลาย ลายทีน่ ยิ มไดแก หางกระรอก ราชวัตร หัวพลู หมากรุก ตาสมุก ถาเป น ผาถุงสําหรับผูห ญิงจะเนนลายทีม่ คี วามละเอียด หากเป น ผูช าย จะนิยมผาตา

12


วัฒนธรรมการใช ผ า ทอบ า นนาหมืน ่ ศรี ตัง้ แตโบราณมาแลวมีการใชผ า เพือ่ วัตถุประสงคทหี่ ลากหลายสามารถแบงไดตาม รูปแบบการใช งานของผา แตละประเภท โดยผา ทอบา นนาหมืน่ ศรีนนั้ แบงการใช ผ า ทอ เป น 2 ประเภท ดังนี้ ผาทีใ่ ช  ในชีวติ ประจําวัน ไดแก ผานุง ผาสไบ ผาเช็ดหนา ผาทีใ่ ช  ในพิธกี รรม ไดแก ผาในพิธบี วช พิธแี ตงงาน และพิธศี พ ผ า ทีใ่ ช  ในชีวติ ประจําวัน 1. ผ า สไบ ผูห ญิง มีการสวมใสแบบชอคอ หรือฉอคอ หรืออาจเรียกอีกอยางวา ตะเบงมาน เป น การสวมใสเพือ่ เพิม่ ความกระชับในการทํางาน โดยคาดผาจากแผนหลังมา หอหุม สวนอกในลักษณะไขวกันแลวดึงปลายทัง้ สองมาผูกปมไวทตี่ น คอ

13


2. ผ า นุง ผูห ญิง มีการนุง เหมือนผูช าย ซึง่ ในป จจุบนั ไมเป น ทีน่ ยิ มแลว เพราะมี การใชผ า นุง แบบผา ถุงมากกวา การนุง แบบนีเ้ ป น การนุง ทีค่ ลายกับการนุง โจงกระเบน แต ปลดชายผาทีจ่ ะใหยดึ ไวดานหลังมาเหน็บไวสว นขางเอวแทน จึงเรียกวา เคว็ดจอน 3. ผ า สไบ ผูช าย มักใช เ ป น ผาคลองคอ หรือมัดเอว เป น ผาอเนกประสงคทใี่ ช  สําหรับชีวติ ประจําวัน สามารถใช งานไดทงั้ การโพกศรีษะกันแดด ซับเหงือ่ นับวาเป น ผา สารพัดประโยชน เปรียบไดกับการใช งานของผาขาวมาในป จจุบนั 4. ผ า นุง ผูช าย มักจะนุง เป น ผาขาวมาเพือ่ ความโปรงสบายในการทํางาน แบบ หยักรัง้ หากนุง แบบยาวจะนุง แบบเลือ้ ยชาย (ลอยชาย) ขมวดชายพกแบบเกีย่ วคอไก

14


ผ า ในพิธกี รรม 1. ผ า ในพิธบี วช เดิมนุง โจงกระเบน สวมเสือ้ ผาปานคอกลม พาดผาหมแบบเฉียง ตอมาเปลีย่ นจากการนุง โจงกระเบนเป น นุง ผานุง แบบผาถุง

2. พิธแี ตงงาน มีการใชผ า ตัง้ เป น สํารับผาทอจากเจาสาว ประกอบดวย ผาหม และผ า นุง โดยให เ จา บาวเปลีย่ นเมือ่ กอนเริ่มพิธี โดยเจา สาวจะทอผ า ตัง้ ตามสินสอด ที่ตกลงกันไวกับฝ า ยชาย การแตงกายฝ า ยหญิงจะสวมเสือ้ ผ า ป า นสีขาว หมสไบเฉียง นุง โจงกระเบน ยุคหลังนุง ผาถุง ฝา ยชายจะนุง ผาทีฝ่ า ยหญิงทอใหสวมเสือ้ แขนสัน้ หมสไบ เฉียง นุง โจงกระเบน ยุคหลังจะสวมเสือ้ ผาปา นสีขาว

15


3. พิธศี พ เป น พิธที างศาสนาและความเชือ่ ทีเ่ กีย่ วของกับคนทอผาโดยตรง เพราะ การทอผา พานช า ง ซึง่ เป น สิง่ ทีท่ าํ ใหค นตระหนักถึงชีวติ หลังความตาย เป น มรณานุสติ ดังแนวคิดของศาสนาพุทธ โดยผู ท อจะทอเป น ผา เช็ดหนา ตอกันเป น จํานวนเลขคู อาทิ ตอกัน 8 ผืน 10 ผืน 12 ผืน แตละชองผานัน้ เทียบไดกับบันไดไปสูส วรรค คนทอผามัก ทอใหคนทีร่ กั และของตัวเองเพือ่ ใช พ าดโลงศพในวันงานของตน ซึง่ ผาพานชา งนีถ้ อื เป น ผา ศักดิส์ ทิ ธิเ์ ป น ผาทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ในชีวติ ของชาวบานนาหมืน่ ศรี ผาพานชา งนีใ้ ช เ ป น ผาทีพ่ าด โลงศพ เมือ่ เสร็จพิธแี ลวมักจะนําไปถวายพระหรือตัดแบงใหแกเครือญาติของผูเ สียชีวติ เพือ่ เป น ทีร่ ะลึกถึงผูท ลี่ ว งลับไปอีกดวย ผาทีต่ ดั แบงนัน้ ก็จะมีลกั ษณะเป น ผาเช็ดหนาผืนเล็ก

วัฒนธรรมการทอผานัน้ อยูค กู บั สังคมของสตรี การทอผาทีเ่ รียบรอย สวยงาม ไมมี รอยตําหนิใดใดบนผืนผาจะเป น สิง่ ทีย่ นื ยันวาภายหนาจะมีหนุม ๆ มาหมายปองและตองการ จะแตงงานดวย ดังนัน้ การทอผา ดวยลวดลายทีง่ ดงามไมอาจจะวัดคุณคาของหญิงสาวได หากผา ทอผืนนัน้ ทออยางไมประณีตเรียบรอ ย อันเป น สิง่ ทีจ่ ะแสดงถึงการอยูร ว มกันเป น ครอบครัววา หญิงสาวคนนัน้ จะสามารถดูแลบานเรือน ครอบครัว ไดดีอยางไร 16


ผ า พานช า ง 17


เอกลักษณผ า ทอบ า นนาหมืน ่ ศรี ผาทอบานนาหมืน่ ศรี นัน้ แบงออกเป น 4 ประเภทไดแก ผาเช็ดหนา ผาหม หรือผาสไบ ผานุง และผาทอเพือ่ วัตถุประสงคพเิ ศษ ซึง่ ผาสไบมีโครงสรางลวดลาย เป น เอกลักษณ 6 ประการ ไดแก ริมตีน แมแคร ลูกเกียบ หนาผา ชายบัด และ ชายครุย โดยผาเช็ดหนานัน้ มีโครงสรา งทีค่ ลายคลึงกับ ผาสไบ แตไมมี ชายครุย หนาผา ผ า ทอที่พบเป น การทอด ว ยวัสดุฝ า ยเป น หลัก เทคนิคการทอยกดอก หางกระรอก และทอลายขัดธรรมดา ดานการใช งานนัน้ แบงการใช งานเป น 2 ประเภท คือ ผาทอในชีวติ ประจําวัน ไดแก ผาหม และ ผานุง สวนผาเช็ดหนานัน้ ไดถูกยกเลิกไป อีกประเภท คือ ผาทอในพิธกี รรม ไดแก ผาในพิธบี วช พิธแี ตงงาน และผาพานชา งในพิธศี พ

18


ดานลวดลายของผ า นัน้ เป น การทอลายทีซ่ าํ้ กันตลอดทัง้ หน า ผ า ทีไ่ ดตกี รอบ ไว ในโครงสรา งลาย ลวดลายทีพ่ บมีลกั ษณะเป น รูปทรงเรขาคณิต โดยไดรบั อิทธิพล จากลายไทย ซึง่ มาจากการติดตอกับราชสํานักสยามทางการคา ซึง่ สามารถแบงเป น ลายเอกลักษณ ลายที่ดัดแปลงมาจากลายเอกลักษณ และลายจากจินตนาการ ซึง่ ลวนแลวแตบง บอกถึงอัตลักษณ วัฒนธรรม คุณคา ความเป น ตัวตนผานการทอผา เป น เอกลักษณของชาวบานนาหมืน่ ศรี ตําบลนาหมืน่ ศรี อําเภอนาโยง จังหวัดตรัง บานนาหมืน่ ศรี นับเป น ชุมชนตัวอยางอีกชุมชนหนึง่ ทีท่ าํ ใหเห็นถึงความเป น เอกลักษณของการดํารงอยูข องวัฒนธรรมการทอผา มีความรักและผูกพันกับวิถชี วี ติ เดิมๆ มีการหันกลับมามองคุณคาของสิง่ ตางๆทีเ่ คยสัง่ สมเอาออกมาป ด ฝุน กระทัง่ เป น ภาพใหมทชี่ ดั เจนและสวยงามยิง่ ขึน้ จากการรือ้ ฟ  น เก็บรวบรวม สอบถามและ สืบทอดการทอผา เพือ่ เป น การรักษาเอกลักษณตวั ตนของชาวบานนาหมืน่ ศรีผา นการ ผสมผสานการอนุรกั ษและพัฒนาใหควบคูก นั ไป จนเกิดเป น ความภาคภูมใิ จตลอดมา

19


ผาทอบานนาหมืน่ ศรี จ.ตรัง © 2015 (พ.ศ. 2558) โดย ธัญญามาศ สุรยิ า สงวนลิขสิทธิ์ พิมพครัง้ แรกเมือ่ ตุลาคม พ.ศ. 2558 จัดพิมพโดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจติ รศิลป  มหาวิทยาลัยเชียงใหม เรียบเรียงและออกแบบโดย ธัญญามาศ สุรยิ า ออกแบบโดยใช ฟ อนท TH SarabunPSK 16 pt หนังสือเลมนีเ้ ป น สวนหนึง่ ของการเรียนการสอน เพือ่ สงเสริมและตอยอดศักยภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจติ รศิลป  มหาวิทยาลัยเชียงใหม




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.