tanyaporn

Page 1


คานา งานวิจัยฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การออกแบบกราฟฟิกบรรจุภัณฑ์ Graphic Design On Package โดยมีจุดประสงค์เพื่อการออกแบบบรรจุภัณฑ์สาหรับกล้วยเบรคแตก ซึ่งการวิจัยเล่มนี้มีที่มาของปัญหา ขั้นตอน การออกแบบ เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง คือ หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์ หลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์และหลักการ ออกแบบกราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์ ผู้วิจัยได้ศึกษามาจากผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปมาจาก กล้ายหอมตามท้องตลาดทั่วไป บรรจุภัณฑ์ของกล้วย เบรคแตกยังขาดการออกแบบที่ทันสมัย รูปลักษณ์ในการใช้งานยังไม่ดึงดูดผู้บริโภคให้มาสนใจสินค้าเท่าที่ควร ผู้วิจัยจึงศึกษาแบบ ปรับปรุงให้ดูทันสมัยและหน้าทานมากยิ่งขึ้น ผู้วิจัยขอขอบคุณกลุ่มเกษตร ตาบลบ่อกรุ ที่เป็น แหล่งข้อมูลศึกษาแบบแปรรูปกล้วยเบรคแตกและขอขอบคุณ อาจารย์ประชิด ทิณบุตร ที่ให้ความรู้และคาติชมใน ผลงาน ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งโครงงานวิจัยฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านและผู้ที่เข้ามาศึกษาแบบการออกแบบ กราฟฟิกบรรจุภัณฑ์

ผู้จัดทา นางสาวธรรญพร วิทยะถาวร รหัสนักศึกษา 5111312046 E-Mail : tanyaporn511@gmail.com


ที่มาของการออกแบบ/แรงบันดาลใจ (Background/Inspiration) ในปัจจุบันสินค้าที่แปรรูปมีมากมายหลายชนิด ทั้งแปรรูปมาจากของคาวของหวาน และกล้วยก็เป็น ผลไม้ชนิดหนึ่ง ที่มีการแปรรูปเป็นหลากหลายชนิด อาทิเช่น กล้วยกวน กล้วยตาก กล้วยเบรกแตก เป็นต้น ที่ ผู้ผลิตมักจะนิยมนากล้วยมาแปรรูป เพราะกล้วยมีประโยชน์มากมาย และยังสามารถบรรเทาอาการต่างๆ ได้ มากมาย อย่างเช่น การรับประทานกล้วยเป็นประจาจะบรรเทาอาการอาหารไม่ย่อยในกระเพาะ(Dyspepsia) ทาให้กระเพาะแข็งแรง ปัญหาจากกรดในกระเพาะจะลดลง สาหรับคนที่มีปัญหาเรื่องแผลในกระเพาะจะมีอาการ ดีขึ้น เป็นต้น นอกจากนี้กล้วยยังมีฤทธิ์ทางปฏิชีวนะ สามารถฆ่าเชื้อได้อีกด้วย และการกินกล้วยหอมหนึ่งผลไม่ เพียงแต่ทาให้อิ่มท้องเท่ากับข้าวหนึ่งจานเท่านั้น แต่กล้วยยังให้ผลทางยาและสมุนไพรที่ข้าวไม่มี คือ สามารถ ดูแลและรักษากระเพาะอาหารได้ ดังนั้นผู้ผลิตจึงนิยมนากล้วยมาแปรรูป และกล้วยยังเป็นผลไม้ที่หาได้ง่าย ชาวบ้านจึงนามาทาเป็นสินค้า หนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ เป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน แต่เนื่องจากสินค้าในปัจจุบันที่ขายตามท้องตลาดที่มาจากภูมิ ปัญญาชาวบ้านนั้น ตัวบรรจุภัณฑ์ยังขาดความทันสมัยอยู่ ข้าพเจ้าจึงได้ทาโครงการออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้กับ กล้วยเบรคแตก ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ตาบลบ่อกรุ จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นสินค้าที่ผู้บริโภค นิยมกันมากพอสมควร ข้าพเจ้าจึงอยากออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้ดูทันสมัยมากขึ้น เพื่อเพิ่มค่านิยมและสามารถ ยกระดับราคาและสินค้าได้ด้วย แรงบันดาลใจในการออกแบบคือ ความต้องการของข้าพเจ้า ที่ต้องการจะสื่อให้ผู้บริโภครู้ว่า ตัวสินค้า ทามาจากอะไร จึงทากล่องบรรจุภัณฑ์ให้เป็นรูปกล้วย และโลโก้กับชื่อสินค้า ก็สามารถสื่อให้เห็นได้ชัดว่าเป็น สินค้าที่มาจากกล้วยเช่นกัน โจทย์/วัตถุประสงค์/สมมติฐาน (Problem/Objective/Hypothesis)  เพื่อเพิ่มลวดลายให้ดูสวยงามและทันสมัยมากยิ่งขึ้น  เพื่อเพิ่มราคาให้แก่สินค้า  เพื่อเพิ่มความสะดุดตาในการเลือกซื้อของผู้บริโภค


การกาหนดคุณลักษณะที่ความต้องการ (Design Brief) โครงสร้างกล่องบรรจุภัณฑ์  กล่องรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กึ่งกลางจะเป็นพลาสติกใสรูปทรงเหมือนใบต้นกล้วย เพื่อสื่อให้ผู้บริโภครู้ว่า ผลิตภัณฑ์ทามาจากกล้วย และจุดประสงค์ที่ทากึ่งกลางเป็นพลาสติกใส ก็เพื่อให้ผู้บริโภคมองเห็น ผลิตภัณฑ์ด้านในได้อย่างชัดเจน ลวดลายกราฟฟิก  เลือกใช้ที่สดใสเพื่อการมองเห็นที่ชัดเจนสะดุดตา ตกแต่งแบบเรียบง่าย เหมาะสาหรับทุกๆ โอกาส โลโก้สินค้า  สื่อให้ผู้บริโภครู้ได้อย่างชัดเจนว่า ผลิตภัณฑ์ทามาจากกล้วย นาหนัก  ปริมาณสุทธิ 240 กรัม และ 120 กรัม สินค้า  กล้วยเบรกแตก รสหวาน กลุ่มเป้าหมาย  ทุกวัย ทุกชนชั้น


การนาเสนอแบบร่างทางความคิด (Sketch Design)


การศึกษาข้อมูลเบืองต้น (Preliminary Research) ประวัติกล้วยไทย กล้วย เป็นพืชพื้นบ้านของไทยที่ถูกนามาใช้ประโยชน์ในทุกยุคทุกสมัย เพราะทุกส่วนของกล้วยสามารถ นามาใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นอาหาร ขนม ของตกแต่ง กระทง หรือภาชนะ ถิ่นกาเนิดของกล้วย กล้วย เป็นพืชที่ชอบอากาศร้อนชื้น ถิ่นแรกของกล้วยจึงอยู่แถบเอเชียตอนใต้ ซึ่งจะพบกล้วยพื้นเมืองทั้ง ที่มีเมล็ดและไม่มีเมล็ด และจากผลของการย้ายถิ่นฐานในการทามาหากิน การอพยพประชากรจากเอเชียตอนใต้ ไปยังหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งแต่ต้นคริสต์ศักราชเป็นต้นมา ในการอพยพแต่ละครั้งจะต้องมีการนาเอา เสบียงอาหารติดตัวไปด้วย จึงได้มีการนาเอากล้วยไปปลูกแถบหมู่เกาะฮาวายและหมู่เกาะทางด้านตะวันออก สาหรับประวัติกล้วยในประเทศไทย เข้าใจว่าประเทศไทยเป็นแหล่งกาเนิดของกล้วยป่า และต่อมาได้มีการนาเข้า กล้วยตานี และกล้วยชนิดอื่นในช่วงที่มีการอพยพของคนไทยในการตั้งถิ่นฐานอยู่ที่จังหวัดสุโขทัย มีเอกสารกล่าว ว่าในสมัยอยุธยาพบว่ามีกล้วยร้อยหวี ลักษณะทั่วไป ชื่อวิทยาศาสตร์ : Musa sapientum L. ชื่อวงศ์

: Musaceae

ชื่อสามัญ

: Banana

กล้วยเป็นไม้ผล ลาต้น เกิดจากกาบหุ้มซ้อนกัน สูงประมาณ 2 – 5 เมตร ใบ เป็นใบเดี่ยว เกิดกระจาย ส่วนปลายของลาต้นเวียนสลับซ้ายขวาต่างระนาบกัน ก้านใบยาว แผ่นใบกว้าง เส้นของใบขนานกัน ปลายใบ มน มีติ่ง ผิวใบเรียบลื่น ใบมีสีเขียวด้านล่างมีไขนวลหรือแป้งปกคลุม เส้นและขอบใบเรียบ ขนาดและความยาว ของใบขึ้นอยู่กับแต่ละพันธุ์ ดอก เป็นดอกห้อยลงมายาวประมาณ 60 – 130 ซม. ซึ่งเรียกว่าหัวปลี ตามช่อจะมี กาบหุ้มสีแดงเป็นรูปกลมรี ยาว 15 – 30 ซม. ช่อดอกมีเจริญก็จะกลายเป็นผล ผล เป็นผลสดจะประกอบด้วยหวี กล้วย เครือละ 7 – 8 หวี แต่ละหวีมีกล้วยอยู่ประมาณ 10 กว่าลูก ขนาดและสีของกล้วยจะมีลักษณะแตกต่าง กันออกไปตามชนิดของแต่ละพันธุ์ บางชนิดมีผลสีเขียว , เหลือง , แดง แต่ละต้นให้ผลครั้งเดี่ยวเท่านั้น เมล็ด มี


ลักษณะกลมขรุขระ เปลือกหุ้มเมล็ดมีสีดา หนาเหนียวเนื้อในเมล็ดมีสีขาว ขยายพันธุ์ด้วยการแยกหน่อ หรือแยก เหง้า รสชาติฝาด ประโยชน์ของกล้วย ทางด้านอาหาร เป็นไม้ผลนามาบริโภค ใบนามาห่อขนม หรือนามาทากระทง ก้านนามาประดิษฐ์เป็น ของเล่น ประโยชน์ทางสมุนไพร ยางกล้วยจากใบใช้ห้ามเลือด โดยหยดยางลงบนแผลใช้กล้วยดิบทั้งลูกบดกับน้า ให้ละเอียด และใส่น้าตาล รับประทานแก้โรคท้องเสีย แผลในกระเพาะอาหาร อาหารไม่ย่อย ผลสุกให้เป็น อาหาร เป็นยาระบายที่เป็นโรคริดสีดวงทวาร อุจจาระแข็ง หัวปลี แก้โรคลาไส้ แก้โรคโลหิตจาง และลดน้าตาลใน เลือด

ประโยชน์ทางสมุนไพร : ตารายาไทยใช้ผลดิบซึ่งมีสารแทนนินมาก รักษาอาการท้องเสียและบิด โดยกินครั้ง ละครึ่งหรือ 1 ผล มีรายงานว่า มีฤทธิ์ป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารของหนูขาวที่ถูกกระตุ้นด้วยยา แอสไพริน เชื่อว่าฤทธิ์ดังกล่าวเกิดจากการถูกกระตุ้นผนังกระเพาะอาหารให้หลั่งสารเมือกออกมามากขึ้น จึงนามา ทดลองรักษาโรคกระเพาะอาหารของคน โดยใช้กล้วยดิบหั่นเป็นแว่น ตากแห้งบดเป็นผง กินวันละ 4 ครั้งๆ ละ 1-2 ช้อนแกง ก่อนอาหารและก่อนนอน อาจทาให้เกิดอาการท้องอืด ซึ่งป้องกันได้โดยกินร่วมกับยาขับลม เช่น ขิง

ส่วนที่ใช้เป็นยา : ผลกล้วยสุกทุกชนิด และผลกล้วยห่าม โดยฝานตากแดด ให้แห้ง บดเป็นผง จะใช้กล้วยหักมุก ห่ามแทนยิ่งดี

สรรพคุณ : ผลกล้วยมีสรรพคุณช่วยรักษาอาการผิดปกติของร่างกายหลายๆ อย่าง เช่น ภาวะความดันโลหิต สูง ภาวะความเป็นพิษภายในร่างกาย ช่วยให้ปอดชุ่มชื้น และแก้กระหายน้าได้เป็นอย่างดี ใช้ป้องกันบาบัดโรค แผลในกระเพาะอาหาร ช่วยเคลือบกระเพาะ – รักษาอาการท้องเสีย


คุณค่าทางอาหารและโภชนาการ ตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทย กล้วย ในส่วนที่กินได้ 100 กรัม มีคุณค่าทางโภชนาการ ดังนี้ Vitamins คุณค่าทาง Cal Protein Fat CHO Fibre Ash Ca P Fe Moisture% โภชนาการ Unit Gm Gm Gm Gm Gm. mg. mg. mg. A B1 B2 Niacin C I.U mg. mg mg. mg. หัวปลี

25

92.3

1.4

0.2 4.4

0.8

0.9 28 40 0.7 260 0.01 0.02 0.62

หยวก 6 กล้วยน้าว้า

97.6

0.4

0.1 0.9

0.6

-

กล้วยไข่ 140

62.8

1.5

0.2 32.9

0.4

0.7

4

23 1.0

-

กล้วยน้าว้า 139

62.6

1.1

0.2 33.1

0.3

0.7

7

43 0.8

กล้วยหอม 125

66.3

0.9

0.2 29.8

0.3

0.9 26 43 0.8

0.5 22 47

-

tr

tr

25

0.4

tr

0.03 0.05

1.4

2

-

0.04 0.02

1.4

11

-

0.04 0.07

1.0

27

ศึกษาข้อมูลประกอบ (Preliminary Research)

เวปอ้างอิง : http://www.siambig.com/shop/view.php?id_product=162542&shop=srirachaotop นาผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกันมาศึกษาหาข้อมูลเพิ่มเติม และทาการดัดแปลงให้ดูทันสมัยขึ้น เพื่อการตลาด ที่ดีกว่าเดิม


การออกแบบกราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์ การออกแบบกราฟิก หมายถึง การสร้างสรรค์ลักษณะส่วนประกอบภายนอกของโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ ให้สามารถสื่อสาร สื่อความหมาย ความเข้าใจในอันที่จะให้ผลทางจิตวิทยาต่อผู้อุปโภค บริโภค เช่น ให้ผลในการ ดึงดูดความสนใจ การให้มโนภาพถึงสรรพคุณ ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ ยี่ห้อผลิตภัณฑ์ ผู้ผลิต ด้วยการใช้วิธีการ ออกแบบ การจัดวางรูป ตัวอักษร ถ้อยคา โฆษณา เครื่องหมาย และสัญลักษณ์ ทางการค้า และอาศัยหลักศิลปะ การจัดภาพให้เกิดการประสานกลมกลืนกันอย่างสวยงาม ตามวัตถุประสงค์ที่ได้วางไว้ การออกแบบกราฟิก ถือว่าเป็นสิ่งที่มีความสาคัญต่อการบรรจุภัณฑ์เป็นอย่างมาก เพราะเป็น ส่วนประกอบที่สาคัญเหนือไปจากการบรรจุและการป้องกันผลิตภัณฑ์โดยตรง ทาให้บรรจุภัณฑ์มีหน้าที่เพิ่ม ขึ้นมาโดยที่ลักษณะกราฟิกบรรจุภัณฑ์ และสลากได้แสดงบทบาทหน้าที่สาคัญ อันได้แก่ 1. การสร้างทัศนคติที่ดีงามต่อผลิตภัณฑ์และผู้ผลิต กราฟิกบนบรรจุภัณฑ์และแผ่นสลาก ได้ทาหน้าที่ เปรียบเสมือนสื่อประชาสัมพันธ์ของผลิตภัณฑ์ในอันที่จะเสนอต่อผู้อุปโภคบริโภค แสดงออกถึงคุณงาน ความดีของผลิตภัณฑ์ และความรับผิดชอบที่ผู้ผลิตมีต่อผลิตภัณฑ์นั้นๆ โดยที่ลักษณะทางกราฟิกจะสื่อ ความหมาย และปลูกฝังความรู้ความเข้าใจการนาผลิตภัณฑ์ไปใช้ ตลอดทั้งสร้างความต่อเนื่องของการใช้ การเชื่อถือในคุณภาพ จรกระทั่งเกิดความศรัทธาเชื่อถือในผู้ผลิตในผลผลิตที่สุดด้วย 2. การชี้แจงและบ่งชี้ให้ผู้บริโภคทราบถึงชนิดประเภทของผลิตภัณฑ์ ลักษณะ กราฟิกเพื่อ ให้สื่อความหมาย หรือถ่ายทอดความรู้สึกได้ว่า ผลิตภัณฑ์คืออะไร และผู้ใดเป็นผู้ผลิตนั้น มักนิยมอาศัยใช้ภาพและอักษร เป็นหลัก แต่ก็ยังอาศัยองค์ประกอบอื่น ๆ มาช่วยในการออกแบบ เช่น รูปทรง เส้น สี ฯลฯ ซึ่งสามารถสื่อ ให้เข้าใจหมายหมายได้ เช่น เดียวกับการใช้ภาพ และข้อความอธิบายอย่างชัดเจน ตัวอย่างงานดังกล่าวนี้ มีให้เห็นได้ทั่วไป และที่เห็นชัดคือ ผลิตภัณฑ์ต่างประเทศที่บรรจุอยู่ในภาชนะที่คล้ายคลึงกัน ดังเช่น เครื่องสาอาง และยา เป็นต้น แม้บรรจุอยู่ในขวดหรือหลอดรูปทรงเหมือนกัน ผู้บริโภคก็สามารถชี้ได้ว่าอัน ใดคือเครื่องสาอางอันใดคือยา โดยสังเกตจากกราฟิก เช่น ลักษณะตัวอักษรหรือสีที่ใช้ซึ่งนักออกแบบจัด ไว้ให้เกิดความรู้สึกผิดแผกไป 3. การแสดงเอกลักษณ์เฉพาะ สาหรับผลิตภัณฑ์และผู้ประกอบการลักษณะ รูปทรงและโครงสร้างของบรรจุ ภัณฑ์ ส่วนใหญ่มักมีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน ในผลิตภัณฑ์แต่ละประเภท ทั้งนี้เพราะกรรมวิธ ีการบรรจุ


ภัณฑ์ ใช้เครื่องจักรผลิตขึ้นมาภายใต้มาตรฐานเดียวกัน ประกอบกับผู้แข่งขันในตลาดมีมาก เห็นได้จาก ผลิตภัณฑ์อาหารสาเร็จรูปที่ผลิตและจาหน่ายอยู่ อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ซึ่งมีลักษณะรูปทรง และ โครงสร้างที่คล้ายคลึงกันมาก เช่น อาหารกระป๋อง ขวดเครื่องดื่ม ขวดยา ซองปิดผนึก ( pouch) และ กล่องกระดาษเป็นต้น บรรจุภัณฑ์ต่างๆ เหล่านี้มักมีขนาด สัดส่วน ปริมารการบรรจุ ที่เหมือนกัน หรือ ใกล้เคียงกัน ดังนั้นการออกแบบกราฟิก จึงมีบทบาทหน้าที่แสดงเอกลักษณ์ หรือบุคลิกพิเศษ ที่เป็น ลักษณะเฉพาะของตนของผลิตภัณฑ์ และผู้ผลิตให้เกิดความชัดเจน ผิดแผกจากผลิตภัณฑ์คู่แข่งขัน เป็น ที่สะดุดตาและเรียกร้องความสนใจ จากผู้บริโภคทั้งเก่าและใหม่ให้จดจา ได้ตลอดจนซื้อได้โดยสะดวก และรวดเร็ว 4. การแสดงสรรพคุณและวิธีใช้ ของผลิตภัณฑ์เป็นการให้ข่าวสารข้อมูล ส่วนประสมหรือส่วนประกอบที่ เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ภายในว่ามีคุณสมบัติ สรรพคุณและวิธีการใช้ อย่างถูกต้องอย่างไรบ้าง ทั้งนี้โดย การอาศัย การออกแบบการจัดวาง (lay -out) ภาพประกอบข้อความสั้นๆ (slogan) ข้อมูลรายละเอียด ตลอดจนตรารับรอง คุณภาพและอื่นๆ ให้สามารถเรียกร้องความสนใจ จากผู้บริโภคให้หยิบยกเอา ผลิตภัณฑ์ขึ้นมาพิจารณา เพื่อตัดสินใจเลือกซื้อ การออกแบบกราฟิกเพื่อแสดงบทบาทในหน้าที่นี้จึง เปรียบจึงเปรียบเสมือน การสร้างบรรจุภัณฑ์ให้เป็นพนักงานขายเงียบที่ทาหน้าที่โฆษนา ประชาสัมพันธ์ แทนคน ณ บริเวณจุดซื้อนั้นเอง การสรุปผลงานการออกแบบ(Design Conclusion) 1. แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน(Inspiration) แรงบันดาลใจในการออกแบบคือ ความต้องการของข้าพเจ้า ที่ต้องการจะสื่อให้ผู้บริโภครู้ว่า ตัวสินค้าทามา จากอะไร จึงทากล่องบรรจุภัณฑ์ให้เป็นรูปกล้วย และโลโก้กับชื่อสินค้า ก็สามารถสื่อให้เห็นได้ชัดว่าเป็นสินค้า ที่มาจากกล้วยเช่นกัน 2. ความคิดสร้างสรรค์(Creative Idea) การออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย เพิ่มลวดลายกราฟฟิกต่างๆ ลงบนบรรจุภัณฑ์ เพื่อให้สินค้าน่าสนใจ มากขึ้น ออกแบบให้สินค้ามีสีสันที่สดใส เพื่อความเด่นและสะดุดตาเมื่อวางอยู่บนแผงจัดจาหน่าย 3. การออกแบบโครงสร้างที่ลงตัว สวยงาม(Design and Aesthetics)


การทางานออกแบบบรรจุภัณฑ์นั้น มีการคิดคานวณก่อนที่จะลงมือทางาน ทาให้ผลงานที่เสร็จสมบูรณ์ ออกมาตามที่คานวณไว้อย่างลงตัว

คุณค่าและประโยชน์ที่ได้รับจากตัวผลงาน (Value and Benefit) 3.1 ได้เห็นผลิตภัณฑ์ที่สวยงามขึ้น 3.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ในการออกแบบมากขึ้น 3.3 ได้รู้ว่าการออกแบบเป็นสิ่งที่ละเอียดอ่อน 3.4 ได้ทางานให้เป็นผู้ใหญ่มากขึ้น 4. ข้อเสนอแนะ 4.1 การออกแบบบรรจุภัณฑ์ ควรคานึงถึงผู้บริโภคมากที่สุด 4.2 การทดลองทา ก่อนการลงมือทาจริง ทาให้รู้ข้อบกพร่องในตัวบรรจุภัณฑ์ 4.3 ควรใส่ใจในการทางาน 4.4 การทางานออกแบบจาเป็นต้องใช้ความละเอียดอ่อน








Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.