บทนำ� เสน่ห์วิถีผ้าเมือง เชียงราย และ พะเยา การผลิตผ้าแต่ละผืน ต้องมีภูมิปัญญาที่สืบสานกัน มาจากบรรพบุรุษหลายชั่วอายุคน อาศัยความสามารถเอกลักษณ์เฉพาะตัว เฉพาะถิ่น เส้นสาย ลายผ้าบนผืนผ้าทีผ ่ ลิตออกมาอันล้วนมีเสน่ห์ ปัจจุบน ั ถ้าคนรุน ่ ใหม่ไม่มองเห็นความส�ำคัญของ ผ้าเมืองท้องถิ่นอันสวยงาม ย่อมท�ำให้คุณค่าของผ้าถิ่นนั้นสูญหายไป การท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย (ททท.) ส�ำนักงานเชียงราย จึงตระหนักและเล็งเห็นถึงความส�ำคัญอย่างยิ่ง ที่จะ สืบเสาะค้นหาเอกลักษณ์ผา้ เมือง ผ้ากลุม ่ ชาติพน ั ธุ์ เชียงราย พะเยา มาเผยแพร่บอกเล่า สูบ ่ ค ุ คล ภายนอกได้รู้จัก ตระหนักเห็นถึงเสน่ห์ผ้าเมืองและภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สืบทอดรุ่นสู่รุ่น ตั้งแต่ เริ่มกระบวนการผลิต การปลูก การทอ การแปรรูป การออกแบบ การต่อยอดสร้างมูลค่าเพิ่ม ของผ้าเมืองท้องถิน ่ จนเป็นเอกลักษณ์มเี สน่หข ์ องวิถผ ี า้ เมือง และในชุมชนผลิตผ้าเมืองนัน ้ ยัง มีแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรมที่งดงามและน่าค้นหาอีกด้วย
3
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
สารบัญ เส้นทางท่องเที่ยวเสน่ห์วิถีแห่งผ้า 1. เส้นทางท่องเที่ยวเสน่ห์วิถีผ้าอาข่า ผ้าทอดอยตุง-ผ้าปักอิ้วเมี่ยน 2. เส้นทางท่องเที่ยวเสน่ห์วิถีผ้าเชียงแสน วิถีผ้าไทลื้อ วิถีผ้าเขียนเทียนม้ง 3.เส้นทางท่องเที่ยวเสน่ห์วิถีผ้าลัวะ ดอยแม่สลอง
8 10 12
4. เส้นทางท่องเที่ยวเสน่ห์วิถีผ้าภูซาง เชียงค�ำ พะเยา
14
5. เส้นทางท่องเที่ยวพิพิธภัณฑ์ผ้า
4
6
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
สารบัญ เสน่หว ์ ิถีผ้าชนเผ่า 9 ชาติพันธุ์ วิถีผ้าชนเผ่าอาข่า
16
วิถีผ้าชนเผ่าม้ง
20
วิถีผ้าชนเผ่าเมี่ยน (เย้า)
24
วิถีผ้าชนเผ่าลีซอ (ลีซู)
28
วิถีผ้าชนเผ่ามูเซอ (ลาหู่)
32
วิถีผ้าชนเผ่ากะเหรี่ยง
36
วิถีผ้าชนเผ่าลัวะ
40
วิถีผ้าไทลื้อ
44
วิถีผ้าไทใหญ่
48
5
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
6
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
1. เส้นทางท่องเที่ยวเสน่ห์วิถีผ้าอาข่า ผ้าทอดอยตุง -ผ้าปักอิว ้ เมี่ยน แหล่งท่องเที่ยวเชื่อมโยงเส้นเที่ยวเท่... เสน่ ห์ วิ ถี ผ้ า นอกจากได้ ช มวิ ถี ผ้ า เส้ น สายลายผ้าที่สวยงามแล้ว การไปเยือน ยังสถานที่เหล่านั้นยังมีจุดชมวิว จุดเช็ค อินเท่ๆ มีทั้งร้านกาแฟ สถานที่ท่องเที่ยว ชุมชน และที่ห้ามพลาดตามเส้นทางคือ ขุนน้ำ�นางนอน พิพิธภัณฑ์จ่าแซม มาให้ นักท่องเที่ยวได้แวะชื่นชมและอีกหลายๆ ที่อยากให้มาเที่ยวเข้าสัมผัสกัน 1. ศูนย์ผลิตและจำ�หน่ายงานมือ ิ ดอยตุง จาก โครงการพัฒนาดอยตุงของสมเด็จย่า ส่งเสริม พัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่และอาชีพต่อ ชุมชนบนดอยตุง ชาวเขาเผ่าต่างๆ 2. พระตำ � หนั ก ดอยตุ ง สวนแม่ ฟ้ า หลวง ชมความงามของดอกไม้เมืองหนาวนานาพันธุ์ และหอแห่งแรงบันดาลใจ ทีน ่ อ ่ี ากาศเย็นสดชืน ่ ตลอดทัง ้ ปี 3. จุดชมวิวฐานปฏิบต ั ก ิ ารดอยช้างมูบ เป็นจุด ชมวิวและกางเต็นท์ ซึง ่ เป็นจุดชมความงามของ ทะเลหมอก พระอาทิตย์ตก ทีส ่ วยงามชัดเจน ตัง ้ อยูบ ่ นสันเขาแบ่งเขตแดนไทย-พม่า 4.บ้านผาฮี้ ขึน ้ ดอยมาจิบกาแฟของพ่อ อดีต ในหลวงรัชกาลที่ 9 นำ�พันธุ์กาแฟอาราบิก้ามา ให้ชาวเขาปลูกแทนการปลูกฝิ่น ที่มีวิวสวยงาม มองได้ 360 องศา มองเห็นด้านหน้าบ้านผาหมี 5.บ้านผาหมี อยู่ตำ�่ กว่าผาฮี้ ไม่ไกลกันนัก มี
บรรยากาศดีววิ สวย มีโฮมสเตย์ให้บริการ มีรา้ น กาแฟหลายร้านรสชาติกาแฟมีเอกลักษณ์ อยูใ่ กล้ ถ้�ำ หลวงขุนน้�ำ นางนอนด้วย 6.ถ้ำ�หลวงขุนน้ำ�นางนอน และพิพิธภัณฑ์ จ่าแซม วนอุทยานถ้�ำ หลวง-ขุนน้�ำ นางนอน เป็น วนอุทยานในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าดอยนาง นอน เป็นเขาหินปูนขนาดใหญ่เป็นทางน้�ำ ลอด ใน ฤดูฝนจะปิด รอบนอกมีสระมรกตบ่อน้�ำ ธรรมชาติ สีเขียวใสมรกต พิพธ ิ ภัณฑ์จา่ แซม จ่าเอกสมาน กุนน ั อดีตนักทำ�ลายใต้น�ำ้ จูโ่ จม กองทัพเรือ ทีไ่ ด้ ปฎิบต ั ก ิ ารช่วยเหลือชีวต ิ 13 หมูปา่ ตัง ้ รูปปัน ้ จ่า แซมด้านหน้าศาลาพิพธ ิ ภัณฑ์จา่ แซม ทีว่ นอุทยาน ถ้�ำ หลวง เพือ ่ รำ�ลึกถึงวีรบุรษ ุ แห่งถ้�ำ หลวง 7.วัดหิรญ ั ญวาส (พระสิงห์สาน) ชมพระเจ้าสาน ปางมารวิชัยทีใ่ หญ่ทส ่ี ด ุ ในประเทศไทย จุดเด่น ของวัดนีอ ้ ยูท ่ พ ่ี ระประธานในวิหาร สานด้วยไม้ไผ่ หน้าตักกว้าง 9.9 ศอก สูง 19 ศอก เป็นพระพุทธ
7
รูป ลักษณะพระสิงห์หนึง ่ เชียงแสน ศิลปะแบบ ล้านนาทีส ่ ร้างด้วยไม้ไผ่ทง ้ั องค์ 8. ชุมชนปางห้า สัมผัสวิถช ี วี ต ิ แบบท้องถิน ่ ที่ เต็มอิ่มกับความสุขครบรส กินอิ่ม นอนอุ่น ทำ� กิจกรรมในชุมชน เรียนรูก ้ ารทำ�เทียน การทำ�พระ หยก การตีมด ี กระดาษสา ใยไหมทองคำ� โฮม สเตย์ ทีไ่ ด้มาตรฐาน 9. สามเหลี่ยมทองคำ� จุดชมวิวสามเหลี่ยม ทองคำ � ชมองค์ พ ระพุ ท ธนวล้ า นตื้ อ อำ � เภอ เชียงแสน นัง ่ เรือล่องแม่น�ำ้ โขง หรือนัง ่ เรือข้าม ฝัง ่ เทีย ่ วเมืองต้นผึง ้ ประเทศลาวได้ 10. ชุมชนผ้าปักอิว้ เมีย ่ น บ้านแซว ทีน ่ ม ่ี ห ี ลาก หลายวัฒนธรรมและวิถช ี วี ต ิ ของชนเผ่า ทีอ ่ าศัย อยู่ในหุบเขาลุ่มน้ำ�ห้วยกว๊าน การแต่งกายของ ชนเผ่ า มี เ อกลั ก ษณ์ โ ดดเด่ น เป็ น ที่ส นใจของ นักท่องเทีย ่ ว โดยเฉพาะผ้าปักเผ่าอิว้ เมีย ่ น ทีม ่ ช ี อ ่ื เสียงในเรือ ่ งของการปักผ้าทีม ่ ล ี วดลายสวยงาม
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
8
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
2. เส้นทางท่องเที่ยวเสน่ห์วิถีผ้าเชียงแสน วิถีผ้าไทลื้อ วิถีผ้าเขียนเทียนม้ง เส้ น ทางเที่ ย วเท่ . ..เสน่ ห์ วิ ถี ผ้ า ถ้ า มา เชียงแสนสถานที่ ต้องเช็คอินเท่ไม่ควร พลาด และเชียงรายขึ้นชื่อว่าเมืองศิลปะ มาเชี ย งของก็ อ ย่ า ได้ พ ลาดเดิ น ถ่ า ยรู ป เท่ๆ กำ�แพง Art ที่เชียงของ และเที่ยว พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ไ ทลื้ อ ศิ ล ปะบนผื น ผ้ า ที่ มี คุณค่าดุจทองคำ� ของชาวไทลื้อ 1. ดอยสะโง้ มองเห็นวิว360 องศา เห็นตัวเมือง เชียงแสน สายน้ำ�โขง ชมพระอาทิตย์ตกดินชม ทะเลหมอมีโครงการหลวงสะโง้ ทีช ่ าวบ้านปลูกพืช ผักเมืองหนาว ชมแปลงผักสาธิต ภายในศูนย์ได้ 2.กลุม ่ ทอผ้า วัดพระธาตุผาเงา ผ้าทอล้านนา ลายเชียงแสน เกิดขึ้นโดยกลุ่มทอผ้าพื้นเมือง เชียงแสน (วัดพระธาตุผาเงา) ซึ่งเป็นการรวม ตัวกันของกลุ่มแม่บ้านบ้านสบคา โดยมีพระครู ไพศาลพัฒนาภิรัต ได้สร้าง “พิพิธภัณฑ์ผ้าทอ ล้านนาเชียงแสน” ในบริเวณวัดพระธาตุผาเงา เพือ ่ รวบรวมผ้าทอเชียงแสนและถิน ่ ใกล้เคียง ที่ มีเอกลักษณ์เฉพาะผ้าทอเชียงแสน 3.ผ้าทอไทลือ ้ บ้านหาดบ้าย ใช้ฝา้ ยเป็นวัตถุดบ ิ มาทอเป็นผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ เช่น ผ้าซิน ่ เสือ ้ ปัด ๊ ผ้าปู โต๊ะ ลวดลายสีด�ำ แดง เป็นรูปสัตว์ รูปดอกไม้ นิยม ตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคจก เป็นลวดลายหลาก
สีเกือบเต็มผืนเป็นอัตลักษณ์ของทีน ่ ่ี 4. พิพธ ิ ภัณฑ์ลอ ้ื ลายคำ� ลายผ้าถักทอประณีตมี เรือ ่ งราวศิลปหัตถกรรมทีถ ่ า่ ยทอดของบรรพบุรษ ุ จากสิบสองปันนามาสูศ ่ รีดอนชัย กับศิลปะลวดลาย บนผืนผ้าทีถ ่ ก ู เก็บรวบรวมไว้ในพิพธ ิ ภัณฑ์ มีจด ั แสดงการจำ�ลองวิถช ี วี ต ิ ของไทลือ ้ ดัง้ เดิม 5.ผ้าทอไทลือ ้ บ้านศรีดอนชัย ผ้าทอผ้าซิน ่ ไทลือ ้ ของกลุม ่ ไทลือ ้ บ้านศรีดอน ชัย นิยมทอลวดลายทีเ่ รียกว่า “ลายเกาะ” โดยใช้ เทคนิคเกาะล้วง แจก ขิด มีลวดลายขนาดใหญ่อยู่ ตรงกลางตัวซิน ่ มีความเป็นเอกลักษณ์อน ั โดดเด่น เฉพาะตัว ทีส ่ บ ื ทอดกันมาจนปัจจุบน ั 6. บ้านไทลือ ้ 100 ปี (เฮือนเอือ ้ ยคำ�) เป็นเรือน ไทลือ ้ โบราณทีย ่ งั คงสมบูรณ์ เป็นสถาปัตยกรรม บ้านทรงไทลื้อที่เหลืออยู่หลังเดียวและเป็นหลัง สุดท้ายทีย ่ งั คงอนุรก ั ษ์และรักษาไว้
9
7. เฮือนคำ�แพง (ข่วงวัฒนธรรมไทลือ ้ ) เป็นบ้านแบบไทลื้อโบราณ แบบยกเสา คือ การนำ�เสามาวางบนหินไม่ฝงั ดิน เพือ ่ สะดวกแก่การ ถอนย้าย ป้องกันแมลงมอดปลวกตามภูมป ิ ญ ั ญา ดัง ้ เดิม จัดแสดงเสือ ้ ผ้าและเครือ ่ งใช้ตามวิถช ี วี ต ิ ของชาวไทลือ ้ เปิดให้พก ั แบบโฮมสเตย์ 8. กลุม ่ ทอผ้าไทลือ ้ ครูดอกแก้ว ครูชา่ งศิลป หัตถกรรม ทีถ ่ า่ ยทอดการทอผ้าไทลือ ้ มีความโดด เด่นในเรือ ่ งของการนำ�ฝ้ายมามัดหมีแ ่ ละย้อมด้วย สีธรรมชาติ กระบวนการทอมือ ทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ 9. ผ้ า เขี ย นเที ย น ที่บ้า นขุ น ห้ ว ยแม่ เ ปาใต้ อ.พญาเม็งราย ภูมป ิ ญ ั ญาชนเผ่าม้งทีส ่ บ ื ทอดกัน มา โดยใช้ขผ ้ี ง้ึ ต้มให้ละลาย ใช้ขผ ้ี ง้ึ เขียนลวดลาย ลงบนผืนผ้า นำ�ไปย้อมสีธรรมชาติ ต้มให้เทียน ละลายออกก็จะได้ลวดลายบนผืนผ้าทีง่ ดงาม เรียก ว่า “ผ้าเขียนเทียน”
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
10
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
3. เส้นทางท่องเที่ยวเสน่ห์วิถีผ้าภูซาง เชียงค�ำ พะเยา อำ�เภอภูซางเและอำ�เภอเชียงคำ� จ.พะเยา มีภม ู ป ิ ระเทศบางส่วนเป็นป่าเขาและทีร่ าบสูง เป็นส่วนหนึง ่ ของเขตอุทยานแห่งชาติภซ ู าง เป็นส่วนหนึง ่ ของเทือกเขาดอยผาหม่น ผ้า ภูซางมีความเลือ ่ งลือเรือ ่ งชือ ่ เสียงมานาน ทีเ่ กิดจากภูมป ิ ญ ั ญาทีม ่ ว ี ฒ ั นธรรมหลาก หลายชาติพน ั ธุ์ เช่น ไทลือ ้ ทีย ่ ง ั คงอนุรก ั ษ์ ศิลปวัฒนธรรมและงานฝีมอ ื ไว้มากมาย เช่น ผ้าทอไทลือ ้ ผ้าทอ 7 สี เป็นต้น
1.โฮงฮอมผญ๋า คือ โฮงยาหมอเมืองล้านนา เป็ น ศู น ย์ ร่ว มการแพทย์ ท างเลื อ กแห่ ง ล้ า นนา โบราณ และศูนย์เผยแพร่ความรูภ ้ ม ู ป ิ ญ ั ญาแบบ พืน ้ บ้านล้านนา ส่งเสริมและอนุรก ั ษ์ให้คนรุน ่ หลัง ได้สบ ื ทอด เช่น การย่�ำ ขาง ตอกเส้น เช็ด แหก ย่างสมุนไพร อบสมุนไพร จูย ้ า เป่า 2.บ้านกะเหรีย ่ งรวมมิตร อยูร่ ม ิ แม่น�ำ้ กกฝัง่ ซ้าย เป็นหมูบ ่ า้ นขีช ่ า้ งท่องเทีย ่ วชมหมูบ ่ า้ นชาวเขา นัง่ ช้างไปน้�ำ ตกห้วยแม่ซา้ ย มีชนเผ่าอาข่าและลาหู่ มีร้านค้าขายของที่ระลึกของชาวกะเหรี่ยง เช่น เครือ ่ งเงิน ผ้าทอ งานฝีมอ ื 3.เ ฮือนปฏิมาเซรามิค เป็นงานทีม ่ ห ี นึง่ เดียวใน โลก จุดเด่น คือความเบีย ้ ว ทีเ่ กิดจากกระบวนการ เผาทีไ่ ฟสูง ทำ�ให้ชน ้ิ งานเกิดการบิดตัว งานมี 2 สไตล์ คือ งานทีถ ่ า่ ยทอดทางวัฒนธรรมลวดลาย โบราณ และสไตล์เซน 4. บ้ า นดิ น คำ � ปู้จู้ คื อ แหล่ ง งเรี ย นรู้ศิล ปะ สาธารณกุศลสถาน live & learn mud house ที่ เน้นการให้ แบ่งปันและสร้างแรงบันดาลใจทีจ ่ ะใช้ พืน ้ ทีบ ่ า้ น เปิดสอนศิลปะเพือ ่ ต่อยอดเป็นอาชีพได้ 5. วัดแสนเมืองมา สร้างในสมัยรัชกาลที่ 1 จุดเด่นของวัดอยู่ท่ีหลังคาวิหารที่ซ้อนลดหลั่น กันหลายชัน ้ ประตูเข้าสูพ ่ ระวิหารทำ�เป็นสามมุข พระประธานเป็นพระพุทธรูปสมัยเชียงแสน 6. เฮือนไทลือ ้ แม่แสงดา มีลก ั ษณะเป็นบ้าน ไทลื้อโบราณ 90% ผสมล้านนา ที่ยังคงสภาพ เดิมและจะอนุรก ั ษ์ไว้ให้คนรุน ่ หลังได้เรียนรูต ้ อ ่ ไป
11
7. กลุ่มทอผ้าวัดพระธาตุสบแวน (ผ้าทอดั่ง เดิม) เป็นทีป ่ ระดิษฐานองค์พระธาตุเจดียท ์ ม ่ี อ ี ายุ เก่าแก่ราว 2,500 ปี บรรจุเส้นพระเกศาและกระดูก ส่วนคางของพระพุทธเจ้า มี "หอประวัตไิ ทลือ ้ " 8. ผ้าทอมัดย้อมสีธรรมชาติ ป้ามาลี เรียนรู้ วิถก ี ารย้อมผ้า แบบไทลือ ้ ทีใ่ ช้สจ ี ากธรรมชาติมา ดัดแปลงให้เป็นสีผา้ ทำ�ให้ผลิตภัณฑ์ทรงคุณค่า ทีน ่ ม ่ี ท ี ง ้ั ผ้าพันคอ ผ้าซิน ่ กระเป๋า เสือ ้ 9. ผ้าทอ 7 สี กลุม ่ ทอผ้าบ้านฮวก ผ้าทอเจ็ดสี เดิมเรียกว่าลายขัดพืน ้ ฐาน ลักษณะเด่นของผ้าทอ เจ็ดสีนน ้ั คนเมืองดัง้ เดิมจะประยุกต์จด ั เรียงสีสน ั ใหม่ๆ จึงได้ผา้ ซิน ่ ทีส ่ วยงามสีสน ั สดใส 10. ฮอมผญา ผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติ เป็นแหล่ง เรียนรูท ้ างภูมป ิ ญ ั ญาสมุนไพรและการแปรรูป ทำ� มัดย้อม สีจากธรรมชาติ เช่น ใบมะม่วง มะกอก ใน รูปแบบ Health Farm อาหาร ผ้าและธรรมชาติ 11. น้�ำ ตกภูซาง อยูใ่ นอุทยานแห่งชาติภซ ู าง ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของเทือกเขาดอยผาหม่น เป็นป่าดิบ ชืน ้ ป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ เป็นเทือกเขา สูงสลับซับซ้อน มีน�ำ้ ตกภูซางทีเ่ ป็น กระแสน้�ำ อุน ่ ประมาณ 35 องศาเซลเซียส เป็นน้�ำ ตกชัน ้ เดียว 12. ด่านถาวรไทย-ลาว บ้านฮวก จุดผ่อนปรน บ้านฮวกเปิดให้มีการแลกเปลี่ยนค้าขาย ตลาด การค้าชายแดนบ้านฮวก เปิดทุกสุดสัปดาห์ ใน ช่วงเย็น–กลางคืนวันศุกร์-เสาร์ (นอกเหนือตลาด พืน ้ เมืองทุกวันที่ 10 และ 30 ของเดือนในช่วง กลางวัน) สินค้าคือ ผลผลิตทางการเกษตรและ งานหัตถกรรม เช่น ผ้าทอ เป็นต้น
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
12
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
4.เส้นทางท่องเที่ยวเสน่ห์วิถีผ้าลัวะ ดอยแม่สลอง แม่สลองเป็นแห่ลงปลูกชาทีม ่ พ ี น ้ื ทีใ่ หญ่ ที่สุดในประเทศ และบนดอยแม่สลองนั้น ยังมีแหล่งท่องเทีย ่ วอีกมากมาย อย่าง ไร่ ชาต่างๆ ดอยหัวแม่ค�ำ ทุง ่ ดอกบัวตอง ชุม ชนเผ่าลัวะ พระบรมธาตุเจดียศ ์ รีนครินทรา สถิตมหาสันติคร ี ี และร้านกาแฟทางผ่านที่ อยากให้ลองแวะ
1. ไร่ชาฉุยฟงบรรยากาศล้อมรอบด้วยสีเขียวชอุ่ม ของไร่ชาขนาดใหญ่ตั้งอยู่บนเนินเขาปลูกลดหลั่นกัน เป็นขั้นบันได มีร้านอาหาร "คาเฟ่ชา ฉุยฟง เห็นวิวไร่ ชาได้รอบทิศ บริการอาหาร เครื่องดื่ม เค้ก สามารถ ชิมชาและเลือกซื้อชาคุณภาพดีหลากสายพันธุ์ เป็น ของฝากได้ 2.ชุมชนเผ่าลั๊วะ บ้านตงจาใส หมู่ 13 ต.แม่สลอง นอก อ.แม่ฟ้าหลวง มีกลุ่มทอผ้าเผ่าลั๊วะ ผ้าซิ่นสีดำ� แต่งลวดลายด้วยด้ายสีสันต่างๆ เป็นเส้นแนวตั้งตรง มีเทคนิคพิเศษคือผ้าที่ทอเสร็จจะนำ�ไปต้มกับน้ำ�ข้าว ซึ่งจะช่วยให้เนื้อผ้าทอแน่นสีไม่ตก 3.ตลาดดอยแม่สลอง ตลาดเช้าของบ้านสันติคีรี ดอยแม่สลอง ริมถนนหน้าตลาดยามเช้ามักเต็มไปด้วย ผูค ้ นบนดอยทีม ่ ส ี น ิ ค้าขาย เช่น ผลผลิตทางการเกษตร ทัง ้ สดและแปรรูป งานหัตถกรรม แม่คา้ มาจากหมูบ ่ า้ น รอบ ๆ ดอยแม่สลอง 4. พระบรมธาตุเจดียศ ์ รีนครินทราสถิตมหาสันติครี ี เจดียแ ์ บบล้านนาประยุกต์ สร้างเพือ ่ ถวายเป็นพระราช กุศลแด่สมเด็จย่า เรือนธาตุประดับพระพุทธรูปยืนสีท ่ ศ ิ มีพระอุโบสถ และหอนิทรรศการ พระธาตุตง ั้ อยูบ ่ นจุด สูงสุดของดอยแม่สลอง ทำ�ให้เห็นวิวได้อย่างชัดเจน 5. กาแฟพนา คอฟฟี่ เป็นร้านกาแฟทีอ ่ ยูท ่ า่ มกลาง สวนกาแฟที่ปลูก เก็บ ตาก และคั่วเมล็ดเอง บนดอย แม่สลอง สามารถนัง ่ ดืม ่ กาแฟไปพร้อมกับชมวิวสวยๆ ของสวนกาแฟ และเรี ย นรู้ เ รื่ อ งปลู ก กาแฟจนถึ ง การคั่วได้เลย
13
6. Panor Coffee House พนอคอฟฟีเ่ ฮ้าส์ มีบริการ อาหารไทยฟิวชัน ่ สไตล์ยโุ รป เค้ก และกาแฟ บรรยากาศ ในร้านร่มรืน ่ มีมม ุ ให้เลือกนัง่ มากมาย สามารถเห็นดอย นางนอนที่สวยงามได้ชัดเจน ช่วงพระอาทิตย์ตกดิน จะสวยงามเป็นพิเศษ 7.วัดห้วยปลากัง ้ พระอาจารย์พบโชค ติสส ฺ วโํ ส เป็น เจ้าอาวาสวัด ภายในวัดมีพระมหาเจดีย์เก้าชั้น ที่ชั้น หนึ่งมีเจ้าแม่กวนอิมจำ�ลองปางประทานพรแกะสลัก จากไม้จันทน์หอมสูง 7 เมตร มีพระพุทธรูปและเจ้า แม่กวนอิมไม้แกะสลักของแต่ละชัน ้ ด้านนอกมีเจ้าแม่ กวนอิมองค์ใหญ่สข ี าว เป็นองค์นง ั่ ปางประทานพร สูง 79 เมตร บนนั้นมีประติมากรรมนูนต่ำ�สีขาวรอบผนัง บอกเล่าเรือ ่ งราวของพระโพธิสต ั ว์ มองเห็นวิวตัวเมือง เชียงรายได้รอบ 8. Inspire by Princess คื อ ร้ า นกาแฟที่ ไ ด้ รั บ พระมหากรุณาธิคณ ุ จากพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า พัชรกิตย ิ าภา โดยมีเป้าหมายหลัก เพือ ่ มอบโอกาส และ ขวัญกำ�ลังใจ ฝึกสอนวิชาชีพแก่ผู้ต้องขัง ผลิตภัณฑ์ ฝีมอ ื ผูต ้ อ ้ งขังให้เป็นทีย ่ อมรับแก่สง ั คม ยังมีเป้าหมาย ในการช่วยเหลือชาวบ้าน เพือ ่ ให้มรี ายได้ในการดำ�เนิน ชีวต ิ ทีด ่ อยฮางยังมีแปลงปลูกพืชผัก เป็นศูนย์เรียนรู้ และแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรอีกด้วย 9.บ้านเมืองรวง ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี เป็นการท่องเทีย ่ วโดยชุมชนวิถช ี ม ุ ชนผักปลอดสารพิษ อาหารปลอดภัย ชุมชนเข้มแข็ง เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ ในการพัฒนาคุณภาพชีวต ิ ในการกินดีอยูด ่ ี มีความสุข ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเน้นการศึกษา เรียนรู้การบริหารจัดการคัดแยกขยะ
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
14
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
5. เส้นทางท่องเที่ยวพิ พิธภัณฑ์ผ้า เชียงรายถือเป็นเมืองท่องเที่ยวมีพ้ืนที่ ค่อนข้างกว้างใหญ่ การเดินทางไปสถานที่ ท่องเทีย ่ วต่างๆ กับเรือ ่ งราววิถผ ี า้ อาจใช้ เวลานาน แต่การไปเรียนรู้ดูวิถีผ้าให้ครบ ถ้ ว นไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งยาก เพราะที่ เ ชี ย งรายมี พิพธ ิ ภัณฑ์เรือ ่ งผ้า และวิถช ี ว ี ต ิ ชนเผ่าไว้ให้ นักท่องเทีย ่ วได้ไปเยีย ่ มชมในแต่ละจุด ตาม สถานทีท ่ อ ่ งเทีย ่ วใกล้เคียงทีส ่ ะดวกแวะไป 1. พิพิธภัณฑ์ล้ือลายคำ� ลายผ้ า ถั ก ทอสวย ประณีตมีเรือ ่ งราวศิลปหัตถกรรมทีถ ่ า่ ยทอดจาก บรรพบุรษ ุ จากสิบสองปันนามาสูศ ่ รีดอนชัย กับ ศิลปะลวดลายบนผืนผ้า ที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ใน พิพธ ิ ภัณฑ์ลอ ้ื ลายคำ� ของสุรย ิ า วงค์ชย ั ลูกหลาน ไทลือ ้ รุน ่ ปัจจุบน ั เพือ ่ เก็บรักษาผ้าทอไทลือ ้ เป็น พิพธ ิ ภัณฑ์ผา้ ทอโบราณ มีจด ั แสดงการจำ�ลองวิถี ชีวต ิ ของไทลือ ้ ดัง้ เดิมด้านหลังมีรา้ นกาแฟอาหารไว้ บริการต้อนรับแขกผูม ้ าเยือนบรรยากาศวิวมองเห็น ทุง่ นาภูเขาและสะพานไม้ไผ่ให้เดิน 2. เฮือนคำ�แพง (ข่วงวัฒนธรรมไทลือ ้ ) เป็นบ้าน ของคุณเกษม-อำ�พร อะทะวงษา สร้างแบบบ้านไทลือ ้ โบราณ แบบยกเสา คือการนำ�เสามาวางบนหินไม่ฝงั ดิน เพือ ่ สะดวกแก่การถอนย้าย อีกทัง้ ป้องกันแมลง มอดปลวกตามภูมป ิ ญ ั ญาดัง้ เดิม ข่วงวัฒนธรรม ไทลือ ้ เฮือนคำ�แพง จัดแสดงเสือ ้ ผ้าและข้าวของ เครื่องใช้ตามวิถช ี ีวิตของชาวไทลื้อ และเปิดเป็น
โฮมสเตย์ และรับจัดขันโตกและการแสดงทาง วัฒนธรรมของชาวไทลือ ้ 3.พิพธ ิ ภัณฑ์ชาวเขา PDA ทีป ่ ระกอบไปด้วยห้อง ฉายสไลด์ประกอบคำ�บรรยาย 6 ภาษา วิถช ี วี ต ิ ของ ชนเผ่า อาข่า ลาหู่ เมีย ่ น ม้ง กระเหรีย ่ งปกากะญอ ลีซู และจัดแสดงเครือ ่ งมืออุปกรณ์ เครือ ่ งใช้ของ ชนเผ่าต่างๆ ไว้ เช่น เครือ ่ งมือทางการเกษตร เครือ ่ ง ดนตรี เครือ ่ งแต่งกาย และมีสน ิ ค้าของทีร่ ะลึกงาน ฝีมอ ื ของชนเผ่า 4.พิพธ ิ ภัณฑ์อบ ู คำ� เป็นศูนย์อนุรก ั ษ์มรดกล้�ำ ค่า ของอานาจักรล้านนาโบราณ เช่นเครือ ่ งใช้ในราช สำ�นักล้านนา คุม ้ เจ้าต่างๆ ในล้านนา เช่น คุม ้ เจ้า แพร่ คุม ้ เจ้าเชียงใหม่ คุม ้ เจ้าน่าน ฯลฯ ผ้าโบราณ อายุ 200 ปี รวบรวมและเก็บของมีคา่ ทีก ่ ระจาย อยูใ่ นทีต ่ า่ งๆ ให้คน ื กลับสูแ ่ ผ่นดินไทย และเพือ ่ ให้ อนุชนรุน ่ หลังได้ศก ึ ษาต่อไปในอนาคต 5.อุทยานศิลปวัฒนธรรมไร่แม่ฟา้ หลวง เป็น
15
ที่จัดแสดงงานศิลปะ วัฒนธรรม ดนตรี ละคร การประกอบพิธก ี รรมพืน ้ เมืองเหนือในท่ามกลาง บรรยากาศอันสงบและศักดิส ์ ท ิ ธิ์ และมีพระรูปปัน ้ ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เพือ ่ รำ�ลึก ถึงแม่ฟา้ หลวงและมี “หอคำ�” เป็นสถานปัตยกรรม ล้านนาซึง่ มีหลังคามุงด้วยแผ่นไม้สก ั ชาวเชียงราย ร่วมกันสร้างเพือ ่ "ไหว้สาแม่ฟา้ หลวง" และศิลป วัฒนธรรมพืน ้ ถิน ่ ล้านนา 6. พิพิธภัณฑ์หอพลับพลา เป็นแหล่งเรียนรู้ ทางประวัตศ ิ าสตร์ทม ่ี ข ี องเก่าไว้ให้ศก ึ ษา จากคำ� บอกเล่าของชาวบ้านทีม ่ อ ี ายุตง้ั แต่ 90 ปีขน ้ึ ไปเช่น แม่อย ุ้ เขียว อินต๊ะวงค์ พ่ออุย ้ ตา ธิดา ว่าได้เห็น หอพลับพลา ทีต ่ ง้ั อยูใ่ นบริเวณโรงเรียนเป็นทีพ ่ ก ั อาศัยของเจ้านายทีม ่ าพักเป็นครัง้ คราว ทีช ่ าวบ้าน เรียกกันว่า เจ้าดารารัศมี เดินทางมาโดยขบวนช้าง ขบวนม้า มาพักอาศัยอยู่ บริเวณถนนเชียงราย ดงมะดะ (ถนน 1211) อ.แม่ลาว จ.เชียงราย
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
เสน่หว ์ ถ ิ ีผ้าชนเผ่า 9 ชาติพันธ์ุ วิถีผ้าชนเผ่าอาข่า
ชาวอาข่า ไม่มีภาษาเขียนเป็นของตัวเอง จึงมักถ่ายทอด เรื่ อ งราวต่ า งๆ ให้ กั บ ลู ก หลานผ่ า นการทำ � งานศิ ล ปะใน รูปแบบต่างๆ ดนตรี บทเพลง ตลอดจนการปักลวดลาย สัญลักษณ์อน ั งดงามลงบนเสือ ้ ผ้า เครือ ่ งแต่งกายเอกลักษณ์ ประจำ�ชนเผ่า ผ้าปักอาข่า งานปักของชนเผ่าอาข่า มีความประณีต การใช้สส ี น ั สดใส สวยงาม ลวดลายปักชนเผ่าอาข่าบ่งบอกถึงความสัมพันธ์ ระหว่างชีวิตมนุษย์และธรรมชาติ และยังสืบทอดลวดลาย การปักลงบนผืนผ้าต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เอกลักษณ์การแต่งกาย ผู้ชายอาข่า จะสวมเสื้อแขนยาว เสือ ้ กัก ๊ สีด�ำ ปักลวดลายเล็กน้อยตามขอบชายเสือ ้ สวมกางเกง สีด�ำ สะพายย่าม ผูห ้ ญิงชาวอาข่า สวมหมวกโลหะสีเงิน ประดับ ด้วยขนสัตว์ เช่น ขนม้า ขนไก่ ด้านบนหมวกคลุมด้วยผ้าปักสีสน ั ลวดลายสดใส สีเ่ หลีย ่ มผืนน้อย ทีเ่ รียกว่า "อูเบว" เสือ ้ สีด�ำ ตัว ยาวซึง่ ด้านหลังตัวเสือ ้ จะมีลายปักทีห ่ ลากหลายสีสน ั สวยงาม กระโปรงสั้นสีดำ� ผ้าพันน่องทั้งสองข้าง ศิลปะลวดลายบน ผืนผ้า จึงเกิดขึ้นจากจินตนาการของบรรพบุรุษ ในการนำ� เอาลั ก ษณะของธรรมชาติ ร อบตั ว นำ � มาสร้ า งสรรค์ เ ป็ น ลวดลาย ปัจจุบันศิลปะบนผืนผ้าของชาวอาข่า มีการผสม ผสานลวดลายที่คิดค้นขึ้นใหม่เข้าไว้ด้วยกัน
16
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
การสร้างสรรค์ลวดลาย แ ล ะ ทั ก ษ ะ ง า น ฝี มื อ การปั ก และการเย็ บ ผ้ า ชนเผ่าอาข่า การปั ก หมายถึ ง การ ปั ก ลวดลายให้ เ กิ ด ขึ้ น บน ผื น ผ้ า ด้ ว ยด้ า ยหลากหลาย ลวดลายและสีสัน มีทั้ง การปัก แบบเดินเส้น เช่น ลายถ่อง (กลอง) การปั ก กากบาทตามตาของผ้ า (คล้ า ยการ ปั ก ครอสติ ช ) เช่ น ลายอาปะ (ใบไม้ ) และ การปั ก ด้ า ยเป็ น รู ป ร่ า งลวดลายแบบทึ บ ถื อ เป็ น การปั ก ที่ ย ากที่ สุ ด เนื่ อ งจากต้ อ งมี ก าร กะน้ำ � หนั ก ในการดึ ง เส้ น ด้ า ยระหว่ า งการปั ก ให้ พ อดี ไม่ ตึ ง หรื อ หย่ อ นจนเกิ น ไป จึ ง จะได้ เป็นลวดลายที่สวยงามและสมบูรณ์ เช่น ลาย
โจวพะ (ดอกหญ้า) ลายพะ ดื่อ (สามเหลี่ยม) เป็นต้น การเย็บผ้าปะติด หมาย ถึง การนำ�แถบผ้าที่มีการ เย็บติดลวดลายมาประดับ เข้ากับผ้าผืนหลักที่ต้องการ เช่น เสื้อหรือผ้าพันน่อง โดย ขั้ น ตอนการทำ � เริ่ ม ต้ น จากการ ตั ด เศษผ้ า เป็ น รู ป ร่ า งลวดลายเล็ ก ๆ ตามต้องการแล้วนำ�มาเย็บติดตรึงกับแถบผ้า พื้นหลังอีก 1 ชิ้นด้วยด้ายสีสันสดใส เสร็จแล้ว จึงนำ�แถบผ้าทีม ่ ล ี วดลายสำ�เร็จแล้วนัน ้ นำ�มาเย็บ ติดกับชิ้นผ้าที่ต้องการประดับ เช่น เสื้อ ผ้าพัน น่อง อีกครัง ้ สำ�หรับลายยอดนิยมของเทคนิคนี้ ได้แก่ ลายอาลูละโอ (ลิ้นผีเสื้อ) และลายลาฉ่อง (แถบแฉก)
17
ลายถ่อง (กลอง) ถ่อง เป็นภาษาชนเผ่าอาข่า หมายถึง กลอง เพราะลักษณะของลายถ่องนั้น จะปักเป็นลาย สามเหลีย ่ มหันปลายชนกัน คล้ายลักษณะรูปทรง ของกลองยาว ที่เป็นเครื่องดนตรีประจำ�ของชน เผ่าอาข่านั่นเอง
ลายลาเถ่ (แถบแฉกครึ่งเดียว) ลาเถ่ ใช้เรียกลวดลายงานเย็บปักผ้าทีม ่ ล ี ก ั ษณะ เหมื อ นกั บ การนำ � ลายลาฉ่ อ ง ที่ มี รู ป ร่ า งเป็ น สีเ่ หลีย ่ มขนมเปียกปูนมาแบ่งครึง่ เป็นสามเหลีย ่ ม ทรงสูง จึงมักเรียกลายนีว้ า่ แถบแฉกครึง ่ เดียว
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
วิถีผ้าชนเผ่าอาข่า
ลายอาลูละโอ (ลิ้นผีเสื้อ) อาลูละโอ แปลว่า ลิน ้ ผีเสือ ้ งานปักหรืองานเย็บ ผ้าปะติดทีค ่ ล้ายรูปสีเ่ หลีย ่ มและสามเหลีย ่ มซ้อน กัน ส่วนที่เป็นสี่เหลี่ยมเสมือนเป็นปีกของผีเสื้อ สามเหลีย ่ มด้านในซึง่ มีรป ู ร่างส่วนปลายแหลมนัน ้ เสมือนลิน ้ ของผีเสือ ้ ทีย ่ น ่ื ออกมาเพือ ่ ใช้ในการดูด หาน้�ำ หวาน จินตนาการมาจากการเห็นผีเสือ ้ ออก หาอาหารในธรรมชาติ มีสว่ นทีย ่ น ื่ ออกมาในการ ดูดน้ำ�หวานจากดอกไม้
ลายพาเนบะ (แถบผ้าสีต่อกัน) พาเนบะ ทีใ่ ช้เทคนิคการนำ�ผ้าแถบสีสน ั สดใส หลายๆ แถบสีมาเย็บติดต่อเข้าด้วยกันจนเป็น ผืน ลายพาเนบะ นิยมนำ�ไปใช้ตกแต่งกันมาก ที่สุด คือบริเวณผ้าพันน่องและแขนเสื้อของผู้ หญิงชาวอาข่าทั้งสองข้าง
18
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
ลายพะดื่อ (สามเหลี่ยม) พะดือ ่ ภาษาไทยเรียกลวดลายนีว้ า่ สามเหลีย ่ ม ซึ่งเป็นการเรียกตามลักษณะของลายปักที่มีรูป ร่างเป็นสามเหลีย ่ มด้านเท่า เรียงซ้อนติดกันต่อ เนื่องไปจนสิ้นสุดตลอดแนวของผ้า
ลายโจวเยอ (ใบของต้นอือนุ) โจวเยอ ลักษณะของลายโจวเยอนัน ้ เป็นงาน ปักเดินเส้นด้ายเป็นรูปสามเหลีย ่ มทัง ้ หมด 8 ชิน ้ นำ�ปลายแหลมมาชนกันจนกลายเป็นรูป 4 เหลีย ่ ม ด้านเท่าใช้ดา้ ย 2 สี ปักสลับกัน ให้ความรูส ้ ก ึ เหมือน เส้นด้ายพุง ่ ออกมาจากตรงกลางรอบทิศทาง
ลายลาฉ่อง (แถบแฉก) ลาฉ่อง เป็นภาษาชนเผ่าอาข่า ใช้เรียกลวดลาย งานเย็บปักผ้าโบราณที่มีการสืบทอดต่อกันมา จากบรรพบุรษ ุ ชาวอาข่าบางหมูบ ่ า้ นเรียกลายนี้ ว่า ลายแถบแฉก หรือการออกเสียงแบบชนเผ่า ว่า แถะแฉะ มีทง ้ั งานปักและงานเย็บผ้าปะติด
ลายอาก่อ (เส้นทาง) อาก่อ หมายถึง เส้นทาง ใช้เป็นชื่อเรียกลาย ปั ก พื้ น ฐานที่ ห ญิ ง ชาวอาข่ า ทุ ก คนต้ อ งฝึ ก ปั ก เป็ น ลายแรก ถื อ เป็ น ลายดั้ ง เดิ ม ที่ บ รรพบุ รุ ษ ถ่ายทอดสืบทอดต่อกันมาจากรุ่นสู่รุ่น ลักษณะ ของลายนี้เป็นการปักเดินเส้นด้ายสลับกันเป็น ตาข่ายต่อเนื่องจนกลายเป็นเส้นยาว
ลายพาย (ลูกเต๋า) พาย หมายถึง ลูกเต๋า ลวดลายปักทีม ่ ล ี ก ั ษณะ เป็นสี่เหลี่ยมด้านเท่าเล็กๆ วางเรียงต่อกัน ใน สมัยโบราณ ชายหนุม ่ ชาวอาข่ามักนิยมนำ�มาเล่น ทอยพนันกันในประเพณีงานศพประจำ�หมูบ ่ า้ น
ลายโจวพะ (ดอกหญ้า) โจวพะ ลักษณะงานปักเป็นจุดเล็กๆ ส่วนปลาย ดูคล้ายปลายพูห ่ อ ้ ยสะบัดแยกออก จึงเรียกลวด ลายลักษณะนี้ด้วยว่า ดอกหญ้า จะปักประดับ บริเวณส่วนต่างๆ ของเสือ ้ ผ้า
19
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
วิถีผ้าชนเผ่าม้ง ม้ง เป็นกลุม ่ ชนเผ่าทีส ่ บ ื เชือ ้ สายมาจากบรรพบุรษ ุ ทีอ ่ าศัยอยู่ ในประเทศจีน ได้อพยพย้ายถิน ่ ฐาน ทำ�มาหากินอาศัยบนดอย สูงในประเทศไทย ปัจจุบน ั ม้งทีพ ่ บมากในประเทศไทยอาจแบ่ง ได้เป็น 2 กลุ่มหลักคือ ม้งขาวและม้งลาย วิถีชีวิตชาวม้งตั้งแต่ โบราณกล่าวไว้ว่า “ผู้หญิงปักผ้า ผู้ชายตีมีด” เสื้อผ้าประจำ�ชน เผ่าม้งส่วนใหญ่จะใช้สด ี �ำ เป็นหลัก นิยมสร้างลวดลายบนเสือ ้ ผ้า ของตนด้วยงานปัก ทีใ่ ช้เส้นด้ายหลากสีสน ั ศิลปะการสร้างสรรค์ ลวดลายของชนเผ่าม้งโดยหลักแล้ว มีอยู่ 3 เทคนิคด้วยกันคือ การปัก การเย็บติดและการเขียนเทียน ลวดลายปักวิถีชีวิตม้ง นอกจากชาวม้งจะมีฝม ี อ ื การเขียนเทียนและการปักผ้าทีเ่ ลือ ่ ง ลือแล้ว ชาวม้งลายยังมีความเชี่ยวชาญในการเล่าเรื่องราวที่ แสดงออกถึงวิถีชีวิตของชนเผ่าผ่านงานปักบนผืนผ้าอีกด้วย โดยบนผืนผ้า 1 ชิ้นนั้น อาจมีการปักผ้าบอกเล่าเรื่องราวเป็น ลำ�ดับต่อเนือ ่ งกันหลายเรือ ่ ง เช่น ภาพปักวิถช ี วี ต ิ ชาวม้งของชาย และหญิง การทำ�สวน ไร่นา ปลูกข้าว ปลูกข้าวโพด การทำ�งาน บ้าน ให้อาหารสัตว์ หรือ ภาพปักแสดงขั้นตอนการเพาะปลูก การปักลวดลายลักษณะเช่นนี้ ต้องอาศัยทั้งจินตนาการ ความ อดทน และฝีมอ ื ในการปักค่อนข้างสูง ปัจจุบน ั จึงมีชาวม้งทีป ่ ก ั ผ้าในลักษณะนี้ได้เหลืออยู่ค่อนข้างน้อยมาก
20
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
การสร้างสรรค์ลวดลาย และทักษะงานฝีมือของชนเผ่าม้ง การปัก หญิงชาวม้ง มีทักษะความเชี่ยวชาญในด้านการปักผ้าเป็นอย่างมาก โดยจะใช้เข็มเล่มเล็กๆ ค่อยๆ ปักลวดลายลงจนเต็มผืนผ้า ซึง ่ ศิลปะการปัก ผ้าของผูห ้ ญิงชาวม้ง แบ่งเทคนิคออกเป็นหลายรูปแบบด้วยกัน เช่น เทคนิค การตัดผ้าเป็นลวดลาย แล้วนำ�มาเย็บติดซ้อนกับผ้าพืน ้ อีกชัน ้ หนึง่ ทีเ่ รียกว่า เจีย ๋ ความยากของเทคนิคนีอ ้ ยูท ่ ค ี่ วามละเอียด โดยต้องใช้เข็มเย็บผ้าเบอร์ เล็กสุด ปักด้วยเส้นด้ายทีเ่ ล็กบางทีส ่ ด ุ โดยนำ�เส้นด้ายธรรมดามาแยกเป็น 3 เส้น เช่น การปักลายก๊ากื่อ (ก้นหอย) ซึ่งนับเป็นลายที่ยากมาก ต้องมี ทักษะความเชีย ่ วชาญใช้ความละเอียดและความอดทนสูงเป็นพิเศษ จึงจะ ปักลวดลายนี้ได้สำ�เร็จ ถือเป็นเทคนิคที่เก่าแก่และยากที่สุด
การปักลายผ้า
การเขียนเทียน เป็ นศิลปะการสร้างลวดลายบนผื นผ้ า ที่มี เ ฉพาะในกลุ่ มหญิงชาวม้ง ลายเท่านั้น ผู้หญิงชาวม้งลายจะใช้เทคนิคนี้ วาดลวดลายลงบนผืนผ้าที่ เตรียมไว้ตัดเย็บ เทคนิคการเขียนเทียนมีลักษณะคล้ายการทำ�ผ้าบาติก โดยจะใช้อุปกรณ์แท่งเล็กๆ ทำ�จากไม้กับทองแดงที่เรียกว่า หลาจัง จุ่ม ลงบนเทียนหรือขี้ผึ้งร้อนๆ แล้วนำ�มาวาดลวดลายบนผ้าใยกัญชงหรือ ผ้าฝ้าย เมื่อเสร็จแล้วก็จะนำ�ผ้าไปย้อมเย็นด้วยสีน้ำ�เงินธรรมชาติ เมื่อผ้า ทั้งผืนกลายเป็นสีน้ำ�เงินเข้มตามต้องการแล้ว จึงนำ�ผ้าไปต้มด้วยความ ร้อนให้เทียนละลายเพียงเท่านี้ก็จะได้ผ้าสีน้ำ�เงินมีลวดลายเขียนเทียน เป็นสีขาวกระจายสวยงามอยูท ่ วั่ ทัง ้ ผืน เสร็จสรรพจึงนำ�ไปพับอัดกลีบเป็น กระโปรง แล้วจึงนำ�มาสวมใส่เป็นชุดประจำ�ชนเผ่าที่งดงาม การเขียนเทียน การจับจีบผ้า
21
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
วิถีผ้าชนเผ่าม้ง ลายก๊ากื้อ (ก้นหอย) ก๊ากือ ้ หมายถึง ก้นหอย พบได้ทง ้ั ในงานปักแบบ เย็บ 2 ชัน ้ หรือทีช ่ าวบ้านเรียกว่า เจีย ๋ และงานเขียน เทียนของชาวม้งลาย ลายก๊ากื้อหรือลายก้นหอยนั้น ตามความเชื่อทางศาสนา เชื่อว่ามีท่ม ี าจากหอยสังข์ ซึ่งมักถูกนำ�มาใช้ในการประกอบพิธีกรรมสำ�คัญๆ ทางศาสนา ลักษณะการวนรอบของก้นหอยเปรียบ เสมือนการโคจรของพระอาทิตย์ พระจันทร์และดวงดาว
ลายปั้นโต๊วโต่ว (ฝักถั่ว) ปั้นโต๊วโต่ว หมายถึง ฝักถั่ว เรียกตามลักษณะ ของงานปักที่คล้ายฝักถั่วแขก ซึ่งเป็นพืชพื้นบ้านที่ ชาวม้งมักปลูกผสมอยู่ในไร่กาแฟ เป็นลวดลายบน ผ้าสี่เหลี่ยมผืนเล็กที่เรียกว่า ดั๊กฉ่อ จะติดประดับ อยู่บริเวณด้านหลังปกเสื้อของชุดแต่งกายผู้หญิง ประจำ�เผ่าม้ง ลักษณะของผืนผ้าสีเ่ หลีย ่ มนีค ้ ล้ายปก เสื้อกะลาสีแต่มีขนาดเล็กกว่า ลายปั้นโต๊วโต่ว หรือ ลายฝักถัว่ ใช้เทคนิคเย็บผ้าปะติดผสมกับการปักเดิน เส้นคล้ายลูกโซ่
22
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
ลายปั้นโต๊วจี่ (กากบาทหรือไม้กางเขน) ปั้นโต๊วจี่ ใช้เรียกลวดลายที่เป็นลักษณะเป็น กากบาท หรือสำ�หรับชาวม้งทีน ่ บ ั ถือศาสนาคริสต์ บางกลุ่ ม จะเรียกลวดลายเอกลักษณ์เช่นนี้ว่า โค้วหลี่ หรือแปลว่า ไม้กางเขน ลายกากบาท หรือ ลายไม้กางเขน ยังปรากฏให้เห็นได้ในผ้าของ ชาวม้งแทบทุกผืน โดยจะถูกนำ�มาออกแบบเป็น ศูนย์กลางของลวดลายหรือใช้เป็นลายเสริมคั่น ตรงกลางระหว่ า งลายหนึ่ ง เพื่ อ เชื่ อ มต่ อ ไปอี ก ลายหนึ่งทั้งบน ล่าง ซ้าย ขวา ลวดลายกากบาท เป็นส่วนสำ�คัญทำ�ให้ลวดลายบนผืนผ้าเกิดความ สวยงามตามหลักความสมมาตรและสมดุล
ลายป้อนเจ่ยจ๊อ (หูเสือ) ป้อนเจ่ยจ๊อ หมายถึง หูเสือ เป็นจินตนาการทีเ่ กิด จากลักษณะโค้งงอของใบหูเสือ นำ�มา สร้างสรรค์ เป็นลวดลายปักทีแ ่ สดงความโค้งงอของลวดลายที่ สวยงาม มีเอกลักษณ์ทโ่ี ดดเด่นลายหนึง่ ของผ้าชน เผ่าม้ง ปัจจุบน ั ลวดลายนีถ ้ ก ู ประยุกต์ตามยุคสมัย โดยใช้เทคนิคการปักแบบกากบาท คล้ายการปัก ครอสติชในปัจจุบน ั
23
กระโปรงเผ่าม้ง หนึ่งผืนใช้ความอดทน ความชำ�นาญในการทำ� นานนับเดือนนับปี ด้วยความปราณีต
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
วิถีผ้าชนเผ่าเมี่ยน (เย้า) เมีย ่ น หรือเย้า เป็นชนเผ่าทีม ่ ป ี ระวัตส ิ บ ื เนือ ่ งยาวนานนับพันปี สำ�หรับ ชนเผ่าเมีย ่ นทีอ ่ พยพเข้ามาในประเทศไทย แบ่งได้เป็น 2 กลุม ่ ใหญ่ คือ เมี่ยนกลุ่มแรกที่อพยพเข้ามาอยู่ในประเทศไทยนานเกือบ 200 ปีมา แล้ว และเมีย ่ นกลุม ่ หลังทีเ่ พิง ่ อพยพเข้ามาเมือ ่ ประมาณกว่า 100 ปีท่ี ผ่านมา ชาวเผ่าเมีย ่ น ได้รบ ั การยอมรับว่าเป็นชนเผ่าทีม ่ ฝ ี ม ี อ ื ด้านการ ทำ�งานศิลปะและหัตถกรรมเป็นอย่างยิง ่ ผูช ้ ายชาวเมีย ่ นมีทก ั ษะความ เชีย ่ วชาญด้านการทำ�เครือ ่ งเงินสูงมาก ผูห ้ ญิงมีฝม ี อ ื ด้านการปักผ้าอัน งดงามจนทีเ่ ลือ ่ งลือ การสร้างสรรค์ลวดลาย และทักษะงานฝีมอ ื ของชนเผ่าเมีย ่ น การสร้างสรรค์ลวดลาย ด้วยความทีช ่ นเผ่าเมีย ่ นเป็นชนเผ่าทีม ่ ป ี ระวัติ สืบทอดต่อเนือ ่ งมายาวนานนับพันปี ศิลปะการสร้างสรรค์ลวดลายบนผืน ผ้าของชาวเมีย ่ น จึงมักมีความเกีย ่ วข้องและผูกพันกับเรือ ่ งเล่า ตำ�นาน ปรัมปรา รวมถึงความเชือ ่ ทีส ่ อดแทรกอยูใ่ นประเพณีวฒ ั นธรรมประจำ� ชนเผ่าที่สืบทอดต่อกันมาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ ผสมผสานกลมกลืน เข้ากับลวดลายทีม ่ าจากธรรมชาติ สิง ่ แวดล้อมรอบตัว ตลอดจนวิถช ี วี ต ิ ความเป็นอยูข ่ องชาวเมีย ่ น ไม่วา่ จะเป็นข้าวของเครือ ่ งใช้ ในครัวเรือน พืชผักผลไม้ สัตว์ป่าน้อยใหญ่ โดยเฉพาะเสือ ซึ่งพบว่าเป็นสัตว์ป่าที่ ชาวเมี่ยนนำ�เอาลักษณะต่างๆ มาจินตนาการสร้างสรรค์ข้น ึ เป็นศิลปะ ลวดลายบนผืนผ้ามากทีส ่ ด ุ
24
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
เทคนิคการสร้างสรรค์ลวดลาย ศิลปะการสร้างสรรค์ลวดลายบนผืนผ้าของชาวเมีย ่ น ทีร่ จ ู้ ก ั และยอมรับ ในความงดงาม คือ การปักลวดลาย โดยงานปักทีป ่ รากฏบนผืนผ้าในแต่ละ ชิน ้ นัน ้ วิจต ิ รงดงามมาก แต่ละลายเกิดจากทักษะความชำ�นาญและความ แม่นยำ�ในการจรดฝีเข็มด้วยเทคนิคเฉพาะตัว ตัง ้ แต่วธ ิ ก ี ารจับเข็ม โดยใน ขณะปัก จะใช้วธ ิ ค ี ว่�ำ เอาด้านหน้าของผ้าลง แล้วหงายด้านหลังของผ้าขึน ้ มาหาผูป ้ ก ั แล้วจึงทำ�การปักจากทางด้านหลังผ้าโดยจะไม่มก ี ารพลิกกลับ มองด้านหน้าในขณะปักเลยแม้แต่ครั้งเดียว แต่ลวดลายที่เกิดขึ้นบนผ้า ปักแต่ละผืนนั้น มีความเรียบร้อยสวยงามและประณีตเหมือนกันทั้งด้าน หน้าและด้านหลังอย่างน่ามหัศจรรย์ เป็นเทคนิคเฉพาะตัวทีส ่ ะท้อนทักษะ ฝีมอ ื ของ "ผ้าชนเผ่าเมีย ่ น"
สินค้าประยุกต์
สำ � หรั บ ผู้ ห ญิ ง ชาวเมี่ ย น โดยทั่ ว ไปทุ ก คนจะต้ อ งเริ่ ม ต้ น ฝึ ก หั ด ปั ก เทคนิ ค พื้ น ฐานที่ เ รี ย กว่ า หยิ่ ว หมายถึ ง การปั ก เดิ น เส้ น เป็ น เส้ น ตรง และเมื่อสามารถทำ�ได้อย่างเชี่ยวชาญแล้ว ก็จะเริ่มสร้างสรรค์ลวดลาย บนผื น ผ้ า ด้ ว ยเทคนิ ค ที่นิย มใช้ กัน มากคื อ การปั ก แบบที่เ รี ย กว่ า โฉ่ ง ทิ ว การปั ก แบบ โฉ่ ง ทิ ว คื อ การปั ก ด้ า ยที ล ะเส้ น ให้ เ ป็ น ลายกากบาท เล็กๆ ประกอบกันขึน ้ เป็นลวดลายต่างๆ เช่น ลายย่านเปีย ้ ง (ดอกไม้เงิน) ลายซม (คน) ลายหล่มเจว (ตีนแมว) ลายก้อนยอ(แมงมุม) เป็นต้น ปัจจุบน ั นีเ้ พือ ่ ความสะดวกรวดเร็วมากขึน ้ ในการปัก หลายคนจึงเริม ่ หัน มาใช้วธ ิ ก ี ารปักทีเ่ รียกว่า โฉ่ง ดับ ยับ หรือการปักไขว้ตามตาของผ้า ลักษณะ คล้ายกับการปักครอสติชในปัจจุบัน แต่ยังรักษาเอกลักษณ์งานปักของ ชาวเมีย ่ นไว้เสมอมา
25
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
วิถีผ้าชนเผ่าเมี่ยน (เย้า)
ลายก้อนยอ (แมงมุม) ก้อนยอ หมายถึง แมงมุม โดยลักษณะลวดลาย ทีพ ่ บมี 2 ลักษณะ คือ ลักษณะทีห ่ นึง่ มองดูคล้าย สี่เหลี่ยมซ้อนกัน ปลายด้านหนึ่งเป็นมุมแหลม คล้ายหัวแมงมุม ด้านที่เหลือแตกเป็นกิ่งก้าน คล้ายขาของแมงมุม และลักษณะที่สอง รูปร่าง คล้ายเส้นตรงขดต่อเนื่องกันเป็นสี่เหลี่ยม ข้าง ลำ�ตัวแตกเป็นแฉกแหลมคล้ายลักษณะขาของ แมงมุม เอกลักษณ์ลวดลายก้อนยอพบได้ในผ้า ปักชาวเมีย ่ นแทบทุกชิน ้ เช่น ผ้าโพกหัว ขากางเกง ของสตรีชาวเมีย ่ น และลวดลายในผ้าสะพายหลัง ผืนใหญ่ที่แม่ชาวเมี่ยนใช้สะพายลูกน้อย
ลายย่านเปี้ยง (ดอกไม้เงิน) ย่านเปี้ยง หมายถึง ดอกไม้เงิน ลวดลายย่าน เปีย ้ งมีทม ี่ าจากการประกอบพิธแ ี ต่งงานในสมัย โบราณของชาวเมี่ยนที่นิยมนำ�เงินมาตีเป็นรูป ดอกไม้ เพื่อนำ�มาใส่ไว้ในภาชนะคล้ายชามให้ คู่ บ่ า วสาวได้ ย กมอบให้ แ ก่ ผู้ ใ หญ่ ใ นงานพิ ธี จากนั้นผู้ใหญ่ก็จะนำ�เงินทองใส่ลงในชามมอบ กลับมาให้ลูกหลาน ดังนั้นดอกไม้เงินจึงถือเป็น สัญลักษณ์ของสิ่งที่เป็นสิริมงคล เมื่อนำ�มาปัก เป็นลวดลายในเสือ ้ ผ้าเครือ ่ งแต่งกายก็เชือ ่ ว่าจะ นำ�สิ่งดีๆ ที่เป็นมงคลมาให้แก่ผู้สวมใส่อีกด้วย
26
ลายซม (คน) ซม แปลว่า คน บางครัง้ จะพบว่าชาวเมีย ่ นเรียก ลวดลายลักษณะนีว้ า่ เมีย ่ น บรรพบุรษ ุ ชาวเมีย ่ น จินตนาการลวดลายขึ้น เพื่อที่จะถ่ายทอดและ เลียนแบบลักษณะรูปร่างทางกายภาพของคน อย่างง่ายๆ คล้ายภาพเขียนของมนุษย์ยค ุ โบราณ ทีม ่ ส ี ว่ นหัว ลำ�ตัว แขน ขา ลายซมจึงเป็นอีกหนึง ่ ลายเอกลักษณ์งานปักผ้าของชนเผ่าชาวเมีย ่ นที่ โดดเด่นชัดเจน จึงมักเห็นลายนี้ ปรากฏอยูบ ่ นผืน ผ้าปักชนเผ่าเมี่ยนทั้งชายและหญิงแทบทุกผืน
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
ลายเหยว (ฟันเลื่อย, กั้น) เหยว เป็นชือ ่ เรียกลายปักโบราณดัง้ เดิม แปลว่า ฟันเลือ ่ ย ซึง่ สอดคล้องไปกับรูปร่างของลวดลายที่ มีลก ั ษณะซิกแซกสลับขึน ้ ลงดูคล้ายฟันเลือ ่ ย แต่ ในอีกความหมายหนึ่งคำ�ว่าเหยวในภาษาเมี่ยน ยังหมายถึง กัน หรือ กั้น ด้วย ดังนั้นชาวเมี่ยน จึงนิยมปักลายเหยวนี้ที่บริเวณชายขอบผ้า เช่น ปลายขอบขากางเกง ผ้าโพกหัวหรือผ้าคาดเอว สตรี หรือเป็นลายคัน ่ ระหว่างลายหนึง ่ กับอีกลาย หนึ่ง ชาวเผ่าเมี่ยนมีความเชื่อแต่โบราณว่า ลาย เหยวนี้จะช่วยป้องกันและกั้นสิ่งที่เป็นอันตราย หรือสิง่ ทีไ่ ม่ดไี ม่ให้เข้ามากล้�ำ กรายแก่ผท ู้ ส ี่ วมใส่ได้
ลายด่มหม่าวหน่อม (หูเสือ) ด่มหม่าวหน่อม หมายถึง หูเสือ มีที่มาจาก การทีบ ่ รรพบุรษ ุ ชาวเมีย ่ นได้สง ั เกตเห็นลักษณะ โครงร่างอันน่าสนใจของใบหูเสือ จึงได้นำ�มา จิ น ตนาการสร้ า งสรรค์ ขึ้ น เป็ น ลวดลายปั ก บน ผืนผ้า ลายด่มหม่าวหน่อมเป็นลวดลายที่มีวิธี การปักค่อนข้างยาก หญิงชาวเมี่ยนที่ปักลายนี้ ได้นน ั้ จำ�เป็นจะต้องผ่านการฝึกหัดปักลายง่ายๆ มาระยะเวลาหนึ่งแล้วจึงจะปักลายนี้ได้ อย่างไร ก็ตามปัจจุบน ั ยังมีผส ู้ บ ื ทอดเอกลักษณ์ลวดลาย ด่มหม่าวหน่อม หรือลายหัวเสือให้ปรากฏคงอยู่ มิให้สูญหายไปตามกาลเวลา
27
ลายด่มหม่าวงิ้ว (ลายเล็บเสือ) ด่มหม่าวงิ้ว แปลว่า เล็บเสือ บรรพบุรุษได้ แรงบันดาลใจมาจากลักษณะต่างๆ ของเสือ ลาย ด่มหม่าวงิว้ สร้างสรรค์ออกแบบลวดลายให้คล้าย ลักษณะกรงเล็บของเสือ ในขณะทีม ่ ก ี ารกางออก นิยมนำ�ไปใช้ปก ั เป็นลายกางเกงของผูห ้ ญิงเมีย ่ น ส่วนบนที่เรียกว่า โฮ่วซิน ทุกวันนี้ผู้หญิงชาวเผ่า เมีย ่ นยังคงมีการสืบทอดปักลวดลายด่มหม่าวงิว้ หรือลายเล็บเสืออย่างแพร่หลาย
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
วิถีผ้าชนเผ่าลีซอ (ลีซู) ชนเผ่าลีซอ (ลีซ)ู ชนเผ่าลีซอ มีชด ุ แต่งกายประจำ�เผ่าทีม ่ ส ี ส ี น ั สดใสหลากสีสน ั โดยหญิง ชาวลีซอจะเรียนรู้ศิลปะการเย็บผ้าปะติด ที่ได้รับการถ่ายทอดจากผู้เป็น มารดาตั้งแต่ยังเป็นเด็กหญิง จนมีความเชี่ยวชาญในการเย็บผ้าเป็นเส้น เล็ ก ๆ เพื่อ นำ � มามั ด รวมกั น ติ ด ปลายแต่ ล ะเส้ น ด้ ว ยด้ า ยไหมพรมทรง กลมเป็นกระจุกเล็กๆ หลากสี ทีเ่ รียกว่า เชือกลีซอ หรือหางลีซอ ซึง ่ เป็น เอกลักษณ์ของชุดการแต่งกายประจำ�ชนเผ่า ผูห ้ ญิงจะนำ�หางลีซอไปห้อย ประดับทีเ่ อวด้านหลังของกางเกง ส่วนผูช ้ ายจะนำ�มาห้อยเอวไว้ดา้ นหน้าของ กางเกง เชือกลีซอนับเป็นเอกลักษณ์การแต่งกายประจำ�ชนเผ่าของชาวลีซอ ทีโ่ ดดเด่นและมีความชัดเจน ผูห ้ ญิงลีซอจะมีความโดดเด่นทีผ ่ า้ หรือหมวก ทรงกลม ทีต ่ กแต่งด้วยลูกปัดและพูป ่ ระดับหลากสี ห้อยระย้าลงมาอย่าง สวยงาม ผูห ้ ญิงชาวลีซอจะเลิกแต่งกายด้วยสีสน ั สดใสเมือ ่ แต่งงานแล้ว และ จะต้องแต่งกายด้วยเสือ ้ ผ้าทีม ่ ส ี แ ี ละลวดลายในโทนมืดเท่านัน ้ การสร้างสรรค์ลวดลาย และทักษะงานฝีมอ ื ของชนเผ่าลีซอ ลักษณะลวดลายเอกลักษณ์บนผืนผ้าของชนเผ่าลีซอ สะท้อนบุคลิก ตัวตนได้อย่างชัดแจ้ง ตัง้ แต่เทคนิคการตัดชิน ้ ผ้าทีต ่ อ ้ งอาศัยความเชีย ่ วชาญ ตลอดจนถึงการนำ�ผ้ามาเย็บปะติดเป็นรูปร่างเชิงเรขาคณิต เน้นการตัดกัน ของรูปทรงทีเ่ ป็นเส้นตรง มีการเข้ามุมของลวดลายอย่างชัดเจน มีการใช้ สีทต ่ี ด ั กันอย่างฉูดฉาดรุนแรง จนเกิดเป็นเอกลักษณ์และกลายเป็นเสน่ห์ ของชนเผ่าทีส ่ ะดุดตา บางลวดลายอาจมีลก ั ษณะใกล้เคียงหรือเหมือนกับ ลวดลายของชนเผ่ามูเซอ เช่น ลายแถบสี ลายเสือ ฯลฯ ทัง ้ นีเ้ ชือ ่ ว่าน่าจะ เกิดจากการผสมผสานทางศิลปะและวัฒนธรรมของชนเผ่านับตัง ้ แต่ครัง ้ บรรพบุรษ ุ เมือ ่ มีการอพยพย้ายถิน ่ ทีอ ่ ยูอ ่ าศัย เกิดการแต่งงานข้ามชนเผ่า หรือมีการติดต่อค้าขายซึง ่ กันและกัน
28
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
ชนเผ่าลีซอใช้เทคนิคหลักคือ การเย็บ โดยจะเป็นการเย็บแถบผ้าเล็กๆ สลับสี แล้วสร้างลวดลายทีต ่ อ ้ งการด้วยการเย็บติดผ้าตัดปะลงบนผ้าแถบ พืน ้ สีตา่ งๆ ความยากของเทคนิคนี้ คือการกำ�หนดขนาดของชิน ้ ผ้า ทีจ ่ ะถูก นำ�มาพับขึน ้ รูปร่างเป็นลวดลายต่างๆ เช่น สีเ่ หลีย ่ ม สามเหลีย ่ ม แล้วนำ�มา เย็บติดกันตามรูปแบบของลวดลายทีเ่ ลือกไว้ ขัน ้ ตอนการเย็บผ้าปะติดลวดลาย ขัน ้ แรกต้องเลือกลักษณะลวดลาย สีสน ั ทีจ ่ ะนำ�มาใช้ จากนัน ้ จึงนำ�ผ้ามาเย็บปะติดบนผืนผ้า โดยใช้กรรไกรตัดผ้าออก เป็นชิน ้ เล็กๆ แล้วนำ�ไปเย็บปะติดเป็นลวดลายทีต ่ อ ้ งการ ลายพืน ้ ฐานแรกที่ จะต้องฝึกเย็บ คือ ลายอีเ๊ มียจือนีต ้ า่ (แถบสี) จะเป็นลายสำ�คัญทีต ่ อ ้ งใช้ใน ผ้าทุกผืน ซึง่ จะใส่เทคนิคการตัดผ้าสีสน ั สดใสเป็นแถบยาวๆ แล้วนำ�มาเย็บ สลับสีสน ั ต่อกันเป็นชัน ้ ๆ เทคนิคการเย็บลายอีเ๊ มียจือนีต ้ า่ (แถบสี) ในกรณีท่ีต้องการเย็บปะติดผ้าเป็นลวดลายเอกลักษณ์อ่ืนๆ บนผืน ผ้ามากกว่า 1 ลาย หญิงชาวลีซอจะต้องเย็บลายอีเ๊ มียจือนีต ้ า่ (แถบสี) นี้ ทุกครัง ้ ในการขึน ้ ลวดลายบนผืนผ้า และทุกครัง ้ เมือ ่ ต้องสลับจากลวดลาย หนึ่งไปยังอีกลวดลายหนึ่ง และจะใช้ลายนี้เป็นลวดลายในการจบชิ้นงาน เสมอด้วยเช่นกัน สำ�หรับลวดลายการเย็บผ้าปะลายติดอืน ่ ๆ ทีห ่ ญิงชาวลีซอนิยมนำ�มาใช้ สร้างลวดลายบนผืนผ้า ได้แก่ ลายฮูเ้ พีย ้ คว้า (แป้นสีเ่ หลีย ่ มหลังลูกธนู) ลาย เพีย ้ กุมาคว้า (มุมอกเสือ ้ ผูห ้ ญิง) ลายอ๊ะหน่ายือ (ฟันหมา)
29
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
วิถีผ้าชนเผ่าลีซอ (ลีซู) หางลีซอ เอกลักษณ์ชนเผ่า การเย็บผ้าเป็นเส้นเล็กๆ สีสันสดใส เพื่อนำ�มา มัดรวมกัน ติดปลายแต่ละเส้นด้วยด้ายไหมพรม ทรงกลมเป็น กระจุกเล็กๆ หลากสีสวยงามทีเ่ รียก ว่าเชือกลีซอ หรือหางลีซอ ซึ่งใช้เป็นสิ่งแสดง เอกลักษณ์ประกอบชุดการแต่งกายประจำ�ชนเผ่า ผู้ ห ญิ ง จะนำ�หางลี ซ อนั บ ร้ อ ยเส้ น นี้ ไ ปห้ อ ย ประดับไว้ที่เอวบริเวณด้านหลังของกางเกง ผู้ชายจะนำ�หางลีซอมาห้อยเอวติดไว้ด้านหน้า ของกางเกง เชือกลีซอนับเป็นเอกลักษณ์การแต่ง กายประจำ�ชนเผ่าของชาวลีซอที่โดดเด่นและมี ความชัดเจนที่สุด
30
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
ลายอีเ๊ มียจือนีต ้ า่ (ลักษณะเย็บเป็นชัน ้ ๆ) อีเ๊ มียจือนีต ้ า่ เป็นการเรียกลายตามเทคนิคของ การสร้างสรรค์ลวดลาย ทีน ่ �ำ ชิน ้ ผ้าสีสน ั สดใสมา เย็บต่อเป็นแถวยาว ลักษณะเป็นการต่อแถบผ้า สีเป็นชั้นๆ ต่อเนื่องกันไป ถือเป็นลวดลายแรก ที่หญิงสาวชาวลีซอทุกคนจะต้องหัดเย็บให้เป็น ก่อนลายอืน ่ ๆ ชนเผ่าลีซอถึงกับมีค�ำ กล่าวกันว่าถ้า ผูห ้ ญิงลีซอคนใดเย็บลายนีไ้ ม่ได้ถอ ื ว่าไม่ใช่ผห ู้ ญิง ลีซอทีแ ่ ท้จริง ลายอีเ๊ มียจือนีต ้ า่ หรือลักษณะการ เย็บผ้าแถบสีเช่นนี้เป็นเอกลักษณ์ท่ช ี ัดเจนของ ชนเผ่าลีซอทีย ่ ง ั คงพบเห็นในปัจจุบน ั
ลายอ๊ะหน่ายือ (ฟันหมา) อ๊ะหน่ายือ หมายถึง ฟันหมา (สุนข ั ) เป็นลวดลาย โบราณดัง้ เดิมทีบ ่ รรพบุรษ ุ ชาวลีซอเลียนแบบรูป ทรงของฟันสุนข ั ลักษณะของลวดลายมีลก ั ษณะ เป็นสามเหลีย ่ มเล็กๆ เย็บเรียงต่อกันเป็นแถวยาว การสร้างลวดลายทำ�ได้โดยการนำ�ผ้าทีต ่ ด ั เป็นชิน ้ เล็กๆ พับเป็นสามเหลีย ่ ม นำ�มาเย็บติดต่อเนือ ่ งกัน เป็นสามเหลีย ่ มซิกแซ็กดูคล้ายฟันของสุนข ั สำ�หรับ ชนเผ่าลีซอนัน ้ มีความผูกพันกับสุนข ั มาก ลักษณะ ลายอ๊ะหน่ายือ ของชนเผ่าลีซอ มีความคล้ายคลึง กับเอกลักษณ์ของชนเผ่ามูเซอด้วยเช่นเดียวกัน
31
ลายฮูเ้ พีย ้ คว้า (แป้นสีเ่ หลีย ่ มหลังลูกธนู) ฮู้เพี้ยคว้า หมายถึง แป้นสี่เหลี่ยมหลังลูกธนู ลักษณะของลวดลายดูคล้ายลายสามเหลีย ่ มเล็กๆ 4 อัน หันมุมยอดชนกันกลายเป็นรูปสี่เหลี่ยม ด้านเท่าลวดลายลักษณะเช่นนี้ ใช้เทคนิคการตัด ผ้าเป็นชิน ้ เล็กๆ นำ�มาเย็บประกอบต่อกันเป็นรูป สี่เหลี่ยมด้านเท่า จินตนาการสร้างลวดลายนี้มา จากลักษณะของแท่งสีเ่ หลีย ่ มทีอ ่ ยูห ่ ลังลูกธนูใน สมัยโบราณ ชาวลีซอนิยมนำ�ลวดลายฮูเ้ พีย ้ คว้า มาประดับตามเสือ ้ หมวก และเข็มขัดของผูห ้ ญิง
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
วิถีผ้าชนเผ่ามูเซอ (ลาหู่) ผ้าเผ่ามูเซอ ชนเผ่ามูเซอส่วนใหญ่แต่งกายด้วยผ้าสีดำ�ที่ย้อมด้วยสีธรรมชาติ มักนิยม ตกแต่งลวดลายบนเครือ ่ งแต่งกายทัง ้ ชายและหญิง ด้วยการปักเส้นด้ายสีสน ั ต่างๆ เป็นลวดลายงดงาม และมีการเย็บปะติดผ้าทีม ่ ส ี ส ี น ั สดใสสะดุดตา เป็น ลวดลายต่างๆ ประดับบนเสือ ้ ผ้าเครือ ่ งแต่งกายประจำ�เผ่า สีทช ่ี าวมูเซอทุกกลุม ่ นิยมมากเป็นพิเศษคือ สีแดงและเขียว หญิงชาวเผ่ามูเซอแต่ละกลุม ่ นัน ้ จะมีลก ั ษณะการแต่งกายตลอดจนถึงลวดลาย ทีใ่ ช้ในการตกแต่งเสือ ้ ผ้าประจำ�ชนเผ่าทีแ ่ ตกต่างกันไป เช่น หญิงชาวมูเซอดำ� จะแต่งกายด้วยชุดยาวสีดำ�กรอมเท้า ประดับแถบผ้าสีสันสดใสพร้อมกับปัก ลวดลายบริเวณรอบคอ แขน และชายเสือ ้ ส่วนผูห ้ ญิงชาวมูเซอเหลือง จะสวม เสือ ้ แขนยาวสีด�ำ ปักประดับเครือ ่ งเงินและลวดลายสวยงามบริเวณรอบคอ รอบ แขน และชายเสือ ้ นุง ่ ผ้าซิน ่ ยาวสีด�ำ กรอมเท้า การสร้างสรรค์ลวดลาย และทักษะงานฝีมอ ื ของชนเผ่ามูเซอ มูเซอ เป็นชนเผ่าที่ผ่านการอพยพย้ายถิ่นมาหลายต่อหลายครั้ง มีการก ระจายแบ่งกันเป็นกลุ่มย่อยๆ จำ�นวนมาก ซึ่งด้วยวิถีชีวิตที่แตกต่างกันไปใน แต่ละพืน ้ ทีท ่ ช ่ี าวมูเซออพยพเข้ามาอยูอ ่ าศัยนีเ้ อง ลวดลายเอกลักษณ์ของชน เผ่ามูเซอ มีทม ่ี าค่อนข้างหลากหลาย ทีเ่ ป็นเอกลักษณทีม ่ ก ี ารผสมผสานกัน ทัง้ ลวดลายทีม ่ าจากธรรมชาติ เช่น ต้นไม้ สัตว์ ฯลฯ ลวดลายทีม ่ าจากวิถช ี วี ต ิ เช่น การเป็นนักล่าสัตว์ ตลอดจนถึงลวดลายทีม ่ ท ี ม ่ี าจากความเชือ ่ ชนเผ่ามูเซอนัน ้ มีทง้ั กลุม ่ ทีน ่ บ ั ถือผี และกลุม ่ ทีน ่ บ ั ถือศาสนาคริสต์ ดังนัน ้ ลวดลายมาจากความ เชือ ่ เรือ ่ งผี วิญญาณ และลวดลายทีม ่ ค ี วามเชือ ่ ในพระคัมภีรข ์ องคริสต์ศาสนา ผสมรวมเข้าอยูด ่ ว้ ยกัน
32
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
อัตลักษณ์แห่งลวดลายทีส ่ ะท้อนความเป็นชนเผ่า การสร้างสรรค์ศิลปะลวดลายเอกลักษณ์บนผืนผ้าของชาวมูเซอ เราจะ สังเกตเห็นได้ชด ั จากการใช้ลวดลายทีม ่ ก ี ารเคลือ ่ นไหวการใช้เส้นจะเป็นไป ในลักษณะขึน ้ ๆ ลงๆ ทแยงมุม หรือแตกกระจายไปรอบๆ ด้าน เป็นลวดลาย กลุม ่ ทีใ่ ห้ความรูส ้ ก ึ มีชวี ต ิ ชีวา รูส ้ ก ึ ได้ถงึ ความกระตือรือร้น การใช้สเี ป็นไปใน โทนสดใส ฉูดฉาด เน้นสีแดง เหลือง เขียว ฟ้า ให้ความรูส ้ ก ึ สดชืน ่ มีความ หวัง มูเซอเป็นชนเผ่าทีม ่ ก ี ารเปิดรับวัฒนธรรมจากชนเผ่าอืน ่ เข้ามาในกลุม ่ ของตนเองค่อนข้างมาก ทำ�ให้การลวดลายผ้าของชาวมูเซอ เป็นศิลปะทีถ ่ ก ู ผสมผสาน มีทง้ั ลวดลายทีแ ่ สดงความเป็นของชนเผ่าตนเอง และลวดลายที่ มีการนำ�เอาศิลปะวัฒนธรรมจากชนเผ่าอืน ่ จนในบางครัง้ ลวดลายทีป ่ รากฏ บนผืนผ้าของชนเผ่ามูเซอ จะมีความคล้ายคลึงกันกับชนเผ่าอืน ่ ๆ ได้มากทีส ่ ด ุ เทคนิคการสร้างสรรค์ลวดลายผ้าชนเผ่ามูเซอ กระบวนการสร้างสรรค์ลวดลายบนผืนผ้าของหญิงสาวชาวมูเซอนัน ้ จะ เริ่มต้นจากการแบ่งสัดส่วนบนผืนผ้า เพื่อกำ�หนดพื้นที่และตำ�แหน่งของ ลวดลายที่ต้องการ และเมื่อได้ตำ�แหน่งและลวดลายในใจแล้ว หญิงชาว มูเซอก็จะลงมือขึน ้ เส้นแบ่งเพือ ่ ทำ�การกำ�หนดลวดลาย โดยการปักลายตา ข่ายหรือลายผ่าแทะ แต่ถา้ หากเป็นผูท ้ ม ่ี ฝ ี ม ี อ ื มากๆ อาจเลือกใช้ ลายกีแคะ ง้อ (สอยด้าย) ซึง ่ เป็นเทคนิคการนำ�เส้นด้ายมาปัน ่ เป็นเส้นกลมขนาดใหญ่ นำ�มาเย็บติดตรึงบนผืนผ้าเพือ ่ ขึน ้ เป็นแถวแนวของลวดลาย
สินค้าประยุกต์
33
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
วิถีผ้าชนเผ่ามูเซอ (ลาหู่)
ลายแมะสื่อ (ดวงตา) แปลว่า ดวงตา โดยลักษณะของลายนี้ มอง ดูแล้วมีความคล้ายคลึงกับลักษณะของ ดวงตา มนุษย์ บรรพบุรุษชาวมูเซอจึงเรียกชื่อลวดลาย ลักษณะเช่นนี้ว่า ลายดวงตา ลายดวงตานี้ได้รับความนิยมทั้งในกลุ่มของ มูเซอดำ�และมูเซอเหลือง ทัง้ สองกลุม ่ ล้วนมีความ เชื่อเช่นเดียวกันว่า แมะสื่อ เปรียบได้เสมือนกับ ดวงตาที่จะคอยช่วยมองส่องทางชีวิตไปในทาง ที่ดีให้กับผู้สวมใส่ การใช้ชีวิตอยู่ร่วมกัน โดย ลักษณะลายแมะสื่อ ของชนเผ่ามูเซอ มีความ คล้ า ยคลึ ง กั บ ลายเอกลั ก ษณ์ ข องชนเผ่ า ลี ซ อ ด้วยเช่นเดียวกัน
ลายแท้แคะ (คลื่นน้ำ�) แท้แคะ หมายถึง คลื่นน้ำ� ชื่อของลวดลาย เรียกตามลักษณะงานปักที่มีทิศทางการปักขึ้น ลงต่อเนื่องกันเป็นทางยาวอย่างนิ่มนวล มองดู แล้วคล้ายกับคลื่นที่พลิ้วไหวบนผิวน้ำ� สำ�หรับ เทคนิคของการสร้างความงดงามที่โดดเด่นใน ลวดลายนี้ อยู่ที่การนำ�ด้ายที่ใช้เทคนิคมัดย้อม มาปักต่อเนื่องกันไป ส่งผลทำ�ให้เกิดลวดลายที่ มีสีสัน 2 สีสลับพลิ้วไหวต่อเนื่องสวยงาม
34
ลายคะปะ (กากบาทหลังลูกธนู) คะปะ เป็นชื่อเรียกส่วนที่เป็น กากบาทด้าน หลังลูกธนู ซึ่งมีหน้าที่สำ�คัญทำ�ให้ลูกธนูพุ่งไป ได้ตรงเป้าหมาย ลักษณะของลวดลายที่ปรากฏ บนผืนผ้าดูคล้ายกากบาทอันใหญ่ที่ปลายทั้งสี่ ด้านแยกขยายออกไป ทีม ่ าของลวดลายนีม ้ าจาก จินตนาการ โดยนำ�เอาลักษณะของกากบาททีอ ่ ยู่ ด้านหลังลูกธนูที่ใช้ในการยิงสัตว์มาสร้างสรรค์ ลายคะปะนี้ถือว่าเป็นลวดลายที่มีความเก่าแก่ โบราณจะใช้เฉพาะในผ้าซิน ่ ผูห ้ ญิงเท่านัน ้ หญิง ชาวมูเซอจะสวมใส่เฉพาะงานปีใหม่ คริสต์มาส และวั น เข้ า โบสถ์ เ พื่ อ การประกอบพิ ธี ก รรมที่ สำ�คัญๆ
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
ลายพี้จี (ฟันหมา หรือเขี้ยวหมา) พีจ ้ ี หมายถึง เขีย ้ วหมา หรือฟันหมา ลักษณะ ของลวดลายเป็ น รู ป สามเหลี่ ย มสี ดำ � ขาวสลั บ คว่ำ�หงายยาวติดต่อกันไป ที่มาของลวดลายนี้ บรรพบุรุษชาวมูเซอจินตนาการลวดลายขึ้นมา จากการเลียนแบบลักษณะรูปร่างของเขีย ้ ว หรือ ลักษณะของฟันที่มีความแหลมของสุนัขที่เป็น สัตว์เลี้ยงของชาวมูเซอ ลายพี้จี นี้จะไม่ใช้กับ ผ้านุ่ง แต่มักนิยมนำ�มาใช้ตกแต่งเสื้อหรือย่าม ของผูห ้ ญิงชาวมูเซอดำ� โดยลักษณะลายพีจ ้ ี ของ ชนเผ่ามูเซอ มีความคล้ายคลึงกับลายเอกลักษณ์ ของชนเผ่าลีซอด้วยเช่นเดียวกัน เสื้อผู้หญิงลาหู่ จะประดับด้วย เครื่องเงินลวดลายสวยงาม
35
เสื้อผู้ชายลาหู่ ลวดลายเรียบง่าย
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
วิถีผ้าชนเผ่าปกากะญอ ปกากะญอ เป็นชนเผ่าที่อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ในประเทศไทย ตั้งแต่ เมือ ่ 200 กว่าปีทแ ่ี ล้ว นับว่าเป็นกลุม ่ ชาวไทยภูเขาทีม ่ ป ี ระชากรมากทีส ่ ด ุ ใน ประเทศไทย สำ�หรับกลุม ่ ทีย ่ งั คงเอกลักษณ์การแต่งกายประจำ�ชนเผ่า และ มีทักษะความเชี่ยวชาญในด้านศิลปะการสร้างลวดลายบนผืนผ้าที่งดงาม นัน ้ ส่วนมากจะพบเห็นอยูใ่ น 2 กลุม ่ ใหญ่ นัน ่ คือ กลุม ่ ปกากะญอโปว หรือ โผล่ง หรือปกากะญอแดง และกลุม ่ ปกากะญอปกากะญอหรือสะกอ หรือ ปกากะญอขาว อัตลักษณ์การแต่งกาย การแต่งกายหญิง การแต่งกายของผูห ้ ญิงจะแบ่งออกเป็น 2 อย่าง 1. เด็กหญิงและหญิงสาวพรหมจรรย์จะแต่งกายเป็นชุดทรงกระบอกสี ขาว เป็นสัญลักษณ์แห่งความบริสท ุ ธิส ์ าวโสดยังไม่ได้แต่งงาน จะสวมชุด ขาวเท่านัน ้ 2. เมือ ่ แต่งงานแล้ว ผูห ้ ญิงจะแต่งตัวแบ่งออกเป็น 2 ท่อน ท่อนบนจะ เป็นเสือ ้ ดำ�ประดับด้วยลูกเดือย นุง่ ซิน ่ สีแดงมีลวดลายทีท ่ �ำ มาจากสีธรรมชาติ เรียกว่า “หนีค ่ ”ิ ผูท ้ ม ่ี ส ี ถานภาพเป็นแม่บา้ นแล้ว ห้ามมิให้กลับไปแต่งชุดสี ขาวเป็นอันขาด 3. ผ้าโพกศีรษะของผูห ้ ญิงปกากะญอในสมัยก่อนจะทอด้วยผ้าฝ้ายพืน ้ สีขาวเดินด้วยลายสีแดง มีปล่อยชายผ้าทัง้ สองข้างยาวประมาณ 1 คืบ หรือ จะเป็นผ้าฝ้าย ทัง ้ สาวโสดและหญิงทีแ ่ ต่งงานแล้วจะโพกหัวเหมือนกัน แต่ ปัจจุบน ั มักใช้ผา้ โพกหัวกันทัง้ ผ้าทอและหาซือ ้ จากตลาด หญิงในอดีตจะใส่ ตุม ้ หูขนาดใหญ่ทเ่ี รียกว่า “หน่าดิ” มีการใส่สร้อยคอลูกปัดสีตา่ งๆ ทีค ่ อ มี การคลุมแขนและขาด้วยทีเ่ รียกว่า “จึพ ๊ ล่อ ข่อพล่อ”
36
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
การแต่งกายของชาย การแต่งกายของชายสมัยก่อนจะสวมเสือ ้ ทรง กระบอกยาวเหมือนหญิงสาว แต่จะเป็นสีขาว ปนแดงซึ่งทำ�มาจากสีธรรมชาติ ภายหลังการ แต่งกายของชายจะมีอยู่ 2 ท่อน ท่อนบนจะเป็น เสือ ้ ทอสีแดง ท่อนล่างจะเป็นกางเกงสีด�ำ หรือ กางเกงสะดอ คาดศีรษะด้วยผ้าสีแดงหรือสีขาว ผ้าทอปกากะญอ ชาวปกากะญอได้ รั บ การกล่ า วขานว่ า เป็ น ชนเผ่าผูม ้ ฝ ี ม ี อ ื ในการทอผ้าทีเ่ ก่งทีส ่ ด ุ เผ่าหนึง่ ผู้ หญิงชาวปกากะญอจะได้รบ ั การถ่ายทอดความ รูท ้ ก ั ษะฝีมอ ื การทอผ้ามาจากผูเ้ ป็นแม่ตง้ั แต่ยงั เป็นเด็กหญิงตัวน้อยในวัยประมาณ 10 ปี โดย จะเริม ่ ฝึกด้วยการทอผ้าผืนน้อยทีเ่ รียกว่า แทพู
จากนัน ้ จึงเข้าสูก ่ ระบวนการเริม ่ ฝึกทอเป็นชุดขาว ยาวติดกัน สำ�หรับเด็กหญิงและหญิงสาวโสดใช้ สวมใส่ทเ่ี รียกว่า เชวา การสร้างสรรค์ลวดลาย และทักษะงานฝีมือ ของชนเผ่าปกากะญอ การสร้างสรรค์ลวดลาย ด้วยความเป็นชนเผ่า ทีม ่ ค ี วามรัก มีความใกล้ชด ิ และมีความเคารพต่อ ธรรมชาติเป็นอย่างยิง ่ บรรพบุรษ ุ ชาวปกากะญอ เกิดความคิดสร้างสรรค์จากการสังเกต การใช้ จินตนาการนำ�เอาลักษณะเด่นจากสิง่ ทีพ ่ บเห็นใน ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม เช่น พืชพรรณ ดอกไม้ ต้นไม้ สัตว์น้อยใหญ่ ข้าวของเครื่องใช้ในชีวิต ประจำ�วัน ตลอดจนถึงประเพณีและคตินย ิ มของ ชนเผ่ามาประยุกต์ถา่ ยทอดลงสูล ่ วดลายบนผืนผ้า
ลายอะพู (ลูก) อะพู หมายถึง ลูก เป็นชื่อเรียกลวดลายปัก ลูกเดือยแบบโบราณดั้งเดิม ที่มาของการตั้งชื่อ ลวดลายว่าอะพู มาจากลักษณะของลายปักทีเ่ ป็น ลายเล็กๆ น่ารักคล้ายดังลูกตัวเอง นอกจากนีย ้ ง ั มีความหมายอีกว่าเป็นลายปักง่ายๆ ที่เด็กสาว ชาวปกากะญอที่เพิ่งเริ่มหัดงานปักลูกเดือยนั้น สามารถที่จะปักได้ทุกคน ลายอะพู มีลักษณะ ลวดลายคล้ า ยตั ว วี ใ นภาษาอั ง กฤษมั ก ใช้ ปั ก เป็นลวดลายเล็กๆ ประดับริมเสือ ้ ของผูห ้ ญิงชาว ปกากะญอที่แต่งงานแล้ว
37
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
วิถีผ้าชนเผ่าปกากะญอ ลายคูฉุ (ปิ่นปักผม) คูฉุ เป็นภาษาชนเผ่าปกากะญอโปว มีความหมายว่า ปิน ่ ปักผม ลวดลายเป็นการเลียนแบบลักษณะ ของปิน ่ ปักผมในสมัยโบราณของผูห ้ ญิงชาวปกากะญอโปวทีท ่ �ำ จากไม้ไผ่ ถือว่าเป็นลวดลายทีท ่ �ำ ได้ ยากและเป็นลายเก่าแก่ใช้ทอด้วยเส้นด้ายฝ้าย ทีม ่ ด ั ย้อมสีธรรมชาติ ปัจจุบน ั จึงแทบหาชาวปกากะญอ โปวที่สามารถทอผ้ามัดย้อมลายคูฉุอย่างสมบูรณ์แบบได้ค่อนข้างยาก แต่ก็ยังคงมีผู้ที่สืบสาน ลวดลายโบราณนี้ถ่ายทอดจนถึงลูกหลาน เพื่อให้ลวดลายคูฉุดำ�รงอยู่เป็นเอกลักษณ์ของชนเผ่า ปกากะญอโปวโดยไม่สูญหายไปตามกาลเวลา
ลายตะเก๊เก๊าะ (ทางขรุขระ) ตะเก๊เก๊าะ ใช้เรียกลวดลายงานปักลูกเดือย โบราณ เป็ น รายหนึ่ ง ที่ สื บ ทอดกั น มาตั้ ง แต่ บรรพบุรุษ ลักษณะลวดลายการปักใช้การวาง ลูกเดือยเอียงสลับขึ้นลงต่อเนื่องกันเหมือนลูก คลื่น จึงตั้งชื่อลวดลายนี้ว่า ตะเก๊เก๊าะ มีความ หมายว่า หนทางเดินที่ขรุขระไม่เรียบ มักนิยม ใช้ปักตรงชายเสื้อด้านล่างในเสื้อแต่งงานของ ผู้หญิง หมายถึง การให้คู่บ่าวสาวที่จะต้องใช้ ชีวิตอยู่ด้วยกันต้องมีความอดทน เดินไปด้วย กันไม่ว่าเส้นทางนั้นจะขรุขระมากเพียงใดก็ตาม
ลายปะคังดอง (แมงมุม) ปะคังดอง หมายถึง แมงมุม บรรพบุรุษชาว ปกากะญอโปว สร้ า งสรรค์ ขึ้ น จากการสั ง เกต เห็นความงดงามของแมงมุมขณะทำ�รังบนต้นไม้ สำ�หรับลายปะคังดองนัน ้ มี 2 ลักษณะคือ ลายปะ คังดองที่มีลักษณะกากบาทอยู่เดี่ยวๆ และลาย ปะคังดองหงายจุ ที่มีลักษณะกากบาทสองอัน ซ้อนกัน โดยนอกจากพบในเสื้อของผู้หญิงแล้ว ยังพบลวดลายนีไ้ ด้ทง ั้ ในย่ามและผ้าซิน ่ ของชาว ปกากะญอโปวอีกด้วย
38
ลายท่าสื่อโหร่ง (เส้นคู่) ท่ า สื่ อ โหร่ ง ความหมายว่ า เส้ น คู่ ลั ก ษณะ ลวดลายเป็นการทอด้วยด้ายสีขาวยาวต่อเนื่อง ขนานกันเป็นคู่ประดับอยู่บริเวณกลางเสื้อและ ชายเสื้อของผู้ชายที่มักใช้สวมใส่ในวันแต่งงาน ลายท่าสื่อโหร่งเปรียบเสมือนการที่คู่แต่งงาน เดินเคียงคู่ไปด้วยกัน คอยดูแลกันตลอดไปทั้ง ชีวิต ลวดลายลักษณะเช่นนี้ถูกถ่ายทอดสืบต่อ กันมาหลายชั่วอายุคน
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
ลายบายโข่ว (สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน) บายโข่ว ใช้เทคนิคการทอได้หลากหลายทัง้ การทอแบบยก และการทอแบบจก ลายบายโข่ว มีลก ั ษณะ ลายคล้ายสีเ่ หลีย ่ มขนมเปียกปูนซ้อนต่อเนือ ่ งกัน ถือเป็นลวดลายพืน ้ ฐานทีห ่ ญิงสาวชาวปกากะญอ ทุกคนต้องฝึกทอให้เป็น ก่อนที่จะต่อยอดไปสู่การฝึกทอลวดลายที่ยาก สลับซับซ้อนมากขึ้นต่อไป
ลายเซะเคล้ เซะเคล้ หมายถึง เส้นยาวต่อเนื่องกันไป การ เรียกชื่อลวดลายเรียกตามลักษณะของลายการ ทอเป็นเส้นยาวต่อเนื่องติดต่อกัน เป็นลวดลาย โบราณดั้งเดิมที่หญิงชาวปกากะญอ ได้รับการ ถ่ายทอดสืบต่อกันมาตัง ้ แต่บรรพบุรษ ุ เป็นลาย พื้นฐานที่ค่อนข้างทอได้ง่าย มักใช้เป็นลวดลาย ของเสื้อผู้ชายชาวปกากะญอ
ลายเกี้ยวหมี (ดอกหัวบุก) เกีย ้ วหมี หมายถึง ดอกหัวบุก ซึง่ เป็นต้นไม้ชนิด หนึง่ ทีเ่ กิดขึน ้ ตามธรรมชาติในป่า ชาวปกากะญอ ใช้น�ำ มาเย็บเก็บริมเสือ ้ หรือริมย่าม บรรพบุรษ ุ ชาว ปกากะญอได้สร้างสรรค์ลายเกี้ยวหมีนี้ขึ้น จาก ลักษณะของดอกหัวบุก ลายเกีย ้ วหมี ถือเป็นการ เย็บเก็บริมผ้าทีค ่ วามยากและละเอียดมาก หญิง สาวชาวปกากะญอคนใดทีส ่ ามารถเย็บลายเกีย ้ ว หมีนี้ได้ถือว่าเป็นยอดฝีมือ
39
ลายก่ายกอง (คดโค้ง) ก่ายกอง มีความหมายว่า คดโค้งไปมา ลาย ก่ายกอง เป็นลายโบราณดัง้ เดิมทีบ ่ รรพบุรษ ุ ชาว ปกากะญอสร้างสรรค์ขึ้น และได้มีการสืบทอด ต่อเนือ ่ งกันมาในกลุม ่ ปกากะญอ คำ�เรียกขานชือ ่ ของลายก่ายกองนี้ เป็นไปตามลักษณะการทอทีม ่ ี การสลับสีโค้งไปโค้งมา หญิงสาวชาวปกากะญอ นิยมใช้เสือ ้ ลายลักษณะเช่นนีเ้ ป็นเสือ ้ ตัวแรกของ หญิงสาวเมื่อต้องเข้าพิธีแต่งงาน
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
วิถีผ้าชนเผ่าลัวะ ชนเผ่าลัวะ มีที่มาจากหลากหลายถิ่น เรียกชื่อแตกต่างกันไป เช่น ลเวือะ ลวะ ปลัง และลัวะ เป็นต้น คนภายนอกส่วนใหญ่จะ เรียกว่า “ลัวะ” ซึ่งเป็นคำ�ที่มีความหมายกว้าง หมายถึงกลุ่มคน ที่เป็นชาวเขา ชนเผ่าลัวะ จำ�แนกออกเป็น 2 กลุม ่ คือ ลัวะปลัง และ ลัวะละว้า ทีม ่ ี เครือ ่ งแต่งกายเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของแต่ละกลุม ่ แตกต่างกัน ลัวะ (ละว้า) จะใช้ผ้าที่ทอเองแทบทั้งสิ้น ผู้ชายสวมเสื้อผ่าอก แขนเสือ ้ กุยเฮง กางเกงหลวมๆ แบบกางเกงจีน แต่เครือ ่ งแต่งกาย ชายปัจจุบัน หันมานิยมเสื้อเชิ้ตแขนยาวผ่าอกกลาง ส่วนผู้หญิง สวมเสื้อสีดำ�ผ่าอกแขนยาวหรือแขนสั้นมีขลิบผ้าสีแดงที่ปลาย แขน ปักเป็นแผ่นใหญ่ที่หน้าอกตามแถวกระดุม และแถวรังดุม รอบคอ ปักที่ชายแขนเสื้อตรงข้อมือทั้งสองข้างและที่ใต้สะโพก รอบเอวด้วยดิ้นเลื่อม จะนุ่งซิ่นสั้นแค่เข่ากับเสื้อแขนยาวหลวมๆ คล้ายพวกกะเหรีย ่ ง มีผา้ พันแข้ง สำ�หรับเครือ ่ งประดับของผูห ้ ญิง นิยมเจาะหู ให้เป็นรูโตเอาใบลาน หรือแผ่นทองเหลืองม้วนกลม ยัดใส่ไว้ เอาด้ายทำ�เป็นพู่ห้อยลงมาผู้หญิงประดับคอด้วยสร้อย ลูกปัดลูกเดือยหิน สวมกำ�ไลข้อมือเงินขดเป็นเกลียวหญิง นิยม ใช้กล้องยาสูบ เป็นเครื่องประดับและมวยผมประดับปิ่นและขน เม่นทีศ ่ รีษะ ผูห ้ ญิง สวมคอและแขนทำ�ด้วยโลหะเงินและลูกปัดสี
40
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
หมวกผู้หญิงลัวะ ปักด้าย ลวดลายต่างๆ เช่น ลายดอกไม้
เสื้อผู้หญิงลัวะ ใช้ด้าย4 สี คือ ม่วง แดง ชมพู ดำ� ทอด้วยมือด้วยเครื่อง "กี่เอว" (อุปกรณ์ทอผ้าขนาดเล็ก)
หมวกผู้ชายลัวะ ตกแต่งด้วย ลายปักและพู่ไหมพรม
เครื่องประดับผู้หญิงลัวะ ลูกปัดหลากสีสัน จะสวมใส่ ที่คอและเอว
ย่ามลัวะเรียบง่าย ลายเส้นตรง ส่วนมากผู้หญิงชาวลัวะจะใช้
41
ผ้าซิ่นสีดำ� เดินเส้นลายตรง เย็บด้วย ด้ายไหมพรมหลากสี
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
งานทอผ้าลัวะจะใช้ กี่ขนาดเล็กที่เรียกว่า “กี่เอว” คล้ายกับชนเผ่าปกากะญอ ใช้เป็น อุปกรณ์ในการทอผ้า ฝ้ายและด้ายที่ใช้ในการทอผ้ามีทั้งฝ้ายที่ถูกปลูกเองและซื้อมา เมื่อ ทอเสร็จจะนำ�ผ้าไปต้มกับน้ำ�ข้าวเพื่อให้ผ้าเหนียวทนทานไม่ขาดง่าย สีไม่ตก ลวดลายผ้า จะพบเพียง 2 ลาย คือ ลายเส้นตรงที่เกิดจากการมัดย้อมเส้นยืนบนผืนผ้าซิ่น และอีกลายหนึ่งคือ ลายข้าวหลามตัดซึ่งทอไว้เป็นผ้าคลุมศพคนตาย
1.คานหน้าและคานหลัง ทำ�หน้าที่ขึงผ้าให้ตึง ใช้ ม้วนผ้าระหว่างทอ และยึดเครือ ่ งทอติดกับตัวคนทอ ส่วนคานหลังจะทำ�หน้าที่ขึงผ้าอีกด้านหนึ่ง
2.เข็มขัดคาดหลัง (สมัยก่อนใช้หนังสัตว์) เจาะรูใช้ เชือกที่เหนียวใช้มัดกับคานที่ใช้ยึดเส้นด้าย
3.ไม้เขา หรือไม้ส�ำ หรับคล้องเชือกเป็นอุปกรณ์ใช้ สำ�หรับให้ฝา้ ยยืนแยกออกจากกัน เพือ ่ เปิดเป็นช่อง สำ�หรับด้ายพุง ่
4 .ไม้ขัดฝ้ายยืด ทำ�หน้าที่ขัดด้ายเส้นยืนเพื่อแบ่ง ด้ายออก และเปิดช่องว่างสำ�หรับพุ่งด้ายพุ่ง
5.กนวีท�ำ หน้าทีช ่ ว่ ยแยกเส้นด้ายให้เป็นระเบียบ ไม่ให้ด้ายพันกัน
6.กระสรวยหรือไม้พุ่งฝ้าย ใช้์สำ�หรับฝ้ายเส้นพุ่ง ทำ�หน้าที่พันด้ายพุ่ง สอดในช่องว่างระหว่างด้ายพุ่ง กระสรวย จะพุง ่ ด้ายไปจนเสร็จเป็นผืนผ้า
42
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
ผ้าลัวะปลัง การแต่งกายของผูช ้ ายและผูห ้ ญิงคล้ายกัน ผูห ้ ญิงจะ นุ่งผ้าซิ่น (ผ้าถุง) ในภาษาปลังเรียกว่า “โรงด้วย” คำ�ว่า “โรง” แปลว่า สีดำ� ดังนั้น ผ้าซิ่นที่ผู้หญิงนุ่งจึงมีสีดำ� ผ้านุ่งแบ่งออกเป็น 3 ตอนคือ หัวซิ่น ตัวซิ่น และชาย ซิ่น ในภาษาปลังหัวซิ่นเรียกว่า “ด้าย เซมลือ” แปลว่า “ผ้าซิ่น ไทลื้อ” สะท้อนว่าได้รับอิทธิพลจากกลุ่มของ ชาวไทลื้อ เป็นอย่างมาก (ดังนั้น “เซม” หรือ “แซม” ที่ ชาวปลังหมายถึงนัน ้ ส่วนใหญ่จะสัมพันธ์กบ ั 2 กลุม ่ คือ ชาวไทใหญ่ และชาวไทลื้อ) ตัวซิ่นเรียกว่า “ด้าย” ส่วน ชายซิ่นเรียกว่า “ด้ายปาย” คำ�ว่า “ปาย” แปลว่าสีขาว มีการคาดเข็มขัดเงินทับผ้าซิน ่ เอกลักษณ์ลายเสือ ้ ของ ผูห ้ ญิงจะใช้การต่อตัวเสือ ้ และกุนชายเสือ ้ ด้วยลายสาน คือการใช้ไหมพรมปักเป็นเส้นเรียงกัน สีสันสวยงาม สำ�หรับเสื้อที่สวมจะมีสีดำ�ทั้งตัวเรียกว่า “โคะ” เป็น เสื้อแขนยาว สาบเสื้อทับกัน กลัดกระดุมที่ด้านล่าง มี การประดับลายเป็นด้ายสีเขียว แดง ชมพู ส้ม แล้ว แต่ความชอบ บั้งเป็นเส้นที่แขนต่ำ�กว่าหัวไหล่ของมา เล็กน้อย ลายยาวสีสันสวยงาม เอกลั ก ษณ์ ล ายเสื้ อ จะใช้ ก ารต่ อ ตั ว เสื้ อ และกุนชายเสือ ้ ด้วย ลายสาน คือการใช้ ไหมพรมปั ก เป็ น เส้ น เรี ย งกั น สี สั น สวยงาม
43
นอกจากประดับที่หัวไหล่แล้วยังประดับเป็น ทางยาวแนวตั้ ง สองเส้ น ขนานไปกั บ สาบเสื้ อ บริเวณที่ชายเสื้อมาทบกันจะมีการปักด้ายเป็น เส้นยาวสีสันสวยงามเป็นสีแดง เหลือง ส้ม และ ฟ้า ขึ้นอยู่กับความชอบ ผู้หญิงมักเกล้าผม และ พันผ้ารอบศีรษะ ผ้าที่พันรอบศีีรษะนี้เรียกว่า “เหวะจิ” นอกจากนีอ ้ ก ี สิง่ หนึง่ ทีจ ่ ะขาดไม่ได้กค ็ อ ื ย่าม ซึง่ ในภาษาปลังเรียกว่า “เซิด” โดยพืน ้ จะเป็น สีขาว ทำ�จากผ้าฝ้าย และมีลายปักสีสันสวยงาม
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
วิถีผ้าไทลื้อ ไตลือ ้ หรือ ไทลือ ้ หรือ คนลือ ้ เป็นชาวไทกลุม ่ หนึง ่ มีถน ่ิ ฐานเดิม อยูใ่ นแถบสิบสองปันนา ในดินแดนของประเทศจีน มีเอกลักษณ์ ที่ โ ดดเด่ น คื อ การใช้ ภ าษาไทลื้ อ และยั ง มี วั ฒ นธรรมอั น เป็ น เอกลักษณ์อ่น ื ๆ เช่น การแต่งกาย ศิลปะและประเพณี ศิลปะที่ โดดเด่นของชาวไทลื้อ ได้แก่ งานผ้าทอไทลื้อ นิยมใช้ผ้าฝ้าย หรือใช้เส้นไหมจากต่างถิ่น ทอลวดลายที่เรียกว่า "ลายเกาะ" ด้วยเทคนิคการล้วง ซึง ่ ปัจจุบน ั นิยมเรียกว่า "ลายน้�ำ ไหล" มีการ ฟืน ้ ฟูและถ่ายทอดศิลปะการทอผ้าแบบไทลือ ้ ในหลายชุมชนของ ภาคเหนือ เครือ ่ งแต่งกายของชาวไทลือ ้ โดดเด่นไม่เหมือนใคร เอกลักษณ์การสร้างสรรค์ลวดลาย และทักษะงานฝีมอ ื การแต่งกายทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ไทลือ ้ คือ ผ้าซิน ่ ของผูห ้ ญิงไทลือ ้ ทีเ่ รียกว่า “ซิน ่ ตา” ซึง ่ เป็นผ้าซิน ่ ทีม ่ ี 2 ตะเข็บมีลก ั ษณะโครงสร้าง ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ หัวซิน ่ สีแดง ตัวซิน ่ ลายขวางหลากสีตอ ่ ตีนซิน ่ สีด�ำ ความเด่นอยูท ่ ต ่ี วั ซิน ่ ซึง ่ มีรว้ิ ลายขวางสลับสีสดใส และ ตรงช่วงกลางมีลวดลายทีท ่ อด้วยเทคนิค ขิด จก เกาะหรือล้วง เป็น ลายรูปสัตว์ในวรรณคดี ลายพรรณพฤกษา และลายเรขาคณิต เอกลักษณ์การทอผ้าที่สำ�คัญของกลุ่มชนนี้ คือ การทอผ้าด้วย เทคนิค เกาะหรือล้วง หรือทีเ่ ป็นทีร่ จ ู้ ก ั กันว่า “ลายน้�ำ ไหล” ซึง ่ เป็น เทคนิคทีม ่ ค ี วามยุง ่ ยากซับซ้อน แต่ท�ำ ให้เกิดลวดลาย และสีสน ั ที่ งดงามแปลกตา และเป็นอัตลักษณ์อน ั โดดเด่นเฉพาะกลุม ่ ทีแ ่ ตก ต่างจากผ้าซิน ่ ของกลุม ่ ชาติพน ั ธุไ์ ทกลุม ่ อืน ่ ๆ นอกจากผ้าซิน ่ แล้ว ชาวไทลือ ้ ยังทอผ้าชนิดอืน ่ ๆ ด้วย เช่น ผ้าหลบ เป็นต้น
44
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
ผูห ้ ญิงแต่งกายด้วยเสือ ้ ผ้าสีสน ั ต่างๆ คอเสือ ้ ปักลวดลายสารพัดสี ด้านหน้าและด้านหลัง ปักลายสวย งดงาม ผ้านุง ่ ทอสลับสี สวมกำ�ไลเงินสร้อยเงิน ตุม ้ หูเงิน มีตราเงินกลมๆ ติดเสือ ้ เป็นเครือ ่ งเงินฝีมอ ื ประณีต เวลามีงานพิเศษ สาวๆ จะโพกผ้าสีขาวทรงรูปหมวกแขก ในปัจจุบน ั นีก ้ ารแต่งกายของชาวไท ลือ ้ ก็จะคล้ายกับชาวเหนือทัว่ ไป ผูห ้ ญิง สวมเสือ ้ ทีม ่ ล ี ก ั ษณะเฉพาะเรียกว่าเสือ ้ ปัด ๊ (เสือ ้ ปัด ๊ เป็นเสือ ้ ทีไ่ ม่มี กระดุมแต่สาบเสือ ้ จะป้ายเฉียงมาผูกไว้ทเ่ี อวด้านข้าง) แขนยาวตัดเสือ ้ เข้ารูป เอวลอยมีสายหน้าเฉียงผูก ติดกันด้วยด้ายฟัน ่ หรือแถบผ้าเล็กๆ ทีม ่ ม ุ ซ้ายหรือขวาของลำ�ตัว ชายเสือ ้ นิยมยกลอยขึน ้ ทัง้ สองข้าง สาบ เสือ ้ ขลิบด้วยแถบผ้าสีตา่ งๆ ประดับด้วยกระดุมเม็ดเล็กเรียงกัน สวมซิน ่ ไทลือ ้ ทีม ่ ล ี วดลายกลางตัวซิน ่ ซิน ่ ลายขวางจะทอด้วยเทคนิคเกาะหรือล้วง เรียกว่าลายน้�ำ ไหล ส่วนหัวซิน ่ เป็นผ้าฝ้ายสีด�ำ หรือสีน�ำ้ ตาล ขาว ส่วนตีนซิน ่ เป็นผ้าพืน ้ สีด�ำ สีเสือ ้ ผ้าของผูห ้ ญิงไทลือ ้ จะใช้ในโอกาสทีแ ่ ตกต่างกันออกไป เช่น ถ้ามีงาน บุญจะใส่เสือ ้ ปัด ๊ สีขาว โพกหัวด้วยผ้าสีขาว ส่วนเสือ ้ ผ้าสีด�ำ จะสวมใส่ในงานประเพณีหรืองานแต่งงาน
เสื้อผู้ชายไทลื้อขลิบด้วยผ้าแถบสี
ชายไทลื้อ สวมเสื้อแขนยาวสีดำ�ครามคล้ายเสื้อ หม้อห้อม มี 2 แบบ แบบดัง้ เดิมเป็นเสือ ้ เอวลอย สาย หน้าขลิบด้วยผ้าแถบสี ป้ายมาติดกระดุมทีใ่ ต้รก ั แร้ และเอว อีกแบบเป็นแบบเมืองเงิน เป็นเสือ ้ คอตัง ้ มี แถบผ้าจกลายขอนาค ตกแต่งทัง ้ ชายและหญิงจะมี ผ้าโพกศีรษะ การแต่งกายของผูช ้ ายชาวไทลือ ้ คือ นุง ่ กางเกงผ้าฝ้าย สีน�ำ้ เงินเข้ม ทีแ ่ ต่งอย่างคนเมือง ก็มี นิยมสวมเสื้อขาวแขนยาว สวมทับด้วยเสื้อกั๊ก ปักลวดลายด้วยเลือ ่ ม เรียกว่า "เสือ ้ ปา" สวมกางเกง หม้อห้อมขายาวต่อหัวกางเกงด้วยผ้าสีขาว เรียกว่า "เตีย ่ วหัวขาว" นิยมโพกศีรษะ ("เคียนหัว") ด้วยผ้า สีขาว สีชมพู นุง ่ ซิน ่ ต๋าลือ ้ สะพายกระเป๋าย่าม ("ถุง ย่าม")และนิยมโพกศีรษะด้วยผ้าสีขาวหรือสีชมพู กางเกงเป็นกางเกงก้นลึก เรียกว่า “เตีย ่ ว 3 ดูก” สี เสือ ้ ผ้าของผูช ้ ายไทลือ ้ ส่วนใหญ่จะเป็นสีเทา สีด�ำ ถ้า มีงานบุญจะใส่สข ี าว หรือสีด�ำ ผ้าขาวม้าคาดพุง โพก ศีรษะด้วยผ้าสีน�ำ้ ตาล สีขาว สีด�ำ
45
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
เทคนิคการทอผ้าของชาวไทลื้อ
1. ขิด เป็นเทคนิคการทอผ้าให้เกิดลวดลาย โดยการเพิ่มเส้นด้ายพุ่งพิเศษ ด้วยวิธีการใช้ไม้ แป้นขิดสอดเพื่อเปิดช่องเส้นด้ายยืน หรือเพิ่ม เขาพิเศษนอกเหนือจากเขาที่ใช้ทอลายขัดปกติ โดยมักจะเก็บเขาในแนวตัง ้ ทางด้านบนและล่าง ของชุดด้ายยืน การทอจะทำ�ให้เกิดลวดลายตลอด หน้ากว้างของผืนผ้า ชาวไทลือ ้ จะเรียกเทคนิคการ ทอแบบนีว้ า่ "มุก" ผ้าขิดมีเนือ ้ หนาเหมาะสำ�หรับ ใช้ ใ นการตกแต่งและใช้สอยในครั ว เรื อน เช่ น ทำ�หมอน ผ้าแหลบ (ผ้าปูนง ่ั หรือนอน) ผ้าปูโต๊ะ ผ้าหลบ (ผ้าปูทน ่ี อน) ผ้าล้อหัวช้าง ผ้าเช็ด (ผ้าพาด บ่า) ผ้าห่ม ผ้าห่อคัมภีร์ หรือนำ�มาประยุกต์ตัด เป็นเสือ ้ คลุม เสือ ้ กันหนาว หรือผ้าคลุมในปัจจุบน ั ลวดลายขิดทีเ่ ป็นทีร่ จ ู้ ก ั กันดี เช่น ลายงูลอย ลาย หน่วยเครือ ลายขอเล็ก ลายขอใหญ่ ลายขอขะใจ๋ ลายกาบ ลายดอกจัน ลายนาค ลายนก หรือหงส์ ลายช้าง ลายม้า ลายคน เป็นต้น
2.จก เป็นเทคนิคการทำ�ลวดลายบนผืนผ้า ด้วยวิธก ี ารเพิม ่ เส้นด้ายพุง่ พิเศษเข้าไปเป็นช่วงๆ ไม่ติดต่อกันตลอดหน้ากว้างของผ้า ทำ�โดยใช้ ไม้หรือขนเม่น หรือนิว้ มือยกหรือจกด้ายเส้นยืน ขึน ้ แล้วสอดใส่ดา้ ยเส้นพุง ่ พิเศษเข้าไป ผ้าจกนีม ้ ี กระบวนการทอยุง่ ยากกว่าขิด เพราะเป็นผ้าทีม ่ งุ่ ก่อให้เกิดความวิจต ิ รงดงามทัง ้ ทางด้านลักษณะ รูปแบบลวดลาย และสีสน ั เพือ ่ ใช้ในโอกาสพิเศษ ผ้าจกมีทง้ั ชนิดทีท ่ อด้วยฝ้ายและทอด้วยไหม บาง แห่งก็ทอทัง้ ฝ้ายและไหมผสมกัน ผ้าจกแตกต่าง จากผ้าขิดตรงที่ผ้าขิดนั้นจะพุ่งด้ายพุ่งหนึ่งเส้น ตลอดหน้าผ้าทำ�ให้สข ี องลวดลายในแถวเดียวกัน จะเป็นสีเดียวกัน ส่วนผ้าจกจะสามารถสอดสีภายใน แถวแต่ละแถวได้อย่างอิสระตามต้องการ จึงทำ�ให้ ลายจกมีสส ี น ั สวยงามแพรวพราวมากกว่า แต่กใ็ ช้ เวลาการทอนานมากกว่าในการเปลีย ่ นเส้นสีตา่ งๆ ในแต่ละแถวแต่ละลาย การทอผ้าจกจึงมีความยุง่ ยากและใช้ความอดทนในการทอมาก
46
3.เกาะ หรือ ล้วง เป็นวิธีการทอที่ไม่ได้ใช้เส้น พุ่ ง สอดจากริ ม ผ้ า ด้ า นหนึ่ ง ไปสู่ ริ ม ผ้ า อี ก ด้ า น หนึ่ง ตามวิธีการทอแบบธรรมดาทั่วไป และไม่ เพิ่ ม ด้ า ยเส้ น พุ่ ง พิ เ ศษเข้ า ไปในเนื้ อ ผ้ า เช่ น วิ ธี การจก แต่ ก ารทอแบบเกาะ ใช้ พุ่ ง หลายๆ สี เป็นช่วงๆ ทอด้วยวิธีธรรมดาโดยการเกี่ยวและ ผูกเป็นห่วง รอบเส้นยืน ไปเป็นช่วงตามจังหวะ ลวดลาย เทคนิคนีท ้ �ำ ให้เกิดลวดลายนีท ้ �ำ ให้เกิด ลายทีม ่ ล ี ก ั ษณะคล้าย สายน้�ำ ไหล จึงนิยมเรียกว่า "ผ้าลายน้�ำ ไหล" ซึง ่ เป็นผ้าทีม ่ ช ี อ ื่ เสียงและถือได้ ว่าเป็นเอกลักษณ์ของลายผ้าไทลือ ้ ผ้าลายน้�ำ ไหล นิยมทอสำ�หรับเป็นผ้าซิ่น และสำ�หรับประยุกต์ ตัดเป็นเสื้อผ้าและเครื่องใช้ต่างๆ
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
จากดอกฝ้ายสู่เส้นด้ายกลายเป็นผ้าทอไทลื้อ
1. เก็บดอกฝ้าย ก่อนดอกจะร่วงสู่ 2. อีด คือการแยกเมล็ดออกจาก พื้นดิน เพราะจะทำ�ให้ฝ้ายสกปรก ดอกฝ้าย ช่วงเก็บดอกฝ้ายคือ พฤศจิกายน
3. ก๋ง เป็นอุปกรณ์ คล้ายคันธนู ใช้สำ�หรับการดีีดฝ้ายให้ฟู
5. กวง คืออุปกรณ์ในการเก็บเส้น 6. ม้ ว นด้ า ยใส่ ห ลอด (ด้ า ย 4 ไจ 7. ปัน ่ ใส่หลอด ใส่กระสรวยเตรียม ด้าย ปั่นฝ้ายเป็นเส้นระหว่างหมุน กรอได้ 2 หลอดด้าย ทอเป็นผืนตามลายที่วางไว้ ต้องค่อยๆ ดึงออก เป็นขั้นตอนที่ ยากที่สุด
47
4. กิ๊ก/ล้อ คือการนำ�ฝ้ายที่ตีแล้ว มาม้วนกับไม้ให้มล ี ก ั ษณะเป็นแท่ง ยาวประมาณ 1 คืบ ( 1 หาง / ปีด )
8. นำ � ฝ้ า ยที่ ใ ส่ ก ระสรวยมาทำ � การ ทอผ้าจนเป็นผืนผ้าไทลื้อที่งดงาม
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
วิถีผ้าไทใหญ่ หรือไตใหญ่ ชาวไทใหญ่เรียกตัวเองว่าไต ทีย ่ งั คงยึดมัน ่ ในวิถช ี วี ต ิ ก็มป ี ระเพณีวฒ ั นธรรม ภาษาพูด อักษร ฯลฯ ที่เป็นเอกลักษณ์ เช่น ฟ้อนไต ฟ้อนนก ฟ้อนเจิง ฟ้อนดาบ เครือ ่ งดนตรีโบราณ อาหารไตโดยเฉพาะถัว่ เน่า ข้าวแรมฟืนก็ เป็นทีข ่ น ้ึ ชือ ่ ฯลฯ ชุดไตเป็นเครือ ่ งแต่งกายทีม ่ ศ ี ล ิ ปะ แสดงถึงความมีเอกลักษณ์ทโ่ี ดดเด่น ทางวัฒนธรรมสืบทอดต่อกันมา ตัง้ แต่บรรพบุรษ ุ ของชาวไต หรือชาวไทใหญ่ ชุดไต สำ�หรับผูช ้ าย ประกอบด้วย กางเกงขาก๊วย เรียกว่า ก๋นห่งย่ง หรือ ก๋นไต เป้าและขาเหมือนกางเกงชาวจีน เอวกว้างใช้พับทบเข้ามาให้พอดี กับเอว เรียกว่า “ก๋นไต” คาดด้วยเข็มขัด เสือ ้ ตัวในใช้เสือ ้ เชิต ้ มีเสือ ้ กล้าม รองชัน ้ ในอีกชัน ้ หนึง ่ เสือ ้ ตัวนอกเป็นเสือ ้ แขนยาว คอกลม ไหล่เลยลงมา ต่อตะเข็บตรงกึ่งกลางแขน เสื้อผ่าหน้าติดด้วยกระดุมขอดห้าคู่ ปัจจุบัน มีรป ู แบบหลากหลายมากขึน ้ มีทง ้ั แบบคอกลม แบบคอจีน มีการเดินเส้น ลวดลายรอบคอ รอบแขน รอบกระเป๋าเสือ ้ สวมหมวกทีม ่ ล ี ก ั ษณะเหมือน หูหนึง ่ ข้าง หรือเรียกหนึง ่ จอก หรือโพกผ้าบนหัว เรียกผ้าเคนหัว ปัจจุบน ั สวมใส่ใช้ในโอกาสทีเ่ ป็นงานในพิธี ชุดไต สำ�หรับผู้หญิง ผู้หญิงชาวไทใหญ่จะสวม เสื้อไตหน้าแว๊ด หรือ เสือ ้ แซค ซึง่ มีทง้ั แขนสัน ้ และแขนยาวหลากสี สาบเสือ ้ ป้ายทับไปทางด้านขวา ติดกระดุมผ้า หรือกระดุมเงิน ทอง หญิงสาวไว้ผมยาวมวยตัง ้ มี “กุก ๊ ” และ ไว้สต๊อก (ถ้าแต่งงานแล้วจะไม่มส ี ต๊อก) แม่บา้ นและคนแก่จะไว้ผมเกล้ามวย เยือ ้ งไปทางด้านหลัง ผูห ้ ญิงชาวไทใหญ่จะสวมซิน ่ หรือผ้าถุง หญิงสาวจะ นิยมใส่สส ี น ั ส่วนแม่บา้ นคนแก่จะใส่สเี ข้ม ซิน ่ ทีท ่ �ำ ด้วยเทคนิคมัดหมี่ เรียก ว่า “ซิน ่ ชินเหม่” ทัง ้ นีบ ้ างเทคนิคการทอบางผืนจะใช้จากการมัดหมีเ่ ส้นยืน ซึง่ เมือ ่ นำ�มาเย็บเป็นซิน ่ จะได้ลวดลายลิว่ ขวาง ลำ�ตัวคล้าย ซิน ่ ต๋า ของไทยวน
48
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
เชียงใหม่ ส่วนไทใหญ่บางกลุม ่ นิยมนุง ่ ซิน ่ ต๋า ซึง ่ มีลก ั ษณะแบบของไทลือ ้ ชาวไทใหญ่ในราชสำ�นัก นำ�ผ้าซิน ่ แบบซิน ่ ลุนตยา มาใช้ในโอกาสพิเศษด้วย เพราะซิน ่ จะแสดงออกถึงความมีฐานะอีกด้วย เสือ ้ ไตหน้าแว๊ด หรือเสือ ้ แซค ไม่ตอ ่ ไหล่หรือ แขนเลย แขนเสือ ้ เป็นผ้าชิน ้ เดียวกับตัวเสือ ้ แขน สัน ้ ยาวแล้วแต่ผส ู้ วมใส่ชอบ มีไม่มล ี ายปัก ในยุค ต่อมานิยมปักรอบคอเสือ ้ รอบตัวเสือ ้ รอบแขน มากขึน ้ อาจจะมีลายปักทีห ่ น้าแว๊ด ส่วนใหญ่เป็น รูปดอกไม้ ไม่มเี กร็ดเสริมหน้า-หลัง ถือเป็นเสือ ้ ไต โบราณ ชายเสือ ้ สัน ้ เท่าเอว ติดกระดุมขอดห้าคู่ หรือ ติดกระดุมเงิน กระดุมทอง หรือกระดุมพลอย เสือ ้ ไตต่อเอ็นหลัง หน้าตรง แบบคอกลม ผ่า หน้า ไม่ตอ ่ ไหล่หรือแขนเลย มีแบบแขนสัน ้ และ แขนยาว มีไม่มล ี ายปัก ไม่มเี กร็ดเสริมหน้า-หลัง ติดกระดุมขอดห้าคู่ หรือ ติดกระดุมเงิน กระดุม ทอง หรือกระดุมพลอย ปัจจุบันรูปแบบมีท้ัง คอจีน คอวี มีการปักลาย หรือใช้ผา้ ลูกไม้ ปักลาย จะตัดให้พอดีตวั เสือ ้ ไตหน้าแว๊ดไม่ตอ ่ แขนหรือแขนเลย นิยม ตัดพอดีตวั มีแบบต่อเอ็นหลัง-ต่อเอ็นหน้า ต่อ เอ็นหลัง-ไม่ตอ ่ เอ็นหน้า ชายเสือ ้ สัน ้ เท่าเอว มีเกล็ด หน้าหลัง หรือไม่มีเกล็ดก็ได้ ส่วนการปักนั้นขึ้น อยู่กับความชอบของผู้สวมใส่ มีท้ง ั แขนสั้นและ
แขนยาว นิยมติดกระดุมขอด กระดุมแป้ก ใช้ผา้ หลากหลายชนิด เช่น ผ้าแก้ว ผ้าฝ้าย ผ้าคอตตอน ลูกไม้ ผ้าชีฟอง ฯลฯ เสือ ้ ไตหน้าแว๊ดต่อไหล่ ปัจจุบน ั นิยมตัดแบบต่อ ไหล่มากขึน ้ เนือ ่ งจากเข้ารูปและสวยงาม เหมาะกับ รูปร่างผูส ้ วมใส่ นิยมตัดแบบไม่ตอ ่ เอ็นหลัง แต่ตอ ่ เอ็นหน้าหรือไม่ตอ ่ ก็ได้ นอกจากคอกลมแล้ว ยังมี คอวี คอรูปหัวใจ ฯลฯ ติดกระดุมขอด กระดุมมุก กระดุมแป้ก กระดุมอัด
หมวก จะทีม ่ ล ี ก ั ษณะเหมือนหูสองข้าง หรือเรียก
สองจอก หรือโพกผ้าบนหัว เรียกผ้าเคนหัว ปัจจุบน ั สวมใส่ใช้ในโอกาสที่เป็นงานในพิธีสำ�คัญต่างๆ
ผ้าซิน ่ หรือผ้าถุง จะใช้ผา้ ที่มีลวดลายเป็นส่วนใหญ่ เย็บตะเข็บเดียวเป็นผ้าถุง ธรรมดา สมัยก่อนจะใช้ ผ้ า เนื้ อ นิ่ ม สี ดำ � ต่ อ ตรง เอวเรียกว่า “หัวซิน ่ ” เวลา นุง ่ ผ้าก็จะเหน็บชายหัว ซิ่ น ได้ แ น่ น ใช้ เ ข็ ม ขั ด เงินคาดทับผ้าซิน ่ แต่ละ แบบทีผ ่ ห ู้ ญิงไตนิยมใช้ จะเรียกต่างๆ กันไป
49
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
ก ุ น ส ม ร่ว รับของที่ระลึก
สแกนเพื่อร่วมสนุก รับของที่ระลึก ได้ที่นี่
ดาวน์โหลดแผ่นพับนี้ได้ที่นี่
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ททท. สนง.เชียงราย โทร. 0 5374 4674 - 5 E-mail: tatchrai@tat.or.th
50
ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม online ได้ที่นี่
เสน่ห์วิถีแห่งผ้า เชียงราย - พะเยา
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) สำ�นักงานเชียงราย 448/16 ถนนสิงหไคล อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57000 โทร. 0 5371 7433, 0 5374 4674 - 5 E-mail: tatchrai@tat.or.th