TAWAN TANTANNASAN | PORTFOLIO 2022

Page 1

URBAN DESIGN PORTFOLIO , 2018-2021

หน้าปก

TAWAN TANTANNASAN


URBAN DESIGN PORTFOLIO , 2018-2021 DEPARTMENT OF URBAN AND REGIONAL PLANNING FACULTY OF ARCHITECTURE , CHULALONGKORN UNIVERSITY

TAWAN TANTANNASAN

,


TAWAN TANTANNASAN EXPERIENCE 2018 LIGHTING DESIGN TEAM : ครบเด็กสร้างบ้านต่างวัยใจเดียว

THE FACULTY OF ARCHITECTURE CHULALONGKORN UNIVERSITY ALUMNI ASSOCIATION

2019-2020 STAGE TEAM : ถาปัดการละคร | เจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้ ARCH CU ENTERTAINMENT

AWARDS 2020 ATTENDANCE | THAI-JAPAN BRIDGE THE FIRST PHASE RAMA4 SMART CITY 2020

2021 CONSOLATIONS PRIZE | SEVEN-ELEVEN SHOOTHING STORE DESIGN CONTEST CONVENIENCE STORE ON MARS 2021

2021 THE SECOND PLACE PRIZE | SUD-SARDS NEWKHAO PATTAYA LANDMARK DESIGN COMPETTITION 2021

TAWAN TANTANNASAN

SKILL

TAWAN 28 JUNE 2000 BANGKOK , THAILAND

+66 993 526704 IG :TIAWAKORN

BASIC SKILL AUTO CAD SKETCHUP RHINO LUMION ARCMAP ARCSCENE ADOBE PS ADOBE AI HAND DRAWING LANGAUGE THAI

EDUCATION

INTEREST

2006-2017 SCI-MATH PROGRAM WAT RAJABOPIT SCHOOL

CONSERVATION, URBAN DESIGN, COMMUNITY DESIGN, SURVEY, COLLECT DATA, CULTURE, THAI WALL TRADITIONAL PAINTINGS

CONTACT EMAIL

6134612525@student.chula.ac.th

2018-PRESENT DEPARTMENT OF URBAN AND REGIONAL PLANNING FACULTY OF ARCHITECTURE CHULALONGKORN UNIVERSITY


COMPETTITION PROJECT DESIGN URBAN PROJECT DESIGN PROJECT

01 03 05 07

SUD-SARDS

11

KHONG BANGNA BACKYARD

15 17 19

BANG SUE-TAO POON ECO DEVELOPMENT WITH SOCIALITY MIX USE | 2021

21 23

THE WAVE

27 29

A PUBLIC SPACE FOR THE SOI SOCIETY

31

HIGH-RISE DISTRICT | 2021

33 35

TUK SOMDEJ PHA SANGKHARAT

| 2021

NEWKHAO PATTAYA LANDMARK DESIGN COMPETTITION 2021

SEVEN-ELEVEN SHOOTHING STORE | 2021 DESIGN CONTEST CONVENIENCE STORE ON MARS 2021

THAI-JAPAN BRIDGE | 2020 THE FIRST PHASE RAMA4 SMART CITY 20210

AÓM-GORD

KHONKAEN TOD SPCIFIC PLAN 2021

| 2021

BANGNA , BANGKOK

| 2021

BANGSUE , BANGKOK

JAHB | 2021 BANGPHO , BANGKOK

LINEAR CHIANG RAK HOUSEING ESTATE | 2020 CHIANG RAK , PATHUM THANI

BANGNA , BANGKOK

| 2020

SANMANTAPERO HYPOTHETICAL PLACE

| 2019

BANGSUE , BANGKOK

SUMERU-LANDSCAPE PROJECT DUSIT , BANGKOK

| 2021

PHAYA THAI , BANGKOK

ASSUMPTION PROJECT AND WRITING ARTICLE : LOPBURI , LOPBURI

CHULA FOR ME | 2021 DESIGN PHOTO : CHULALONGKORN , BANGKOK

| 2021

| 2021


CONTENTS


SUD-SARDS

| 2021

NEWKHAO PATTAYA LANDMARK DESIGN COMPETTITION 2021

SEVEN-ELEVEN SHOOTHING STORE | 2021 DESIGN CONTEST CONVENIENCE STORE ON MARS 2021

THAI-JAPAN BRIDGE | 2020

THE FIRST PHASE RAMA4 SMART CITY 20210

AÓM-GORD

| 2021

KHONKAEN TOD SPCIFIC PLAN 2021


COMPETTITION PROJECT


PAGE 01

SUD-SARDS

| 2021


SUD-SARDS

PAGE 02

| 2021

SUD-SARDS

| 2021

NEWKHAO PATTAYA LANDMARK DESIGN COMPETTITION 2021 AWARD

THE SECOND PLACE PRIZE

PARTNERS

NUTTANON NIPATCHAROEN SUPPANUT RITHWIROON CHUCHANANAN KUSUWAN

พื้นที่เขาพัทยาเป็นส่วน หนึ่งของการพัฒนา “NEO Pattaya” พัทยาโฉมใหม่ ใส่ใจไม่ทิ้งกัน” ในเขตของพัทยาใต้ที่พัฒนาให้เขาเป็นพื้นที่ สาธารณะที่ทุกคนเข้าถึงได้การออกแบบของโครงการจึงเน้นการใช้งานของ ทุกคน ทั้งนักท่องเที่ยวและคนในพื้นที่ โครงการออกแบบของเราจึงให้ความ สนใจในการพัฒนาเขาที่ยึดโยงกับพื้นที่ เพื่อให้โครงการของเราสามารถ พัฒนาแห่งนี้ให้พื้นที่สาธารณะแห่งใหม่ ที่สามารถเป็นจุดเริม ่ ต้นที่ทุกคนใน เมืองพัทยา สามารถรับรูแ ้ ละเข้าถึงได้ในทุกระดับที่หลายผ่านกิจกรรม การ พัฒนาเริม ่ จากการปรับปรุงพื้นที่ การใช้งานในการเชื่อมต่อที่มุ่งเข้าถึงระบบ ราง และคืนพื้นที่สีเขียวให้กับเขาจากการยกเลิกถนนบางเส้นบนเขาออก เพื่อให้เปิดการใช้งานในการเดินเท้าที่จะพัฒนาเป็นทั้งทางออกกําลังกายของ คนในพื้นที่ เพิ่มพื้นที่ในมุมมองเก่าที่สามารถสร้างการรับรูแ ้ บบใหม่ของทุก คนที่เข้ามาใช้งาน ทั้งโครงการปรับปรุงโครงสร้างอาคารที่กําลังรอการรือ ้ ถอนเปลี่ยนเป็นอาคารที่เชื่อมโยงกับพื้นที่ผ่านการเปลี่ยนถ่ายทั้งระบบราง ระบบถนน ระบบทางเท้า ระบบเรือ ที่จะสร้างให้เกิดพื้นที่คอมเมอร์เชี่ยวแห่ง ใหม่ที่เจ้าของพื้นที่โครงการร่วมกับรัฐ สร้างรายได้และลดความสูงของ โครงสร้างอาคารเดิมพร้อมนําโครงสร้างอาคารเก่ามาใช้งานให้เกิด ประโยชน์ ไม่เพียงเท่านั้นการเชื่อมต่อพื้นที่ภายใต้โครงการปรับปรุงอาคาร เป็นจุดเริม ่ ต้นที่ จะนํามาพัฒนาพื้นที่รอบเขาพัทยาให้เป็นพื้นที่ TOD แห่ง ใหม่ ที่จะสร้างให้เกิด The Word Class Green Innovative Tourism City ซึ่งจะประกอบด้วยพื้นที่ ที่อยู่อาศัย พาณิชยกรรมและโรงแรม รวมไปถึงการ สร้างการเชื่อมต่อ การขึ้นเขารูปแบบใหม่จากการขึ้นเขาผ่านระบบเปลี่ยน ถ่ายจากรางและถนน สู่กระเช้าที่มาพร้อมกับสร้างจากพื้นที่ Tod นี้จุด มุ่งหมายของการพัฒนาพื้นที่สร้างแนวคิด การพัฒนาโครงการผ่านการเป็น คลื่นลูกใหม่ที่ซัดเข้าชายหาดของพัทยา ที่มีความหลากหลายทั้งรูปแบบการ เคลื่อนไหวจากการไหลของคลื่น และความรูส ้ ึกผ่านระยะเวลา จนเกิดมนต์ ขลังซึมซับสู่ความรูส ้ ึกของผู้คนทุกครัง้ ที่เข้ามาพัทยาแห่งนี้ แนวคิดนี้ถูกถ่าย โอนออกแบบผ่านการวางผังพื้นที่ การใช้งานพื้นที่และกิจกรรมที่ทําให้คน ใน พื้นที่และนอกพื้นที่เข้ามาใช้งาน การวางเส้นสายการออกแบบที่โดดเด่น และ ความรูส ้ ึกผ่านการรับรูพ ้ ัทยาในมุมสูงรูปแบบใหม่ที่ สร้างความรูส ้ ึกในแต่ละ จุดของพื้นที่ไม่เหมือนกัน การรับรูผ ้ ่านมุมมองและกิจกรรมในพื้นที่ไม่เพียง แค่เป็นการฟื้ นฟูเขาพัทยาให้มีสีสัน แต่เป็นจุดเริม ่ ต้นจุดหนึ่งที่จะทําให้ พัทยา กลายเป็นเมืองโฉมใหม่ ที่ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง


PAGE 03

SUD-SARDS

| 2021


SEVEN-ELEVEN SHOOTHING STORE | 2021

PAGE 04

SEVEN-ELEVEN SHOOTHING STORE

| 2021

DESIGN CONTEST CONVENIENCE STORE ON MARS 2021 AWARD

CONSOLATIONS PRIZE

PARTNERS

DARUN TIRANARAT SIRAWIT PHONPETCH

การออกแบบร้าน สะดวกซื้อ 7 -Eleven on MARS หรือ ร้าน สะดวกซื้อบนดาวอังคาร โดยการออกแบบ ทางกลุ่มผู้ออกแบบ เน้นเรือ ่ งการ ค้าบนอาวกาศผ่านการคิดด้วยหลักโลจิสติกส์ ที่ต้องการนําสินค้าไปขายบน ดาวอังคารอย่างไรให้สามารถเกิดคุ้มค่าและไม่เสียค่าใช้จ่ายเรือ ่ งการขนส่ง มากเกินไปและรักษาคุณภาพสินค้า ที่นํามาจากโลกเนื่องจาก บนดาวอังคาร ไม่สามารถเป็นฐานผลิตที่ผลิตสินค้าได้มากพอที่จะเป็นฐานผลิตสินค้าด้วย ตัวเองและด้วยความต้องการในด้านการบริโภคอาจเป็นปัจจัยสําคัญที่ จําเป็นต้องนําเข้าสินค้าจากโลก ผ่านร้านสะดวกซื้อ บนฐานแนวคิดที่ส่งเสริม ให้โลกและดาวอังคารสามารถเข้าถึงกันได้ผ่านสินค้าและบริการด้านโลจิสติ กส์ของ 7 -Eleven on MARSโดยเริม ่ จากการออกแบบสถานีอวกาศที่เป็น เหมือนสํานักงานใหญ่ และโกดังสินค้า และรวมถึงเป็นสาขาอวกาศที่พร้อม ให้นักบินอวกาศสามารถแวะพักได้ โดยหน้าที่ของ สถานนีอวกาศ 7 -Eleven นี้จะเป็นจุดในการรวมสินค้าจากโลกเข้ามาไว้ที่สถานี และจัดส่งผ่าน Stock ball คล้ายกล่องพัสดุที่สามารถรักษาคุณภาพสินค้า ภายใน Stock ball โดย มีหลายขนาดขึ้นอยู่กับขนาดสินค้าและปริมาณสินค้าที่ต้องการจัดส่งลงไป บนดาวอังคาร หลักการใช้งาน Stock ball นั้นเริม ่ จากการรับสินค้าที่ สถาน นีอวกาศ 7 -Eleven ตามคําสั่งซื้อของบุคคลที่สั่งบนดาวอังคาร และทาง เจ้าหน้าที่สถานนีอวกาศ 7 -Eleven จะกําหนดพื้นที่ผ่านอุปกรณ์กําหนด พิกัดและคํานวนจัดส่งลงไปยังพื้นที่ด่วยแรงโน้มถ่วง บนดาวอังคารเพื่อลด พลังงาน และเมื่อถึงพื้นดาวอังคาร Stock ball จะเคลื่อนที่ด้วยโปรแกรมที่ ถูกกําหนดไว้ไปยัง ที่พักของผู้จัดส่งบนดาวอังคาร เพื่อความสะดวกและ ความปลอดภัยของผู้ใช้งาน 7 -Eleven on MARS นอกจากนั้น Stock ball ยังสามารถเป็นตู้สะดวกซื้อในการใช้งานได้โดยสามารถติดตาม นักสํารวจ ดาวอังคารไปยังพื้นที่สํารวจ พื้นที่สํานักงานบนดาวอังคารของนักสํารวจ ดาวอังาร เพื่ออํานวยความสะดวกและความปลอดภัยให้กับผู้อยู่อาศัยบนดา อังคารให้เกิดความสะดวก และเพื่อหน้าที่ของ Stock ball หมดหน้าที่บน ดาวอังคารตามโปรแกรม Stock ball ก็สามารถนํามาใช้ใหม่ได้ โดยจะ เจ้าหน้าที่ สถานนีอวกาศ 7 -Eleven จะรวบรมมและนํา Stock ball ถูกใช้ งานเรียบร้อยแล้วกลับขึ้นไปบนสถานนี 7 -Eleven เพื่อกลับมาใช้งานได้อีก


PAGE 05

SEVEN-ELEVEN SHOOTHING STORE | 2021


THAI-JAPAN BRIDGE | 2020

PAGE 06

THAI-JAPAN BRIDGE | 2020 THE FIRST PHASE RAMA4 SMART CITY 2010 AWARD

ATTENDANCE

การออกแบบพื้นที่เริม ่ ต้นของการพัฒนาพื้นที่ย่าน พระราม 4 เพื่อให้เกิด SMART CITY นั้นควรเริม ่ จากการพัฒนา พื้นที่ให้เกิดการพบปะและพื้นที่สาธารณะ เพื่อกระตุ้นพื้นที่ ทั้ง ทางการเชื่อมต่อ คุณภาพชีวิต และพื้นที่สาธารณะ เพื่อให้เมืองเกิด กิจกรรมมากยิ่งขึ้น โดยการออกแบบเห็นศักยภาพ ช่วงต้นของ สะพานไทย-ญี่ปุ่น ที่สามารถลดการสัญจร ให้พื้นที่ทางขึ้นสู่สะพาน ด้วยรถยนต์นั้นสามารถขึ้นได้ในช่วง ถนนสายอื่นและพัฒมนาพื้นที่ สพพานในช่วง สี่แยกสามย่านให้เกิดพื้นที่สาธารณะที่สามารถเชื่อม ต่อและเชื่อมโยงอาคารผู้คนกิจกรรเข้าไว้ด้วยกัน และนอกจากนั้น โครงการยังพัฒนาพื้นที่ให้สามารถ ออกแนวทางการออกแบบ เพื่อ ลดระดับรัว่ ในพื้นที่ราชการหลายพื้นที่ ที่อยู่ติดถนนพระราม 4 ให้ เกิดทางสัญจรทางเท้าที่มากยิ่งขึ้น และเข้าถึงอาคารสาธารณะ หลายอาคารในถนนพระราม 4 ได้ดียิ่งขึ้น และจุดการเชื่อมต่อและ พื้นที่สาธารณะนี้เองจะทําให้พื้นที่ พระราม 4 สามารถกลายเป็น พื้นที่ SMART CITY ได้อย่างดีเยี่ยม


PAGE 07

AÓM-GORD

| 2021


AÓM-GORD

| 2021

PAGE 08

AÓM-GORD | 2021

KHONKAEN TOD SPCIFIC PLAN 2021 AWARD

PENDING JUDGMENT

COLLABORATE

SUPPANUT RITHWIROON KORAPHAT SAENGSUKSAWANG

ใต้การพัฒนาเมืองใหม่ของพื้นที่ TOD ขอนแก่นสู่เมืองน่า อยู่ของภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การพัฒนาที่หลาหลายเพื่อ เชื่อมต่อการเข้าถึงของภูมิภาคและประเทศ นํามาสู่การพัฒนาระบบ รางทั้งรางเบาของรถไฟเดิมที่เชื่อมขอนแก่น และประเทศและ รถไฟฟ้าความเร็วสูงที่จะนํา เมืองขอนแก่นสู่เมืองน่าอยู่และเป็น เมืองแห่งอนาคต พื้นที่หน้าสถานีรถไฟฟ้าจึงเป็นสิ่งสําคัญที่จะสร้าง City branding ได้อย่างดีและตอบสนองความต้องการใช้พื้นที่ สาธารณะของผู้คน ตามการพัณนาเมือง ในรูปแบบ tod การพัฒนา เมืองนี้สร้างการใช้งานที่สร้างพื้นที่และผู้คนทั้งพื้นที่เมืองและเมือน ที่ลานเมือน โดย ทางโครงการเมืองขอนแก่น เมืองแห่งใหม่ได้สร้าง พื้นที่การเชื่อมต่อผู้คนสู่ลานกิจกรรมที่จะมอบทั้งความโดดเด่นทาง ด้านสัญลักษณ์ กิจกรรมและภาพจําสู่นครขอนแก่นแห่งนี้“สู่ มาตุภูมิ” แนวคิดของการออกแบบโครงการในพื้นที่หน้าสถานี โอบ กอดแห่งบ้านใต้ความอบอุ่นของบ้านเกิด ประตูบานแรกที่จะนําผู้คน ของเมืองเมืองขอนแก่นระบบ รางเป็นส่วนหนึ่งที่เชื้อเชิญผู้คนสู่บ้าน ความอบอุ่นของของความรูส ้ ึกผ่านการโอบล้อม ของลานเมืองที่ยก ระดับและการออกแบบ Design Guildline ให้กับพื้นที่รอบสถานีที่ จะทําให้ผู้คนที่มาทางรางเป็นรูส ้ ึกได้ถึงอ้อมกอดของมาตุภูมิ และ เส้นทางที่เป็นประตูสู่เมืองขอนแก่น จากการส่งต่อมุมมองของแนว ตึกต่อแนวถนนที่เข้ากับทางออกสถานีที่ นอกจากรับรูพ ้ ื้นที่ที่โอบ กอดแล้วยังรับรูถ ้ ึงประตูของเมืองขอนแก่น นอกจากการต้อนรับ ผู้คนแล้วลานแห่งนี้ยังส่งต่อการใช้งานแก่คนในพื้นที่ ทั้งกลุ่มคนใน พื้นที่การแยกพื้นที่รถยนต์และทางเท้าสู่การใช้งานพื้นที่ ที่ไม่ถูก ตัดขาดเช่นอดีตทําให้ เกิดพื้นที่สวนสาธารณะแก่คนในพื้นที่และ สามารถปรับการใช้งานมาเป็นพื้นที่จัดงานต่างๆ ในเทศการเพื่อ ดึงดูดการท่องเที่ยวและการลงทุนในอนาคต


KHONG BANGNA BACKYARD | 2021 BANGNA , BANGKOK

BANG SUE-TAO POON ECO DEVELOPMENT WITH SOCIALITY MIX USE | 2021 BANGSUE , BANGKOK

JAHB | 2021

BANGPHO , BANGKOK

LINEAR CHIANG RAK HOUSEING ESTATE | 2020 CHIANG RAK , PATHUM THANI

THE WAVE

BANGNA , BANGKOK

| 2020

SANMANTAPERO HYPOTHETICAL PLACE

| 2019


DESIGN URBAN PROJECT


PAGE 11

KHONG BANGNA BACKYARD

| 2021


KHONG BANGNA BACKYARD

| 2021

PAGE 12

KHONG BANGNA BACKYARD | 2021 BANGNA , BANGKOK

พื้นที่บางนาหากเรามองในมุมมอง ของพื้นที่จากปัญหา ผ่านอดีต จะเห็นความเป็นมาของพื้นที่ ที่รุง่ โรจน์ของพื้นที่ จากการ ค้าขายและเกษตรกรรม โดยพื้นที่สร้างความยิ่งใหญ่จากการเกาะ กันของชุมชนริมนาเจ้าพระยา ก่อนเติบโตผ่านพื้นที่เกษตร เข้ามาสู่ พื้นที่ชั้นใน แต่ความรุง่ โรจน์เหล่านี้ก็เรืม ่ เสื่อมสลายจากระบบรางใน พื้นที่ที่มาจากพระนครชั้นใน สู่พื้นที่สมุทรปราการ และความ เสื่อมโทรมก็เริม ่ ปรากฏชัดผ่าน ถนนสายรัศมี(ถนนบางนา-บางประ กง)ที่พาดผ่านเอาทั้งความสัมพันธ์ของพื้นที่ และความรุง่ โรจน์ของ พื้นที่บางนาและที่สําคัญคือคลองบางหายไป ทั้งการใช้งานผ่านการ สัญจร เกษตรกรรม คงเหลือเพียงซากคลองที่เป็นแหล่างเสื่อมโทรม ของย่านและป็นพื้นที่ปัญหา ด้านสิ่งแวดล้อมพื้นที่หนึ่งของพื้นที่บาง นา-ตราด และปัญหาอื่นตามมา


PAGE 13

KHONG BANGNA BACKYARD

| 2021


KHONG BANGNA BACKYARD

| 2021

PAGE 14

KHONG BANGNA BACKYARD | 2021 BANGNA , BANGKOK

แต่ปัญหาเป็นเพียงพื้นที่บดบัง ความสามรถที่แท้จริงของ คลองเดิม เพราะหาก มองความสามารถของคลองเป็นพื้นที่ที่ สามารถพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาของพื้นที่ เดิมตัวอย่างเช่นพื้นที่ไม่ เชื่อมต่อและเป็นพื้นที่ ที่จําเป็นต้องใช้รถยนต์เพื่อขับเคลื่อนวิถีแห่ง ชีวิตของย่านนี้แต่หากนําศักยภาพ คลองนี้จากความสามารถดั้งเดิม ด้านการเชื่อมต่อมาพัฒนาต่อยอดพื้นที่คลองแห่งนี้ สามารถสร้าง การเชื่อมต่อพื้นที่ และลดทั้งระยะเวลา การเดินทางและเปลี่ยนการ เดินทางจากรถยนต์สู่การเดินทางด้วยระยะทางเท้า ทางจักรยาน และพื้นที่เชื่อมต่อนี้ไม่เพียงแค่เกิดพื้นที่ เชื่อมต่อเท่านั้นยังสามารถ พัฒนาพื้นที่สู่พื้นที่ บําบัดนา ระบายนาและจัดการนา พร้อมทั้งพื้นที่ สาธารณะในบางช่วงของคลอง นอกจากนั้นแล้วยังสามารถส่งเสริม การพัฒนารอบข้างได้ด้วย เพื่อเชื่อมผู้คน ชุมชน ย่าน เมือง เข้าไว้ ด้วยกันผ่านพื้นที่คลองแห่งนี้


PAGE 15

BANG SUE-TAO POON ECO DEVELOPMENT WITH SOCIALITY MIX USE | 2021


BANG SUE-TAO POON ECO DEVELOPMENT WITH SOCIALITY MIX USE | 2021

PAGE 16

BANG SUE-TAO POON ECO DEVELOPMENT WITH SOCIALITY MIX USE | 2021 BANGSUE , BANGKOK PARTNERS

NUTTANON NIPATCHAROEN PANISA NA SONGKHLA PRAEWMUK ARTHITRUANGSIRI

พื้นที่ บางซื่อ-เตาปูนเป็นพื้นที่ได้รบ ั ความสนใจในการ พัฒนาในอนาคต โดยการพัฒนาเป็นส่วนหนึ่ง ของการพัฒนาพื้นที่ TOD และพื้นที่รถไฟฟ้า ทั้งแบบสายสีม่วงและ รถไฟฟ้าความเร็วสูง พร้อมทั้งสถานีกลางบางซื่อ ทําให้กลายเป็นพื้นที่น่าจับตามองใน การพัฒมนา การเสนอแนวทางการออกแบบ จึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจใน การพัฒนาเมือง และย่านทั้งสองย่านแห่งนี้ การเสนอเมืองนิเวศเป็น แนวทางการพัฒนาเมือง ที่จะส่งผลให้ย่านแห่งนี้ สามารถแก้ไข ปํญหาของย่าน และเกิดการ REDEVALOPMENT ในบางพื้นที่ เพื่อให้เกิดย่านและคุณภาพย่านที่ดีแก่ผู้คน ภายใต้แนวทางการ พัฒนานั้น ทําให้เกิดการพัฒนาพื้นที่ทั้ง ทางนา ทางพื้นดินและทาง ตั้ง ให้เกิด DESIGN GUILDLINEที่ดีกับคุณภาพทั้งการออกแบบ พื้นที่ที่เป็นสัดส่วน และอาคาร เพื่อให้พื้นที่เกิดนิเวศเมืองที่ดี ทั้ง ชุมชนและผู้เข้ามาใช้งานทั้งการทํางาน ท่องเที่ยว และอยู่อาศัย เพื่อให้นิเวศเมืองแห่งนี้เกิดผลดีกับทุกคนในเมือง


PAGE 17

JAHB | 2021


JAHB | 2021

PAGE 18

JAHB | 2021

BANGPHO , BANGKOK PARTNERS

NOPPAKRIT THANPIRIYAKORN

พื้นที่บางโพ และพื้นที่เตาปูน ยังคงความเป็นเมืองและวิถี ของย่านกึ่เก่าและใหม่ ของพื้นที่ได้อย่างดี แต่การพัฒนาที่เป็นสิ่งที่ หลีกเลี่ยงไม่ได้ การพัฒนาจึงต้องสร้างแนวทางการพัฒนาที่ เหมาะสมเพื่อเป็นส่วนหนึ่ง ที่จะสร้างตัวเลือกให้แก่เจ้าของพื้นใน การพัฒนา แนวทางหนุึ่งนั้นคือการสร้างพื้นที่ให้เกิด ADAPTIVE REUSE ที่เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาพื้นที่ จากอาคารเก่าที่มีควา งามและคุณค่า ที่สามารถเปลี่ยนการใช้งานเพื่อส่งเสริมการพัฒนา ของเมือง และอนุรก ั ษ์ พื้นที่ย่านเดิมให้ยังคงรุง่ เรืองต่อไปได้


PAGE 19

LINEAR CHIANG RAK HOUSEING ESTATE

| 2020


LINEAR CHIANG RAK HOUSEING ESTATE

| 2020

PAGE 20

LINEAR CHIANG RAK HOUSEING ESTATE | 2020 CHIANG RAK , PATHUM THANI

หมู่บ้านจัดสรรเชียงรากเป็นโครงการ ที่สร้างขึ้นเพื่อตอบ รับการพัฒนา จากการสร้างผังเฉพาะ ผังจัดรูป ที่ได้รบ ั อิธพ ิ ลของ รถไฟฟ้าสายสีแดงที่ เข้ามาถึงพื้นที่ปริมณฑล ของจังหวัดปทุมธานี ทําให้การจัดสรรหมู่บ้านจึงเกิดขึ้นเป็นจํานวนมากและ หมู่บ้านนี้ก็ เป็นส่วนหนึ่งในพื้นที่ในหลายโครงการนั้น แต่ความน่าสรใจผ่านการ ออกแบบ คือการจัดสรรพื้นที่ โครงการจัดสรรทั้งสามโครงการ ห้เป็นโครงการเดียวจากพื้นที่พัฒนา ที่ถูกเวนคืนทําถนนสายย่อยทั้ง สองสาย และขนาบข้างด้วยถนนสายรอง ทําให้โครงการแห่งนี้เป็น โครงการหนึ่งที่น่าสนใจในเชียงรากทั้ง ทางด้านการเชื่อมต่อและ การเข้าถึงและการพัฒนาร่วมของทั้งสามโครงการ


PAGE 21

KHONG BANGNA BACKYARD

| 2021


KHONG BANGNA BACKYARD

PAGE 22

| 2021

THE WAVE

| 2020

BANGNA , BANGKOK

โครงการ THE WAVEเป็นโครงการพัฒนาโครงการหนึ่ง ที่ ถูกพัฒนา ริมรางรถไฟฟ้า เช่นโครงการอื่นท่พัฒนา ตามความ สัมพันธ์ ระหว่างพื้นที่และรถไฟฟ้า เช่นเดียวกับหลายโครงการ แต่ หากความพิเศษของ โครงการนี้คือการที่จะตั้งพัฒนาพื้นที่โครงการ ผ่าน พื้นที่จุกจอดแล้วจร และพื้นที่การพัฒนาอื่นแต่ด้วย ขนาด อาคารจอดแล้วจรนั้น เป็นขนาดอาคารที่ใหญ่ที่พร้อมตัดขาดพื้นที่ ออกจากกัน การออกแบบโครงการจึงสร้างความพิเศษผ่านการออก แบบอาคารที่เป็น อาคารเดียวและพัฒนาพื้นที่ผ่านจุดตัดและ เส้นทางเพื่อให้ คนในพื้นที่สามารถเข้าถึงพื้นที่นี้ได้โดยง่ายและ เข้าถึงพื้นที่รถไฟฟ้าได้โดยสะดวเโดยไม่ตัดขาดพื้นที่ออกจากกัน


SANMANTAPERO PAGE 23

| 2019


SANMANTAPERO

| 2019

PAGE 24

SANMANTAPERO | 2019

HYPOTHETICAL PLACE PARTNERS

SITTINON RUAMSUK

SANMANTAPERO เป็นโครงการออกแบบในพื้นที่สมมุติ จากการสร้างกระบวนการเข้าใจ การออกแบบด้วยแนวคิด METAPATTERM ใต้โจทย์การเคลื่อนที่ ( SWAM ) ผ่านการเป็นส่วน หนึ่งของเมืองร่วมกับเพื่อนร่วมชั้นเรียนคนอื่นๆ โดยการออกแบบมี ตัวแปรร่วมคือการพัฒนาเป็นพื้นที่ให้เกิดย่าน กามารมณ์และย่าน RED LIGHT DISTRIC ในพื้นที่ การออกแบบจึงพัฒนาตัวแบบตาม คือการเคลื่อนที่ ของ META RAYS หรือปลากระเบนราหู โดยจัดการ เคลื่อนทีรูปแบบการหาคู่เพื่อผสมพันธุ์ ผ่าน DIAGRAM สู่การออก แบบย่านที่สร้างโครงสร้าง ช่องเปิด พื้นที่ใช้งงานและการจัดระบบ ของ META RAYS SWAM METAPATTERM DIAGRAM ที่สร้างให้ พื้นที่เกิดการใช้งานที่ต่างกัน ในส่วนที่โครงสร้างที่เปิดช่องเปิดที่ แตกต่างกันเป็นกิจกรรมต่างๆในพื้นที่แห่งนี้


A PUBLIC SPACE FOR THE SOI SOCIETY BANGSUE , BANGKOK

| 2021

SUMERU-LANDSCAPE PROJECT | 2021 DUSIT , BANGKOK

HIGH-RISE DISTRICT | 2021 PHAYA THAI , BANGKOK

TUK SOMDEJ PHA SANGKHARAT | 2021

ASSUMPTION PROJECT AND WRITING ARTICLE : LOPBURI , LOPBURI

CHULA FOR ME

| 2021

DESIGN PHOTO : CHULALONGKORN , BANGKOK


DESIGN PROJECT


PAGE 27

A PUBLIC SPACE FOR THE SOI SOCIETY

| 2021


A PUBLIC SPACE FOR THE SOI SOCIETY

| 2021

PAGE 28

A PUBLIC SPACE FOR THE SOI SOCIETY | 2021 BANGSUE , BANGKOK

PARTNERS

NUTTANON NIPATCHAROEN

ถนนบางนา ตราดเป็นถนนสายประทานเส้นหนึ่งที่เป็น หลอดเลือดสําคัญของกรุงเทพฯ ที่เชื่อมต่อถาคตะวันออกของ ประเทศผ่านการ ขนส่งผู้คน สินค้า อุตสาหกรรม การท่องเที่ยวและ การพัฒนา ทําให้ถนนแห่งนี้มีโครงสร้างที่หญ่ และยาว โครงสร้างนี้ เองเป็นส่วนหนึ่งที่ทําให้พื้นที่ของเมืองถูกตัดขาด ออกจากกัน โดย พื้นที่เหล่านี้ ไม่เคยเชื่อมต่อกันภายใต้ถนนเส้นนี้ เริม ่ กําเหนิดขึ้น ทําให้ปัจจัยของโครงการในการด้านการสร้างความเชื่อมต่อเป็น ปัจจัยหนึ่งที่จะส่งผลต่อการพัฒนาในอนาคต โครงการนี้จึงสร้าง แนวทางและการเสนอ ผ่านพื้นที่โครงการการใช้งาน ที่หลากหลาย เพื่อเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าในอนาคต และซอยที่หลากหลายภายในย่า บางนานี้ นอกจากนั้นแล้วยังเสนอเรือ ่ งของกรจัดการนา พื้นที่ สาธารณะ การแแกแบบอาคาร การใช้งงาน และพลังเพื่อให้เกิด การใช้งานที่คํานึงถึงสิ่งแวดล้อม


PAGE 29

SUMERU-LANDSCAPE PROJECT


SUMERU-LANDSCAPE PROJECT

PAGE 30

SUMERU-LANDSCAPE PROJECT | 2021 DUSIT , BANGKOK PARTNERS

KORAPHAT SAENGSUKSAWANG CHUTIKARN SARUTIAMPORN NAPHATSAYAN SAENGSAYAN NONTAPAT JIRAPATTANANAN PHICHAYUT LOYWATTANAKUL RATCAHAPHAK RATTANABURI SARAN THAMROMDEE

การออกแบบ โครงการต้องการนําเสนอพื้นที่โดยเคารพ แนวคิดการออกแบบโครงการเดิม โดยวิเคราะห์จากโครงการเดิมที่ มีแนวความคิจากไตรภูมิ ที่เป็นที่ประดิษฐาานของพระอินทร์ เป็นที่ อยู่ของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ โดยโครงการนําหลักของเขาพระสุเมรุใน ไตรภูมิมมาตีความการออกแบบผ่านแนวคิดภายในโครงการ เมื่อมี ยอดเขาพระสุเมรุ วิถีโคจรของพระอาทิตย์และพระจันทรื ในการ ออกแบบอาคารเดิม การนําเอาหลังของพื้นที่ภูมิทัศน์ของเขาพระ สุเมรุมาใช้ในการออกแบบ โดยถ่ายลงพื้นที่ออกแบบผ่านรูปลักษณ์ และแบบอาคารทั้งรูปทรงและส่วนยอดอาคาร ที่ประดิษฐ์ฐาน พระ สยามเทวาธิราชที่เป็นสิ่งเสมือนผู้ปกป้อง ประเทศแห่งนี้ไว้โดยนํา รากฐาน ของการวนรอบของวงโครจรมาใช้งงานหากเปรียบเทียง ความดีจากยอดเขาพระสุเมรุ เปรียบเทียบ สส. สว. เป็นพระอาทิตย์ และพระจันทร์ เราจึงเปรียบเทียบประชาชนเป็นดวงดาว ที่เป็นส่วน หนึ่งที่จะทําให้จักรวานครบสมบูรณ์ และจําลองพื้นที่ประชุมผ่าน ห้องสุรย ิ าและจันทรา โดยแนวคิดเหล่านี้ ขากประชาชนในพื้นที่ การ ออกแบบภูมิทัศน์ของอาคารจึงต้องการเสริมแนวคิดของการนํา ประชาชนเข้า มาต่อยอดเข้ากับพื้นที่โดยให้ดวงดาวเคลื่อนผ่านภูมิ ทัศน์ของเขาพระสุเมรุ ผ่านพื้นที่โล่งที่เป็นพื้นที่จักรวาน ผ่านแนว สัตตบริภัณฑ์ และมหานทีสีทันดรสมุทรที่เปรียบเทียบพื้นที่ต่างๆ ทั้ง พื้นที่โล่ง พื้นที่service และพื้นที่รม ิ นาเจ้าพระยาการออกแบบพื้นที่ ทางแนวคิดลงสู่ส่วนของ การวางผังนั้น เรายกพื้นที่กิจกรรมทางเขา พระสุเมรุ ที่เป็นภูมิทัศน์ออกมาทั้งสามส่วนทั้งในส่วนของ ลาน จักรวาล เขาสัตตบรรบริภัณฑ์ และลานริมนามหานทีสีทันดรสมุทร ที่เป็นพื้นที่การเดินผ่านของดวงดาว ในรอบวงของจักรวาล และ กระจายออกเป็นสามส่วน ผ่านการใช้งานของสามส่วนในพื้นที่ โดย ลักษณะและการเข้าถึงสู่แนวคิด โดยแยกพื้นที่โครงการด้านภูมิทัศน์ ออกเป็นสามโครงการ คือโครงการลานหน้าอาคาร โครงการสัตต บริภัณฑ์ และโครงการริมนา นั้นและควบคุมการจัดองค์ประกอบ ผ่านการใช้งงาน ทั้งลานชุมนุม พื้นที่service ประชาชน พื้นที่แถลง การ พื้นที่จัดกิจกรรมริมนา สู่การเข้าถึงผ่านเส้นโคจรที่จะมีหน้าที่ ทอน ความรุนแรงการมองแกนของ เจดีย์เขาพระสุเมรุที่อยู่ตรง กลางโดยการนําสายตาเข้าสู่พื้นที่ต่างๆ ที่จะช่วยให้ประชาชนใช้งาน ได้ง่ายขึ้น


PAGE 31

HIGH-RISE DISTRICT | 2021


HIGH-RISE DISTRICT | 2021

PAGE 32

HIGH-RISE DISTRICT | 2021 PHAYA THAI , BANGKOK

การออกแบบอาคารสูงนั้น โดยอิสระผ่านการ ทําโครงการ เพื่อสร้างรูปแบบ อาคารที่ดึงดูความสนใจโดยใจความสนใจของ อาคารการพัฒนาอาคารใต้การออกแบบที่คพนึงเรือ ่ วของการใช้ งานในพื้นที่ พลังงาน แรงลม การรับการใช้งานและรูปด้านเพื่อสร้าง อาคารที่เป็นเอกลักษณ์ นั้นเขามอเป็นตัวเลือกหนึ่งที่นํามาออกแบบ ให้เกิดอาคาร ที่มีภาพจําผ่านรูปทรงที่แข็งแรงและงดงามสลับกับ ต้นไม้บนอาคาร ที่ให้ความรูส ้ ึกเช่นเดียวกับเขามอ


PAGE 33

TUK SOMDEJ PHA SANGKHARAT

| 2021


TUK SOMDEJ PHA SANGKHARAT

| 2021

PAGE 34

TUK SOMDEJ PHA SANGKHARAT | 2021

ASSUMPTION PROJECT AND WRITING ARTICLE : LOPBURI , LOPBURI PARTNERS

APIWIT WAILUNG TAN

งานศึกษาชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์ใน การสืบค้นการใช้งานใน อดีตของตึกสมเด็จพระสังฆราช อาคารร้างกลางเมืองลพบุรท ี ี่ปราก ฎในแผนที่ในช่วงเวลาเดียว กับรัชสมัยของสมเด็จพระ นาราย์มหาราช ซึ่งอาคารหลังนี้มีความคลุมเครือทั้งในการจดบันทึก การสร้างแผนที่ของชาวต่างชาติรวมถึงชื่ออาคาร แต่ด้วยสถานที่ตั้ง ที่ส่งผลให้อาคารหลังนี้มีความสําคัญ ในการออกแบบวางผังเมือง ละโว้ ในรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช โดยได้ทําการ ศึกษา จากการเปรียบเทียบอาคารร่วมสมัยที่หลงเหลือมาสู่ยุค ปัจจุบัน ในพื้นที่เมือง ลพบุร ี และศึกษาผ่านบันทึกทาง ประวัติศาสตร์ที่สามารถ นํามาวิเคราะห์ว่าแท้จริงอาคารหลังนี้มีค วามสําคัญอย่างใดกับเมืองละโว้และเหตุใดอาคารหลังนี้ จึงหมด ความสําคัญเช่นปัจจุบัน ผลการศึกษาพบว่าอาคารหลังนี้มี ความสําคัญผ่านการออกแบบ จากทั้งผู้มีส่วนร่วมของ คณะบาทหลวงที่มีความรูด ้ ้านการออกแบบ ผังเมืองและป้อมปราการ ตามแบบตะวันตก เข้ามารับการออกแบบ ผังเมืองและป้อมปราการของเมืองละโว้ซึ่งคณะบาทหลวงกลุ่มนี้เป็น ผู้อยู่ใต้การอารักขาของคริสตจักรนิกายคาทอลิก ที่เข้ามาเผยแผ่ ทางศาสนาในอาณาจักรอยุธยา สู่การสร้างพื้นที่แห่งนัยยะทาง สัญลักษณ์ของ ความโปรดปรานที่กษั ตริย์มีต่อคณะบาทหลวงและ คริสต์ศาสนา ในยุคนั้นผ่านอาคารหลังนี้ที่มีที่ตั้งประจันหน้ากับ พระราชวัง ก่อนที่อาคารหลังนี้จะถูกลดความสําคัญ จากเหตุผล ทางการเมือง ทั้งในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชและสิ้นสุด ความสําคัญหลังสิ้นรัชกาล ด้วยเหตุผลทางการเมืองระหว่างชนชั้น ปกครองและคริสต์ศาสนาด้วยเช่นกัน


PAGE 35

CHULA FOR ME

| 2021


CHULA FOR ME

| 2021

PAGE 36

CHULA FOR ME | 2021 DESIGN PHOTO : CHULALONGKORN , BANGKOK

ภาพถ่ายจุฬาฯใต้สถานการณ์โควิดที่ระบาด กับการถ่าย ภาพ ที่จะนําเสนอ “มุม” ของอาคารที่แตกต่างกัน ทั้งรูปทรงขนาด และความรูส ้ ึก ที่อาคารแต่ละอาคารมอบให้เช่นเดียวกับความรูส ้ ึกที่ อยู่ในพื้นที่จุฬาฯ ทั้งโปร่งโล่ง เจ็บปวด เสียดแทง มั่งคง ประจันหน้า เคียงข้าง หักมุม ซ่อนเร่น สงบ ป้องกัน รวมกลุ่ม จากภาพถ่ายที่นํา เสนอผ่าน “มุมอาคาร” และที่ผ่าน และการประกอบด้วย องค์ประกอบของท้องฟ้า สิ่งแวดล้อม และอาคารที่อยู่รว่ มกัน



URBAN DESIGN PORTFOLIO , 2018-2021 DEPARTMENT OF URBAN AND REGIONAL PLANNING FACULTY OF ARCHITECTURE , CHULALONGKORN UNIVERSITY

TAWAN TANTANNASAN (+66) 993 26704


URBAN DESIGN PORTFOLIO , 2018-2021

TAWAN TANTANNASAN


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.