ความรู้ในงานอาชีพ

Page 1

รหัสวิชา 2001-1001

เอกสารประกอบการสอน

ตามจุดประสงคและคําอธิบายรายวิชา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

เรียบเรียงโดย พิศมัย บุณยโสภณ บธ.บ.อุตสาหกรรมบริการ บธ.ม.การจัดการการตลาด


คําอธิบายรายวิชา ชื่อวิชา ความรูเกี่ยวกับงานอาชีพ

รหัสวิชา 2001 – 1001

จุดประสงครายวิชา 1. เพื่อใหเขาใจเกี่ยวกับมาตรฐานอาชีพ องคกรและการบริหารงานในองคกร หลักการปฏิบัติตน ในงานอาชีพ หลักการบริหารงานคุณภาพ สิ่งแวดลอมและความปลอดภัยในการทํางาน 2. เพื่อใหสามารถประยุกตใชความรูเกี่ยวกับงานอาชีพเพื่อการพัฒนาตนและงาน 3. เพื่อใหมีเจตคติที่ดีตองานอาชีพและหลักการบริหารงานใหมีคุณภาพและประสิทธิภาพ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู ความเขาใจเกี่ยวกับมาตรฐานอาชีพ องคกรและการบริหารงานในองคกร หลักการ ปฏิบัติตนในงานอาชีพ หลักการบริหารงานคุณภาพ สิ่งแวดลอมและความปลอดภัยในการทํางาน 2. ประยุกตใชความรูเกี่ยวกับงานอาชีพเพือ่ การพัฒนาตนเอง องคกรและงานอาชีพ 3. ประยุกตใชหลักการบริหารงานคุณภาพ สิ่งแวดลอมและความปลอดภัยในการปฏิบตั ิ งานอาชีพ คําอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ย วกับ มาตรฐานอาชี พ องคกรและการบริห ารงานในองคกร หลั กการปฏิ บั ติ ต น ในงานอาชีพ หลักการบริหารงานคุณภาพ สิ่งแวดลอมและความปลอดภัยในการทํางาน


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ

แผนผังมโนทัศน

หนวยที่ 1 1. อาชีพและการประกอบอาชีพ 2. ความสําคัญของอาชีพ 3. ประเภทของงานอาชีพ 4. ลักษณะของงานอาชีพ

ความรูเบื้องตน เกี่ยวกับงานอาชีพ อาชีพ

2

5. แนวทางการเลือกอาชีพ 6. คุณสมบัติเฉพาะของผูประกอบ อาชีพ 7. การมองเห็นโอกาสในการประกอบ อาชีพ 8. การตัดสินใจเลือกงานอาชีพ 9. ปจจัยสําคัญที่มีผลตอความสําเร็จ ในการประกอบอาชีพ 10. ประโยชนของงานอาชีพ


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ

3

สาระการเรียนรู 1.1 ความหมายของอาชีพและการประกอบอาชีพ 1.2 ความสําคัญของอาชีพ 1.3 ประเภทของงานอาชีพ 1.4 ลักษณะของงานอาชีพ 1.5 แนวทางการเลือกอาชีพ 1.6 คุณสมบัติเฉพาะของผูประกอบอาชีพ 1.7 การมองเห็นโอกาสในการประกอบอาชีพ 1.8 การตัดสินใจเลือกงานอาชีพ 1.9 ปจจัยสําคัญที่มีผลตอความสําเร็จในการประกอบอาชีพ 1.10 ประโยชนของงานอาชีพ

แนวคิดสําคัญ การประกอบอาชีพ หมายถึง การทํามาหากินของบุคคลในสังคม ไดรับคาตอบแทนเปนรายได นํ ามาจั บ จ ายใช ส อยเลี้ ย งดู ต นเองและสมาชิ กในครอบครั ว ให มีคุณภาพชี วิ ต ที่ดี มี ความเป น อยู ดี รัฐบาลมีรายไดจากการเสียภาษีของบุคคลที่ประกอบอาชีพ นํามาจัดสรรจายเปนคาใชจายในการ พัฒนาประเทศ ปจจุบันการประกอบอาชีพมีความหลากหลาย มีอาชีพแตกแยกยอยออกเปนอาชีพตาง ๆ ที่มี ความเฉพาะทางของอาชีพมากขึ้น ไดแก อาชีพวิศวกร นักบัญชี ชางแตงหนา นักสํารวจ และอาชีพอื่น ๆ การที่บุคคลในสังคมมีโอกาสประกอบอาชีพนับไดวาเปนการประสบกับความสําเร็จ และเปนความ ตองการสู ง สุ ด ในชี วิ ต โดยเฉพาะอย า งยิ ่ ง การได ป ระกอบอาชีพที่ตรงกับความรู ความสามารถ ความสนใจและความชอบ จะทําใหบุคคลนั้นเกิดความภาคภูมิใจและมีความสุข การเตรียมความพรอมและการวางแผนในการเขาสูการประกอบอาชีพ จึงเปนเรื่องจําเปนที่ บุคคลตองใหความสําคัญ เพื่อชวยใหตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพไดสอดคลองกับคุณสมบัติของตน ประกอบอาชีพนั้นอยางมีความสุขและเจริญกาวหนาในเสนทางอาชีพดังกลาว

สมรรถนะยอย นักเรียนแสดงความรูเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1.1 อธิบายความหมายของอาชีพและการประกอบอาชีพได 1.2 บอกความสําคัญของอาชีพได 1.3 จําแนกประเภทของงานอาชีพได 1.4 อธิบายลักษณะของงานอาชีพได 1.5 บอกแนวทางการเลือกอาชีพได 1.6 บอกคุณสมบัติเฉพาะของผูประกอบอาชีพได 1.7 อธิบายการมองเห็นโอกาสในการประกอบอาชีพได 1.8 อธิบายการตัดสินใจเลือกอาชีพได 1.9 บอกปจจัยสําคัญที่มีผลตอความสําเร็จในการประกอบอาชีพได 1.10 บอกประโยชนของงานอาชีพได

4


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ

แบบทดสอบกอนเรียน

5

หนวยที่ 1

คําชี้แจง ใหนักเรียนทําเครื่องหมาย X ทับตัวอักษรหนาคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว (คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลา 10 นาที) 1. การประกอบอาชีพ หมายถึงขอใด ก. งานที่ทําดวยความสมัครใจ ข. การทํามาหากินของมนุษยในสังคม ค. การเลี้ยงดูตนเองและสมาชิกในครอบครัว ง. การทํามาหาเลี้ยงชีพจากรายไดที่ทําประจํา 2. ความสําคัญของการประกอบอาชีพคือขอใด ก. มีเพื่อนรวมงานมากขึ้น ข. มีความสุขเพราะมีอาชีพประจํา ค. มีโอกาสใชความรูใหเกิดประโยชน ง. มีรายไดสําหรับเลี้ยงตนเองและครอบครัว 3. อาชีพหลักของพลเมืองไทยสวนใหญไดแกอาชีพใด ก. อาชีพเกษตรกรรม ข. อาชีพพาณิชยกรรม ค. ประกอบอาชีพธุรกิจบริการ ง. อาชีพอุตสาหกรรมในครัวเรือน 4. ใครเปนผูที่ตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพไดเหมาะสมกับตนเองมากที่สุด ก. สิรี เลือกประกอบอาชีพนักรองเนื่องจากมีรายไดสูง ข. สารินเลือกประกอบอาชีพชางไมเพราะมีความรู ความชํานาญ ความชอบในงานไม ค. ดาวเรืองเลือกประกอบอาชีพพยาบาลตามความตองการของสมาชิกในครอบครัว ง. นอยหนาเลือกประกอบอาชีพพนักงานบริการในโรงแรมแตพูดภาษาอังกฤษไมได 5. การเลือกประกอบอาชีพที่ตนเองชอบมีผลดีอยางไร ก. มีรายไดสูง ข. ขยันทํางาน ค. ทํางานไดรวดเร็ว ถูกตอง ง. มีความสุขในการทํางาน


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ

6. คุณสมบัติพื้นฐานที่ผูประกอบอาชีพทุกระดับ ทุกตําแหนงตองมีคือขอใด ก. มีมนุษยสัมพันธดี ข. มีความรูความสามารถ ค. มีทักษะความชํานาญงาน ง. มีประสบการณในการทํางาน 7. ปญหาสําคัญที่สุดในการเลือกประกอบอาชีพคือขอใด ก. ปญหาทางดานเศรษฐกิจของตนเอง ข. ขาดความรูความเขาใจในการอาชีพ ค. ไมรูความสามารถและความถนัดของตนเอง ง. ขาดที่ปรึกษาใหคําแนะนํา และแนะแนวการประกอบอาชีพ 8. การตัดสินใจเลือกอาชีพควรพิจารณาองคประกอบใดนอกเหนือจากความรูความสามารถ และความถนัดของตนเอง ก. เปนอาชีพที่สุจริต ข. เปนอาชีพที่มีรายไดสูง ค. เปนอาชีพที่ทาทาย ไมจําเจ ง. เปนอาชีพที่ตองใชเทคโนโลยีสื่อสารได 9. ปจจัยทีไ่ มมีผลตอความสําเร็จในการประกอบอาชีพไดแกปจจัยใด ก. ความรับผิดชอบงานที่ทํา ข. การตัดสินใจเร็ว กลาได กลาเสี่ยง ค. ซื่อสัตย รักและผูกพันกับงานทีท่ ํา ง. รอบรูทันสมัย มีวิสัยทัศนกวางไกล 10. ประโยชนของการประกอบอาชีพที่มีตอตัวผูประกอบอาชีพในระยะยาวคือขอใด ก. เปนการพัฒนาตนเองใหเจริญกาวหนาในอาชีพ ก. ผูประกอบอาชีพมีประสบการณ ทักษะ ความชํานาญในงานที่ทํา ค. สามารถตอบสนองความตองการและความพึงพอใจของตัวผูประกอบอาชีพเอง ง. ผูประกอบอาชีพสามารถวางแผนการใชจาย และเก็บออมรายไดเพื่อความมั่นคงของชีวิต

6


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ

เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน ลําดับขอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

หนวยที่ 1 คําตอบ ง ง ก ข ง ก ง ก ข ง

7


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ

8

หนวยที่ 1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 1.1 ความหมาย พจนานุกรมไทย ฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถานป พ.ศ.2542 (2546) ไดใหความหมายอาชีพวาเปน คํานาม หมายถึง การเลี้ยงชีวิต การทํามาหากิน งานที่ทําเปนประจําเพื่อเลี้ยงชีพ กรมการศึกษานอกโรงเรียน (2544) ไดใหความหมายอาชีพ หมายถึง การทํามาหากินจากการ ทํางานหรือกิจกรรมใด ๆ ที่กอใหเกิดผลผลิต รายได เปนงานที่สุจริต ไมผิดศีลธรรม เปนที่ยอมรับของ สังคม สํานักงานสถิติแหงชาติ (2555) ไดใหความหมายอาชีพ หมายถึง ประเภทหรือชนิ ด ของงานที่ บุคคลนั้นทําปกติบุคคลมีอาชีพเดียว หากในระหวางรอบ 52 สัปดาหที่แลว บุคคลใดมีอาชีพมากกวา 1 ชนิด ใหถืออาชีพที่มีจํานวนสัปดาหการทํางานมากที่สุด หากจํานวนสัปดาหเทากันใหนับอาชีพที่มี รายไดมากที่สุด นครชัย พิมศร (2556) ได ใหความหมายอาชี พ หมายถึง การทํามาหากินในงานที่ทําเป น ประจําเพื่อใหเกิดรายไดสําหรับเลี้ยงชีวิตตนเองและครอบครัว สมคิด มิมมา (2556) ไดกลาวถึงคําวาอาชีพ มีความหมายตรงกับคําหลายคําในภาษาอั ง กฤษ ไดแก Employment, Occupation, Profession, Business และ Careers หมายถึง การประกอบ อาชีพเพื่อความอยูรอดของมนุษยที่หวังผลประโยชนจากการประกอบอาชีพ และสามารถตอบสนอง ความตองการของตนเองในดานตางๆ เชน ธุรกิจคาขาย ธุรกิจดานเกษตรกรรม และธุรกิจดานบริการ เปนตน อนุ ศัก ดิ์ ฉิ่น ไพศาล (2557) ได ให ค วามหมายอาชี พ (Careers) หมายถึง รู ป แบบของการ ดํารงชีวิ ตในสังคมมนุษยอาชีพเปน สิ่งที่จําเปน และเป นหนาที่ของบุคคลที่ตองการประกอบอาชี พ เพื่อใหไดมาซึ่งรายไดสําหรับเปนคาใชจายในการดํารงชีวิต กระทรวงแรงงาน (2557) ใหความหมายการประกอบอาชีพ หมายถึง งานหรือภาระหนาที่ของ มนุษย ตองทําสม่ําเสมอหรือประจําดวยความถนัด ความสนใจ ความรูความสามารถ ประสบการณ หรือการฝกฝนจนเชี่ยวชาญโดยมีผลตอบแทนในรูปแบบตาง ๆ ไดแก ความพึงพอใจ เงิน การแลกเปลี่ยน การไดรับการยกยองใหมีชื่อเสียง และการสรางเครือขายเพื่อนฝูงในสังคม สรุปไดวาอาชีพ หมายถึง กิจการงานที่บุคลใดบุคคลหนึ่งไดกระทําแลวไดรับคาตอบแทนเป น รายได เพื่อนําไปใชในการดํารงชีวิตและตอบสนองความตองการทางดานรางกาย อารมณ สังคม และ ความตองการดานอื่น ๆ ของตนเองและสมาชิกในครอบครัว


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ

9

1.2 ความสํ าคัญของอาชีพ อาชี พเป น ปจ จั ย สําคัญในการพัฒ นาคุณภาพชีวิ ต เศรษฐกิจ และสังคมที่ส งผลกระทบต อ ความเจริญกาวหนาของประเทศชาติ อาชีพมีความสําคัญดังนี้ 1.2.1 สงเสริมคุณภาพชีวิตของมนุษยใหสามารถดํารงชีวิตอยูไดอยางปกติสุข เพราะผู ที่มีอาชีพจะมีรายได ทําใหมีอํานาจการซื้อ (Power Purchasing) สินคาเพื่อ การอุปโภค บริโภค ที่จําเปนตอการดําเนินชีวิตประจําวันได 1.2.2 ทําใหเกิดความนาเชื่อถือในสังคม ผูที่มีอาชีพจะไดรับความเชื่อถือจากผูคนในสังคม เพราะคานิยมในสังคมมนุษยมองวา คนที่มีอาชีพ สามารถทํามาหากินเลี้ยงตนเองไดเปนคนที่มีคุณภาพจะไมไปสรางความเดือดรอนใหเกิด กับบุคคลอื่น ไมตองไปลักขโมย ไมตองไปฉกชิงวิ่งราวทรัพยสินและสิ่งของจากผูอื่น 1.2.3 สรางความเชื่อมั่นใหกับผูที่จะมาใชชีวิตอยูรวมกัน เนื่องจากธรรมชาติ ข องมนุษยตองมีการดํารงเผ า พั น ธุ มี ก ารแต ง งาน ผู ที่ มี อ าชี พ จะสรางความมั่นใจใหกับคูชีวิตวาจะสามารถสรางครอบครัวที่มีความสุขไดอยางแนนอน 1.2.4 สรางรายไดจากการประกอบอาชีพ สามารถดูแลใหการดําเนินชีวิตของครอบครัวเปนปกติสุข มีการเก็บสะสม การออมไว ใชเมื่อยามเจ็บปวย แตถาไมมอี าชีพก็จะไมมีรายได การดํารงชีวิตในครอบครัวก็จะไมมีความสุข 1.2.5 กิจกรรมในสังคมมีความเคลื่อนไหว เพราะความหลากหลายของอาชีพกอใหเกิดการเชื่อมประสานในจุดตาง ๆ เกิดการ ปฏิสัมพันธกันระหวางผูคนในสังคม ไดแก การซื้อขายสินคา กิจกรรมการใหบริการดานตาง ๆ ที่มี ความจําเปนตอการดํารงชีวิตของมนุษย เทคโนโลยีการสื่อสารที่มีการพัฒนาอยางไมหยุดยั้ง โดยใช เงินเปนตัวกลางในการแลกเปลี่ยน

1.3 ประเภทของงานอาชีพ การแบ งประเภทของอาชี พสามารถแบ งตามลั กษณะเนื้ อหาวิ ช าของอาชี พ และแบ งตาม ลักษณะของการประกอบอาชีพดังนี้


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 10

1.3.1 การแบงอาชีพตามเนื้อหาวิชาของอาชีพ สามารถจั ด กลุ ม อาชี พตามเนื้ อหาวิ ช าของ อาชีพได 6 ประเภทดังนี้ 1.3.1.1 อาชีพเกษตรกรรม (Agricultural Occupation) ประชากรไทยไมนอยกวารอยละ 60 ประกอบอาชีพเกษตรกรรมจึงนับไดวา อาชีพเกษตรกรรมเปนอาชีพหลักและเปนอาชีพสําคัญของ ประเทศ เป น อาชี พ ที่ มี ค วามเกี่ ย วเนื่ อ งกั บ การผลิ ต การจั ด จํ า หน า ยสิ น ค า และบริ ก ารทางด า น การเกษตร ผลผลิตทางการเกษตรนอกจากใชบริโภคเปนสวนใหญแลวยังใชเปนวัตถุดิบในการผลิต ทางอุตสาหกรรม อาชีพเกษตรกรรมในประเทศไทย ไดแก การทํานา ทําไร ทําสวน และการเลี้ยงสัตว (แสดงดังภาพที่ 1.1 และ 1.2)

ภาพที่ 1.1 อาชีพทํานา ที่มา : ศูนยขอมูลขาวสารอาเซียน กรมประชาสัมพันธ (Online). Available URL: http://thailand.prd.go.th

ภาพที่ 1.2 อาชีพทําไร ที่มา : ศูนยขอมูลขาวสารอาเซียน กรมประชาสัมพันธ (Online). Available URL: http://thailand.prd.go.th


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 11

1.3.1.2 อาชีพอุตสาหกรรม (Industry Occupation) หมายถึ ง อาชี พ เกี่ ย วกั บ การ ผลิตสิน คา โดยการนําเอาวั สดุ วั ตถุดิบ หรื อสิ นคาบางชนิด มาแปรสภาพใหเกิดประโยชน ตอผูใช มากขึ้น ในขั้นตอนของกระบวนการผลิตประกอบดวยปจจัยมากมาย ไดแก แรงงาน เครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ ทุน อาคาร การบริหารจัดการ เปนตน การประกอบอาชีพอุตสาหกรรมสามารถแบงตาม ขนาดของการดําเนินงานไดดังนี้ 1) อุตสาหกรรมในครอบครัว เปนอุตสาหกรรมที่ทํากันในครอบครั ว หรือทํา ภายในบาน ใช แรงงานคนในครอบครัวเปนหลั ก บางทีอาจมีเครื่องจักรขนาดเล็กชวยในการผลิ ต ใชวัตถุดิบ วัสดุที่หาไดในทองถิ่นมาใชเปนปจจัยในการผลิตภายในครัวเรือน ไดแก การทอผา การทํารม การทําอิฐมอญ เปนตน ลักษณะการดําเนินงานของอุตสาหกรรมภายในครัวเรือนไมไดใหความสําคัญ กับระบบและการวางแผนงาน การจัดการดานการตลาด ใชเทคโนโลยีการผลิตแบบงาย ไมยุงยากซับซอน และการลงทุนประกอบการไมมาก (แสดงดังภาพที่ 1.3)

ภาพที่ 1.3 อุตสาหกรรมในครอบครัว ที่มา : (Online). Available URL: http://www.hamanan.com/tour/nakhonsawan/jlm.html 2) อุตสาหกรรมขนาดยอม เปนอุตสาหกรรมที่มีการจางคนงานมากกวา 50 คน ใชเงินลงทุนดําเนินการไมเกิน 10 ลานบาท ไดแก โรงกลึง อูซอ มรถ โรงงานทําขนมปง โรงงานตัดเย็บ เสื้อผา โรงสีขาว เปนตน การดําเนินงานของอุตสาหกรรมขนาดยอมมีกระบวนการผลิตไมซับซอน ใชแรงงานที่มีฝมือไมมากนัก (แสดงดังภาพที่ 1.4)


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 12

ภาพที่ 1.4 อาชีพอุตสาหกรรมขนาดยอม ทีม่ า : (Online). Available URL: http://www.manager.co.th/SpecialScoop/ ViewNews.aspx?News 3) อุตสาหกรรมขนาดกลาง เป น อุ ต สาหกรรมที่ มี ก ารจางคนงานมากกว า 50 คน แตไมเกิน 200 คน ใชเงินลงทุนประกอบการมากกวา 10 ลานบาท แตไมเกิน 100 ลานบาท การดํ า เนิ น งานของอุ ต สาหกรรมขนาดกลางต อ งมี ก ารจั ด การที่ ดี แรงงานต อ งเป น ผู ที่ มี ค วามรู ความสามารถ มีทักษะความชํานาญปฏิบัติงานในกระบวนการผลิตไดเปนอยางดีเพื่อใหไดผลผลิต ที่มีคุณภาพ (ดังแสดงภาพที่ 1.5)

ภาพที่ 1.5 อาชีพอุตสาหกรรมขนาดกลาง ที่มา : (Online). Available URL : http://www.tistr.or.th/tistr/code/tistrong/report/file/ annual2004/tranfer.htm


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 13

4) อุตสาหกรรมขนาดใหญ เปนอุตสาหกรรมที่มีการจางคนงานมากกวา 200 คนขึ้นไป ใชเงินลงทุนประกอบการมากกวา 200 ลานบาท การดําเนินงานของอุตสาหกรรมขนาดใหญ มีระบบการจัดการที่ดี บุคลากรปฏิบัติงานเปนผูที่มีความรูความสามารถมีทักษะเฉพาะดานหลาย สาขา การดําเนินงานในกระบวนการผลิตมีกรรมวิธีการปฏิบัติงานที่ยุงยาก ใชเครื่องจักร คนงาน เงินทุนจํานวนมาก กระบวนการผลิตทันสมัย การผลิตแตละครั้งไดผลผลิตจํานวนมาก ตองวาจาง บุคลากรระดับบริหารที่มีความรูความสามารถเขามาบริหารจัดการอุตสาหกรรม (แสดงดังภาพที่ 1.6)

ภาพที่ 1.6 อาชีพอุตสาหกรรมขนาดใหญ ที่มา : ศูนยขอมูลขาวสารอาเซียน กรมประชาสัมพันธ (Online). Available URL : http://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=5204&filename=index 1.3.1.3 อาชีพพาณิชยกรรมและอาชีพบริการ (Commerce and Service Occupation) 1) อาชีพพาณิช ยกรรม (Commerce Occupation) หมายถึง การประกอบ อาชี พที่มีลักษณะการดํ าเนิ น งานเกี่ย วกับ การแลกเปลี่ ย นสิน คาโดยใช เ งิน เปน ตั ว กลาง ส ว นใหญ การดําเนินงานอยูในรูปแบบของการซื้อมาขายไป ผูประกอบอาชีพนี้จึงจัดเปนคนกลางที่ทําหนาที่ ซื้อสิ น ค าจากผู ผ ลิ ต แล ว นํ ามาขายต อให กับ ผู บ ริ โ ภค ได แก การคาปลี กและการคา ส ง โดยจะจั ด จําหนายในรูปแบบของการขายตรงหรือจัดจําหนายทางออม (แสดงดังภาพที่ 1.7 และ 1.8)


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 14

ภาพที่ 1.7 หางสรรพสินคา (คาปลีก) ที่มา : (Online). Available URL: http://terrabkk.com/

ภาพที่ 1.8 หางสรรพสินคา (คาสง) ที่มา : (Online). Available URL: http://www.parttimepantip.com/ 2) อาชีพบริการ (Service Occupation) หมายถึง การประกอบอาชี พที่มี ลักษณะการดําเนินงานเกี่ยวกับการทําใหผูซื้อเกิดความพึงพอใจ การบริการอาจจะเปนสินคาที่มีตัวตน หรือไมมีตัวตนก็ได 2.1) การบริการที่ มี ตั ว ตน ได แ ก การใหบริการทางการเงินของสถาบั น ทางการเงินตาง ๆ การใหบริการของบริษัทขนสง เปนตน


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 15

2.2) การบริ การที่ ไ มมีตั ว ตน ไดแก การบริ ก ารท องเที่ ย ว การบริ ก าร รักษาพยาบาล เปนตน 1.3.1.4 อาชีพคหกรรม (Spill Smoke Occupation) หมายถึง กลุมของการประกอบอาชีพ ที่มีลักษณะการดําเนินงานเกี่ยวของกับการประกอบอาหารคาว หวาน และอาหารวาง ของไทยและ ตางประเทศ การเสริมสวย การตัดเย็บเสื้อผาสุภาพบุรุษและสตรี (แสดงดังภาพที่ 1.9)

ภาพที่ 1.9 อาชีพคหกรรม ที่มา : (Online). Available URL: http://www.manager.co.th/Campus/ViewNews. 1.3.1.5 อาชีพหัตถกรรม (Handicraft Occupation) หมายถึง การประกอบอาชีพ ที่เกี่ยวกับงานชางโดยใชมือผลิตชิ้นงานเปนสวนใหญ ไดแก อาชี พจั กสาน แกะสลั ก ทอผ า ด ว ยมือ ทอเสื่อ (แสดงดังภาพที่ 1.10)

ภาพที่ 1.10 อาชีพหัตถกรรม ที่มา : (Online). Available URL: http://oknation.nationtv.tv/blog/print.php?id=227138


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 16

1.3.1.6 อาชีพศิลปกรรม (Art Objectives Occupation) หมายถึง การประกอบ อาชีพที่มีลักษณะการดําเนินงานเกี่ย วกั บ การแสดงออกของศิล ปะในรู ป แบบตาง ๆ ไดแก การปน การวาดภาพ การเขียนแบบ การดนตรี การละคร การโฆษณา การถายภาพ (แสดงดังภาพที่ 1.11)

ภาพที่ 1.11 อาชีพศิลปกรรม ที่มา : ศูนยขอมูลขาวสารอาเซียน กรมประชาสัมพันธ. (Online). Available URL: http://thailand.prd.go.th/ 1.3.2 การแบงอาชีพตามลักษณะของการประกอบอาชีพ สามารถจัดกลุมอาชีพตามลั กษณะการประกอบอาชีพไดเปน 4 ลักษณะดังนี้ 1.3.2.1 อาชีพอิสระ (Freelance) หมายถึง อาชีพทุกประเภทที่ผูประกอบอาชีพดําเนินการ ดวยตนเองแตเพียงผูเดียวหรือเปนกลุม เปนอาชีพที่ไมตองใชคนมาก ถามีความจําเปนจะใชวิธีการ จางคนมาชว ยงานเปน ครั้ งคราว เจา ของกิจการเปน ผูล งทุนและจั ดจํ าหนายเอง คิดแผนงานและ ตั ด สิ น ใจด ว ยตนเองทุกเรื่ อง ทําให การพัฒ นาอาชีพเปนไดอยางรวดเร็ ว ทั น ต อ เหตุ ก ารณ นอกจากนี้ ผูประกอบอาชีพ อิสระยังตองมีความอดทนตองานหนัก ปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ที่เกิดขึ้น มีความคิดริเริ่ม สรางสรรค และมองเห็นเสนทางการดําเนินงานของตนเองไดทะลุปรุโปรง 1.3.2.2 อาชีพรับจาง (Occupation work for) หมายถึง อาชีพที่รับจางทํางานใหกับ ผูวาจางโดยไดรับคาตอบแทนเปนคาจาง หรือเงินเดือน อาชีพรับจางประกอบดวยบุคคล 2 ฝาย ฝายแรก เรียกวา “นายจาง” หรือ”ผูวาจาง” ฝายหลังเรียกวา “ลูกจาง” หรือ “ผูรับจาง” มีคาตอบแทนที่ ผูวาจาง จะตองจายใหแกผูรับจางซึ่งเรียกวา “คาจาง” ลักษณะการทํางานรับจางสวนใหญทํางานในสถาน ประกอบการหรือโรงงาน อัตราคาจางขึ้นอยูกับการกําหนดราคาของเจาของสถานประกอบการหรือ นายจาง ทํางานตามเวลาที่กําหนด การประกอบอาชีพรับจางมีขอดีตรงที่ไมมีความเสี่ยงเรื่องการ


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 17

ลงทุน เนื่องจากผูรับจางจะใชเครื่องมือ อุปกรณการทํางานที่ผูวาจางจัดไวให ทํางานตามที่ผูวาจาง กําหนด ขอเสียมักจะเปนงานทีท่ ําซ้ํา ๆ เหมือนกันทุกวัน และต องปฏิ บั ติ ตามกฎระเบียบของผูวาจาง ปจจัยทีจ่ ะสงผลใหผูประกอบอาชีพนี้มีความเจริญกาวหนา ไดแก ความรูความชํานาญ ในการทํางาน มีกิจนิสัยการทํางานที่ดี มีความกระตือรือรนในการทํางาน มีความมานะอดทน ยอมรับ กฎเกณฑและเชื่อฟงคําสั่ง มีความซื่อสัตยสุจริต ขยัน มีความรับผิดชอบ เปนผูที่มีมนุษยสัมพันธดี และมีสุขภาพอนามัยดี 1.3.2.3 อาชีพงานฝมือ (Craft Occupation) เป น อาชี พ ที่ผู ป ฏิ บั ติ งานจะต อ งใช ประสบการณและความชํานาญเฉพาะดาน ไดแก งานศิลปะ งานหัตถกรรม และงานประติมากรรม เปนตน 1.3.2.4 อาชีพรับราชการ (Government Servant Occupation) รวมถึงเจาหนาที่ ของรัฐ พนักงานรัฐวิสาหกิจเปนอาชีพที่มลี ักษณะการปฏิบัติงานมุงเนนการใหบริการแกประชาชน

1.4 ลักษณะของงานอาชีพ การประกอบอาชี พ แต ล ะอาชี พ มี ลั ก ษณะแตกต า งกั น ได แ ก หน า ที่ ที่ ต อ งปฏิ บั ติ ความ รับผิดชอบ เวลา และรายไดหรือคาตอบแทนที่ไดรับ ลักษณะการประกอบอาชีพมีดังนี้ 1.4.1 อาชีพรับราชการ เปนกลุมอาชีพที่มีนโยบายมุงเนนทํางานเพื่อประชาชนและประเทศชาติ ผูประกอบ อาชีพรับราชการไดรับคาตอบแทนเปนเงินเดือน ซึ่งไดมาจากภาษีเงินไดที่รัฐบาลเก็บจากประชาชน มี ร ะยะเวลาการทํ า งานแน น อน ตั้ ง แต วั น จั น ทร ถึ ง วั น ศุ ก ร แ ละหยุ ด งานในวั น เสาร แ ละอาทิ ต ย เริ่มทํางานเวลา 08.00 น. - 16.30 น. การประกอบอาชีพรับราชการจะตองผานการสอบคัดเลือก โดยสอบขอเขีย นเพื่อวั ดความรู ความเขาใจในการทํางาน สอบสั มภาษณเ พื่อดู ความสามารถและ ทัศนคติเกี่ยวกับงาน อาชีพรับราชการเปนอาชีพที่มีความมั่นคงและเจริญกาวหนาคอนขางสูง มีการ เลื่อนขั้นตําแหนงและขั้นเงินเดือนทุกป เมื่อครบกําหนดเกษียณอายุราชการจะไดรับเงินบําเหน็จหรือ บํานาญเปนคาใชจายในการดํารงชีวิตตอไป 1.4.2 อาชีพพนักงานรัฐวิสาหกิจ ลักษณะการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจซึ่งเปนองคกรธุรกิจที่รัฐบาลเปนเจาของหรือ ถือหุนอยูมากกวารอยละ 50 พนักงานรัฐวิสาหกิจจะไดรับคาตอบแทนเปนเงินเดือน ซึ่งไดมาจากเงิน งบประมาณรายไดแผนดิน มีระยะเวลาทํางานแนนอนเหมือนอาชีพรับราชการ โดยจะเริ่มทํางานเวลา 08.00 น. -16.30 น. หรือ 08.-30 น. -16.30 น. หรือ 09.00 น. -17.00 น. การประกอบอาชีพ พนักงาน


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 18

รั ฐ วิ ส าหกิ จ จะต อ งผ านการสอบคั ด เลื อกเหมื อนรั บ ราชการ มี ความมั่ น คงและความก า วหน า สู ง เหมือนกัน 1.4.3 อาชีพรับจางในหนวยงานเอกชน เปน กลุมอาชีพ ที่ทํา งานในหนว ยงานเอกชนบริษัทหรือโรงงานอุตสาหกรรมตาง ๆ ไดรับคาตอบแทนเปนเงินเดือนหรือคาจาง มีระยะเวลาการทํางานแนนอน บางบริษัทอาจหยุดทํางาน เฉพาะวั น อาทิต ย เริ่ ม ทํา งานและเลิ ก เวลา 08.00 น. -17.00 น. หรือ 08.30 น.- 17.30 น. หรือ 09.00 น. - 18.00 น. การประกอบอาชีพรับจางในหนว ยงานเอกชนมีการคั ด เลื อ กบุ ค คลเขาทํางาน โดยการทําแบบทดสอบ การสั ม ภาษณ เพื่ อ พิ จ ารณาความสามารถความเหมาะสมกับงานและ ทัศนคติในการงาน 1.4.4 อาชีพรับจางที่ทํางานเปนกลุม เปนกลุมอาชีพที่ทํางานตามคําสั่งของผูวาจางซึ่งทํางานรวมกันเปนกลุม ไดแก กรรมกร กอสราง พนักงานบริการอาหารโดยมีลักษณะระยะเวลาในการทํางานแตกตางกันขึ้นอยูกับผูวาจาง อาชีพรับจางที่ทํางานเปนกลุมจะตองไปสมัครงานกับผูวาจางโดยตรง โดยหาขอมูลการรับสมัครงาน ตามหนังสือพิมพหรือประกาศตาง ๆ ซึ่งผูวาจางจะสัมภาษณและทดสอบความสามารถในการทํางาน ตามหนาที่กอนรับเขาทํางาน ความมั่นคงในการทํางานขึ้นอยูกับผูปฏิบัติงานวามีความมุงมั่นในการ การทํางานมากนอยเพียงใด โดยผูวาจางจะเปนผูพิจารณาการเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือสวัสดิการตาง ๆ ตามที่ผูวาจางเห็นสมควร 1.4.5 อาชีพรับจางที่ทํางานคนเดียว เป น กลุ ม อาชี พ ที่ ทํา งานตามคํา สั่ ง ของผู ว า จ า งซึ่ ง ทํา งานคนเดี ย ว เช น พนั ก งาน ทํา ความสะอาด พนักงานรักษาความปลอดภัย ลูกจางรานคาทั่วไป มีลักษณะการทํางานที่แตกตาง กัน โดยทํางานวันละ 8 ชั่วโมง สําหรับความมั่นคงและความกาวหนาในอาชีพนี้ ผูวาจางจะทําการ พิ จ ารณาเลื่ อ นขั้ น เงิ น เดื อ นโดยดู จ ากความสามารถของผูปฏิบัติงาน ความขยัน ความรับผิดชอบ และความมีระเบียบวินัยในการทํางาน

1.5 คุณสมบัติเฉพาะของผูประกอบอาชีพ การประสบความสําเร็จในการประกอบอาชี พจําเปนตองศึกษาคุณสมบัติเ ฉพาะของอาชี พ ตาง ๆ เพื่อพั ฒ นาตนให มคี ุ ณ สมบั ติ ส อดคล อ งกั บ อาชี พ ที่ ส นใจ สามารถจําแนกคุณสมบัติเฉพาะ ของผูประกอบอาชีพสามารถจําแนกไดตามลักษณะการประกอบอาชีพดังนี้


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 19

1.5.1 คุณสมบัติเฉพาะของผูประกอบอาชีพรับราชการ อาชีพรับราชการมีอยูมากมายหลากหลายตําแหนง และมีลักษณะการทํางานแตกตาง กันไป โดยจะขอยกตัวอยางอาชีพรับราชการทีม่ ีการกําหนดคุณสมบัติเฉพาะตําแหนงไวดังนี้ 1.5.1.1 ครู ผู ป ระกอบอาชีพรับราชการในตําแหน งครู จะตองมีความรับ ผิ ด ชอบ ขยันหมั่นเพียร เพราะตองอบรมสั่งสอนนักเรียนใหมีความรูประพฤติตนเปนพลเมืองดี คุณสมบัติเฉพาะ ของการประกอบอาชีพครู ตองมีความรูและมีทักษะในการถายทอดความรูตามหลักสูตรการศึกษา มีทักษะในการตัดสินใจแกปญหา ทักษะการสื่อสารและทักษะการจัดการ ผูที่จะประกอบอาชีพครูควร จบการศึกษาสาขาครุ ศาสตร บั ณฑิต ศึกษาศาสตร บั ณฑิต และสาขาอื่น ที่เ กี่ย วขอ งและต องมีใ บ ประกอบวิชาชีพครู 1.5.1.2 แพทย ผูประกอบอาชีพรับราชการในตําแหนงแพทย ตองมีความรู และทักษะใน การวินิจฉัยโรค วิธีการรักษาโรค ยารักษาโรค การสังเกต การตัดสินใจ และการใชเครื่องมือในการ รักษาโรค ผูที่จะประกอบอาชีพแพทยควรมีคุณลักษณะเปนผูที่มีความรับผิดชอบสูง มีความอดทน และละเอียดรอบคอบ จบการศึกษาสาขาแพทยศาสตรบัณฑิตและมีใบประกอบโรคศิลป 1.5.1.3 ตํ า รวจ ผู ป ระกอบอาชี พรั บ ราชการตํ ารวจ ต องมีความอดทน ขยั น มี ความ รับผิดชอบสูง เพราะตองปฏิบัติงานภายใตกฎหมายอยางเครงครัด ตํารวจตองมีความรูเรื่องกฎหมาย พระราชบัญญัติ ขอบังคับตาง ๆ มีทักษะในการสังเกต การทํางานตามกระบวนการ ผูที่จะประกอบอาชีพ ตํารวจควรจบการศึกษาจากโรงเรี ย นเตรี ยมทหารและเลื อกศึกษาต อในโรงเรี ยนนายร อยตํารวจ หรือจบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 แลวสอบเขาเรียนตอในโรงเรียนนายสิบ จบการศึกษาดาน นิติศาสตรบัณฑิตแลวสมัครสอบเพื่อเขาบรรจุเปนตํารวจในหนวยงานที่เปดรับสมัคร 1.5.1.4 ทหาร ผู ป ระกอบอาชีพรับราชการทหารจะตองมีวินัย ปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บ มีความรับผิดชอบ และมีความอดทนสูงเพราะทหารมีหนาที่ตองดูแลความมั่นคงของประเทศ ตองมี ความรูดานสังคมศาสตร ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร รัฐศาสตรและการปกครอง มีทักษะการจัดการ ทักษะในการตัดสินใจ การแกปญหา การใชอาวุธและเครื่ องมือทหาร ผูที่จะประกอบอาชีพทหาร สามารถสมัครเขารับราชการทหารได เมื่อไปรับการเกณฑทหารหรือจบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียม ทหาร จากนั้นเลือกศึกษาตอในโรงเรียนนายรอยทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ หรือจบการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 แลวสมัครสอบคัดเลือกเพื่อเปนทหารในหนวยงานตาง ๆ เชน ทหารมหาดเล็กรักษา พระองค ดุริยางคทหารกองทัพบก และจบการศึกษาระดับปริญญาตรีแลวสมัครสอบเพื่อเขาบรรจุ เปนทหารในหนวยงานที่เปดรับ


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 20

1.5.2 คุณสมบัติเฉพาะของผูประกอบอาชีพพนักงานรัฐวิสาหกิจ พนั กงานรั ฐ วิ ส าหกิจ เป น อาชีพที่ตองมีความรูในวิ ช าชี พ มีความสามารถเฉพาะดาน มีประสบการณ มีความคิดสรางสรรค มีความสามารถดานการบริหารจัดการงาน มีความรับผิดชอบ ในการทํางาน ควรจบการศึกษาขั้นต่ําระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ปริญญาตรี ปริญญาโทหรือปริญญาเอก โดยแตละตําแหนงจะมีการรับสมัครตามคุณสมบัติที่ แตกตางกันขึ้นอยูกับลักษณะงาน 1.5.3 คุณสมบัติของผูป ระกอบอาชีพรับจาง ผูประกอบอาชี พรับจ างโดยทั่วไปควรมีความรู ความสามารถ และประสบการณในการ ทํางาน มีความคิดริเริ่มสรางสรรค ทักษะการจัดการ ควรจบการศึกษาขั้นต่ําระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก โดยแตละ ตําแหนงจะมีการรับสมัครตามคุณสมบัติที่แตกตางกันขึ้นอยูกับลักษณะงาน ไดแก กรรมกรกอสราง ตองมีความรูและทักษะในการทํางานไม งานปูน งานสี ควรจบการศึกษาขั้นต่ําระดับประถมศึกษา หรือมัธยมศึกษาตอนตน บางอาชีพผูวาจางตองการเพียงบุคคลที่มีประสบการณและความสามารถใน การทํางานไมจําเปนตองจบการศึกษาก็ได ผูประกอบอาชีพรับจางควรมีคุณสมบัติดังนี้ 1.5.3.1 มีทัศนคติและคานิยมที่ถูกตองในเรื่องการทํา งานมองเห็ น และตระหนั ก ว า การทํางานทําใหคนมีคุณคา อาชีพทุกชนิดที่เปนอาชีพสุจริตลวนเปนอาชีพที่มีเกียรติ ความสําเร็จที่ น า ชื่ น ชมจะต อ งมาจากความสามารถ การมี ทั ศ นคติ แ ละค า นิ ย มที่ ถู ก ต อ ง จะช ว ยให เ กิ ด ความ ภาคภูมิใจในการทํางานและปฏิบัติหนาที่ทรี่ ับผิดชอบไดอยางมีประสิทธิภาพ 1.5.3.2 มีนิสัยพื้นฐานการทํางานที่ดี ไดแก มีความขยัน มีความอดทน มีใจรักในการทํางาน มีความรับผิดชอบ มีวินัยในการทํางาน และมีความซื่อสัตย 1.5.3.3 มีการวางแผน และกําหนดเปาหมายการทํางานที่ชัดเจน 1.5.3.4 มีสุ ขภาพร างกายแข็งแรง สุ ขภาพจิ ตดี เพื่อให การประกอบอาชี พเป นไปอย างมี ประสิทธิภาพ 1.5.3.5 มีการศึกษา หาความรูเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงงานใหเจริญกาวหนา ทั น เหตุการณ และเทคโนโลยีที่มีการพัฒนาอยางไมหยุดยั้ง 1.5.3.6 มีวิสัยทัศนที่ก ว า งไกล รู จักมองภาพอนาคตวาอาชีพที่ทําอยูนั้นมีแนวโน ม จะเปลี่ยนแปลง หรือพัฒนาไปในทิศทางใด จําเปนตองปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสิ่งใดบาง เพื่อชวยให สามารถพัฒนาอาชีพใหกาวหนาตอไปได


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 21

สรุปไดวา ผูที่ประกอบอาชีพรับจางตองมีความขยัน รับผิดชอบ อดทน ซื่ อ สัตย มุ ง มั่ น ในการทํา งานมี ค วามรู  ใ นอาชี พ มี ป ระสบการณแ ละมี ทั ก ษะในการพั ฒ นางานให ทั น ยุ ค สมั ย การประกอบอาชีพใหประสบความสําเร็จนั้น ผูประกอบอาชีพอิสระควรมีคุณสมบัติดังนี้ 1) มีความรอบคอบและเชื่อมั่นในตนเอง 2) มีลักษณะความเปนผูนําที่ดี 3) มีความคิดริเริ่มสรางสรรคและกระตือรือรน 4) มีความกลา กลาเสี่ยง กลาตัดสินใจ 5) มีความขยัน อดทน ซื่อสัตย 6) มีวินัย มีความรับผิดชอบ 7) มีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและจิตใจ 8) มีความรูเทาทันเหตุการณบานเมือง เศรษฐกิจ และสังคม 9) มีไหวพริบและสติปญญาในการแกไขปญหาที่ดี 10) มีความรูและใชประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศไดดี 11) บุคลิกภาพดี มีมนุษยสัมพันธดี 12) มีความรูและทักษะในอาชีพนั้น ๆ เปนอยางดี

1.6 แนวทางการเลือกอาชีพ สมคิด มิมมา (2556) ไดกลาวถึง แนวทางการเลื อ กอาชี พให ป ระสบผลสํา เร็ จ ประกอบดวย ปจจัยสําคัญดังนี้ ความสนใจ (Interest) สํารวจความถนัด ความสนใจ ตลอดจนประสบการณตาง ๆ ใหเหมาะสม กับตนเองมากที่สุดเพื่อนําขอมูลมาใชเปนแนวทางการเลือกอาชีพที่เหมาะสม แนวโน มด านอาชี พ (Tendency) เปน อาชี พที่เ จริญกาวหน าและเป น ที่ต องการของสั งคม สอดคลองกั บ การเปลี่ ย นแปลงด า นธุ ร กิ จ และอุ ต สาหกรรม ซึ่ ง ประกอบด ว ยดานการสื่ อสาร ดานอิเล็กทรอนิกส ดานระบบควบคุมอัตโนมัติ และดานธุรกิจระดับชุมชน ทรัพยากรท อ งถิ่ น (Locality Resource) จะชวยประหยั ด ต น ทุ น และค า ใช จ า ย เป น การ สรางงานใหคนในทองถิ่น วิสัยทัศน (Vision) เปนการมองการณไกลและกํา หนดเป า หมายที่ตองการจะเปนของบุคคล ในการเลือกอาชีพ บุคคลมีวิสัยทัศนกวางจะมองเห็นโอกาสและขอไดเปรียบในการเลือกอาชีพ ทักษะ (Skill) เปนปจจัยสําคัญที่บุคคลนํามาใชเปนแนวทางในการเลือกอาชีพ เพราะการเลือก ที่มีทักษะจะทําใหบุคคลทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและมีความสุขในการเลือกอาชีพนั้น


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 22

กระทรวงแรงงาน (2559) ไดใหขอมูลแนวทางการเลือกอาชีพ โดยอธิบายรายละเอียดวางาน คือชีวิต ดังนั้นการเลือกอาชีพจําเปนตองมีการการวางแผนตั้งแตวัยเรียน ซึ่งเปนการวางแผนระยะยาว ที่ ต อ งใช เ วลานานมากและจะต อ งใช ค วามพยายามอย า งมากในการปฏิ บั ติ ต ามแผนที่ ว างไว ผลตอบแทนที่ไดรับจึงจะคุมคา การตัดสินใจเลือกอาชีพจึงขึ้นอยูกับองคประกอบที่สําคัญดังนี้ 1.6.1 ปจจัยภายนอก ขอมูลแนวทางการเลือกอาชีพเปนขอมูลที่มขี อบขายกวางขวางพอสรุปไดดั งนี้ 1.6.1.1 แนวโนมของตลาดแรงงาน เปนขอมูลเกี่ยวกับความตองการผูทํางานในด าน ตาง ๆ ในปจจุบัน และการพยากรณความตองการแรงงานจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงในอนาคต 1.6.1.2 ลักษณะงานที่ตองการทํามีลักษณะอยางไร ผูทํางานจะตองทําอะไรบาง เปน งานที่ทําแลวสนุก ทาทาย เกิดความเพลิดเพลินหรือกอใหเกิดความเบื่อหนาย งานใหญหรืองานเล็ก ขอบเขตความรับผิดชอบ เกี่ยวของกับตัวเลข สิ่งของหรือคน ใชเครื่องมืออุปกรณทํางาน และเปนงาน ทีน่ ั่ง ยืน หรือตองเดินทางไปทํางานในที่ตาง ๆ เปนตน 1.6.1.3 สภาพแวดลอมของงาน ไดแก บรรยากาศในการทํางาน เชน รอน เย็น ชื้น แห ง เป ย ก ฝุ น ละออง สกปรก เสี ย งดั ง ในอาคาร กลางแจ ง ในโรงงาน มี ส ารพิ ษ มี ส าร กัมมันตภาพรังสี ทามกลางความขัดแยง เปนตน 1.6.1.4 คุณสมบัติของผูประกอบอาชีพ ไดแก การกําหนดชวงอายุในการทํางาน และ เกษียณอายุการทํางานไวอยางชัดเจน เพศ เปนอาชีพสําหรับเพศหญิงหรือเพศชาย หรือใหโอกาสทั้ง หญิงและชายหรือใหโอกาสแกเพศใดเพศหนึ่งมากกวา 1.6.1.5 วิธีการในการเขาประกอบอาชีพ ไดแก การสมัครงาน การสอบสั มภาษณ หรือสอบขอเขียน และถาเปนการประกอบอาชีพอิสระตองใชเงินทุนทรัพยสินเพื่อดําเนินกิจการมาก นอยเพียงใด 1.6.1.6 รายไดหรือคาตอบแทนในการประกอบอาชีพนั้น ๆ จะมีรายไดเปนวัน สัปดาห เดือน ป โดยเฉลี่ยแลวเปนเงินเทาใด 1.6.1.7 ความกาวหนาอาชีพนั้ น ๆ จะมีความกาวหนาเพียงใด มีการศึกษาอบรมเพิ่มเติม มีความสามารถหรือประสบการณอยางไรจึงจะไดเลื่อนขั้นมากนอยเพียงใดการประกอบอาชีพเดิม นําไปสูอาชีพใหมหรือไม 1.6.1.8 การกระจายของผูประกอบอาชีพมีมากนอยเพียงใดและกระจายอยูทั่วประเทศ หรื อ มีอ ยู เ พีย งบางจั งหวั ด ทําไมจึ งเป น เช น นั้ น ประกอบอาชี พ ที่ใ ดก็ไ ด ห รื อ จะต องอยู ที่ใ ดที่ ห นึ่ ง โดยเฉพาะ


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 23

1.6.1.9 ขอดี และขอเสี ย ของอาชี พจะขึ้นอยูกับความพอใจ และความต องการของ ผูประกอบอาชีพแตละคนเนื่องจากงานบางอยางอาจมีการทํางาน ลวงเวลา ทํางานในวันเสารอาทิตย หรือวันหยุด และการเดินทางไปปฏิบัติในทองที่อื่น ๆ งานบางอาชีพมีค วามมั่ น คงกวางานอาชี พ อื่น เปนตน 1.6.2 ปจจัยสวนบุคคล ลั กษณะเฉพาะตั ว ของบุ คคล ประกอบด ว ยคุ ณลั ก ษณะดั ง นี้ ความสนใจ บุ คลิ กภาพ สติปญญา ความถนัด ทักษะ ความสัมฤทธิผล ประสบการณ แรงจูงใจ ความรับผิดชอบ ความอุตสาหะ ตรงตอเวลา กลาเสี่ยง เปนตน 1.6.3 ปจจัยเกี่ยวกับโครงสรางของคานิยม ประกอบด ว ยคุณลักษณะดังนี้ คานิยมทั่วไปในการประกอบอาชีพ ประกอบดวยจุดมุงหมาย ของชีวิตและจุดมุงหมายในการประกอบอาชีพ การรับรู เกียรติและชื่อเสียงของอาชีพ ทัศนคติตอ อาชีพตาง ๆ ความเขาใจในอาชี พ ของสังคม ขอมูลจริยธรรมในการทํางาน การใชเวลาวาง ความ ตองการเปลี่ยนแปลง ความตองการกฎเกณฑ ความตองการสนับสนุนชวยเหลือ ความตองการอํานาจ ความมั่นคงความปลอดภัยการทํางาน (แสดงดังแผนภูมิที่ 1.1)


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 24

แบบจําลองแนวทางการเลือกอาชีพ (Career Decision Making Model) การตระหนักในโอกาสจากภายใน (ตนเอง)  คานิยม  ความสนใจ  ทักษะ  สติปญญา/ความรู

การตระหนักในโอกาสจากภายนอก  ขอมูลขาวสาร  ตลาดแรงงาน  สถาบันการศึกษา  สถาบันฝกอบรมอาชีพ

1. ความคาดหวัง ความภาคภูมใิ จในตนเอง ความตองการ เขางานอาชีพ บุคลิกภาพสวนตัว 2. อิทธิพลจากสิ่งแวดลอมอื่น ๆ ไดแก ครอบครัว เพื่อน บุคคลตนแบบ และอื่น ๆ

ทางเลือก

ระบุอาชีพที่สนใจ เรียงตามลําดับ อยางนอย 5 อาชีพ

การตัดสินใจ

ตัดสินใจเลือกอาชีพ 3 จาก 5 อาชีพที่เขียนไว

วางแผนปฏิบัติ

เลือกสถานศึกษาใหตรงกับ อาชีพที่ตัดสินใจเลือกไว

ลงมือปฏิบัติตามแผนที่วางไว แผนภูมิที่ 1.1 แนวทางการเลือกอาชีพ ที่มา : กระทรวงแรงงาน


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 25

1.7 การมองเห็นโอกาสในการประกอบอาชีพ การมองเห็นโอกาสในการประกอบอาชีพเปนปจจัยสําคัญเนื่องจากผูที่รูความตองการของ ตลาดแรงงานและพัฒนาความรูความสามารถ ทักษะการทํางานใหเกิดขึ้นกับตนเอง ยอมมีโอกาส ประสบความสําเร็จในการมองหาอาชีพ ปจจัยสําคัญในการมองเห็นโอกาสการประกอบอาชี พมีดั งนี้ 1.7.1 ชองทางในการประกอบอาชีพ ผูที่ตองการประกอบอาชีพต องศึกษาความต องการของตลาดแรงงาน และเลือกอาชี พ ตามที่ตลาดแรงงานตองการ ยอมมีโอกาสมีอาชีพมี มีรายไดเลี้ยงดูตนเองและสมาชิกในครอบครัว การพัฒนาตนเองใหสอดคลองกับชองทางการประกอบอาชีพมีดังนี้ 1.7.1.1 พัฒนาทักษะความรูความชํานาญในงานประจําที่ทําอยูในปจจุบันใหส ามารถ นําประสบการณที่ไดรับไปพัฒนาเปนอาชีพในอนาคต 1.7.1.2 ความชอบ ความสนใจสวนตัวหรืองานอดิเรก เปนอีกทางหนึ่งที่สามารถชวย ใหมองเห็นชองทางการประกอบอาชีพได มีบุคคลจํานวนไมนอยที่นํางานอดิเรกที่เปนความชอบและ ความสนใจสวนบุคคลมาพัฒนาเปนอาชีพสรางรายไดใหกับตนเองและครอบครัวไดเปนอยางดี 1.7.1.3 การฟงความคิดเห็นจากแหลงตาง ๆ การพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับบุคคล อื่นจะเปนแหลงความรูและกอให เกิดความคิดริเริ่มสรางสรรค ช วยใหมีการวิเคราะหชองทางการ ประกอบอาชีพไดชัดเจนขึ้น ชวยสรางความมั่นใจ มองเห็นจุดหมายปลายทางไดชัดเจนและมีความ รอบคอบเพิ่มมากขึ้น 1.7.1.4 การศึกษาคนควา จากหนังสือ นิตยสาร หนังสือพิมพ วีดีทัศน วิทยุ จะชวยให เกิดความรูและความคิดใหม ๆ 1.7.1.5 ขอ มูล สถิ ติ รายงานการวิ จั ย ขา วสารจากหน ว ยงานราชการและเอกชน รวมทั้งแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาตินํามาประกอบการพิจารณาตัดสินใจในการประกอบอาชีพ 1.7.1.6 เขารับการฝกอบรมวิชาชาชีพจากสถาบันตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน 1.7.2 ปญหาการเลือกอาชีพของผูเรียนหรือผูสมัครงาน ปจจุบันผูเรียนและผู ที่กําลั งหางานทํามักจะประสบปญหาการเลือกอาชีพ ดังนี้ 1.7.2.1 ขาดความรูความเขาใจในการประกอบอาชีพตาง ๆ ขาดทักษะและรายละเอีย ด เกี่ยวกับโลกอาชีพ ไดแก ลักษณะของงานอาชีพ กระบวนการทํางาน ความกาวหนาในอาชีพและ ความตองการของตลาดแรงงานในสาขาอาชีพนั้น ๆ 1.7.2.2 ผูเรียนและผูสมัครงานตองการความชวยเหลือเกี่ยวกับ การใหคําปรึกษา แนะนํา แนะแนวอาชีพ แนะแนวการศึกษาตอ และการเตรียมตัวกอนเขาสูตลาดแรงงาน


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 26

1.7.2.3 ผูเรียนและผูสมัครงานจะตองรูขีดความสามารถ สติปญญา ความถนัด ความสนใจ และความพรอมในการเลือกประกอบอาชีพทีเ่ หมาะสมกับตนเอง 1.7.2.4 ปญหาทางดานเศรษฐกิจ ผูเรียนและผูส มัครงานต องมีความรูเรื่องเศรษฐกิจ ซึ่งมีผลตั้งแตการเลือกเรียนตอหรือศึกษาเพิ่มเติม ไดแก สาขาที่เลือกศึกษาตอเปน สาขาวิชาที่ตองใช เงินทุนมากหรือนอยสําเร็จการศึกษาแลวเปนที่ตองการของตลาดแรงงาน ตลอดจนการฝกพัฒนา ตนเองเพิ่มเติมเพื่อใหมีคุณลักษณะเดนในการสมัครงาน

1.8 การตัดสินใจเลือกอาชีพ การตัดสินใจเลือกอาชีพสําหรับบุคคลหนึ่ง ๆ เปนเรื่องสําคัญเนื่องจากตองพัฒนาตนเองให เหมาะสมกับอาชีพ มีคุณสมบัติ ความรูความสามารถที่จะประกอบอาชีพนั้น ๆ ได การตัดสินใจเลือก อาชีพของบุคคลมีดังนี้ 1.8.1 องคประกอบในการตัดสินใจเลือกอาชีพ การตัดสินใจเลือกอาชีพ หมายถึง การนําขอมูลแนวทางการเลือกอาชีพหลาย ๆ ดานมา พิจารณาอยางละเอี ย ดถี่ ถ ว นประกอบการตัดสินใจใหเ หมาะสมกั บ ความสามารถของตนเองให มากที่สุด มีปญหาอุปสรรคนอยที่สุด การตัดสินใจเลือกอาชีพมีองคประกอบที่สําคัญดังนี้ 1.8.1.1 ขอมูลประกอบการตัดสินใจ ประกอบดวย 1) ขอมูลเกี่ยวกับตนเอง หมายถึง ขอมูลตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการประกอบอาชีพที่ ตนเองมีความรู ความสามารถ ทักษะตาง ๆ ที่จะนํามาใชในการประกอบอาชีพและเงินทุน อาคาร สถานที่ แรงงาน เครื่องมือง วัสดุอุปกรณ เปนตน 2) ขอมูลเกี่ยวกับสภาพแวดลอมและสั ง คม เชน ผูที่จะมาใชบริการ (ตลาด) สวนแบงของตลาด ทําเลที่ตั้ง การคมนาคม ทรัพยากรที่จะเอื้อที่มีในทองถิ่น แหลงความรู ตลอดจน ผลที่จะเกิดขึ้นตอชุมชน 3) ขอมูลทางวิชาการ ไดแก ความรูทางเทคนิคตาง ๆ ที่จําเปนตอการประกอบ อาชีพนั้น ๆ ไดแก การตรวจซอมแกไข เทคนิคการบริการลูกคา ทักษะงานอาชีพตาง ๆ เปนตน 1.8.1.2 ความถนัด โดยทั่วไปคนเราจะมีความถนัดแตกตางกันไป เชน ความถนัดใน การทําอาหารการประดิษฐ งานศิลปะ ฯลฯ ผูที่มีความถนัดจะทําใหการทํางานนั้นเปนไปไดอยาง สะดวก รวดเร็ว คลองแคลว รวมทั้งยังชวยใหมองเห็นลูทางในการพัฒนาอาชีพนั้น ๆ ใหรุดหนาไดดีกวา คนที่ไมมีความถนัด


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 27

1.8.1.3 เจตคติที่ดีตองานอาชีพ เปนความรูสึกภายในของแตละคนที่มีตองานอาชีพ ไดแก ความรักศรัทธา ภาคภูมิใจ และความจริงใจ เปนตน ซึ่งความรูสึกเหลานี้เปนแรงผลักดันใหคนเกิด ความมานะ อดทน มุงมั่น ขยัน กลาสู กลาเสี่ยง ทําใหประสบความสําเร็จในการประกอบอาชีพไดการ ที่จะตัดสินใจเลือกอาชีพตองนําขอมูลตาง ๆ มาวิเคราะหดังนี้ 1) วิ เคราะหสภาพที่เป นอยู หมายถึง การวิ เคราะห สภาพตั วตนที่บุ คคล เปนอยูในเวลานั้น ไดแก สภาพความพรอมในการประกอบอาชีพ ความสนใจ หรือความชอบในงาน อาชีพตาง ๆ ที่บุคคลกําหนดเปาหมายและตัดสินใจเลือก 2) วิเคราะหทางออก หมายถึง แนวทางในการดําเนินงานที่ผูวิเคราะหเห็นวา ในกรณีที่สภาพที่เปนอยูนั้นไมเปนไปตามความตองการหรือตามที่กําหนดแตมีแนวทางการดําเนินงาน อื่นที่ทําใหเปนไปตามที่ตองการได จะตองตัดสินใจเลือกทางออกหรือวิธีการที่เหมาะสมเปนไปไดมาก ที่สุด 3) วิเคราะหความเป น ไปได หมายถึง การวิเคราะหความสั มพัน ธ ร ะหว าง สภาพที่เปนอยูกับแนวทางที่จะดําเนินการนั้นเปนสิ่งที่สามารถจะทําใหเกิดขึ้นไดจริงหรือ 4) ตั ด สิ น ใจเลื อ ก เป น การสรุ ป การตั ด สิ น ใจเลื อ กอาชี พ หลั งจากที่ มี การ วิเคราะหเปรียบเทียบอยางละเอียดรอบคอบแลว 1.8.2 การวิเคราะหความพรอมและความเปนไปไดของอาชีพที่ตัดสินใจเลือก เมื่อตัดสินใจวาจะประกอบอาชีพใดแลว เพื่อใหเกิดความมั่นใจวาอาชีพที่เลือกนั้นจะ สามารถดําเนินการไดจําเปนตองมีการวิเคราะหความพรอมและความเปนไปไดของอาชีพที่ตัดสินใจ เลือก เนื่องจากมนุษยเรามีความถนัด ความสามารถ และความสนใจในอาชีพแตกตางกัน เปนสาเหตุ ใหตองรูจักตนเอง รูจักงานอาชีพตาง ๆ อยางกวางขวาง รวมทั้งพิจารณาการเลือกอาชีพวามีงานอะไรบาง ที่ตนเองชอบและสนใจมากที่ สุ ด ซึ่ ง อาชี พ นั้น ๆ เหมาะสมกับความรู ความสามารถ อุปนิสัย ใจคอ และ บุคลิกลักษณะ จะทําใหการตัดสินใจเลือกอาชีพเปนไปอยางถูกตอง และประสบความสําเร็จในการ ประกอบอาชีพนั้น ๆ โดยมีขั้นตอนการวิเคราะห (แสดงดังแผนภูมิที่ 1.2)


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 28

อาชีพที่ตัดสินใจเลือก

ความพรอมของตนเองในการ ประกอบอาชีพ

1) เงินทุน 2) แรงงาน 3) วัสดุอุปกรณ 4) สถานประกอบการ 5) วัตถุดิบ 6) คุณสมบัติที่จําเปน ไดแก ความรู ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ สุขภาพ 7) ความถนัด/ใจรักในอาชีพ

ไมพรอม ลมเลิก

ความเปนไปไดในการ ประกอบอาชีพ

1) สวนแบงการตลาด 2) การขยายกิจการ 3) ความมั่นคงในชีวิต

พรอม

กําหนดโครงการ และแผนงาน การประกอบอาชีพ

ไมพรอม ลมเลิก

แผนภูมิที่ 1.2 ขั้นตอนการวิเคราะหความพรอมและความเปนไปไดของอาชีพที่ตัดสินใจเลือก ที่มา : ศูนยสงเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย [Online]. Available URL: http://dnfe5. nfe.go.th/ilp/42033/


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 29

1.9 ปจจัยสําคัญที่มีผลตอความสําเร็จในการประกอบอาชีพ การประกอบอาชีพใหประสบผลความสําเร็จ ผูประกอบอาชีพตองใหความสําคัญกับปจจัย ตาง ๆ ดังนี้ 1.9.1 ศึกษาวิเคราะหอาชีพที่ตองการทํา การวิเคราะหอาชีพเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหบุคคลมีความรู ความเขาใจอาชีพในดาน ตาง ๆ ขอมูลที่ไดจะเปนประโยชนในการตัดสินใจเลือกอาชีพใหเหมาะสมกับตนเอง รวมทั้งความ เปนไปไดตอการตัดสินใจเลือกอาชีพนั้น ๆ การศึกษาวิเคราะหอาชีพควรวิเคราะหรายละเอียดดังนี้ 1.9.1.1 ลักษณะอาชีพโดยศึกษารายละเอียด ลักษณะงาน ขัน้ ตอนการประกอบอาชีพ การวางแผน การจัดการ และการบริหารงานอาชีพนั้น ๆ 1.9.1.2 สภาพแวดลอมในการประกอบอาชีพ โดยศึกษาสถานที่ตั้งของหนวยงาน และ สภาพแวดลอมทั่วไป 1.9.1.3 คุณสมบัติของผูประกอบอาชีพ โดยศึกษาวาอาชีพแตละประเภทตองการบุคคล ที่มีคุณสมบัติอยางไร ไดแก ความรูความสามารถ ประสบการณ เพศ อายุ อุปนิสัยในการทํางาน 1.9.1.4 สภาพการจ า งงาน โดยศึ ก ษาค า ตอบแทนในการประกอบอาชี พ แต ล ะ ประเภทเป น วั น หรื อ เดื อ น การได รั บ ค า ตอบแทนขึ้ น อยู กั บ วุ ฒิ ก ารศึ ก ษา ความสามารถ หรื อ ประสบการณในการทํางาน ชั่วโมงทํางานการทํางาน การทํางานลวงเวลา การทํางานในวันหยุดหรือ ผลประโยชนอื่น ๆ 1.9.1.5 สภาพการประกอบอาชี พ โดยศึ ก ษาสถานที่ ป ระกอบอาชี พว ามีส ภาพ อยางไร ทํางานในที่รมหรือกลางแจง มีความเสี่ยงในการทํางานหรือไม อุปกรณในการทํางานเปน อยางไร 1.9.1.6 ความก าวหน าในการประกอบอาชี พ โดยพิจารณาถึงโอกาสที่ ผู ป ระกอบ อาชี พ และความกาวหนาในการทํางาน ไดแก การเลื่อนขั้นเงินเดือน เลื่อนตําแหนง และการไดรับ เงินชวยเหลือเมื่อเกษียณอายุการทํางาน 1.9.1.7 โอกาสอื่น ๆ ได แก การศึกษาตอ การฝ ก อบรม การศึก ษาดู งานภายในประเทศ และตางประเทศ เปนตน 1.9.2 การวิเคราะหตนเองเกี่ยวกับงานอาชีพ การศึกษาตนเองเปนการมองอย า งรู จั ก และเขาใจตนเองในการหางานทํา หมายถึง รูวามีความรูความสามารถ มีทักษะ ความสนใจ และมีบุคลิกภาพเปนอยางไร ซึ่งแตละคนจะตองรูจัก วิเคราะหสํารวจและพิจาณาลักษณะขอดีและขอบกพรองดังนี้


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 30

1.9.2.1 ความรูความสามารถ หมายถึง ความรูในสาขาวิชาที่ตองการประกอบอาชีพ ความสามารถในการคิดคนหาเหตุผล วิเคราะหสังเคราะหงานโดยสื่อความหมายหรือแสดงออกให ผูอื่นเขาใจได เชน ตองการประกอบอาชีพชางไฟฟาก็ควรมีความรูเกี่ยวกับงานไฟฟาทั้งดานทฤษฎี และปฏิบัติ 1.9.2.2 ทักษะในการทํางานเปนความสามารถที่ตองใชในการทํางานทุกอาชีพ เชน ทักษะการ คํานวณ ทักษะการประกอบอาหาร ถาเราคนพบทักษะที่มีอยูในตัวเราและสามารถนําทักษะมาใชให เปนประโยชนตอการทํางานก็จะชวยใหเราประสบความสําเร็จในการประกอบอาชีพ ทักษะในการ ทํางานที่สําคัญไดแก 1) ทักษะการสื่ อ สาร สามารถพูดหรือแสดงกิ ริ ย าท า ทางให ผูอื่นเขาใจได ใชถอยคําสุภาพเหมาะสมกับบุคคลและกาลเทศะ เปนนักฟงที่ดีสามารถเขียนสรุปและนําเสนองานได 2) ทักษะการจั ดการ สามารถคัดเลื อกบุ คคลจั ดสรรทรั พยากร งบประมาณ วั สดุ อุปกรณและเครื่องมือในการทํางานไดอยางเหมาะสม ทําใหการดําเนินการตาง ๆ สําเร็จลุลวงไดอยาง มีประสิทธิภาพ 3) ทักษะดานงานเทคนิค สามารถนําเทคนิคตาง ๆ มาใชในการทํางาน ไดแก เทคนิคการซอมแซมอุปกรณไฟฟา หรือคอมพิวเตอรไดเองโดยไมตองเรียกชาง ทําใหงานไมหยุดชะงัก สามารถดําเนินงานตอจนแลวเสร็จและมีคุณภาพ 4) ทักษะดานเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถนํามาใชประโยชนในการทํางาน ไดอยางมีประสิทธิภาพ 5) ทักษะการแกปญหา สามารถแยกแยะปญหาตาง ๆ คนหาวิธีการแกไขและ เลือกใชวิธีการแกปญหาอยางมีเหตุผล เพื่อใหทํางานไดสะดวกและประสบผลสําเร็จ 1.9.2.3 ความถนัดหรื อ ความสามารถพิเศษ หมายถึง ศักยภาพที่มีอยูในตัวบุ ค คล เป น พรสวรรคสั่งสมจากประสบการณหรือเกิดขึ้นจากการศึกษาคนควา ความถนัด หรือความสามารถ พิเศษเหลานี้ ผูที่รูจักตนเองดีควรนํามาใชใหเกิดประโยชนในการประกอบอาชีพ 1.9.2.4 จุดเดน เปนจุดสนใจที่ทําใหผูอื่นมองเห็นภาพลักษณหรือคิดถึงเรา ไดแก การ พูดจาไพเราะ เขากับคนงาย ซื่อสัตย ตรงไปตรงมา ซึ่งเปนลักษณะทางบุคลิกภาพที่ทุกคนมีอยูใน ตนเอง และสามารถนํามาใชใหเหมาะสมกับการประกอบอาชีพ 1.9.2.5 ความชอบ ความสนใจและความตองการ เพื่อใหเกิดความพอใจและเปนธรรม สําหรับตนเองแลว จึงเลือกอาชีพที่ชอบมากที่สุดซึ่งจะทําใหมีความสุข ภาคภูมิใจและประสบความสําเร็จ ในอาชีพนั้น ๆ


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 31

1.9.2.6 ค านิ ย มในการทํางาน หมายถึ ง สิ่ งที่เรายึ ดถื อว าดี งามสมควรปฏิ บั ติ ตาม ได แก คานิยมเรื่องความซื่อสัตย ความมั่นคง ความเสียสละ คานิยมเปนตัวกําหนดสิ่งที่มีคุณคาตอชีวิตถาเรา คิดวาสิ่งใดสําคัญตอการทํางานการตัดสินใจเลือกอาชีพที่เหมาะสมกับตนเองก็จะชวยใหเรามีความสุข และความพอใจกับการทํางานมากยิ่งขึ้น 1.9.2.7 อุปนิสัย เปนลักษณะภายในจิตใจที่แสดงเปนพฤติก รรรมออกมาให ผู อื่ น เห็ น ทางวาจา แววตา สีหนา อารมณ น้ําเสียง และกิริยาทาทางตาง ๆ ถาเรารูจักอุปนิสัยของตนเอง ก็จะชวยใหเตรียมตัวและเลือกประกอบอาชีพไดงายขึ้น 1.9.2.8 ขอจํ ากัดในการทํา งาน หมายถึง สิ่ งที่ไมส ามารถนํ า ไปใช ในการประกอบ อาชีพไดและทําใหเกิดอุปสรรคตอการทํางาน เชน ที่พักอาศัย การเดินทาง มีโรคประจําตัว ไมควร ปดบังตนเองเพราะอาจทําใหเลือกประกอบอาชีพผิดและเกิดความลมเหลวในการทํางาน 1.9.2.9 บุคลิกภาพ หมายถึง ลักษณะสวนรวมของบุคคลซึ่งประกอบดวยสิ่งที่ปรากฏ ทางรางกาย นิสัยใจคอ ความรูสึกนึกคิด หากรูจักและเขาใจในบุคลิกภาพของตนเองก็สามารถเลือก ประกอบอาชีพใหเหมาะสมกับตนเองมากที่สุด ลักษณะสําคัญ ๆ ของบุคลิกภาพมีรายละเอียดดังนี้ 1) ทางกายภาพ ไดแก การเปนผูที่มีรูปรางหนาตาดีมีสุขภาพรางกายแข็งแรง 2) ทางสมอง ไดแก ความรูดี ปญญาดี และมีความจําดี 3) ความสามารถ ไดแก มีประสบการณ และความถนัดที่เกิดจากการฝกฝน 4) ความประพฤติ ไดแก เปนคนสุภาพออนโยน มนุษยสัมพันธดี มีน้ําใจ 5) อารมณและกําลังใจ เชน ใจเย็น อดกลั้น ไมฉุนเฉียว ไมทอถอย 1.9.3 ดานคุณลักษณะทีพ่ ึ ง มีใ นการประกอบอาชีพ คุณลักษณะการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนในแตละอาชีพแตกตางกันดังนี้ 1.9.3.1 การเปน ผูกล าไดกล าเสีย มีความอดทนสู ง มีความรอบรูเ ทาทันเศรษฐกิจ และเหตุการณบานเมือง รูจักกลยุทธการแขงขันกับคูแขง 1.9.3.2 มีมนุษยสัมพันธดี ยิ้มแยมแจมใส อดทน อดกลั้น 1.9.3.3 มีความกระตื อรื อร น มีวินั ย ขยัน อดทน ยอมรั บ ในกฎเกณฑ และมี ความ ซื่อสัตย


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 32

1.10 ประโยชนของงานอาชีพ อาชีพทุกอาชีพลวนมีคุณคาและมีประโยชนตอมนุษยในสังคม ประโยชนของอาชีพสามารถ จําแนกไดดังนี้ 1.10.1 ดานตนเอง (Yourself) การประกอบอาชี พ ฝ ก ให บุ ค คลมี วิ นั ย ซื่ อ สั ต ย รับผิดชอบ และรูคุณคาของเงิน รายได ที่ เ ป น คา ตอบแทนจากการประกอบอาชี พ ทํา ให รู จั ก ใช จ ายเงิ น อย างประหยั ด มี การวาง แผนการใชจายเงิน การเก็บออมเงินเพื่อมั่นคงของชีวิตในอนาคต 1.10.2 ดานครอบครัว (Family) การประกอบอาชี พ เป น การส ง เสริ ม คุ ณ ค า ให ต นเองและสมาชิ กในครอบครั ว เปนตัวอยางแกบุคคลในครอบครัวและบุคคลอื่น ๆ ในสังคม 1.10.3 ดานชุมชน (Community) การประกอบอาชี พ ของบุ ค คลในสั ง คมเป น การสร า งรายได ใ ห แ ก ชุ ม ชน ทํ า ให เศรษฐกิจชุมชนดีขึ้น ทําใหชุมชนมีความเขมแข็ง ทําใหผูคนในชุมชนมีความรูสึกรักและผูกพันกัน ตลอดจนมีเจตคติทดี่ ีตอชุมชนและทองถิ่นของตนเอง 1.10.4 ดานประเทศชาติ (Nation) เมื่อประชาชนในประเทศมีอาชีพ มีรายได รัฐก็สามารถเรียกเก็บภาษีเงินได และนํา รายไดจ ากการเก็ บ ภาษี มาพั ฒ นาประเทศในด า นต า ง ๆ ให มี ความเจริญกาวหนาทัดเทียมนานา ประเทศได

สรุป มนุษยเรามีความถนัด ความสามารถ และความสนใจในงานอาชีพแตกตางกัน บางคนเหมาะที่ จะทํางานดานหัตถกรรม บางคนเหมาะสมที่จะทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักรกลหรืองานที่เกี่ยวของกับ ดานวิทยาศาสตร สวนบางคนอาจจะเหมาะสมที่จะทํางานเกี่ยวกับการสอนหนังสือ การชวยเหลือ ติดตอสื่อสารและใหบริการประชาชน เปนตน และพรสวรรคที่มีไมเหมือนกันทําใหไมสามารถทํางาน ชนิดเดียวกันได ขอสําคัญก็คือ ตองรูจักตนเอง และรูจักงานอาชีพตาง ๆ อยางกวางขวาง รวมทั้ง พิจารณาดูวามีงานอะไรบางที่ชอบและสนใจมากที่สุด และงานนั้น ๆ เหมาะสมกับอุปนิสัยและบุคลิก ลักษณะของตนเองหรือไม


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 33

การประกอบอาชีพที่ตรงกับความถนัด ความรูความสามารถ และความต อ งการของตนเอง จะสงผลใหความความสําเร็จในการประกอบอยางยั่งยืนและเกิดความภาคภูมิในตนเอง การเรียนรูที่จะวางแผนการตัดสินใจเลือกอาชีพ ทําใหมีขอมูลอาชีพตาง ๆ ที่จะนํามาใชในการ คนหาตนเองวามีความเหมาะสมกับอาชีพใด เพื่อความพึงพอใจ ความสุขในการประกอบอาชีพ และ พัฒนาอาชีพของตนใหบรรลุเปาหมายสูงสุดไดตามความคาดหวัง


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 34

แบบฝกหัด

หนวยที่ 1

ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) 1. อาชีพ หมายถึง ……………………………………...................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ 2. การประกอบอาชีพ หมายถึง ……………………………………...................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ 3. ความสําคัญของอาชีพมีอะไรบาง ……………………………………...................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ 4. อาชีพตามเนื้อหาวิชาของอาชีพมีกี่ประเภท อะไรบาง ……………………………………...................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 5. การแบงอาชีพตามลักษณะของการประกอบอาชีพมีกี่ลักษณะ อะไรบาง ……………………………………...................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ 6. ปจจัยที่ตองพิจารณาในการเลือกอาชีพมีอะไรบาง ……………………………………...................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ 7. ปญหาการเลือกอาชีพของผูเรียนหรือผูสมัครงานมีอะไรบาง ……………………………………...................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 35

8. จงอธิบายขั้นตอนการตัดสินใจเลือกอาชีพ ……………………………………...................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ……………………………………...................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ……………………………………...................................................................................................................... 9. ปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จในการประกอบอาชีพอะไรบาง ……………………………………...................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ……………………………………...................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ 10. จงอธิบายความหมายของการมองเห็นชองทางในการประกอบอาชีพ ……………………………………………............................................................................................................. ................................................................................................................................................................ ……………………………………...................................................................................................................... ******************************


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 36

ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหนักเรียนทําเครื่องหมาย X ทับตัวอักษรหนาคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) 1. อาชีพหมายถึงขอใด ก. อาชีพ คือ การทําหนาที่ของมนุษยเพื่อการดํารงชีวิต ข. อาชีพ คือ งานหรือหนาที่ที่ตองทําดวยตนเองแตเพียงผูเดียว ค. อาชีพ คือ งานที่ทําเปนประจําไดคาตอบแทนเปนรายไดเพื่อใชจายในการดํารงชีวิต ง. อาชีพ คือ ผูประกอบการไมไดเปนเจาของกิจการแตเปนเพียงผูรับจางทํางานเทานั้น 2. การประกอบอาชีพ หมายถึงขอใด ก. งานที่ทําดวยความสมัครใจ ข. การทํามาหากินของมนุษยในสังคม ค. การเลี้ยงดูตนเองและสมาชิกในครอบครัว ง. การทํามาหาเลี้ยงชีพจากรายไดที่ทําประจํา 3. อาชีพ คือสวนหนึ่งของชีวิตหมายความวาอยางไร ก. อาชีพเปนสิ่งสําคัญ ข. อาชีพกับมนุษยเปนของคูกัน ค. อาชีพเทากับ 1 ใน 4 ของชีวิต ง. อาชีพเปนสิ่งที่จําเปนตอการดํารงชีวิต 4. มนุษยไดรับสิ่งใดจากการประกอบอาชีพ ก. ความสุขใจ ภาคภูมิใจ ข. เพื่อนรวมงานเพิ่มมากขึ้น ค. รายไดจากการประกอบอาชีพ ง. ทักษะความชํานาญที่เกิดขึ้นจากการทํางาน 5. ขอใดไมใชความสําคัญของการประกอบอาชีพ ก. กอใหเกิดการจางงาน ข. ชวยพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ค. มีการประกอบอาชีพหลากหลาย ง. สงเสริมและพัฒนาประชากรใหมีงานทํา


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 37

6. ประชากรชาวไทยสวนใหญประกอบอาชีพอะไร ก. อาชีพบริการ ข. อาชีพเกษตรกรรม ค. อาชีพศิลปะ/หัตถกรรม ง. อาชีพอุตสาหกรรมในครัวเรือน 7. สายสมร ทํางานเปนพนักงานอยูในโรงแรมสุโขทัยสายสมรประกอบอาชีพประเภทใด ก. อาชีพบริการ ข. อาชีพเกษตรกรรม ค. อาชีพศิลปะ/หัตถกรรม ง. อาชีพอุตสาหกรรมในสถานประกอบการ 8. การประกอบอาชีพในขอใดจัดอยูในประเภทอุตสาหกรรมในครัวเรือน ก. อาชีพวิศวกร ข. อาชีพการทอเสื่อ ค. พนักงานฝายผลิต ง. อาชีพทนายความ 9. ผูประกอบอาชีพลักษณะใดตองมีความโปรงใส ตรวจสอบไดสูงสุด ก. ครู ข. ตํารวจ ค. แพทย ง. นักบัญชี 10. ผูที่ชอบสืบเสาะคนหาความจริง ควรประกอบอาชีพลักษณะใด ก. ผูสื่อขาว ข .ชางสํารวจ ค. โปรแกรมเมอร ง. พนักงานพิสูจนอักษร 11. “มะลิเปนผูที่มีความละเอียดรอบคอบ ซื่อสัตย” จากคุณลักษณะดังกลาวมะลิควรประกอบ อาชีพใด ก. เจาหนาที่ธุรการ ข. เจาหนาที่การเงิน ค. เจาหนาทีง่ านพัสดุ ง. เจาหนาที่ทะเบียน


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 38

12. การเลือกประกอบอาชีพควรทําสิ่งใดเปนอันดับแรก ก. ศึกษาอาชีพ ข. ศึกษาตนเอง ค. เขียนใบสมัครงาน ง. ตัดสินใจเลือกอาชีพ 13. ขอมูลใดไมจําเปนตองนํามาพิจารณาในการตัดสินเลือกอาชีพ ก. ความชอบ ความสนใจ ข. ความถนัด คานิยมในสังคม ค. ความร่ํารวย ฐานะทางสังคม ง. ขอมูลดานสติปญญาความสามารถของตนเอง 14. การเลือกประกอบอาชีพที่ตนเองชอบ มีความถนัดจะเกิดผลดีอยางไร ก. ทําใหขยันทํางาน ข. ทําไดไดรับรายไดสูง ค. ทําใหทํางานไดรวดเร็ว ง. มีความสุขในการทํางาน 15. วิธีการมองหาโอกาสในการประกอบอาชีพที่ตนเองสนใจที่เหมาะสมและไดผลดีที่สุดคือขอใด ก. เขาฝกงานในหนวยงานที่สนใจ ข. พูดคุยกับผูประกอบอาชีพที่กําลังสนใจ ค. หาขอมูลอาชีพที่สนใจจากอินเทอรเน็ต ง. รวมกิจกรรมการประกอบอาชีพในหองเรียน 16. ปจจัยที่ไมเกี่ยวของกับการพัฒนาตนเองใหมองเห็นโอกาสในการประกอบอาชีพไดแกขอใด ก. ความรู ความสามารถ ข. ทักษะ ความชํานาญในงาน ค. ความชอบ ความสนใจ ความถนัด ง. เลือกเรียนสายอาชีพตามใจพอแม 17. นักเรียนควรตัดสินใจเลือกอาชีพจากองคประกอบใด ก. รายได ข. ตามเพื่อนที่เรียน ค. ความถนัดของตนเอง ง. คานิยมของผูปกครองและสังคม


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 39

18. ขอดีของการเตรียมความพรอมในการประกอบอาชีพคือขอใด ก. ไดเริ่มทํางานเร็วกวาผูอื่น ข. ไดอาชีพตรงกับความตองการของพอแม ค. เลือกอาชีพไดตรงกับความถนัดของตนเอง ง. ใชเวลาตัดสินใจนอย ประหยัดเวลา ไดงานเร็ว 19. การวางแผนการใชจายเงิน การเก็บออมเงินเพื่อสรางความมั่นคงใหกับชีวิตเปนผลประโยชน ของการประกอบอาชีพที่เกิดขึ้นตอใคร ก. ตอประชาชนในชุมชน ข. ตอสังคมและสิ่งแวดลอม ค. ตอตนเองและสมาชิกในครอบครัว ง. ตอความมั่งคั่งของสถานประกอบการ 20. พระจันทร มีการแบงเวลาจากการประกอบอาชีพเพื่อดูแลครอบครัว ดูแลสุขภาพของตนเอง และรวมกิจกรรมกับสังคม พระจันทรเปนคนอยางไร ก. เกงการบริหารคน ข. เกงการบริหารตนเอง ค. เกงในการดําเนินชีวิต ง. เกงในการปฏิบัติงาน


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 40

เฉลยแบบฝกหัด

หนวยที่ 1

ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) 1. อาชีพ หมายถึง อาชีพ หมายถึง กิจการงานที่บุคลใดบุคคลหนึ่งไดกระทําแลวไดรับคาตอบแทนเปนรายได . เพื่อนําไปใชในการดํารงชีวิตและตอบสนองความตองการทางดานรางกาย อารมณ สังคม และความ ตองการดานอื่น ๆ ของตนเองรวมทั้งสมาชิกในครอบครัว . 2. การประกอบอาชีพ หมายถึง การประกอบอาชีพ หมายถึง การทํามาหากินเลี้ยงดูตนเองและครอบครัวที่เกิดจากกิจกรรม การผลิต หรือการบริการใด ๆ ที่กอใหเกิดผลผลิตและรายไดเปนปฏิบัติกิจการงานประจําที่สุจริต ไม ผิดศีลธรรม และเบียดเบียนสังคม สิ่งแวดลอม . 3. ความสําคัญของอาชีพมีอะไรบาง ความสําคัญของอาชีพมีดังนี้ .. 1. สงเสริมคุณภาพชีวิตของมนุษยใหสามารถดํารงชีวิตอยูไดอยางปกติสุข เพราะผูที่มีอาชีพ จะมีรายได ทําใหมีอํานาจการซื้อ (Power Purchasing) สินคาเพื่อการอุปโภคบริโภคที่จําเปนตอการ ดําเนินชีวิตประจําวันได ง .. 2. ทําใหเกิดความนาเชื่อถือในสังคม ผูที่มีอาชีพจะไดรับความเชื่อถือจากผูคนในสังคม เพราะ คานิยมในสังคมมนุษยมองวาคนที่มีอาชีพสามารถทํามาหากินเลี้ยงตนเองไดเปนคนที่มีคุณภาพ จะไม ไปสรางความเดือดรอนใหเกิดแกบุคคลอื่น . . 3. สรางความเชื่อมั่นใหกับผูที่จะมาใชชีวิตอยูรวมกัน ผูที่มีอาชีพจะสรางความมั่นใจใหกับ . คูชีวิตวาจะสามารถสรางครอบครัวที่มีความสุขไดอยางแนนอน …… 4. รายไดจากการประกอบอาชีพสามารถดูแลใหการดําเนินชีวิตของครอบครัวเปนปกติสุข มี การเก็บสะสมการออมไวใชเมื่อยามเจ็บปวยในอนาคต …… 5. กิจกรรมในสังคมมีความเคลื่อนไหว เพราะความหลากหลายของอาชีพ กอใหเกิดการเชื่อม ประสานในจุดตางๆ เกิดการปฏิสัมพันธกันระหวางผูคนในสังคม ไดแก การซื้อขายสินคา กิจกรรม ตาง ๆ กอใหเกิดการพัฒนา เกิดสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ เกิดขึ้นในสังคม มีถนนหนทาง รถไฟฟา และอื่น ๆ ……


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 41

4. อาชีพตามเนื้อหาวิชาของอาชีพมีกี่ประเภท อะไรบาง การแบงอาชีพตามเนื้อหาวิชาของอาชีพสามารถจัดกลุมอาชีพตามเนื้อหาวิชาของอาชีพได 6 ประเภทดังนี้ . . 1. อาชีพเกษตรกรรม (Agricultural Occupation) . 2. อาชีพอุตสาหกรรม (Industry Occupation) ประกอบดวย อุตสาหกรรมในครอบครัว . .อุตสาหกรรมขนาดยอม อุตสาหกรรมขนาดกลาง และอุตสาหกรรมขนาดใหญ . 3. อาชีพพาณิชยกรรมและอาชีพบริการ (Commerce and Service Occupation) ประกอบดวย อาชีพพาณิชยกรรม (Commerce Occupation) และอาชีพบริการ (Service Occupation) . 4. อาชีพคหกรรม (Spill Smoke Occupation) . . 5. อาชีพหัตกรรม (Handicraft Occupation) . . 6. อาชีพศิลปกรรม (Art Objectives Occupation) . . 5. การแบงอาชีพตามลักษณะของการประกอบอาชีพมีกี่ลักษณะ อะไรบาง การแบ ง อาชี พ ตามลั ก ษณะของการประกอบอาชี พ สามารถจั ด กลุ มอาชี พตามลั ก ษณะ การประกอบอาชีพไดเปน 4 ลักษณะดังนี้ . . 1. อาชีพอิสระ (Freelance) . . 2. อาชีพรับจาง (Occupation work for) . . 3. อาชีพงานฝมือ (Craft Occupation) . . 4. อาชีพรับราชการ (Government Servant Occupation) รวมถึงเจาหนาที่ของรัฐ พนักงาน รัฐวิสาหกิจ . . “ 6. ปจจัยที่ตองพิจารณาในการเลือกอาชีพมีอะไรบาง ปจจัยที่ตองพิจารณาในการเลือกอาชีพขึ้นอยูกับองคประกอบที่สําคัญดังนี้ . . 1. ขอมูลดานอาชีพเปนขอมูลที่มีขอบขายกวางขวางสรุปไดดังนี้ . . 1.1 แนวโนมของตลาดแรงงานเปนขอมูลเกี่ยวกับความตองการผูทํางานในดานตาง ๆ ใน ป จ จุ บั น และการพยากรณ ค วามต อ งการเพิ่ ม ขึ้ น หรื อ ลดลงในอนาคตของตลาดแรงงาน 1.2 ลักษณะงานที่ตองการทํามีลักษณะอยางไร ผูทํางานจะตองทําอะไรบาง เปนงานที่ทํา ใหเกิดความเพลิดเพลินหรือกอใหเกิดความเบื่อหนาย งานใหญหรืองานเล็ก มีความรับผิดชอบที่สําคัญ หรือไม ตองเกี่ยวของกับตัวเลข สิ่งของหรือคน ตองใชเครื่องมืออุปกรณมากหรือไม ตองนั่งทํางาน ยืนทํางาน ตองเดินทางหรือไม เปนตน . . .


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 42

1.3 สภาพแวดลอมของงาน ไดแก สภาพแวดลอมและบรรยากาศของงาน เชน รอน เย็น ชื้ น แห ง เป ย กฝุ น ละออง สกปรก เสี ย งดั ง ในอาคาร กลางแจ ง ในโรงงาน มี ส ารพิ ษ มี ส าร กัมมันตภาพรังสี มีความขัดแยง เปนตน . . 1.4 คุ ณสมบั ติ ข องผู ป ระกอบอาชี พ ได แ ก มี การกํา หนดช ว งอายุ ในการทํ างานและ เกษียณอายุการทํางานไวอยางไร เพศ เปนอาชีพสําหรับเพศหญิงหรือเพศชาย หรือใหโอกาสทั้งหญิง และชาย หรือใหโอกาสแกเพศใดเพศหนึ่งมากกวา . . 1.5 การเขาประกอบอาชีพตองมีวิธีการอยางไร ไดแก โดยการสมัครงานกับนายจางดวย ตนเอง ตองมีการสอบสัมภาษณหรือตองสอบขอเขียน และถาเปนการประกอบอาชีพอิสระตองใชทุน ทรัพยเพื่อดําเนินกิจการมากนอยเพียงใด . . 1.6 รายไดในการประกอบอาชีพนั้น ๆ จะมีรายไดเปนวัน สัปดาห เดือน ป โดยเฉลี่ย แลวเปนเงินเทาใด . . 1.7 ความกาวหนาอาชีพนั้น ๆ จะมีความกาวหนาเพียงใด จะตองมีการศึกษาอบรมเพิ่มเติม มีความสามารถหรือประสบการณอยางไรจึงจะไดเลื่อนขั้นมากนอยเพียงใด การประกอบอาชีพเดิม นําไปสูอาชีพใหมไดหรือไม . . 1.8 การกระจายของผูประกอบอาชีพ มีผูประกอบอาชีพมากนอยเพียงใดและกระจาย อยูทั่วประเทศหรือมีอยูเพียงบางจังหวัดทําไมจึงเปนเชนนั้น ผูประกอบอาชีพที่ใดก็ไดหรือจะตองอยูที่ ใดที่หนึ่งโดยเฉพาะ . . . 1.9 ขอดีและขอเสียของอาชีพขึ้นอยูกับความพอใจและความตองการของผูป ระกอบ อาชีพของแตละคน เนื่องจากงานบางอยางอาจมีการทํางาน ลวงเวลา ทํางานในวันเสารอาทิตย หรือ วันหยุดและการเดินทางไปปฏิบัติในทองที่อื่น ๆ งานบางอาชีพมีความมั่นคงกวางานอาชีพอื่น เปนตน 2. ป จ จั ย ส ว นบุ คคล ได แก ลั กษณะเฉพาะตั ว ของบุ คคล ประกอบด ว ยคุณลั กษณะ ดั ง นี้ ความสนใจ บุคลิกภาพ สติปญญา ความถนัด ประสบการณ แรงจูงใจ ความรับผิดชอบ ความอุตสาหะ ความตรงตอเวลา ความสามารถในการตัดสินใจ วุฒิภาวะทางอาชีพ เพศ เชื้อชาติ อายุ ความแข็งแรง ของรางกาย . . 3. คานิยมในสังคม ประกอบดวยคุณลักษณะดังนี้ คานิยมทั่ว ๆ ไปทางการงาน จุดมุงหมาย ชีวิต จุดมุงหมายทางอาชีพ การรับรู เกียรติและชื่อเสียงของอาชีพ ทัศนคติตออาชีพตาง ๆ ความเขาใจ อาชีพที่เกี่ยวกับคน ขอมูลจริยธรรมในการทํางาน การใชเวลาวาง ความตองการเปลี่ยนแปลง ความ ต อ งการกฎเกณฑ ความต อ งการสนั บ สนุ น ช ว ยเหลื อ ความต อ งการอํ า นาจ ความมั่ น คง ความ ปลอดภัยการทํางาน .


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 43

7. ปญหาการเลือกอาชีพของผูเรียนหรือผูสมัครงานมีอะไรบาง ปจจุบันผูเรียนและผูที่กําลังหางานทํามักจะประสบปญหาการเลือกอาชีพดังนี้ . . 1. ขาดความรูความเขาใจในการประกอบอาชีพตาง ๆ ขาดทักษะและรายละเอียดเกี่ยวกับ โลกอาชี พ ได แก ลักษณะของงานอาชีพ กระบวนการทํางาน ความกาวหน าในอาชี พ และความ ตองการของตลาดแรงงานในสาขาอาชีพนั้น ๆ . . 2. ผูเรียนและผูสมัครงานตองการความชวยเหลือเกี่ยวกับการใหคําปรึกษา แนะนํา . . แนะแนวอาชีพ แนะแนวการศึกษาตอ และการเตรียมตัวกอนเขาสูตลาดแรงงาน . . 3. ผูเรียนและผูสมัครงานจะตองรูขีดความสามารถ สติปญญา ความถนัด ความสนใจ และ . ความพรอมในการเลือกประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับตนเอง . . 4. ปญหาทางดานเศรษฐกิจ ผูเรียนและผูสมัครงานจะตองมีความรูในเรื่องปญหาเศรษฐกิจ ซึ่งมีผลตั้งแตการเลือกเรียนตอ หรือศึกษาวาเมื่อสําเร็จการศึกษาแลวเปนที่ตองการของตลาดแรงงาน ตลอดจนการฝกพัฒนาตนเองเพิ่มเติมเพื่อใหมีคุณลักษณะเดนในการสมัครงาน . . 8. จงอธิบายขั้นตอนการตัดสินใจเลือกอาชีพ การตัดสินใจเลือกอาชีพ หมายถึง การนําขอมูลหลาย ๆ ดานของอาชีพที่จะเลือกมาพิจารณา อยางละเอียดถี่ถวนประกอบการตัดสินใจใหเหมาะสมกับความสามารถของตนเองใหมากที่สุดมีปญหา อุปสรรคนอยที่สุด การตัดสินใจเลือกอาชีพมีขั้นตอนที่สําคัญดังนี้ . “ 1. ขอมูลประกอบการตัดสินใจพิจารณาขอมูล 3 ดาน ประกอบดวย . . 1.1 ขอมูลเกี่ยวกับตนเอง หมายถึง ขอมูลตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการประกอบอาชีพที่ตนเองมี . อยู เชน เงินทุน ที่ดิน อาคารสถานที่ แรงงาน เครื่องมือเครื่องใช วัสดุ อุปกรณ ความรูทักษะตาง ๆ ที่ จะนํามาใชในการประกอบอาชีพมีหรือไมอยางไร . . 1.2 ขอมูลเกี่ยวกับสภาพแวดลอมและสังคม เชน ผูที่จะมาใชบริการ (ตลาด) สวนแบงของ ตลาด ทําเลที่ตั้ง การคมนาคม ทรัพยากรที่จะเอื้อที่มีในทองถิ่น แหลงความรูตลอดจนผลที่จะเกิดขึ้น ตอชุมชน . . 1.3 ขอมูลทางวิชาการความรูทางเทคนิคตาง ๆ ที่จําเปนตออาชีพนั้น ๆ ไดแก การตรวจ ซอมแกไข เทคนิคการบริการลูกคา ทักษะงานอาชีพตาง ๆ เปนตน . . 2. ความถนัดโดยทั่วไป คนเราจะมีความถนัดแตกตางกันไป เชน ความถนัดในการทําอาหาร ถนั ดในการประดิ ษฐ ฯลฯ ผูที่มีความถนัด จะช วยให การทํา งานนั้น เปน ไปไดอยางสะดวกรวดเร็ ว คลองแคลว รวมทั้งยังชวยให มองเห็ นลูทางในการพัฒนาอาชีพนั้น ๆ ใหรุ ดหนาไดดีกวาคนที่ไมมี ความถนัด .


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 44

3. เจตคติที่ดีตองานอาชีพ เปนความรูสึกภายในของแตละคนที่มีตองานอาชีพ ไดแก ความรัก ความศรัทธา ความภูมิใจ ความจริงใจ เปนตน ซึ่งความรูสึกเหลานี้เปนแรงผลักดันใหคนเกิดความ มานะ อดทน มุงมั่น ขยัน กลาสู กลาเสี่ยง ทําใหประสบความสําเร็จในการประกอบอาชีพไดการที่จะ ตัดสินใจเลือกอาชีพตองนําขอมูลตาง ๆ มาวิเคราะห ดังนี้ . 3.1 วิเคราะหสภาพที่เปนอยู หมายถึง สิ่งที่เปนอยูในขณะนั้นเกี่ยวกับเรื่องตาง ๆ ตอง . วิเคราะหตามสภาพจริงที่เปนอยู . . 3.2 วิเคราะหทางออก หมายถึง แนวทางในการดําเนินงานที่ผูวิเคราะหเห็นวาในกรณีที่ สภาพที่เปนอยูนั้นไมเปนไปตามความตองการหรือตามที่กําหนด แตอาจมีแนวทางการดําเนินงานหรือ ทางออกอื่น ๆ ที่จะทําใหเปนไปตามที่ตองการไดอีกหลายวิธี ซึ่งตองตัดสินใจเลือกทางออกหรือวิธีการ ที่เหมาะสมเปนไปไดมากที่สุด . . 3.3 วิเคราะหความเปนไปได หมายถึง การวิเคราะหความสัมพันธระหวางสภาพที่เปนอยู กับทางออกแนวทางที่จะดําเนินการนั้น เปนสิ่งที่สามารถจะทําใหเกิดขึ้นหรือเปนไปไดจริงหรือไมตาม ทางออกที่คิดไว . . 3.4 ตั ด สิ น ใจเลื อ ก เป น การสรุ ป ตั ด สิ น ใจเลื อ กอาชี พ หลั ง จากที่ มี ก ารวิ เ คราะห เปรียบเทียบอยางละเอียดรอบคอบแลว . . 9. ปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จในการประกอบอาชีพอะไรบาง ปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จในการประกอบอาชีพมีดังนี้ . “ 1. การศึกษาวิเคราะหอาชีพที่ตองการทํา เปนป จ จั ย สํา คั ญ ที่ทํา ให บุ ค คลมี ความรู ความ . เขาใจอาชี พในดานต าง ๆ ขอมูลที่ได จะเปน ประโยชน ในการตัดสิ นใจเลือกอาชีพใหเ หมาะสมกับ ตนเอง รวมทั้งความเปนไปไดตอการตัดสินใจเลือกอาชีพนั้น ๆ โดยทําการวิเคราะหดังนี้ 1) ลักษณะ อาชีพประเภท รูปแบบของอาชีพ 2) สภาพแวดลอมในการประกอบอาชีพ 3) คุณสมบัติของผู ประกอบอาชีพ 4) สภาพการจางงานโดยศึกษาคาตอบแทนในการประกอบอาชีพแตละประเภทซึ่ง อาจได รั บ ค า ตอบแทนเป น รายวั น รายเดื อ น การได รั บ ค า ตอบแทนอาจขึ้ น อยู กั บ วุ ฒิ ก ารศึ ก ษา ความสามารถหรื อประสบการณในการทํางานก็ได นอกจากนี้ยั งศึกษาเกี่ยวกับชั่ วโมงทํางานการ ทํางานลวงเวลาการทํางานในวันหยุดหรือผลประโยชนอื่น ๆ 5) สภาพการประกอบอาชีพวามีสภาพ อยางไรทํางานในที่รมหรื อกลางแจง มีความเสี่ย งในการทํางานหรือ ไมอุปกรณในการทํางานเป น อยางไร 6) ความกาวหนาในการประกอบอาชีพ . 2. การวิเคราะหตนเองเกี่ยวกับงานอาชีพ เปนการมองอยางรูจักและเขาใจเกี่ยวกับตนเอง โดยพิจารณาจากสิ่งตอไปนี้ 1) ความรูความสามารถ ความสนใจ 2) ทักษะในการทํางานเปนความสามารถที่ ตองใชในการทํางานทุกอาชีพ 3) ทักษะการสื่อสารสามารถพูดหรือแสดงกิริยาทาทางใหผูอื่นเขาใจได ใชถอยคําสุภาพเหมาะสมกับบุคคลและกาลเทศะ 4) ทักษะการจัดการสามารถคัดเลือกบุคคล จัดสรร


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 45

ทรัพยากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณและเครื่องมือในการทํางานไดอยางเหมาะสม 5) ทักษะดานงาน เทคนิคสามารถนําเทคนิคตาง ๆ มาใชในการทํางาน 6) ทักษะดานเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถนํา คอมพิวเตอรมาใชประโยชนในการทํางาน 7) ทักษะการแกปญหาสามารถแยกแยะปญหาตาง ๆ คนหาวิธีการแกไขและเลือกใชวิธีการแกปญหาอยางมีเหตุผล 8) ความถนัดหรือความสามารถพิเศษ 9) จุดเดนเปนจุดสนใจที่ทําใหผูอื่นมองเห็นภาพลักษณหรือคิดถึงเรา เชน พูดจาไพเราะ เขากับคนงาย ซื่อสัตย ตรงไปตรงมา ซึ่งเปนลักษณะทางบุคลิกภาพที่ทุกคนมีอยูในตนเองและสามารถนํามาใชให เหมาะสมกับการประกอบอาชีพได 10) ความชอบความสนใจ 11) คานิยมในการทํางาน 12) อุปนิสัยเปน ลักษณะในจิตใจที่แสดงพฤติกรรรมออกมาใหผูอื่นเห็นทางวาจา แววตา สีหนา อารมณ น้ําเสียงและ กิริยาทาทาง 13) ขอจํากัดในการทํางาน 14) บุคลิกภาพ หมายถึงลักษณะสวนรวมของบุคคล ซึ่ง ประกอบดวยสิ่งที่ปรากฏทางรางกายนิสัยใจคอ ความรูสึกนึกคิด หากรูจักและเขาใจในบุคลิกภาพ ของตนเองก็สามารถเลือกประกอบอาชีพใหเหมาะสมกับตนเองมากที่สุด . . “ 3. คุณลักษณะที่พึงมีในการประกอบอาชีพดังนี้ 1) ผูประกอบการในแตละอาชีพสวนใหญมี คุณลักษณะของการเปนผูกลาไดกลาเสีย มีความอดทนสูง มีความรอบรูเทาทันเหตุการณตลาดและ บานเมือง รูจักกลยุทธการแขงขันกับคูแขงขัน 2) ผูที่ประกอบอาชีพเปนผูใหบริการควรมีคุณลักษณะ ของผูที่มีมนุษยสัมพันธดี ยิ้มแยมแจมใส อดทน อดกลั้น 3) ผูประกอบอาชีพรับจางควรมีคุณลักษณะ ของผูที่มีความกระตือรือรน มิวินัย ขยัน อดทน ยอมรับในกฎเกณฑ และมีความซื่อสัตย . . 10. จงอธิบายความหมายของการมองเห็นชองทางในการประกอบอาชีพ การมองเห็ น ช อ งทางการประกอบอาชี พ หมายถึ ง การศึ ก ษาข อ มู ล ความต อ งการของ ตลาดแรงงาน เพราะการเลื อกประกอบอาชี พตามที่ต ลาดแรงงานต องการ ยอมมีโ อกาสประสบ ความสํ าเร็จ มีอาชี พทํา มีรายไดเ ลี้ย งดู ตนเองและสมาชิ กในครอบครัวไดไมย ากลําบาก และเมื่อ มองเห็นชองทางการประกอบอาชีพแลวผูประกอบอาชีพสามารถวิเคราะหและวางแผนพัฒนาตนเอง ใหสอดคลองกับชองทางการประกอบอาชีพที่มีอยูนั้นดังนี้ . . 1. ทักษะความรูความชํานาญในงาน . . 2. ความชอบ ความสนใจสวนตัว , . 3. การฟงความคิดเห็นจากแหลงตาง ๆ การพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับบุคคลอื่นจะ เปนแหลงความรูและกอใหเกิดความคิดริเริ่มสรางสรรคไดเปนอยางดี ชวยใหมีการวิเคราะหความ คิดเห็นตาง ๆ ไดชัดเจนขึ้น ชวยสรางความมั่นใจ มองเห็นจุดหมายปลายทางไดชัดเจนและมีความ รอบคอบเพิ่มมากขึ้นกอนตัดสินใจลงมือทํา . . 4. การศึกษาคนควา จากหนังสือ นิตยสาร หนังสือพิมพ วีดีทัศน วิทยุ ดูรายการโทรทัศน . จะชวยใหเกิดความรูและความคิดใหม ๆ ได . .


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 46

5. ขอมูลสถิติ รายงานการวิจัย ขาวสารจากหนวยงานราชการและเอกชน รวมทั้งแผนพัฒนา เศรษฐกิจแหงชาติ มาประกอบการพิจารณาตัดสินใจในการประกอบอาชีพ . . . 6. การเขารับการฝกอบรมวิชาชีพจากสถาบันตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนที่เปดสอน. . วิชาชีพกันอยางแพรหลาย . . ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหนักเรียนทําเครื่องหมาย X ทับตัวอักษรหนาคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) ลําดับขอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

คําตอบ ค ง ง ค ง ข ก ข ง ก ข ข ค ง ก ง ค ค ค ข


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 47

ใบมอบหมายงาน

หนวยที่ 1

วัตถุประสงค 1. เพื่อใหนักเรียนศึกษาและรวบรวมขอมูลการประกอบอาชีพของบุคคลในครอบครัว และชุมชุนที่นักเรียนอาศัยอยู 2. เพื่อใหนักเรียนมีขอมูลประกอบการวางแผนการตัดสินใจเลือกอาชีพ คําชี้แจง ใหนักเรียนสํารวจและรวบรวมขอมูลการประกอบอาชีพของบุคคลในครอบครัวและชุมชน ที่นักเรียนอาศัยอยูตามรายละเอียดที่กําหนดไวในตารางขางลางดังนี้ รายไดตอ วันหรือ เดือน

สวัสดิการที่ ไดรับจาก การทํางาน

เกณฑการประเมินผลการปฏิบัติงาน 1. รวบรวมขอมูลอาชีพได 10 อาชีพ ไดขอมูลครบทุกรายการ 2. รวบรวมขอมูลอาชีพได 7 อาชีพ ไดขอมูลครบทุกรายการ 3. รวบรวมขอมูลอาชีพได 5 อาชีพ ไดขอมูลครบทุกรายการ 4. รวบรวมขอมูลอาชีพได 3 อาชีพ ไดขอมูลครบทุกรายการ

ไดคะแนน 20 ไดคะแนน 15 ไดคะแนน 10 ไดคะแนน 5

ที่

ชื่ออาชีพ

ลักษณะงานที่ทํา

เวลาทํางาน

เสนทาง การเติบโต ในอาชีพ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 48

แบบทดสอบหลังเรียน

หนวยที่ 1

คําชี้แจง ใหนักเรียนทําเครื่องหมาย X ทับตัวอักษรหนาคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว (คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลา 10 นาที) 1. การประกอบอาชีพ หมายถึงขอใด ก. งานที่ทําดวยความสมัครใจ ข. การทํามาหากินของมนุษยในสังคม ค. การเลี้ยงดูตนเองและสมาชิกในครอบครัว ง. การทํามาหาเลี้ยงชีพจากรายไดที่ทําประจํา 2. ความสําคัญของการประกอบอาชีพคือขอใด ก. มีเพื่อนรวมงานมากขึ้น ข. มีความสุขเพราะมีอาชีพประจํา ค. มีโอกาสใชความรูใหเกิดประโยชน ง. มีรายไดสําหรับเลี้ยงตนเองและครอบครัว 3. อาชีพหลักของพลเมืองไทยสวนใหญไดแกอาชีพใด ก. อาชีพเกษตรกรรม ข. อาชีพพาณิชยกรรม ค. ประกอบอาชีพธุรกิจบริการ ง. อาชีพอุตสาหกรรมในครัวเรือน 4. ใครเปนผูที่ตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพไดเหมาะสมกับตนเองมากที่สุด ก. สิรี เลือกประกอบอาชีพนักรองเนื่องจากมีรายไดสูง ข. สารินเลือกประกอบอาชีพชางไมเพราะมีความรู ความชํานาญ ความชอบในงานไม ค. ดาวเรืองเลือกประกอบอาชีพพยาบาลตามความตองการของสมาชิกในครอบครัว ง. นอยหนาเลือกประกอบอาชีพพนักงานบริการในโรงแรมแตพูดภาษาอังกฤษไมได 5. การเลือกประกอบอาชีพที่ตนเองชอบมีผลดีอยางไร ก. มีรายไดสูง ข. ขยันทํางาน ค. ทํางานไดรวดเร็ว ถูกตอง ง. มีความสุขในการทํางาน


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 49

6. คุณสมบัติพื้นฐานที่ผูประกอบอาชีพทุกระดับ ทุกตําแหนงตองมีคือขอใด ก. มีมนุษยสัมพันธดี ข. มีความรูความสามารถ ค. มีทักษะความชํานาญงาน ง. มีประสบการณในการทํางาน 7. ปญหาสําคัญที่สุดในการเลือกประกอบอาชีพคือขอใด ก. ปญหาทางดานเศรษฐกิจของตนเอง ข. ขาดความรูความเขาใจในการอาชีพ ค. ไมรูความสามารถและความถนัดของตนเอง ง. ขาดที่ปรึกษาใหคําแนะนํา และแนะแนวการประกอบอาชีพ 8. การตัดสินใจเลือกอาชีพควรพิจารณาองคประกอบใดนอกเหนือจากความรูความสามารถ และความถนัดของตนเอง ก. เปนอาชีพทีส่ ุจริต ข. เปนอาชีพที่มีรายไดสูง ค. เปนอาชีพที่ทาทาย ไมจําเจ ง. เปนอาชีพที่ตองใชเทคโนโลยีสื่อสารได 9. ปจจัยทีไ่ มมีผลตอความสําเร็จในการประกอบอาชีพไดแกปจจัยใด ก. ความรับผิดชอบงานที่ทํา ข. การตัดสินใจเร็ว กลาได กลาเสี่ยง ค. ซื่อสัตย รักและผูกพันกับงานทีท่ ํา ง. รอบรูทันสมัย มีวิสัยทัศนกวางไกล 10. ประโยชนของการประกอบอาชีพที่มีตอตัวผูประกอบอาชีพในระยะยาวคือขอใด ก. เปนการพัฒนาตนเองใหเจริญกาวหนาในอาชีพ ก. ผูประกอบอาชีพมีประสบการณ ทักษะ ความชํานาญในงานที่ทํา ค. สามารถตอบสนองความตองการและความพึงพอใจของตัวผูประกอบอาชีพเอง ง. ผูประกอบอาชีพสามารถวางแผนการใชจาย และเก็บออมรายไดเพื่อความมั่นคงของชีวิต


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 50

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ลําดับขอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

หนวยที่ 1 คําตอบ ง ง ก ข ง ก ง ก ข ง


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 51

แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค วิชา ความรูเกี่ยวกับงานอาชีพ หนวยที่ 1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ ชื่อ-นามสกุล...............................................แผนกวิชา.......................ระดับชั้น.......เลขที.่ .............. ลําดับ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

พฤติกรรมที่ประเมิน ความตรงตอเวลา ความมีระเบียบวินัย ความซื่อสัตยสุจริต ความสนใจใฝรู ความคิดริเริ่มสรางสรรค การละเวนสิง่ เสพติดและการพนัน ความรับผิดชอบตอหนาที่และงาน ที่ไดรับมอบหมาย มารยาทไทย ความสามัคคีในหมูคณะ ความมีจิตสํานึกที่เห็นแกสวนรวม รวมคะแนน รวมคะแนนทั้งหมด

5

ระดับคะแนน 4 3 2

1

หมายเหตุ ความหมายของระดับคะแนน 5 ระดับการปฏิบัติมาก 4 ระดับการปฏิบัติดี 3 ระดับการปฏิบัติปานกลาง 2 ระดับการปฏิบัตินอย 1 ระดับการปฏิบัติตองปรับปรุง

การสรุปผล 41-50 อยูในระดับดีมาก 31-40 อยูในระดับดี 21-30 อยูในระดับปานกลาง 11-20 อยูในระดับนอย 0-10 อยูในระดับตองปรับปรุง


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 52

แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค วิชา ความรูเกี่ยวกับงานอาชีพ หนวยที่ 1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 1. แบบประเมินผลพฤติกรรมรายบุคคล คะแนน การรับฟง การเสนอ ความ ความ ที่ คิดเห็น คิดเห็น ชื่อ-นามสกุล 5 5 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

การ ยอมรับ คนอื่น 5

การสราง บรรยากาศ ในกลุม 5

รวม คะแนน

ระดับการ มีสวนรวม

20

2. แบบประเมินผลพฤติกรรมรายกลุม คะแนน กลุม

การนําเสนอ ขั้นนํา ขั้นเสนอ 10 10

การบันทึกผลงาน ขั้นสรุป ถูกตอง เรียบรอย 10 10 10

รวม คะแนน 50

ระดับ คุณภาพ ของผลงาน

1 2 3 4 5 ระดับของคะแนนยอย5 = มากที่สุด, 4 = คอนขางมาก, 3 = ปานกลาง, 2 = คอนขางนอย, 1 = นอยที่สุด เกณฑการประเมินผล15 - 20 = มาก, 8 - 14 = ปานกลาง, 1 - 7 = นอย ลงชื่อ..........................................ผูป ระเมิน (............................................)


หนวยที่ 1 : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานอาชีพ 53

เอกสารอางอิง กระทรวงแรงงาน. รายงานผลการวิจัยเรื่องแนวโนมอาชีพอิสระในอนาคต 3 ปขางหนา (พ.ศ.2558 – 2560). กรุงเทพฯ. (ออนไลน) สืบคนวันที่ 1 มกราคม 2560, เขาถึงจาก : http://lmi.doe.go.th. กัลยา สุดแดน. การบริหารงานคุณภาพในองคการ. นนทบุรี : บริษัทศูนยหนังสือเมืองไทย, 2558. นครชัย พิมพศร. ความรูเกี่ยวกับงานอาชีพ. นนทบุรี : บริษัทศูนยหนังสือเมืองไทย, 2556. เพ็ญศรี เลิศเกียรติวิทยา. ความรูเกี่ยวกับงานอาชีพ. นนทบุรี : บริษัทสํานักพิมพเอมพันธ จํากัด, 2556. สมคิด มิมมา. ความรูเกี่ยวกับงานอาชีพ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแม็คเอ็ดดูเคชั่น, 2556. หรรษา เขตตบรรพต. การเพิ่มประสิทธิภาพในองคกร. นนทบุรี : บริษัทศูนยหนังสือเมืองไทย, 2554. อนุศักดิ์ ฉิ่นไพศาล. ความรูเกี่ยวกับงานอาชีพ. กรุงเทพฯฯ : สํานักพิมพซีเอ็ดยูเคชั่น, 2557.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.