ASEAN Curriculum Sourcebook
ผลิตโดย สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แปลและเรียบเรียงโดย ดร.ธันยวิช วิเชียรพันธ์ และคณะ
คํานํา
ASEAN Curriculum Sourcebook คือหนังสือคู่มอื การจัดการเรียนการสอน เรื่อง อาเซียน ทีผ่ ลิตโดย สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยนําเสนอ หลักสูตรและวิธกี ารสอนสําหรับครู เพื่อเป็ นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนเรื่อง อาเซียน เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน จึงเขียนเป็ นภาษาอังกฤษเพื่อ เป็ นสือ่ กลางของครูทวภู ั ่ มภิ าคอาเซียน ทางคณะผู้วจิ ยั โครงการพัฒนาเครื่องมือเสริมสร้างทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของเด็กและเยาวชนไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ได้แปลและเรียบ เรียงหลักสูตรและวิธกี ารจัดการเรียนการสอนจากเอกสารดังกล่าว และเห็นว่ามีคุณค่า และเป็ นประโยชน์ต่อครูหรือผูส้ นใจในเรือ่ งอาเซียน จึงได้แปลเป็ นภาษาไทย ให้งา่ ยต่อ ผูส้ นใจ แต่หากยังมีสว่ นหนึ่งส่วนใดทีย่ งั อ่านแล้วไม่เข้าใจประการใด ควรอ่านฉบับจริง ควบคูไ่ ปด้วย ทางผู้แ ปลและเรีย บเรีย งหวัง เป็ น อย่ า งยิ่ง ว่ า เอกสารการแปลฉบับ นี้ จ ะเป็ น ประโยชน์ต่อผูส้ นใจไม่มาก ก็น้อย และหากมีสงิ่ หนึ่งประการใดบกพร่องทางคณะผูว้ จิ ยั จึงขอกราบขออภัยมาไว้ ณ โอกาสนี้ดว้ ย
ดร.ธันยวิช วิเชียรพันธ์ และคณะ ผูแ้ ปลและเรียบเรียง
บทที่ 1
รูจ้ ักอาเซียน
1
1.1 ระดับประถมศึกษาตอนปลาย 4 1.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 7 1.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 10 1.4 ตัวอย่างแผนการสอน: เข้าใจอาเซียนระดับชัน้ ประถมศึกษาตอนปลาย วิชา สังคมศึกษา 14 » ใบงาน : ASEAN Say What 21 » ใบงาน : Topographic map 22 » ใบงาน : ASEAN country card 23 » ใบงาน : Cutout ประเทศอาเซียน 44 1.5 ตัวอย่างแผนการสอน: เล่าเรื่องอาเซียน ระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น วิชาสังคมศึกษา 47 » ใบงาน: “Breaking News ASEAN” 54 » ใบงาน : Where were you? 55 » ใบความรู้ : 7 เป้าหมายของอาเซียน 56 » ใบงาน : เรื่องอาเซียนของคุณ 57 » ใบงาน : การล่าและเก็บรูป 58 » ใบงาน : การล่าและเก็บรูป (แบบที่ 2) 59 1.6 ตัวอย่างแผนการสอน: ตกลงกันหรือไม่ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชาสังคมศึกษา » ใบงาน : รายการของความสําเร็จในอาเซียน » ใบงานรายบุคคล “การตกลงกันของอาเซียน” » ใบงานกลุม่ “เวลาสําหรับพันธสัญญา” » ใบงาน “นโยบายและเป้าหมายของอาเซียน”
61 66 67 68 69
บทที่ 2
เสน่หอ์ าเซียน...เอกลักษณ์และความต่าง
73
2.1 ระดับประถมศึกษาตอนปลาย 76 2.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 80 2.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 85 2.4 ตัวอย่างแผนการสอน: 1 ตารางเมตร ระดับชัน้ ประถมศึกษาตอนปลาย วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 90 2.5 ตัวอย่างแผนการสอน: การฉลองประเพณีและการรวมกัน ระดับชัน้ ประถมศึกษาตอนปลาย วิชาประวัตศิ าสตร์และสังคม 95 » ใบงาน: ตารางเทียบระหว่างวัฒนธรรม 103 » ใบงาน: การฉลองวันเกิด 104 » ใบงาน : ตารางเทียบวันหยุด 106 » ใบงาน: สัมภาษณ์ เรื่องการฉลองของครอบครัว 107 2.6 ตัวอย่างแผนการสอน: การปกคลุมไปด้วยพื้นดินและ ทะเล-ภูมศิ าสตร์อาเซียนระดับชัน้ ประถมศึกษาตอนปลาย วิชาสังคมศึกษา 109 » ใบงาน: แผนที่ที่แสดงภูมภิ าคของ ประเทศอาเซียน 113 » ใบงาน: แผนที่ขนาดเล็กที่ว่างเปล่าของประเทศอาเซียน 114 » ใบงาน: ตารางลักษณะภูมปิ ระเทศ 123 » ใบความรู:้ แผนที่เปล่าของประเทศอาเซียน 124 2.7 ตัวอย่างแผนการสอน: ความหลากหลายทางเรื่องเล่า ในประวัตศิ าสตร์ระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น วิชาหน้าที่ พลเมืองและคุณธรรม 125 2.8 ตัวอย่างแผนการสอน: ความหลากหลายทางชีวภาพ ในระบบนิเวศระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 131 2.9 ตัวอย่างแผนการสอน: สายพันธุส์ ิ่งมีชวี ิต...ความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 139
บทที่ 3
เชื่อมโยงโลกกับท้องถิ่ น
143
3.1 ระดับประถมศึกษาตอนปลาย 146 3.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 149 3.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 154 3.4 ตัวอย่างแผนการสอน: ทําแผนที่ของสังคมตนเอง ระดับชัน้ ประถมศึกษาตอน ปลาย วิชาวิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์ 160 3.5 ตัวอย่างแผนการสอน: สิทธิและความรับผิดชอบของห้องเรียน ระดับชัน้ /วิชา: มัธยมศึกษาตอนต้น/หน้าที่พลเมืองและคุณธรรม 171 3.6 ตัวอย่างแผนการสอน: ประวัตศิ าสตร์จากแนวคิดของคนอพยพ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น วิชาประวัตศิ าตร์และสังคม 176 » ใบงาน : เรื่องราวที่เขียนขึน้ จากความทรงจํา 1 181 » ใบงาน : เรื่องราวที่เขียนขึน้ จากความทรงจํา 2 182 3.7 ตัวอย่างแผนการสอน: ติดตามการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชาวิทยาศาสตร์ 183 » ใบความรู้ : แผนภาพชัน้ บรรยากาศ 190 » ใบความรู้ : ใบงานของชัน้ บรรยากาศ 191 3.8 ตัวอย่างแผนการสอน: แนวโน้มของโลก-การนําเศรษฐกิจใหม ระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชาประวัตศิ าสตร์และสังคม 193 » ใบความรู้ : AIFS Framework 201 » ใบความรู้ : Trade and Facilitation 202 » ใบความรู้ : AFTA 203
บทที่ 4 อาเซียน = เสมอภาค
205
4.1 ระดับประถมศึกษาตอนปลาย 4.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 4.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
208 213 218
บทที่ 5 อาเซียน = ความยั่งยืน
223
5.1 ระดับประถมศึกษาตอนปลาย 5.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 5.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
225 230 235
2
บทที่ 1 รู้จักอาเซียน หนังสือคู่มือการจัดการเรียนการสอนเรื่องอาเซียนบทแรกนี้ จะเริ่มต้นด้วยการ ชวนให้ผู้เรียนมาสารวจโครงสร้างสมาชิกในสังคมอาเซียน มาดูจุดยืน ความฝัน หรือจะ เรี ย กว่ าเป็ น เป้ าหมายที่ อ ยากให้ เกิ ด ขึ้ น และสุ ด ท้ ายเป็ น เรื่ อ งวิ ธี ก ารวางแผนการ แก้ปัญ หาที่ อาจเกิดขึ้ นในสั งคมอาเซี ยน โดยในบทนี้จะมี การวิเคราะห์ ความสาคั ญ ความสาเร็จและความท้าทายในอนาคตของอาเซียนเอาไว้ด้วย
ประชาคมอาเซียน ได้ถือกำเนิดเกิดขึ้น เนื่องจำกในปัจจุบันนี้เป็นยุคที่เศรษฐกิจเป็น ตัวขับเคลื่อนและผลักดันประเทศให้เจริญก้ำวหน้ำ และกำรที่ประเทศต่ำงๆ ในภูมิภำคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้มำรวมตัวกัน ก็จะสำมำรถเพิ่มอำนำจในกำรต่อรองและขีดควำมสำมำรถ ในกำรแข่งขันในเวทีระหว่ำงประเทศได้ จึงได้มีกำรทำสัญญำและกำหนดเกณฑ์สำหรับชำติ สมำชิกที่ร่วมก่อตั้งเป็น ประชาคมอาเซียน เพื่อทำให้ประเทศสมำชิกมีควำมเข้มแข็ง มั่นคง เจริญ ก้ำวหน้ำ และที่ สำคัญ คือ ประเทศต่ ำงๆ ในกลุ่ม ประชำคมอำเซี ยนจะได้ พัฒ นำไป พร้อมๆ กันนั่นเอง กำรรวมประเทศสมำชิกมำเป็นประชำคมอำเซียนนี้ ก็เพื่อต้องกำรให้ประเทศสมำชิก มีกำรสร้ำงข้อตกลงร่วมกัน เมื่อมีปั ญหำที่เกี่ ยวข้องกั บประเทศในประชำคมอำเซียนเกิ ด ขึ้นมำ ทุกประเทศก็จะร่วมมือร่วมใจกันหำทำงออกให้กับปัญหำ ซึ่งควำมร่วมมือร่วมใจกัน ของทุกประเทศเหล่ำนี้จะทำให้ควำมยุ่งยำกและควำมซับซ้อนของปัญหำลดลงไปได้ สุดท้ำย แล้วประเทศในประชำคมอำเซียนก็จะสำมำรถผ่ำนอุปสรรคไปได้ เป็นกำรสร้ำงโอกำสให้ ตัวเอง และจะเกิดเปลี่ยนแปลงชีวิตของทุกคนในกลุ่มประชำคมอำเซียนได้
3
เมื่อพูดถึงแนวทำงกำรจัดกำรเรียนกำรสอน หำกพูดถึงแนวคิดกำรแก้ปัญหำร่วมกัน แล้ว มักจะมุ่งไปถึงเรื่องที่เกี่ยวกับแหล่งพลังงำน นโยบำยทำงกำรเมือง เป็นต้น แต่ในควำม เป็นจริงแล้ว ควำมเป็นประชำคมอำเซียนไม่ได้เป็นแค่องค์กรที่ดูแลข้อตกลงระหว่ำงประเทศ ในเรื่องดังกล่ำวเท่ำนั้น หำกแต่ยังรวมไปถึงเป็นเรื่อง การศึกษา สังคม วัฒนธรรม หรือสิ่งที่ มีอิทธิพลต่อชีวิตของคนแต่ละประเทศอีกด้วย แนวทำงกำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพื่อให้ รู้จักอาเซียน ดังตำรำง
4
แนวคิดการจัดการเรียนการสอน “รู้จักอาเซียน” ระดับประถมศึกษาตอนปลาย: คน สถานที่ ทรัพยากร วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
สังคมและ อำเซียนทำให้ทุกประเทศ ประวัติศำสตร์ ในภูมภิ ำคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ มีควำมร่วมมือกัน
ประเทศจะแข็งแรงขึ้นได้อย่ำงไร ถ้ำมีควำมร่วมมือกันเพื่อ เป้ำหมำยเดียวกัน (คน สถำนที่ ทรัพยำกร)?
ให้นักเรียนค้นคว้ำหำควำมรู้และวิเครำะห์คำว่ำอำเซียน โดยแบ่งนักเรียน เป็นกลุ่มเพื่อค้นคว้ำ แยกแยะและจัดลักษณะของประเทศสมำชิกอำเซียน แล้วให้แต่ละกลุ่มสรุปควำมรู้ที่ได้มำจัดเป็นป้ำยนิเทศ พร้อมภำพประกอบ
วิทยำศำสตร์ กำรแบ่งปันข้อมูล และ สำมำรถนำไปถึง คณิตศำสตร์ สิ่งที่ค้นพบที่สำคัญ
ทำไมกำรแบ่งปันข้อมูลและ แนวควำมคิดเรื่องวิทยำศำสตร์ จึงสนับสนุนกำรค้นพบ (ทรัพยำกร แนวคิด)?
แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละประเทศ แล้วให้แต่ละกลุ่มมำรับบัตรคำที่มี ข้อมูลหัวข้อที่เกี่ยวกับสุขภำพหรือสิ่งแวดล้อม โดยแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุป ควำมคิดของกลุ่ม แล้วทุกกลุ่มมำร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูลและวิเครำะห์ใหม่ แล้วแบ่งปันกำรสรุปของแต่ละกลุ่มอีกครั้ง
หน้ำที่ ชำติสมำชิกอำเซียน พลเมือง มีควำมเท่ำเทียมกัน และคุณธรรม
คนที่มีควำมเท่ำเทียมกัน ทำงำนด้วยกันอย่ำงไร (คน แนวคิด)?
แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มเล็กๆ และให้ทำแนวทำงเพื่อตรวจสอบควำม เท่ำเทียมกันในกำรประชุมของห้อง โดยทุกกลุ่มต้องนำเสนอแนวทำงของ ตนเองพร้อมเลือกแนวทำงที่ตนเองคิดว่ำสำคัญที่สุด เพื่อที่ทำเป็นรำยกำร ของห้อง 4
5
วิชา ภำษำและ วรรณกรรม
ผลทางการศึกษา คนสำมำรถทำงำนข้ำม ผ่ำนอุปสรรคเรื่องภำษำ
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด คนที่พูดภำษำต่ำงกันทำงำน ด้วยกันอย่ำงไร(คน สถำนที่ แนวควำมคิด)?
คนในอำเซียนแบ่งปัน กำรแบ่งปันเรื่องเล่ำช่วยให้คน เรื่องรำวมำกมำย ร่วมมือกันอย่ำงไร (คน สถำนที่ เกี่ยวกับขนบธรรมเนียม แนวควำมคิด)? ประเพณี สังคมและ อำเซียนทำให้ทุกประเทศ ประเทศจะแข็งแรงขึ้นได้อย่ำงไร ประวัติศำสตร์ ในภูมภิ ำคมีควำมร่วมมือ ถ้ำมีควำมร่วมมือกันเพื่อ และเชื่อมโยงถึงกัน เป้ำหมำยเดียวกัน (คน สถำนที่ ทรัพยำกร)?
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา ให้นักเรียนทั้งห้องร่วมกันระดมสมองเรื่องภำษำที่ใช้ในสังคมของตนเอง และเปรียบเทียบกับแผนที่เพื่อแสดงว่ำมีภำษำอะไรบ้ำงที่ใช้กันอยู่ในอำเซียน เพื่อร่วมกันออกแบบวิธีที่จะทำให้คนต่ำงชำติต่ำงภำษำสื่อสำรกันง่ำยขึ้น อ่ำนตำนำนและเรื่องเล่ำที่ได้รับควำมนิยมที่แสดงถึงควำมมีวัฒนธรรมต่ำงกัน รวมทั้งเปรียบเทียบควำมเหมือนและควำมแตกต่ำงของวัฒนธรรมนั้นๆ ด้วย พร้อมเลือก 1 เรื่องเพื่อยกเป็นตัวอย่ำงเพื่ออภิปรำยร่วมกัน
ให้นักเรียนค้นคว้ำหำควำมรู้และวิเครำะห์คำว่ำอำเซียน โดยแบ่งนักเรียน เป็นกลุ่มเพื่อค้นคว้ำ แยกแยะและจัดลักษณะของประเทศสมำชิกอำเซียน แล้วให้แต่ละกลุ่มสรุปควำมรู้ที่ได้มำจัดเป็นป้ำยนิเทศ พร้อมภำพประกอบ
5
6
วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
สังคมและ ควำมเชือ่ มโยงของ ประวัติศำสตร์ ภูมิภำคในทำงภูมิศำสตร์ ประวัติศำสตร์ กำรค้ำ และวัฒนธรรมก่อนจะ เป็นอำเซียน
แต่ละประเทศในกลุ่มประชำคม อำเซียนมีวัฒนธรรมและ ภูมิศำสตร์อะไรที่เหมือนกัน (คน สถำนที่ แนวคิด)?
ให้นักเรียนทำจิ๊กซอว์บนพื้นเรื่องอำเซียน โดยในแต่ละกลุ่มย่อยจะทำ 1 ชิ้น ต่อ 1 ชำติสมำชิกอำเซียน พร้อมต้องหำข้อมูลเรื่องวัฒนธรรมและภูมิศำสตร์ ทั้งห้องจะดึงลักษณะวัฒนธรรมและภูมิศำสตร์ที่เป็นเอกลักษณ์ และที่มี เหมือนกันในอำเซียน
เทคโนโลยี
เทคโนโลยีช่วยทำให้คนใน ประชำคมอำเซียนทำงำน ร่วมกันได้อย่ำงไร (ทรัพยำกร แนวคิด)?
ให้นักเรียนค้นคว้ำหำข้อมูลเรื่องเทคโนโลยีต่ำงๆ ที่มีในอำเซียน และจัดเป็น นิทรรศกำร โดยให้มีเนื้อหำที่อธิบำยว่ำแต่ละเทคโนโลยีจะสำมำรถช่วย สนับสนุนกำรสื่อสำรและควำมร่วมมือได้อย่ำงไร
เทคโนโลยีช่วยให้ ประชำกรในกลุ่ม ประขำคมอำเซียน สื่อสำรและร่วมมือกันได้
6
7
แนวคิดการจัดการเรียนการสอน “รู้จักอาเซียน” ระดับประถมศึกษาตอนต้น วิชา
ผลทางการศึกษา
สังคมและ 10 ประเทศในเอเชีย ประวัติศำสตร์ ตะวันออกเฉียงใต้ เข้ำร่วมอำเซียนเพื่อ เป้ำหมำยเดียวกัน
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
ทำไมแต่ละประเทศจึงมีควำมคิด ที่จะมำรวมตัวกันเป็นอำเซียน และแต่ละประเทศมีเป้ำหมำย เหมือนกันอย่ำงไร (คน สถำนที่ แนวคิด)?
ให้นักเรียนอ่ำนข่ำวหรือบทสัมภำษณ์ต่ำงๆ เพื่อสำรวจเหตุผลที่ทำให้เกิด กำรรวมตัวกันเป็นอำเซียน เหตุผลของแต่ละประเทศที่มำเข้ำร่วม โดยให้ นักเรียนเปรียบเทียบควำมคิดเห็นที่มำจำกหลำกหลำยที่มำและเชื่อมโยง กับควำมต้องกำรประเทศตนเอง และสุดท้ำยให้นักเรียนสรุปควำมรู้ทั้งหมด ด้วยตัวของนักเรียนเอง โดยโพสต์ในเว็บไซต์วัยรุ่นอำเซียน
อำเซียนทำพิมพ์เขียว สำหรับปี 2009-2015
เพรำะเหตุใดกำรที่ประทศ สมำชิกอำเซียนมำร่วมมือกันจะ ทำให้บรรลุเป้ำหมำยได้ง่ำยกว่ำ แต่ละประเทศทำเอง (สถำนที่ แนวคิด)?
แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มๆ และให้แต่ละกลุ่มเลือกเป้ำหมำยมำ 1 เป้ำหมำย จำกพิมพ์เขียวสำหรับปี 2009-2015 แล้วให้ภำยในกลุ่มร่วมกันแลกเปลี่ยน เรียนรู้ว่ำ สังคมตนเองตอนนี้เป็นอย่ำงไร และเป้ำหมำยดังกล่ำวจะทำให้ สังคมตนเองเปลี่ยนแปลงไปอย่ำงไร
วิทยำศำสตร์ อำเซียนสนับสนุนให้ และ ประเทศสมำชิกสร้ำง คณิตศำสตร์ แหล่งพลังงำนที่มั่นคง
อำเซียนสำมำรถสนับสนุนควำม มั่นคงทำงพลังงำนอย่ำงไรที่ชำติ สมำชิกไม่สำมำรถแยกไปทำเอง ได้ (สถำนที่ ทรัพยำกร)?
แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มเล็กๆ ให้แต่ละกลุ่มจะหำข้อมูลเรื่องแหล่งพลังงำน ของ แต่ละประเทศสมำชิก หลังจำกนั้นให้ทุกกลุ่มร่วมกันสรุปข้อมูลจำก ทุกประเทศ โดยอำจทำเป็นใบงำนและให้อ่ำนบทควำมสั้นๆ เรื่องนโยบำย ด้ำนพลังงำน ควำมสำเร็จและเป้ำหมำยในระยะยำวของอำเซียน 7 6
8
วิชา ภำษำและ วรรณกรรม
ศิลปะ
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
ภำษำทำงกำรจะทำให้ ทำไมอำเซียนจึงเลือกภำษำ กำรสื่อสำรระหว่ำง อังกฤษเป็นภำษำทำงกำร คนแต่ละสัญชำติง่ำยขึ้น (คน แนวคิด)?
ให้นักเรียนวิเครำะห์แผนที่ดูกำรกระจำยของกำรเมืองและภำษำ แล้วทำเป็นตำรำงรำยกำรมำตรฐำนเรื่องภำษำที่ใช้ร่วมกัน โดยให้ เปรียบเทียบหลำยๆภำษำรวมทั้งภำษำอังกฤษด้วย และให้นักเรียน เปรียบเทียบผลที่ตนเองวิเครำะห์ได้กับเหตุผลของอำเซียนในกำรเลือก ใช้ภำษำอังกฤษเป็นภำษำทำงกำร
บำงคนอำจจะได้เปรียบ ภำษำท้องถิ่นมีส่วนในวัฒนธรรม ภำษำท้องถิ่นมีประเพณี และภำษำในแต่ละประเทศ ที่ลึกซึ้ง อย่ำงไร (คน สถำนที่ แนวคิด)?
ให้นักเรียนเปรียบเทียบและวิเครำะห์งำนประพันธ์ โดยอำจเลือกศึกษำ เฉพำะบำงส่วนของบทประพันธ์หรือหนังสือที่ใช้ภำษำท้องถิ่นของแต่ละ ประเทศสมำชิก
สัญลักษณ์ของอำเซียน แสดงควำมคิดที่สำคัญ
ให้นักเรียนทำสัญลักษณ์อำเซียนโดยใช้ทรัพยำกรหลำยๆ อย่ำงมำประดิษฐ์ พร้อมทั้งเขียนอธิบำยสั้นๆ เพื่อบอกควำมหมำยของสัญลักษณ์
สัญลักษณ์ สี เลขและรูปร่ำง ที่ใช้ในสัญลักษณ์อำเซียนมี ควำมหมำยอย่ำงไร
กำรใช้ข้ำวในวัฒนธรรมประเพณี ให้นักเรียนเลือกศึกษำตัวอย่ำงควำมสำคัญของข้ำวในพิธีทำงประเพณีหรือ ของอำเซียนมีควำมหมำยอย่ำงไร วัฒนธรรมของแต่ละประเทศสมำชิก แล้วนำมำทำเป็นงำนศิลปะของตนเอง (สถำนที่ ทรัพยำกร แนวคิด)? ที่แสดงให้เห็นถึงควำมสำคัญของข้ำว 8
9
วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
สุขภำพและ กำยภำพ
อำเซียนตั้งเป้ำหมำยและ สิทธิประโยชน์ที่เกี่ยวกับสุขภำพ วำงนโยบำยเพื่อปรับปรุง ของอำเซียนคืออะไร และเพรำะ มำตรฐำนของสุขภำพ เหตุใดสิทธินี้ถึงได้สำคัญกับ ประเทศสมำชิก (คน ทรัพยำกร)?
ให้นักเรียนจัดหมวดหมู่ที่มำของสำเหตุทำงด้ำนสุขภำพ (เช่น วิถีชีวิต มลพิษ ควำมอดอยำก โรคระบำด) และให้คิดนโยบำยเพื่อแก้ไขปัญหำด้ำนสุขภำพนี้ ให้ดีขึ้น (เช่น กำรฉีดวัคซีน สนับสนุนกำรออกกำลังกำย) โดยให้นักเรียน เปรียบเทียบควำมคิดของตนเองกับควำมคิดริเริ่มของอำเซียน
เทคโนโลยี
เทคโนโลยีช่วยสนับสนุน กำรแลกเปลี่ยนกัน ระหว่ำงประเทศสมำชิก ในอำเซียน
ให้นักเรียนหำข้อมูลว่ำ ผู้ที่ทำโครงสร้ำง digital คือใครและใช้ได้ที่ไหน โดยให้อ่ำนเรื่องคนในสังคมต่ำงๆ ที่มีชีวิตที่เปลี่ยนไปเมื่อได้ใช้ digital
ควำมแตกต่ำงทำง เทคโนโลยีแต่ละประเทศ และระหว่ำงประเทศ
Digital divide คืออะไร เพรำะ เหตุใดกำรปิด digital divide จึงสำคัญสำหรับอำเซียน (คน สถำนที่ ทรัพยำกร)?
ให้นักเรียนเขียนบทควำมเรื่อง ประโยชน์จากการใช้ digital ที่มีต่ออาเซียน (เช่น กำรเข้ำถึงข้อมูลได้มำกขึ้น สนับสนุนควำมคิดสร้ำงสรรค์ในแต่ละ วัฒนธรรม กำรเจริญเติบโตทำงเศรษฐกิจ สุขภำพที่ดีขึ้นของประชำกร สังคมที่มั่นคง เป็นต้น)
9
10
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย: รู้จักอาเซียน วิชา
ผลทางการศึกษา
สังคมและ ในยุคนี้ที่มี Rapid ประวัติศำสตร์ Globalization (กำรใช้ประโยชน์ กว้ำงขวำงทั่วโลกอย่ำง รวดเร็ว) จำเป็นต่อควำม ร่วมมือกันทำงเศรษฐกิจ กำรเมืองและวัฒนธรรม เพื่อข้ำมผ่ำนอุปสรรค ไปสู่เป้ำหมำยเดียวกัน อำเซียนพยำยำมช่วย ให้ประเทศสมำชิกข้ำม ผ่ำนอุปสรรคต่ำงๆ ในอนำคต
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด ประโยชน์ที่ประเทศสมำชิกจะ ได้รับเหมือนกันจำกกำรเชื่อมโยง ให้เกิดควำมใกล้ชิดทำงด้ำน เศรษฐกิจและสังคมคืออะไร เพรำะเหตุใดอำเซียนจึงมีควำม จำเป็นในปัจจุบันสูงกว่ำในอดีต (คน ทรัพยำกร แนวคิด)?
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา ให้นักเรียนแสดงบทบำทสมมติเกี่ยวกับกำรตกลงร่วมมือกัน โดยระหว่ำง แสดงจะต้องวิเครำะห์ควำมซับซ้อนที่เกิดขึ้นขณะที่คนเรำพยำยำมทำควำม ตกลงเรื่องควำมเท่ำเทียม นักเรียนต้องสำรวจวิธีกำรและสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ถึงเหตุผลที่เลือกใช้วิธีกำรนี้ของอำเซียน สุดท้ำยแล้วให้ร่วมกันสรุปและทำ ควำมเข้ำใจร่วมกันเรื่องประโยชน์ของควำมร่วมมือกัน ถึงแม้จะมีปัญหำ เกิดขึ้นก็ตำม
สิ่งที่อำเซียนควรทำเพือ่ เตรียมตัว ให้นักเรียนค้นคว้ำข้อมูลเรื่องแผนของอำเซียนที่เกี่ยวกับปัญหำหรืออุปสรรค รับมือกับอุปสรรคในอนำคตคือ ที่อำจจะเกิดขึ้นในอนำคต เช่น เรื่องควำมปลอดภัย สุขภำพ ควำมยำกจน อะไร (คน สถำนที่ ทรัพยำกร)? เป็นต้น แล้วให้นักเรียนนำเสนอผลงำนว่ำ อำเซียนมีวิธีกำรจัดกำรกับปัญหำ อุปสรรคอย่ำงไร และควรเตรียมตัวอย่ำงไร 10
11
8วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
วิทยำศำสตร์ กำรร่วมมือกันทำงด้ำน และ วิทยำศำสตร์และ คณิตศำสตร์ เทคโนโลยีเพื่อเร่งกำร พัฒนำเศรษฐกิจของ ประเทศสมำชิกใน อำเซียน
กำรร่วมมือกันทำงด้ำน วิทยำศำสตร์สำมำรถช่วย พัฒนำเศรษฐกิจอย่ำงไร (คน แนวคิด)?
กิจกรรมกำรเรียนกำรสอนในวันนี้จะใช้เกม โดยเป็นเรื่องที่มำจำกตัวอย่ำง จริงของควำมร่วมมือทำงวิทยำศำสตร์ในกลุ่มประเทศอำเซียน โดยจะแบ่ง นักเรียนออกเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มจะได้รับบัตรคำเรื่องคุณสมบัติของ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแต่ละประเทศสมำชิก โดยนักเรียนจะต้องใช้ บัตรคำที่ได้ไปหำชำติสมำชิกอื่นที่จะร่วมมือกันได้จริง แล้วทุกกลุ่มมำร่วม อภิปรำยถึงผลสรุปของควำมร่วมมือกัน
ภำษำและ วรรณกรรม
มีอุปสรรคอะไรบ้ำงที่คิดว่ำจะ เกิดขึ้นเมื่อมีสมำชิกในกลุ่มที่มี ควำมแตกต่ำง มีกำรกำหนด กฎเกณฑ์และนโยบำย มีกำร ตัดสินใจและรับมืออย่ำงไร (คน แนวคิด)?
ศึกษำ 2 กรณีศึกษำที่อำเซียนสำมำรถตกลงกันได้เมื่อมีปัญหำเกิดขึ้น ให้นักเรียนวิเครำะห์ปัญหำ กำหนดกฎเกณฑ์ นโยบำยกำรแก้ปัญหำ และ นำมำเปรียบเทียบกับกำรแก้ปญ ั หำของอำเซียน
ประเทศสมำชิกใน อำเซียนพบอุปสรรค ทั้งเรื่องที่เป็นรูปธรรม และนำมธรรมในเรื่อง เดียวกัน
อำเซียนให้กำรสนับสนุนนักเขียน ให้นักเรียนสำรวจนโยบำยของอำเซียนที่สนับสนุนงำนของนักเขียน อย่ำงไร (คน แนวคิด)? และให้นักเรียนเขียนผลที่เกิดขึ้นของนโยบำยนี้
11
12
วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
หน้ำที่ นโยบำยของอำเซียน พลเมือง เรื่องกำรไม่แทรกแซง และคุณธรรม ทำงกำรเมืองของ ประเทศสมำชิก อำจไม่เข้ำกับนโยบำยที่ สนับสนุนเรื่องควำม เท่ำเทียม ควำมยุติธรรม และกำรปฎิบัติตำม กฎหมำย
เหตุผลอะไรที่อำเซียนควรใช้ ในกำรเข้ำแทรกแซงทำงกำรเมือง ตำมนโยบำย แม้ว่ำกำรทำแบบนี้ อำจไม่เข้ำกับนโยบำยด้ำนอื่นๆ ของอำเซียน (คน แนวคิด)?
ให้นักเรียนศึกษำนโยบำยและกรณีศึกษำเกี่ยวกับนโยบำยของอำเซียน และให้เปรียบเทียบกับอุปสรรคของประเทศที่เกี่ยวข้อง รวมถึงผลที่อำจจะ เกิดขึ้นทั้งในระยะสั้นและระยะยำว แล้วแบ่งนักเรียนออกเป็น 2 ทีมเพื่อจัด กิจกรรมกำรโต้วำที มำถกกันโดยฝ่ำยเสนอจะต้องสนับสนุนประเด็นที่ว่ำ นโยบำยกำรไม่แทรกแซงทำงกำรเมืองไม่เข้ำกับนโยบำยอืน่ ๆ ส่วนฝ่ำยค้ำน จะต้องสนับสนุนประเด็นว่ำนโยบำยกำรไม่แทรกแซงทำงกำรเมืองสำมำรถ เข้ำกับนโยบำยด้ำนอื่นๆ ได้
ศิลปะ
เพรำะเหตุใดชีวิตของคนจึง สัมพันธ์กับภำพยนตร์ ดนตรี นำฏศิลป์และศิลปะ และ ควำมสัมพันธ์เชื่อมโยงนี้ช่วยสร้ำง เอกลักษณ์ของอำเซียนได้อย่ำงไร (คน ทรัพยำกร แนวคิด)?
ให้นักเรียนฟัง 3 เพลงที่กำลังได้รับควำมนิยมจำกประเทศต่ำงๆ ในอำเซียน แล้วให้นักเรียนวิเครำะห์รูปแบบและเนื้อเพลง (ที่แปลแล้ว) โดยเขียนออกมำ เป็นบทควำมหรือทำเป็นโครงงำนที่อธิบำยถึงสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ใหม่ และสิ่งที่เหมือนกันกับสิ่งที่นักเรียนมีหรือสิ่งที่นักเรียนเป็นในชีวิต หรือสิ่งที่ตรงกับแนวคิดของตนเอง
สำมำรถขยำยมุมมอง ด้ำนเอกลักษณ์ของ ตัวเอง
12
13
วิชา
ผลทางการศึกษา
สุขภำพ และจิตใจ
อำเซียนสนับสนุน สุขภำพและจิตใจทุก ประเทศสมำชิก
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด สุขภำพของประชำกรเกี่ยวข้อง กำรพัฒนำเศรษฐกิจอย่ำงไร (คน ทรัพยำกร)? อำเซียนมีกำรริเริ่มอะไร เกี่ยวกับสุขภำพบ้ำง และ กำรริเริ่มนี้เกิดผลอย่ำงไร (คน ทรัพยำกร แนวคิด)?
เทคโนโลยี
กำรพัฒนำทำงด้ำน วิทยำศำสตร์และ เทคโนโลยีเป็นภำรกิจ สำคัญของอำเซียน
อำเซียนสนับสนุนวิทยำศำสตร์ และเทคโนโลยีในส่วนของ ภำครัฐบำลและภำคเอกชน อย่ำงไร (คน แนวคิด)?
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา ให้นักเรียนเปรียบเทียบสถิติทำงด้ำนเศรษฐกิจและสุขภำพของประเทศ สมำชิก แล้วสรุปควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสุขภำพและกำรเติบโตของเศรษฐกิจ เปรียบเทียบกับควำมคิดริเริ่มทำให้เศรษฐกิจเติบโต พร้อมให้นักเรียนทำ แบบเสนอโครงกำรที่อธิบำยเหตุผลด้วยว่ำ ควำมคิดริเริ่มนี้จะทำให้เศรษฐกิจ เจริญเติบโตขึ้นได้อย่ำงไร
ให้นักเรียนวิเครำะห์นโยบำยอำเซียนที่เกี่ยวกับกำรสนับสนุนวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์ พร้อมให้เขียนเป็นรำยงำนอธิบำยสิ่งที่นักเรียน ได้ค้นพบ
13 6
14
ตัวอย่างแผนการสอน: เข้าใจอาเซียน ระดับชั้น: ประถมศึกษาตอนปลาย วิชา: สังคมศึกษา ภาพรวม: นักเรียนรวบรวมควำมรู้ที่จะทำให้เข้ำใจ “ควำมร่วมมือ” ของอำเซียน ไม่ว่ำจะเป็น ที่ตั้งทำงภูมิ ศำสตร์ข องประเทศสมำชิก อำเซี ย น กำรแบ่งแยกและกำรเชื่ อมโยงระหว่ ำง ประเทศสมำชิก โดยแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มในกำรศึกษำค้นคว้ำ รวบรวมข้อมูล และนำข้อมูล ทั้งหมดมำแยกแยะจัดหมวดหมู่ สุดท้ำยนำข้อมูลที่ได้ทั้ งหมดมำจั ดลักษณะของประเทศ สมำชิก ในอำเซี ยน และให้นั ก เรีย นจั ดแสดงควำมรู้ ที่ ได้ ใ นรูป แบบของป้ ำยนิเทศ พร้ อ ม ภำพประกอบเกี่ยวกับประเทศอำเซียน ความเข้าใจที่ควรได้ อำเซียน...ควำมร่วมมือระหว่ำงประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสำมำรถอธิบำยควำมหมำยของคำว่ำ อาเซียน 2. นักเรียนสำมำรถบอกลักษณะของประเทศสมำชิกอำเซียน 3. นักเรียนสำมำรถระบุที่ตั้งของประเทศสมำชิกอำเซียนบนแผนที่ พร้อมพูดหรือ เขียนอธิบำยลักษณะได้ 4. นักเรียนมำสำมำรถนำเสนอออกมำได้ว่ำอำเซียนทำให้ประเทศสมำชิกร่วมมือกัน อย่ำงไรผ่ำนกำรจัดป้ำยนิเทศได้ คาถามที่จาเป็น แต่ละประเทศมี ควำมเข้มแข็งขึ้ นได้อย่ ำงไรเมื่อ มี กำรเชื่ อมโยงกัน (คน สถำนที่ ทรัพยำกร)
15
อุปกรณ์/ใบงานที่ต้องการ: 1. ใบงำน ASEAN: Say What? 2. แผนที่ของเอเชีย 3. กำร์ดควำมรู้เกี่ยวกับประเทศอำเซียน 4. Cutout ของประเทศอำเซียน เครื่องฉำยและกระดำษศิลปะ 5. รูปตัดออกมำจำกนิตยสำร หรือปริ้นจำกอินเตอร์เน็ต 6. ป้ำยนิเทศ 7. อุปกรณ์อื่นๆ เช่น ปำกกำ สี พูก่ ัน กระดำษแข็ง เวลาที่ต้องใช้: 3 คำบเรียน คาศัพท์ที่ควรรู้: 1. Association: ควำมร่วมมือของควำมเชื่อมโยงของคนหรือกลุ่ม 2. Nation (ชำติ): สังคมของคนที่มีดินแดน และรัฐบำล 3. Staple: สินค้ำสำคัญของประเทศ 4. Topographic map (แผนที่ที่แสดงภูมิประเทศ): แผนที่ที่แสดงลักษณะทำง กำยภำพของพื้นดินและทะเล กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน ครูเขียน “ASEAN” บนกระดำนหรือกระดำษโปสเตอร์ แล้วให้นักเรียนระดมสมอง เรื่องควำมรู้เกี่ยวกับอำเซียน เช่น ควำมรู้เกี่ยวกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทวีปเอเชีย ชื่อแต่ ละประเทศ เป็นต้น ข้อมูลที่ให้นักเรียน นักเรียนควรรู้ที่ตั้งของประเทศตนเองในโลกและในเอเชีย และรู้ลักษณะภูมิ ภำค วัฒนธรรมและเศรษฐกิจ
16
ตัวอย่าง ครูแสดงตัวอย่ำงกำรระดมสมองควำมรู้เรื่อง ASEAN และแผนที่ ครูถำมคำถำมจำก กำร์ดข้อมูลแต่ละประเทศเพื่อให้ทรำบควำมรู้พื้นฐำนของนักเรียน วิธีดาเนินการ คาบที่ 1 อาเซียนคืออะไร? ครูแจกใบงำน ASEAN: Say What? และอธิบำยว่ำอำเซียนคือ อะไร โดยอธิบำยตัว ย่อของอักษรตัวแรกแต่ละคำ เมื่อนำมำรวมกันจะอ่ำนออกเสียงอย่ำงไรในภำษำอังกฤษ ครู ให้นักเรียนคำดเดำว่ำอักษรแต่ละตัวคือคำว่ำอะไร ให้ร่วมกันระดมสมอง โดยครูอำจเขียนคำ ใบ้ ให้ นัก เรี ยนบนกระดำน พร้ อมให้ นัก เรี ยนเขี ยนบัน ทึก ลงในใบงำนของตนเอง และใน ระหว่ำงที่นักเรียนเขียนบันทึกนั้น ครูอำจถำมนักเรียนเรื่องควำมหมำยของแต่ละคำ พร้อม ถำมว่ำควำมหมำยนั้นๆ แสดงถึงลักษณะอะไรของอำเซียน A-association การร่วมมือกันเพื่อเป้าหมายเดียวกัน แต่ก็ยังมีส่วนที่แยกจากกัน S-south ของอะไร? E-East ของอะไร? ตะวันออกเฉียงใต้ของเอเซีย A-Asian เอเชียเป็นที่ตั้งที่จะไม่เปลี่ยนแปลง N-Nation สังคมของคนที่มีดินแดนและรัฐบาล อาเซียนอยู่ที่ไหน? อาเซียนเป็นใคร?
17
คาบที่ 2 ASEAN ค้นพบประเทศอื่นๆ การเข้าร่วม ASEAN 1. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ และแจกแผนที่ทำงภูมิศำสตร์ แล้วให้นักเรียน ช่วยกันหำเอเชียพร้อมจำแนกว่ำตรงส่วนใดคือใต้และตะวันออก อำจให้นักเรียนใช้สีระบำย ตรงพื้นที่ที่คิดว่ำเป็นอำเซียน 2. ครูให้นักเรียนช่วยกันตอบว่ำประเทศใดเป็นสมำชิกอำเซียนบ้ำง ถ้ำ ตอบถูกก็ทำ สัญลักษณ์ลงบนแผนที่ แต่ถ้ำตอบผิดก็ให้เขียนไว้ด้ำนข้ำง แล้วให้นักเรียนร่วมกันสรุปว่ ำ อำเซียนมีทั้งหมดกี่ประเทศ 3. ครูให้นักเรียนช่วยกันระบุพิกัดประเทศของตนเองว่ำอยู่ตรงส่วนใดของแผนที่ และให้ระบุพิกัดประเทศเพื่อนบ้ำนที่เป็นสมำชิกอำเซียนทั้งหมดว่ำอยู่ตรงส่วนใดของแผนที่ 4. ครูเตรียมใบงำนทั้งหมด 10 ใบงำน ใบงำนละประเทศสมำชิกอำเซียน แล้ว แจก ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มๆ ละ 1 ใบงำน ซึ่งแต่ละใบงำนก็จะมีสีที่แตกต่ำงกันไปขึ้นอยู่กับลำดับ กำรเข้ำร่วมอำเซียน 5. ให้ นั ก เรี ย นกลั บ ไปหำข้ อ มู ลเรื่ อ งประเทศต่ ำ งๆ โดยให้ ส อบถำมจำกเพื่ อ น ครอบครัว หรือค้นคว้ำจำกแหล่งข้อมูลต่ำงๆ เช่น ห้องสมุด อินเตอร์เน็ต เป็นต้น เพื่อกรอก ข้อมูลในใบงำน 6. ครู อ ธิ บ ำยเรื่ อ งกำรเข้ ำร่ ว มอำเซี ย น โดยอธิ บ ำยว่ ำ กลุ่ ม ที่ มี ก ำร์ ด สี ฟ้ ำ คื อ 5 ประเทศแรกที่ เข้ ำร่ วมอำเซีย น ได้แ ก่ อินโดนี เซี ย มำเลเซีย ฟิลิ ปปิ นส์ สิงคโปร์ แ ละไทย พร้อมกับให้นักเรียนกลุ่มที่มีกำร์ดของ 5 ประเทศนี้ออกมำหน้ำห้องเรียน แล้วให้แต่ละกลุ่ม นำเสนอกำรทักทำยของแต่ละประเทศ 7. ครูนำกำรอภิปรำยเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเทศเหล่ำนี้ ว่ำ มีอะไรที่เหมือนกันบ้าง พร้อมทั้งบอกวันที่อำเซียนได้เกิดขึ้นคือ วันที่ 8 สิงหำคม 1967 และเหตุผลที่ก่อตั้งอำเซียนก็ เพื่อให้เกิดควำมร่วมมือ ของทุกประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเพื่อสนับสนุนควำม สงบ มั่นคงและให้เกิดกำรพัฒนำของทั้งภูมภิ ำค เพรำะขณะนั้นหลำยประเทศยังมีสงครำม
18
8. ครู เรี ย กประเทศอื่ น ๆตำมสี (สี ม ำจำกลำดั บ ในกำรเข้ ำร่ ว มสมำชิ ก ) เริ่ ม จำก สีเขียว: บรูไน เข้ำร่วมในวันที่ 7 มกรำคม 1984 (ครูให้นักเรียนคำนวณว่ำเข้ำร่วมหลังจำกกี่ ปีผ่ำนไปที่ก่อตั้งอำเซียน ครูควรเน้ นว่ำวันที่บรูไนเข้ำร่วมอำเซียนคือ 6 วันหลังจำกที่บรูไน เป็ นอิ สรภำพ และถำมว่ ำบรู ไนเข้ำร่ วมทำไม) สีเหลือ ง: เวีย ดนาม เข้ำร่ วมในวั นที่ 28 กรกฎำคม 1995 (ครูถำมนักเรียนให้คิดว่ำเวียดนำมเข้ำร่วมหลังจำกอำเซียนก่อตั้งขึ้นกี่ปี? และหลังสงครำมเวียดนำมจบลงกี่ปี ?) สีม่วง: ลาวและพม่า เข้ำร่วมในวันที่ 23 กรกฎำคม 1997 (ครูถำมนักเรียนให้คิดว่ำมำเข้ำร่วมหลังจำกอำเซียนก่อตั้งกี่ปี? และหลังจำกเวียดนำม กี่ปี) สีชมพู: กัมพูชา เข้ำร่วมในวันที่ 30 เมษำยน 1999 (เข้ำร่วมนับจำกปัจจุบันกี่ปี) และ เมื่อลำดับประเทศที่เข้ำร่วมอำเซียนครบทุกประเทศแล้ว ครูร่วมกับสรุปกับนักเรียนว่ำ ตอนนี้ กำรเข้ำร่วมเป็นประชำคมอำเซียนมุ่งเน้น ในเรื่องเศรษฐกิจและต้องกำรกำรสนับสนุนเรื่อง ควำมสงบเป็นเป้ำหมำยสำคัญ 9. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มค้นคว้ำเรื่องที่ ว่ำปีที่ประเทศในข้อ 8 เข้ำร่วมอำเซียนมี อะไรเกิดขึ้นบ้ำงและก่อนหน้ำนั้นมีอะไรเกิดขึ้นบ้ำง ตัวอย่ำง ประเทศได้รับอิสรภำพ มีนำยก หรือประธำนำธิบดีคนใหม่ เป็นต้น แล้วให้แต่ละกลุ่มนำเสนอสั้นๆ เกี่ยวกับเหตุกำรณ์นั้นๆ 10. ให้ นั ก เรี ย นแต่ ล ะกลุ่ ม น ำกำร์ ด ประเทศที่ ไ ด้ ก รอกข้ อ มู ล แล้ ว น ำไปพู ด คุ ย แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกลุ่มอื่นๆ โดยให้มีกำรถำมคำถำมเกี่ยวกับประเทศอื่นแล้วนำข้อมูลที่ได้ รับมำเปรียบเทียบกับประเทศของตนเอง แบบฝึกหัดนาทาง ASEAN กำร์ดแต่ละประเทศ กำรเข้ำร่วม ASEAN กำรก่อตั้งอำเซียน (กิจกรรมทุกอย่ำงควรมีครูคอยแนะนำตลอดเวลำ)
19
คาบที่ 3 การก่อตั้ง ASEAN ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มทำ Cutout ประเทศที่ตนเองได้รับมอบหมำย โดยให้หำรูปที่ตัด มำจำกนิตยสำร อินเตอร์เน็ตหรือวำดขึ้นเองมำประดับตบแต่งให้สวยงำม สรุปการเรียนรู้ ให้ นั ก เรี ย นศึ ก ษำหำควำมรู้ จ ำกบอร์ ด ที่ ทุ ก กลุ่ ม ท ำ แล้ ว ครู น ำอภิ ป รำยเรื่ อ ง ผลประโยชน์ที่ประเทศของตนเองจะได้รับจำกกำรเข้ำร่วมอำเซียน พร้อมให้นักเรียนเลือก เหตุผลที่ดีที่สุดที่ทำให้ควรเข้ำร่วมประชำคมอำเซียน สุดท้ำยให้นักเรียนทำใบสรุปเหตุผล สำคัญจำกกระดำษแข็งพร้อมระบำยสีและนำไปติดบริเวณบอร์ดที่ทำไว้ การประเมินที่แนะนา 1. ให้นักเรียนใช้ข้อมูลจำกกำร์ดแต่ละประเทศเปรียบเทียบควำมเหมือนและควำม แตกต่ำงระหว่ำงประเทศสมำชิกอำเซียน และอภิปรำยควำมหมำยของคำว่ำ “Association” และ “Nation” (การประเมินคือ 1. การเขียนอธิบาย และ 2. การอธิบายปากเปล่า) 2. ให้นั กเรีย นท ำตำรำงประเทศสมำชิ กอำเซี ยนโดยเรียงตำมลำดั บกำรเข้ำ เป็ น สมำชิก โดยในตำรำงควรเพิ่มเติม ข้อมูลเรื่องประเทศอำเซียนที่ตนเองได้ รับ และคำนวณ ระยะเวลำที่แต่ละประเทศได้เข้ำร่วมไว้ด้วย พร้อมทั้งให้นักเรียนแสดงรำยละเอียดเหตุกำรณ์ สำคัญ (การประเมินคือ 1. การเขียนอธิบาย และ 2. การอธิบายปากเปล่า) 3. ให้ นั ก เรี ย นน ำตำรำงที่ แ สดงถึ งควำมเหมื อ นและควำมต่ ำงระหว่ ำ งประเทศ สมำชิกมำติดรวมกับ cutout ที่ผนังในห้อง (การประเมินคือ 2. การอธิบายปากเปล่า และ 4. แนวความคิด) 4. ให้นักเรียนอภิปรำยเรื่องประโยชน์ที่ประเทศของตนเองจะได้รับจำกกกำรเข้ำ ร่วมอำเซีย น โดยให้ท ำเป็น โปสเตอร์ข องแต่ละคนที่แสดงถึงเหตุผลสำคั ญในกำรเข้ ำร่ว ม ประชำคมอำเซียน (การประเมินคือ 1. การเขียนอธิบาย และ 4. แนวความคิด)
20
คาถามสรุป 1. ตัวอักษรแต่ละตัวในคำว่ำ ASEAN มีควำมหมำยว่ำอย่ำงไรและสำคัญอย่ำงไร? 2. ประเทศสมำชิกอำเซียนทั้ง 10 ประเทศมีประเทศอะไรบ้ำงและ 5 ประเทศใด เป็นประเทศที่ก่อตั้งสมำคมอำเซียน? 3. ประเทศสมำชิกมีอะไรบ้ำงที่เหมือนกันและมีอะไรบ้ำงที่แตกต่ำงกัน? 4. ประเทศของเรำได้ประโยชน์อะไรจำกกำรเข้ำร่วมเป็นสมำชิกอำเซียน? การเชื่อมโยงกับวิชาอื่นๆ บทเรียนนี้สำมำรถเชื่อมโยงกับกำรศึกษำเรื่อง ภูมิศำสตร์ เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมที่ เน้นในเรื่องกำรมีส่วนร่วมซึ่งกันและกัน
21
ใบงาน : ASEAN Say What? ใช้ข้อมูลจำกควำมคิดจำกกำรอภิปรำย และใส่ควำมหมำย หลังคำว่ำ ASEAN A ……………………………………………………………………………………………………………………………… S ……………………………………………………………………………………………………………………………… E ……………………………………………………………………………………………………………………………… A ……………………………………………………………………………………………………………………………… N………………………………………………………………………………………………………………………………
22
ใบงาน : (Topographic map) แผนที่ที่แสดงภูมิประเทศของเอเซีย
23
ใบงาน : (ASEAN country card) การ์ดความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียน กำร์ดควำมรู้เกี่ยวกับประเทศอำเซียน มีสีตำมลำดับของกำรเข้ำร่วมอำเซียน สีฟ้ำ อินโดนีเซีย มำเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย (ชำติสมำชิกก่อตั้งในวันที่ 8 สิงหำคม 1967) สีเขียว บรูไน ในวันที่ 7 มกรำคม 1984 สีเหลือง เวียดนำม ในวันที่ 28 กรกฎำคม 1995 สีม่วง ลำว และพม่ำ ในวันที่ 23 กรกฎำคม 1997 สีชมพู กัมพูชำ ในวันที่ 30 เมษำยน 1999 ด้ำนหน้ำของกำร์ด กรอกข้ อ มู ลจำกกำรค้ น คว้ ำของแต่ ละกลุ่ ม เรื่ อ งแต่ ล ะชำติ สมำชิ ก เช่ น ข้ อ มู ล ที่ น่ำสนใจ เช่น อำหำรประจำชำติ เหตุกำรณ์ในประวัติศำสตร์ ประเพณี วัฒนธรรม เป็นต้น
24
การ์ดความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียน: ประเทศอินโดนีเซีย (ด้านหน้า) ภาษาทางการ : พูดอย่างไร ? : สวัสดี (หรือการทักทายอื่นๆ รวมด้วยภาษากาย เช่น การไหว้) ขอบคุณ ใช่/ไม่ การนับเลข 1-5 นักเรียน, ครู, โรงเรียน เกษตรกรรมที่สาคัญของประเทศ : ผลไม้ที่มีในประเทศ : สกุลเงิน : ศาสนาที่คนส่วนใหญ่นับถือ : มีกี่เปอร์เซ็นต์ในประเทศที่นับถือศาสนานี้ ? 24
วันหยุดประจาชาติ (วันอะไรบ้าง) :
25
การ์ดความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียน: ประเทศอินโดนีเซีย (ด้านหลัง) ติดกับประเทศ/ทะเลอะไรบ้าง:
ระบายสีประเทศอินโดนีเซีย
ขนาดพื้นที่ : ฤดูกาล (แต่ละฤดูมีกี่เดือน): จานวนประชากร : การเมืองการปกครอง : เรื่องราวที่ สนุก/น่าสนใจ:
25
26
การ์ดความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียน: ประเทศมาเลเซีย (ด้านหน้า) ภาษาทางการ : พูดอย่างไร ? : สวัสดี (หรือการทักทายอื่นๆ รวมด้วยภาษากาย เช่น การไหว้) ขอบคุณ ใช่/ไม่ การนับเลข 1-5 นักเรียน, ครู, โรงเรียน เกษตรกรรมที่สาคัญของประเทศ : ผลไม้ที่มีในประเทศ : สกุลเงิน : ศาสนาที่คนส่วนใหญ่นับถือ : มีกี่เปอร์เซ็นต์ในประเทศที่นับถือศาสนานี้ ? วันหยุดประจาชาติ (วันอะไรบ้าง) : 26
27
การ์ดความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียน: ประเทศมาเลเซีย (ด้านหลัง) ติดกับประเทศ/ทะเลอะไรบ้าง:
ระบายสีประเทศมาเลเซีย
ขนาดพื้นที่ : ฤดูกาล (แต่ละฤดูมีกี่เดือน): จานวนประชากร : การเมืองการปกครอง : เรื่องราวที่ สนุก/น่าสนใจ:
27
28
การ์ดความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียน: ประเทศฟิลิปปินส์ (ด้านหน้า) ภาษาทางการ : พูดอย่างไร ? : สวัสดี (หรือการทักทายอื่นๆ รวมด้วยภาษากาย เช่น การไหว้) ขอบคุณ ใช่/ไม่ การนับเลข 1-5 นักเรียน, ครู, โรงเรียน เกษตรกรรมที่สาคัญของประเทศ : ผลไม้ที่มีในประเทศ : สกุลเงิน : ศาสนาที่คนส่วนใหญ่นับถือ : มีกี่เปอร์เซ็นต์ในประเทศที่นับถือศาสนานี้ ? 28
วันหยุดประจาชาติ (วันอะไรบ้าง) :
29
การ์ดความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียน: ประเทศฟิลิปปินส์ (ด้านหลัง) ติดกับประเทศ/ทะเลอะไรบ้าง:
ระบายสีประเทศฟิลปิ ปินส์
ขนาดพื้นที่ : ฤดูกาล (แต่ละฤดูมีกี่เดือน): จานวนประชากร : การเมืองการปกครอง : เรื่องราวที่ สนุก/น่าสนใจ:
29
30
การ์ดความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียน: ประเทศไทย (ด้านหน้า) ภาษาทางการ : พูดอย่างไร ? : สวัสดี (หรือการทักทายอื่นๆ รวมด้วยภาษากาย เช่น การไหว้) ขอบคุณ ใช่/ไม่ การนับเลข 1-5 นักเรียน, ครู, โรงเรียน เกษตรกรรมที่สาคัญของประเทศ : ผลไม้ที่มีในประเทศ : สกุลเงิน : ศาสนาที่คนส่วนใหญ่นับถือ : มีกี่เปอร์เซ็นต์ในประเทศทีน่ ับถือศาสนานี้ ? 30
วันหยุดประจาชาติ (วันอะไรบ้าง) :
31
การ์ดความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียน: ประเทศไทย (ด้านหลัง) ติดกับประเทศ/ทะเลอะไรบ้าง:
ระบายสีประเทศไทย
ขนาดพื้นที่ : ฤดูกาล (แต่ละฤดูมีกี่เดือน): จานวนประชากร : การเมืองการปกครอง : เรื่องราวที่ สนุก/น่าสนใจ:
31
32
การ์ดความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียน: ประเทศสิงคโปร์ (ด้านหน้า) ภาษาทางการ : พูดอย่างไร ? : สวัสดี (หรือการทักทายอื่นๆ รวมด้วยภาษากาย เช่น การไหว้) ขอบคุณ ใช่/ไม่ การนับเลข 1-5 นักเรียน, ครู, โรงเรียน เกษตรกรรมที่สาคัญของประเทศ : ผลไม้ที่มีในประเทศ : สกุลเงิน : ศาสนาที่คนส่วนใหญ่นับถือ : มีกี่เปอร์เซ็นต์ในประเทศที่นับถือศาสนานี้ ? 32
วันหยุดประจาชาติ (วันอะไรบ้าง) :
33
การ์ดความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียน: ประเทศสิงคโปร์ (ด้านหลัง) ติดกับประเทศ/ทะเลอะไรบ้าง:
ระบายสีประเทศสิงคโปร์
ขนาดพื้นที่ : ฤดูกาล (แต่ละฤดูมีกี่เดือน): จานวนประชากร : การเมืองการปกครอง : เรื่องราวที่ สนุก/น่าสนใจ:
33
34
การ์ดความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียน: ประเทศบรูไน (ด้านหน้า) ภาษาทางการ : พูดอย่างไร ? : สวัสดี (หรือการทักทายอื่นๆ รวมด้วยภาษากาย เช่น การไหว้) ขอบคุณ ใช่/ไม่ การนับเลข 1-5 นักเรียน, ครู, โรงเรียน เกษตรกรรมที่สาคัญของประเทศ : ผลไม้ที่มีในประเทศ : สกุลเงิน : ศาสนาที่คนส่วนใหญ่นับถือ : มีกี่เปอร์เซ็นต์ในประเทศที่นับถือศาสนานี้ ? 34
วันหยุดประจาชาติ (วันอะไรบ้าง):
35
การ์ดความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียน: ประเทศบรูไน (ด้านหลัง) ติดกับประเทศ/ทะเลอะไรบ้าง:
ระบายสีประเทศบรูไน
ขนาดพื้นที่ : ฤดูกาล (แต่ละฤดูมีกี่เดือน): จานวนประชากร : การเมืองการปกครอง : เรื่องราวที่ สนุก/น่าสนใจ:
35
36
การ์ดความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียน: ประเทศเวียดนาม (ด้านหน้า) ภาษาทางการ : พูดอย่างไร ? : สวัสดี (หรือการทักทายอื่นๆ รวมด้วยภาษากาย เช่น การไหว้) ขอบคุณ ใช่/ไม่ การนับเลข 1-5 นักเรียน, ครู, โรงเรียน เกษตรกรรมที่สาคัญของประเทศ : ผลไม้ที่มีในประเทศ : สกุลเงิน : ศาสนาที่คนส่วนใหญ่นับถือ : มีกี่เปอร์เซ็นต์ในประเทศที่นับถือศาสนานี้ ? 36
วันหยุดประจาชาติ (วันอะไรบ้าง):
37
การ์คความรู้เกีย่ วกับประเทศอาเซียน: ประเทศเวียดนาม (ด้านหลัง) ติดกับประเทศ/ทะเลอะไรบ้าง:
ระบายสีประเทศเวียดนาม
ขนาดพื้นที่ : ฤดูกาล (แต่ละฤดูมีกี่เดือน): จานวนประชากร : การเมืองการปกครอง : เรื่องราวที่ สนุก/น่าสนใจ:
37
38
การ์ดความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียน: ประเทศลาว (ด้านหน้า) ภาษาทางการ : พูดอย่างไร ? : สวัสดี (หรือการทักทายอื่นๆ รวมด้วยภาษากาย เช่น การไหว้) ขอบคุณ ใช่/ไม่ การนับเลข 1-5 นักเรียน, ครู, โรงเรียน เกษตรกรรมที่สาคัญของประเทศ : ผลไม้ที่มีในประเทศ : สกุลเงิน : ศาสนาที่คนส่วนใหญ่นับถือ : มีกี่เปอร์เซ็นต์ในประเทศที่นับถือศาสนานี้ ? 38
วันหยุดประจาชาติ (วันอะไรบ้าง) :
39
การ์ดความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียน: ประเทศลาว (ด้านหลัง) ติดกับประเทศ/ทะเลอะไรบ้าง:
ระบายสีประเทศลาว
ขนาดพื้นที่ : ฤดูกาล (แต่ละฤดูมีกี่เดือน): จานวนประชากร : การเมืองการปกครอง : เรื่องราวที่ สนุก/น่าสนใจ:
39
40
การ์ดความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียน: ประเทศพม่า (ด้านหน้า) ภาษาทางการ : พูดอย่างไร ? : สวัสดี (หรือการทักทายอื่นๆ รวมด้วยภาษากาย เช่น การไหว้) ขอบคุณ ใช่/ไม่ การนับเลข 1-5 นักเรียน, ครู, โรงเรียน เกษตรกรรมที่สาคัญของประเทศ : ผลไม้ที่มีในประเทศ : สกุลเงิน : ศาสนาที่คนส่วนใหญ่นับถือ : มีกี่เปอร์เซ็นต์ในประเทศที่นับถือศาสนานี้ ? 40
วันหยุดประจาชาติ (วันอะไรบ้าง?):
41
การ์ดความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียน: ประเทศพม่า (ด้านหลัง) ติดกับประเทศ/ทะเลอะไรบ้าง:
ระบายสีประเทศพม่า
ขนาดพื้นที่ : ฤดูกาล (แต่ละฤดูมีกี่เดือน): จานวนประชากร : การเมืองการปกครอง : เรื่องราวที่ สนุก/น่าสนใจ:
41
42
การ์ดความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียน: ประเทศกัมพูชา (ด้านหน้า) ภาษาทางการ : พูดอย่างไร ? : สวัสดี (หรือการทักทายอื่นๆ รวมด้วยภาษากาย เช่น การไหว้) ขอบคุณ ใช่/ไม่ การนับเลข 1-5 นักเรียน, ครู, โรงเรียน เกษตรกรรมที่สาคัญของประเทศ : ผลไม้ที่มีในประเทศ : สกุลเงิน : ศาสนาที่คนส่วนใหญ่นับถือ : มีกี่เปอร์เซ็นต์ในประเทศที่นับถือศาสนานี้ ? 42
วันหยุดประจาชาติ (วันอะไรบ้าง) :
43
การ์ดความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียน: ประเทศกัมพูชา (ด้านหลัง) ติดกับประเทศ/ทะเลอะไรบ้าง:
ระบายสีประเทศกัมพูชา
ขนาดพื้นที่ : ฤดูกาล (แต่ละฤดูมีกี่เดือน): จานวนประชากร : การเมืองการปกครอง : เรื่องราวที่ สนุก/น่าสนใจ:
43
44
ใบงำน : Cutout ของประเทศอำเซียน Cutout นี้สำมำรถทำจำกโปสเตอร์ใหญ่ๆ หรือ ครูสำมำรถฉำยที่บนกระดำน และให้นักเรียนวำดตำม และตัดออกมำ บรูไน
กัมพูชา
44
45
อินโดนีเซีย
ลาว
45
46
มาเลเซีย
พม่า
46
47
ไทย
เวียดนาม
47
48
ฟิลิปปินส์
สิงคโปร์
48
49
แผนการสอน: เล่าเรื่องอาเซียน ระดับชั้น: มัธยมศึกษาตอนต้น วิชา: สังคมศึกษา ภาพรวม ให้นักเรียนอ่ ำนหนังสือพิมพ์และบทสัมภำษณ์เพื่อสำรวจเหตุผลที่กระตุ้นให้มีกำร รวมกันเป็นประชำคมอำเซียน พร้อมเหตุผลของหลำยๆ ประเทศที่เข้ำร่วมประชมคมด้วย พร้อมทั้งเปรียบเทียบควำมคิดเห็นจำกแหล่งข้อมูลหลำยๆ แหล่งและเชื่อมโยงควำมต้องกำร ของสังคมตนเองกับเป้ำหมำยอำเซียนทั้ง 7 ข้อ หลังจำกนั้นให้นักเรียนสรุปควำมรู้โดยกำร โพสต์เรื่องเล่ำหรือภำพที่ตนเองสรุปออกมำบนในเว็บไซต์ของวัยรุ่นอำเซียน เพื่อเชื่อมโยง วัยรุ่นอำเซียนกับประเทศอื่นๆ เพื่อเรียนรู้สังคมของกันและกัน ความรู้ที่คาดว่าจะได้รับ ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศเข้ำร่วมเป็นประชำคมอำเซียน เพื่อเป้ำหมำยเดียวกัน วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสำมำรอธิบำยเหตุผลที่มีกำรก่อตั้งอำเซียนได้ 2. นักเรียนสำมำรถอธิบำยได้ว่ำ กลุ่มประชำคมอำเซียนทำงำนกันอย่ำงไร โดยเน้น ย้ำนโยบำยเฉพำะพร้อมอธิบำยว่ำใช้อย่ำงไร 3. นักเรียนสำมำรถอธิบำยประโยชน์ของสังคมและประเทศที่จะได้รับจำกกำรเป็น สมำชิกอำเซียน 4. นักเรียนสำมำรถเชื่อมโยงสังคมของตนเองกับสังคมนักเรียนอื่นๆ ในอำเซียนได้ คาถามที่จาเป็น 1. ทำไมหลำยๆ ประเทศถึงได้ร่วมก่อตั้งเป็นประชำคมอำเซียน (คน สถำนที่)? 2. ประเทศสมำชิกอำเซียนมีเป้ำหมำยอะไรบ้ำงที่เหมือนกัน (คน แนวคิด)? 3. เมื่อมำรวมกันเป็นประชำคมอำเซียนแล้ว ประเทศสมำชิกสำมำรถทำอะไรได้บ้ำง ที่ไม่สำมำรถทำได้หำกยังเป็นประเทศเดี่ยว (คน สถำนที่ แนวคิด)?
50
อุปกรณ์/ใบงานที่ต้องการ 1. ใบงำน Breaking News ข่ำวสดใหม่ 2. ใบงำน Your ASEAN story เรื่องรำวอำเซียนของคุณ 3. ใบงำน สัมภำษณ์ : คุณอยู่ที่ไหน 4. 7 เป้ำหมำยของอำเซียน 5. ใบงำน ล่ำและเก็บรูปภำพ (เปลี่ยนแปลงได้ถ้ำไม่มีกล้องถ่ำยรูป) 6. ใบงำน กำรสร้ำงเรื่อง (Story crafting) (เปลี่ยนแปลงได้ถ้ำไม่มีกล้องถ่ำยรูป) 7. กล้อง, Printer 8. Website สำหรับวัยรุ่นอำเซียนที่มีโปรแกรม story crafting เวลาที่ต้องใช้ 3 คาบเรียน มีกำรบ้ำนสัมภำษณ์หลังจำกคำบแรก มีกำรบ้ำนที่ต้องเก็บรูป (อำจจะใช้เวลำถึง 1 อำทิตย์) คำบที่ 3 จัดรูทั้งหมดให้เป็นเรื่องรำวเชื่อมโยงเป้ำหมำยของอำเซียนกับปัญหำใน สังคมของตนเอง คาศัพท์ที่ควรรู้ Declaration = กำรประกำศอย่ำงเป็นทำงกำร กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน ให้นักเรียนคิดถึงวิธีในกำรเล่ำเรื่องเหตุกำรณ์ต่ำงๆ (เรื่องเล่ำ งำนเขียน หรือรูปภำพ) พร้อมให้คำถำมกับนักเรียนว่ำ “แนวความคิดสาคัญอย่างไรในการเล่าเรื่องเหตุการณ์ต่าง” ข้อมูลที่ให้นักเรียน ครูอธิบำยวิธีในกำรวิเครำะห์หัวข้อในหนังสือพิม พ์ที่เกี่ยวกับเหตุกำรณ์ต่ำงๆ พร้อม ให้นักเรียนร่วมกันภิปรำยเรื่อง “เหตุผลที่กระตุ้นให้มีการก่อตั้งอาเซียน”
51
ตัวอย่าง ครูจะแสดงตัวอย่ำงกำรวิเครำะห์หัวข้อในหนังสือพิมพ์เพื่อให้เข้ำใจแนวคิด และเป็น แนวทำงในกำรค้นหำข้อมูลเฉพำะด้ำนได้ วิธีดาเนินการ คำบที่ 1 1. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่มและแจกใบงำน Breaking news ASEAN ให้กับ ทุกกลุ่ม โดยแต่ละกลุ่มจะได้ใบงำนที่ไม่เหมือนกัน โดยแต่ละกลุ่มจะได้อ่ำนหัวข้อข่ำวจำนวน 2 ข่ำว หลังจำกนั้นให้ร่วมกันอภิปรำยและกรอกตำรำงลงในใบงำน 2. ครูแจกใบงำนสัมภำษณ์ คุณอยู่ที่ไหน? ให้นักเรียนทำเป็นกำรบ้ำน คำบที่ 2 1. แบ่งกลุ่มนักเรียนเหมือนคำบที่ 1 และนำกำรบ้ำนมำอภิปรำยเปรียบเทียบกัน ระหว่ำงกลุ่ม หลังจำกนั้นครูกับนักเรียนร่วมกันอภิปรำยเรื่อง “เหตุผลที่ก่อตั้งอาเซียน” จำก ข้อมูลที่นักเรียนไปหำมำเป็นกำรบ้ำน แล้วครูรวบรวมเหตุผลทั้งหมดเขียนไว้บนกระดำน 2. ครูแจกเป้ำหมำยของอำเซียนทั้ง 7 ข้อให้กับนักเรียนทั้งห้อง พร้อมอธิบำยให้ นักเรียนฟังเรื่อง “เหตุผลที่เกิดอาเซียนเปรียบเทียบกับเป้าหมายทั้ง 7 ข้อ” 3. ครูและนักเรียนร่วมกันวิเครำะห์และอภิปรำยร่วมกันเกี่ยวกับข้อมูลของคนที่ นักเรียนไปสัมภำษณ์ในประเด็น “ปัญหาสังคม” พร้อมนำไปเปรียบเทียบกับเป้ำหมำยของ อำเซียนทั้ง 7 ข้อ พร้อมร่วมกันตรวจสอบดูว่ำมีข้อใดตรงกันบ้ำง 4. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มแล้วครูแจกใบงำน Your ASEAN story เรื่องราว อาเซียนของคุณ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแล้วให้ร่วมกันอธิบำยปัญหำของสังคมกลุ่มละ 1 เรื่อง 5. ครูแจกใบงำน “ล่าและเก็บรูปภาพ” และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มไปล่ำและเก็บ รูปภำพตำมโจทย์ที่กำหนดให้
52
คำบที่ 3 ให้นัก เรียนทำกิ จกรรม “ใช้รูป สร้างเรื่อ ง” โดยให้นักเรียนนำรูป ที่ไปล่ำมำปริ้น ท์ ออกมำหรือทำเป็นภำพเคลื่อนไหวเพื่อนำเสนอ แบบฝึกหัดแนะนา ครูเป็นผู้อำนวยควำมสะดวกในกำรเรียนรู้ของนักเรียน โดยดูแล แนะนำ และชี้แนะ นักเรียนระหว่ำงสร้ำงเรื่องรำว สรุปการเรียนรู้ โพสต์เรื่องอำเซียนในเว็บไซต์วัยรุ่นอำเซียน อำจส่งให้กองเลขำธิกำรของอำเซียน หรือศูนย์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อโพสต์ลงในเว็บไซต์ แบบฝึกหัดส่วนตัว นักเรียนมีกำรติดต่อหรือสร้ำงเครือข่ำยระหว่ำงกลุ่มกับนักเรียนในประเทศสมำชิก อื่นๆ และอำจมีกำรทำงำนร่วมกันระหว่ำงประเทศ เช่น ทำโครงงำนเพื่อแก้ปัญหำในสังคม เป็นต้น การประเมินที่แนะนา 1. ให้นักเรียนทำใบงำน Breaking news ASEAN เพื่อให้เกิดควำมเข้ำใจและฝึก ควำมคิดวิเครำะห์เกี่ยวกับเหตุผลที่ทำให้เกิดกำรก่อตั้งอำเซียน (การประเมินคือ 1. การเขียน อธิบาย และ 2. การอธิบายปากเปล่า) 2. ให้นักเรียนแต่ละคนทำใบงำน คุณอยู่ที่ไหน? โดยกำรสัมภำษณ์บุคคลเกี่ยวกับ แนวคิ ดเกี่ย วกั บกำรก่อ ตั้งอำเซี ยน เพรำะเหตุ ใดประเทศจึง ควรเข้ำร่ว มเป็น สมำชิ ก และ ประโยชน์ที่ได้รับจำกกำรเป็นสมำชิกคืออะไร (กำรประเมินคือ 4. แนวคิด)
53
3. ครูและนักเรียนร่วมกัน อภิปรำยเรื่อง เป้าหมายของอาเซียน โดยเปรียบเทียบ เป้ำหมำยของอำเซียนทั้ง 7 ข้อกับแนวคิดที่ได้จำกกำรสัมภำษณ์ ส่วนใบงำนเรื่อง “อาเซียน ของคุณ” จะให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกปัญหำสังคมมำกลุ่มละ 1 เรื่องแล้วนำมำอภิปรำย ร่วมกัน (การประเมินคือ 2. การอธิบายปากเปล่า และ 4. แนวความคิด) 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกรูปภำพประมำณ 10-20 รูปเพื่อนำมำอภิปรำยแสดง ควำมคิดเห็นเกี่ยวกับ 1) ความสาคัญของปัญหาในสังคม 2) ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมอื่น ในอาเซียน 3) อาเซียนสามารถช่วยแก้ไขปัญหาดังกล่าวนี้ได้อย่างไร หลังจำกนั้นให้โพสเรื่อง อำเซียน ลงบนเว็บไซต์วัยรุ่นอำเซียน พร้อมให้นักเรียนสื่อสำรหรือแสดงควำมคิดเห็นด้วย ควำมสุภำพ (การประเมินคือ 2. การอธิบายปากเปล่า และ 4. แนวความคิด) คาถามสรุป 1. เหตุผลใดที่กระตุ้นให้มีกำรก่อตั้งอำเซียน? 2. ทำไมประเทศต่ำงๆ จึงตัดสินใจเข้ำร่วมเป็นสมำชิกอำเซียน? 3. เป้ำหมำยของอำเซียนทั้ง 7 ข้อสำมำรถแก้ปัญหำในสังคมของเรำได้อย่ำงไร? การเชื่อมโยงกับวิชาอื่นๆ กิจกรรมหรือบทเรียนนี้สำมำรถเชื่อมโยงกับเรื่องกำรสำรวจแนวควำมคิดในวิชำสังคม และประวัติศำสตร์ (ควำมสัมพันธ์ระหว่ำง คน สังคมและประเทศ) โดยอำจนำเสนอออกมำ ผ่ำนกำรเล่ำเรื่องด้วยวิธีต่ำงๆ ได้อย่ำงน่ำสนใจ อำทิ ข่ำว นิยำย รูปภำพ วิดีโอ เป็นต้น
54
ใบงาน: “Breaking News ASEAN” ข่าวสดใหม่ ใบงำนนี้เป็นหัวข้อหนังสือพิมพ์ เกี่ยวกับกำรก่อตั้งอำเซียนในปี 1967 โดยจะแบ่ง ออกเป็น 2 แบบคือ หัวข้อข่ำวจำกหนังสือพิมพ์ที่เกี่ยวกับประเทศที่ร่วมก่อตั้งอำเซียน และ แบบที่สอง หัวข้อข่ำวจำกหนังสือพิมพ์ที่เกี่ยวกับ ประเทศที่ไม่ได้ ร่วมก่อตั้งอำเซียน โดยใบ งำนนี้ทำเป็ น ตำรำงเพื่อ แสดงให้เห็นกำรเปรียบเทียบเหตุผลสำหรั บกำรก่อตั้ งอำเซียนซึ่ ง ข้อมูลต่ำงๆ ได้มำจำกข่ำวในหนังสือพิมพ์ (ข่ำวดังกล่ำวครูต้องหำมำเอง)
ประเทศที่ร่วมก่อตั้ง
เหตุผลที่ก่อตั้งอาเซียนคืออะไร ?
อินโดนีเซีย มำเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย
ประเทศที่ไม่ได้ร่วมก่อตั้ง บรูไน เวียดนำม ลำว พม่ำ กัมพูชำ
เหตุผลที่ก่อตั้งอาเซียนคืออะไร ?
55
ใบงาน : บทสัมภาษณ์ Where were you? คุณอยู่ที่ไหน? คาแนะนา:
ให้สัมภำษณ์คนในครอบครัวหรือผู้ใหญ่ที่เป็นเพื่อนกับคนในครอบครัวจำนวน 2 คนเกี่ยวกับอำเซียน โดยให้ถำมคำถำมต่อไปนี้พร้อมบันทึกคำตอบ 1. คุณจำกำรก่อตั้งอำเซียนในปี 1967 ได้หรือไม่? 2. คุณคิดอย่ำงไรกับกำรก่อตั้งนี้? 3. ถ้ำคุณจำกำรก่อตั้งของอำเซียนไม่ได้ (เพรำะเกิดไม่ทันหรือเด็กเกินไป) คุณรู้จักอำเซียนครั้งแรกเมื่อไหร่? รู้จักได้อย่ำงไร? 4. คุณคิดว่ำเหตุผลที่ประเทศคุณเข้ำร่วมอำเซียนคืออะไร? 5. อำเซียนทำประโยชน์อะไรให้กับประเทศของคุณบ้ำง? 6. ถ้ำให้คุณเลือกปัญหำมำ 2 ข้อที่เป็นปัญหำสำคัญที่สุดในประเทศของคุณ ปัญหำนั้นคืออะไร?
56
ใบความรู้ : เป้าหมายของอาเซียน 7 ข้อ 1. กำรเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ กำรพัฒนำสังคมและวัฒนธรรม 2. ควำมสงบและควำมมั่นคงในแผ่นดิน 3. ควำมร่วมมือกันด้ำนเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิทยำศำสตร์ เทคโนโลยีและ กำรบริหำรจัดกำร 4. กำรให้ควำมช่วยเหลือกันด้ำนกำรอบรมและกำรวิจัย 5. ควำมร่วมมือกันด้ำนเกษตรกรรม ภำคอุตสำหกรรมกำรส่งออก กำรเดินทำง กำรสื่อสำรและกำรปรับปรุงวิถีชีวิตพื้นฐำนของประชำกรในประเทศ 6. กำรสนับสนุนทำงด้ำนกำรศึกษำในภูมิภำคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 7. ควำมร่วมมือกันกับองค์กรในภูมิภำคและทั่วโลก
57
ใบงาน : เรื่องอาเซียนของคุณ 1. 2. 3. 4. 5.
ปัญหำในสังคมของคุณคืออะไร ทำไมปัญหำนี้จึงมีควำมสำคัญกับสังคมของคุณ คุณคิดว่ำปัญหำของคุณตรงกับปัญหำของอำเซียนหรือไม่ อย่ำงไร จงอธิบำย ปัญหำนี้เกี่ยวข้องกับเป้ำหมำยของอำเซียนใน 7 ข้อหรือไม่ อย่ำงไร ถ้ำหำกคุณสำมำรถจะไปที่ใดก็ได้เพื่อถ่ำยรูปเรื่องที่เกี่ยวกับหัวข้อนี้เพื่อมำทำกิจกรรม เล่ำเรื่องด้วยภำพ คุณจะเลือกไปที่ใด 6. ควำมสำคัญของอำเซียนต่อสังคม 7. ควำมสัมพันธ์ของอำเซียนกับสังคมอื่น 8. กำรรวมตัวกันเป็นประชำคมอำเซียนจะสำมำรถช่วยแก้ปัญหำนี้ได้อย่ำงไร
58
ใบงาน : การล่าและเก็บรูป (แบบที่ 1) คุณจะเล่ำเรื่องด้วยภำพได้อย่ำงไร 1. ถือกล้องให้นิ่งๆ ตอนจะกดชัตเตอร์ 2. เลือกวัตถุที่อยำกถ่ำยที่สำมำรถแสดงเรื่องรำวที่คุณอยำกเล่ำ 3. มุมมองของภำพจะเปลี่ยนไปถ้ำมุมถ่ำยภำพเปลี่ยนไป (ถ่ำยมุมต่ำ มุมสูง ถ่ำย ด้ำนหน้ำวัตถุ ถ่ำยด้ำนหลังวัตถุ แต่ละมุมภำพจะแตกต่ำงกัน) 4. องค์ประกอบของภำพ ตำมปกติแล้ว รูปจะแบ่งเป็น 9 ส่วน โดยถ้ำจุดสนใจอยู่ ตรงเส้นแบ่งจะทำให้รูปจะดูน่ำสนใจมำกขึ้น 5. ออกไปถ่ำยภำพ โดยนักเรียนทั้งกลุ่มอำจนัดกันไปถ่ำยภำพในวันหยุดหรือต่ำงคน ต่ำงแบ่ งสถำนที่ กั น ไปถ่ ำยภำพตำมควำมเหมำะสม แล้ ว นั ด หมำยน ำภำพมำ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
59
ใบงาน : การล่าและเก็บรูป (แบบที่ 2) คุณจะเล่ำเรื่องด้วยภำพได้อย่ำงไร 1. ออกแบบหรือวำงแผนว่ำอยำกจะนำเสนอเรื่องอะไร 2. หำรูปที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่ต้องกำรจำกแหล่งข้อมูลต่ำงๆ เช่น หนังสือพิมพ์ นิตยสำร ใบปลิว โปสเตอร์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น โดยตอนเลือกรูปต้องตอบ คำถำมให้ได้ว่ำ จุดสนใจของรูปคืออะไร รูปสื่อหรือแสดงออกถึงอะไร รูปแสดงถึงควำมคิดเห็นของใคร 3. แต่ ละกลุ่ ม ก ำหนดจ ำนวนภำพที่ ใ ห้ ไ ปหำมำ เช่ น 10-20 ภำพ แล้ ว น ำมำ แลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือพูดคุยกันเกี่ยวกับภำพที่หำมำได้นั้นๆ
60
ใบงาน : คาแนะนา เรื่อง story crafting กรณีที่ถ่ำยภำพด้วยกล้องดิจิตอลแล้วเซฟภำพไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว 1. เขียนชื่อสมำชิกในกลุ่ม 2. อัพโหลดรูปเข้ำไปในเว็บไซต์ Story crafting กรณีที่หำภำพมำจำกแหล่งข้อมูลต่ำงๆ หรือปริ้นท์ภำพออกมำ 1. ตรวจสอบควำมเข้ำกันของรูปที่หำมำกับเรื่องที่ต้องกำรนำเสนอ 2. จุดประสงค์ของเรื่องที่ต้องกำรนำเสนอคืออะไร (เช่น ให้ข้อคิด กระตุ้นเตือนให้ เกิดกำรเปลี่ยนแปลง แนะนำวิธกี ำรแก้ปัญหำ เป็นต้น) 3. คัดแยกรูปที่ไม่เข้ำกับเรื่องของคุณ กำหนดแต่ละเรื่องให้มีภำพประกอบประมำณ 8 รูป นอกจำกนี้ ให้ระบุสถำนที่และที่มำของภำพทุกครั้ง หำกเป็นกำรอัพโหลดภำพลง เว็บไซต์ก็ให้เขียนไว้ใต้ภำพ และหำกเป็นภำพที่หำมำจำกแหล่งข้อมูลต่ำงๆ ก็ให้เขียนกำกับ ด้ำนหลังของภำพ พร้อมคำอธิบำยภำพ 1 ประโยค และเมื่อนำภำพทุกภำพมำเรียงร้อยเล่ำ เรื่องด้วยภำพแล้ว ให้เรียงรูปตำมลำดับ คิดชื่อเรื่อง แล้วส่งครูพร้อมกับใบงำน
61
ตัวอย่างแผนการสอน : ตกลงกันหรือไม่ ระดับชั้น: มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชา: สังคมศึกษา ภาพรวม ให้นักเรียนแสดงบทบำทสมมติเกี่ยวกับกำรตกลงร่วมมือกัน โดยระหว่ำงแสดงจะต้อง วิเครำะห์ควำมซับซ้อนที่เกิดขึ้น ขณะที่คนเรำพยำยำมทำควำมตกลงเรื่องควำมเท่ำเทีย ม นักเรียนต้องสำรวจวิธีกำรและสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ถึง เหตุผลที่เลือกใช้วิธีกำรนี้ของอำเซียน สุดท้ำยแล้ วให้ร่วมกั นสรุปและทำควำมเข้ำใจร่ว มกันเรื่ องประโยชน์ ของควำมร่วมมือกั น ถึงแม้จะมีปัญหำเกิดขึ้นก็ตำม ความเข้าใจที่ควรได้ ในยุคนี้ที่มี Rapid Globalization (กำรใช้ประโยชน์กว้ำงขวำงทั่วโลกอย่ำงรวดเร็ว) จำเป็นต่อควำมร่วมมือกันทำงเศรษฐกิจ กำรเมืองและวัฒนธรรมเพื่อข้ำมผ่ำนอุปสรรคไปสู่ เป้ำหมำยเดียวกัน วัตถุประสงค์การเรียนรู:้ 1. นักเรียนสำมำรถอธิบำยควำมสำคัญของประชำคมอำเซียนได้ 2. นักเรียนสำมำรถอธิบำยควำมซับซ้อนที่เกิดขึ้นในรวมเป็นประชำคมอำเซียนได้ 3. นั ก เรี ย นสำมำรถวิ เ ครำะห์ เ ป้ ำหมำยของกำรรวมเป็ น ประชำคมอำเซี ย นใน ปี 2015 ได้ 4. นักเรียนสำมำรถอธิบำยควำมเชือ่ มโยงของประชำคมอำเซียนต่อควำมสำมำรถใน กำรพัฒนำด้ำนเศรษฐกิจและสังคมของประเทศได้ คาถามที่จาเป็น 1. ประโยชน์ทำงด้ำนเศรษฐกิจและสังคมจำกกำรมำรวมเป็นประชำคมอำเซียนคือ อะไร(คน สถำนที่ ทรัพยำกร)? 2. เพรำะเหตุใดในปัจจุบันกำรรวมตัวกันเป็นประชำคมอำเซียนจึงมีควำมจำเป็น มำกกว่ำในอดีต (คน แนวคิด)?
62
อุปกรณ์/ ใบงาน 1. รำยกำรของควำมสำเร็จในอำเซียน 2. ใบงำนเดี่ยว “การตกลงกันของอาเซียน” 3. ใบงำนกลุ่ม “เวลาสาหรับพันธสัญญา” 4. ใบงำน “นโยบายและเป้าหมายของอาเซียน” 5. แผนกำรทำงำนสำหรับสังคมอำเซียน 6. แหล่งค้นคว้ำหำข้อมูล เช่น ห้องสมุด อินเตอร์เน็ต 7. วัสดุสำหรับทำโปสเตอร์หรือสื่ออื่นๆ 8. เว็บไซต์สำหรับวัยรุ่นอำเซียน (ถ้ำมี) เวลาที่ต้องใช้ 3 คำบเรียน คาศัพท์ที่ควรรู้ 1. Charter กฎบัตร ใบอนุญำตกรรมสิทธิ์ 2. Globalization โลกโลกำภิวัตน์ สภำวะที่มีควำมเป็นอิสระด้ำนกำรค้ำระหว่ำง ประเทศ อิสระในกำรหมุนเวียนทุนทรัพย์ และอิสระในกำรแลกเปลี่ยนควำมคิด หรือกำรใช้ประโยชน์ร่วมกันอย่ำงกว้ำงขวำงทั่วโลก 3. Consensus ข้อตกลงร่วมกัน 4. Ratify กำรอนุมัติ 5. Outcome ผลที่เกิดขึ้น กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน ให้นักเรียนเขียนข้อตกลงที่มีกับเพื่อนหรือพี่น้อง พร้อมอธิบำยว่ำนักเรียนทำข้อตกลง กันอย่ำงไร กำรตกลงนี้ทั้งสองฝ่ำยพอใจหรือไม่ และหำกเปลี่ยนแปลงได้อยำกเปลี่ยนอะไร ให้มีควำมยำวประมำณ 1 ย่อหน้ำ
63
ตัวอย่าง ครูควรเปรียบเทียบงำนที่นักเรียนทำกับเอกสำรจริงของอำเซียน วิธีดาเนินการ คำบที่ 1 1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มหำเหตุกำรณ์ที่มีกำรตกลงกันแล้วประสบ ควำมสำเร็จในหัวข้อ ความสาเร็จในอาเซียน โดยใช้แหล่งข้อมูลจำกหนังสือหรือ อินเตอร์เน็ต (เช่น สนธิสัญญำเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เรื่องที่จะไม่ให้มีอำวุธนิวเคลียร์ ต้องอนุมัติถึง 7 หรือ ถึง 6 เป็นต้น) 2. ครูม อบหมำยงำนให้ นั กเรีย นหำข้ อมู ล เกี่ย วกั บ ปั ญหำของประเทศสมำชิก ใน ปัจจุบัน และประเทศสมำชิกนั้นมีวิธีกำรแก้ปัญหำอย่ำงไรในระยะสั้น และวิธีกำรแก้ปัญหำ ในระยะยำวคืออะไร โดยอำจให้ไปทำเป็นกำรบ้ำนหรือทำพร้อมกันในห้องเรียน คำบที่ 2 1. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มเพื่อให้นำเสนอเป็นโครงงำน โดยนักเรียนแต่ละคน จะมี ใบงำนของตนเองเรื่อง ข้อ ตกลงอาเซี ยน เพื่อ ให้นั กเรี ยนจดบั นทึก วิธีก ำรตกลงและ ผลประโยชน์ตอนที่ทำพันธสัญญำ 2. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มใหม่และให้แต่ละกลุ่มเป็นประเทศ แต่ละชำติ ใน เหตุกำรณ์ตอน 2005 เริ่ม กัน แล้วให้ นัก เรี ย นถือ ใบงำน การตกลงอาเซี ย น พร้ อ มไปเข้ ำร่ ว มกลุ่ ม ใหม่ พร้ อ มจดบัน ทึ ก ตำมที่ กำหนดไว้ในใบงำน 3. ให้นักเรียนเปรียบเทีย บของข้อดีแ ละข้อเสีย ของโครงสร้ำงกำรตกลงอำเซีย น จำกใบงำน และให้วิเครำะห์ ข้อดีของพันธสัญญำโดยแต่ละกลุ่มต้องเลือกข้อดีที่สำคัญที่สุด เอำไว้ หลังจำกนั้นให้ทุกกลุ่มนำเสนอข้อดีที่ตนเองคิดว่ำสำคัญพร้อมเขียนบนกระดำน
64
คำบที่ 3 1. กิจกรรมกำรประชุมคณะรัฐมนตรี โดยในกำรประชุมคณะรั ฐมนตรีจะพบกั บ รัฐ มนตรี จ ำกประเทศอื่ น ที่ จ ะมำร่ว มมื อ ระดมสมองเกี่ย วกั บ นโยบำยและเป้ำ หมำยของ อำเซียน โดยกิจกรรมนี้ใช้ใบงำน นโยบายและเป้าหมายของอาเซียน 2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรำยเกี่ยวกับเรื่องนโยบำยและเป้ำหมำย โดยนำเสนอ ออกมำในรูปของโปสเตอร์หรืองำนมัลติมีเดีย 3. ครูแจกใบงำนเรื่อง นโยบายและเป้าหมายพันธสัญญาของอาเซียนในปี 2008 พร้อมให้ เ ลองเปรียบเทียบงำนของตนเองกับของจริง 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสำรวจเป้ำหมำยในแผนงำนสำหรับอำเซียน และให้แต่ละ กลุ่ มเลื อก มำ 1 ข้อ มำกที่สุด พร้ อ ม นั้น นโยบำยและเป้ำหมำยของอำเซียนอย่ำงไรคิดเชื่อมโยงกับปัญหำ ในสังคม 5. ให้นักเรียนเตรียมกำรนำเสนอว่ำ เป้ำหมำยที่เลือกไว้จะมีผลกระทบอย่ำงไรกับ สังคม พร้ อมกั บวิ เครำะห์ ควำมคื บหน้ำของเป้ ำหมำยดังกล่ ำวโดยเปรีย บเทียบตั้งแต่ เริ่ ม ตั้งเป้ำหมำยในปี 2009 ณ ปัจจุบัน แ ผ ที่คำดว่ำจะเกิดขึ้น 2015 โดยให้แต่ละกลุ่ม เลือกปัญ หำมำเพียง 1 เพื่ อ เป็นหนังสื อร้องเรียนถึงรั ฐบำลหรือเลขำรัฐมนตรี อำเซียน แบบฝึกหัดแนะนา เวลำทำกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนในเรื่องพันธสัญญำและรัฐมนตรีต้องมีครูช่วยนำ สรุปการเรียนรู้ กำรนำเสนอออกมำในรูปของหนังสือร้องเรียนหรือจดหมำยร้องเรียนนั้น ให้นำไป โพสต์ในเว็บไซต์สำหรับวันรุ่นอำเซียน เพื่อให้เกิดควำมเชื่อมโยงเข้ำกับนักเรียนของประเทศ สมำชิกอื่นๆ ในอำเซียน
65
การประเมินที่แนะนา 1. นักเรียนทำใบงำน การตกลงของอาเซียน และทำตำรำงจำกกำรค้นคว้ำเรื่อ ง ควำมสำเร็จของอำเซียน โดยมีชื่อชำติสมำชิกที่เกี่ยวข้องในเหตุกำรณ์ วิธีกำรแก้ปัญหำ ผลที่ จะเกิดขึ้น ในระยะสั้น และระยะยำวของกำรตกลงของอำเซี ยน โดยนั กเรี ยนทุกกลุ่ม ต้อ ง น ำเสนอข้ อ มู ล และแสดงควำมคิ ด ที่ ป รำศจำกอคติ (การประเมิ น คื อ 1. เขี ย นอธิ บ าย 2. อธิบายปากเปล่า และ 4. แนวคิด) 2. นัก เรี ย นร่ ว มกั น แสดงบทบำทสมมุ ติ แ ละใช้ ข้ อ มู ลจำกใบงำน การตกลงของ อาเซียน เพื่อแสดงแนวคิดของประเทศที่ได้เข้ำร่วมประชุมรัฐมนตรีช่วยกันตกลงกันเรื่อง นโยบำยและเป้ำหมำยของอำเซียน (การประเมินคือ 2. อธิบายปากเปล่า และ 4. แนว ) 3. นักเรียนนำเสนอหรือเขียนจดหมำยถึงรัฐบำลและเลขำรัฐมนตรีอำเซียน โดยจะ เน้นไปที่ปัญหำสังคมที่เข้ำกับนโยบำยและเป้ำหมำยของพันธสัญญำ โดยต้องตอบคำถำม ต่อไปนี้ได้ว่ำ 1) ผลดีที่ได้จำกรวมเป็นประชำคมอำเซียนทำงด้ำนเศรษฐกิจและสังคมคืออะไร 2) ผลประโยชน์ร่วมกันของประชำคมอำเซียนส่งผลกระทบอย่ำงไรต่อประเทศที่ไม่ได้เป็น สมำชิก 3) เหตุใดกำรรวมเป็นประชำคมอำเซียนในปัจจุบันจึงมีควำมจำเป็นมำกกว่ำในอดีต (การประเมินคือ 2. อธิบายปากเปล่า และ 4. แนวคิด) คาถามสรุป 1. ทำไมกำรตกลงกันจึงมีควำมซับซ้อน 2. กำรพันธสัญญำของอำเซียนเพื่อแก้ปัญหำเรื่องใด 3. เป้ำหมำยของอำเซียนจะช่วยให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมหรือในท้องถิ่นได้อย่ำงไร การเชื่อมโยงวิชาอื่นๆ เรื่องนี้สำมำรถเชื่อมโยงกับวิชำเศรษฐศำสตร์ ประวัติศำสตร์และหน้ำที่พลเมืองได้ (เรื่องสนธิสัญญำ ข้อตกลง หลักปรัชญำ ตรรกวิทยำ) และบทเรียนนี้สำมำรถเชื่อมโยงกับ วิชำ วิทยำศำสตร์และสุขภำพได้ (กำรเปรียบเทียบเป้ำหมำยของอำเซียนและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น)
66
ใบงาน : รายการของความสาเร็จในอาเซียน ควำมสำเร็จของอำเซียนจะครอบคลุมถึง 1. กำรสร้ำงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงชำติ 2. กำรสร้ำงเครือข่ำยระหว่ำงคนที่ทำนโยบำยเพื่อควำมร่วมมือกัน 3. กำรพัฒนำควำมเข้ำใจของประชำคมอำเซียน 4. กำรรวมตัวของเศรษฐกิจในประชำคมอำเซียน 5. ควำมร่วมมือปกป้องด้ำนสิ่งแวดล้อม 6. ควำมร่วมมือเรื่องกำรทำสิ่งผิดกฎหมำยระหว่ำงประเทศ 7. ควำมร่วมมือป้องกันกำรแพร่ระบำดของโรค 8. กำรลดช่องว่ำงด้ำนเศรษฐกิจระหว่ำงประเทศสมำชิก 9. กำรสนับสนุนด้ำนกำรท่องเที่ยวของกลุ่มประเทศสมำชิก 10. กำรเตรียมตัวรับมือกับภัยพิบัติทำงธรรมชำติ 11. กำรให้ควำมสนับสนุนควำมเท่ำเทียมกันของสตรี 12. กำรปกป้องประเทศอำเซียนไม่ให้เกิดสงครำม
67
ใบงานรายบุคคล “การตกลงกันของอาเซียน” ใบงำนนี้ทำเป็นกลุ่มแต่จะแจกให้กับนักเรียนทุกคนสำหรับบันทึกระหว่ำงทำกิจกรรม เรื่องพันธสัญญำและกำรประชุมรัฐมนตรี โดยให้นักเรียนไปที่ แหล่งข้อมูลทำงอินเตอร์เน็ต http//www.aseansec.org. โดยเฉพำะในหน้ำ http//www.aseansec.org/19573.htm โดยตอบคำถำมต่อไปนี้ 1. ปัญหำอุปสรรคคืออะไร 2. ประเทศใดได้รับผลกระทบ 3. ใช้วิธกี ำรใดสำหรับทำข้อกำรตกลง 4. มีประเทศจำนวนเท่ำใดที่ตกลงในตอนแรก 5. มีประเทศอื่นมำเข้ำร่วมภำยหลังหรือไม่ 6. จำกข้อ 5 ถ้ำมีคือประเทศใดและมำเข้ำร่วมเมื่อใด 7. มีกำรทำควำมตกลงกันเรื่องอะไร 8. ผลในระยะสั้นคืออะไร 9. ผลในระยะยำวคืออะไร 10. ประโยชน์ที่ประเทศที่ตกลงจะได้รับคืออะไร 11. ข้อตกลงดังกล่ำวยังประโยชน์กับประเทสมำชิกอื่นๆ ที่ไม่ได้ทำข้อตกลงด้วย หรือไม่ อย่ำงไร จงอธิบำย 12. ข้อตกลงดังกล่ำวยังประโยชน์กับประเทศอื่นๆ ที่ไมได้เป็นสมำชิกด้วยหรือไม่ อย่ำงไร จงอธิบำย
68
ใบงานกลุ่ม “เวลาสาหรับพันธสัญญา” ให้นักเรียนค้นคว้ำเกี่ยวกับกำรตกลงอำเซียน แล้วกรอกลงในใบงำนนี้ วัตถุประสงค์ ของการตกลง
ชนิดของ การตกลง
ปีที่ตกลง ประเทศที่ตกลง
ผลประโชน์ ของการตกลง
ข้อเสียของ การตกลง
หลังจำกผ่ำนไป 40 ที่ใช้ข้อตกลงอย่ำงไม่เป็นทำงกำรท่ำมกลำงควำมสัมพันธ์และควำม เข้ำใจที่ยังไม่ชัดเจน แล้วเพรำะเหตุใดอำเซียนจึงคิดทำพันธสัญญำขึน้ ในเดือนธันวำคม 2005
69
ใบงาน “นโยบายและเป้าหมายของอาเซียน” ให้นักเรียนทำเป็นกลุ่มร่วมกันหำควำมหมำยของคำต่อไปนี้ (นักเรียนอำจใช้ Dictionary หรือแหล่งข้อมูลอื่นๆ ได้ตำมต้องกำร และสำมำรถใช้ดินสอในกำรเขียนตอบได้เพื่อควำม สะดวกในกำรแก้ไข)
นโยบาย -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เป้าหมาย -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
วงกลมคำตอบที่ดีที่สุดที่นักเรียนเขียนตอบมำ 5 คำตอบ
70
ใบงาน : แผนการทางานสาหรับสังคมอาเซียน 2009-2015 เลือกเป้ำหมำยจำกหน้ำ 7-19 จำก http//:www.aseansec.org/plublications/RoadmapASEAnCommunity.pdf*
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
แหล่งที่มาของข้อมูล: จำกที่เช็คล่ำสุดได้มีกำรปรับเว็บไซต์มำเป็นลิงค์ด้ำนล่ำงแล้ว http://www.aseansec.org/wp-content/uploads/2013/07/RoadmapASEANCommunity.pdf
71
ใบความรู้เรื่อง “นโยบายและเป้าหมายของสัญญาอาเซียน” การก่อตั้ง The Association of Southeast Asian Nations หรือ ASEAN ก่อตั้งขึ้นใน วันที่ 8 สิงหำคม ค.ศ.1967 ณ กรุงเทพมหำนคร ประเทศไทย ประเทศที่ ร่วมก่อตั้งมีทั้งหมด 5 ประเทศได้แก่ อินโดนีเซีย มำเลเซีย ฟิลิ ปปินส์ สิงคโปร์และไทย ต่อ มำดมีประเทศอื่นๆ เข้ำร่วมเป็นสมำชิกดังนี้ ประเทศที่ 6 คือ ประเทศบรูไน เข้ำเป็นสมำชิกเมื่อวันที่ 7 ค.ศ. 1984 ประเทศที่ 7 คือ ประเทศ เป็นสมำชิกเมื่อ 28 กรกฎำคม ค.ศ. 1995 ประเทศที่ 8 และ 9 คือ ประเทศ แ ประเทศ เป็นสมำชิกเมื่อ 23 ฎ ค.ศ. 1997 และประเทศที่ 10 คือ ประเทศ เป็นสมำชิก 30 ค.ศ. 1999 รวมประเทศที่เป็นสมำชิกในอำเซียนทั้งหมด 10 ประเทศ
72
วัตถุประสงค์ของการก่อตั้งอาเซียนอย่างเป็นทางการ 1. เพิ่ม ขี ดควำมเจริ ญ เติ บ โตทำงเศรษฐกิ จ กำรพั ฒ นำสั งคมและวั ฒ นธรรมใน ระหว่ ำงประเทศสมำชิ ก อย่ ำ งเท่ ำเที ย ม เพื่ อ สร้ ำงพื้ น ฐำนที่ แ ข็ งแรงส ำหรั บ ภูมิภำคสังคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อย่ำงยั่งยืน 2. พัฒนำควำมสงบและมั่นคงโดยกำรเคำรพกฎหมำยและมีควำมยุติธรรม ตำม นโยบำยและพันธสัญญำของประชำคมอำเซียน 3. สนับสนุนควำมร่วมมือ ให้ควำมช่วยเหลือและส่งเสริม ในเรื่องที่ประเทศสมำชิก ต้องกำรเหมือนกัน อำทิ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี วิทยำศำสตร์ และกำรบริหำรจัดกำร 4. ให้ควำมช่วยเหลือทำงด้ำนกำรฝึกอบรมและกำรวิจัยด้ำนกำรศึกษำ 5. เพื่อให้เกิดควำมร่วมมือกันในภำคเกษตรกรรม ภำคอุตสำหกรรม กำรขยำยกำร ส่งออก รวมทั้งศึกษำปัญหำของกำรค้ำระหว่ำงประเทศ กำรปรับปรุง ระบบกำร ขนส่งและกำรสื่อสำร รวมทั้งปัจจัยพื้นฐำนของกำรดำรงชีวิตของประชำชน 6. สนับสนุนด้ำนกำรศึกษำเรื่องเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 7. สร้ำงควำมร่วมมือกับ องค์ กรนำนำชำติ ที่มี วัตถุ ประสงค์คล้ำยกั น (เช่น ควำม เคำรพเรื่ อ งสิ ท ธิ เสรี ภ ำพ ควำมเท่ ำเที ย ม ควำมเป็ น เอกลั ก ษณ์ ข องแต่ ล ะ ประเทศ กำรไม่แทรกแซงทำงกำรเมือง ควำมตกลงไม่ใช้ควำมรุนแรง สิทธิที่ทุก ชำติไม่สำมำรถมำคุกคำมประเทศของตนได้ เป็นต้น)
74
บทที่ 2 เสน่ห์อาเซียน...เอกลักษณ์และความต่าง ในบทนี้จะให้ผู้เรียนสารวจความเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละประเทศในอาเซียน โดย ร่วมกันหาว่าเอกลักษณ์ดังกล่าวจะสามารถช่วยให้สังคม สิ่งแวดล้อม การเมืองและการ ปกครองมีความมั่นคงและยั่งยืนอย่างไร นอกจากนี้ในบทนี้จะเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียน วิเคราะห์เอกลักษณ์และคุณคาของสังคม วิถีชีวิตและความเชื่อของตนเอง
เอกลักษณ์และความแตกต่างของแต่ละประเทศสามารถดารงคงไว้ให้เกิดความยั่งยืนได้ มาจากสาเหตุดังนี้ แต่ละประเทศในอาเซียนมีเอกลักษณ์ ที่ต่างกันออกไปที่ขึ้นอยู่กับ หลายปัจจัย เช่น ภูมิภาค ภาษา สัญชาติ เชื้อชาติ ระดับชั้นในสังคม การศึกษา ศาสนา อายุ เพศ ความชอบส่วนบุคคล เป็นต้น การเห็นคุณค่าของความแตกต่าง สามารถช่วยรักษาความเป็นเอกลักษณ์ไว้ได้ อย่างลึกซึ้งและยั่งยืน เพราะแสดงถึงการยอมรับในความแตกต่างซึ่งกันและกัน ยังให้เกิดความสุขของคนในสังคมทั่วทั้งอาเซียน การจดจาและสามารถอธิบายประวัติศาสตร์และเหตุการณ์ สาคัญของประเทศ ตนเองได้เป็นสิ่งที่มีคุณค่า เพราะสิ่งนี้ก็คือเอกลักษณ์ของประเทศและสามารถ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันได้ระหว่างบุคคล สังคม และประเทศด้วย
75
การเชื่อมโยงวิชาต่างๆ กับความรู้เรื่องเอกลักษณ์และความแตกต่างแต่ละประเทศ วิชาประวัติศาสตร์และสังคม นักเรียนสามารถเรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณี พิธีสาคัญต่างๆ ของแต่ละประเทศทั่วอาเซียน พร้อมทั้งวิเคราะห์สิ่งที่มีความเหมือนกันของ แต่ละประเทศ เช่น เป็นงานที่คนจากที่ต่างๆ มารวมตัวกันเพื่อทากิจกรรมร่วมกัน เพื่อสืบ ทอดขนบธรรมเนียมประเพณีให้คงอยู่สืบต่อไป วิชาวิทยาศาสตร์ นักเรียนสามารถเรียนรู้เกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพทั้งใน ระบบเล็ ก ๆ ไปจนถึ ง ระบบที่มี ข นาดใหญ่ นอกจากนี้ ยั งได้เรี ย นรู้ ความสาคั ญ ของความ หลากหลายทางชีวภาพด้วยว่าเป็นส่วนที่ทาให้ระบบนิเวศแข็งแรงและคงอยู่ได้ วิชาหน้าที่พลเมืองและคุณธรรม นักเรียนสามารถเรียนรู้จากการสารวจดูว่า กลุ่ม ของตนเองที่ มีความชอบคล้ายๆ กั นหรือ ที่ มี ความเป็น ตัว เอง จะเชื่อ มโยงกับ กลุ่ มอื่ น ที่ มี ความชอบหรือความแตกต่างกับเราได้อย่างไร วิชาภาษาและวรรณกรรม นักเรียนสามารถเรียนรู้วัฒนธรรมต่างๆ ว่าเป็นอย่างไร และมีความเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรบ้าง อาทิ ภาษาเขียน ภาษาพูด แต่ละชาติแต่ละภาษา เป็นอย่างไรและภาษาของตนเองเป็นอย่างไร วิชาศิลปะ นักเรียนสามารถเรียนรู้ศิลปะในมุมที่ช่วยเผยแพร่วัฒนธรรมและสื่อให้ เห็ น การเปลี่ย นแปลงไปของวั ฒ นธรรม รวมทั้ ง วิ เคราะห์ ว่ าความหลากหลายของแต่ละ วัฒนธรรมช่วยสร้างคุณค่าความเป็นเอกลักษณ์ทั้งของตนเอง สังคม วัฒนธรรม ประเทศของ เรา รวมไปถึงประชาคมอาเซียนอย่างไร โดยโครงสร้างหลักสูตรสาหรับ บทนี้ แสดงให้เห็นดัง ตารางด้านล่าง
76
ระดับประถมศึกษาตอนปลาย: การให้คุณค่ากับความเป็นเอกลักษณ์และความแตกต่าง วิชา
ผลทางการศึกษา
สังคมและ งานพิธีต่างๆ ทาให้คน ประวัติศาสตร์ มารวมตัวกัน
คนจะเปลี่ยนแปลงตัวเอง เพื่อเข้ากับสิ่งแวดล้อม ทั้งด้านวัฒนธรรมและ วิถีชีวิต วิทยาศาสตร์ ระบบนิเวศของอาเซียน และ มีความหลากหลาย คณิตศาสตร์
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวความคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
ทาไมประเพณีสาคัญๆ จึงมักจัดในวันหยุด? (คน สถานที่ แนวคิด)
ให้นักเรียนเรียนรู้เรื่องพิธีต่างๆ (เช่น งานแต่งงาน งานศพ) และ วันหยุดราชการของทุกประเทศสมาชิกในอาเซียน แล้วให้นักเรียนหา จุดเหมือนในการที่ทาให้คนมารวมตัวกัน รวมทั้งให้นักเรียนเรียนรู้เรื่อง วัฒนธรรมนั้นๆ
ภูมิภาคและภูมิอากาศมีอิทธิพล ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ชีวิตประจาวันอย่างไร ? (คน สถานที่)
ให้นักเรียนหาสิ่งที่เหมือนกันในแผนที่อาเซียนที่ปริ้นท์ออกมา โดยแผนที่จะ แสดงให้เห็นถึงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อมของอาเซียน (เช่น ทะเล ภูเขา ป่า เกาะ พื้นดิน) แล้วให้นักเรียนวิเคราะห์เชื่อมโยงว่าสิ่งต่างๆ เหล่านี้ ส่งผลให้เกิดความแตกต่างในชีวิตประจาวันของแต่ละพื้นที่อย่างไร
ระบบนิเวศมีอะไรบ้าง และมีความสัมพันธ์กันอย่างไร? (สถานที่ ทรัพยากร)
ให้นักเรียนไปยังสถานที่จริงที่เป็นธรรมชาติ (ทะเล ป่า สวนสาธารณะ) ทา กิจกรรมชื่อ 1 ตารางเมตร โดยให้บันทึกสิ่งมีชีวิตที่พบเห็นในพื้นที่ ต่อจากนั้น ให้ทากิจกรรมนี้ซ้าแต่ลดขนาดพื้นที่ให้เหลือ 10 ตารางเซนติเมตร
76
77
วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
หน้าที่ ทุกวัฒนธรรมมีประเพณี วัตถุประสงค์ของพฤติกรรม พลเมือง และวิถีปฎิบัติของตนเอง การแสดงออกและที่ทาให้เกิด และคุณธรรม ประเพณีท้องถิ่นคืออะไร? (คน ความคิด)
ให้นักเรียนเรียนรู้เรื่องพฤติกรรมที่ดีและไม่ดีในแต่ละประเทศเป็นอย่างไร โดยให้ค้นคว้าหาข้อมูลจากสื่อในท้องถิ่น เช่น การซื้อขาย (มือถือ แฟชั่น การขนส่ง) มีรูปแบบหรือวัฒนธรรมการซือ้ ขายเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร รูปแบบของสินค้าโดยเฉพาะสินค้าที่เป็นเรื่องของศิลปะมีความเปลี่ยนแปลง ไปอย่างไร
ภาษาและ วรรณกรรม
สิ่งที่กาหนดการกระจายตัวของ ภาษาคืออะไร? (คน สถานที่)
ให้นักเรียนใช้แผนที่เพื่อระบุ เชื่อมโยงและเปรียบเทียบ การกระจายตัวของ ภาษาในประชาคมอาเซียน
เรื่องราวต่างๆ ที่แต่ละประเทศ มีนั้นช่วยเสริมสร้างความเป็น เอกลักษณ์ของแต่ละประเทศ ได้อย่างไร? (คน ความคิด)
ให้นักเรียนเปรียบเทียบเรื่องราวที่มีความหมายหรือความสาคัญกับประเทศ นั้นๆ เช่น เรื่องราวในประวัติศาสตร์ การผ่านอุปสรรค ชัยชนะ เป็นต้น พร้อมนามาเชื่อมโยงกับเอกลักษณ์ของประเทศนั้นๆ
อาเซียนมีภาษาที่ หลากหลาย และสิ่ง เหล่านี้แสดงถึง เอกลักษณ์ของแต่ละ ประเทศ
77
78
วิชา ศิลปะ
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ ถ่ายทอดสู่ลูกหลาน เพื่อให้สืบทอดไปยังรุ่น ต่อๆ ไปผ่านงานศิลปะ
คนสืบทอดวัฒนธรรมโดยศิลปะ อย่างไร ? (คน ทรัพยากร แนวความคิด)
เรียนรู้เรื่องประวัติศาสตร์ ผ่านการถ่ายทอดผ่านการเล่า ผ่านทางรูปภาพ และเพลง ที่เป็นวิธีรักษาวัฒนธรรมใว้ สืบทอด ประวัติศาสตร์ และเรื่องราว สู่ลูกหลาน และความสาคัญในปัจจุบัน
งานศิลปะสามารถ เปลี่ยนแปลงสถานที่
ศิลปะเปลี่ยนแปลงสถานที่ได้ อย่างไร ? (สถานที่ แนวความคิด)
ดูตัวอย่างของวัด อนุสาวรีย์ หรืองานศิลปะอื่นๆ ที่เปลี่ยนแปลงสถานที่ไป แล้ววิเคราะห์ว่าแสดงถึงความหมายทางวัฒนธรรมอย่างไร และสื่อให้เห็นว่า เกิดการเปลี่ยนแปลงเอกลักษณ์ของคนในปัจจุบันอย่างไร สุดท้ายให้นักเรียน แบ่งกลุ่มเพื่อทางานศิลปะเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในโรงเรียน 1 อย่าง
โภชนาการที่มีความหลากหลาย ช่วยให้คนเรามีสุขภาพดีได้ อย่างไร? (คน ทรัพยากร)
ให้นักเรียนจดบันทึกหรือถ่ายรูปอาหารที่ครอบครัวของตนเองรับประทาน ใน 1 สัปดาห์ โดยต้องศึกษาคุณค่าทางโภชนาการ ส่วนประกอบของอาหาร ฉลากอาหารและคานวณค่าพลังงานของอาหาร นักเรียนสังเกตเห็นความ หลากหลายของอาหารที่นักเรียนรับประทานไปใน 1 สัปดาห์หรือไม่?
สุขภาพ โภชนาการที่ดีขึ้นอยู่กับ และกายภาพ อาหารที่มีอยูอ่ ย่าง (ส่วนที่ 1) หลากหลายทัว่ อาเซียน
78 77
79
วิชา สุขภาพ และกายภาพ (ส่วนที่ 2)
เทคโนโลยี
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา กิจกรรมเรียนรู้อาเซียนจากอาหารในจานของฉัน โดยให้นักเรียนค้นคว้า ข้อมูลว่า อาหารและวัตถุดิบที่ครอบครัวตนเองรับประทานไปมาจากไหน และแหล่งผลิตอาหารนั้นๆ มาจากที่ไหน (ถ้าข้อมูลนี้หาได้) วัตถุดิบที่ใช้ ประกอบอาหารมีการเจริญเติบโตอย่างไร มีการบรรจุภัณฑ์อย่างไร และ ขนส่งมายังเราได้อย่างไร
เทคโนโลยีทาให้คน มีเทคโนโลยีใดบ้างที่ช่วยให้คนเรา ให้นักเรียนเรียนรู้เรื่องการเข้าถึงเทคโนโลยี โดยให้นักเรียนใช้เทคโนโลยี ติดต่อสื่อสารกันได้ทุกวัน สื่อสารกันได้ในชีวิตประจาวัน? สารวจประเทศต่างๆ ในประชาคมอาเซียน ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง ดนตรี รูปถ่าย (คน ทรัพยากร แนวคิด) วันหยุด ที่ตั้ง เป็นต้น พร้อมให้นักเรียนทางานศิลปะที่ใช้วัสดุหลายๆ ชนิด มาติดไว้บนพื้นผิวเดียวกันเพื่อสื่อถึงการแลกเปลี่ยนข้อมูลต่างๆ
79 78 77
80
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น: การให้คุณค่ากับความเป็นเอกลักษณ์และความต่าง
วิชา
ผลทางการศึกษา
สังคมและ การผลิตและการใช้ ประวัติศาสตร์ สินค้าส่งผลให้เกิด ความแตกต่าง
สังคมจะแข็งแรงและ เข้มแข็งขึ้นเมื่อคนเรา เคารพและเข้าใจความ แตกต่างระหว่างกัน
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
การแลกเปลี่ยนสินค้าส่ง ผลกระทบต่อขนบธรรมเนียม ประเพณีในอาเซียนอย่างไร? (คน ทรัพยากร แนวคิด)
ให้นักเรียนค้นคว้าหาข้อมูลจากสื่อหรือแหล่งข้อมูลต่างๆ ในท้องถิ่น ของนักเรียนเกี่ยวกับวิธีแลกเปลี่ยนสินค้า (โทรศัพท์มือถือ แฟชั่นและ การขนส่ง) ที่ทาให้ขนบธรรมเนียมประเพณีเกิดการเปลี่ยนแปลง แล้วให้นักเรียนทางานศิลปะร่วมกัน โดยนาวัสดุหลายๆ ชนิดมาติดรวมกัน บนพื้นผิวเดียวกันเพื่อสื่อถึงความแตกต่างที่มาอยู่ร่วมกันได้ หรือจะให้ นักเรียนร่วมกันผลิตภาพยนตร์สารคดีสั้น หรือภาพยนตร์สั้นที่แสดงให้เห็น ถึงการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างกัน เป็นต้น
ทาไมความแตกต่างจึงกลาย มาเป็นจุดแข็ง? (คน แนวคิด)
ให้นักเรียนวิเคราะห์เรื่องบทบาทในสังคมที่น่าสนใจและจุดแข็งในครอบครัว ห้องเรียน หรือสังคมของตนเอง เขียนบทความ หรือวาดรูปที่แสดงของ จุดแข็งของแต่ละคน หรือกลุ่ม
80 79 78 77
81
วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
วิทยาศาสตร์ ความหลากหลายทาง เราสามารถรักษาระบบนิเวศ ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเหตุผลต่างๆ เพื่อคงไว้ซึ่งความแตกต่างและความ และ ชีวภาพมีความจาเป็น ของอาเซียนให้เกิดความสมดุลได้ หลากหลายทางชีวภาพไว้ รวมทั้งความจาเป็นของความแตกต่างทางชีวภาพ คณิตศาสตร์ ต่อระบบนิเวศในอาเซียน อย่างไร ที่มีต่อสิ่งแวดล้อม สิ่งใดที่ส่งผลกระทบต่อความ สมดุลของระบบนิเวศนี้บ้าง? (คน สถานที่ ทรัพยากร) หน้าที่ พลเมืองและ คุณธรรม
คนเรามีความเชื่อมโยง ถึงกัน
สังคมและวัฒนธรรมแต่ละ จัดโครงการเรื่องเล่าทางประวัติศาสตร์ เพื่อแสดงให้เห็นว่าสังคมและ ประเทศมีความหลากหลาย วัฒนธรรมแต่ละประเทศนั้นมีความหลากหลายอย่างไร เพื่อให้นักเรียน ได้อย่างไร? (คน สถานที่ แนวคิด) เข้าใจว่าในหลายวัฒนธรรมจะใช้เรื่องเล่าทางประวัติศาสตร์เป็นสื่อในการ แบ่งปันความรู้จากรุ่นสู่รุ่น ให้นักเรียนจะเล่าเรื่องคนทีม่ ีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงสังคมหรือเล่าเรื่อง ชีวิตของตนเอง
81 81 78 77
82
วิชา ภาษาและ วรรณกรรม
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
ภาษา ขนบธรรมเนียม อะไรจะเกิดขึ้นเมื่อคนเราเข้าใจ ประเพณี และมารยาท ภาษา แต่ไม่เข้าใจขนบธรรมเนียม ช่วยให้คนเชื่อมโยงถึงกัน ประเพณี และมารยาท? (คน แนวคิด)
ห้องจาลองสถานการณ์ ให้นักเรียนเลือกการ์ด “สถานการณ์” มา 1 ใบ (เป็นแขกรับเชิญทีบ่ ้าน มีแขกรับเชิญมาที่บ้านตนเอง ขอโทษ แย่งจ่ายเงิน ที่ร้านอาหาร ชมหรือรับคาชม) ให้นักเรียนแสดงปฎิสัมพันธ์ที่มีมารยาทด้วย ภาษาของตนเอง และเปลี่ยนการใช้ภาษาเป็นภาษาของประเทศที่เราอยาก เรียน (หากเป็นไปได้ทากิจกรรมนี้ซ้าแต่เปลี่ยนจากการใช้ภาษาของตนเอง เป็นเรื่องของมารยาทประเทศอื่น)
มีวิธีการหลากหลายวิธี คนเราจะรวมเรื่องราวหรือเรื่อง ในการถ่ายทอดเรื่องราว เล่า เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งใน และนิทาน วัฒนธรรมได้อย่างไร? (คน แนวคิด)
ให้นักเรียนวิเคราะห์นิยายที่มีชื่อเสียงและแปลเป็นหลายภาษาในต่าง วัฒนธรรม โดยให้บันทึกความแตกต่างและเหมือนกันที่พบจากนิยายที่มี ความแตกต่างทางภาษานั้น และให้แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มพร้อมเลือก นิยายมาอีก 1 เรื่อง เพื่อค้นคว้าต้นกาเนิดหรือแหล่งที่มาของเรื่อง พร้อม นาเสนอเป็นเวอร์ชั่นใหม่ให้มีความทันสมัยในวัฒนธรรมตามแบบฉบับของ ตนเอง
82 81 78 77 82
83
วิชา ศิลปะ
สุขภาพและ กายภาพ
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
ศิลปะเป็นสื่อที่ช่วยให้ คนเชื่อมโยงถึงกัน และช่วยให้คนเห็นคุณค่า ของแนวคิดและวิถีชีวิต ที่แตกต่างกัน
ศิลปะช่วยเก็บรักษาความทรงจา และความเป็นเอกลักษณ์ของคน ไว้อย่างไร? (คน ทรัพยากร แนวคิด)
ให้นักเรียนวิเคราะห์ว่า อนุสาวรีย์สงครามและสถานที่สิ่งศักดิ์สิทธิ์เป็นสิ่งที่ ช่วยให้คนมารวมตัวกันได้อย่างไร
ศิลปะช่วยสร้างเอกลักษณ์ได้ อย่างไร ? (สถานที่ แนวคิด)
ให้นักเรียนดูตัวอย่างงานศิลปะที่เป็นภาพธรรมชาติ ภาพวิวทิวทัศน์ ภาพสัตว์หรืออื่นๆ งานศิลปะเหล่านี้มีความสาคัญอย่างไร และสามารถ สร้างเอกลักษณ์ที่ยั่งยืนได้อย่างไร
ประโยชน์จากการ ออกกาลังกายหรือ กิจกรรมเพื่อสุขภาพ
กิจกรรมต่างๆ ช่วยสร้างเสริม สุขภาพของร่างกายได้อย่างไร? (คน สถานที่)
ให้นักเรียนฝึกออกกาลังหลายๆ แบบที่ประเทศต่างๆ มีที่แสดงถึงเอกลักษณ์ ของความเป็นอาเซียน (เช่น ศิลปะป้องกันตัว เต้น เกม เป็นต้น) หลังการทา กิจกรรมให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายร่วมกันว่าในแต่ละกิจกรรมสามารถช่วย ให้ร่างกายมีความแข็งแรง อดทนและยืดหยุ่นได้อย่างไร แล้วให้นักเรียน ออกแบบกิจกรรมเพื่อสุขภาพที่จะทาใน 2 สัปดาห์ ให้มีความหลากหลาย และนามาจากหลากหลายประเทศในอาเซียน 8381 84
84
วิชา เทคโนโลยี
ผลทางการศึกษา เทคโนโลยีทาให้ ความหลากหลายทาง วัฒนธรรมมีความชัดเจน มากขึ้นหรือลดลง
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
เทคโนโลยีใหม่ๆ ส่งผลกระทบ อย่างไรต่อความเป็นเอกลักษณ์ ของแต่ละประเทศ? (คน ทรัพยากร)
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา Web quest กิจกรรมการค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เนต ให้นักเรียนหา ตัวอย่างของสังคมที่เอกลักษณ์ของงานศิลปะท้องถิ่นลดลง และโพสต์ใน เว็บไซต์ของอาเซียน ให้ใช้เทคโนโลยีเป็นตัวช่วยหาสิ่งใหม่ๆ เพื่อนามาทดลองทาอะไรใหม่ๆ ใน ชีวิตตนเอง เช่น งานศิลปะ โครงการของโรงเรียน ทาอาหาร หรือกิจกรรม อื่นๆ เป็นต้น
84 84
85
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย: การให้คุณค่ากับความเป็นเอกลักษณ์และความแตกต่าง
วิชา
ผลทางการศึกษา
สังคมและ ประวัติศาสตร์มี ประวัติศาสตร์ ความสาคัญต่อการ สร้างความเป็น เอกลักษณ์ของชาติ
วัยรุ่นอาเซียนมีบทบาท ในการฟื้นฟูวัฒนธรรม ประเพณีที่เป็น เอกลักษณ์ของชาติ
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
ทาไมแนวคิดเรื่องประวัติศาสตร์ ให้นักเรียนสารวจเหตุการณ์ในอดีตจากหลายหลายความคิดหรือ จึงมีหลากหลาย? แหล่งข้อมูล อาทิ หนังสือเรียน บุคคลที่อยู่ในเหตุการณ์ บุคคลที่เกี่ยวข้อง (คน แนวคิด) แต่ไม่ได้อยู่ในเหตุการณ์ เป็นต้น แล้วทาออกมาเป็นแผนภาพหรือทา เว็บไซต์เพื่อแสดงให้เห็นว่า สิ่งที่เหมือนกันคืออะไร และสิ่งที่ต่างกันคือ อะไร แล้วทาออกมาเป็นรายงานเรื่องวิธี สถานที่ บุคคล เพื่อช่วยรักษา เรื่องราวดังกล่าวไม่ให้เลือนหายไป บทบาททางสังคมของวัยรุ่น ในการรักษาประเพณีเดิมไว้ ทั้งๆ ที่มีประเพณีเกิดขึ้นใหม่ คืออะไร? (คน แนวคิด)
ให้นักเรียนหาตัวอย่างการฟื้นฟูวัฒนธรรมประเพณีในอาเซียน และค้นหา ข้อมูลเรื่องที่วัยรุ่นเห็นผู้ใหญ่เป็นแรงบันดาลใจในการสร้างเอกลักษณ์ของ ตนเอง พร้อมศึกษาและวิเคราะห์ว่า สิ่งใดที่ควรรักษาไว้ สิ่งใดที่เกิดขึ้นใหม่ และวัยรุ่นมีความคิดหรือปัจจัยอะไรที่จะนามาเป็นเหตุผลในการเลือกสร้าง เอกลักษณ์ของตนเอง
85
86
วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
วิทยาศาสตร์ คนสามารถคานวณ และ ความหลากหลายทาง คณิตศาสตร์ ชีวภาพ และจานวน ความหลากหลายทาง ชีวภาพที่ลดลงได้
ถ้าสายพันธุ์ทางชีวภาพลดลง หรือหายไป จะมีผลอย่างไร ต่อสังคม? (สถานที่ ทรัพยากร)
ให้นักเรียนบอกลักษณะตัวชี้วัดของสายพันธุ์ในระบบนิเวศ 1 อย่าง ในสิ่งแวดล้อมในสังคมของตนเอง โดยสามารถวิเคราะห์หรืออธิบายได้ว่า สิ่งที่แสดงให้เห็นถึงการหายไปของสายพันธุ์ในสถานที่หนึ่งๆ นั้น เหมือน เป็นสิ่งเตือนว่าจะเกิดปัญหาที่ใหญ่ขึ้นที่อาจจะมีผลกระทบต่อทุกประเทศ ในประชาคมอาเซียน
หน้าที่ พลเมืองและ คุณธรรม
ความเข้าใจเอกลักษณ์ (ของ ตนเองและผู้อื่น) ช่วยให้คนเรา แก้ปัญหาและข้ามผ่านอุปสรรค ไปได้อย่างไร? (คน แนวคิด)
ให้นักเรียนค้นคว้าเรื่องความขัดแย้งระหว่าง 2 กลุ่มที่มีความแตกต่างกัน (เช่น สัญชาติ เชื้อชาติ ศาสนา เวลา) พร้อมนาเสนอเรื่องราวของ ทั้ง 2 กลุ่มว่า สิ่งใดที่มีเหมือนกันและสิ่งใดที่ทาให้เกิดความขัดแย้งกัน ให้นักเรียนนาเสนอแนวความคิดใหม่ วิธีหรือนวัตกรรมที่จะเป็นสื่อกลาง ให้ 2 กลุ่มมีความเข้าใจกัน
คนที่มีแนวคิด และวัฒนธรรมที่ หลากหลาย สามารถ ทางานร่วมกัน แลกเปลี่ยนความคิดกัน และนาจุดต่างมาช่วย แก้ปัญหาต่างๆ ได้
ให้นักเรียนบอกปัญหาที่เกิดในโรงเรียนหรือกับเพื่อนบ้าน แล้ววิเคราะห์ ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยคุยกับคนที่มีแนวความคิดต่างๆ พร้อมเสนอทางออก และอธิบายว่าความเข้าใจความคิดต่างๆ ช่วยให้เข้าใจและแก้ปัญหาได้ 86
87
วิชา
ภาษาและ วรรณกรรม
ผลทางการศึกษา
ภาษาท้องถิ่นมีความ แตกต่างจากภาษา ทางการอย่างชัดเจน
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
ความหลากหลายของภาษา การรู้ภาษามากกว่า 1 ภาษา จะช่วยเชื่อมโยงคนหรือ ช่วยแยกคนออกจากกันได้ อย่างไร? (คน แนวคิด)
ภาษาหรือระบบ ทาไมวัฒนธรรมสามารถสร้าง การเขียนที่มีความ ระบบการเขียน? (คน ความคิด) หลากหลายในอาเซียน ส่งผลกระทบต่องาน วรรณกรรม
ให้นักเรียนเปรียบเทียบภาษาท้องถิ่น (ในเรื่องของสาเนียงและไวยากรณ์) พร้อมทั้งอภิปรายว่า สิ่งใดที่ทาให้ภาษามีความแตกต่างกัน (เช่น การอพยพ การแบ่งแยกดินแดน การเชื่อมโยงกับประเทศอื่นๆ) พร้อมทั้งวิเคราะห์ผลกระทบที่ส่งผลต่อเอกลักษณ์และความหลากหลาย ของภาษา ให้นักเรียนเรียนรู้เรื่องระบบการเขียน 1 ภาษาและระบบการเขียนที่มา จากภาษาอื่น (เช่น ภาษาเวียดนามกับภาษาอินโดนีเซีย) พร้อมให้นักเรียน วิเคราะห์วิธีที่ทาให้คนเปลี่ยนแปลงระบบการเขียนเพื่อให้เข้ากับภาษา ท้องถิ่น รวมถึงวิธกี ารตัดสินใจที่จาเป็นต้องศึกษาตัวอย่างของการเขียน ในตอนแรก (เช่น หนังสือที่เกี่ยวกับศาสนา ประกาศจากรัฐบาล)
87
88
วิชา ศิลปะ
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
การทาให้ความคิด ใหม่ๆ เป็นที่รู้จักใน กลุ่มคนใหม่ๆ ทาให้ ศิลปะของอาเซียนมี ความเปลี่ยนไป
เทคโนโลยีและการสื่อสารมี ผลกระทบต่อคนทางานศิลปะ และคนที่ชอบงานศิลปะอย่างไร และเทคโนโลยีและการสื่อสาร เปลี่ยนแปลงศิลปะอย่างไร? (คน ทรัพยากร แนวคิด)
ให้นักเรียนสารวจว่าการเปลี่ยนแปลงของโลกและความเจริญทาง เทคโนโลยีและการสื่อสาร ทาให้เกิดการสื่อสารได้กว้างขวางและ ครอบคลุมพืน้ ที่ได้มากขึ้น แม้แต่ในพื้นที่ที่ห่างไกลที่ไม่เคยมีเทคโนโลยี เหล่านี้มาก่อน และสิ่งที่เกิดขึ้นนี้ทาให้เกิดความร่วมมือระหว่างประเทศ
ศิลปะอาเซียนทาให้ วัฒนธรรมประเพณี เปลี่ยนแปลงไป
ศิลปะช่วยให้คนทั่วโลกเข้าใจ ประชากรและวัฒนธรรมของ อาเซียน
ให้นักเรียนวิเคราะห์นิทรรศการศิลปะของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และประเมินวิธีการจัดแสดงเรื่องราวที่เกี่ยวกับประเพณี ประชากร งานฝีมือ งานศิลปะและแนวความคิด มีความถูกต้องหรือไม่ ให้นักเรียนวิเคราะห์วิธจี ดั แสดงงานศิลปะในพิพิธภัณฑ์ต่างๆ เพื่อดูว่า วิธีการจัดแสดงงานศิลปะในแต่ละที่นั้นส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เข้าชม อย่างไร
88
89
วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
สุขภาพ วิธีการทางการแพทย์ และกายภาพ ทีห่ ลากหลาย มีประโยชน์ต่อคน และสังคม
เพราะเหตุใดวิธีการทาง การแพทย์ที่หลากหลาย จึงมีความสาคัญ? (คน ทรัพยากร แนวคิด)
ค้นคว้าและเสนอเรื่องการเปลี่ยนแปลงของสังคมอาเซียนจากการจัดการ การรักษาสุขภาพ เศรษฐกิจของสังคมเมือง และชนบทเปลี่ยนแปลงการ รักษาสุขภาพอย่างไร ใครได้เปรียบ ใครเสียเปรียบ การกระทาเกี่ยวกับ การแพทย์ที่หลากหลายที่เก่าแก่ ถูกวิธีใหม่เข้ามาแทน ความคิดใหม่ดีจริง กว่าหรือไม่ การเปลี่ยนแปลงที่คิดถึงวัฒนธรรมเป็นอย่างไร และมี ประโยชน์กับใคร
เทคโนโลยี
เทคโนโลยีสามารถช่วยรักษา ประเพณีและวัฒนธรรมที่เป็น เอกลักษณ์ไว้ได้อย่างไร? (คน ทรัพยากร แนวคิด)
ให้นักเรียนค้นคว้าวิธีการที่เทคโนโลยีปัจจุบันช่วยให้สังคมเกิดการเชื่อมโยง ถึงกัน และสามารถรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไว้ได้
เทคโนโลยีสามารถ สร้างนวัตกรรม ฟื้นฟูวัฒนธรรมและ รักษาประเพณีเอาไว้ได้
89
90
ตัวอย่างแผนการสอน: กิจกรรม 1 ตาราเมตร ระดับชั้น: ประถมศึกษาตอนปลาย วิชา: วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ภาพรวม กิจกรรม 1 ตารางเมตร เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนไปยังสถานที่จริงที่เป็นธรรมชาติ (ทะเล ป่า สวนสาธารณะ) แล้วให้สังเกตสิ่งรอบๆ ตัว พร้อมให้บันทึก สิ่งมีชีวิตที่พบเห็นใน พื้นที่ เช่น สายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเช่น ต้นไม้ สัตว์ แมลง เป็นต้น และสังเกตสัญลักษณ์ที่แสดง ให้เห็นว่ามีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ เช่น ใยแมงมุม รังนก รังมด เป็นต้น ต่อจากนั้นให้ทากิจกรรมนี้ ซ้าแต่ลดขนาดพื้นที่ให้เหลือ 10 ตารางเซนติเมตรแล้วสังเกตสิ่งที่เน้นรายละเอียดมากยิ่งขึ้น ความเข้าใจที่ควรได้ ระบบนิเวศในอาเซียนมีความหลากหลาย ทั้งมีสิ่งที่มีชีวิตและสิ่งที่ไม่มีชีวิต วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนให้ความหมายของระบบนิเวศได้ 2. นักเรียนบอกลักษณะของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตในระบบนิเวศได้ 3. นักเรียนบอกลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิตในระบบ นิเวศได้ 4. นักเรียนมีความเข้าใจว่าทุกระบบนิเวศมีความหลากหลาย คาถามที่จาเป็น 1. ระบบนิเวศคืออะไร ประกอบด้วยอะไรบ้าง และภายในระบบนิเวศ มีความสัมพันธ์กันอย่างไร? (สถานที่ ทรัพยากร) 2. สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตในระบบนิเวศคืออะไร? (สถานที่ ทรัพยากร) 3. สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไรในระบบนิเวศ? (สถานที่ ทรัพยากร)
91
อุปกรณ์/ใบงานที่ต้องการ 1. ไม้เมตร 2. เชือก หมุด 3. แว่นขยาย 4. เทอร์โมมิเตอร์ 5. สมุดบันทึกหรือกระดาษสาหรับบันทึกการสังเกต 6. เครื่องมือสาหรับประกอบการบันทึกการสังเกต (ดินสอ สี ปากกาไฮไลท์) 7. กล้องถ่ายภาพ (ถ้ามี) เวลาที่ใช้
3 คาบเรียน
คาศัพท์ที่ควรรู้ 1. Ecosystem 2. Biotic 3. Abiotic
ชุมชนทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิต สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ สิง่ มีชีวิตที่มีความสัมพันธ์กันในระบบนิเวศ สิ่งไม่มีชีวิต
กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน ครูให้ความหมายของระบบนิเวศ ระบบนิเวศคือ สังคมของสัตว์ พืชและสิ่งแวดล้อม ข้อมูลที่ให้นักเรียน ครูให้ความหมายของคาว่า Biotic และ Abiotic พร้อมสอนวิธีการสังเกต - Biotic คือ ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นจากพืช สัตว์และมีความเกี่ยวข้องกันในระบบนิเวศ - Abiotic คือ สิ่งไม่มีชีวิตในระบบนิเวศ (หิน อากาศ อุณหภูมิ) - Observation คือ การใช้ระบบสัมผัสเพื่อสังเกตสิ่งต่างๆ อย่างระมัดระวัง
92
ตัวอย่าง ครูควรแสดงตัวอย่างการสังเกตโดยการใช้แต่ละประสาทสัมผัส เช่น - ฉันได้ยินเสียงลมพัดต้นไม้และกบส่งเสียงร้อง - ฉันรู้สึกถึงความอุ่นของพระอาทิตย์และความแข็งของดิน - ฉันได้กลิ่นของดอกไม้และอากาศที่สดชื่น - ฉันเห็นต้นไม้และดิน วิธีดาเนินการ สังเกตสิ่งรอบตัว 1. ให้นักเรียนบันทึกวันที่ เวลา สถานที่ และอุณหภูมิ พร้อมให้นักเรียนสังเกตสิ่ง ต่างๆ รอบตัวโดยการใช้ประสาทสัมผัสต่างๆ ได้แก่ การมอง ฟัง รู้สึกและดม แล้วบันทึกผล การสังเกตโดยการวาดรูป เขียนตาราง ถ่ายรูปหรือเขียนบรรยาย (สาหรับนักเรียนที่เรียนใน ชั้นที่สูงขึ้นอาจทาตารางเป็น 2 ด้านเพื่อบันทึกเปรียบเทียบสิ่งที่มีชีวิตกับสิ่ งที่ไม่มีชีวิต เพื่อ ความท้าทายและเหมาะสมกับระดับการเรียนรู้ของนักเรียน) 2. ให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันในห้องเรียนถึงผลการสังเกตของนักเรียนแต่ละคน โดยเน้นให้นักเรียนเชื่อมโยงสิ่งที่นักเรียนเห็นระหว่างสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต เช่น ฉันเห็นนก นกอยู่บนต้นไม้ ต้นไม้ต้องการแสงอาทิตย์เพื่ออยู่รอด เป็นต้น สังเกต 1 ตารางเมตร 1. ครูแนะนักเรียนว่า นักวิทยาศาสตร์ต้องสังเกตอย่างระมัดระวัง และครั้งนี้เน้นให้ นักเรียนสังเกตพื้นที่ที่เล็กลง ครูสอนการวัดโดยใช้ไม้เมตรและเชือก รวมทั้งการปักหมุดระบุ พื้นที่ที่จะให้นักเรียนแต่ละคนสังเกตในพื้นที่ 1 ตารางเมตร 2. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละประมาณ 3-4 คน ให้แต่ละกลุ่มสังเกตระบบ นิเวศในพื้นที่ 1 ตารางเมตร พร้อมจดบันทึกสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตในพื้นที่นั้นๆ 3. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและทบทวนผลจากการสังเกตที่บันทึกได้มา โดยเน้น การเชื่อมโยงระหว่างสิ่งต่างๆ ในระบบนิเวศ
93
แบบฝึกหัดแนะนา 1. ลดขนาดพื้น ที่ ก ารสั ง เกตเหลื อ เพี ย ง 10 ตารางเซนติ เมตร แล้ ว ท ากิ จ กรรม เหมือนเดิม โดยในพื้นที่ 10 ตารางเซนติเมตรนี้ นักเรียนอาจต้องใช้แว่นขยายช่วยเพื่อให้ มองเห็นอย่างละเอียดมากยิ่งขึ้น 2. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายกิจกรรมที่ผ่านมาและสะท้อนความคิด จากกิจกรรม เช่น การเน้นพื้นที่ ให้เล็กลงทาให้การสังเกตยากขึ้นหรือไม่ ? นักเรียนพบเจออะไรที่ทาให้ ประหลาดใจหรือไม่? เครื่องมืออะไรบ้างที่ช่วยให้การสังเกตเป็นไปอย่างใกล้ชิด? สรุปการเรียนรู้ ให้ นั ก เรี ย นเลื อ กสิ่ ง มี ชี วิ ต และไม่ มี ชี วิ ต ที่ พ บเจอ 3-5 ชนิ ด วาดภาพ ตี ต าราง เปรียบเทียบ หรือเขียนอธิบายว่าสิ่งต่างๆ เหล่านั้นมีความเชื่อมโยงกันอย่างไรในระบบนิเวศ การประเมินที่แนะนา 1. กิจกรรม 1 ตารางเมตร การปักหมุดและผูกเชือก นับสิ่ งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ครู สังเกตความร่ ว มมื อ กระบวนการคิ ด ทางวิ ท ยาศาสตร์ และตรวจสอบความถูก ต้ อ งของ ตารางข้อมูลของนักเรียนที่มีข้อมูลเกี่ยวกับ ชนิดของพืช สัตว์ แมลง ดินและอุณหภูมิ เป็นต้น (การประเมินคือ 1. การเขียนอธิบาย) 2. การอภิปรายเรื่องการสารวจ การบันทึกและการทาตาราง โดยเน้นการอภิปราย เรื่องสิ่งแวดล้อมเกิดขึ้นจากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ง มีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต (การประเมินคือ 2. การอธิบายปากเปล่า) 3. กิจ กรรม 10 ตารางเซนติเมตร การท าตารางรายละเอีย ด การอภิป รายใน ห้องเรียน การเขียนบันทึกสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตที่พบเจอ 3-5 ชนิด การวาดภาพ การอธิบาย เชื่อมโยงสิ่งเหล่านี้ ที่มีต่อระบบนิเวศ (การประเมินภาพรวมคือ 1. การเขียนอธิบาย และ 2. การอธิบายปากเปล่า)
94
การประเมินต่อไป แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มแล้วให้แต่ละกลุ่มแนะนาธรรมชาติในท้องถิ่น ของนักเรียน โดย ให้นักเรียนอธิบายระบบนิเวศและความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ในระบบนิเวศ เช่น สายพันธุ์พืช สัตว์และแมลง สภาพภูมิอากาศ ลักษณะถิ่นที่อยู่ของพืชและสัตว์ (การประเมินภาพรวมคือ 1. การเขียนอธิบาย และ 3. การนาไปใช้) คาถามสรุป 1. เราสามารถสังเกตและวัดความหลากหลายในระบบนิเวศได้อย่างไร? 2. สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตในระบบนิเวศมีความสัมพันธ์กันอย่างไร? 3. ขนาดของสิ่งมีชีวิต (สิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก-ใหญ่) ต่างมีความสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิต และสิ่งไม่มีชีวิตในระบบนิเวศอย่างไร? การเชื่อมโยงกับวิชาอื่นๆ บทเรียนนี้สามารถเชื่อมโยงกับเรื่องสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศ การอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม และยั งสามารถเชื่อ มโยงไปยั งเรื่ อ งความสั ม พั น ธ์ ทั้ ง ระหว่ างมนุ ษย์ กั บ สิ่ งแวดล้ อ มตาม ธรรมชาติ และระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น
95
ตัวอย่างแผนการสอน: การฉลองประเพณีและการรวมกัน ระดับชั้น: ประถมศึกษาตอนปลาย วิชา: ประวัติศาสตร์และสังคม ภาพรวม ครอบครัวมีผลต่อความเชื่อ คุณค่า ขนบธรรมเนียม ประเพณี จากงานฉลอง การเข้า ร่วมพิธีกรรมต่างๆ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นตัวช่วยให้การเชื่อมโยงระหว่างคนกับวัฒนธรรมมีความ แข็ ง แรงหรื อ แน่ น แฟ้ น ขึ้ น โดยในบทเรี ย นนี้ นั ก เรี ย นจะได้ มี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจและ ความสาคัญเรื่องประเพณีของครอบครัว ซึ่งนักเรียนจะได้เห็นว่า คนที่มีวัฒนธรรมที่ต่างกัน จะมีพิธีกรรมหรือประเพณีที่ไม่เหมือนกัน แต่อาจมีบางสิ่งที่คล้ายคลึงกัน เช่น ดนตรี อาหาร เสื้อผ้า เป็นต้น โดยบทเรียนนี้มี เป้าหมายคือ ต้องการให้นักเรียนเห็น ว่าครอบครัวที่ มี วัฒนธรรมต่างกัน จะมีสิ่งใดบ้างที่เหมือนกัน ความเข้าใจที่ควรได้ งานฉลองและพิธีกรรมต่างๆ ทาให้คนมารวมตัวกัน วัตถุประสงค์การเรียนรู:้ 1. นักเรียนสามารถสัม ภาษณ์ผู้ใหญ่ ในครอบครั วเกี่ ยวกับ ประเพณี และพิธี ก รรม ต่างๆ ได้ 2. นัก เรี ยนสามารถทาตารางที่ แ สดงประเพณีแ ละพิ ธี ก รรมที่ มี เหมื อ นกัน ในทุ ก วัฒนธรรมได้ 3. นักเรียนสามารถทาตารางที่แสดงถึงประเพณีและพิธกี รรมของวัฒนธรรมอื่นได้ 4. นักเรียนสามารถบอกสิ่งที่มีเหมือนกันจากหลากหลายวัฒนธรรมได้
96
คาถามที่จาเป็น 1. เพราะเหตุใดประเพณีสาคัญๆ จึงมักมีจัดขึ้นในวันหยุด? (คน สถานที่ แนวคิด) 2. อาหาร เสื้อผ้า เพลงและเครื่องใช้ไม้สอยที่ทาด้วยมือ มีความสาคัญอย่างไรต่อ ขนบธรรมเนีย มประเพณี ของครอบครั วหรื อ สั งคมของตนเอง? (ทรัพ ยากร แนวคิด) 3. สิ่ งใดที่ เหมื อ นกั น ระหว่ า งวั ฒ นธรรมที่ มี ขึ้ น ในวั น หยุ ด กั บ งานหรื อ พิ ธี ฉ ลอง? (คน แนวคิด) 4. วันหยุดทั่วโลกมีสิ่งใดที่คล้ายกันและมีสิ่งใดที่ต่างกัน? (คน แนวคิด) อุปกรณ์/ใบงานที่ต้องการ 1. ตารางเปรียบเทียบสิ่งที่เหมือนกันระหว่างวัฒนธรรม 2. ใบงานการฉลองวันเกิด 3. ตารางเทียบวันหยุด 4. ใบงานสัมภาษณ์เรื่อง การฉลองของครอบครัว 5. หนังสือเรื่อง การฉลองวันเกิดทั่วโลก การฉลองปีใหม่ 6. อุปกรณ์ฉลองปีใหม่ เช่น พลุ หมวก เพลง โคมไฟ เงิน เสื้อผ้าประจาท้องถิ่น เวลาที่ต้องใช้ 4 คาบเรียน คาศัพท์ที่ควรรู้ 1. Traditions ประเพณีหรือความเชื่อที่ผ่านมาจากรุ่นสู่รุ่น 2. Celebrations การเฉลิมฉลองเหตุการณ์สาคัญที่สนุกสนาน 3. Rituals พิธีที่มีกระบวนการ 4. Artifacts สิ่งของที่คนสร้างขึ้นที่น่าสนใจและมีอยู่ในประวัติศาสตร์ 5. Cultural universals รูปแบบของวัฒนธรรมที่มีในทุกสังคม
97
กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน คาบที่ 1 1. ให้ นั ก เรี ย นคิ ด และคุ ย กั น เกี่ ย วกั บ สิ่ ง ที่ ค รอบครั ว ของนั ก เรี ย นแต่ ล ะคนมี เหมือนกันเกี่ยวกับความเชื่อและประเพณี โดยใช้คาถาม เช่น - ครอบครัวคุณทาอะไรพิเศษทุกปีเพื่อฉลองในวันหยุดประจาปี? - มีอาหารเมนูพิเศษที่ครอบครัวทาเพื่อฉลองในวันนั้นหรือไม่? - เพลงพิเศษที่ร้องในวันดังกล่าวคือเพลงอะไร? - ครอบครัวของนักเรียนใส่เสื้อผ้าแบบใดเป็นพิเศษ? - มีสิ่งของหรืออุปกรณ์ใดที่จัดเตรียมเป็นพิเศษสาหรับงานหรือไม่? - สิ่งที่เล่ามาทั้งหมดนี้เป็นส่วนหนึ่งในประเพณีของครอบครัวอย่างไร 2. ประเพณีหลายๆ อย่างจะมีงานฉลองทุกปี ให้นักเรียนบอกรายการงานฉลองของ ครอบครัวของนักเรียนเองที่จัดขึ้นทุกปี แนะนาว่างานฉลองที่นักเรียนเขียนขอให้ไม่ใช่วันที่ เกี่ยวกับศาสนา? ข้อมูลที่ให้นักเรียน ครูจะแสดงตัวอย่างของสิ่งที่มีเหมือนกันในการฉลองของทุกวัฒนธรรม
98
ตัวอย่าง ครูอธิบายเรื่องประเพณีของครอบครัว พร้อมยกตัวอย่างลักษณะของประเพณี ใน ตาราง สิ่งที่เหมือนกันระหว่างวัฒนธรรม เป็นอย่างไร วิธีดาเนินการ คาบที่ 2 1. ครูแสดงตาราง สิ่งที่เหมือนกันระหว่างวัฒนธรรม และแนะนาหรือยกตัวอย่าง บางสิ่งที่มีเหมือนกันในวัฒนธรรมต่างๆ ของประเพณีการฉลองทั่วโลก อาทิ - ดนตรี - อาหารพิเศษ - วัตถุ - เสื้อผ้า - ไฟ 2. ให้ นั ก เรี ย นลองนึ ก ถึ ง ตั ว เองและตอบคาถามว่ า นั ก เรี ย นมี ก ารฉลองวั น เกิ ด อย่างไร โดยให้นักเรียนเขียนลงในใบงานการฉลองวันเกิด แต่ถ้านักเรียนไม่มีการฉลองวันเกิด อ่านเรื่องการฉลองวันเกิด แล้วค่อยเขียนลงในใบงาน 3. ให้นักเรียนอ่านหนังสือเรื่องการฉลองวันเกิดทั่วโลก พร้อมให้ร่วมกัน อภิปราย เรื่อ งสิ่งที่คนทั่วโลกมี เหมือนกันในการฉลองวันเกิด (ดนตรี เสื้อผ้ า อาหาร วัตถุ ) แล้ วให้ นักเรียนบันทึกคาตอบลงในตาราง สิ่งที่เหมือนกันระหว่างวัฒนธรรม (โดยตารางจะติดไว้ใน ห้องเรียนและนักเรียนจะได้ดูหลังจากเรียนบทนี้จบแล้ว)
99
คาบที่ 3 กิจกรรม: วันหยุด 1. ให้นักเรียนเปรียบเทียบการฉลองปีใหม่ จากหลายประเทศ โดยการทาตาราง สิ่งที่เหมือนกันระหว่างวัฒนธรรม เช่น วันปีใหม่ และตรุษจีน แต่ละประเทศแต่ละวัฒนธรรม กาหนดวันดังกล่าววันเดียวกันหรือไม่ เป็นต้น 2. ให้นักเรียนอ่านหนังสือเรื่อง วันปีใหม่ 1 มกราคมในหลายๆประเทศ แล้วให้ นักเรียนตอบคาถามว่า - เหตุผลที่คนทั่วโลกฉลองปีใหม่คืออะไร? - คนเราคาดหวังอะไรจากวันปีใหม่ ? 3. เปิดเพลงปีใหม่ เช่น Auld Lang Syne ให้นักเรียนฟัง หรือเปิดจาก YouTube (www.youtube.com/watch?v=wPnhaGWBnys) พร้ อ มถามความหมายของเพลงว่ า อย่างไร และเพราะเหตุใดนักเรียนจึงคิดเช่นนั้น 4. ให้นักเรียนคิดถึงของเล่นปีใหม่พร้อมนามาแสดงให้เห็นในห้องเรียน เช่น หมวก พลุ เป็นต้น แล้วให้นักเรียนกรอกตาราง สิ่งที่เหมือนกันระหว่างวัฒนธรรม ร่วมกับเพื่อน โดย ให้นักเรียนอ้างอิงจากหนังสือเรื่อง วันปีใหม่ (1 มกราคม)
100
คาบที่ 4 1. ให้นักเรียนอ่านหนังสือเรื่อง วิธีที่บางประเทศในอาเซียนฉลองตรุษจีน พร้อมเปิด เพลงตรุษจีน แล้วให้นักเรียนตอบคาถามว่า - ความหมายของเพลงคืออะไร? - ทาไมนักเรียนจึงคิดแบบนั้น? - ในวันตรุษจีนคนมักขอพรอะไรให้กับคนอื่น เพราะเหตุใด? 2. ให้นักเรียนดูโคม แต๊ะเอีย เสื้อผ้า ประเพณี และศิลปวัต ถุอื่นๆ ที่สาคัญในการ ฉลองตรุษจีน แล้วให้นักเรียนเขียนส่วนของตรุษจีน ลงในตาราง พร้อมทั้งให้นักเรียนอ่าน หนังสือและเปรียบเทียบวันปีใหม่ 1 มกราคมกับวันตรุษจีน พร้อมบันทึกสิ่งที่เหมือนกัน ของ ทั้งสองวันนี้ แบบฝึกหัดแนะนา Oral history project: กิจกรรมที่ชวนให้ครอบครัวของนักเรียนมาที่โรงเรียนเพื่อ ร่วมอภิปรายถึงประเพณีและพิธีกรรมของครอบครัว และจะให้นักเรียนจะสัมภาษณ์พ่อแม่ ผู้ปกครองภายหลังจากที่การอภิปรายเสร็จสิ้นลงแล้ว กิจกรรมนี้จะช่วยฝึกทักษะต่างๆ ของนักเรียน ได้แก่ ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ซึ่งการฝึกทักษะต่างๆ เหล่านี้จะฝึกให้นักเรียนกลายเป็นคนหาข้อมูลในเชิงรุก แล้ ว ภายหลั ง การสั มภาษณ์ แ ล้ ว นั ก เรี ย นจะต้ องแบ่ง การบั น ทึก เพื่ อมาจัด เป็ นลาดับ ท า หนังสือของห้องเรียน คัดเลือกหัวข้อที่ได้มาจากความคิดหลักจากการสัมภาษณ์ ทักษะที่จาเป็นต้องใช้ในการสัมภาษณ์ ได้แก่ วิธีถามคาถาม วิธีบันทึก การใช้สายตา ในการสื่อสาร วิธีการทักทาย การคุยกับผู้ใหญ่ ภาษาที่ใช้ในการสนทนากับผู้ใหญ่ การเตรียม ข้อ มู ลก่อ นการสั ม ภาษณ์ การจั บประเด็ น สาคัญ การเรี ยบเรี ยงความคิ ด การสรุป ความ ความคิดรวบยอด การคัดเลือกประเด็นเด่นๆ เพื่อจะนามาสัมภาษณ์และนามาเขียน เป็นต้น
101
สรุปการเรียนรู้ ให้นักเรียนทาโครงงานผ้าห่มจากเศษผ้า โดยโครงงานนี้จะให้นักเรียนแต่ละคนทาคน ละส่วน โดยให้ทาออกมาสื่อถึงเอกลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี มรดกตกทอดของครอบครัว ของนักเรียนเอง แล้วนาผ้าแต่ละส่วนของนักเรียนแต่ละคนมาเย็บรวมกันเป็นผ้าห่มผืนใหญ่ ที่สื่อถึงวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีของนักเรียนทั้งห้อง แบบฝึกหัดส่วนตัว ให้นักเรียนสัมภาษณ์ ครอบครัวเรื่อง ประเพณีและพิธี กรรมของครอบครัว โดยใช้ ใบงานสัมภาษณ์เรื่องการฉลองของครอบครัว การประเมินที่แนะนา 1. ให้นักเรียนอภิปรายเรื่อง ความเชื่อและประเพณีของครอบครัวของนักเรียนเอง แล้ ว ให้ นั ก เรี ย นเขี ย นเติม ลงในตาราง สิ่ งที่ เหมื อ นกั น ระหว่ างวั ฒ นธรรม ประมาณ 2-3 ตัวอย่างที่เป็นเรื่องของการฉลองและประเพณีของครอบครัว รวมทั้งการอธิบายถึงดนตรี อาหาร เสื้อผ้า ศิลปะหรือโคมไฟที่ใช้ในงานดังกล่าว (การประเมินคือ 1. การเขียนอธิบาย) 2. ให้นักเรียนทาใบงานการฉลองวันเกิด โดยเน้นเรื่องคาอธิบายการฉลองวันเกิด ของครอบครั ว คนในสั งคมหรื อของประเทศ พร้ อ มให้ นัก เรี ย นบั น ทึ ก เรื่อ ง ดนตรี พิเศษ อาหารพิเศษ เสื้อผ้าที่ใช้ในงาน (การประเมินคือ 1. การเขียนอธิบาย) 3. ให้นักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับการฉลองวันเกิดทั่วโลก โดยเน้นไปที่สิ่งที่เหมือนกัน แล้วให้นักเรียนทาตารางของห้องที่เกี่ยวกับ สิ่งที่เหมือนกันในวัฒนธรรมที่ต่างกันจากคาถาม ของนักเรียน (การประเมินคือ 2. การอธิบายปากเปล่า) 4. ให้ นั ก เรี ย นจั บ คู่ กั น เพื่ อ กรอกใบงานสัม ภาษณ์ เรื่ อ งการฉลองของครอบครั ว สาหรับการฉลองปีใหม่ (ปีใหม่ ตรุษจีน) โดยใช้ตัวอย่างจากหนังสือเพลงและสื่ออื่นๆ และ ให้ทั้งห้องอภิปรายเรื่อง สิ่งที่เหมือนกันและต่างกันในการฉลองทั่วอาเซียน (การประเมินคือ 2. การอธิบายปากเปล่า 4. แนวความคิด) 5. ให้นักเรียนทาผ้าห่ม ที่แต่ละชิ้นจะเป็นของนักเรียนแต่ละคนซึ่ง แสดงความเป็น ส่วนหนึ่งของสังคม (การประเมินคือ 2. การอธิบายปากเปล่า และ 4. แนวความคิด)
102
การประเมินต่อไป ให้นักเรียนสัมสัมภาษณ์ครอบครัวเรื่องประเพณีและพิธีกรรมต่างๆ โดยการใช้ใบงาน สัมภาษณ์เรื่องการฉลองของครอบครัว พร้อมให้ทาหนังสือของห้องเรียนที่มีชีวประวัติของ นักเรียนแต่ละคน (หมายถึง นักเรียนแต่ละคนจะทาประวัติของตนเองคนละ 1 หน้าโดยใช้ ข้อมูลจากการสัมภาษณ์) (การประเมินคือ 2. การอธิบายปากเปล่า และ 4. แนวความคิด) คาถามสรุป 1. ครอบครัวและสังคมปฎิบัติตามประเพณีของการฉลองอย่างไร 2. สิ่งของหลายๆ อย่าง เช่นโคมไฟ อาหาร เสื้อผ้า ดนตรี เหล่านี้ มารวมไว้ในงาน ฉลองเดียวกันอย่างไร 3. พิธีและการฉลองมีสิ่งใดที่เหมือนกัน 4. วิธกี ารใดบ้างที่คนใช้ในการฉลองวันหยุด 5. พิธีและการฉลองทาให้คนมารวมตัวกันได้อย่างไร การเชื่อมโยงกับวิชาอื่นๆ เนื้อหานี้ได้รวมกิจกรรมการอ่านหรือเนื้อหาสาระวิชาภาษาไทยไว้ด้วย
103
ใบงาน: ตารางที่เหมือนกันระหว่างวัฒนธรรม
104
ใบงาน: การฉลองวันเกิด
ชื่อ ____________________________________________วันที่ _______________ ครอบครัวทั่วโลกมีการฉลองด้วยรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป แต่สิ่งที่มีเหมือนกัน ระหว่างวัฒนธรรมก็คือ การฉลองวันเกิด ซึ่งประเทศในอาเซียนจะมีค่อนข้างบ่อย โดยเฉพาะ ในเมืองและในวัยเด็กและวัยรุ่น ซึ่งในงานฉลองวันเกิด แต่ละประเทศหรือแต่ละวัฒนธรรม จะประกอบไปด้วย: ดนตรี ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เสื้อผ้า ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
105
อาหาร ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ศิลปวัตถุ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
106
ใบงาน: ตารางเทียบวันหยุด
ชื่อ _________________________________________วันที่ _________________ ทุกครอบครัวทั่วโลกมีการฉลองในรูปแบบทีต่ ่างกัน หากให้เปรียบเทียบวันหยุด 2 วัน ได้แก่ วันปีใหม่ 1 มกราคมกับวันตรุษจีน ให้นักเรียนกรอกสิ่งที่ 2 วันนี้มีเหมือนกัน.ในตาราง การฉลอง
ดนตรี
อาหาร
เสื้อผ้า
โคมไฟ
ศิลปวัตถุ
107
ใบงาน: สัมภาษณ์เรื่องการฉลองของครอบครัว
ชื่อ _________________________________________วันที่ _________________ ครอบครัวทั่วโลกมีการฉลองด้วยรูปแบบที่แตกต่างกัน แต่วิธีในการฉลอง (มีดนตรี และอาหารพิเศษ) ก็มีบางอย่างที่คล้ายคลึงกันระหว่างวัฒนธรรม ให้นักเรียนสัมภาษณ์คนใน ครอบครัว (พ่อ แม่ ญาติพี่น้อง) เกี่ยวกับเรื่องการฉลองที่สาคัญของครอบครัวพร้อมบันทึกใน ใบงานด้านล่าง งานฉลองของครอบครัวของฉัน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ดนตรี: ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
108
เสื้อผ้าพิเศษ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ อาหารพิเศษ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ศิลปวัตถุ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
109
ตัวอย่างแผนการสอน : การปกคลุมไปด้วยพื้นดินและทะเล-ภูมิศาสตร์อาเซียน ระดับชั้น: ประถมศึกษาตอนปลาย วิชา: สังคมศึกษา ภาพรวม บทนี้จ ะให้นั ก เรี ยนวิ เคราะห์ สิ่งที่คล้ ายกัน และสิ่งที่แ ตกต่างกัน ระหว่ างประเทศ ตนเองและประเทศอื่นๆ ในประชาคมอาเซียน ความแตกต่างนี้จะช่วยให้นักเรียนเชื่อมโยง ประเทศตนเองกับประเทศอื่นๆ ในอาเซียน ทาความเข้าใจและเห็นคุณค่าของความเหมือน และความแตกต่างนี้ นอกจากนี้ นักเรียนจะได้ฝึกอ่านแผนที่ ศึกษาลักษณะทางภูมิศาสตร์ เช่น ภูเขา ทะเล ป่า เกาะ ในแผนที่และสามารถเขียนสัญลักษณ์ต่างๆ ลงบนแผนที่เปล่าได้ ความเข้าใจที่ควรได้ คนเราอาจต้องปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของตัวเองเพื่อให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม ที่เราอาศัยอยู่ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกลักษณะทางภูมิศาสตร์ ของภูมิภาคอาเซียนบนแผนที่ได้ 2. นั ก เรี ย นสามารถเปรี ย บเที ย บลั ก ษณะทางภู มิ ศ าสตร์ ข องประเทศต่ างๆ ทั่ ว อาเซียนได้ 3. นักเรียนสามารถบอกลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เหมือนกันและที่แตกต่างกันของ อาเซียน พร้อมอธิบายความเหมือนและความแตกต่างนั้นๆ ได้ คาถามที่จาเป็น 1. ภูมิป ระเทศและภูมิ อากาศมี ความหมายต่ อประเทศต่างๆ ในภู มิภ าคอาเซีย น อย่างไร? (สถานที่ ความคิด) 2. สิ่งใดที่เชื่อมโยงประเทศต่างๆ ในอาเซียนเข้าไว้ด้วยกัน และสิ่งใดที่ แยกประเทศ ต่างๆ ในอาเซียนให้แตกต่างกัน? (คน สถานที่)
110
อุปกรณ์/ใบงานที่ต้องการ: 1. 2. 3. 4. 5.
แผนที่แสดงภูมิภาคของประเทศอาเซียน แผนที่เปล่าของประเทศอาเซียน แผนที่เปล่าของประเทศอาเซียน แผนที่ทางการเกษตรของอาเซียน ตารางเปรียบเทียบลักษณะทางภูมิศาสตร์ของประเทศตนเองและประเทศอื่นๆ ในอาเซียน
เวลาที่ต้องใช้ 1 คาบเรียน คาศัพท์ที่ควรรู้ 1. Diverse ความหลากหลาย 2. Topography ลักษณะของภูมิภาคและพื้นที่ กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน ให้นักเรียนช่วยกันคิดหาคาตอบจากคาถามต่อไปนี้ 1. พื้นที่และภูมิประเทศที่ต่างกันแสดงบนแผนที่อย่างไร 2. ภูมิประเทศในรูปแบบต่างๆ นั้น มีลักษณะใดบ้างที่มีทีในประเทศของเรา 3. ให้นกั เรียนสังเกตประเทศตนเองและประเทศอื่นในอาเซียนอีก 2 ประเทศ แล้ว วิ เ คราะห์ ค วามเหมื อ นและความแตกต่ างระหว่ า งประเทศของเรากั บ อี ก 2 ประเทศนั้น ข้อมูลที่ให้นักเรียน
ไม่มี
111
ตัวอย่าง ทาความหมายของสั ญลั ก ษณ์ แ ละวิ ธีก ารอ่ านสั ญ ลั กษณ์ ต่ างๆ บนแผนที่ รวมทั้ ง เปรียบเทียบรายละเอียดหรือลักษณะต่างๆ ในตารางพร้อมให้วงกลมในสิ่งที่คล้ายกัน วิธีดาเนินการ 1. ให้นักเรียนทั้งห้องร่วมกันติดแผนที่ภูมิ ภาคของอาเซียน และแผนที่เปล่าของ ประเทศตนเอง พร้อมร่วมกันอภิปรายเรื่องการแสดงลักษณะภูมิ ประเทศของประเทศต่างๆ โดยทาสัญลักษณ์ แทนลักษณะภูมิประเทศนั้น (เช่น ภูเขา พื้นน้า) ความหมายของสีและ สัญลักษณ์บนแผนที่ที่แสดงถึงภูมิประเทศนั้นๆ 2. แจกแผนที่เปล่าของประเทศตนเองและแผนที่ภูมิภาคของอาเซียนให้นักเรียนทา สัญลักษณ์ต่างๆ ลงบนแผนที่ของประเทศตนเอง 3. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายลักษณะภูมิประเทศ โดยให้ทารายการในตารางเพื่อ แชร์ให้เพื่อนคนอื่นๆ ในห้องดูร่วมกัน 4. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆ ละประมาณ 3-4 (ขึ้นอยู่กับจานวนนักเรียนและ จานวนประเทศอาเซียน) แต่ละกลุ่มจะมีประเทศอาเซียนของตนเอง หลังจากนั้นครูแจก ตารางลั ก ษณะทางภูมิ ศาสตร์ แ ละแผนที่ เปล่ าของประเทศอาเซี ย นที่ นั ก เรี ย นได้ รั บ ให้ นักเรียนจะช่วยกันบันทึกลักษณะภูมิภาคของประเทศนั้นๆ 5. ให้ นั ก เรี ย นรวมกลุ่ ม กั น แล้ ว ใช้ เลื อ กอี ก ประเทศเป็ น ตั ว อย่ าง (ให้ ดู วิ ธี เ ที ย บ ประเทศจากลักษณะในตาราง) ให้นักเรียนเทียบในกลุ่มและนาเสนอ 6. ให้ทุกกลุ่มนาผลงานภาพแผนที่มาติดบนผนังห้อง แบบฝึกหัดแนะนา 1. ช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาในการอ่านแผนที่และสัญลักษณ์บนแผนที่ 2. ช่วยนักเรียนทุกกลุ่มวิเคราะห์ความเหมือนกันและความต่างกันลงในตาราง สรุปการเรียนรู้ ให้นักเรียนสังเกตและวิเคราะห์ประเทศในอาเซียนเพื่อ คัดเลือกประเทศที่ มีความ คล้ายที่สุดและคัดเลือกประเทศที่มีความแตกต่างกันที่สุด
112
แบบฝึกหัดส่วนตัว ให้นักเรียนเขียนแผนที่อาเซียนเพื่อฝึกทักษะความรู้ทางด้านภูมิศาสตร์ การประเมินที่แนะนา 1. ให้นกั เรียนทาแผนที่ประเทศที่ใช้สัญลักษณ์ต่างๆ แทนลักษณะทางภูมิศาสตร์บน แผนที่ (การประเมินคือ 1. การเขียนอธิบาย) 2. ให้ นัก เรี ยนอภิปรายลัก ษณะทางภู มิศ าสตร์ โดยใช้ แผนที่ อ้างอิ งประกอบการ อภิปราย พร้อมทารายการลักษณะทางภูมิศาสตร์นั้นๆ (การประเมินคือ 1. การเขียนอธิบาย) 3. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มทาแผนที่ประเทศอาเซียนและบันทึกลักษณะทางภูมิศาสตร์ แล้วให้แต่ละกลุ่มนาเสนอ หลังจากนั้นให้แต่ละกลุ่มร่วมกัน อภิปรายเพื่อเทียบลักษณะทาง ภูมิศาสตร์ร ะหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ (การประเมินคือ 1. การเขียน อธิบาย 2. การอธิบายปากเปล่า) คาถามสรุป 1. ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของประทศอาเซียนคืออะไร? 2. ลักษณะทางภูมิศาสตร์แสดงบนแผนที่อย่างไร? 3. ลักษณะทางภูมิศาสตร์นี้เชื่อมโยงหรือแยกประเทศในอาเซียนอย่างไร? การเชื่อมโยงกับวิชาอื่นๆ บทเรี ย นนี้ จ ะท าให้ เห็ น ความหลากหลายของลั ก ษณะทางภู มิ ศาสตร์ ว่ า ส่ งผลต่อ ชีวิ ตประจ าวั นของประชากรอย่างไร ซึ่ งในบทเรี ยนต่ อไป นัก เรีย นจะได้ สังเกตชีวิ ตของ ประชากรที่อยู่อาศัยตามที่ต่างๆ เช่น อยู่บนภูเขา อยู่ติดทะเล อยู่ในป่า อยู่ในเมือง เป็นต้น เพื่อเชื่อมโยงภูมิภาคต่างๆ กับชีวิตประจาวันของคนเรา
113
ใบงาน: แผนที่ที่แสดงภูมิภาคของประเทศอาเซียน
114
ใบงาน: แผนที่ขนาดเล็กที่ว่างเปล่าของประเทศอาเซียน บรูไน
115
กัมพูชา
116
อินโดนีเซีย
117
ลาว
118
มาเลเซีย
119
พม่า
120
ฟิลิปปินส์
121
สิงคโปร์
122
ไทย
123
ใบงาน: ลักษณะของภูมิภาคของประเทศตนเองและประเทศอาเซียน
ชื่อ _________________________________________วันที่ ___________________
ประเทศของฉัน
ประเทศอาเซียน
124
ใบความรู้: แผนที่เปล่าของประเทศอาเซียน
125
ตัวอย่างแผนการสอน: ความหลากหลายทางเรื่องเล่าในประวัติศาสตร์ ระดับชั้น: มัธยมศึกษาตอนต้น วิชา: หน้าที่พลเมืองและคุณธรรม ภาพรวม ในบทเรี ย นนี้ นั ก เรี ย นจะได้ ท าโครงงานเรื่ อ งเล่ าเกี่ ย วกั บ ประวั ติ ศาสตร์ เพื่ อ ให้ นั ก เรี ย นเกิ ด ความเข้ า ใจว่ า สั ง คมและประเทศของตนเองนั้ น มี ค วามหลากหลายทาง วั ฒ นธรรมและเชื้ อ ชาติ อ ย่ า งไร เมื่ อ นั ก เรี ย นได้ เ รี ย นเรื่ อ งนี้ แ ล้ ว จะเข้ า ใจว่ า หลายๆ วัฒ นธรรมที่ เราพบเห็ น จะใช้เรื่ อ งเล่ าทางประวัติ ศาสตร์ เพื่ อ แบ่ งปัน ความรู้ และสืบ ทอด วัฒนธรรมจากรุ่นสู่รุ่น โดยนักเรียนจะได้เล่าเรื่องคนที่ช่วยทาให้สังคมดีขึ้น หรือมีอิทธิพลมา เปลี่ยนแปลงชีวิตของตนเอง ความเข้าใจที่ควรได้ กลุ่มคนในสังคมล้วนมีความเชื่อมโยงถึงกัน วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถตั้งคาถามเพื่อนาไปสัมภาษณ์คนในสังคมของตนเองได้ 2. นักเรียนสามารถไปสัมภาษณ์เพื่อเก็บเรื่องเล่าจากประสบการณ์ของคนในสังคม ของตนเองได้ 3. นักเรียนสามารถเขียนบทความในรูปแบบของตนเองได้ คาถามที่จาเป็น การให้ ความหมายหรื อ ให้ คุณ ค่ า กั บ ความหลากหลายสามารถช่ ว ยให้ คนมี ความ สามัคคีหรืออยู่ร่วมกันท่ามกลางความแตกต่างนั้นได้อย่างไร? (คน แนวคิด)
126
อุปกรณ์/ใบงานที่ต้องการ หนังสือที่สาคัญต่อความทรงจาและมีคุณค่าควรเรียนรู้สืบทอดเรื่องราวสาคัญนั้นๆ จากผู้ใหญ่ในสังคมโดยหนังสือดังกล่าวจะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ - คนที่มีคุณค่าที่สุดในสังคมและเก็บไว้ในความทรงจาของอดีต - คนในสังคมที่ไว้ใจ เป็นคนที่ช่วยตัดสินใจในเรื่องที่สาคัญๆ หรือเป็นการ ตัดสินใจที่จะส่งผลกระทบต่อปัจจุบันและอนาคต - คนสาคัญที่สร้างเอกลักษณ์และคุณค่าให้กับสังคม เวลาที่ต้องใช้ ประมาณ 1 สัปดาห์ คาศัพท์ที่ควรรู้ 1. Oral history เรื่องเล่าหรือตานานทางประวัติศาสตร์ 2. Memory ความทรงจาของอดีต กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน 1. ให้นักเรียนตอบคาถาม เพราะเหตุใดความทรงจาจึงมีความสาคัญ 2. ให้นักเรียนเขียนความหมายและความสาคัญของ ความทรงจา (ในชีวิตหรือ ใน สังคมของตนเอง) 3. ให้นักเรียนตอบคาถาม คุณค่าของเรื่องเล่าหรือตานานทางประวัติศาสตร์คืออะไร 4. ให้นักเรียนเขียนความหมายของเรื่องเล่าทางประวัติศาสตร์ 5. ให้นักเรียนตอบคาถาม การศึกษาความทรงจาของสังคมช่วยสร้างเอกลักษณ์ของ ตนเองได้อย่างไร ข้อมูลที่ให้นักเรียน ให้แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มย่อย แล้วให้แต่ละกลุ่มสะท้อนความคิดเรื่องความทรงจาของ ตนเองต่อกลุ่ม หลังจากนั้นให้ทุกกลุ่มเลือกเรื่องความทรงจาภายในกลุ่มมานาเสนอต่อกลุ่ม ใหญ่ 1 เรื่อง
127
ตัวอย่าง ให้ครูแสดงตัวอย่างวิธีนาความคิด และท าให้เป็นคาถามสัมภาษณ์ที่เหมาะสมและ น่าสนใจ วิธีดาเนินการ คาบที่ 1 1. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อย แล้วให้แต่ละกลุ่ม ทาแผนภาพความคิดจากการ ระดมสมองในหัวข้อ ความทรงจา 2. ครูถามนักเรียนว่านักเรียนเรียนรู้เรื่องราวในอดีตได้อย่างไร รวมทั้งเรื่องราวหรือ ประวัติของครอบครัวและเรื่องอื่นๆ ในสังคม 3. ครู อ ธิ บ ายความหมายของเรื่ อ งเล่ า ทางประวั ติ ศ าสตร์ ว่ า เรื่ อ งเล่ า ทาง ประวัติศาสตร์ จ ะเกิดขึ้ นเมื่อ คน 1 คน (คนสัม ภาษณ์ ) มาสัม ภาษณ์ คนอี กคน (คนถู ก สัมภาษณ์) เกี่ยวกับเรื่องราวในชีวิตของคนที่ถูกสัมภาษณ์ แล้วคนที่สัมภาษณ์จะนาคาตอบ ของคนที่ถูกสัมภาษณ์ มาเรียบเรียงใหม่เขียนเป็นเรื่องราว โดยต้องได้รับอนุญาตจากผู้ให้ สัมภาษณ์ก่อน และการสัมภาษณ์ควรมีการเก็บหลักฐานคือ เสียงจากผู้ให้สัมภาษณ์ 4. ให้นักเรียนลองเลือกคนในสังคมของตนเองหรือจากสังคมอื่นที่ นักเรียนอยาก เรี ยนรู้หรือ เป็ น คนที่น่ าสนใจ หลั งจากนั้ นให้นั กเรีย นลองคิ ด คาถามสั มภาษณ์ จ ากข้อ มู ล พื้นฐานจากประสบการณ์ชีวิตของคนที่เราอยากจะไปสัมภาษณ์นั้นๆ 5. การบ้าน ให้นักเรียนแต่ละคนเลือกคนที่ นักเรียนอยากจะสัมภาษณ์ เขา 1 คน พร้อมให้นักเรียนเขียนเหตุผลที่เลือกคนๆ นี้ และอยากสัมภาษณ์เขาในเรื่องเกี่ยวกับอะไร แล้วให้นักเรียนหาช่วงเวลาไปสัมภาษณ์บุคคลคนนั้นจริงๆ พร้อมบันทึกข้อมูลไว้ด้วย
128
คาบที่ 2 1. ให้นักเรียนจับคูก่ ันแล้วสลับกันฟังบันทึกจากการสัมภาษณ์ของคู่ของตนเอง 2. ให้นกั เรียนนาเรื่องที่ได้ไปสัมภาษณ์บุคคลนั้นๆ มาเขียนเป็นบทความ คาบที่ 3 1. ให้นักเรียนอ่านบทความของตนเองให้ครูและเพื่อนทั้งห้องฟัง 2. เมื่อนักเรียนได้ฟังเรื่องจากเพื่อนครบทุกคนแล้ว ให้นักเรียนบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ โดยใช้แนวคาถามดังต่อไปนี้
สิ่งที่ทาให้ประหลาดใจคือ ……………………………………………..……….……….……..… สิ่งที่ทาให้ตกใจคือ …………………………………………………….…………………….………. สิ่งที่ได้เรียนรู้จากเรื่องเล่าทางประวัติศาสตร์คือ ……………………………….……….… สิ่งสาคัญที่ได้จากกการสัมภาษณ์คือ ……………………………………………………….…. จากสิง่ ที่ได้ยินฉันมีคาถามหรือมีความอยากรู้มากขึ้นเรื่อง ……………………...….….
คาบที่ 4 ให้นักเรียนสะท้อนความคิดและประสบการณ์ที่เหมือนกันในทุกๆ เรื่องราวที่ได้ฟัง
129
แบบฝึกหัดแนะนา ไม่มี สรุปการเรียนรู้ นักเรียนส่งงานการเขียนบทความ แบบฝึกหัดส่วนตัว ให้นกั เรียนเขียนรายละเอียดเกี่ยวกับลักษณะทางภูมิศาสตร์ลงในแผนที่อาเซียนเพื่อ ฝึกทักษะและความรู้เรื่องลักษณะทางภูมิศาสตร์ การประเมินที่แนะนา 1. ก่อนการสัมภาษณ์ ให้นักเรียนสะท้อนความคิดของตนเองลงในบันทึกประจาวัน ของนักเรียนเองถึงสาเหตุที่เลือกสัมภาษณ์คนนี้และสิ่งที่อยากเรียนรู้จากคนนี้ (การประเมิน คือ 1. การเขียนอธิบาย) 2. ให้นักเรียนการเขียนบทความจากการสัมภาษณ์ผู้ใหญ่ในสังคม โดยเน้นหัวข้อ ที่ว่าคนที่ถูกสัมภาษณ์ช่วยสร้างเอกลักษณ์ทางสังคมอย่างไรบ้าง โดยบทความนี้อาจมีรูปหรือ ศิลปวัตถุที่เกี่ยวข้องกับคนที่ถูกสัมภาษณ์ ประกอบ (การประเมิน คือ 1. การเขียนอธิบาย 4. แนวคิด และ 5. ความเข้าใจความคิด) 3. ให้นักเรียนนาเสนอเรื่องราวที่ได้จากการสัมภาษณ์ และเขียนสะท้อนความคิดสิ่ง ที่ได้เรียนรู้ เรื่องความสาคัญ ของต านานหรือ เรื่องเล่าทางประวัติศาสตร์ (การประเมินคื อ 1. การเขียนอธิบาย 2. การอธิบายปากเปล่า และ 4. แนวคิด) การประเมินต่อไป ให้นักเรียนเขียนจดหมายขอบคุณผู้ใหญ่ที่ให้ นักเรียนสัมภาษณ์ในโครงงานเรื่องเล่า ทางประวั ติ ศาสตร์ โดยในจดหมายระบุ ล งไปด้ ว ยว่ า นั ก เรี ย นได้ เ รี ย นรู้ อ ะไรบ้ า งจาก การสัมภาษณ์ รวมทั้งวิธีที่นักเรียนจะใช้ เรื่องความทรงจามาสร้างสังคมใกล้ชิดของตนเอง (การประเมินคือ 5. ความเข้าใจความคิด)
130
คาถามสรุป 1. เรื่องเล่าหรือตานานทางประวัติศาสตร์มีบทบาทอย่างไรในสังคม? 2. เพราะเหตุใดความทรงจาและเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมจึงมีความสาคัญในชีวิต ของนักเรียน? 3. เรื่องราวและความทรงจาจะสามารถช่วยให้ครอบครัว สังคมและประเทศชาติ แข็งแรงขึ้นได้อย่างไร? การเชื่อมโยงกับวิชาอื่นๆ 1. สังคม นักเรียนสามารถวิเคราะห์และเปรียบเทียบแนวความคิดเกี่ยวกับเรื่องเล่า ทางประวัติศาสตร์ (การบันทึกทางประวัติศาสตร์) กับความทรงจาส่วนตัวได้ 2. ศิ ล ปะ นั ก เรี ย นสามารถวิ เ คราะห์ ง านศิ ล ปะที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เหตุ ก ารณ์ จ าก แนวความคิดของคนหนึ่งคน โดยวิเคราะห์ว่า งานศิลปะสามารถบันทึกความทรงจา เรื่องราว และวัฒนธรรมจากรุ่นสู่รุ่นอย่างไร 3. เทคโนโลยี นั ก เรี ย นสามารถวิ เคราะห์ บ ทบาทของเทคโนโลยี ใ นการจั ดเก็ บ เรื่องราวทางประวัติศาสตร์ต่างๆ และสามารถเผยแพร่เพื่อให้เรื่องราวนั้นแพร่กระจายได้
131
ตัวอย่างแผนการสอน: ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศ ระดับชั้น: มัธยมศึกษาตอนต้น วิชา: วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ภาพรวม ในบทนี้นักเรียนจะได้วิเคราะห์ว่า การกระทาของมนุษย์ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และจานวนของสัตว์ป่าอย่างไรบ้าง ให้นั กเรีย นร่วมกัน อภิ ปรายเหตุผลที่ควรรักษาความ แตกต่างทางชีวภาพไว้ และเหตุผลที่ความแตกต่างทางชีวภาพจาเป็นต่อสิ่งแวดล้อม ความเข้าใจที่ควรได้ ความหลากหลายทางชีววิทยาจาเป็นต่อระบบนิเวศของอาเซียน วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกความสาคัญของทุกชีวิตในระบบนิเวศได้ 2. นักเรียนสามารถบอกเหตุผลที่ควรรักษาความหลากหลายทางชีวภาพไว้ได้ 3. นักเรียนสามารถบอกเหตุผลสาคัญที่ควรรักษาความหลากหลายทางชีวภาพไว้ได้ 4. นักเรียนสามารถชักชวนคนอื่นๆ ให้ร่วมกันรักษาความหลากหลายทางชีวภาพได้ คาถามที่จาเป็น 1. เราจะรักษาสมดุลในระบบนิเวศทั่วอาเซียนได้อย่างไร 2. สิ่งใดที่ส่งผลกระทบต่อความสมดุลของระบบนิเวศ? (คน สถานที่ ทรัพยากร ) 3. ความหลากหลายทางชี วภาพท าให้ ระบบนิ เวศของอาเซี ยนมี ความยื ดหยุ่ น ได้ อย่างไร? (สถานที่ ทรัพยากร) 4. ผลที่เกิ ดขึ้นจากการที่ ความหลากหลายทางชีวภาพลดลงคืออะไร? (สถานที่ ทรัพยากร)
132
อุปกรณ์/ใบงานที่ต้องการ 1. สมุดบันทึก 2. อุปกรณ์ในการเขียน 3. หนังสือ นิตยสารประกอบการค้นคว้า 4. เรื่องที่เกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ (Shah, Anup. 2012. “Biodiversity – GlobalIssues”) (www.globalissues/issue/169/biodiversity)
133
5. รูปสัตว์ที่ใกล้สูญพันธุ์ (Glenn, C.R. 2006 “Earth’s Creatures” http://earthsendangered.com)
เวลาที่ต้องใช้ 2-3 คาบ คาศัพท์ที่ควรรู้ 1. Biodiversity 2. Ecosystem 3. Preservation 4. Endangered 5. Species 6. Extinction
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตของสัตว์และพืช สังคมของสิ่งที่มีชีวิตและสิ่งแวดล้อม การปกป้องจากการเปลี่ยนแปลง ความเสี่ยงที่ใกล้สูญพันธุ์ สายพันธุ์สิ่งมีชีวิต สูญพันธุ์
134
กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน ให้นักเรียนจะสังเกตรูปสัตว์ที่ใกล้สูญพันธุ์และตอบคาถามต่อไปนี้ - ทาไมสัตว์เหล่านี้จงึ อยู่ในภาวะอันตราย? - ทาไมนักเรียนจึงคิดว่าสถานการณ์นี้มีความสาคัญที่ต้องช่วย? ข้อมูลที่ให้นักเรียน ครู ใ ห้ ค วามหมายของค าหรื อ ให้ นั ก เรี ย นหาความหมาย ค าว่ า Biodiversity, Ecosystem และ Extinction เพื่อให้นักเรียนเข้าใจพร้อมให้นักเรียนแต่งประโยคโดยใช้คา ทั้ง 3 คานี้ วิธีดาเนินการ คาบที่ 1, 2 และ 3 (แบ่งตามความเหมาะสม) 1. ให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันว่าทาไมทุกส่วนของระบบนิเวศจึงมีความสาคัญ และอะไรจะเกิดขึ้นถ้า 1 ในสมาชิกของระบบนิเวศไม่มีอีกแล้ว เช่น อะไรจะเกิดขึ้นถ้าปลาน้า จืดชนิดหนึ่งตายหมดในระบบนิเวศน้าจืด (ผู้ล่าไม่มีแหล่งอาหาร เหยื่อ ก็จะไม่มีผู้ล่า เป็นต้น) แล้วให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันถึงผลกระทบที่อาจมีต่อสัตว์ พืชและคนที่อยู่ใกล้หรือใช้ระบบ นิเวศนี้ (คนตกปลา และนักท่องเที่ยว) 2. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆ ละ 2-3 คน โดยให้แต่ละกลุ่มคิดเรื่องคาถามที่ว่า “ทาไมเราควรรักษาระบบนิเวศให้แข็งแรงและต้องช่วยปกป้องสิ่งมีชีวิตทุกชนิดในระบบ นิเวศ?” โดยให้แต่ละกลุ่มอภิปรายและชี้แจงเหตุผลและความคิด เกี่ยวกับ ความสาคัญของ ความหลากหลายทางชีวภาพ และเหตุผลที่เราควรปกป้องสิ่งมีชีวิตที่ใกล้สูญพันธุ์
135
3. ให้นั กเรีย นร่ วมกัน อภิ ปรายความคิด ของกลุ่ ม ถึ งหลายเหตุ ผลที่เราควรรั กษา ความหลากหลายทางชีวภาพไว้เพื่อช่วยให้ระบบนิเวศแข็งแรง ซึ่งมีเหตุผล 5 ข้อคือ
1) เศรษฐกิจ “ความหลากหลายทางชีวภาพสามารถช่วยคนทามาหากินอย่างไร” 2) การพักผ่อนหย่อนใจ “คนชอบทากิจกรรมกลางแจ้ง เช่น เดินป่าหรือเล่นน้าที่น้าตก ถ้าระบบนิเวศถูกทาลายจะไม่มีกิจกรรมแบบนี้อีก” 3) สุขภาพของมนุษย์ “ความหลากหลายทางชีวภาพสามารถช่วยคนหายารักษาโรคได้ดีขึ้น (อาจต้องมีการศึกษาค้นคว้าเรื่องประโยชน์ทางเวชภัณฑ์จากพืชในคู่มือ หรืออินเตอร์เน็ต)” 4) สิทธิของมนุษย์ “ถ้ายังคงมีความหลากหลายทางชีวภาพ คนพื้นเมืองจะสามารถอยู่ใน พื้นที่ถิ่นกาเนิดได้” 5) คุณค่าภายในหรือจิตวิญญาณ “เราควรรักษาความหลากหลายทางชีวภาพเพราะเป็นสิ่งที่ถูกต้อง” “สัตว์และพืชมีสิทธิ์ที่จะมีชีวิต” “คนเชื่อว่ามีวิญญาณในธรรมชาติเช่น น้าตก ต้นไม้ใหญ่ หน้าผา”
6) จากเหตุผลทั้ง 5 ข้อด้านบน ให้นักเรียนอธิปรายร่วมกันว่าคนที่เชื่อว่าเราควร รักษาความหลากหลายทางชีวภาพไว้จะใช้มากกว่า 1 เหตุผล เช่น คนอาจเชื่อว่าสัตว์ทุกชนิด มีสิทธิ์ที่จะมีชีวิต หายารักษาโรคใหม่ๆ จะมีที่มาจากพืชและสัตว์ เป็นต้น ให้นักเรียนช่วยหา เหตุผลดังกล่าวให้ได้มากที่สุด
136
กิจกรรมทางเลือก ให้ นั กเรี ย นดูเว็ บไซต์ต่อ ไปเพื่ อ ศึ กษาเหตุ ผลของการรั ก ษาความหลากหลายทาง ชีวภาพไว้ พร้อมให้นักเรียนจับคู่เหตุผลทั้ง 5 ข้อที่ได้เรียนไปแล้วในแต่ละเว็บไซต์
1. Rainforest Action Network: Kids’ Corner www.ran.org/new/kidscorner/ 2. Why It Matters www.bagheera.com/inthewild/classroom/class_extinction_why.htm 3. Why Save Endangered Species? www.state.ak.us/local/akpages/FISH.GAME/wildlife/geninfo/game/es_why.htm
แบบฝึกหัดแนะนา หลังจากนักเรียนสารวจอุปกรณ์ในการศึกษาค้นคว้าแล้ว ให้นักเรียนเขียนคาอธิบาย สั้นๆ ประมาณ 1-3 ประโยคถึงเหตุผลที่ควรมีอุปกรณ์ชนิดนั้นๆ สรุปการเรียนรู้ นักเรียนนาเสนอเหตุผลที่ควรรักษาความหลากหลายทางชีว ภาพต่อเพื่อนและครู แล้วฝึกให้มีการประเมินตนเองและให้เพื่อนประเมิน รวมทั้งเราประเมินการนาเสนอและ เนื้อหาที่เพื่อนนามานาเสนอด้วย
137
แบบฝึกหัดส่วนตัว ให้นักเรียนเขียนจดหมายถึงผู้อานวยการของ WWF หรือองค์กรอนุรักษ์สัตว์ป่า โดยในเนื้ อ หาจดหมายมี ค าแนะน าส าหรั บ โน้ ม น้ า วคนให้ ส นั บ สนุ น การปกป้ อ งความ หลากหลายทางชีวภาพจาก 5 เหตุผลข้างต้น พร้อมแสดงความคิดเห็นว่าเหตุผลใดที่นักเรียน คิดว่าจะสามารถใช้โน้ม น้าวได้ดีที่สุด และเพราะเหตุ ใด? (ในจดหมายนักเรียนสามารถ แนะนาให้องค์กรใช้เหตุผลทั้ง 5 ข้อ โดยนักเรียนสามารถเลือกเพียง 1 เหตุผลหรือมากกว่า หรือจะนาเสนอความคิดเห็นว่าควรมีทั้ง 5 ข้อเลยก็ได้) การประเมินที่แนะนา 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกันทารายงานหรือโปสเตอร์ พร้อมเตรียมนาเสนอถึงเหตุผล ของการรักษาความหลากหลายทางชีว ภาพในระบบนิเวศของอาเซี ยน โดยเน้น เหตุผลที่ นาเสนอไปแล้วทั้ง 5 ข้อ (การประเมินคือ 2. การอธิบายปากเปล่า และ 4. แนวคิด) 2. ให้นักเรียนประเมินเพื่อนที่การนาเสนอเหตุผลที่ควรปกป้องความหลากหลาย ทางชีวภาพทั้ง 5 เหตุผล โดยครูสามารถรวมการประเมินของนักเรียนกับการประเมินของครู และเก็บเป็นคะแนนได้ (การประเมินคือ 1. การเขียนอธิบาย 2. การอธิบายปากเปล่า และ 4. แนวคิด 3. ให้นักเรียนประเมินเว็บไซต์องค์กรที่สนับสนุนการรักษาความหลากหลายทาง ชีวภาพ 2-3 องค์กรพร้อมเขียนไว้บันทึกประจาวัน (ควรใช้เหตุผลทั้ง 5 ข้อนั้นประกอบการ ประเมิ น ) และสะท้ อ นความคิ ด ด้ ว ยว่ า เพราะเหตุ ใ ดความหลากหลายทางชี ว ภาพจึ ง มี ความสาคัญ (การประเมินคือ 2. การอธิบายปากเปล่า และ 4. แนวคิด) การประเมินต่อไป ประเมินเนื้อหาในจดหมายที่นักเรียนเขียนถึง WWF หรือองค์กรอนุรักษ์สัตว์ป่า (การประเมินคือ 2. การอธิบายปากเปล่า และ 4. แนวคิด)
138
คาถามสรุป 1. เหตุผลที่ควรรักษาความหลากหลายทางชีวภาพไว้คืออะไร ? 2. เหตุผลเหล่านั้นสามารถนามาเชื่อมโยงกันได้อย่างไร ? การเชื่อมโยงกับวิชาอื่นๆ บทเรียนนี้เชื่อมโยงกับวิชา - ชีววิทยา (ระบบนิเวศ การรักษาสิ่งแวดล้อม) - สังคม (ลักษณะทางภูมศิ าสตร์) - ภาษา (การเขียนจดหมาย)
139
ตัวอย่างแผนการสอน: สายพันธุส์ ิ่งมีชีวิต...ความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ ระดับชั้น: มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชา: วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ภาพรวม สายพัน ธุ์ ต่างๆ ของสิ่ งมี ชี วิต ในระบบนิ เวศจะช่ ว ยให้ เข้ าใจระบบนิ เวศ นั ก เรี ย น สามารถบอกลักษณะของสายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตในสังคมของนักเรียนได้ โดยนักเรียนต้อง เรียนรู้ว่า การหายไปของสายพันธุ์ บางอย่างในสถานที่ใดสถานที่หนึ่ งอาจเป็นคาเตือนว่ า กาลังจะเกิดปัญหาใหญ่บางอย่างซึ่งอาจส่งผลต่อทุกประเทศในอาเซียน ความเข้าใจที่ควรได้ คนสามารถคานวณความหลากหลายทางชีวภาพได้ และคาดเดาผลที่เกิดจากความ หลากหลายทางชีวภาพลดลงของได้ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกลักษะสิ่งที่บ่งบอกความสมบูรณ์ของระบบนิเวศได้ และ บอกได้ว่าสามารถดูหรือสังเกตได้ที่ใด 2. นักเรียนสามารถนับสายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตได้ คาถามที่จาเป็น 1. ถ้าสายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตลดลงหรือหายไปจะเกิดผลอย่างไรกับสังคม? (สถานที่ ทรัพยากร) 2. ถ้ า ความหลากหลายในสั งคมของนั ก เรี ย นลดลง จะมี ผ ลกระทบอย่ างไรต่ อ เศรษฐกิจและมีผลกระทบสุขภาพอย่างไรบ้าง? (สถานที่ ทรัพยากร) อุปกรณ์/ใบงานที่ต้องการ 1. ข้อมูลเรื่องสัตว์และพืชในท้องถิ่น 2. สมุดบันทึก
140
เวลาที่ต้องใช้ 4-5 คาบเรียน คาศัพท์ที่ควรรู้ 1. Indicator species 2. Ecosystem 3. Community 4. Flora 5. Fauna 6. Diversity 7. Food web
สิง่ ที่บ่งบอกถึงสายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตหนึ่ง สังคมของสิ่งมีชีวิต สังคมของสิ่งมีชีวิต พืชในพื้นที่ สัตว์ในพื้นที่ ความหลากหลาย ห่วงโซ่อาหาร
กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน ครูให้นักเรียนลองคิดและลองตอบคาถามต่อไปนี้ 1. นักเรียนจะทราบได้อย่างไรว่าระบบนิเวศยังอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์? 2. เราสามารถทดสอบความหลากหลายในระบบนิเวศได้อย่างไร? 3. หากระบบนิเวศที่อยู่ในสภาพไม่สมบูรณ์จะส่งผลกระทบอะไรกับสังคมของคุณ? ข้อมูลที่ให้นักเรียน 1. รูปหรือตัวอย่างพืชและสัตว์ที่มีในสังคม 2. ความสัมพันธ์ระหว่างสายพันธุ์ต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
141
ตัวอย่าง ทาตัวอย่างห่วงโซ่อาหาร วิธีดาเนินการ คาบที่ 1, 2 1. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มเพื่อเลือกศึกษาสิ่งมีชีวิตในสังคมหรือท้องถิ่น 1 ชนิด 2. ให้นักเรียนร่วมกันทาความเข้าใจบทบาทของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ ในระบบนิเวศ 3. ให้นักเรียนวาดห่วงโซ่อาหารที่มีสิ่งมีชีวิตนั้นๆ 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเดินสารวจพื้นที่ในโรงเรียนแล้วพื้นที่ในโรงเรียน 6 แห่งที่มี สิ่งมีชีวิตที่นักเรียนเลือกศึกษาอาศัยอยู่ 5. ให้นักเรียนสารวจวิธีนับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ คาบที่ 3, 4 1. ให้นักเรียนเก็บข้อมูลสิ่งมีชีวิตที่นักเรียนพบทั้งหมดในสถานที่ 6 แห่งในโรงเรียน 2. ให้นักเรียนจัดและวิเคราะห์ข้อมูลสิ่งมีชีวิตที่นักเรียนได้พบจากการสารวจ สรุปการเรียนรู้ 1. นักเรียนส่งสมุดบันทึกและประเมินความเรียบร้อย ความสมบูรณ์ ของงานและ ความถูกต้องของการสรุปและวิเคราะห์ข้อมูลนั้นๆ 2. นักเรียนนาเสนอผลงานและอภิปรายผลงานของนักเรียนแต่ละกลุ่มเกี่ยวกับการ สารวจสถานที่ในโรงเรียนทั้ง 6 แห่ง 3. นักเรียนสามารถคาดการณ์ ระบบนิเวศอื่นๆ ในอาเซียน โดยอาจทาเป็นใบปลิว แนะนาสิ่งที่นักเรียนได้ค้นพบจากกิจกรรมการเรียนรู้
142
การประเมินที่แนะนา 1. ให้นักเรียนทารายงานการค้นคว้าเรื่องสายพันธุ์สิ่งมีชีวิต โดยให้มีเนื้อหาเกี่ยวกับ บทบาทของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ ห่วงโซ่อาหารของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ ใน 6 สถานที่ในโรงเรียน และวิ ธี ก ารนั บ สิ่ ง มี ชีวิ ตในระบบนิ เ วศ (การประเมิ น คื อ 1. การเขี ย นอธิ บ าย และ 2. การอธิบายปากเปล่า) 2. ให้นักเรียนรายงานผลการสารวจจานวนของสายพันธุ์สิ่งมีชีวิตที่พบในโรงเรียน และวิเคราะห์ผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อสภาพเศรษฐกิจและทางกายภาพ (การประเมินคือ 1. การเขียนอธิบาย 2. การอธิบายปากเปล่า และ 4. แนวคิด) 3. ให้นักเรียนประเมินการนาเสนอของเพื่อน โดยดูในเรื่องความถูกต้องของข้อมูล และการวิเคราะห์สายพันธุ์สิ่งมีชีวิตที่มีผลต่อเศรษฐกิจ รวมทั้งการคาดการณ์ระบบนิเวศใน ประเทศอื่นๆ ในอาเซียน (การประเมินคือ 1. การเขียนอธิบาย 2. การอธิบายปากเปล่า และ 3. การประยุกต์ใช้) การประเมินต่อไป ให้นักเรียนทาโปสเตอร์ห่วงโซ่อาหารที่แสดงความสัมพันธ์ของสายพันธุ์สิ่งมีชีวิต ทุกชนิดที่สารวจพบมา โดยอาจให้แต่ละกลุ่มทาใบปลิว แนะนาสิ่งที่นักเรียนได้ค้นพบจาก กิจกรรมการเรีย นรู้ หรื อทาเป็น สารคดีสั้นๆ โดยใช้รูป จากการสารวจและข้อมูล จากการ รายงานประกอบ (การประเมินภาพรวมคือ 1. การเขียนอธิบาย และ 3. การประยุกต์ใช้) คาถามสรุป 1. เราสามารถเก็บข้อมูลเรื่องสายพันธุ์สิ่งมีชีวิตได้อย่างไร? 2. ข้อมูลนี้จะช่วยให้คนรักษาระบบนิเวศของท้องถิ่นได้อย่างไร? 3. ข้อมูลนี้มีความสาคัญต่อการสารวจระบบนิเวศของพื้นที่ได้อย่างไร? การเชื่อมโยงกับวิชาอื่นๆ บทเรีย นนี้ เชื่อมโยงกับ วิช าสั งคม (สภาพภูมิ ศาสตร์ ) และวิ ชาเกี่ย วกั บเทคโนโลยี (แหล่งที่มาของเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการวิเคราะห์)
144
บทที่ 3 จากท้องถิ่นสู่อาเซียน
แนวโน้ ม ในโลกกระจายตั ว เร็ ว และเข้ าถึ งพื้ น ที่ใ นเขตเมื องและมี ก าร เพิ่มขึ้นในชนบท แต่ก่อนข่าวเรื่องเหตุการณ์ ในท้องถิ่นเคยถูกแยกออกหรือไม่ ค่อยได้ทราบข่าว แต่ปัจจุบันนี้จะสามารถรับทราบข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว บทนี้จะสารวจว่าชนกลุ่มน้อยที่มีเอกลักษณ์ทางด้านภาษา ความเชื่อ ศิลปะและแหล่งทรัพยากร เมื่อได้เดินทางเข้ามาสู่สังคมแล้วมีความเปลี่ยนแปลง ไปอย่ างไรบ้ างในสั งคม อาทิ ปั ญ หาเรื่ อ งสิ่ งแวดล้ อ ม สุ ข ภาพ ทั ศ นคติ แ ละ ความคิด และส่งผลกระทบอย่างไรต่อสังคมที่อยู่ห่างไกล
แนวความคิดที่ยั่งยืนสาหรับหัวข้อนี้คือ : ในอดี ต การเดิ น ทางของคนในอาเซี ย นช่ ว ยท าให้ เ กิ ด แลกเปลี่ ย นและ เปลี่ยนแปลงไปทั้งในเรื่องความเชื่อ วัฒนธรรม เทคโนโลยีและข้อมูลข่าวสาร ในท้องถิ่นตนเอง คน สังคมและประเทศในอาเซียนมีการเชื่อมโยงถึงกันและเชื่อมโยงทั่วโลก การเชื่อมโยงนี้สร้างพื้นฐานของวัฒนธรรมร่วมกัน รวมทั้งความฝันของคน ในท้องถิ่นและทั่วโลก
145
บทเรียนนี้สามารถเชื่อมโยงกับหลายๆ วิชา อาทิ วิชาหน้าที่พลเมืองและคุณธรรม ให้ความหมายกับการเป็นพลเมืองในสังคม ประเทศและภูมิภาค วิชาสังคม เรียนรู้เรื่องการใช้ประโยชน์กว้างขวาง ต้องการการค้าเสรี และการ เข้ าถึ งตลาดใน วิ เคราะห์ แ นวโน้ ม ของศิ ลปะทั่ ว อาเซี ย น โดยเฉพาะการ เกิดขึ้นและกระจายตัว; และสารวจว่าวัฒนธรรมในแต่ละวันของอุตสาหกรรม ที่ทาให้ทะเลเป็นกรด, การเพิ่มขึ้นของระดับน้าทะเล, และการเปลี่ยนแปลง สภาพอากาศ นั้นส่งผลกระทบในระดับท้องถิ่นและในระดับโลก. ในหัวข้อนี้ ช่วยให้เรียนรู้เรื่องการเดินทางของความคิดและความเข้าใจที่แตกต่างในแต่ ละพื้นที่ และวิธีที่กระบวนการกระจายตัวรวมด้วยการแลกเปลี่ยนความคิด ทั่วโลก เร็วขึ้นและมากขึ้นในปัจจุบัน เพราะเทคโนโลยี ต่ อ ไปคื อ ตารางโครงร่ า งหลั ก สู ต รที่ แ สดงว่ า หั ว ข้ อ “เชื่ อ มโยงโลกกั บ ท้ อ งถิ่ น ” สามารถใช้ข้ามหลายวิชาและชั้นเรียนได้
146
ระดับประถมศึกษาตอนปลาย: การเชื่อมโยงโลกกับท้องถิ่น วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
สังคมและ คนอพยพจาก ประวัติศาสตร์ หลายๆ เหตุผล
ทาไมคนถึงย้ายจากที่หนึ่ง ไปอีกที่หนึ่ง (คน สถานที่)
สัมภาษณ์คนในสังคมที่มาจากที่อื่น บันทึกเหตุผลและวิธีที่ปรับตัวในสถานที่ใหม่ และให้นักเรียนสรุปว่าเหตุผลทาไมคนถึงย้าย, สิ่งที่คนเอามาให้สังคมใหม่ และวิธีปรับตัว
การค้าทั่วโลก มีผลกระทบกับ ชีวิตประจาวัน ในสังคมท้องถิ่น
การค้ามีผลกระทบอะไร ต่อสังคม (คน ทรัพยากร)
ทาตารางและแผนที่เพื่อแสดงว่าผลิตภัณฑ์ที่ใช้อยู่ในสังคม ผลิตที่ไหนและ ใช้ที่ไหนบ้าง ทาตารางของสินค้าที่ใช้ประจาวันที่มาจากประเทศอื่นๆ ในอาเซียนและนอกอาเซียนเพื่อแสดงผลกระทบ ที่โลกมีต่อชีวิตประจาวัน ของนักเรียน
วิทยาศาสตร์ ภูมิภาคเชื่อมโยง และ และแยกสังคม คณิตศาสตร์ ออกจากโลก
ลักษณะของภูมิภาคมีผลกระทบ นักเรียนเก็บรูปจากสังคมตนเองเพื่อทาแผนที่ความสัมพันธ์ของสังคมที่มีลักษณะ กับการเชื่อมโยงของสังคมและ ทางธรรมชาติ เช่น ภูเขา แหล่งน้า ป่าไม้ รวมทั้งที่คนสร้างขึ้น เช่น บ้าน ร้านค้า โลกอย่างไร (คน สถานที่) บริษัท ให้นักเรียนจะวิเคราะห์ว่าสังคมตนเองเชื่อมโยงกับโลกภายนอกอย่างไร
146
147
วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
หน้าที่ คนสามารถเป็น มีวิธีอะไรที่คนสามารถเชื่อมโยง ให้นักเรียนวาดแผนภาพของ Venn ที่มีเอกลักษณ์จากท้องถิ่นกับโลก โดยใช้ พลเมือง พลเมืองของสังคม ถึงกันได้ (ความคิด คน สถานที่) อุปกรณ์ทางศิลปะหรือนิตยสารเพื่อทาเป็นภาพ และคุณธรรม ประเทศและโลก ภาษาและ วรรณกรรม
ภาษาแบ่งกลุ่ม ให้เห็นความ แตกต่างได้ จาก ท้องถิ่นสู่ภูมิภาค
คนแยกกลุ่มภาษาอย่างไร (คน สถานที่)
เรียนรู้เรื่องความเกี่ยวข้องทางภาษา กลุ่มภาษาและการใช้ภาษาเฉพาะถิ่น
เหตุการณ์ทั่วโลก มีผลกระทบ ต่อวรรณกรรม ท้องถิ่น
แนวความคิดทั่วโลก แบ่งปัน ในวรรณกรรมอย่างไร (แนวความคิด คน ทรัพยากร)
เปรียบเทียบเรื่องราวของเหตุการณ์ในอดีตหรือเหตุการณ์ของศาสนา และอภิปรายว่ามีอะไรบ้างที่มาจากท้องถิน่ อะไรที่มาจากโลก และทาไม เรื่องราวต่างๆ เหล่านั้นจึงมีความสาคัญกับท้องถิ่น
147
148
วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
ศิลปะ
อุปกรณ์ทอ้ งถิ่นมี อุปกรณ์จากท้องถิ่นมีผลกระทบ เปรียบเทียบอุปกรณ์ทางศิลปะที่มีรูปแบบเดียวกัน และจับคู่อุปกรณ์ ผลกระทบต่อ กับศิลปะในอาเซียนอย่างไร? กับแหล่งที่มาของข้อมูลต่างๆ และสิ่งแวดล้อมท้องถิ่น งานศิลปะ (ทรัพยากร แนวคิด สถานที่)
สุขภาพและ กายภาพ
ความคิดเรื่อง สิ่งที่ทาให้ความคิดเรื่องสุขภาพ สุขภาพเปลี่ยนได้ เปลีย่ นไปคืออะไร? ตามเวลา (คน แนวคิด)
สารวจสิ่งในอดีตที่มีผลกระทบกับสุขภาพหรือโภชนาการจากอาหารในท้องถิ่น แล้วให้เปรียบเทียบเรื่องสุขภาพที่มาจากความเชื่อ ศาสนา วัฒนธรรม สื่อโฆษณา และเปรียบเทียบกับสิ่งที่มีผลกระทบในปัจจุบัน (อาหารสาเร็จรูปและอาหาร ที่ผ่านกระบวนการผลิตมีจานวนเพิ่มมากขึ้น)
เทคโนโลยี
เทคโนโลยี เทคโนโลยีมีผลกระทบอะไร สามารถเชื่อมโยง กับการกระจายข้อมูล? ท้องถิ่นถึงโลกทั้ง (คน สถานที่ ทรัพยากร) อดีตและปัจจุบัน
ค้นคว้าข้อมูลต่างๆ ในสังคมกระจายไปทั่วอาเซียนในยุคก่อนมีเทคโนโลยีที่ ทันสมัยได้อย่างไร หรือการกระจายข้อมูลในพื้นที่ทุรกันดารในอาเซียนที่ยังไม่ เชื่อมโยงกันทางเทคโนโลยีทาได้อย่างไร (อาจใช้หนังสือพิมพ์ เพลงหรือบทกวี ในท้องถิ่นก็ได้)
148
149
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น : การเชื่อมโยงโลกกับท้องถิ่น วิชา
ผลทางการศึกษา
สังคมและ การแลกเปลี่ยนทาง ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมที่มคี วาม แตกต่างกันที่แสดงถึง ความเป็นท้องถิ่นมี หลายวิธี
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
มีเหตุผลอะไรที่คนแนะนาและ เอาของเมืองนอกมาใช้? (คน สถานที่ แนวคิด)
ให้นักเรียนวิเคราะห์แนวโน้มของที่คนในท้องถิ่นนามาใช้และส่งผลให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในชีวิตประจาวัน เช่น อาหาร เทคโนโลยีการสื่อสาร เสื้อผ้า การขนส่ง ที่อยู่อาศัย เป็นต้น
สิ่งที่มีผลกระทบกับ ความรู้หรือประสบการณ์ใหม่ แนวความคิดของคน สามารถเปลี่ยนแนวความคิด มีอะไรบ้าง (ที่ตั้ง สังคม ของคนอย่างไร? (คน แนวคิด) ครอบครัว การศึกษา ประสบการณ์ส่วน บุคคล)
ตามความคิดของนักเรียน เช่น ประชาธิปไตย ปัญหาสิ่งแวดล้อม ความเท่าเทียม การค้นคว้าต่างๆ มีจุดกาเนิดของการเข้ามาในอาเซียนได้ อย่างไรและมีการปรับมาใช้ในท้องถิ่นอย่างไร
149
150
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น วิชา
ผลทางการศึกษา
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด วิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น และ เป็นส่วนหนึ่งของ คณิตศาสตร์ ระบบนิเวศของโลก
โลกแบ่งระบบออกเป็น 4 ส่วน (บรรยากาศ น้า สิ่งมีชีวิต ดิน) แต่ละส่วนนี้เชื่อมโยงกันอย่างไร? และมีลักษณะอย่างไรในอาเซียน (สถานที่ ทรัพยากร)
สารวจระบบนิเวศต่างๆ ในแผนที่ รูป ตัวอักษร แสดงการเชื่อมโยงระหว่าง ระบบโลกทั้ง 4 ส่วนนั้น พร้อมค้นคว้าผลกระทบจากการหายไปของ ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
หน้าที่ พลเมืองต้องเข้าใจว่า พลเมือง สังคม ท้องถิ่นและโลก และคุณธรรม เชื่อมโยงกันอย่างไร
ภาระผูกพันของพลเมืองกับสังคม ประเทศและโลกคืออะไร? (คน สถานที่ แนวคิด)
ให้นักเรียนทางานเป็นกลุ่มเขียนรายการความรับผิดชอบของพลเมือง สาหรับสังคม ประเทศและโลก และให้นักเรียนศึกษาเรื่องบทบาทและ ความรับผิดชอบของตนเองในสังคม
150
151
วิชา ภาษาและ วรรณกรรม
ผลทางการศึกษา การอพยพของมนุษย์ มีผลกระทบกับการ กระจายภาษาใน อาเซียน
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด ทาไมภาษาในอาเซียนถึง เปลี่ยนแปลงเมื่อเวลาผ่านไป? (คน สถานที่ แนวคิด)
บทบาทของเรื่องราวที่เขียนขึ้นจาก เรื่องราวที่เขียนจาก ความทรงจาในการเข้าใจเหตุการณ์ ความทรงจาช่วยให้อดีต โลกคืออะไร? (คน แนวคิด) มีความหมาย
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา ให้นักเรียนใช้แผนที่การอพยพของกลุ่มของภาษาในอาเซียน แล้วไป สัมภาษณ์ ญาติ เพื่อน ผู้ใหญ่ แล้วทารายงานเรื่องเจ้าของภาษา (ภาษาพูด ภาษาเขียน) ที่เปลี่ยนไปตั้งแต่ผู้ถูกสัมภาษณ์ยังเป็นเด็ก การอ่านเรื่องราวที่เขียนขึ้นจากความทรงจาของคนที่ย้ายถิ่นฐาน ช่วยให้นักเรียนเข้าใจความคิดเรื่องความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ที่มีเหมือนกันระหว่างประเทศอาเซียน โดยให้นักเรียน ความเชื่อมโยงเหตุการณ์ในอดีต ให้นักเรียนสังเกตหรือวิเคราะห์ปัญหาในประเทศของตนเองในอดีตหรือ ปัจจุบัน แล้วสังเกตว่าคนแยกเป็นกลุ่มเล็กๆ ย่อยๆ เพราะคนเรามีความ สนใจ ความเชื่อ เป้าหมายและพื้นฐานที่ต่างกัน ทาให้คนที่มีความสนใจ ความเชื่อ เป้าหมายร่วมกันจะมาอยู่กลุ่มเดียวกัน
150 151
152
วิชา
ศิลปะ
ผลทางการศึกษา
คนสามารถแลกเปลี่ยน ความคิด เทคโนโลยี และความสวยงาม จากที่ต่างๆ ในโลก ได้ด้วยศิลปะ
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
คนทั่วอาเซียนสามารถแบ่งปัน ความคิดจากศิลปะอย่างไร? (คน ทรัพยากร สถานที่ แนวคิด)
สารวจงานศิลปะ เทคนิค การใช้เส้น สี และเนื้อหาเพื่อเรียนรู้ในเรื่อง ความเชื่อ
ศิลปะช่วยถ่ายทอดเทคโนโลยี ได้อย่างไร? (ทรัพยากร แนวคิด)
ให้นักเรียนทางานศิลปะที่เลียนแบบศิลปะจากสถานที่ต่างๆ ในอาเซียน และค้นคว้างานศิลปะที่ใช้เทคโนโลยีใหม่ที่แสดงการปรับตัวในที่ใหม่
ศิลปะของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แสดงออกถึงความเปลี่ยนแปลง ของความเชื่อและสิ่งที่สาคัญอื่นๆ อย่างไร? (คน ทรัพยากร แนวคิด)
ให้กาหนดระยะเวลาสาหรับทางานศิลปะเกี่ยวกับประเทศในอาเซียน ประเทศใดประเทศหนึ่ง หรือทาในประเทศไทย โดยให้งานศิลปะ แสดงออกหรือสื่อออกมาให้เห็นการเปลี่ยนแปลงในด้านความเชื่อ
150 151 152
153
วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
สุขภาพและ กายภาพ
วิธีดูแลเรื่องสุขภาพ ในท้องถิ่นสามารถ กระจายตัว ทั่วโลก และโลกสามารถ เปลี่ยนแปลงสุขภาพ ในท้องถิ่นได้
วิถีชีวิตที่ทันสมัยเปลี่ยนแปลง สุขภาพของประชากรต่างๆ ในอาเซียนอย่างไร? (คน ทรัพยากร สถานที่)
ค้นคว้าแนวโน้มในท้องถิ่นที่เกี่ยวกับโภชนาการ การทาอาหาร การเดินทางและสันทนาการ พร้อมให้นักเรียนเรียนรู้เรื่อง แนวโน้ม ของสุขภาพของโลกและเชื่อมโยงเปรียบเทียบอาเซียนกับที่อื่นๆ ในโลก
เทคโนโลยี
บางครั้งเทคโนโลยี มาแทนที่วัฒนธรรม ประเพณีของท้องถิ่น แต่ก็สามารถฟื้นฟู กลับมาได้เช่นกัน
เทคโนโลยีใหม่บางครั้งมาแทนที่ วัฒนธรรมประเพณีของท้องถิ่น แต่สามารถฟื้นฟูกลับมาได้ด้วย วิธีใดบ้าง? (ทรัพยากร แนวคิด)
ให้นักเรียนค้นคว้าเทคโนโลยีที่สามารถบันทึกภาษาที่ไม่มีคนใช้ พร้อมคิดวิธีที่จะฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมหรืออย่างอื่นในอาเซียน โดยให้ นักเรียนอ้างอิงเหตุการณ์ที่มาแทนที่วัฒนธรรมประเพณีของท้องถิ่น พร้อมทาแบบเสนอโครงการสาหรับเทคโนโลยีชนิดใหม่ที่จะอนุรักษ์ วัฒนธรรมประเพณีในท้องถิ่นนั้นด้วย
150 151 153 153
154
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย: การให้คุณค่ากับความเป็นเอกลักษณ์และความแตกต่าง
วิชา
ผลทางการศึกษา
สังคมและ ศาสนาในอาเซียนเกิด ประวัติศาสตร์ จากแรงผลักดันในอดีต และนานาชาติ ร่วมด้วย ประเพณีและความเชื่อ ท้องถิ่น
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด ศาสนาสาคัญในโลก (พุทธ คริสต์ อิสลาม ฮินดู จีน) และความเชื่อในท้องถิ่นที่มีทั่ว อาเซียน มีผลอย่างไรต่อ คุณธรรมจริยธรรม ทัศนคติและ พฤติกรรมของคนในท้องถิ่น? (คน สถานที่ แนวคิด)
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา ให้นักเรียนอ่านหนังสือเกี่ยวกับศาสนาและสารวจประเพณีเพื่อวิเคราะห์ ความเชื่อต่างๆ และเปรียบเทียบสิ่งที่คล้ายกันและต่างกัน เพื่อเรียนรู้เรื่อง การรวมอยู่ของความเชื่อในท้องที่หนึ่งและโครงสร้างของสังคม ก่อนจะไป ศึกษาถึงในระดับประเทศและประเทศต่างๆ ในประชมคมอาเซียน
154 154
155
วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
สังคมและ โลกยุคโลกาภิวัฒน์ ใครได้ผลประโยชน์จากโลก ประวัติศาสตร์ ต้องการตลาดการค้าเสรี ในยุคโลกาภิวัฒน์ และใครที่จะ (ต่อ) เสียเปรียบ? (คน ทรัพยากร)
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
ตั้งแต่สงครามเย็นจบลงในปี 1991 เศรษฐกิจของโลกเปิดตลาดการค้าเสรี ให้นักเรียนจะเลือกสินค้า 1 ชนิด (เช่น ข้าว กาแฟ ชา น้าตาล พริก) จากในประเทศตนเองหรือประเทศอื่นในอาเซียน หลังจากนั้นให้นักเรียน วิเคราะห์ว่าการค้าเสรีมีผลกระทบกับการผลิตและผู้ผลิตสินค้านี้หรือไม่ ให้นักเรียนสารวจอุปสรรคเรื่อง ค่าใช้จ่าย ผลประโยชน์และผลกระทบ ต่อสังคมของวิธกี ารทางการค้าที่ใช้อยู่ในปัจจุบันในประเทศของตนเอง เพื่อเรียนรู้ว่า คนที่ผลิตสินค้าที่ตนเองเลือกได้รับความเท่าเทียมในระบบ การค้าเสรีหรือวิธีการค้าอื่นๆ หรือไม่ ในบทเรียนนี้จะแสดงให้นักเรียนเห็นว่า โลกในยุคโลกกาภิวัฒน์สามารถ ให้ประโยชน์หรือทาให้เกิดอุปสรรคสาหรับสังคม ประเทศ และโลกอย่างไร
155
156
วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
วิทยาศาสตร์ ระบบของธรรมชาติ และ เชื่อมโยงกันทั่วโลก คณิตศาสตร์ และข้ามแดนของ ประเทศ
ทาไมการลงมือทาของมนุษย์ มีผลกระทบที่ไม่คาดคิดและ รุนแรง? (คน สถานที่ ทรัพยากร)
ให้นักเรียนเรียนรู้เรื่องผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ ต่อสังคมและท้องถิ่น แล้วนักเรียนสามารถหาวิธีงดการใช้ก๊าซคาร์บอน และพัฒนาวิธีแก้ปัญหา แล้วนักเรียนจะเข้าใจว่าก๊าซคาร์บอนที่มีอยู่ ในท้องถิ่น ไม่ได้มีผลกระทบแค่ในท้องถิ่นเท่านั้น แต่กระทบต่อทุก ประเทศในอาเซียน
หน้าที่ พลเมืองและ คุณธรรม
ระบบความเชื่อสร้างให้เกิด ความผูกพันระหว่าง คน ครอบครัว สังคม วัฒนธรรม และการเมืองอย่างไร? (คน แนวคิด)
ให้นักเรียนศึกษากรณีศึกษาและงานเขียนที่เป็นตัวอย่างของสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคนคนเดียวและกลุ่มคน ทั้งในเรื่องทางศาสนา ปรัชญาและการเมือง ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันว่ามีอะไรที่เหมือนกันบ้าง
ยุคโลกาภิวัฒน์สร้าง พื้นฐานความเชื่อที่มี ร่วมกันในท้องถิ่น ในประเทศ และโลก
156
157
วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
หน้าที่ พลเมืองและ คุณธรรม (ต่อ) ภาษาและ วรรณกรรม
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายกับเพื่อนในโรงเรียนเกี่ยวกับปัญหาของวัยรุ่น เกี่ยวกับหน้าที่พลเมือง ความอดทน ความเคารพ การศึกษา ปัญหาทางเพศ ความแตกต่างของชาติ ศาสนา และให้ร่วมกันอภิปรายวิธีสร้างความสัมพันธ์ ที่จะทาให้เป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบ
การเรียนภาษาช่วยให้ แนวคิดต่อโลกกว้างขึ้น และเหตุการณ์ในอดีต มีผลกระทบกับ วรรณกรรม
การเรียนภาษาใหม่ช่วยทาให้ โลกกว้างขึ้นอย่างไร? (คน แนวคิด)
กิจกรรม“มีคานั้นด้วยหรือ?” เป็นเกมประโยค คาและความหมายจากหลายๆ ภาษาทั่วอาเซียน โดยให้นักเรียนเขียนเรื่องสั้นโดยใช้ประโยคในภาษาต่างประเทศ แล้วให้นักเรียนคนอื่นต้องเดาความหมายของประโยคนั้น สุดท้ายนักเรียน จะอภิปรายว่า มีคาหรือประโยคไหนที่เข้าใจความหมายแต่ไม่มีในภาษา ของตนเอง และมีคาหรือประโยคไหนที่อยากแนะนาให้จาหรือนาไปใช้
152 157
158
วิชา ศิลปะ
ผลทางการศึกษา แนวโน้มของงานศิลปะ เกิดมาจากวัฒนธรรม ศิลปะท้องถิ่น และ ศิลปะสามารถเปลี่ยน แนวความคิดของท้องถิ่น และโลกได้
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
ศิลปะสะท้อนความคิดและศิลปะ สามารถสร้างหรือเปลี่ยนแปลง ความคิดได้จากข้างต้น ศิลปะ รวมสังคมที่ต่างกันไว้ได้อย่างไร? (คน แนวคิด)
วิเคราะห์แนวโน้มของศิลปะอาเซียน และให้นักเรียนเรียนรู้เรื่องต้นกาเนิด และการแพร่กระจายตัวของศิลปะ เช่น ความสวยความงาม เทคโนโลยี การเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งให้ง่ายขึ้น รวมทั้งให้นักเรียนวิเคราะห์หรือ ประเมินสิ่งที่สาคัญกับศิลปะ (เกี่ยวข้องโดยอ้อม) เช่น การค้า การเมือง และการแพร่ของศาสนา เป็นต้น
ศิลปะรวมสังคมที่ต่างกันอย่างไร และยุคโลกาภิวัฒน์เปลี่ยน บทบาทของศิลปะในท้องถิ่นไป หรือไม่? (คน แนวคิด)
ให้นักเรียนจะสารวจงานศิลปะ 1 แห่งและค้นคว้าเรื่องราวหรือเหตุการณ์ ที่สร้างแรงบันดาลใจงานศิลปะนี้ นักเรียนจะได้หาสิ่งที่เชื่อมโยงงานศิลปะ ในสถานที่นี้และเขียนเป็นรายงาน ให้นักเรียนอ่านเรื่องรามายณะทุกเวอร์ชั่นจากทั่วอาเซียน แล้วสรุปสิ่งที่ คล้ายกันและต่างกันระหว่างวัฒนธรรมจากเรื่อง
152 158 158
157
159
วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
สุขภาพ โครงสร้างในท้องถิ่นและ และกายภาพ และประเทศสามารถ ลดสิ่งที่เป็นอันตราย ต่อสุขภาพและเพิ่มสิ่ง ที่เป็นประโยชน์ได้
นโยบายท้องถิ่นสามารถลดสิ่ง ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและ สนับสนุนสิ่งที่เป็นประโยชน์ ต่อสุขภาพที่มาจากแนวโน้ม ของโลกปัจจุบันอย่างไร? (คน ทรัพยากร สถานที่ แนวคิด)
ให้นักเรียนค้นคว้า วางแผนเมือง โดยการสารวจหลายๆ เมืองในอาเซียน และใช้เป็นแรงบันดาลใจที่จะทาตามหรือไม่ควรทาตามในเรื่องใดและ แนวคิดนั้นมาจากที่ใด (เช่น การวางแผนเมืองที่เพื่อให้คนลดความอ้วน โดยมุ่งเน้นไปที่โครงสร้างทางการศึกษา เป็นต้น)
เทคโนโลยี
สื่อมีผลกระทบต่อความร่วมมือ ในสังคมและทุกประเทศ ในอาเซียนอย่างไร? (คน ทรัพยากร สถานที่ แนวคิด)
ให้นักเรียนบันทึกว่าคนในสังคมตนเองคิดอย่างไรกับสื่อทั่วโลก รวมทั้ง ให้ศึกษาผลกระทบของสื่อต่อท้องถิ่น แล้วมีผลต่อการเปลี่ยนแนวคิด ความสัมพันธ์และความร่วมมือของคนในท้องถิ่นอย่างไร สุดท้ายให้นักเรียน นาเสนอผลงาน
เทคโนโลยีมีผลกระทบ ต่อแนวคิดของ วัฒนธรรมท้องถิ่น และ ทั่วอาเซียน
152 159 158
157
160
ตัวอย่างแผนการสอน: ทาแผนที่ของสังคมตนเอง ระดับชั้น: ประถมศึกษาตอนปลาย วิชา: วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ภาพรวม ให้นักเรียนจะเก็บรูปจากสังคมตนเองเพื่อทาแผนผังความสัมพันธ์ของสังคม โดยต้อง มีลักษณะภูมิประเทศที่เป็นธรรมชาติ เช่น ภูเขา แหล่งน้า ป่าไม้ เป็นต้น รวมทั้งสิ่งที่ไม่เป็น ธรรมชาติหรือสิ่งที่คนสร้างขึ้น เช่น บ้าน ร้านค้า บริษัท เป็นต้น อีกทั้งให้นักเรียนใช้ข้อมูลนี้ วิเคราะห์ว่าสังคมตนเองเชื่อมโยงกับโลกภายนอกอย่างไร และมีอะไรบ้างที่ทาให้สังคมตนเอง แยกออกมาโลกภายนอก ความเข้าใจที่ควรได้ ภูมิภาคเชื่อมโยงและแยกสังคมจากโลกได้ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกลักษณะของคนและสถานที่ในสังคมตนเอง 2. นักเรียนสามารถบอกลักษณะทางภูมิศาสตร์ในสังคมตนเองที่สนับสนุน และเป็น อุปสรรคกับการแลกเปลี่ยนสินค้า บริการ และแนวความคิด 3. นักเรี ยนสามารถอธิบายได้ว่ า สั งคมของตนเองสามารถเชื่ อมโยงหรือแยกกั บ สังคมอื่นอย่างไร คาถามที่จาเป็น 1. ลัก ษณะภูมิ ป ระเทศมี ผลกระทบกั บ การเชื่ อมโยงของสั งคมและโลกอย่ างไร? (คน สถานที่) 2. มีอะไรบ้างที่ทาให้สังคมมีความเป็นเอกลักษณ์? (คน ความคิด) 3. ลักษณะทางภูมิศาสตร์มีผลกระทบกับการเชื่อมโยงหรือแยกสังคมออกจากกันได้ อย่างไร? (คน สถานที่)
161
อุปกรณ์/ใบงานที่ต้องการ 1. กล้องถ่ายรูป 2. กระดาษสาหรับวาดรูปและระบายสี 3. สี ปากกา พูก่ ัน 4. กระดาษแผ่นใหญ่หรือฟิวเจอร์บอร์ด 5. กระดาษชาร์ท 6. แผนที่ท้องถิ่น 7. เชือก เวลาที่ต้องใช้ 3 คาบ คาศัพท์ที่ควรรู้ 1. Community 2. Geography
สถานที่และคนที่อยู่ในบริเวณนั้น ลักษณะของภูมิภาคของโลกและบรรยากาศ
กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน ครูถามคาถามกระตุ้นความคิดของนักเรียน 1. สังคมคืออะไร 2. สังคมเรามาจากอะไร 3. สิ่งของมีการเคลื่อนย้ายเข้า-ออกจากสังคมเราอย่างไร 4. คนมีการเคลื่อนย้ายถิ่นฐานหรือย้ายที่อย่างไร 5. ข้อมูลและความคิดเคลื่อนย้ายไปจากสังคมเราอย่างไร ข้อมูลที่ให้นักเรียน ครูให้ความหมายของคาว่าสังคมและชี้แจงสิ่งที่สาคัญของสังคมท้องถิ่น ครูอธิบายว่า สังคมเป็นกลุ่มคนที่มาทากิจกรรมร่วมกันในที่แห่งเดียวกัน โดยให้ข้อมูลนักเรียนว่า “สังคม เกิดจากกลุ่มคนและลักษณะทางภูมิศาสตร์ ทั้งที่เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและเป็นสิ่ง ที่มนุษย์สร้างขึ้น”
162
ตัวอย่าง ครูให้นักเรียนดูตัวอย่างรูปสังคมที่แปะบนโปสเตอร์พร้อมอธิบายให้นักเรียนฟัง วิธีดาเนินการ คาบที่ 1 1. ให้ ค าถามกั บ นั ก เรี ย นเพื่ อ อภิ ป รายร่ ว มกั น ในหั ว ข้ อ ที่ ว่ า “สั ง คมคื อ อะไร” ระหว่างที่นักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดครูบันทึกคาตอบ 2. ให้นักเรียนเลือก 2-4 สิ่งสาคัญเกี่ยวกับสังคมตนเองที่สนใจ (ให้นกั เรียนแต่ละคน เลือกธรรมชาติที่มนุษย์สร้างขึ้น 1 อย่าง และเลือกคนหรือกลุ่มคนทีส่ าคัญในสังคม) 3. ให้ใช้กล้องถ่ายภาพไว้หรือวาดรูปลงบนกระดาษ แล้วให้นักเรียนเก็บภาพสิ่งที่ สาคัญในสังคมลงไป โดยงานนี้ให้นักเรียนไปทาเป็นงานออกนอกพื้นที่หรือทาเป็นการบ้านก็ ได้ขึ้นอยู่กับเวลาของแต่ละโรงเรียน คาบที่ 2 1. ใช้ฟิวเจอร์บอร์ดหรือกระดาษแผ่นใหญ่แสดงลักษณะทางภูมิศาสตร์ของสังคม ของนักเรียน โดยให้นักเรียนแปะรูปลงไปบนฟิวเจอร์บอร์ดนั้น (กิจกรรมนี้ควรเชื่อมโยงกับ แผนที่ และใช้เชือกเชื่อมโยงรูปกับสถานที่ก็ได้) 2. ให้นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับสถานที่หรือคนที่จะไปแปะในโปสเตอร์ 3. ครู แ ละนั ก เรี ย นร่ ว มกั น เสนอคาถามเพื่ อ อภิ ป ราย เช่ น คนและสิ่ งของมี ก าร เคลื่ อ นย้ า ยที่ เข้ า -ออกในสั งคมได้ อ ย่ างไร แล้ ว ให้ นั ก เรี ย นใช้ รู ป ของตนเองแสดงความ เชื่อมโยงภายในสังคมตนเองกับสังคมอื่นๆ
163
คาบที่ 3 1. ให้นักเรียนทบทวนลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่นัก เรียนนาเสนอไปในคาบที่แล้ ว โดยครูจะทาตารางเปรียบเทียบลักษณะทางภูมิศาสตร์บนกระดาษชาร์ท เรื่อง “ลักษณะทาง ภูมิศาสตร์ ของสังคมช่วยให้เราเชื่อมโยงกับสังคมอื่น ได้อย่างไร และลักษณะทางภูมิศาสตร์ ของสังคมเราทาให้สังคมของเราแยกเราจากสังคมอื่นอย่างไร” 2. ให้นักเรียนจะทากิจกรรม เดินชมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อตอบคาถาม 2 ข้อนั้น (กิจกรรมเดินชมแลกเปลี่ยนเรียนรู้นี้จะช่วยสร้างและแลกเปลี่ยนความคิด จากการที่นักเรียน ได้เคลื่อนไหว เคลื่อนที่และได้พูดคุยกันเพื่อนาความรู้ที่มีอยู่แล้วออกมาแลกเปลี่ยนกัน และ สร้ างพื้น ฐานสาหรั บ ความรู้ ใ หม่ ๆ ที่ เกิ ด ขึ้ น จากกิ จ กรรม หรื อ เป็ น การทบทวนก่ อ นการ อภิปรายหรือก่อนประเมิน) - ให้นักเรียนทางานเป็นกลุ่มๆ ละ 3-4 คน - แต่ละกลุ่มจะได้รับสี 1 สี เพื่อนาไปเขียนข้อมูล โดยให้เวลาแต่ละกลุ่ม 2-5 นาที เพื่ออ่านและเพิ่มเติมข้อมูลในตาราง - เมื่อ ทุก กลุ่ม เวี ยนการเขีย นข้ อมูลจนครบทุก คาถามแล้ว น าสิ่งที่ไ ด้จ า กิจกรรมมาอภิปรายร่วมกัน 3. เมื่อทาตารางเปรียบเทียบเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้นาผลการอภิปรายมาแบ่งปัน กันทั้งห้อง แล้ว ให้นั กเรี ยนเขี ยนเรื่อง ลักษณะทางภูมิ ศาสตร์ ที่ท าให้ เกิด การแลกเปลี่ย น สิ่งของและความคิดได้ยากที่สุด และลักษณะภูมิภาคที่ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนสิ่งของและ ความคิดได้ง่ายที่สุด แบบฝึกหัดแนะนา 1. กิจกรรมเรื่องรูป 2. กิจกรรมเดินชมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
164
สรุปการเรียนรู้ ให้นักเรียนแต่ละคนทา Reflection เรื่องการเชื่อมโยงสังคมตนเองกับสังคมอื่นให้ ออกมาในรูปของการเขียนอธิบายหรือการวาดรูป ในคาถามที่ว่า 1. คุณเชื่อมโยงกับสังคมอื่นอย่างไร คิดถึงที่ ที่เคยไป อาหารและเสื้อผ้ามาจากที่ใด และวิธีเรียนรู้เรื่องต่างๆ จากคนและความคิดจากที่อื่น 2. ลักษณะทางภูมิศาสตร์แบบใดที่ทาให้สังคมตนเองเชื่อมโยงกับสังคมอื่นๆ ลาบาก 3. ลักษณะทางภูมิศาสตร์แบบใดที่ทาให้สังคมตนเองเชื่อมโยงกับสังคมอื่นๆ ได้ง่าย การประเมินที่แนะนา 1. ให้นักเรียนเขียนการเชื่อมโยงกับ โปสเตอร์ของตนเองที่เป็นรูป แผนที่ แล้วตอบ คาถามว่า “สังคมคืออะไร” โดยบนโปสเตอร์ควรมีภาพประกอบ 2-4 ภาพจาก แล้วอธิบาย ว่านักเรียนแต่ละคนเกี่ยวข้องกับ ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่มนุษย์สร้ างขึ้นและคนในสังคม อย่างไรบ้าง นักเรียนควรบอกลักษณะทางภูมิศาสตร์ในแต่ละรูป ทั้งการเขียนและการพูด (การประเมินคือ 1. การเขียนอธิบาย และ 3. การนาไปใช้) 2. ให้นักเรียนอภิปรายในหัวข้อ “คนและสิ่งของมีการเคลื่อนย้ายหรือเคลื่อนที่เข้า และออกในสังคมอย่างไร” โดยจะประเมินนักเรี ยนจากการเชื่อมโยงรูปของตนเองกับ การ อภิปรายและการเขียนสะท้อนความคิด (การประเมินคือ 2. การอธิบายปากเปล่า) 3. ให้นักเรียนทาตารางเปรียบเทียบ (ที่เน้นลักษณะทางภูมิศาสตร์ของสังคมตนเอง และสั งคมอื่ น ) และท ากิจ กรรมเดิ น ชมแลกเปลี่ ยนเรี ย นรู้ เพื่ อให้ เข้ าใจว่า ลั ก ษณะทาง ภูมิศาสตร์ของสังคมตนเองสามารถเชื่อมโยงและแยกจากสังคมอื่น อย่างไร โดยจะประเมิน นักเรียนจากการเขียนและการบันทึ ก ที่แสดงถึงความเข้าใจในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง สังคมตนเองกับสังคมอื่น รวมทั้งลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนได้ง่ายหรือ ทาให้เกิดขึ้นได้ยาก (การประเมินคือ 2. การอธิบายปากเปล่า 4. แนวคิด) การประเมินต่อไป ข้อ สอบจะมีแ ผนที่ ลักษณะทางภู มิศาสตร์ แล้ว ให้ นั กเรี ยนเขี ย นคาตอบเพื่ อ บอก ลักษณะสาคัญ อาจเป็นข้อสอบแบบจับคู่หรือเติมคาในช่องว่าง (การประเมินคือ 1. การ เขียนอธิบาย 2. การอธิบายปากเปล่า)
165
คาถามสรุป 1. คน สถานที่ ความคิด เป็นส่วนหนึ่งของสังคมอย่างไร? 2. การเคลื่อนย้ายของคนและสินค้ามีผลต่อลักษณะของสังคมอย่างไร? 3. ลักษณะทางภูมิศาสตร์ช่วยเชื่อมโยงหรือแยกสังคมได้อย่างไร? การเชื่อมโยงกับวิชาอื่นๆ บทเรียนนี้สามารถเชื่อมโยงกับบทเรียนเรื่อง - ความสัมพันธ์ของสังคม - ความแตกต่าง (ของอาเซียน) กับโลก - ลักษณะทางภูมิศาสตร์ โดยวิเคราะห์หรืออภิปรายได้ว่าลักษณะทาง ภูมิศาสตร์ที่คล้ายกันในหลายพื้นที่ หรือคล้ายกับพื้นที่อนื่ ๆ ในหลายประเทศ ในอาเซียน จะเอื้อประโยชน์และมีอุปสรรคอย่างไรในการเชื่อมโยงสังคม ตนเองกับสังคมอื่น
166
ตัวอย่างแผนการสอน: การหมุนเวียนของประชากร สังคม ประเทศ ศาสนา ระดับชั้น: ประถมศึกษาตอนปลาย วิชา: หน้าที่พลเมืองและคุณธรรม ภาพรวม การใช้ชีวิตในสังคม (ครอบครัว โรงเรียน หมู่บ้าน เมือง) จากการเรียนรู้เรื่องสังคม ต่างๆ ที่ตนเองเป็นสมาชิก นักเรียนจะเข้าใจการเชื่อมโยงตนเองกับคนอื่น ความเข้าใจที่ควรได้ นักเรียนจะเข้าใจว่าสมาชิกของสังคมขึ้นอยู่กับการวางใจในคนอื่น เพื่อสิ่งที่ต้องการ และอยากได้ อีก ทั้ ง นั ก เรี ย นจะบอกลั ก ษณะผู้ ที่ ให้ ความช่ว ยเหลือ ในสั งคม เช่ น ตารวจ ดับเพลิง เป็นต้น นักเรียนเข้าใจบทบาทที่ มีในสังคมและเรียนรู้ว่า สมาชิกของสังคมมีข้อดี ต่างๆ ที่ช่วยสังคมได้ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกลักษณะผู้ช่วยในสังคมได้ 2. นักเรียนสามารถบอกได้ว่าสมาชิกในสังคมทางานร่วมกันเพื่อช่วยกันได้ คาถามที่จาเป็น 1. ทาไมคนถึงใช้ชีวิตอยู่ในสังคม? (คน และสถานที่) 2. สมาชิกในสังคมช่วยเหลือกันอย่างไร? (คน ความคิด ทรัพยากร) อุปกรณ์/ใบงานที่ต้องการ 1. กระดาษสี 2. กรรไกรและกาว 3. กระดาษโปสเตอร์ใหญ่ 4. กระดาษสีขาวใหญ่ 5. แผนที่ประเทศอาเซียน
167
เวลาที่ต้องใช้ 2 คาบ คาศัพท์ที่ควรรู้ 1. Citizen สมาชิกของสังคมหรือรัฐที่มีสิทธิและความรับผิดชอบร่วมกัน 2. Community สังคม เป็นสถานที่และคนที่อยู่ในสถานที่เดียวกัน 3. Venn diagram ไดอะแกรมวงกลมที่มีส่วนที่ทับกันแสดงถึงความเหมือนกัน กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน 1. ใครช่วยเราในสังคม? 2. เราต้องการอะไรเพื่อใช้ชีวิตในสังคม? ข้อมูลที่ให้นักเรียน ครูอธิบายนักเรียนถึงเรื่องต่อไปนี้ 1. คนมีสิ่งที่อยากได้และต้องการ 2. ผู้ช่วยในสังคมให้สิ่งที่ต้องการกับสมาชิกในสังคม ตัวอย่าง ครูสามารถแสดงวิธีใช้กระดาษสร้างบ้าน ห้างร้าน หรือส่วนอื่นๆ ของสังคม
168
วิธีดาเนินการ คาบที่ 1 1. ให้นักเรียนคิดถึงสังคมของตนเอง แล้วให้นักเรียนเสนอตัวอย่างของที่เห็นได้ใน สังคม เช่น บ้าน ร้าน โรงเรียน และวัด 2. ให้นักเรียนร่วมกันทาโปสเตอร์สังคมของตนเอง โดยใช้กระดาษสี กรรไกร กาว โดยเริ่ ม จากการวางกระดาษโปสเตอร์ แ ผ่ น ใหญ่ ล งบนพื้ น แล้ ว ให้ นั ก เรี ย นนั่ งล้ อ มรอบ โปสเตอร์ แล้วร่วมกันอภิปรายว่าจะจัดวางอย่างไรบนโปสเตอร์ โดยใช้กาวแท่งแปะงานบน กระดาษโปสเตอร์ใหญ่ 3. เมื่อทาเสร็จแล้วก็ให้นาไปติดในห้องเรียนให้ทุกคนเห็น คาบที่ 2 1. ให้ นั ก เรี ย นคิ ดถึ งโปสเตอร์ ที่ ท า โดยเฉพาะเรื่ อ งความความร่ ว มมื อ ในสั งคม พร้อมถามนักเรียนว่า นักเรียนเป็นส่วนหนึ่งของสมาชิกในสังคมหรือเป็นสมาชิกของแต่ละ ประเทศหรือไม่ 2. ให้นักเรียนดูแผนที่ของประเทศตนเอง แล้วให้นักเรียนบอกรายการว่าเรามีอะไร ที่เหมือนกับพลเมืองในประเทศอื่นๆ และอะไรที่ต่างกัน 3. ให้นักเรียนทาแผนภาพเวน แล้วอธิบายว่าเป็นวิธีแสดงความสัมพันธ์ ของ 2 กลุ่ม โดยครูแสดงวิธีใช้เวนไดอะแกรม แล้วให้นักเรียนเสนอลักษณะที่มีเหมือนกั นกับพลเมืองของ ประเทศอื่นๆ รวมทั้งลักษณะที่ต่างกัน 4. ให้นักเรียนเขียนแผนภาพของตนเอง แบบฝึกหัดแนะนา ครูแนะนาการทาโปสเตอร์
169
สรุปการเรียนรู้ แสดงแผนภาพของเวน พร้อมทั้งให้นักเรียนติชมและเสนอแนะผลงานของเพื่อน การประเมินที่แนะนา 1. ให้นักเรียนทาโปสเตอร์ที่มี บ้าน ร้าน โรงเรียน วัดและอื่นๆ ในโปสเตอร์ควรจะ เป็นสังคมจริงๆ และนักเรียนแต่ละคนควรอธิบายว่าทารูปไปเพื่ออะไร และมีผลอะไรต่อชีวิต ของเรา (การประเมินคือ 1. การเขียนอธิบาย และ 2. การอธิบายปากเปล่า ) 2. ให้นักเรียนทาแผนภาพเวน เปรียบเทียบสิ่งที่นักเรียนต้องการกับสิ่งที่คนอื่นใน ประเทศตนเองต้องการ อีกทั้งนักเรียนควรอธิบายเหตุผลในการอภิปรายและการเขียนบันทึก การสะท้อนความคิดที่ตอบคาถาม 2 ข้อว่า: (1) ทาไมคนถึงใช้ชีวิตอยู่ในสังคม (2) สมาชิกใน สังคมช่วยกันอย่างไร (การประเมินคือ 2. การอธิบายปากเปล่า 4. แนวคิด) การประเมินต่อไป ให้นักเรียนสะท้นความคิดเรื่องการนาเสนอของผู้บรรยายพิเศษที่เป็นสมาชิกในสังคม นาเสนอเรื่อง บทบาทในสังคม วิทยากรควรมาจากหลายส่วนของสังคม ครูควรช่วยนักเรียน เตรียมคาถามที่จะถามวิทยากร โดยเน้นคาถามต่อไปนี้: “สมาชิกในสังคมช่วยกันอย่างไร” “คนในสังคมมีบทบาทอะไรและ ได้ผลประโยชน์อย่างไร (การประเมินคือ 2. การอธิบาย ปากเปล่า 4. แนวคิด) คาถามสรุป 1. คนได้ผลประโยชน์อย่างไรจากการเป็นสมาชิกในสังคม? 2. สิ่งที่ต้องการต่างกันอย่างไรระหว่างสังคม? การเชื่อมโยงกับวิชาอื่นๆ บทเรียนนี้สามารถเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์สังคม โดยสารวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลง พลเมืองในสถานที่และเวลาที่ต่างกัน
170
ใบงาน : แผนภาพของเวน
171
ตัวอย่างแผนการสอน: สิทธิและความรับผิดชอบของห้องเรียน ระดับชั้น: มัธยมศึกษาตอนต้น วิชา: หน้าที่พลเมืองและคุณธรรม ภาพรวม ให้นักเรียนทางานเป็นกลุ่ม และเขียนรายการความรับผิดชอบของพลเมืองสาหรับ สังคม ประเทศและโลก และนักเรียนเรียนรู้เรื่องบทบาทและความรับผิดชอบของตนเองใน สังคม วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกความหมายของคาว่า สิทธิและความรับผิดชอบได้ 2. นักเรียนสามารถบอกภาระหน้าที่ของคนที่มีต่อสังคมได้ คาถามที่จาเป็น ภาระผูกพันของพลเมืองกับสังคม ประเทศและโลกคืออะไร? (คน สถานที่ แนวคิด) อุปกรณ์/ใบงานที่ต้องการ 1. กระดาษ 2. ปากกกา 3. กระดาษโปสเตอร์ใหญ่ 4. อินเตอร์เน็ต - www.brainpopjr.com - Scholastic.com (http://teacher. scholastic.com)
172
www.brainpopjr.com
Scholastic.com
173
เวลาที่ต้องใช้ 2 คาบ คาศัพท์ที่ควรรู้ 1. Citizen 2. Community 3. Right 4. Responsibility
สมาชิกของสังคมหรือรัฐที่มีสิทธิและความรับผิดชอบร่วมกัน สังคม เป็นสถานที่และคนที่อยู่ในสถานที่เดียวกัน สิทธิที่เกี่ยวกับกฎหมาย บทบาทและภาระผูกพันของพลเมือง
กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน ให้นักเรียนนาเสนอตัวอย่างกฎในโรงเรียนที่ต่างกับกฎที่บ้าน แล้วถามนักเรียนว่า ทาไมสถานที่ต่างกันจึงมีกฎที่ต่างกัน และนี่แปลว่ามีความคาดหวังที่ต่างกัน ข้อมูลที่ให้นักเรียน ครูคุยกับนักเรียนเรื่องเอกสารที่แสดงสิทธิและความรับผิดชอบในสังคม โรงเรียน หมู่บ้านและประเทศ ตัวอย่าง ดูใบงาน
174
วิธีดาเนินการ คาบที่ 1 1. ครูให้ความหมายของคาว่า พลเมือง เป็นสมาชิกของสังคม 2. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มเล็กๆ และให้นักเรียนระดมสมองเรื่อง: - สังคมคืออะไร? - สมาชิกของสังคมคือใคร? 3. ครูกับนักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า สังคมแยกจากภูมิภาค (ท้องถิ่น กับโลก) หรือ แยกเป็นกลุ่มที่มีคนในกลุ่มที่มีความสนใจและเป้าหมายเหมือนกัน สมาชิกของสังคมมีความ รับผิดชอบในการปกป้องสังคมของตนเอง แล้วให้นักเรียนนาเสนอสังคมต่างๆที่ ตนเองเข้า ร่วม (เช่น ครอบครัว ศาสนา โรงเรียน หมู่บ้าน) 4. ครู แ ละนั ก เรี ย นร่ ว มกั น อภิ ป รายเรื่ อ งความแตกต่ างระหว่ า งสิ ท ธิ แ ละความ รับผิดชอบ คาบที่ 2 1. ให้นักเรียนทั้งห้องร่วมกันเขียนสิทธิ หน้าที่และความรับผิดชอบของห้องเรียน 2. อภิปรายเรื่องสิทธิของนั กเรียนแต่ละคน และความรับผิดชอบที่จาเป็นเพื่อการ ปกป้องสิทธิของตนเอง 3. ให้นักเรี ยนเขียนกฎที่ปกป้ องสิทธิ์ ข องนักเรียน และให้นักเรียนทุกคนเซ็นชื่อ (ดูใบงานเป็นตัวอย่าง) แบบฝึกหัดแนะนา การเขียนสิทธิ หน้าที่และความรับผิดชอบของห้องเรียน
175
สรุปการเรียนรู้ ทุกวัน ก่อนเลิก เรีย นให้ นักเรี ยนสะท้อ นความคิ ด เกี่ ยวกับ การปฎิบั ติตามสิท ธิและ หน้าที่รับผิดชอบของห้องเรียนได้อย่างไร เช่น “เก็บของที่ใช้วันนี้ให้เรียบร้อย” หรือ “ไม่คุย กันตอนทาการบ้าน” การประเมินที่แนะนา 1. ให้นัก เรีย นทาแผนภาพความคิด เรื่อ งสิท ธิและความรั บผิ ด ชอบของตนเองใน ห้องเรียน ที่บ้านและในสังคม (การประเมินคือ 1. การเขียนอธิบาย และ 2.อธิบายปากเปล่า) 2. ให้ นั ก เรี ย นเขี ย นสิ ท ธิ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของห้ อ งเรี ย น หลั งจากที่ ค รู ตรวจสอบแล้วให้ปริ้นท์และติดไว้ในห้อง พร้อมกับให้นามาสะท้อนความคิดกับนักเรียนเรื่อง การปฎิบัติตามกฎ ทั้งในห้องเรียน ครอบครัวและสังคม เมื่อเวลาผ่านไปครูสามารถอภิปราย ประโยชน์ที่แต่ละคนและทั้งห้องได้รับจากการเคารพสิทธิและความรับผิดชอบของตนเอง (การประเมินคือ 3. การประยุกต์ 6. รู้จักตนเอง) การประเมินต่อไป ให้นักเรียนเลือกกฎที่สาคัญจากสิทธิและความรับผิดชอบของห้องเรีย น พร้อมปริ้นท์ ออกมาแบ่งกับห้องเรียนอื่นๆ และที่บ้าน (การประเมินคือ 3. การประยุกต์ 4. แนวคิด) คาถามสรุป 1. สิทธิและความรับผิดชอบของตนเองต่อครอบครัว โรงเรียนและสังคมคืออะไร? 2. การเข้าใจและเคารพสิทธิและความรับผิดชอบมีประโยชน์ อย่างไร ทั้งต่อตัวเรา และต่อสังคม? การเชื่อมโยงกับวิชาอื่นๆ กิจกรรมนี้สนับสนุนวิชาสังคมและความคิดที่ทุกคนมีสิทธิที่เป็นของตนเองมี และก็มี ความรับผิดชอบในฐานะที่เป็นพลเมืองของสังคม ของประเทศและของโลกด้วย
176
ตัวอย่างแผนการสอน: ประวัติศาสตร์จากแนวความคิดของคนอพยพ ระดับชั้น: มัธยมศึกษาตอนต้น วิชา: ประวัติศาสตร์และสังคม ภาพรวม การอ่ านเรื่ องราวที่เขี ยนขึ้ นจากความทรงจาของคนที่ อพยพย้ ายถิ่ นฐาน ช่วยให้ นั ก เรี ย น เข้ า ใจความคิ ด เรื่ อ งความแตกต่ า งระหว่ า งวั ฒ นธรรมและประวั ติ ศ าสตร์ ที่ มี เหมือนกันระหว่างประเทศอาเซียน บทเรียนนี้จะทาให้นักเรียนมีความเชื่อมโยงถึงเหตุการณ์ ในอดีต และสอนนักเรียนเรื่องปัญหาในประเทศของตนเอง สังเกตประเทศหรือสังคมใดก็ได้ ในอดีตหรือปัจจุบัน และสามารถสังเกตว่าคนแยกเป็นกลุ่มเล็กๆ เพราะคนมีความสัมพันธ์กับ เป็นคนที่มีความสนใจ ความเชื่อ เป้าหมายหรือพื้นฐานร่วมกัน บางครั้งสมาชิกในกลุ่มเลือก ไม่ได้ แต่เราสามารถเกิดในกลุ่มได้ เช่น สัญชาติ เพศ หรือครอบครัว ความเข้าใจที่ควรได้ เรื่องราวที่เขียนขึ้นจากความทรงจา ช่วยให้อดีตมีความหมาย วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายวัตถุประสงค์ของเรื่องราวที่เขียนขึ้นจากความทรงจาได้ 2. นักเรียนสามารถบอกลักษณะและอธิบายจุดสาคัญในประวัติศาสตร์ของประเทศ ในอาเซียนได้ 3. นักเรียนสามารถบอกลักษณะสิ่งที่คล้ายกัน และต่างกันระหว่างวัฒนธรรมของ ประเทศในอาเซียนได้ 4. นักเรียนเข้าใจอุปสรรคที่คนอพยพในประเทศอาเซียนได้ 5. นักเรียนสามารถบอกลักษณะคุณลักษณะที่เชื่อมโยงประเทศอาเซียนได้ 6. นักเรียนเข้าใจสิ่งที่เหมือนกันระหว่างประเทศอาเซียนได้ 7. นักเรียนจะเข้าใจความคิดเรื่องความเป็นเอกลัก ษณ์ของวัฒนธรรมและการสร้าง ชาติจากการอ่านเรื่องราวที่เขียนขึ้นจากความทรงจาได้
177
คาถามที่จาเป็น 1. โลกในยุคโลกาภิวัฒน์ส่งผลกระทบอะไรกับประเทศอาเซียน ทั้งในท้องถิ่นและทั้ง ประเทศ? (คน สถานที่ ทรัพยากร) 2. มี ป ระเพณี แ ละวั ฒ นธรรมอะไรบ้ า งที่ มี เ หมื อ นกั น หลายๆ ประเทศในอาเซี ย น? (คน ความคิด) 3. เอกลักษณ์ของเราสร้างจากตัวเราเองได้อย่างไร และเอกลักษณ์ของเราเองมาจากคน อื่นหรือข้างนอกอย่างไร? (คน ความคิด) อุปกรณ์/ใบงานที่ต้องการ: 1. เรื่องราวที่เขียนขึ้นจากความทรงจาของคนที่อพยพ (ครูเลือกเพื่อเน้นบางกลุ่ม หรือบางแนวความคิด) 2. ดินสอ ปากกา 3. กระดาษชาร์ทใบงานเรื่องราวที่เขียนขึ้นจากความทรงจา 4. ใบงานเรื่องประชากรของประเทศอาเซียน 5. ใบงานเรื่องอาชีพอาเซียน 6. ใบงานเรื่องชนิดของรัฐบาล 7. ใบความรู้อธิบายความหมายของคาศัพท์ยาก เวลาที่ต้องใช้ 1 คาบเรียน
178
คาศัพท์ที่ควรรู้ 1. Migrant คนที่เดินทางไปที่ใหม่เพื่อใช้ชีวิตหรือทางาน 2. Immigrant คนที่มาประเทศใหม่หรือสังคมใหม่เพื่อใช้ชีวิตระยะยาว 3. Memoir เรื่องราวที่เขียนขึ้นจากความทรงจา 4. Government รัฐหรือกลุ่มที่บัญญัติกฎหมาย 5. Occupation อาชีพ 6. Population อประชากรหรคนที่อยู่ในเมืองประเทศหรือพื้นที่เดียวกัน 7. Community สังคมหรือสถานที่ที่คนอยู่ร่วมกัน 8. Globalization สภาวะที่มาจากเสรีทางการค้า การเงิน และความคิด 9. Cultural diversity ความแตกต่างในวิถีชีวิตและความเชื่อที่ส่งต่อจากรุ่นสู่รุ่น กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน ครูให้นักเรียนลองคิดและตอบคาถามดังต่อไปนี้ 1. เรื่องราวที่เขียนขึ้นจากความทรงจาคืออะไร 2. มีวันหยุดและประเพณีอะไรที่คุณฉลองกับครอบครัว 3. สังคมตนเองเชื่อมโยงทางกายภาพกับสังคมอื่นอย่างไร 4. ความแตกต่างระหว่างการเรี ย นรู้ เรื่ องเหตุ ก ารณ์ ใ นอดี ตจากการอ่านกั บ การ เรียนรู้จากแหล่งอื่นๆ เช่น เอกสาร หนังสือ ประวัติศาสตร์ คืออะไร 5. เรื่องราวที่เขียนขึ้นจากความทรงจามีอะไรที่แหล่งอื่นไม่มี และเรื่องราวจากแหล่ง อื่นมีอะไรที่เรื่องราวที่เขียนขึ้นจากความทรงจาไม่มี ข้อมูลที่ให้นักเรียน ครูมีเรื่องราวที่เขียนขึ้นจากความทรงจาหลายๆ เล่มและให้นักเรียนคิด เช่น สภาวะ การเงิน การเมือง วัฒนธรรม ศาสนาและพรรคที่ต่างกันในประเทศอาเซียน ตัวอย่าง ครูเป็นตัวอย่างของการดึงข้อมูลและแนวคิดจากเรื่องที่เขียนขึ้นจากความทรงจาได้
179
วิธีดาเนินการ 1. ครูให้ทางานเป็นคู่ แล้วนักเรียนจะไปตามสถานีเพื่อค้นหาคาตอบ ในแต่ละสถานี นักเรียนจะอ่านบางส่วนของเรื่องราวที่เขียนขึ้นจากความทรงจา 1 เล่ม หลังจากอ่านเสร็จ นักเรียนจะเขียนความคิดบนกระดาษชาร์ท ที่ถามคาถามต่อไปนี้: - เรื่องนี้เล่าเรื่องใคร - อุปสรรคหรือความขัดแย้งในเรื่องนี้คืออะไร 2. พยายามเชื่อมโยงกับประสบการณ์ในเรื่องโดยการต่อประโยคให้สมบูรณ์ - เรื่องมี่เพิ่งอ่านทาให้คิดถึง เวลาที่ได้ร่วมหรือถูกแยก…………. - ตกลงกับ/เข้าใจเรื่องที่เพิ่งอ่านเพราะในชีวิต………………… - เรื่องนี้พูดถึงเหตุการณ์อะไรในอดีต - เรื่องนี้เกี่ยวข้องกับประวัติของประเทศตนเองอย่างไร แบบฝึกหัดแนะนา หลังจากการชมสถานีค้นพบนักเรียนจะตอบคาถามที่ผ่านมา สรุปการเรียนรู้ หลังจากการชมสถานีค้นพบ นักเรียนจะร่วมกันแบ่งปันคาตอบ โดยครูจะนากระดาษ ชาร์ทไปแปะบนกระดานหรือกาแพงห้องและอภิปราย แบบฝึกหัดส่วนตัว ให้นักเรียนจะเขียนบทความสะท้อนความคิด โดยให้นักเรียนจะแบ่งปันการสะท้อน ความคิดกับคู่ของตนเองและทั้งห้องร่วมกัน นอกจากนี้ครูควรทาบอร์ดเพื่อแปะบทความการ สะท้อนความคิดด้วย
180
การประเมินที่แนะนา 1. ให้นักเรียนชมสถานีค้นพบอย่างน้อย 3 สถานีและตอบคาถาม 6 ข้อเพื่อแสดง ความเข้าใจแนวคิดต่า งๆ จากกลุ่มที่ต่างกันรวมถึงสภาพการเงิน และการเมืองในประเทศ อาเซียน โดยนักเรียนควรนาเสนอว่า เหตุการณ์ใ นอดีตเกี่ยวข้องกับตนเองและสังคมและ ประเทศตนเองอย่างไร (การประเมินคือ 4. แนวคิด 5. ความเข้าใจความคิด) 2. ให้นั กเรี ยนทาบอร์ ดที่เน้น สิ่ งที่ เหมื อนกันระหว่ างประเทศอาเซีย นที่ เห็น จาก เหตุการณ์ในอดีตในเรื่องราวที่เขียนขึ้นจากความทรงจาที่มีคู่กับ กระดานชาร์ทจากสถานี ค้น พบ เป็ นการสะท้ อ นความคิ ด ของนั กเรี ย นที่ แ สดงความเข้าใจแนวคิด ต่ างๆ และการ เชื่อมโยงตนเองถึงสังคม (การประเมินคือ 4. แนวคิด 5. ความเข้าใจความคิด) 3. ให้นักเรียนเขียนบทความสะท้อนความคิดเรื่อง ผลจากเรื่องราวที่เขียนขึ้นจาก ความทรงจา และ แนวความคิด ของเพื่ อนมีต่อแนวความคิดของตนเอง (การประเมินคื อ 4. แนวความคิด 6. เข้าใจตนเอง) คาถามสรุป 1. เรื่องราวที่เขียนขึ้นจากความทรงจาแสดงอะไรที่แหล่งอื่น (เอกสารประวัติศาสตร์ รายงานข่าว) และอะไรที่ไม่แสดง? 2. เรื่ อ งราวที่ เขี ย นขึ้ น จากความทรงจ าแสดงสิ่ ง ที่ คล้ า ยกั น และต่ า งกั น ระหว่ า ง วัฒนธรรมอย่างไร? 3. เรื่ อ งราวที่ เ ขี ย นขึ้ น จากความทรงจ าช่ ว ยให้ ผู้ อ่ า นจ าหรื อ เปลี่ ย นแปลง แนวความคิดของตนเองอย่างไร? การเชื่อมโยงกับวิชาอื่นๆ วิชาสังคมและหน้าที่พลเมืองและคุณธรรม ในบทที่ 1: รู้จักอาเซียน นักเรียน สามารถสารวจว่าความคิดอาเซียนรวมความคิดเรื่อง ความแตกต่างของวัฒนธรรมและการ เป็ นอิ สระ นัก เรี ยนสามารถวิเคราะห์ สิ่งที่ เหมือ นกั นในประสบการณ์ และอุ ปสรรคของผู้ อพยพในประเทศอาเซียน จากการสอนนักเรียนเรื่องเอกลักษณ์ที่คล้ายกันและวัฒ นธรรมที่ ต่างกัน นักเรียนสามารถเข้าใจว่าเอกลักษณ์ที่คล้ายกันและวัฒนธรรมที่ต่างกันช่วยให้ถึ ง เป้าหมายขององค์กรที่รวมกันเป็นหนึ่งเดียว สาหรับความยั่งยืนและความร่วมมือระหว่าง ประเทศ
181
ใบงาน : เรื่องราวที่เขียนขึ้นจากความทรงจา 1 มองประเทศหรือ สั งคมตนเองในอดี ต หรือ ปั จจุ บั น และคุ ณ สามารถสารวจว่ าคน แยกตัวเป็นกลุ่มเล็กๆ เป็นสิ่งที่เลือกได้ เพราะคนมีความสัมพันธ์กับคนที่มีความสนใจ ความ เชื่อ เป้าหมายหรือพื้นฐานเหมือนกัน เรื่องราวที่เขียนขึ้นจากความทรงจาเป็นอัตถชีวประวัติ ชนิ ดพิ เศษที่ เ ล่ า เรื่ อ งส่ ว นหนึ่ งของชี วิ ต ของผู้ เ ขี ย นที่ เ กี่ ย วกั บ คนหรื อ เหตุ ก ารณ์ ใ นอดี ต เรื่องราวที่เขียนขึ้นจากความทรงจา เป็นเรื่องที่มาจากประสบการณ์หรือความรู้ของผู้เขียน คาสั่ง ก่อนเริ่มเรียนเรื่องเรื่องราวที่เขียนขึ้นจากความทรงจาและความสาคัญของเรื่องราวที่ เขียนขึ้นจากความทรงจาในความเข้าใจ เอกลักษณ์ของวัฒนธรรมตอบคาถามต่อไปนี้ จาว่า คุณต้องคิดถึงคาถามเหล่านี้ในอนาคตและเปรียบเทียบคาตอบ เรื่องราวที่เขียนขึ้นจากความทรงจาคืออะไร มีวันหยุดและประเพณีอะไรที่คุณฉลองกับครอบครัว สังคมตนเองเชื่อมโยงทางกายภาพกับสังคมอื่นอย่างไร ความแตกต่างระหว่างการเรียนรู้เรื่องเหตุการณ์ในอดีตจากการอ่านเรื่องราวที่ เขียนขึ้นจากความทรงจา และการเรียนรู้จากแหล่งอื่นๆ เช่น เอกสาร หนังสือ ประวัติศาสตร์ คืออะไร เรื่องราวที่เขียนขึ้นจากความทรงจามีอะไรที่แหล่งอื่นไม่มี แหล่งอื่นมีอะไรที่ เรื่องราวที่เขียนขึ้นจากความทรงจาไม่มี
182
ใบงาน : เรื่องราวที่เขียนขึ้นจากความทรงจา 2 “มีเงินพอใช้ชีวิตจากสิ่งที่หามาได้และสร้างชีวิตจากสิ่งที่ให้” Winston Churchill คาสั่ง แต่ละสถานีจะมี 1 เรื่องที่มาจากหนังสือ ชื่อว่า Me to We: Finding Meaning in a Material World, โดย Craig and Mark Kielburger หนังสือเล่มนี้สะสม เรื่องราวที่คนเขียนพยายามช่วยเปลี่ยนโลกให้ดีขึ้น คุณจะอ่านแต่ละเรื่องเงียบๆ และเขียน การตอบสนองถึงเรื่องที่ได้อ่าน คาถามที่ต้องตอบหลังจากอ่านเสร็จ: - เรื่องนี้เล่าเรื่องใคร - อุปสรคหรือความขัดแย้งในเรื่องนี้คืออะไร - เชื่อมโยงกับประสบการณ์ในเรื่องโดยการ ต่อประโยคให้สมบูรณ์ เรื่องที่เพิ่งอ่านทาให้คิดถึง เวลาที่ได้ร่วมหรือถูกแยก…………. ตกลงกับ/เข้าใจ เรื่องที่เพิ่งอ่าน เพราะในชีวิต………………… เรื่องนี้พูดถึงเหตุการณ์อะไรในอดีต เรื่องนี้เกี่ยวข้องกับประวัติของประเทศตนเองอย่างไร เมื่อ อ่านและเขีย นเสร็จ คุ ณจะวางกระดาษที่ เขี ยนไว้และย้ายไปสถานีต่อ ไป และ ทาซ้า (อ่านเรื่องและเขียนการตอบสนอง) แต่คราวนี้ต้องอ่านการตอบสนองของเพื่อนที่เขียน ความคิดเกี่ยวกับเรื่องราวและการตอบสนอง เราเห็นด้วยกับที่เพื่อนเขียนหรือไม่ พร้อมให้ เหตุผลที่ชัดเจน (พยายามเขียนให้ชัดเจนที่สุด และไม่ต้องลงชือ่ ในการเขียนการตอบ)
183
ตัวอย่างแผนการสอน: ติดตามการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ระดับชั้น/วิชา: มัธยมศึกษาตอนปลาย/วิทยาศาสตร์ ภาพรวม การเรียนรู้เรื่องผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศต่อสังคมท้องถิ่น นักเรียนสามารถคิดวิธีงดการใช้ก๊าซคาร์บอนและพัฒนาวิธีแก้ปัญ หา นักเรียนจะเข้าใจว่า การส่ ง ของคาร์ บ อนของท้ อ งถิ่ น ไม่ ไ ด้ มี ผ ลกระทบแค่ ใ นท้ อ งถิ่ น แต่ จ ะมี ผลกระทบต่ อ ทุกประเทศของอาเซียน ความเข้าใจที่ควรได้ ระบบของธรรมชาติเชื่อ มโยงกัน ทั่ วโลก เมื่อ มี การเปลี่ ยนแปลงสภาพอากาศที่ มี สาเหตุมาจากธรรมชาติและมนุษย์ การเปลี่ยนแปลงนี้จะส่งผลกระทบต่อสังคม การเกษตร อุตสาหกรรมและสิ่งแวดล้อมโดยตรง วัตถุประสงค์การเรียนรู:้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายเรื่องชั้นของบรรยากาศได้ 2. นักเรียนสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างคาร์บอนไดออกไซด์และอุณหภูมิได้ 3. นักเรียนสามารถอธิบายบทบาทของต้นไม้ที่ช่วยให้ระดับคาร์บอนไดออกไซด์ใน อากาศให้ลดลงและบอกความสาคัญของต้นไม้ในการรักษาอุณหภูมิให้สมดุลได้ 4. นักเรียนบอกได้ว่าคาร์บอนไดออกไซด์ผลิตออกมาได้อย่างไร 5. นักเรียนสามารถเปรียบเทียบกราฟที่แสดงรูปแบบก๊าซที่เก็บความร้อนของโลก และการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิโลกได้ 6. นักเรียนสามารถอธิบายสาเหตุที่เกิดพายุ ภัยแล้งหรือความผันผวนของอุณหภูมิที่ เกิดขึ้นในประเทศตนเองและประเทศอื่นๆในอาเซียนได้
184
คาถามที่จาเป็น 1. ทาไมการกระทาของมนุษย์จงึ มีผลกระทบที่ไม่คาดคิดและรุนแรง? (คน สถานที่ ทรัพยากร) 2. ทาไมการเก็บข้อมูลในระดับท้องถิ่น จึงมีความจาเป็นสาหรับการทาความเข้าใจ สิ่งที่เปลี่ยนแปลงในโลก? (คน แนวความคิด ทรัพยากร) อุปกรณ์/ใบงานที่ต้องการ: 1. เครื่องฉายสไลด์ที่แสดงถึงระดับชั้นบรรยากาศ 2. แผนที่ภูมิอากาศของประเทศอาเซียน 3. กราฟที่แสดงความผันผวนของคาร์บอนไดออกไซด์และอุณหภูมิ 4. ข้อมูลสภาพอากาศของอาเซียนตัง้ แต่จากอดีต เวลาที่ต้องใช้ 6 คาบ คาศัพท์ที่ควรรู้ : 1. Climate Change 2. Carbon Footprint 3. Heat Trapping Gasses 4. Troposphere 5. Mesosphere
6. Thermosphere 7. Exosphere 8. Greenhouse Effect 9. Isotope
การเปลี่ยนแปลงระยะยาวของภูมิอากาศโลก จานวนคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมา ก๊าซที่ที่บรรยากาศของโลกที่ทาให้โลกร้อนขึ้น ช่วงใต้ของบรรยากาศของโลก สูงสุดประมาณ 6-10 กิโลเมตรจากพื้นโลก ช่วงของบรรยากาศของโลก ที่อยู่สูงกว่า Stratosphere และต่ากว่า Thermosphere สูงประมาณ 50-80 กิโลเมตร ช่วงของบรรยากาศที่อยู่สูงกว่า Mesosphere และต่ากว่า ช่วงที่บรรยากาศสิ้นสุด ช่วงสูงสุดของบรรยากาศ การเก็บความร้อนในช่วงล่างบรรยากาศของโลก เป็นชนิดของธาตุเดียวที่มีโปรตอนเท่ากัน แต่จานวนนิวตรอนไม่เท่ากัน
185
กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน ถามคาถามต่อไปนี้ โดยใช้รูปชั้นบรรยากาศประกอบ 1. ชั้นไหนของบรรยากาศที่มีคาร์บอนไดออกไซด์? 2. คาร์บอนไดออกไซด์ผลิตจากอะไร มีแหล่ งใดที่มาจากธรรมชาติ และแหล่ง ใดมา จากมนุษย์? 3. บทบาทของต้น ไม้ ในการลดคาร์ บ อนไดออกไซด์ คือ อะไร? (ปั ญ หาการตัดไม้ ทาลายป่า) 4. เครื่องฉายสไลด์คาร์บอนไดออกไซด์กับอุณหภูมิ ข้อมูลที่ให้นักเรียน ครู อ ธิบ ายชั้น ของบรรยากาศและการเปลี่ ยนแปลงทางเคมี รวมทั้ง อธิบ ายความ แตกต่ า งระหว่ า งสภาพอากาศและภู มิ อ ากาศ โดยข้ อ มู ล น ามาจากลิ้ ง ค์ เ ว็ บ ไซต์ จ าก วิธีดาเนินการ ตัวอย่าง ครูแสดงตัวอย่างวิธีเปรียบเทียบข้อมูลและอ่านรูปและแผนภาพ
186
วิธีดาเนินการ คาบที่ 1และ 2 1. ใช้เครื่องฉายสไลด์ฉายระดับชั้นของบรรยากาศ 2. ให้นักเรียนวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างชั้นบรรยากาศ รวมถึงอุณหภูมิ ความ หนา ความสูงและส่วนประกอบของชั้นบรรยากาศ 3. ให้นักเรียนทารายงานเรื่องชั้นบรรยากาศ คาบที่ 3-4 ดูแผนการสอนออนไลน์และทาตามคาแนะนา 1. ครูจะสอนเรื่อง ระบบคาร์บอน นักเรียนจะวาดแผนภาพของระบบนี้ - http://gk12.asu.edu/node/45, - http://depts.washington.edu/oacis/lessonplans.html, and - http://www.calacademy.org/teachers/resources/lessons/ Carbon-Cycle-Roleplay-3-12/ 2. ครูจะสอนเรื่อง สภาวะเรือนกระจก นักเรียนจะโฟกัสเรื่อง Troposphere และ อภิปรายเรื่อง โลกเหมือนสภาวะเรื่อนกระจก - http://learningtogive.org/lessons/unit372/lesson1.html - http://astroventure.arc.nasa.gov/teachers/pdf/AVAtmoslesson-3.pdf, and - http://www.pbs.org/now/classroom/globalwarming.html
187
3. ครูจะสอนเรื่อง การวัดการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ก่อนประวัติศาสตร์ เช่น การนับวงปีของต้นไม้ น้าแข็งจากใต้บ่อน้า เกสร อัตราส่วนระหว่างไอโซโทปกับ ออกซิเจนในธารน้าแข็ง เป็นต้น - http://www.smithsonianeducation.org/educators/lesson_plan s/idealabs/prehistoric_climate_change.html, - http://alex.state.al.us/lesson_view.php?id=29812 คาบที่ 5 ให้นักเรียนจะดูกราฟที่เปรียบเทียบคาร์บอนไดออกไซด์กับอุณหภูมิในช่วงเวลาสั้น และยาว แล้วให้นักเรียนสรุปเรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่มีสาเหตุมาจากธรรมชาติ (เช่น ภูเขาไฟระเบิด การเปลี่ยนแปลงของการหมุนของโลก) และสาเหตุที่เกิดจากมนุษย์ (เช่น การตัดไม้ทาลายป่า) คาบที่ 6 1. ให้ นั ก เรี ย นจะหาบทความสั้ น ๆ เรื่ อ งการเปลี่ ย นสภาพอากาศที่ เ น้ น ปั ญ หา เกี่ยวกับแหล่งที่อยู่ที่หายไปเพราะระดับน้าทะเลสูงขึ้น และผลกระทบจากการเปลี่ยนสภาพ อากาศ 2. ให้นักเรียนทางานเป็นกลุ่มเล็กๆ เพื่อทารายการสิ่งสาคัญจากบทความพร้อม นาเสนอข้อมูล สรุปการเรียนรู้ ให้นักเรียนเขียนจดหมายถึงส่วนราชการส่วนท้องถิ่นเพื่อแจ้ง เรื่องความกังวลเรื่อง การตัดไม้ทาลายป่าและผลที่มีต่อการเปลี่ยนสภาพอากาศ
188
แบบฝึกหัดส่วนตัว ให้นักเรียนจะคานวณ Carbon foot print ของตนเอง พร้อมเขียนสะท้อนความคิด เรื่องวิธีการเปลี่ยนวิถีชีวิต เพื่อลด carbon foot print และคานวนผลที่อาจจะมีกับการ ปล่อยคาร์บอนถ้าผู้คนมีการปลี่ยนวิถีชีวิต การประเมินที่แนะนา 1. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบเพื่อวัดความจาของนักเรียน (ชั้นบรรยากาศ สมบัติ ของแก็ สที่ เก็ บ ความร้ อ น) พร้ อ มให้ นั ก เรี ย นท าความเข้ าใจแนวคิ ด และกระบวนการ (ปรากฏการณ์ เรื อนกระจก การผลิ ต คาร์บ อน ระบบคาร์บ อน การเปลี่ย นสภาพอากาศ) และทากิจกรรมทักษะทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ในการวิเคราะห์กราฟที่เปรี ยบเทียบ คาร์บอนและอุณหภูมิ (การประเมินคือ 1. การเขียนอธิบาย 2. การอธิบายปากเปล่า 3. การประยุกต์) 2. ให้ นั ก เรี ย นแต่ล ะกลุ่ ม น าเสนอหลั ก ฐานที่ ส นั บ สนุ น ความคิ ด ว่ า การปล่ อ ย คาร์บอนสู่ชั้นบรรยากาศ (ทั้งจากธรรมชาติและจากมนุษย์) มีส่วนทาให้เกิดการเปลี่ยนสภาพ อากาศ และอธิ บ ายได้ ว่ า การเปลี่ ย นสภาพอากาศมี ผ ลกระทบต่ อ สั ง คมการเกษตร ภาคอุตสาหกรรมและสิ่ งแวดล้อมอย่างไร การนาเสนอนี้ควรอ้างอิ งถึงงานวิจั ย มีรูปและ ตารางประกอบด้วย (ตารางข้อมูลที่เปรียบเทียบและแสดงรูปแบบ) ส่วนการสรุปให้ออกมา ในแนวการสรุปการวิเคราะห์และการพยากรณ์อนาคต (การประเมิน คือ 2. การอธิบาย ปากเปล่า 3. การประยุกต์ 4. แนวคิด) 3. ให้นักเรียนคานวณ Carbon foot print ของตนเองและเขียนสะท้อนความคิ ด เรื่องวิธีการเปลี่ยนวิถีชีวิต เพื่อลด carbon foot print โดยนักเรียนสามารถคานวณผลที่ อาจจะเกิดจากการปล่อยคาร์บอนได้ (การประเมินคือ 3. การประยุกต์ และ 5. รู้จักตนเอง) คาถามสรุป 1. ชั้ น บรรยากาศมี บ ทบาทอะไรในการช่ ว ยให้ มี สิ่ ง มี ชี วิ ต อยู่ บ นโลก และชั้ น บรรยากาศมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรเพราะคาร์บอนไดออกไซด์? 2. การเปลี่ยนสภาพอากาศของโลกวัดได้อย่างไรและหาสาเหตุได้อย่างไร ? 3. คนสามารถเปลี่ยนวิถีชีวิตเพื่อลดการเปลี่ยนสภาพอากาศได้อย่างไร ?
189
การเชื่อมโยงกับวิชาอื่นๆ บทเรี ยนนี้สามารถเชื่อมโยงถึ งหน้ าที่ พลเมื อ งและคุณ ธรรมในบทที่ 1 การรู้ จั ก อาเซียน และบทที่ 5 การทางานร่วมกันเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน เป็นวิธีคุยเรื่องภาวะที่ประเทศที่ พัฒนาแล้วมีต่อประเทศที่กาลังพัฒนาหรือประชากรที่ตกอยู่ในอันตราย อีกทั้งวิเคราะห์วิธีที่ แต่ละประเทศแก้ปัญหาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ
190
ใบความรู้ : แผนภาพชั้นบรรยากาศ
191
ใบความรู้ : ใบงานของชั้นบรรยากาศ
192
ใบความรู้ : กราฟแสดงอุณหภูมิโลกและคาร์บอนไดออกไซด์
193
ตัวอย่างแผนการสอน: แนวโน้มของโลก-การนาเศรษฐกิจใหม่ ระดับชั้น: มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชา: ประวัติศาสตร์และสังคม ภาพรวม ตั้งแต่ สงครามเย็ นจบลงในปี 1991 เศรษฐกิจ ของโลกเปิ ด ตลาดการค้ าเสรี ให้ นักเรียนจะเลือกสินค้า 1 ชนิด (เช่น ข้าว กาแฟ ชา น้าตาล พริก) จากในประเทศตนเองหรือ ประเทศอื่นในอาเซียน หลังจากนั้นให้นักเรียนวิเคราะห์ว่าการค้าเสรีมีผลกระทบกับการผลิต และผู้ผลิตสินค้านี้หรือไม่ และให้นักเรียนสารวจอุปสรรคเรื่อง ค่าใช้จ่าย ผลประโยชน์และ ผลกระทบต่อสังคมของวิธีการทางการค้าที่ใช้อยู่ในปัจจุบันในประเทศของตนเอง เพื่อเรียนรู้ ว่าคนที่ผลิตสินค้าที่ตนเองเลือกได้ รับ ความเท่าเทียมในระบบการค้าเสรี หรือวิธีการค้าอื่นๆ หรือไม่ ในบทเรียนนี้จะแสดงให้นักเรียนเห็นว่า โลกในยุคโลกกาภิวัฒน์สามารถให้ประโยชน์ หรือทาให้เกิดอุปสรรคสาหรับสังคม ประเทศและโลกอย่างไร ความเข้าใจที่ควรได้ โลกยุคโลกาภิวัฒน์ต้องการการตลาดทางการค้าเสรี วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. ให้ นั ก เรี ย นเรี ย นรู้ โลกยุ ค โลกาภิ วั ฒ น์ เกี่ ย วกั บ การค้ าเสรี ที่ มี ผลประโยชน์ ต่ อ การเงินในสังคมและผู้ผลิตในท้องถิ่นได้ 2. ให้นักเรียนอภิปรายเป้าหมายและความเชื่อมโยงระหว่า งโลกยุคโลกกาภิวัฒน์ และการค้าเสรีได้ 3. นักเรียนอธิบายวิธีการค้าอื่นๆ (เช่น การตกลงกันการค้าเสรี มีนโยบายกีดกัน สินค้าที่อุดหนุนของรัฐ ) ว่าสามารถอยู่คู่กับนโยบายการค้าเสรีและนโยบายนี้ สนับสนุนหรือไม่สนับสนุนการค้าเสรีอย่างไรได้ 4. นักเรียนสามารถสารวจผลประโยชน์และผลเสียของนโยบายทางการค้าทุกชนิด และผลกระทบที่แต่ละนโยบายมีผลต่อการผลิตสินค้าในท้องถิ่นหรือแผ่นดินได้
194
5. นักเรียนสามารถอธิบายได้ว่าประเทศอาเซียนเน้นตลาดท้องถิ่นที่ยั่งยืนและความ มั่นคงของอาหารชาติได้ 6. นักเรียนสามารถนาเสนอข้อมูลในการประชุมสุดยอดเศรษฐกิจอาเซียนได้ คาถามที่จาเป็น 1. โลกยุ ค โลกาภิวั ฒ น์ มี ผลกระทบอย่ างไรต่ อ สั งคมและประเทศทั่ ว อาเซี ย นใน ปัจจุบัน? (คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด) 2. รัฐบาลมีความรับผิดชอบอะไรในการการันตี ว่าทุกคนมีโอกาสเท่าเทียมกันใน ระบบที่ใกล้ชิดมากกว่าอดีต? (คน แนวคิด ทรัพยากร) อุปกรณ์/ใบงานที่ต้องการ 1. AIFS Framework http://aseanfoodsecurity.asean.org/wpcontent/uploads/2011/08/aifs.pdf 2. Trade and Facilitation http://www.asean.org/archive/Fact%20Sheet/AEC/AEC-01.pdf 3. AFTA (เขตการค้าเสรีอาเซียน) http://www.asean.org/archive/pdf/BrosurAFTA.pdf เวลาที่ต้องใช้ - 2 สัปดาห์สาหรับการค้นคว้าและเตรียมตัว - 2 วันสาหรับในการประชุมสุดยอดเศรษฐกิจอาเซียน
195
คาศัพท์ที่ควรรู้ 1. Globalization 2. Free trade 3. Fair trade 4. Food commodities 5. Food security 6. Subsidy 7. Protectionism
สภาวะที่เกิดขึ้นจากการค้าเสรี การหมุนเวียน ของเศรษฐกิจและการแลกเปลี่ยนความคิด การเข้าถึงตลาดอย่างเสรีและมีอิสระที่ไม่มีภาษี หรือรัฐบาลเข้ามาเกี่ยวข้อง การค้าที่ผู้ผลิตในประเทศที่กาลังพัฒนาจนได้ราคา สินค้าที่มีความเท่าเทียม ทรัพยากรทางการเกษตรที่สามารถซื้อขายได้ สภาวะที่วัดจากการหามาได้ของอาหาร การเข้าถึง อาหารที่เหมาะสมสาหรับโภชนาการและสุขภาพ เงินที่รัฐบาลให้เพื่อช่วยเหลืออุตสาหกรรม การปกป้องอุตสาหกรรมในประเทศ โดยสินค้า ที่นาเข้าจากนอกประเทศจะต้องเสียภาษี
กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน ก่อนเริ่มโครงงานเรื่องสินค้าและอาหารอาเซียน นักเรียนควรค้นคว้าคาศัพท์และ อภิปรายความหมายเสียก่อน โดยครูนานักเรียนอภิปรายคาถามต่อไปนี้: 1. โลกาภิวัฒน์คืออะไร? 2. การค้าเสรีคืออะไรและเชื่อมโยงกับโลกาภิวัฒน์อย่างไร? 3. การค้าที่ยุติธรรมคืออะไร? 4. สินค้าประเภทอาหารคืออะไร? 5. เงินสมทบคืออะไร? 6. ใครให้เงินสมทบ ให้ใคร และให้ทาไม? 7. การปกป้องทางการค้าคืออะไร?
196
ข้อมูลที่ให้นักเรียน ครูทบทวนร่วมกับนักเรียนเรื่องเส้นทางการค้าในอดีต โดยการศึกษาจาก - แผนที่การค้าจากปี 500-1800 CE - บุคคลที่เกี่ยวข้อง (บุคคล บริษัท รัฐวิสาหกิจ) - บุคคลที่ใช้เส้นทางนี้ในการค้าขาย (โดยเฉพาะสินค้าอาหาร) ตัวอย่าง ครูแสดงตัวอย่างวิธีคานวณผลประโยชน์และผลเสียในหลายๆ เรื่อง วิธีดาเนินการ สัปดาห์ที่ 1 1. นักเรียนเรียนรู้เรื่องการเชื่อมโยงถึงอดีต โดยใช้แผนที่และเรื่องเล่า โดยนักเรียน จะบันทึกเส้นทางการค้าในอดีตข้ามมหาสมุทรอินเดีย เพื่อเรียนรู้ว่าใครเวลาไหน ที่ไหน และ ทาไมบุคคล บริษัท ร้า นค้าและรัฐวิสาหกิจ จากเอเชีย กลางและยุโรปถึงเดินทางมาเอเซี ย ตะวันออกเฉียงใต้ ในยุค 500-1800 CE 2. นักเรียนเรียนรู้จากกิจกรรมนี้ว่า โลกาภิวัฒน์ มีมานานกว่าที่คิด 3. นักเรียนจะเรียนรู้เรื่อง สินค้าอาหารหลายๆชนิดที่ถูกซื้อขายในเอเซียตะวันออก เฉียงใต้จาก 500-1800 CE 4. นั ก เรี ย นร่ ว มกั น อภิ ป รายว่ า การค้ าทั่ ว โลกมี ผลอะไรต่ อ คนที่ อ ยู่ ใ นประเทศ (ทางเลือก) 5. การบ้าน: นักเรียนอ่านบทความที่มีแนวคิดเรื่องโลกยุคโลกาภิวัฒน์ในปัจจุบัน
197
ขั้นตอนการทาการค้นคว้า แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มเล็กๆ ที่ครูจัดให้ แล้ว... 1. ให้นักเรียนจะทบทวนคาศัพท์ที่ยาก (ครูนา) และเน้นว่าโลกาภิวัฒ์และการค้า เสรีถูกนามาใช้ในอาเซียนอย่างไร 2. ให้นักเรียนเลือกประเทศอาเซียนมา 1 ประเทศ (โดยรวมควรมีทุกประเทศ 10 ประเทศในอาเซียน ) และสินค้า 1 ชนิดที่สาคัญต่อชาตินั้นๆ เช่น ข้าว น้าตาล พริก กาแฟ ชา ถั่วเหลืองและมันสาปะหลัง 3. ให้นักเรียนจะค้นคว้าเรื่อง สินค้าอาหารที่เลือก โดยการใช้อินเตอร์เน็ต ห้องสมุด หรือเอกสารอื่นๆ และบอกได้ว่าในยุคโลกาภิวัฒน์และการค้าเสรีมีผลกระทบอะไรต่อผู้ผลิต สินค้าอาหารเหล่านี้ในประเทศอาเซียนบ้าง 4. ให้ นัก เรีย นจะคิ ดถึ ง ปัญ หา/นโยบายต่ อไปของประเทศที่ ต นเองเลื อกและใน อาเซียน เกี่ยวกับ: - วิธีและนโยบายการค้า: ตลาดเสรี ความเท่าเทียมทางการค้า นโยบาย ปกป้องและเงินสมทบ - ปัญหาเรื่องความมั่นคงทางอาหาร - ผลประโยชน์และปัญหาของเงินเดือน - อุปสรรคของบริษัทระหว่างประเทศ - ผลประโยชน์และอุปสรรคของนโยบายการค้าทั่วโลก 5. ให้นักเรียนคิดถึงผลกระทบของผู้ผลิตสินค้าอาหารที่จะเป็นปัญหาสังคมต่อไปมี: - แรงงานเด็ก - การประกันสุขภาพ - สภาวะการมีงานทา - โอกาสทางการศึกษา
198
สัปดาห์ที่ 2 ค้นคว้าเพื่อเตรียมตัวประชุมสุดยอดเศรษฐกิจอาเซียน : 1. ให้นักเรียนแต่ละคนบันทึกและค้นคว้าข้อมูลอ้างอิงของตนเอง โดยบันทึกข้อมูล ทุกวัน (หรือใช้การ์ดบันทึกก็ได้) 2. ให้ นั กเรี ยนแบ่งปั นและวิ เคราะห์ งานที่ ค้น คว้ ามาได้ กับ เพื่อ นในกลุ่ม เพื่อ หา คาตอบว่า การค้าเสรีมีผลประโยชน์สาหรับผู้ผลิตและการผลิตสินค้าในประเทศอาเซียนที่เรา เลือกศึกษานั้นๆ อย่างไร 3. ในกรณีที่นักเรียนยังพบปัญหาจากการมีการค้าเสรีแล้ว ให้นักเรียนระบุว่าปัญหา คืออะไร เพราะอะไรจึงมีปัญหา และวิธีแก้ปัญหาในท้องถิ่น หรือในประเทศนั้นๆ คืออะไร เพื่อให้ประเทศได้รับประโยชน์มากขึ้นสาหรับผู้ผลิตสินค้าด้านอาหาร 4. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า อาเซียนช่วยสนับสนุนในเรื่องสังคมและเศรษฐกิจ ของผู้ผลิตสินค้าอาหารในประเทศได้อย่างไรบ้าง 5. จากการศึ กษาค้นคว้ าให้ นักเรียนพิ จารณาว่ า อาเซีย นควรใช้ ป ระโยชน์ ในยุ ค โลกาภิวัฒน์และการค้าตลาดเสรีได้อย่างไร ให้แยกพิจารณาแต่ละประเทศและประเภทสินค้า อาหารที่เลือกค้นคว้านั้นๆ ห้องเรียนการประชุมสุดยอดเศรษฐกิจอาเซียน สาหรับการประชุ มสุดยอดเศรษฐกิจ อาเซียนในห้องเรียน ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ ม เตรียมการรายงาน 5-10 นาทีเพื่อนาเสนอผลสรุปการค้นคว้า และสรุปด้วยว่าอาเซียนควรใช้ การค้าเสรีและโลกาภิวัฒน์ต่อไปหรือไม่ อย่างไร
199
แบบฝึกหัดที่แนะนา แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มเล็กๆ และครูเป็นผู้นากลุ่มโดยแจกใบงานที่ปริ้นท์หรือให้ นัก เรี ย นท าแบบออนไลน์ โดยสามารถให้ นั กเรี ย นทาเป็ น การบ้ าน หรื อ ให้ ท าร่ วมกั น ใน ห้องเรียนก็ได้ สรุปการเรียนรู้ นักเรียนสามารถสะท้อนความคิดจากการประชุมสุดยอดเศรษฐกิจอาเซียนในกลุ่ม ย่อ ย และสรุ ปการน าเสนอร่ ว มกัน ทั้ งห้ อ ง อาจสรุป เป็น งานเขี ยนที่ ให้ นั กเรี ยนทุ กคนส่ ง บันทึกสรุปนั้นๆ เพื่อให้ครูประเมิน แบบฝึกหัดส่วนตัว นัก เรี ยนสามารถใช้ สิ่งที่ ได้ จ ากการเรีย นรู้ซึ่ งกั นและกั น (จากการประชุ มสุ ดยอด เศรษฐกิจอาเซียน) นามาประยุกต์ความรู้กับการตอบคาถามจากเอกสาร (DBQ) การประเมินที่แนะนา 1. การท าแผนที่ก ารเดินทางหรือการขนส่งของสิ นค้า ประเภทอาหาร โดยเลือ ก ช่วงเวลาระหว่าง 500-1800 CE พร้อมร่วมกันอภิปรายว่า ทาไมสินค้านี้จงึ มีการซื้อขาย และ ส่งผลอะไรต่อสังคมบ้าง (การประเมินคือ 2. การอธิบายปากเปล่า 4. แนวคิด) 2. บันทึกของนักเรียนตลอดอาทิตย์ รวมถึงการค้นคว้าในกลุ่มเรื่องสินค้าประเภท อาหารจากประเทศในอาเซียน สิ่งที่ควรมีคือ - วิธีและนโยบายปัญหาเรื่องความมั่นคงทางอาหาร - ผลประโยชน์และอุปสรรคเรื่องเงินเดือน - อุปสรรคของบริษัทระหว่างประเทศ - ผลประโยชน์และผลเสียของนโยบายการค้าทั่วโลก โดยผลจากการค้นคว้าควรมีความคิดเรื่อง ปัญหาสังคม เช่น แรงงานเด็ก การ ประกันสุขภาพ สภาวะการมีงานทาและโอกาสทางการศึกษาที่มีผลกระทบต่อ ผู้ผลิตสินค้า ประเภทอาหาร (การประเมินคือ 1. การเขียนอธิบาย และ 2. การอธิบายปากเปล่า)
200
3. รายงานสาหรับการประชุมสุดยอดเศรษฐกิจอาเซียน ควรมีสรุปการค้นคว้า การ วิเคราะห์ประโยชน์ละข้อเสียของยุคโลกาภิวัฒน์ รวมทั้งแนะนาวิธีทางการค้าในอนาคตของ อาเซียน การรายงานและนาเสนอควรแสดงถึงความเข้าใจสิ่งสาคัญและกระบวนการของโลก ยุคโลกาภิวัฒน์ต่อการค้าการค้า รวมถึงการใช้ภาษาที่ถูกต้อง เหมาะสม ตรงตามระดับของ ภาษา และการพูดนาเสนอทั้งหมดต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบ (การประเมิน คือ 2. การ อธิบายปากเปล่า 3. การประยุกต์ 4. แนวคิด) การประเมินต่อไป ให้นั กเรีย นประยุ กต์ความรู้ เพื่ อตอบคาถามจากเอกสาร DBQ (การประเมิ น คื อ 2. การอธิบายปากเปล่า และ 3. การประยุกต์) คาถามสรุป 1. โลกยุคโลกาภิวัฒน์นี้ต่างจากสมัยอื่นอย่างไร? 2. ยุคโลกาภิวัตน์ ใครได้ผลประโยชน์และใครเสียเปรียบ? 3. ผลประโยชน์และอุปสรรคของนโยบายการค้าต่างๆ สามารถประเมินได้อย่างไร? การเชื่อมโยงกับวิชาอื่นๆ โครงงานนี้เชื่อมโยงกับวิชาสังคมและประวัติศาสตร์ วิชาหน้าที่พลเมืองและคุณธรรม โดยบทเรียนนี้ควรเป็นบทเรียนที่รวม 2 วิชานี้เพื่อให้เกิดความเข้าใจมากขึ้นเพื่อแสดงว่าทุก ประเทศในอาเซียนมีจุดหมายที่เหมือนกัน
201
ใบความรู้: ASEAN INTEGRATED FOOD SECURITY (AIFS) Framework
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
http://aseanfoodsecurity.asean.org/wp-content/uploads/2011/08/aifs.pdf
202
ใบความรู้: Trade and Facilitation
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
http://www.asean.org/archive/Fact%20Sheet/AEC/AEC-01.pdf
203
ใบความรู้: ASEAN FREE TRADE AREA (AFTA)
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
http://www.asean.org/archive/pdf/BrosurAFTA.pdf
204
ใบความรู้: รายการหลักของสินค้าทางการเกษตรของประเทศในอาเซียน
บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย เวียดนาม
เนื้อ ไข่ ไก่ ข้าว มันสาปะหลัง ข้าวโพด ข้าว ยางพารา เนื้อ มันสาปะหลัง ช็อกโกแลต กาแฟ ไข่ น้ามันปล์าม ถั่วลิสง ไก่ ข้าว ยางพารา เนื้อ มันสาปะหลัง กาแฟ ข้าวโพด ถั่วลิสง ไก่ ข้าว น้าตาล ช็อกโกแลต น้ามันปาล์ม ข้าว ยางพารา ปลา ข้าว น้าตาล เนื้อ มันสาปะหลัง ข้าวโพด ไข่ ปลา ข้าว น้าตาล ไข่ ปลา ไก่ มันสาปะหลัง ข้าวโพด ข้าว ยางพารา น้าตาล กาแฟ ปลา ถั่วลิสง ข้าว ยางพารา น้าตาล
206
บทที่ 4 อาเซียน = เสมอภาค ในบทนี้จะสารวจหลากหลายของความหมาย “ความเท่าเทียม” และ “ความ ยุติธรรม” ของโลกเป็นอย่างไร รวมถึงการกระทาต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อการใช้ชีวิต ของประชากรและประโยชน์ที่ประชากรทุกคนได้รับเมื่อมีการสนับสนุนและได้รับ ความเท่าเทียมและความยุติธรรม
แนวความคิดที่ยั่งยืนของหัวข้อนี้คือ ทุ ก คนควรได้ค วามยุ ติ ธ รรมและเท่ าเที ย ม ไม่ ว่ า จะแตกต่ างกั น ทางด้ า น ถิ่น ก าเนิ ด อายุ เพศ วั ฒ นธรรมความเป็ น อยู่ สั ญ ชาติ ฐานะทางการเงิ น ศาสนา และระดับการศึกษา เป็นต้น ทุกคนมีความรับผิดชอบต่อสังคม ความเท่าเทียมจะทาให้ทุกคนในสังคมมี ความสุขอย่างยั่งยืน ในบทนี้จะเน้น เรื่องของสิทธิและความรับผิดชอบของคนในกลุ่ม ต่อสังคม ไม่ว่าจะ เป็นครอบครัว ห้องเรียนหรือ ประเทศ โดยระดับประถมศึกษาตอนปลาย นักเรียนจะได้ ศึกษาสิทธิและความรับผิดชอบของเด็กและผู้ใหญ่ ส่วนนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จะเป็นการเรียนรู้ในรายวิชาประวัติศาสตร์ เพราะนักเรียนจะได้ค้นคว้าเรื่องของบทบาทของ ข่าวในการสนับสนุนความยุติธรรม
207
สาหรับระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นักเรียนจะได้เรียนเนื้อหานี้ในหลากหลายวิชา เพราะได้บูรณาการวิชาต่างๆ ไว้ดังต่อไปนี้ วิชาสังคมศึกษา นักเรียนจะได้เรียนรู้วิธีการหาเสียงสนับสนุนงานที่ตนเองทา วิชาวิทยาศาสตร์ นักเรียนจะได้ออกแบบระบบการแบ่งสรรทรัพยากรน้าเพื่อ การใช้ประโยชน์อย่างเท่าเทียมกัน วิชาศิลปะ นักเรียนจะเห็นรูปที่ไม่เท่าเทียมแล้วกระตุ้นให้เกิดการปฎิบัติ วิชาภาษาและวรรณกรรม โดยให้นักเรียนค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมว่า ภาษาสามารถ เพิ่มหรือลดความไม่ยุติธรรมและเท่าเทียมได้อย่างไร รวมทั้งผลที่ประชากรด้อยโอกาสจะ ได้รับ รวมไปถึงผลที่คนทั่วไปก็จะได้รับด้วยเช่นกัน ส่วนวิชาเทคโนโลยี นักเรียนจะได้เรียนรู้ เรื่องบทบาทของเทคโนโลยี ในการบันทึกเพื่อให้เกิดความเท่าเทียมและยุติธรรม ซึ่งจะแสดง ให้เห็นแผนโครงสร้างหลักสูตรในหัวข้อนี้ ดังนี้
208
ระดับประถมศึกษาตอนปลาย: สนับสนุนความเท่าเทียมและความยุติธรรม วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
สังคมและ คนมีความต้องการใน ความรับผิดชอบและสิทธิของเด็ก นักเรียนจะระดมสมองเพื่อศึกษาความรับผิดชอบที่มี (ในบ้าน ความเป็น ประวัติศาสตร์ สิทธิและความรับผิดชอบ ต่างจากผูใ้ หญ่อย่างไร ?(คน และ พีเ่ ป็นน้อง เป็นลูก ในโรงเรียน ในสังคม และอื่นๆ) แยกประเภทกันเลย ความคิด) และให้นักเรียนจะทารายการสิทธิและความรับผิดชอบที่ทุกคนต้องมี ทุกสังคมมีแนวความคิด เรื่องความเท่าเทียมและ ความยุติธรรม แต่มี ความหมายต่างกัน
ความคิดเรื่องความยุติธรรมและ เท่าเทียม มีความหมายและถูก ปกป้องอย่างไร? (คนและ ความคิด )
ให้นักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้รายการกับเพื่อนและอภิปรายว่าความสมดุล ระหว่างสิทธิส่วนบุคคลและความรับผิดชอบที่มีต่อสังคมอยู่ตรงไหน โดยให้ทั้งห้องจะช่วยกันเขียนสิทธิและความรับผิดชอบร่วมกัน โดยให้ นักเรียนเปรียบเทียบการกระทาของสังคมและในท้องถิ่น แล้วทาออกมา ในรูปแบบของโปสเตอร์ระยะเวลา เพื่อแสดงให้เห็นความเปลี่ยนแปลงไป ในอาเซียนหรือในท้องถิ่น
208
209
วิชา
วิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์
ผลทางการศึกษา
ทรัพยากรท้องถิ่น เป็น ตัวกาหนดโอกาสทาง เศรษฐกิจ
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด สังคมต้องการทรัพยากรอะไรเพื่อ เจริญเติบโต ?(สถานที่ ทรัพยากร และความคิด )
หน้าที่พลเมือง สังคมและประเทศมี ระบบการเลือกหัวหน้าหรือผู้นา และคุณธรรม วิธกี ารเลือกหัวหน้าหรือ มีอะไรบ้าง? (คน แนวคิด ) ผู้นาที่ต่างกัน
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
ให้นักเรียนทาปิรามิดสิ่งจาเป็นของสังคม สิ่งที่สาคัญที่สุดให้อยู่ล่างสุด และสิ่งที่สาคัญน้อยสุดให้อยู่ด้านบนสุด เป็นงานเดี่ยวหรืองานกลุ่มก็ได้ แต่ให้นักเรียนทาปิรามิด 2 อัน โดยปิรามิดอันแรกให้เป็นปิรามิดสิ่งจาเป็น สาหรับสังคมปัจจุบัน และอีกปิรามิดเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับ 100 ปีก่อน และร่วมกันอภิปรายว่ามีอะไรเปลี่ยนไป เพราะเหตุใด และมีเหตุผลอะไร ที่ทาให้สิ่งจาเป็นของสังคมมีการเปลี่ยนแปลง
ให้นักเรียนค้นคว้าข้อมูลว่า การเลือกหัวหน้าหรือผู้นาในประเทศต่างๆ มีการเลือกอย่างไร พร้อมให้นักเรียนเปรียบเทียบผลประโยชน์และผลเสีย ของแต่ละระบบได้
209
210
วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
หน้าที่พลเมือง บางคนเป็นสมาชิก และคุณธรรม ของสังคมแต่ไม่ได้เป็น (ต่อ) พลเมืองของประเทศ นั้นๆ
พลเมืองคืออะไร? (คน แนวคิด)
ให้นักเรียนอ่านเรื่องที่เกี่ยวกับแรงงานต่างด้าวในเมืองต่างๆ ของอาเซียน (เช่น ข่าวออนไลน์ หนังสือพิมพ์ แหล่งข้อมูลอื่นๆ) และเขียนบทความ เรื่องทาไมถึงเลือกออกจากประเทศเดิมหรือถิ่นที่เกิด และอุปสรรคที่มี ในที่อยู่ใหม่หรือประเทศใหม่ พร้อมเขียนผลที่มีต่อชีวิตประจาวัน
ภาษาและ วรรณกรรม
ภาษาสามารถคงอยู่หรือเปลี่ยนไป อย่างไร ? (คน ความคิด )
ให้นักเรียนสัมภาษณ์คุณตา คุณยายหรือคนรุ่นเก่า เรื่องวิธีที่คุยกับเพื่อน ครู ผู้ปกครอง คนที่เด็กกว่า ในช่วงที่ยังเป็นเด็ก จากการสัมภาษณ์ให้ทา ตารางเกี่ยวกับวิธีคุยกันที่เปลี่ยนไป พร้อมให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันเรื่อง ความเปลี่ยนแปลงในสังคมหรือวัฒนธรรม
วิธีคุยกันสื่อความหมาย ของความสัมพันธ์
210
211
วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
ภาษาและ วรรณกรรม (ต่อ)
ศิลปะ
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา ส่วนเพิ่มเติม: เปรียบเทียบภาษาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ให้ความสาคัญต่อลาดับชั้นทางสังคม ให้นักเรียนสร้างความเชื่อมโยง ต่อภาษาและโครงสร้างของสังคม คนที่มีอานาจและสถานะไม่เท่าเทียม กันในสังคม นักเรียนจะทาอย่างไรเพื่อให้เกิดความเท่าเทียมกัน
เด็กมีบทบาทที่ต่างกัน ในบริบทของวัฒนธรรม ที่ต่างกัน
วัยเด็กคืออะไร? (คน ความคิด)
อ่านเรื่องเด็กในวัฒนธรรมต่างๆ ในอาเซียนและเปรียบเทียบชีวิต ประจาวัน ความรับผิดชอบ ความฝัน และความคาดหวังที่จะเรียน หรือความสาเร็จในวัยเด็กและวิธีที่จะทาให้สาเร็จ
เปิดเผยสิ่งสาคัญของ สังคม สิ่งที่มีคุณค่า
ใครเป็นคนทางาน? (คน ทรัพยากร แนวคิด)
พานักเรียนไปพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นและเปรียบเทียบกับพิพิธภัณฑ์อื่นใน อินเตอร์เน็ต อะไรคือศิลปะ อะไรคืองานฝีมือ อะไรคือสิ่งประดิษฐ์ งานใดมีชื่อศิลปิน งานอะไรที่ไม่ระบุชื่อ (การประดิษฐ์ การวาด การปั้น หัตถกรรม สิ่งทอ สถาปัตยกรรม)
211
212
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น
วิชา
ผลทางการศึกษา
สุขภาพ และกายภาพ
น้าและอากาศที่สะอาด การสุขาภิบาลที่ดี และ อาหารที่ครบถ้วนตาม หลักโภชนาการคือความ เท่าเทียมที่สาคัญที่ทุกคน ในสังคมควรจะได้รับ
เทคโนโลยีสามารถสนับสนุน ความเท่าเทียมและความยุติธรรม สาหรับคนและสังคมอย่างไร? (คน ทรัพยากร)
ให้นักเรียนทาแผนที่ของสังคมตนเอง ที่ระบุสถานที่ตั้งของสิ่งต่างๆ อาทิ ถังขยะ เสาโทรศัพท์ ที่ทิ้งของอันตราย ท่อน้าทิ้ง พื้นที่อุตสาหกรรม พร้อมทั้งหาข้อมูลเพิ่มเติมว่า มีคนอาศัยใกล้แหล่งเหล่านี้หรือไม่ และร่วมกันอภิปรายว่าเกิดผลอะไรต่อสุขภาพของคนที่อยู่ใกล้แหล่ง ดังกล่าว และสังคมอื่นในอาเซียนเป็นเหมือนกันหรือไม่ พร้อมทั้งอธิบาย วิธีเชื่อมโยงกับความเท่าเทียมและความยุติธรรม
เทคโนโลยี
เทคโนโลยีให้โอกาส คนและสังคม
เทคโนโลยีสามารถสนับสนุน ความเท่าเทียมและความยุติธรรม สาหรับคนและสังคมอย่างไร? (คน สถานที่ ทรัพยากร)
ให้นักเรียนทารายการของเทคโนโลยี (ไฟฟ้า อินเตอร์เน็ต โทรศัพท์มือถือ ทีวี ตู้เย็น รถ) และอภิปรายว่าชีวิตของคนหรือความเจริญของสังคม สามารถเปลี่ยนแปลงเพราะเทคโนโลยี ให้นักเรียนหากรณีศึกษา/ เรื่องสั้น/ข่าว เกี่ยวกับการนาเทคโนโลยีมาใช้ในสังคมและผลที่มีต่อชีวิต ของคนในสังคม
คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
212
213
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น : สนับสนุนความเท่าเทียมและความยุติธรรม
วิชา
ผลทางการศึกษา
สังคมและ ข่าวมีบทบาทสาคัญ ประวัติศาสตร์ ในการสนับสนุนความ เท่าเทียมและความ ยุติธรรม บางสิทธิเป็น สิทธิ์ที่เป็นสากล
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
ข้อมูลที่สนับสนุนความเท่าเทียม และความยุติธรรมคืออะไร? (คน แนวคิด)
คนส่วนใหญ่เรียนรู้เรื่องชุมชน เมือง รัฐ ประเทศ หรือโลกของตนเอง จากการอ่านข่าวในหนังสือพิมพ์หรือสื่อออนไลน์ จุดประสงค์ของข่าว คือ ให้ความรู้ แต่ข่าวเหล่านั้นส่วนใหญ่จะพยายามชักชวนให้คล้อยตาม วิธีที่สาคัญที่น่าสนใจคือ เรือ่ งการละเมิดสิทธิมนุษยชน กล่าวคือ ข่าวในอินเตอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์มักจะมีปัญหาเรื่องสิทธิมนุษยชน เพราะแม้แต่ในประเทศห่างไกลก็อาจได้รับความสนใจทั่วโลกได้เพราะข่าว
ทาไมสิทธิของมนุษย์ถึงสาคัญ กับประเทศในอาเซียนและ สังคมโลก? (คน สถานที่ แนวคิด)
การเข้าใจ united nation declaration ของสิทธิมนุษยชนสร้าง สิ่งแวดล้อมที่สนับสนุนความคิดเรื่องความเคารพและการทางานเป็นทีม ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน
213
214
วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
สังคมและ ประวัติศาสตร์ (ต่อ)
วิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
โดยในบทเรียนนี้จะสร้างโอกาสให้นักเรียนได้คิดเรื่องสิทธิที่จาเป็นและ เหตุการณ์ที่ทาให้เกิดสิทธินี้ขน้ึ ซึ่งเมื่อจบบทเรียนแล้ว นักเรียนจะเข้าใจ เรื่องของความลาบากและการละเมิดของสิทธิหน้าที่พลเมืองของประเทศ ในอาเซียนและนอกอาเซียนได้มากขึ้น และรัฐบาลจาเป็นต้องร่วมมือกัน เพื่อปกป้องสิทธิของแต่ละบุคคลนี้ ระบบท้องถิ่นสามารถ ปรับปรุงสภาพ แวดล้อมในสังคม
องค์กรอะไรที่รับผิดชอบการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม? (สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด )
ให้นักเรียนติดต่อองค์กรด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ บทบาทในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และให้นักเรียนค้นคว้าข้อมูลเพื่อนามา ทาโปสเตอร์เรื่อง ปัญหาของสิ่งแวดล้อมในประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน โดยอาจหาข้อมูลจากวิกิพิเดียหรือทาเป็นบล็อก เพื่ออภิปรายปัญหาและ พูดคุยแสดงความคิดเห็นเรื่องสิ่งแวดล้อม
214
215
วิชา หน้าที่ พลเมืองและ คุณธรรม
ภาษาและ วรรณกรรม
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
เอกสารก่อตั้งของ ประเทศมีผลต่อชีวิต ของคน
วัตถุประสงค์ของเอกสารก่อตั้ง คืออะไร? (คน สถานที่ แนวคิด )
เปรียบเทียบเอกสารก่อตั้งของประเทศสมาชิกอาเซียน 2 ประเทศ กับเอกสารก่อตั้งของประชมคมอาเซียน และให้นักเรียนทารายการ สิ่งที่เหมือนกันในวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งนั้น
วิธีที่รัฐบาลทาและ บังคับใช้กฎหมายมีผล ต่อชีวิตของคน
กฎหมายมีผลอะไรต่อชีวิต ประจาวันของคน? (คน แนวคิด)
เปรียบเทียบวิธีทางกฎหมายและบังคับใช้ในกลุ่มประเทศอาเซียน พร้อมนามาเปรียบเทียบกับกรณีศึกษาเพื่อสังเกตผลที่มีต่อบุคคล และสังคม
ชื่อที่คนใช้เรียกเพื่อบอก ชื่อสาคัญอย่างไรโดยเฉพาะ ลักษณะของกลุ่ม เวลาที่จะทาให้เท่าเทียม? สนับสนุนหรือต่อต้าน (คน สถานที่ แนวคิด ) ความเท่าเทียมและ ยุติธรรม
ให้นักเรียนเปรียบเทียบชื่อของกลุ่ม สัญชาติ ศาสนา ที่ใช้กันเอง กับชื่อที่ใช้ภายนอก แล้ววิเคราะห์ว่าต้นกาเนิดของคาต่างๆ คืออะไร ใช้เมื่อใดและใครใช้ เพือ่ อะไร? (สนับสนุนความไม่ยุติธรรม ทาให้เป็น กฎตายตัว ให้เกิดความเคารพ)
215
216
วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
ศิลปะ
ศิลปะเป็นศูนย์กลาง ของเอกลักษณ์
ใครเป็นเจ้าของศิลปะเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ และใครเป็น คนตัดสิน? (ทรัพยากร แนวคิด)
ให้นักเรียนศึกษาการขโมยศิลปะ ไม่ว่าจะเป็นตอนที่เป็นเมืองขึ้นหรือ ตอนที่มีสงคราม และแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ให้กลุ่มหนึ่งโต้แย้งว่า ต้องคืนศิลปะที่อยู่ในพิพิธภัณฑ์ชื่อดังให้เจ้าของ อีกกลุ่มโต้แย้งด้วยเหตุผล อีกด้าน และให้ศึกษาหาข้อมูลว่า ในปัจจุบันมีกฎเกณฑ์และข้อจากัดอื่น อีกหรือไม่ ถ้ามีให้หาว่ามีการดูแลที่ดหี รือไม่ และจะมีผลอย่างไร
สุขภาพและ กายภาพ
การดูแลสุขภาพต้อง คิดถึงความเท่าเทียม และยุติธรรม
ใครควรได้รับการดูแลสุขภาพ และใครควรเสียค่าใช้จ่าย? (ทรัพยากร คน)
ให้นักเรียนค้นคว้าข้อมูลว่า ใครที่จ่ายค่าดูแลสุขภาพในแต่ละประเทศ สมาชิกในอาเซียนและใครเป็นคนตัดสินใจว่า กรณีใดจะดูแลได้ครอบคลุม โดยให้นักเรียนมานาเสนอผ่านการโต้วาที เกี่ยวกับสังคมควรลงทุนเท่าไร เกี่ยวกับเรื่องสุขภาพของคน ควรใช้เงินเท่าไรกับคนแก่หรือเด็ก ใครเป็น ผูต้ ัดสินใจ และโครงสร้างของสังคมเป็นอย่างไร
216
217
วิชา
เทคโนโลยี
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
สื่อใหม่ๆ สามารถ คนใช้สื่อใหม่ๆเพื่อเปลี่ยนโลก สนับสนุนความเท่าเทียม ในเรื่องของความเท่าเทียม และความยุติธรรมได้ และความยุติธรรมอย่างไร ? (ทรัพยากร แนวคิด)
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
นักเรียนใช้อินเตอร์เน็ตหรือหนังสือพิมพ์เพื่อค้นหาเหตุการณ์ในอาเซียน ที่มีบุคคลในสังคมที่ใช้บล็อก ยูทูป หรือ social network อื่นๆ เพื่อเปิดเผยความผิดหรือสนับสนุนความยุติธรรม โดยให้นักเรียนศึกษา และให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า เหตุการณ์จะเป็นอย่างไรถ้าไม่มี เทคโนโลยี และนักเรียนควรใช้เทคโนโลยีกับความไม่ยุติธรรมในโรงเรียน หรือสังคมอย่างไร
217
218
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย: สนับสนุนความเท่าเทียมและความยุติธรรม
วิชา
ผลทางการศึกษา
สังคมและ ให้ทุกคนแสดงบทบาท ประวัติศาสตร์ ในการสนับสนุนความ เท่าเทียมและความ ยุติธรรม เมื่อมีการตีความใหม่ๆ เกี่ยวกับความเท่าเทียม และความยุติธรรม นักเรียนจะเปลี่ยน สังคมและวัฒนธรรมได้
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
จะมีวิธีอย่างไรที่จะทาให้คน รุ่นใหม่ในอาเซียนสนับสนุนความ เท่าเทียมกันและความยุติธรรม ทั่วทั้งภูมิภาค? (คน แนวคิด )
จากการใช้กรณีศึกษาเพื่อเข้าใจคุณค่าและความเชื่อทางวัฒนธรรม มีผลต่อความเท่าเทียมและความยุติธรรม นักเรียนจะเห็นการสนับสนุน และการรักษาความยุติธรรมในสังคม และนักเรียนจะเรียนรู้ว่าตนเองมี บทบาทในการเปลี่ยนความไม่ยุติธรรมในสังคมและประเทศของตนเอง
บทบาทของผู้หญิงมีการ เปลี่ยนแปลงอย่างไรในบทบาท ครอบครัวและความยุติธรรมใน สังคม (คน แนวคิด)
ให้นักเรียนเก็บหัวข้อจากหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นและทั่วโลกที่วิเคราะห์ บทบาทที่เปลี่ยนไปของผู้หญิง บทสัมภาษณ์ผู้หญิงในสังคมและให้ อภิปรายกันว่าบทบาทผู้หญิงเปลี่ยนไปอย่างไร มีผลดีและผลเสียอย่างไร สุดท้ายจะประเมินว่า สิทธิแต่ละบุคคลของผู้หญิงมีการเปลี่ยนแปลงและ มีประโยชน์หรือผลเสียอย่างไร
217218
219
วิชา วิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์
ผลทางการศึกษา สภาพอากาศและ ภูมิศาสตร์ที่มีผลต่อน้า
หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและศาสนา และคุณธรรม ของเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ สามารถช่วยให้ คนสมดุลกัน เป็นความ สิทธิส่วนบุคคล
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
แบ่งน้าอย่างเท่าเทียมระหว่าง ประเทศได้อย่างไร? (ทรัพยากร แนวคิด)
น้าคือทรัพยากรที่จาเป็นสาหรับทุกสิ่งในชีวิต รวมถึงการดื่ม อาบน้า ทาอาหาร อุตสาหกรรม สุขาภิบาล บางประเทศไม่มีแหล่งน้า แต่บาง ประเทศมีเยอะมาก ภายในประเทศน้าไม่ได้แบ่งกันอย่างเท่าเทียม โดยเฉพาะในท้องถิ่นที่ไม่ได้อยู่ในตัวเมือง นักเรียนเรียนรู้ว่าทรัพยากรนี้ แบ่งปันอย่างไรในประเทศอาเซียน และมีผลอะไรต่อชีวิตสังคม นักเรียนจะต้องวางแผนเพื่อแบ่งน้าได้
คนสามารถประยุกต์สิ่งสาคัญใน อดีตกับความรับผิดชอบของ ปัจจุบันได้อย่างไร? (คน แนวคิด)
ให้นักเรียนทาสิทธิบัตรสาหรับห้องเรียนที่มีแรงบันดาลใจจากประเพณี แล้วให้นักเรียนตัดสินใจว่าจะอนุรักษ์สิทธิ์ไหน และอภิปรายว่าอะไรที่ จาเป็นสาหรับอะไรที่ดีในห้องเรียน นักเรียนจะประยุกต์กิจกรรมนีก้ ับ ประเทศตนเองทากับพลเมืองได้อย่างไรบ้าง
219
220
วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
หน้าที่พลเมือง สังคมเปิดเผยสิ่งสาคัญ และคุณธรรม ในวิธีที่กลุ่มตอบสนอง (ต่อ) กับกลุม่ อื่นอย่างไรและ สิ่งสาคัญมีผลต่อการ ตอบสนองของกลุ่ม
การแบ่งแยกมีผลอะไรต่อ ความยุติธรรมและความ เท่าเทียม? (คน แนวคิด)
ให้นักเรียนสัมภาษณ์หัวหน้าสังคมที่ทางานเรื่องความเท่าเทียมและ ยุติธรรมสาหรับกลุ่มที่ด้อยโอกาส และทาโครงการรณรงค์หรือเขียน จดหมายถึงหนังสือพิมพ์ที่อธิบายว่าความยุติธรรมต่อกลุ่มนี้มีประโยชน์ ต่อสังคมอย่างไร
ภาษาและ วรรณกรรม
ถ้าภาษาในห้องเรียนต่างกับ ภาษาแม่ จะมีผลอย่างไรต่อ การเรียนรู้และโอกาส? (คน ทรัพยากร )
ให้นักเรียนเปรียบเทียบตัวอย่างจากประเทศสมาชิกอาเซียนที่มีกลุ่ม ด้อยโอกาสที่เรียนภาษาอื่น กับตัวอย่างเด็กที่มีเงินที่พ่อแม่หรือสังคม ช่วยให้เรียนหลายภาษา แล้วอภิปรายเรื่องประโยชน์และผลเสียของ ความเท่าเทียม
ภาษาพื้นฐาน สามารถ ช่วยสนับสนุนความ เท่าเทียมหรือความ ไม่เท่าเทียมระหว่างกลุ่ม
220
221
วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
ภาษาและ วรรณกรรม (ต่อ)
การสนับสนุนหลายๆ เสียงในวรรณกรรม ทาให้ประเทศหรือ ท้องถิ่นมีวัฒนธรรม มากขึ้น
การสนับสนุนวรรณกรรม ช่วยความยุติธรรมในประเทศ หรือท้องถิ่นได้อย่างไร? (สถานที่ แนวคิด ทรัพยากร)
ให้นักเรียนอ่านวรรณกรรมจากกลุ่มด้อยโอกาส และอภิปรายว่า การสนับสนุนวรรณกรรมแบบนี้มีประโยชน์ต่อสังคมอย่างไร
ศิลปะ
ศิลปะสามารถช่วยให้เห็น ความไม่เท่าเทียมหรือ เพิ่มความอยากได้ ความ ยุติธรรม
ศิลปะถูกใช้เพื่อกระตุ้นให้คน นักเรียนดูรูปที่แสดงความยุติธรรมหรือไม่ยุติธรรม แล้วให้เขียนถึงรูป พยายามทาความเท่าเทียม และอภิปรายว่าสิ่งที่เกิดขึ้นในรูป เกิดเพราะเหตุใด และมีผลอย่างไร และความยุติธรรมอย่างไร? ต่องานศิลปะ (คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด)
221
222
วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
สุขภาพและ กายภาพ
การเมืองและวัฒนธรรม ไม่มีผลต่อสุขภาพ
คนได้อะไรจากการสนับสนุน ความเท่าเทียมในการดูแล สุขภาพ? (คน สถานที่)
ให้นักเรียนศึกษาจากกรณีศึกษาในข่าวเรื่อง สิ่งอันตรายในสิ่งแวดล้อม ที่เกิดขึ้นในประเทศหนึ่งแต่อาจมีผลกระทบต่อประเทศอื่น ให้นักเรียน ทาโครงการรณรงค์สื่อที่สนับสนุนการแก้ปัญหาที่ปลอดภัยและยุติธรรม
เทคโนโลยี
ความสมดุลระหว่างการ รักษาความเป็นส่วนตัว และการเปิดเผยข้อมูล
ใครมีสิทธิเข้าถึงข้อมูลบุคคลอื่น หรือการสนทนาของบุคคลอื่น? (คน แนวคิด)
ให้นักเรียนศึกษาและค้นคว้าว่า ความเป็นส่วนตัวในประเทศของตนเอง ใครเป็นคนดูแล แม้จะเป็นโรงเรียน รัฐบาลหรือบริษัท แล้วให้นักเรียน นาเสนอด้วยเทคนิคต่างๆ เพื่อแสดงความเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในอาเซียน
222
224
บทที่ 5 อาเซียน = ความยั่งยืน
ส่วนใหญ่คนจะคิดถึงความยั่งยืนในเรื่องของสิ่งแวดล้อม แต่ในบทนี้จะพูดถึง ความยั่ ง ยื น ของระบบต่ า งๆ เช่ น เศรษฐกิ จ สุ ข ภาพ และการเมื อ ง โดยเน้ น ประโยชน์ที่ได้จากการทางานร่วมกันเพื่อสร้างอนาคตที่ยั่งยืน
แนวความคิดที่ยั่งยืนของหัวข้อนี้คือ เชื่อมโยงระหว่างคน สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและระบบอื่นๆ ที่ต้องมีระบบการ หล่อเลี้ยงและระบบการบริหารที่ดเี พื่ออนาคตที่ยั่งยืน การทางานร่วมกัน ด้วยความยืดหยุ่น สามารถแบ่งเบาภัยพิบัติ และป้องกัน ไม่ให้เกิดวิกฤต รวมทั้งหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง เรื่องของ “ความยั่งยืน” สามารถประยุกต์ ใน วิชาหน้าที่พลเมืองและจริยธรรม นักเรียนจะได้ศึกษาบทบาทในการวางแผนสาหรับความประนีประนอมและความยืดหยุ่น ไม่ให้เกิดความขัดแย้งกัน วิชาวิทยาศาสตร์ นักเรียนจะได้เรียนรู้การวัดความแปรปรวนของ สิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาและร่วมมือกันทาโครงงานเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม รวมทั้งคิดวางแผน เพื่อเตรียมรับมือกับภัยพิบัติ และบรรเทาสิ่งที่ จะเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม วิชาสุขศึกษา นักเรียนจะได้สารวจวิธีใช้นโยบายเรื่องสุขภาพ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชากรอย่างที่ ยั่งยืน วิชาพลศึกษา สามารถดูแลสุขภาพของแต่ละบุคคล และ วิชาเทคโนโลยี นักเรียนรู้ บทบาทของ Social network และ blog ที่ช่วยคนที่อยู่ห่างกันติดต่อกันได้ สุดท้ายให้ นัก เรี ย นจะเรี ย นรู้ ก ารสร้ างบทบาทให้ ตั ว เองเพื่ อ อนาคตที่ ยั่ งยื น ในความเป็น ประชาคม อาเซียน
225
ระดับประถมศึกษาตอนปลาย: การทางานร่วมกันเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน
วิชา
ผลทางการศึกษา
สังคมและ ทุกคนคือส่วนหนึ่ง ประวัติศาสตร์ ของระบบ คนสามารถสร้างระบบ ที่ยั่งยืนได้
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด คุณเป็นส่วนหนึ่งของระบบอะไร? (คน ความคิด)
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
ให้นักเรียนทาโปสเตอร์ที่แสดงส่วนหนึ่งของระบบครอบครัว ห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน เมือง จังหวัด ประเทศ ภูมิภาคและสิ่งแวดล้อม
ครอบครัวหรือสังคมเป็นระบบ ให้นักเรียนสัมภาษณ์ครอบครัวหรือสมาชิกคนใดคนหนึ่งในสังคม ที่ยั่งยืนได้อย่างไร? (คน ความคิด) เกี่ยวกับความยั่งยืน โดยถามว่าอะไรที่ทาให้ระบบยั่งยืน (ประเพณี บทบาทที่ต่างกัน การรวบรวมทรัพยากร การช่วยเหลือกันตอนไม่สบาย ตอนเป็นเด็กหรือตอนชรา เป็นต้น) นักเรียนทาโปสเตอร์ร่วมกับเพื่อน ในกลุ่มที่แสดงให้เห็นถึงความยั่งยืนของครอบครัวหรือสังคม
225
226
วิชา
วิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
คนและสังคมสามารถ คนเตรียมตัวรับภัยพิบัติได้ เตรียมตัวรับมือกับ อย่างไร? (คน ทรัพยากร) ภัยพิบัติทางธรรมชาติได้
ครูเชิญวิทยากรที่เป็นเจ้าหน้าที่เตรียมรับสถานการณ์ฉุกเฉินมา บรรยายให้นักเรียนฟังที่ห้องเรียน เรื่องที่พูดคุยคือเรื่องภัยพิบัติที่อาจ เป็นอันตรายต่อสังคมของตนเอง ซึ่งหลังจากที่นักเรียนได้ฟังบรรยาย นักเรียนต้องทาแผนตอบรับสาหรับครอบครัวและฝึกซ้อม และสิ่งที่ นักเรียนจะได้เรียนรู้อีกอย่างหนึ่งก็คือ ทุกสังคมในอาเซียนก็มีโอกาส เกิดภัยพิบัตไิ ด้เช่นกัน
การตัดสินใจในชีวิต ประจาวันสามารถ ทาให้เกิดความมั่นใจ ในอนาคตอย่างยั่งยืน
ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มแล้วให้แต่ละกลุ่มเลือกการแสดง 1 อย่างเกี่ยวกับ การรักสิ่งแวดล้อม (เช่น ปิดไฟ ประหยัดน้า ขี่จักรยาน เดินไปโรงเรียน) และคานวณ ผลที่จะเกิดต่อสังคมถ้าทั้งห้องทาเหมือนกันหมด ผลที่จะ เกิดต่อครอบครัวถ้าทุกคนในครอบครัวทาเหมือนกันหมด และผลที่จะ เกิดต่อประเทศถ้าทุกคนในประเทศทาเหมือนกันหมด
การตัดสินใจของบุคคลมีผลต่อ สิ่งแวดล้อมและสังคม
226
227
วิชา
ผลทางการศึกษา
หน้าที่พลเมือง คนสามารถปรับปรุง และคุณธรรม สังคมตนเองด้วยการ ฝึกความเมตตา
มีหลายวิธีที่จะเป็น หัวหน้าได้
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
คนสามารถกระตุ้นให้เกิดความ เปลี่ยนแปลงในสังคมได้ด้วย การใช้น้าใจได้อย่างไร? (คน ความคิด )
ให้นักเรียนแต่ละคนจะทาแผนความเมตตาและสัญญาว่าจะทาสิ่งดี ต่อสังคมในแต่ละสัปดาห์ หลังจากปฏิบัติตามแผนแล้วให้นักเรียน อภิปรายเรื่อง ประสบการณ์และความแตกต่างในสังคมและชีวิต ของตนเองและผู้อื่น
ความเป็นผู้นาคืออะไร? (คน ความคิด)
ให้นักเรียนระดมสมองเกี่ยวกับ “คุณลักษณะของภาวะผู้นา” และ เปรียบเทียบในใบงาน โดยนักเรียนสามารถปรับรายการในใบงาน และเลือก 1 คุณสมบัติที่คิดว่าตนเองมี พร้อมอธิบายว่า “ฉันเป็นหัวหน้า เพราะ…….” กิจกรรมต่อ ให้นักเรียนทากิจกรรมนี้ แต่ใช้คุณสมบัติที่ตนเองอยากพัฒนา เช่น ฉันอยากเป็นหัวหน้าที่........... เป็นต้น
227
228
วิชา ภาษาและ วรรณกรรม
ศิลปะ
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
การเรียนรู้ภาษาใหม่ สามารถเปิดโอกาส ให้มีเพื่อนใหม่
การเรียนภาษาช่วยให้คนมีเพื่อน ได้อย่างไร? (คน ความคิด)
นักเรียนสื่อสารกับเพื่อนทางจดหมาย
กวีสามารถอธิบาย ความเชื่อมโยงระหว่าง คนกับธรรมชาติ
กวีสามารถอธิบายความเชื่อมโยง ระหว่างคนกับธรรมชาติได้ อย่างไร? (คน สถานที่ ความคิด)
นักเรียนอ่านกวีเรื่องฤดูหรือธรรมชาติ แล้วเขียนเรื่องธรรมชาติที่ค้นพบ แล้วใช้งานเขียนตนเองทาโปสเตอร์ในห้องเรียน และให้นักเรียนเขียน บทกวีหรือทางานศิลปะของตนเองที่สนับสนุนธรรมชาติในท้องถิ่น
ศิลปะสามารถแสดง ความสวยงามและ อานาจของธรรมชาติ
นักศิลปะแสดงความสวยงามและ ให้นักเรียนสังเกตงานศิลปะที่แสดงภาพธรรมชาติและเลือกคาเพื่ออธิบาย อานาจของธรรมชาติอย่างไร? ว่างานศิลปะแสดงถึงธรรมชาติอย่างไร และความรู้สึกที่นักเรียนได้จาก (คน ทรัพยากร แนวคิด) งานศิลปะ และให้นักเรียนพยายามวิเคราะห์ว่านักศิลปะสร้างความรู้สึกนี้ ได้อย่างไร ให้นักเรียนลองพยายามสร้างความรู้สึกนั้นในงานของตนเอง
227 228
229
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น
วิชา
ผลทางการศึกษา
สุขภาพ และกายภาพ
การตัดสินใจในทุกวันนี้ มีผลต่อสุขภาพ
สุขภาพดีในสังคมคืออะไร? (คน แนวคิด)
ให้นักเรียนวิเคราะห์ท่าทางของสังคมจากการสารวจเพื่อเรียนรู้ว่า คนคิดว่าอะไรเป็นสิ่งที่ทาให้สุขภาพดี ให้สังเกตความแตกต่างระหว่าง ผู้ชาย ผู้หญิง เด็ก และผู้ใหญ่
สังคมแข็งแรงขึ้นเมื่อ ยอมรับคนเพิ่ม
สังคมรับทุกคนได้อย่างไร ? (คน สถานที่ )
ให้นกั เรียนบันทึกทรัพยากรและสิ่งอานวยความสะดวกของสังคมที่ช่วย คนพิการ คนที่เป็นโรค เด็ก ผู้สูงอายุ โดยเชื่อมโยงกับประโยชน์ที่มีต่อ สังคมทั้งหมด
เทคโนโลยี
คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
นักเรียนสามารถแบ่งปัน เทคโนโลยีสามารถช่วยเด็ก ความคิดเรื่องความยั่งยืน สนับสนุนความยั่งยืนได้อย่างไร? โดยการใช้เทคโนโลยีได้ (คน ทรัพยากร แนวคิด)
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
ให้นักเรียนใช้เทคโนโลยีเชื่อมโยงเด็กในสังคมอาเซียนอื่นๆ และเรียนรู้ วิธีที่ช่วยให้สังคมมีความยั่งยืน โดยนักเรียนจะต้องนาเสนอวิธีคิดของ ตนเองและกระตุ้นให้สังคมอื่นทาตาม
229 227 229
230
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น : การทางานร่วมกันเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน วิชา
ผลทางการศึกษา
สังคมและ ระบบเศรษฐกิจใน ประวัติศาสตร์ ประเทศและภูมิภาค ต้องมีความยั่งยืน เพื่อความรุ่งเรืองใน ระยะยาว การศึกษาคือกุญแจของ ความสาเร็จในแต่ละ บุคคล สังคมและ ประเทศชาติ
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
เราจะสามารถทาให้เศรษฐกิจ ของประเทศและภูมิภาคมีความ ยั่งยืนได้อย่างไร? วัดอย่างไร? (คน แนวคิด)
นักเรียนศึกษาและเรียนรูเ้ กี่ยวกับปี 1997 เกี่ยวกับความล้มเหลวของ เศรษฐกิจเอเซีย และให้นักเรียนจะศึกษาว่าประเทศใดประสบความ สาเร็จมากที่สุดและประเทศใดประสบความสาเร็จน้อยที่สุด มีระบบใด ที่ช่วยหรือทาให้แย่ลง ให้นักเรียนเลือก 1 ประเทศมาเป็นกรณีศึกษา และศึกษาว่าควร เปลี่ยนหรือปรับปรุงอะไรเพื่อหลีกเลี่ยงความล้มเหลว ในปัจจุบนั
ประเทศมีการเตรียมคนรุ่นใหม่ อย่างไร เช่น เรื่องการศึกษา และจะช่วยประเทศได้อย่างไร? (คน สถานที่ แนวคิด)
ให้นักเรียนค้นคว้าว่า ประเทศต่างๆ พยายามสร้างประสบการณ์การ เรียนรู้ที่คล้ายกันให้นักเรียนและสังคมที่ต่างกัน หลังจากนั้นให้แบ่ง นักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อยทาใบปลิวเรื่องการศึกษาของประเทศนั้นๆ พูดถึงปัญหาการศึกษา ใครเขียนหลักสูตร สื่อการเรียนการสอน เทคโนโลยีการศึกษาใหม่ๆและโอกาสที่ผู้ใหญ่มีให้
230
231
วิชา
ผลทางการศึกษา
วิทยาศาสตร์ ธรรมชาติช่วยรักษา และ สิ่งแวดล้อมและ คณิตศาสตร์ เศรษฐกิจ
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด เราสามารถรักษาสิ่งแวดล้อม ให้มสี ภาพดีได้อย่างไรทั้งใน ปัจจุบันและอนาคต? (สถานที่ ทรัพยากร)
ประชากรที่มีมากไป ประชากรที่เติบโตอย่างรวดเร็ว ส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม มีผลอย่างไรต่อสิ่งแวดล้อม? (คน สถานที่) หน้าที่ สิ่งแวดล้อมคือสิ่งที่มี พลเมืองและ คุณค่าแก่การรักษาของ คุณธรรม คนรุน่ ใหม่ ในอนาคต
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา อธิบายนักเรียนว่า เราจะออกแบบสวนให้ยั่งยืนอย่างไร แล้วให้นักเรียน ร่วมกันวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบทางเศรษฐกิจ วิเคราะห์ความ แตกต่างของการใช้ทรัพยากรหรือการผลิตสินค้าซึ่งมีผลกระทบมากมาย ต่อสิ่งแวดล้อม หลังจากนั้นให้นักเรียนจะช่วยกันปรับแผนเพื่อสวนที่ยั่งยืน และร่วมกันอภิปรายหากพูดถึงการรักษาสิ่งแวดล้อมในสังคมขนาดใหญ่ ประชากรที่มากไปมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม นักเรียนต้องการทรัพยากรที่ จากัด และการอนุรักษ์ทรัพยากร นักเรียนจะเรียนเกี่ยวกับการรีไซเคิล อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
ทุกวันนี้คนมีภาระผูกพันอะไรบ้าง นักเรียนเรียนรูเ้ กี่ยวกับการเห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อมและหาแนวทางในการ ที่มีผลต่อคนรุ่นหลัง? อนุรักษ์ ให้นักเรียนศึกษาและวิเคราะห์บทบาทสังคมที่จะลดการส่งผลเสีย (คน ทรัพยากร สถานที่) ต่อสิง่ แวดล้อมเพื่อความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
231
232
วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
หน้าที่ บทบาทของคนคือ พลเมืองและ สิ่งสาคัญที่ช่วยให้เกิด คุณธรรม ภัยพิบัติ (ต่อ)
แต่ละคนจะสามารถสร้างความ แตกต่างอะไรได้บ้างหลังจาก เกิดภัยพิบัติ? (คน ทรัพยากร สถานที่)
ให้นักเรียนศึกษาว่านักเรียนสามารถรณรงค์เพื่อช่วยภัยพิบัติอย่างไรได้บ้าง ให้ นักเรียนระบุความท้าทายของภัยพิบัติได้และรณรงค์ได้ตามความต้องการ
ภาษาและ การเรียนภาษาที่สอง วรรณกรรม จะทาให้ประเทศมั่นคง และก้าวทันโลกที่มีการ เปลี่ยนแปลง ดังนั้นคน จะต้องมีความสามารถ เพื่อนาไปใช้หา ประสบการณ์ได้
ประชากรมีภาษามากกว่า 1 ภาษาได้อย่างไรเพื่อทาให้ชาติ มีความยืดหยุ่น? (คน ความคิด)
ในแผนที่โลกหรืออาเซียน มีความต่างของสีเพื่อแสดงให้เห็นถึงเศรฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและการเชื่อมต่อระหว่างประเทศในอาเซียนหรือโลก ให้นักเรียนหาคาตอบหรือแสดงความคิดเห็นว่า ภาษาอะไรที่ใช้พูดใน ประเทศนั้นๆ? และภาษาอะไรที่คิดว่านักเรียนในประเทศของคุณควรเรียน?
232
233
วิชา ศิลปะ
ผลทางการศึกษา สังคมและการเมือง ที่มีเงื่อนไขสามารถ ตรวจสอบว่ามีศิลปะ ที่สูญหายไปแล้ว
สุขภาพและ สุขภาพบุคคลบางส่วน กายภาพ ถูกกาหนดโดยสังคม แต่บางส่วนก็ถูกกาหนด โดยสิ่งแวดล้อม
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด มีอะไรที่ส่งเสริมการผลิต ศิลปะอย่างสร้างสรรค์? (ความคิด ทรัพยากร)
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา ให้นักเรียนเปรียบเทียบตัวอย่างประวัติศาสตร์ในยุคที่ความคิดสร้างสรรค์ ได้รับการสนับสนุนหรือเปิดกว้าง รัฐบาลมีการสนับสนุนหรือการสนับสนุน ของบุคคล และร่วมกันอภิปรายว่าในปัจจุบนั หน่วยงานใดที่สนับสนุนศิลปะ (รัฐบาล สถาบัน บุคคล)
เพื่อนร่วมงานและสังคมมีอิทธิพล ให้นักเรียนสารวจสังคมแล้วหาคาตอบว่า ปัจจัยทางสังคมหรือจากตัวบุคคล ต่อสุขภาพอย่างไร? (คน สถานที่) ผลักดันให้คนเราใส่ใจเรื่องสุขภาพคืออะไร บทบาทอะไรที่ทาให้สิ่งแวดล้อม มีผลต่อสุขภาพของคน? (คน สถานที่)
ให้นักเรียนช่วยกันค้นคว้าเรื่องภัยคุกคามสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ใครได้รับ ผลกระทบมากที่สุด และจะป้องกันได้อย่างไร
233
234
วิชา
เทคโนโลยี
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
นักเรียนสามารถขยาย ทาอย่างไรให้สามารถแบ่งปัน คาจากัดความของสังคม ความหลากหลายทางความคิด โดยใช้เทคโนโลยี ของคนผ่านเทคโนโลยี และเราจะ สร้างโอกาสเพื่อความยั่งยืนได้ อย่างไร? (สถานที่ คน ความคิด)
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
ให้นักเรียนเลือกสังคมหรือประเทศ โดยใช้เทคโนโลยีที่ทาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงในสังคม เช่น social network สามารถเข้าถึงแนวคิดได้ กว้างขึน้ ได้อย่างไรเพื่อเปลี่ยนความเข้าใจ? และเทคโนโลยีช่วยเชื่อมต่อ ระหว่างบุคคลเพื่อแลกเปลี่ยนเป้าหมาย?
234
235
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย: การทางานร่วมกันเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน
วิชา
ผลทางการศึกษา
สังคมและ เมื่อประเทศร่วมมือ ประวัติศาสตร์ ด้วยกัน ในวัตถุประสงค์ พื้นฐาน จะสามารถพบ กับความท้าทายและ เป้าหมายได้
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด ในการกาหนดโชคชะตาของโลก ปัญหาอะไรที่ยังมีอยู่และส่งผลกับ ความปลอดภัยเพื่อความยั่งยืนใน อนาคต? (คน แนวคิด)
ผู้หญิงมีบทบาทสาคัญใน อะไรคือผลกระทบเมื่อผู้หญิงมี ความก้าวหน้าของ ส่วนในความก้าวหน้าของ ประเทศ ประเทศ และการมีส่วนร่วมใน การเมืองและเศรษฐกิจ? (คน ทรัพยากร แนวคิด )
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา ให้นักเรียนสัมภาษณ์ผู้ใหญ่ในครอบครัว สมาชิกและผู้นาชุมชน เพื่อเรียนรู้ ความท้าทายเพื่อความยั่งยืนของท้องถิ่นและชาติในอนาคต โดยเก็บบันทึก ประจาวันที่สัมภาษณ์ คาถามและคาตอบเพื่อแลกเปลี่ยนกับเพื่อนใน ห้องเรียน ให้นักเรียนทางานเป็นคู่เพื่อทาแผน เพื่อสร้างความตระหนักในสังคม หาความท้าทายที่คล้ายกับประเทศอื่นในอาเซียนหรือความต่าง วิเคราะห์กรณีศึกษาผลของการมีส่วนร่วมของผู้หญิง ในการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจ สุขภาพเด็ก ครอบครัวและความมั่นคงทางการเมือง
227 235
236
วิชา
ผลทางการศึกษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวความคิด
วิทยาศาสตร์ พืชและสัตว์มีการปรับตัว ทาไมความสามารถในการปรับตัว และ ตามสิ่งแวดล้อมที่ ของสิ่งมีชีวิตจึงสาคัญกับคน? คณิตศาสตร์ หลากหลาย และเป็นสิ่ง (ทรัพยากร สถานที่) สาคัญสาหรับผู้คน
ผลกระทบหลังจากภัย พิบัติ คนและหมู่บ้าน เศรษฐกิจสามารถ บรรเทาลงได้
วิธีการที่จะลดความยุ่งยากให้คน ทาได้อย่างไร? กิจกรรมทางเศษฐ กิจ และวัฒนธรรมหลังจากภัย พิบัติ (คนและสถานที่ )
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
ในแต่ละที่อยู่ของสิ่งมีชีวิตประจาท้องถื่น มีคุณลักษณะทางชีวภาพที่ขึ้นอยู่ กับขีดความสามารถของสิ่งแวดล้อม แต่ละประเทศมีประชากรของสัตว์ ต้นไม้ พืช ที่รับผลจากสภาวะในอุดมคติ เช่น การแข่งขัน มลพิษ การเจริญเติบโตของประชากร โดยในปัจจัยเหล่านี้สามารถสร้างการ เจริญเติบโตแบบยั่งยืนและมั่นคง และศึกษาเรือ่ งขีดความสามารถ (K) ใน ระบบนิเวศ ประเทศอาเซียนที่โดนภัยธรรมชาติเช่น ซึนามิ ใต้ฝุ่น แผ่นดินไหว ฤดูพายุ ประชากรในท้องถิ่นต้องอพยพ นักเรียนวิเคราะห์เรื่องผลกระทบของภัย ธรรมชาติต่อประเทศในด้านการเกษตร เศรษฐกิจ ประชากร และความ พยายามของคนในประเทศ
236
237
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวความคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
วิชา
ผลทางการศึกษา
หน้าที่ พลเมืองและ คุณธรรม
ความทรงจาและสิ่งเตือน ความจาสามารถ ช่วยเหลือคนและ ประชากรที่รับผลจาก ภัยพิบัติ
บทบาทของความทรงจาและสิ่ง เตือนความจาในการช่วย ประชากรฟื้นฟูหลังภัยพัติคือ อะไร? (คน สถานที่)
ใช้ข่าวเรื่องคนหรือกลุ่มที่ประสบกับภัยพิบัตแิ ละออกแบบสิ่งเตือนความจา (เสา งานราลึก อนุเสาวรีย์ หรืองานเขียน ) เพื่อระลึกและอธิบายว่าสิ่งเตือน ความจานั้นให้เกียรติคนที่ตายไป ช่วยคนที่ไม่ตาย ช่วยให้คนข้างนอกเข้าใจ เหตุการณ์และกระตุ้นการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ไม่มีความผิดพลาดในอนาคต
ประเทศและท้องถิ่น สามารตั้งเป้าหมายเรื่อง การเติบโตของเศรษฐกิจ การศึกษา การงาน สุขภาพ ผู้หญิงมีส่วนร่วม ในเศรษกิจและการเมือง และความสุขของเด็ก
การตั้งเป้าหมายช่วยให้ประเทศ แบ่งทรัพยากรและกระตุ้นความ เปลี่ยนแปลงได้อย่างไร? (คน ทรัพยากร )
ดูตัวอย่างเป้าหมายในนโยบายของอาเซียนในอดีตและปัจจุบัน ใครเป็นคนตั้งเป้าหมายนี้ ตั้งเป้าหมายเพื่ออะไร และกระตุ้นให้เกิด การเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร พร้อมให้นกั เรียนตั้งเป้าหมายให้ประเทศ ตนเองและทาแผนปฎิบัติ
237
238
วิชา
ผลทางการศึกษา
ภาษาและ ประเทศสามารถ วรรณกรรม สนับสนุนความยืนหยุ่น โดยการสื่อสารและ ร่วมมือระหว่างภาษา
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
คนชนะปัญหาของความต่างของ ศึกษาเรื่องวิธีที่กลุ่มใช้ในการสือ่ สารกรณีภาษามีความต่างกัน เช่น ใช้เอกสาร ภาษาเพื่อนร่วมงานกันได้อย่างไร ทีแ่ ปลมาแล้ว เป็นต้น แล้วเลือกทักษะที่จาเป็นเพื่อให้งานสาเร็จ และได้อะไรจากการร่วมงานกัน? (คน แนวคิด) คนเขียนกวีจากวัฒนธรรมต่างกัน นักเรียนจะอ่านกวีจากหลากหลายช่วงเวลาและวัฒนธรรมที่มีหัวข้อเดียวกัน ให้นักเรียนจะสังเกตสิ่งที่ต่างกันและคล้ายกัน เขียนเรื่องเดียวกันอย่างไร? (คน สถานที่ แนวคิด)
238
239
วิชา ศิลปะ
ผลทางการศึกษา บางหัวข้อศิลปะมีความ เหมือนกันทั่วโลกแม้จะ ต่างวัฒนธรรมและ ศิลปะมีหลากหลายชนิด
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด ศิลปินที่มาจากวัฒนธรรมต่างกัน ทางานเรื่องความคิดคล้ายกัน อย่างไร? (คน ทรัพยากร แนวคิด )
ชมนิทรรศการในพิพิธภัณฑ์และให้นักเรียนสังเกตศิลปะในหัวข้อเดียวกัน แล้ว ให้นักเรียนสร้างสรรค์งานศิลปะจากแนวความคิดตนเองจากหัวข้อเดียวกัน แต่แสดงจากประสบการณ์ของตนเอง
สุขภาพและ เมื่อคนมีความรู้เรื่อง การศึกษามีผลต่อสิ่งที่เกี่ยวกับ ให้นักเรียนหาหลักฐานของการศึกษาในสังคมตนเอง การศึกษาเข้าถึงใครและ กายภาพ โภชนาการ ออกกาลัง สุขภาพและความคิดเรื่องสุขภาพ ใช้เครื่องมืออะไรในการเปลี่ยนใจคน แล้วให้นักเรียนหาสิ่งที่เป็นอันตรายต่อ และปัจจัยอื่นที่มีผลต่อ อย่างไร ? (คน แนวความคิด) สุขภาพในสังคมตนเองและรณรงค์เพื่อให้ความรู้ต่อกลุ่มที่อยู่ในอันตราย สุขภาพ ส่วนใหญ่คนจะ เปลีย่ นพฤติกรรมมาดูแล สุขภาพมากยิ่งขึ้น
239
240
วิชา
ผลทางการศึกษา
สุขภาพและ วัฒนธรรมมีบทบาท กายภาพ สาคัญในสิ่งที่เกี่ยวกับ (ต่อ) สุขภาพและความคิด เรื่องสุขภาพ
เทคโนโลยี
หัวข้อและคาถามที่จาเป็น คน สถานที่ ทรัพยากร แนวคิด คนเรียนรู้อะไรจากวัฒนธรรมที่ ต่างกันในเรื่องสุขภาพ? (คน แนวความคิด)
กิจกรรมการเรียนการสอนที่แนะนา
เปรียบเทียบวัฒนธรรมเรื่องสุขภาพและวิเคราะห์ใน 2 เรื่องคือ - นักเรียนได้ ฒ เรียนรูต้ ่อจากค - สิ่งที่คนอื่นควรคิดถึงถ้าจะสร้างนโยบายใหม่คืออะไร
นวัตกรรมเทคโนโลยี การคาดหมายที่เป็นจริงใด้สาหรับ การประเมิน ค (พลังงาน มีประโยชน์และข้อจากัด เทคโนโลยีคืออะไร? การคมนาคม การเกษตร) มีผลอะไรต่อสิ่งแวดล้อม มีปัญหาอะไรต่อสิ่งอานวย (ทรัพยากร แนวคิด ) ความสะดวก มีผลต่อบางประชากรมากกว่าที่อื่น (คนที่อยู่แถวเขื่อน ใกล้ โรงไฟฟ้า ถ่านหิน ที่ทิ้งขยะ เป็นต้น) ให้นักเรียนเลือกใช้โปรแกรมและ เครื่องมือตามชอบเพื่อนาเสนอข้อมูล
240