HUMANNESS RISE UP!

Page 1

1


2

ความเป็ นมนุษย์ จงบังเกิด


ความเป็ นมนุษย์ จงบังเกิด 3


HUMANNESS RISE UP 4


HUMANNESS RISE UP

5


CONTENT มนุษย์ มนุษย์ แหล่งกำ�เนิดบรรพบุรุษโลก วิวัฒนาการของมนุษย์

2-3 4-5 6-7

ความเป็ นมนุษย์ ความเป็นมนุษย์คืออะไร ? ความเป็นมนุษย์เชิงปรัชญา ความเป็นมนุษย์เชิงศาสนา ความเป็นมนุษย์เชิงปัญญาประดิษฐ์

10-11 12-13 14-15 16-17

ศักดิ์ศรีความเป็ นมนุษย์ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ การละเมิดศักด์ศรีความเป็นมนุษย์ การค้าทาสคนผิวสี ทาสไทย

6

20-21 22-23 24-27 28-29


การไรความเป็ นมนุษย์ ้ สงครามโลก ฮอโลคอสต์ โศกนาฏกรรมฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิว การสังหารหมู่นานจิง การสังหารหมู่ธรรมศาสตร์ (เหตุการณ์ 6 ตุลา)

34-37 38-41 42-45 46-49

สิทธิมนุษยชน สิทธิมนุษยชน หลักสิทธิมนุษยชน 30 ข้อ แบบเข้าใจง่าย

52-53 54-55

7


humanness ความเป็นมนุษย์ [n.] เกี่ยวกับมนุษย์, ความเป็นมนุษย์,เป็นลักษณะ ของมนุษย์, มนุษย์, อย่างมนุษย์ธรรมดา

8


มนุษย ์

1


2


มนุษย์

มนุ​ุษย์​์ (ชื่​่�อวิ​ิทยาศาสตร์​์ Homo sapiens, ภาษาละติ​ินแปลว่​่า “คนฉลาด” หรื​ือ “ผู้​้�มี​ีปั​ัญญา”) เป็​็นสปี​ีชี​ีส์​์เดี​ียวที่​่� ยั​ังมี​ีชี​ีวิ​ิตอยู่​่�ในสกุ​ุล Homo ในทางกายวิ​ิภาค มนุ​ุษย์​์สมั​ัยใหม่​่ถื​ือกำำ�เนิ​ิดขึ้​้�นในทวี​ีปแอฟริ​ิการาว 200,000 ปี​ีที่​่�แล้​้ว และบรรลุ​ุความนำำ�สมั​ัยทางพฤติ​ิกรรม (behavioral modernity) อย่​่างสมบู​ูรณ์​์เมื่​่�อราว 50,000 ปี​ีที่​่�แล้​้ว มนุ​ุษย์​์มี​ีลั​ักษณะพิ​ิเศษ คื​ือ มี​ีสมองใหญ่​่เมื่​่�อเที​ียบกั​ับขนาดตั​ัว โดยเฉพาะสมองชั้​้�นนอก สมองส่​่วนหน้​้าและ สมองกลี​ีบขมั​ับที่​่�พั​ัฒนาเป็​็นอย่​่างดี​ี ทำำ�ให้​้มนุ​ุษย์​์สามารถให้​้เหตุ​ุผลเชิ​ิงนามธรรม ใช้​้ภาษา พิ​ินิ​ิจภายใน แก้​้ปั​ัญหาและ สร้​้างสรรค์​์วั​ัฒนธรรมผ่​่านการเรี​ียนรู้​้�ทางสั​ังคม ความสามารถทางจิ​ิตใจของมนุ​ุษย์​์นี้​้� ประกอบกั​ับการปรั​ับตั​ัวมา เคลื่​่�อนไหวสองเท้​้าซึ่​่�งทำำ�ให้​้มื​ือว่​่างจั​ัดการจั​ับวั​ัตถุ​ุได้​้ ทำำ�ให้​้มนุ​ุษย์​์สามารถใช้​้อุ​ุปกรณ์​์เครื่​่�องมื​ือได้​้ดี​ีกว่​่าสปี​ีชี​ีส์​์อื่​่�นใดบน โลกมาก มนุ​ุษย์​์ยั​ังเป็​็นสปี​ีชี​ีส์​์เดี​ียวเท่​่าที่​่�ทราบที่​่�ก่​่อไฟและทำำ�อาหารเป็​็น สวมใส่​่เสื้​้�อผ้​้า และสร้​้างสรรค์​์ รวมถึ​ึงมี​ีควา มสามารถที่​่�จะใช้​้เทคโนโลยี​ีและศิ​ิลปะอื่​่�น ๆ การศึ​ึกษามนุ​ุษย์​์เป็​็นสาขาหนึ่​่�งของวิ​ิทยาศาสตร์​์ เรี​ียกว่​่า มานุ​ุษยวิ​ิทยา อกลั​ักษณ์​์ที่​่�สำำ�คั​ัญของมนุ​ุษย์​์ ได้​้แก่​่ ความถนั​ัดในการใช้​้ระบบการสื่​่�อสารด้​้วยสั​ัญลั​ักษณ์​์ เช่​่น ภาษา เพื่​่�อการแสดงออก แลกเปลี่​่�ยนความคิ​ิด และการจั​ัดระเบี​ียบ มนุ​ุษย์​์สร้​้างโครงสร้​้างทางสั​ังคมอั​ันซั​ับซ้​้อน ซึ่​่�งประกอบด้​้วยการรวมกลุ่​่�มจำำ�นวนมากที่​่�มี​ีทั้​้�งร่​่วมมื​ือและแข่​่งขั​ันกั​ัน จากครอบครั​ัวและวงศาคณาญาติ​ิ ไปจนถึ​ึงรั​ัฐ ปฏิ​ิสั​ัมพั​ันธ์​์ทางสั​ังคมระหว่​่างมนุ​ุษย์​์ได้​้ก่​่อตั้​้�งค่​่านิ​ิยม บรรทั​ัดฐานทางสั​ังคมและพิ​ิธี​ีกรรมซึ่​่�งรวมกั​ันเป็​็นรา กฐานของสั​ังคมมนุ​ุษย์​์ มนุ​ุษย์​์ขึ้​้�นชื่​่�อในความปรารถนาที่​่�จะเข้​้าใจและมี​ีอิ​ิทธิ​ิพลเหนื​ือสิ่​่�งแวดล้​้อมแสวงหาคำำ�อธิ​ิบาย และปรั​ับเปลี่​่�ยนปรากฏการณ์​์ต่า่ ง ๆ ผ่​่านวิ​ิทยาศาสตร์​์ ปรั​ัชญา เทพปกรณั​ัม และศาสนา

3


กำ�เนิดมนุษย์ บรรพบุรุษโลก กำำ�เนิ​ิดมนุ​ุษย์บรรพบุ​ุ รุ​ุษโลก ์

มนุ​ุษย์​์ยุ​ุคใหม่​่สื​ืบสายพั​ันธุ์​์�มาจากบรรพบุ​ุรุ​ุษกลุ่​่�มเล็​็ กๆ ในแอฟริ​ิกาเพี​ียง 2,000 คน เมื่​่�อ 70,000 ปี​ีก่​่อน แล้​้วค่​่อยๆ กระจายจนมี​ีประชากรทั่​่�วโลกมากถึ​ึง 7,000 ล้​้านคน ในปั​ัจจุ​ุบั​ัน ?และได้​้ปรั​ับเปลี่​่�ยนรู​ูปร่​่าง หน้​้าตา ตามสภาพแวดล้​้อม มนุ​ุษย์​์ ( Homo sapiens )?ถื​ือกำำ�เนิ​ิดบนโลก มากว่​่า 200,000 ปี​ี แต่​่ มนุ​ุษย์​์ เกื​ือบสู​ูญพั​ันธุ์​์�เมื่​่�อ 70,000 ปี​ีที่​่�แล้​้ว เนื่​่�องจากเกิ​ิด?ระเบิ​ิดของ ภู​ูเขาไฟขนาดยั​ักษ์​์ ( Super Volcano ) ชื่​่�อ Toba ที่​่�สุ​ุมาตราเหนื​ือ อิ​ินโดนี​ีเซี​ีย?ทำำ�ให้​้เกิ​ิด ฝุ่​่�นปกคลุ​ุมทั่​่�วโลก และเกิ​ิดยุ​ุคน้ำำ��แข็​็งนานกว่​่า 7 ปี​ี ทำำ�ให้​้มนุ​ุษย์​์ล้​้มตาย เหลื​ือเพี​ียงกลุ่​่�มเล็​็กๆ เพี​ียงประมาณ 2,000 คน ที่​่�แอฟริ​ิกา ในภาพ ผลจากการระเบิ​ิดทำำ�ให้​้เกิ​ิด?ทะเลสาป Tobba?ความยาว 100 ก.ม. กว้​้าง 30 ก.ม. ลึ​ึก 500 เมตร Super Volcano ที่​่�ทำำ�ให้​้มนุ​ุษย์​์ ( Homo sapiens ) เกื​ือบสู​ูญพั​ันธุ์​์�เมื่​่�อ 70,000 ปี​ี ที่​่�แล้​้ว แตกต่​่างจากภู​ูเขาไฟทั่​่�วไป คื​ือ Super Volcano จะไม่​่มี​ีปล่​่องภู​ูเขาไฟให้​้เห็​็นเหมื​ือนภู​ูเขาไฟทั่​่�วไป แต่​่มั​ันจะซ่​่อนตั​ัวอยู่​่�ลึ​ึกใต้​้พื้​้�นดิ​ิน ยากต่​่อการตรวจพบ Super Volcano เกิ​ิดจากบ่​่อหิ​ินละลายขนาดยั​ักษ์​์ ( Magma Chamber ) ที่​่�สะสมเป็​็นเวลาหลายพั​ัน หลายหมื่​่�น ปี​ี ทั​ับถมหนาหลายสิ​ิบกิ​ิโลเมตรใต้​้พื้​้�นโลก เมื่​่�อเกิ​ิดการประทุ​ุขึ้​้�น มั​ันจะพ่​่นหิ​ินละลายออกสู่​่�ผิ​ิว โลกด้วยความเร็วสูง Magma ที่สะสมอยู่ใน Magma

4

Chamber ใต้ดินจะถูกพ่นออกมาและหมดไปอย่าง รวดเร็ว ทำ�ให้เปลือกโลกที่อยู่ข้างบนยุบตัวลงไป เกิดเป็นหลุมขนาดยักษ์ เหมือนกับหลุมที่เกิดจากการ พุ่งชนของอุกกาบาต ความหวัง?2,000 คน?กำ�เนิดมนุษย์บรรพบุรุษโลก หลังจากที่รอดพ้นจากการระเบิด Super Volcano ครั้งล่าสุด ทำ�ให้เหลือมนุษย์รอดเพียงแค่ 2,000 คน เท่านั้น หลังจากนั้น?มนุษย์คนแรกเดินทางออกจาก แอฟริกา เมื่อ 70,000 ปี ที่แล้ว เขาได้ทิ้ง DNA ไว้ในร่างกายของพวกเราทุกคน โดยการตามรอย DNA ของผู้คนกว่า 500,000 คนทั่วโลก เราสามารถตาม รอยบรรพบุรุษของเราได้ ทำ�ให้เห็นว่ามนุษย์ทุกคนบน โลกนี้มีจุดกำ�เนิดมาจากที่เดียวกันคือ แอฟริกา โดย ต่อมาได้แยกย้ายไปตามเส้นทางต่างๆเพื่อตั้งรกรากใน ทุกส่วนของโลก


5


6


วิ​ิวั​ัฒนาการของมนุ​ุษย์​์ และสิ่​่�งมี​ีชี​ีวิ​ิตนั้​้น � วิ​ิวั​ัฒนาการของมนุ​ุษย์​์ และสิ่​่�งมี​ีชี​ีวิ​ิตนั้​้น � เป็​็นผลมาจาก “การคั​ัดเลื​ือกโดยธรรมชาติ​ิ”วิ​ิวั​ัฒนาการของมนุ​ุษย์​์ และสิ่​่�งมี​ีชี​ีวิ​ิตอื่​่�นๆ คื​ือ กระบวนการการเ ปลี่​่�ยนแปลงทางพั​ันธุ​ุกรรมและการพั​ัฒนาของสิ่​่�งมี​ีชีวิี ิต โดยถ่​่ายทอดลั​ักษณะการเปลี่​่�ยนแปลงที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นไปยั​ังสิ่​่� งมี​ีชี​ีวิ​ิตรุ่​่�นต่​่อไป เพื่​่�อให้​้เกิ​ิดการปรั​ับตั​ัวและเพิ่​่�มโอกาสการมี​ีชี​ีวิ​ิตรอดในสภาพแวดล้​้อมที่​่�แตกต่​่าง ในปี​ี 1859 ชาร์​์ลส์​์ ดาร์​์วิ​ิน (Charles Darwin) นั​ักธรรมชาติ​ิวิ​ิทยาชาวอั​ังกฤษ กล่​่าวถึ​ึงหลั​ักการของวิ​ิวั​ัฒนาการของสิ่​่�งมี​ีชี​ีวิ​ิต ว่​่า วิ​ิวั​ัฒนาการของสิ่​่�งมี​ีชี​ีวิ​ิตนั้​้�น เป็​็นผลมาจาก “การคั​ัดเลื​ือกโดยธรรมชาติ​ิ” (Natural Selection) ทำำ�ให้​้เกิ​ิดการป รั​ับตั​ัวของสิ่​่�งมี​ีชี​ีวิ​ิตในสภาพแวดล้​้อมต่​่างๆ เพื่​่�อเพิ่​่�มโอกาสของการอยู่​่�รอด โดยจะเกิ​ิดการถ่​่ายทอดลั​ักษณะพิ​ิเศษจา กการปรั​ับตั​ัวที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�น ส่​่งผ่​่านไปยั​ังสิ่​่�งมี​ีชี​ีวิ​ิตในรุ่​่�นต่​่อไป เช่​่น สี​ี ขนาด รู​ูปร่​่าง การสื​ืบพั​ันธุ์​์� หรื​ือคุ​ุณสมบั​ัติ​ิอื่​่�นๆ

สายพั​ั นธุ์​์�มนุ​ุษย์ที่​่� ั ์ วิ​ิวั​ัฒนาการมาจนถึ​ึงปั​ั จจุ​ุ บัน โฮโม นี​ีแอนเดอร์​์ธาลเอนซิ​ิส (Homo neanderthalensis) อาศั​ัยอยู่​่�ในทั้​้�งในทวี​ีปยุ​ุโรปและเอเชี​ียเมื่​่�อร าว 3 แสนปี​ีก่​่อน มี​ีขนาดสมองราว 1,400 ลู​ูกบาศก์​์เซนติ​ิเมตร อยู่​่�ไรวมกั​ันเป็​็นกลุ่​่�ม ออกล่​่าสั​ัตว์​์ร่​่วมกั​ัน สามารถใช้​้ประโยชน์​์จากไฟ มี​ีเสื้​้�อผ้​้าสวมใส่​่ รวมถึ​ึงการมี​ีสั​ังคม วั​ัฒนธรรมและมี​ีความสามารถในการสร้​้างสรรค์​์สิ่​่�ง ต่​่างๆ เช่​่น ภาพจิ​ิตรกรรมฝาผนั​ัง แต่​่ โฮโม นี​ีแอนเดอร์​์ธาลเอนซิ​ิส หรื​ือ มนุ​ุษย์​์นี​ีแอนเดอร์​์ธาล สู​ูญพั​ันธุ์​์�ไปเมื่​่�อราว 40,000 ปี​ีก่​่อน โฮโม เซเปี​ียนส์​์ (Homo Sapiens) หรื​ือมนุ​ุษย์​์ในปั​ัจจุ​ุบั​ัน เมื่​่�อราว 2 แสนปี​ีก่​่อน ซึ่​่�งเป็​็นมนุ​ุษย์​์สายพั​ันธุ์​์�เดี​ียวที่​่� หลงเหลื​ืออยู่​่�บนโลกใบนี้​้� เรามี​ีภาษา วั​ัฒนธรรม และความสามารถในการสร้​้างสรรค์​์และประดิ​ิษฐ์​์สิ่​่�งต่​่างๆ โฮโม เซเปี​ียนส์​์ ได้​้ปรั​ับเปลี่​่�ยนวิ​ิถีชี​ี ีวิ​ิตของมนุ​ุษย์​์ยุ​ุคก่​่อน จากการล่​่าสั​ัตว์​์ พั​ัฒนาจนเกิ​ิดการทำำ�เกษตรกรรมและอุ​ุตสาหกร รม จากการอยู่​่�ร่​่วมกั​ันเป็​็นกลุ่​่�มประชากรเล็​็กๆ พั​ัฒนาจนกลายเป็​็นหมู่​่�บ้​้าน เมื​ืองและประเทศ ซึ่ง่� มนุ​ุษย์​์ปั​ัจจุ​ุบั​ันนั้​้�น ปรากฏขึ้​้�นในพื้​้�นที่​่�ต่​่างๆ ของโลกในช่​่วงเวลาที่​่�แตกต่​่างกั​ันออกไป

7


8


ความเป็ น มนุษย ์

9


10


ความเป็​็ น มนุ​ุษย์​์ มนุษย์เป็นสัตว์ประเภทหนึ่ง หากแต่เป็นสัตว์ประเสริฐเนื่องจากมนุษย์นอกจากจะมีร่างกาย มีสมองที่คิดได้ลึกซึ้งม ากกว่าสัตว์เดรัจฉานแล้ว มนุษย์ยังมีอีกส่วนหนึ่งคือจิตวิญญาณ จิตวิญญาณจะเป็นตัวที่ฉุดไม่ให้มนุษย์กระทำ�สิ่งที่ ผิดศีลธรรมและจริยธรรม โดยให้สามารถควบคุมสัญชาตญาณดิบของสัตว์ทั่วไปซึ่งต้องการกินอาหาร มีที่อยู่อาศัย มีความต้องการทางกามารมณ์ มีความโลภ ฯลฯ ในส่วนนี้ทำ�ให้มนุษย์มีความแตกต่างจากสัตว์ซึ่งถูกผลักดันโดย สัญชาตญาณเป็นหลัก และขณะเดียวกันก็เป็นตัวแปรสำ�คัญที่แยกแยะระหว่างมนุษย์ที่มีระดับการพัฒนา จิตวิญญาณสูง เป็นคนดี กับมนุษย์ที่มีระดับการพัฒนาจิตวิญญาณต่ำ� เป็นคนเห็นแก่ตัว โหดเหี้ยมทารุณ ไร้ความเมตตาปรานี ฯลฯ

11


ความเป็​็ นมนุ​ุษย์​์ ในเชิ​ิงปรั​ัชญา มนุษย์ตามแนวปรัชญากรีก

ปรั​ัชญากรี​ีกถื​ือว่​่ามนุ​ุษย์​์คื​ือสิ่​่�งมี​ีชี​ีวิ​ิตที่​่�เป็​็นส่​่วนหนึ่​่�งขอ งธรรมชาติ​ิ ประกอบด้​้วยร่​่างกายซึ่​่�งเป็​็นรู​ูปธรรม และจิ​ิตวิ​ิญญาณซึ่​่�งเป็​็นนามธรรม ซึ่​่�งทั้​้�งสองส่​่วนนี้​้�เป็​็นองค์​์รวมของชี​ีวิ​ิต เป็​็นความแท้​้ จริ​ิงของความเป็​็นมนุ​ุษย์​์ บู​ูรณาภาพแห่​่งความสมบู​ูรณ์​์ ของสุ​ุขภาพทางกายและจิ​ิตถื​ือเป็​็นชี​ีวิ​ิตที่​่�มี​ีคุ​ุณภาพ ตามแนวปรั​ัชญานี้​้� แม้​้ว่​่าร่​่างกายของมนุ​ุษย์​์จะมี​ีความ แตกต่​่างทางโครงสร้​้างไปตามเชื้​้�อชาติ​ิเผ่​่าพั​ันธุ์​์� แต่​่ทุ​ุกคนก็​็ยั​ังครอง”แบบของมนุ​ุษย์​์” เช่​่นเดี​ียวกั​ัน มนุ​ุษย์​์เป็​็นผู้​้�กำำ�หนดวั​ัดทุ​ุกสรรพสิ่​่�งในเรื่​่�องของมนุ​ุษย์​์ และที่​่�เกี่​่�ยวกั​ับมนุ​ุษย์​์ ความเป็​็นสั​ัตว์​์ที่​่�มี​ีเหตุ​ุผล ความรู้​้� สติ​ิปั​ัญญา คุ​ุณธรรมศี​ีลธรรม ความเป็​็นสั​ัตว์​์สั​ังคมและการเมื​ือง ล้​้วนเป็​็นคุ​ุณสมบั​ัติ​ิที่​่� มนุ​ุษย์​์มี​ีติ​ิดตั​ัวมาตามธรรมชาติ​ิ และได้​้เสริ​ิมสร้​้างและพั​ัฒนาขึ้​้�น ผ่​่านการปลู​ูกฝั​ังอบรม ศึ​ึกษาเรี​ียนรู้​้� ฝึ​ึกหั​ัดโดยความเพี​ียรพยามและในความรั​ั บผิ​ิดชอบของมนุ​ุษย์​์เอง ชี​ีวิ​ิตที่​่�สมบู​ูรณ์​์ของมนุ​ุษย์​์นั้​้�น คื​ือ ต้​้องมี​ีสุ​ุขภาพกายดี​ี ร่​่างกายสมบู​ูรณ์​์แข็​็งแรง ปราศจากความเจ็​็บป่​่วยต่​่างๆ และมี​ีสุ​ุขภาพทางจิ​ิตวิ​ิญญาณที่​่�สมบู​ูรณ์​์ ซึ่​่�งปรุ​ุงแต่​่งขึ้​้�นด้​้วย 3 องค์​์ประกอบด้​้วยกั​ันคื​ือ ส่​่วนเหตุ​ุผล เป็​็นคุ​ุณลั​ักษณะที่​่�สำำ�คั​ัญที่​่�สุ​ุดของมนุ​ุษย์​์ เพรามนุ​ุษย์​์มี​ีจิ​ิตวิ​ิญญาณส่​่วนที่​่�มี​ีเหตุ​ุผลเป็​็นส่​่วนสู​ูงสุ​ุด นี่​่�เองมนุ​ุษย์​์จึ​ึงได้​้ชื่​่�อว่​่า”เป็​็นสั​ัตว์​์ที่​่�มี​ีเหตุ​ุผล” และเป็​็นตั​ัวของตั​ัวเองอย่​่างสมบู​ูรณ์​์ มี​ีความเป็​็นอิ​ิสระ ที่​่�สามารถคิ​ิดและกระทำำ�การใด ๆ ในการควบคุ​ุม

12

พฤติ​ิกรรมของวิ​ิญญาณของตนความมี​ีเหตุ​ุผลนี้​้�เองทำำ� ให้​้มนุ​ุษย์​์มี​ีศั​ักยภาพในการเรี​ียนรู้​้� นึ​ึกคิ​ิด วิ​ิเคราะห์​์ ไตร่​่ตรอง และแก้​้ปั​ัญหาทั้​้�งปวงได้​้ ส่​่วนคุ​ุณธรรม คุ​ุณงามความดี​ีทั้​้�งหลายของมนุ​ุษย์​์นั้​้�น จะเจริ​ิญงอกงามได้​้ ก็​็เพราะมนุ​ุษย์​์มี​ีจิ​ิตวิ​ิญญาณส่​่วนคุ​ุ ณธรรม อั​ันเป็​็นแหล่​่งกำำ�เนิ​ิดและสั่​่�งสมความดี​ีงาม ทำำ�ให้​้มนุ​ุษย์​์มี​ีคุ​ุณลั​ักษณะที่​่�ใฝ่​่หาความถู​ูกต้​้องดี​ีงาม มี​ีความกล้​้าหาญทางจริ​ิยธรรม ยุ​ุติ​ิธรรม หนั​ักแน่​่นอดทน เอื้​้�อเฟื้​้�อเผื่​่�อแผ่​่ เป็​็นต้​้น ส่​่วนความอยาก เป็​็นส่​่วนให้​้เกิ​ิดอารมณ์​์ความรู้​้�สึ​ึก และเพทนาการต่​่างๆ ความปรารถนาทางเพศ ความกระหายใคร่​่อยาก ความโลภ ความโกรธ ความกลั​ัว เป็​็นต้​้น ผู้​้�ที่​่�ได้​้ชื่​่�อว่​่ามีสุี ุขภาพทางจิ​ิตวิ​ิญญาณที่​่�สมบู​ูรณ์​์นั้​้�น องค์​์ประกอบของจิ​ิตวิ​ิญญาณทั้​้�ง3 ส่​่วนนี้​้�จะทำำ�หน้​้าที่​่� ประสานสอดคล้​้องกั​ันเป็​็นปกติ​ิ มี​ีความพอเหมาะพอดี​ี โดยมี​ีเหตุ​ุผลทำำ�หน้​้าที่​่�ควบคุ​ุมอารมณ์​์หรื​ือความอยาก ไให้​้อยู่​่�ในขอบเขตที่​่�เหมาะสม และมี​ีพลั​ังจากคุ​ุณธรรม สนั​ับสนุ​ุนเหตุ​ุผลอี​ีกที​ีหนึ่​่�ง


13


14


ความเป็​็ นมนุ​ุษย์​์ ในเชิ​ิงศาสนา มนุ​ุษย์​์คื​ือใคร ? ทั​ัศนะด้​้านศาสนา

พื้​้�นฐานความเชื่​่�อของมนุ​ุษย์​์แต่​่ครั้​้�งดึ​ึกดำำ�บรรพ์​์มี​ีมู​ูล เหตุ​ุจากการที่​่�มนุ​ุษย์​์ต้​้องการความอบอุ่​่�นทางจิ​ิตใจ เพราะความกลั​ัวในปรากฏการณ์​์ต่​่างๆ ของธรรมชาติ​ิ เช่​่น ฟ้​้าร้​้อง ฟ้​้าผ่​่า ฝนตก เป็​็นต้​้น ทำำ�ให้​้มนุ​ุษย์​์เชื่​่�อว่​่า มี​ีสิ่​่�งที่​่�มองไม่​่เห็​็นอยู่​่�เบื้​้�องหลั​ังธรรมชาติ​ิและสามารถ ควบคุ​ุมธรรมชาติ​ิ ความเชื่​่�อดั​ังกล่​่าวเป็​็นบ่​่อเกิ​ิดของศา สนาหลายศาสนา ศาสนาจึ​ึงมี​ีอิ​ิทธิ​ิพลต่​่อการดำำ�เนิ​ิน ชี​ีวิ​ิตของมนุ​ุษย์​์มากที่​่�สุ​ุดตั้​้�งแต่​่เกิ​ิดจนตาย ศาสนาทุ​ุก ศาสนาจึ​ึงพยายามสร้​้างตำำ�นานเพื่​่�ออธิ​ิบายเกี่​่�ยวกั​ับ มนุ​ุษย์​์และธรรมชาติ​ิของมนุ​ุษย์​์ไว้​้อย่​่างหลากหลาย ศาสนานั้​้�นถ้​้าศึ​ึกษาอย่​่างละเอี​ียดแล้​้วมี​ีลั​ักษณะ (นอกจากเป็​็นระบบความเชื่​่�อของประชาชนทั่​่�วไป) เป็​็นวิ​ิชาการแขนงหนึ่​่�งเหมื​ือนกั​ัน และเมื่​่�อมองโดย ภาพรวมแล้​้วศาสนาจะเกี่​่�ยวข้​้องกั​ับประเด็​็นดั​ังต่​่อไปนี้​้� 1.ธรรมชาติ​ิของชี​ีวิ​ิตมนุ​ุษย์​์โดยอธิ​ิบายว่​่าชี​ีวิ​ิ ตคื​ืออะไร ประกอบด้​้วยอะไรบ้​้าง เกิ​ิดขึ้​้�นมาได้​้อย่​่างไร อยู่​่�ได้​้อย่​่างไรและตายแล้​้วจะไปไหน 2.ธรรมชาติ​ิของโลกและจั​ักรวาล ศาสนา พยายามตอบคำำ�ถามที่​่�ว่​่าโลกและจั​ักรวาลคื​ืออะไร เกิ​ิดขึ้​้�นมาได้​้อย่​่างไร โลกอื่​่�นมี​ีหรื​ือไม่​่ สั​ัตว์​์อื่​่�นมี​ีหรื​ือไม่​่ เกี่​่�ยวข้​้องกั​ับมนุ​ุษย์​์อย่​่างไร

3.ธรรมชาติ​ิของเทพเจ้​้าผู้​้�เป็​็นเจ้​้าของจั​ักรวาล ศาสนาอธิ​ิบายถึ​ึงอำำ�นาจและคุ​ุณลั​ักษณะต่​่างๆ ของเทพเจ้​้าตลอดถึ​ึงความสั​ัมพั​ันธ์​์ระหว่​่างพระเจ้​้ากั​ับ มนุ​ุษย์​์ แต่​่คำำ�นิ​ิยามของมนุ​ุษย์​์ในศาสนาประเภทอเทว นิ​ิยมไม่​่สนใจในเรื่​่�องนี้​้� 4.เป้​้าหมายสู​ูงสุ​ุดของชี​ีวิ​ิต พยายามอธิ​ิบายถึ​ึง ความหมายอั​ันแท้​้จริ​ิงของชี​ีวิ​ิต พยายามตอบคำำ�ถามที่​่� ว่​่าคนเกิ​ิดมาทำำ�ไม และจะเดิ​ินทางไปสู่​่�สถานี​ีสุ​ุดท้​้าย อะไร ที่​่�ไหน 5.วิ​ิถี​ีทางไปสู่​่�เป้​้าหมายสู​ูงสุ​ุดนั้​้�นคื​ืออะไร คนจะปฏิ​ิบั​ัติ​ิตนอย่​่างไร จึ​ึงจะไปถึ​ึงเป้​้าหมายสู​ูงสุ​ุดนั้​้�น ได้​้ จากลั​ักษะของศาสนาที่​่�กล่​่าวไปแล้​้วข้​้างต้​้น จะเห็​็นว่​่า ประเด็​็นที่​่�สำำ�คั​ัญอย่​่างหนึ่​่�งก็​็คื​ือ ศาสนาพยายามที่​่�จะ อธิ​ิบายเกี่​่�ยวกั​ับชี​ีวิ​ิตของมนุ​ุษย์​์นั่​่�นเอง ศาสนาทุ​ุก ศาสนาจึ​ึงพยายามที่​่�จะตอบคำำ�ถามเกี่​่�ยวกั​ับมนุ​ุ ษย์​์ในแง่​่มุ​ุมต่​่างๆ กั​ันตามความเชื่​่�อของตน เช่​่น มนุ​ุษย์​์คื​ืออะไร มนุ​ุษย์​์มาจากไหน มนุ​ุษย์​์เกิ​ิดมี​ีขึ้​้�นใน โลกตั้​้�งแต่​่เมื่​่�อไร และมนุ​ุษย์​์มี​ีองค์​์ประกอบอะไรบ้​้าง เป็​็นต้​้น ฉะนั้​้�น คำำ�ว่​่า “มนุ​ุษย์​์” ในมุ​ุมมองทางศาสนา จึ​ึงมี​ีความหมายที่​่�สำำ�คั​ัญที่​่�จะต้​้องทำำ�ความเข้​้าใจ

15


ความเป็​็ นมนุ​ุษย์​์ ปั​ั ญญาประดิ​ิษฐ์​์ หุ่นยนต์ได้รับการพัฒนาให้ใกล้เคียงความเป็นมนุษย์มากขึ้น ประเด็นสำ�คัญที่เราควรพิจารณาอาจไม่ใช่ เรื่องที่ว่าหุ่นยนต์ควรจะได้รับการยอมรับว่ามีตัวตน มีความเป็นปัจเจกและสามารถได้Lหรือไม่ แต่เป็นเรื่องของการ สร้างหุ่นยนต์ให้มีพัฒนาการในเชิงศีลธรรมควบคู่ไปด้วย การที่หุ่นยนต์เรียนรู้ได้ดีขึ้นกระทั่งสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตัว เองจนถึงขั้นที่มนุษย์ไม่สามารถทำ�นายได้ว่าหุ่นยนต์จะตัดสินใจอย่างไร และไม่สามารถล่วงรู้ถึงเหตุผลที่ใช้ในการตัด สินใจ จะกลายเป็นเรื่องน่ากลัวในสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับความเป็นความตายของคนจำ�นวนมาก หุ่นยนต์เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่มีการพัฒนาก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง การพัฒนานี้เกี่ยวข้องกับประเด็นทางจริยธรรมด้วย ว่าเราควรมีกรอบสากลเพื่อกำ�าหนดแนวทางในการพัฒนาเทคโนโลยีหุ่นยนต์หรือไม่ และประเด็นทางจริยธรรม อะไรบ้างที่ต้องคำ�านึงถึงการให้ความสำ�คัญในเรื่อง “จริยธรรมของหุ่นยนต์” จะนำ�ไปสู่การออกแบบเทคโนโลยีที่ สร้างผลเสียให้น้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ในอนาคต ในวันที่หุ่นยนต์และมนุษย์ได้หลอมรวมกันเป็นหนึ่งเดียว

16


17


18


ศักดิ์ศรีความ เป็ นมนุษย ์

19


20


ศั​ักดิ์​์�ศรี​ีความ เป็​็ นมนุ​ุษย์​์ ศักดิ์ศรี คือ การยอมรับของบุคคลในสังคม แม้ว่าพฤติกรรมที่บุคคลกระทำ�นั้น หรือต้องการกระทำ�นั้นๆอาจ จะกำ�หนดไว้ในรัฐธรรมนูญหรือไม่ก็ได้ ถือว่าเป็นเรื่องดีงาม สมควรยกย่อง และต้องถือปฏิบัติ จะเป็นองค์กร มติขององค์กร การยอมรับขององค์กรต่างๆนั้นด้วยก็ได้ สิทธิเสรีภาพ หรือ อำ�นาจและหน้าที่ก็ถือเป็นศักดิ์ศรีด้วย เช่นกัน มนุษย์ คือ บุคคลทั่วไปไม่เลือกว่าจะเป็นชนชาติใด เผ่า ศาสนา ผิวสี ภาษา และอื่นๆที่มีสภาพเป็นที่ยอมรับว่าเป็ นส่วนหนึ่งของสังคม ตลอดจนองค์กร, องค์การ ที่อาศัยมติเป็นข้อปฏิบัติไปตามประสงค์ขององค์กร, องค์การก็ให้ถื อเป็นมนุษย์ด้วยเช่นกัน ดังนั้น คำ�ว่าสิทธิและเสรีภาพของบุคคลในรัฐธรรมนูญให้ถือว่าศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ด้วย เช่นกัน

21


22


การละเมิดศักดิศ ์ รีความ เป็ นมนุษยมี ์ แนวทางดังนี้ 1.เมื่อมีพฤติกรรมที่มนุษย์กระทำ�การให้ กลายเป็นวัตถุโดยฝ่ายอำ�นาจรัฐ เท่ากับเป็นการลดศัก ดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 2.การปฏิบัติต่อมนุษย์ที่ทำ�ให้คุณสมบัติของ การเป็นผู้กระทำ�ของมนุษย์นั้นต้องเสียไป 3.การปฏิบัติที่แสดงออกถึงการเหยียดหยาม ต่อคุณค่าซึ่งคู่ควรแก่มนุษย์ผู้นั้นในฐานะของความเป็น บุคคล 4.การทำ�ลายชื่อเสียง 5.การเลือกปฏิบัติ 6.การกดดันลงให้รู้สึกต่ำ�ต้อย 7.การตีตราบาป 8.การตามล่า 9.การเหยียดหยาม 10.การตัดสินอันไม่สมควร 11.การลงโทษอาญาที่มีลักษณะทารุณโหด ร้ายจนเกินไปนั้นเอง 12.การหลีกเลี่ยงมิให้มีการได้

สิทธิและเสรีภาพที่กำ�หนดไว้ในรัฐธรรม นูญ ว่าเป็นสิทธิเสรีภาพของบุคคล /มนุษย์ / ประชาชนและพลเมือง 13.การบั่นทอนสิทธิเสรีภาพที่กำ�หนดไว้ในรัฐ ธรรมนูญหรือโดยปริยาย 14.การกระทำ�การใดๆเพื่อขัดขวางมิให้บุคคล มีโอกาสได้ใช้สิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญกำ�หนดไว้ 15.พฤติกรรมขัดขวาง,บั่นทอน,เห็นตรงข้าม ละเว้นการปฏิบัติ,กลั่นแกล้ง,กระทำ�ไปโดยสุจริตอันเป็ นการตัดสิทธิเสรีภาพตลอดจนไม่ได้รับการปฏิบัติจาก หน่วยงานของรัฐในหลายๆกรณีที่ประชาชนมิได้อาจใ ช้สิทธิและเสรีภาพที่รับรองไว้ในรัฐธรรมนูญก็ถือว่าละ เมิดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เช่นกัน 16.ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์มีอัตถาธิบายอีกม ากมาย เพราะ เป็นพื้นฐานที่มาของสิทธิและเสรีภาพ นั้นเอง

23


การค้าทาส ้ คนผิ​ิวสี​ี 1560 จากแอฟริกาถึงอเมริกา สู่โลกใหม่ที่ทุกอย่างไม่คุ้นตา ชาวแอฟริกันถูกนำ�มายังทวีปอเมริกาเป็นครั้งแรกโดยเจ้าอาณานิคมชาวสเปนที่นำ�ชาวแอฟริกันมาเป็นแรงงานทาส ในมลรัฐฟลอริดาในปัจจุบันในช่วงทศวรรษที่ 1560 อย่างไรก็ตาม การใช้แรงงานทาสขนานใหญ่เริ่มต้นขึ้นบนเกาะ เจมส์ทาวน์ มลรัฐเวอร์จิเนีย หนึ่งใน 13 มลรัฐซึ่งครอบครองโดยเจ้าอาณานิคมอังกฤษ จนกระทั่งในปี 1619 การค้า ขายทาสชาวแอฟริกันในทวีปอเมริกาถือกำ�เนิดขึ้นเป็นครั้งแรกโดยพ่อค้าชาวยุโรปที่แล่นเรือออกจากทวีปของตัวเอ งเพื่อไปนำ�ตัวชาวแอฟริกันมาขายยัง ‘โลกใหม่’ แห่งนี้ ว่ากันว่าตั้งแต่ศตวรรษที่ 17 จนถึงศตวรรษที่ 19 มีชาวแอฟริกันถูกลักพาตัวและนำ�ขึ้นเรือที่แล่นมาจากยุโรปถึง 12.5 ล้านคน แต่มีชีวิตรอดจนได้เหยียบ ‘โลกใหม่’ เพียงประมาณ 10.7 ล้านคน โดยสภาพความเป็นอยู่บนเรือ เป็นไปอย่างทารุณ ไม่เพียงแต่เขาต้องเผชิญกับกลุ่มคนที่หน้าตาไม่เหมือนพวกเขา พูดภาษาที่พวกเขาไม่เข้าใจ แต่ช าวแอฟริกันส่วนใหญ่ยังถูกล่ามโซ่และนั่งเบียดเสียดกันจนทุกคนอยู่ในสภาพหวาดกลัว

1619 อย่างไรก็ตาม ในช่วงต้นทศวรรษที่ 1600 นี้ ชาวแอฟ ริกันที่เป็นทาสยังไม่ถูกมองว่าเป็น ‘คนดำ�’ ที่มีสถาน ะต่ำ�กว่าชาติพันธุ์อื่นๆ เพียงเพราะสีผิว เพราะในเวลา นั้นคนที่เข้ามาเป็นคนรับใช้และทาสไม่ได้มีเพียงคนดำ� แต่ยังมีคนขาวจากยุโรปด้วย มีบันทึกว่าแม้จะถือเป็นธ รรมเนียมปฏิบัติที่จะใช้แรงงานคนดำ�ตwลอดชีวิต ในข ณะที่แรงงานคนอื่นมีสัญญาการใช้แรงงานอย่างชัดเจน แต่ก็มีกรณีนี้ที่คนดำ�สามารถกลายเป็นอิสระเช่นกัน

24


1860 ในปี 1860 อับราฮัม ลินคอล์น ได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดี เขาประกาศตัวต่อต้าน การใช้แรงงานทาสอย่างชัดเจน ซึ่งสร้างความไม่พอใจ ต่อรัฐทางตอนใต้เป็นอย่างมาก จนทำ�ให้เกิดการถอน ตัวจากรัฐบาลอเมริกา และก่อตั้งสมาพันธรัฐอเมริกา (Confederate States of America) อันประกอบด้วย เซาท์แคโรไลนา มิสซิสซิปปี ฟลอริดา แอละแบมา จอร์เจีย ลุยเซียนา และเท็กซัส จากนั้นจึงมีเวอร์จิเนีย อาร์คันซอ เทนเนสซี นอร์ทแคโรไลนา เข้าร่วมในเวลาต่อมา

1861 ในสายตาของรัฐบาลอเมริกา การถอนตัวและจัดตั้งสม าพันธรัฐนั้นถือเป็นเรื่องไม่ชอบธรรมและยอมรับไม่ได้ ส่งผลให้สงครามกลางเมืองเริ่มต้นขึ้นในปี 1861 และ แม้ในช่วงแรกลินคอล์นจะประนีประนอมกับรัฐทางใต้ ว่าจะยกเลิกการขยายตัวของการใช้แรงงานทาส แต่ไม่ ยกเลิกการใช้แรงงานทาสที่มีมาอยู่ก่อนแล้ว แต่กระแ สของสังคมในขณะนั้นทำ�ให้ลินคอล์นตัดสินใจสนับสนุ นการยกเลิกทาสทั้งหมด

1865 สงครามสิ้นสุดลงในปี 1865 ด้วยการยอมแพ้ของฝ่ายสมาพันธรัฐ ในปีเดียวกันสภา คองเกรสได้ผ่านมติการแก้รัฐธรรมนูญครั้งที่ 13 ซึ่งห้า มการใช้แรงงานทาสทั่วอเมริกา ในปีต่อมาสภาคองเก รสผ่านกฎหมายสิทธิพลเมืองแห่งปี 1866 ที่ให้สิทธิที่ เท่าเทียมกันกับพลเมืองชาวอเมริกัน อันหมายรวมทุก คนที่เกิดในอเมริกา

25


และแม้การต่อสู้ในครั้งนั้นจะนำ�ไปสู่การเปลี่ยนแปลงกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิทธิของคนดำ� แต่การเหยียดสีผิวก็ยังคงอยู่ในสังคมอเมริกัน ยิ่งไปกว่านั้น ประวัติศาสตร์เกี่ยวกับการใช้แรงงานทาสในอเมริกายังแทบไม่ถูกพูด ถึงในโรงเรียนด้วยซ้ำ� เหตุเพราะการถกเถียงถึงประวัติศาสตร์ในเรื่องดังกล่าวเป็น เรื่อง

26

‘น่ากระอักกระอ่วน’


27


28


ทาสไทย ในยุคจารีตเราไม่อาจปฏิเสธเรื่องการแบ่งชนชั้นได้ หากตรวจจากข้อมูลและหลักฐานจะปรากฏทั้งเจ้า ขุนมูลนายที่อยู่ชนชั้นบนของสังคมและกลุ่มชนชั้นล่าง นอกเหนือจากไพร่แล้วก็ยังมี “ทาส” ซึ่งเป็นชนชั้นต่ำ� สุดในสังคมจารีต สาเหตุการเป็นทาส สำ�หรับสาเหตุของการเป็นทาสในอยุธยา ชาติชาย ระบุไว้ 3 สาเหตุคือ สาเหตุแรกเกิดจากการเมืองซึ่งเป็นพวกที่ถูกกวดต้อน มาจากเมืองอื่นๆ หรือ “เชลย” นี่เป็นยุทธศาสตร์ทาง การเมืองในการบั่นทอนกองกำ�ลังฝ่ายตรงข้ามและ เพิ่มกำ�ลังให้ฝ่ายตน สาเหตุที่สองคือด้านเศรษฐกิจ แรงงานเป็นกำ�ลังสำ�คัญในระบบเศรษฐกิจอยุธยา สังคมอยุธยาขาดแรงงานไม่ได้ ทาสจึงเป็นแรงงานที่ สำ�คัญในการผลิตเพื่อป้อนผลผลิตให้อยุธยา สาเหตุที่สามเป็นเงื่อนไขทางสังคม เช่น บิดามารดาเป็นทาส ลูกที่ออกมาก็ต้องเป็นทาส

บทลงโทษทางกฎหมายหากผู้ใดทำ�ผิดก็ถูกลงโทษให ้เป็นทาสอีกทั้งค่านิยมในสมัยนั้นยกย่องคนที่มีทาสเป็ นจำ�นวนมากว่า เป็นคนที่มีเกียรติ คนเหล่านี้จึงต้องก ารทาสมาเสริมบารมี ทาสจึงเป็นสินค้าฟุ่มเฟือย สถานะทางสังคมของทาส ส่วนสถานะทางสังคมของทาสอยุธยานั้น เป็นไปตามโครงสร้างทางสังคมที่ประกอบด้วย 2 ชนชั้นคือชนชั้นผู้ปกครอง และชนชั้นที่ถูกปกครอง แน่นอนว่าทาสมีสถานะทางสังคมที่เป็นผู้ถูกปกครอง แต่ยิ่งไปกว่านั้นคือทาสจะต้องรับใช้ทั้งชนชั้นผู้ปก ครองและชนชั้นที่ถูกปกครอง ดังนั้นทาสจึงมีสถานะที่ ต่ำ�ที่สุดในสังคม นอกจากนั้นชาติชายยังกล่าวถึงบทบาทและหน้าที่ของ ทาสว่า ทาสเป็นเครื่องหมายแห่งเกียรติยศ ผู้ที่มียศถา บรรดาศักดิ์หรือผู้ที่มีความมั่งคั่งเท่านั้นจึงจะมีทาส และทาสมีหน้าที่รับใช้พวกเจ้านายภายในบ้าน และ หน้าที่ในการผลิตซึ่งส่วนใหญ่เป็นการทำ�งานในภาค เกษตรกรรม อีกทั้งทาสยังมีบทบาทเป็นฐานอำ�นาจใน แง่จำ�นวนของกำ�ลังคนภายในรัฐ

29


30


การไรความ ้ เป็ นมนุษย ์

31


32


33


34


สงครามโลก สงครามโลก (อังกฤษ: World War) เป็นลักษณะความขัดแย้งทางการทหาร ซึ่งกันและกัน ในแต่ละ ประเทศที่มีความขัดแย้งระหว่างกันจนทำ�ให้ส่งผลกระทบต่อหลายชาติ มหาอำ�นาจร่วมกัน โดยมักจะเกิดขึ้นในหลายทวีปทั่วโลกและกินเวลา นานหลายปี คำ�ว่า สงครามโลก เป็นการอธิบายถึงสงครามที่มีขนาด ใหญ่อย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อนในประวัติศาสตร์ซึ่งในอดีตเกิดสง ครามโลก 2 ครั้งในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20ได้แก่ สงครามโลกครั้งที่ หนึ่ง (ค.ศ. 1914–1918) และสงครามโลกครั้งที่สอง (ค.ศ. 1939– 1945 ) และได้มีการพาดพิงถึงสงครามโลกครั้งที่สามในวั ฒนธรรมต่าง ๆ ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต

35


36


37


ฮอโลคอสต์ โศกนาฏกรร มฆาล าพั ่ างเผ ้ ่ นธุ์ชาวยิว เหตุการณ์ฮอโลคอสต์ ถือเป็นความทรงจำ�ที่เลวร้ายที่สุดของชาวยุโรป นับเป็นโศกนาฏกรรมครั้งประวัติศาสตร์ที่เกิ ดจากความเกลียดชังในใจมนุษย์จนนำ�ไปสู่การทำ�ลายล้าง และเป็นบทเรียนครั้งสำ�คัญที่กระตุ้นให้เรารู้จักยอมรับใน ความแตกต่างของผู้อื่น คำ�ว่า “ฮอโลคอสต์” ในความหมายของนักประวัติศาสตร์มักใช้อ้างถึงเหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิวในยุโรปราว 6 ล้านคนโดยพรรคนาซีเยอรมันช่วงปี 1941-1945 ซึ่งเหตุการณ์นี้นับเป็นหนึ่งในเหตุการณ์สะเทือนขวัญที่สุดของโลก เป็นการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่โหดร้ายที่สุด มีการวางแผนสังหารหมู่อย่างเป็นระบบโดยการสนับสนุนของรัฐบาล และมีจ ำ�นวนผู้เสียชีวิตมากที่สุดในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง วันที่ 27 มกราคมของทุกปี เป็นวันรำ�ลึกเหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์สากล หรือ International Holocaust Remembrance Day เป็นวันที่องค์การสหประชาติกำ�หนดให้มีขึ้นเพื่อรำ�ลึกถึงเหตุการณ์ที่กองทัพแดงของสหภาพโซ เวียตปลดปล่อยเชลยศึกนาซีในค่าย Auschwitz-Birkenau ค่ายกักกันและค่ายมรณะของนาซีที่ใหญ่ที่สุดในช่วงสง ครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อปี ค.ศ. 1945

38


39


40


41


42


การสังหารหมูที ่ ่หนานจิง Nanjing Massacre หรือรู้จักกันในนามการข่มขืนกระทำ�ชำ�เราหนานจิง เป็นการสังหารหมู่และกา รข่มขืนกระทำ�ชำ�เรายามสงคราม (war rape) ซึ่งเกิดขึ้นเป็นเวลาหกสัปดาห์หลังญี่ปุ่นยึดนครหนาน จิง อดีตเมืองหลวงของสาธารณรัฐจีน เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 1937 ระหว่างสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง การทารุณกรรม ทหารญี่ปุ่นทำ�การทารุณกับชาวนานกิงเกินกว่าที่มนุษย์จะเข้าใจได้เช่น ฝังทั้งเป็น โดยจะขุดหลุม และฝั งเชลยให้โผล่ขึ้นมาแค่เพียงหน้าอกหรือแค่คอ เพื่อจะได้รับทุกข์ทรมานต่างอีกหลายอย่าง เช่น ฉีกเป็นชิ้น ๆ ทหารญี่ปุ่นคว้านตับไตไส้พุง ตัดหัวหรือสับเหยื่อเป็นชิ้น ๆ แล้วโยนให้สุนัขกิน ตอกเชลยไว้กับแผ่นไม้แล้วให้ร ถถังแล่นทับ ใช้เป็นที่ซ้อมเสียบดาบปลายปืน ควักลูกตา หั่นจมูกและใบหูก่อนเผาทั้งเป็น การสังหารพลเลือน หลังทหารจีนทั้งหมดยอมแพ้ ก็เท่ากับไม่เหลือใครที่จะปกป้องพลเรือนในตัวเมือง ทหารญี่ปุ่นหลั่งไหลเข้ามา ยึดอาคารที่ทำ�การรัฐบาล ธนาคารและโรงเก็บสินค้า ยิงผู้คนตามท้องถนนอย่าง ไม่เลือกหน้า โดยใช้ทั้งปืนพก ปืนกล ปืนเล็กยาว ยิงเข้าไปในฝูงคนที่มีทั้งทหารที่บาดเจ็บ หญิงชรา และเด็ก ๆ โดยทหารญี่ปุ่นฆ่าพลเรือนทุกมุมเมือง ไม่ว่าจะตามตรอกเล็ก ๆ หรือถนนสายใหญ่ ในสนามเพลาะ หรือแม้แต่ในอาคารที่ทำ�การรัฐบาล

43


การกระทำ�ชำ�เรา หญิงชาวจีนถูกข่มขืนกระทำ�ชำ�เราเป็นจำ�นวนไม่ต่ำ�กว่า 20,000 คน ไม่ว่าจะเป็นหญิงสาว คนท้อง หรือคนแก่ ทหารญี่ปุ่นข่มขืนกระทำ�ชำ�เราชนิดไม่เลือกหน้า ไล่ตั้งแต่ชาวนา เด็กนักเรียน ครู พนักงานระดับบริหาร คนงาน อาจารย์มหาวิทยาลัย หรือแม้กระทั่งแม่ชี ต่างก็เลี่ยงไม่พ้นการถูกข่มขืนกระทำ�ชำ�เราทั้งสิ้น โดยผู้หญิงคนห นึ่งจะตกไปอยู่ในมือของทหารประมาณ 15 ถึง 20 คน บางคนในจำ�นวนนี้ถูกเรียงคิวจนถึงแก่ความตาย แต่กฎของ กองทัพที่ว่าห้ามข่มขืนกระทำ�ชำ�เราผู้หญิงของฝ่ายตรงกันข้ามนั้น ทำ�ให้ทหารสังหารเหยื่อเสียเมื่อเสร็จธุระ พฤติกรรมเช่นนี้ไม่ได้กระทำ�กันเฉพาะในหมู่พลทหาร แม้ระดับนายทหารก็ไม่เว้น บางคนไม่เพียงสนับสนุนการข่มเหง แต่ยังเตือนให้พลทหารจัดการเหยื่อเมื่อเสร็จธุระเพื่อกำ�จัดหลักฐาน หญิงในนานกิงถูกข่มขืนกระทำ�ชำ�เราชนิดไม่เลือกที่และไม่เลือกเวลา ประมาณว่าหนึ่งในสามของการข่มขื นกระทำ�ชำ�เราทั้งหมดเกิดขึ้นตอนกลางวันแสก ๆ และไม่มีสถานที่แห่งใดปลอดจากการข่มขืนกระทำ�ชำ�เรา เช่น คนท้อง หญิงชรา ในเรือนแม่ชี ในโบสถ์ แม้แต่ในโรงเรียน นอกจากนั้นคนเฒ่าคนแก่ยังไม่สามารถใช้ความชราเป็นเกราะคุ้มกันการข่มขืนกระทำ�ชำ�เราได้ ผู้เฒ่าต่างต้อง เผชิญทารุณกรรมทางเพศอย่างถ้วนหน้าและซ้ำ�ซาก ย่ายายวัยแปดสิบจำ�นวนมากถูกข่มขืนกระทำ�ชำ�เราจนตายคา ที่ และอย่างน้อยก็ถูกยิงตายเพราะปฏิเสธการถูกข่มขืนกระทำ�ชำ�เรา

44


45


46


การสังหารหมู่ ธรรมศาสร์ พ.ศ. 2519 หรือในภาษาอังกฤษเรียกชื่อเชิงพรรณนาว่า การสังหารหมู่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสร์ Thammasat (University) massacre) เป็นการปราบปรามอย่างรุนแรงถึงชีวิตของตำ�รวจและการ ลงประชาทัณฑ์ของกำ�ลังกึ่งทหารและคนมุงฝ่ายขวาต่อนักศึกษาและผู้ประท้วงฝ่ายซ้ายในและบริเวณหน้ามหา วิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และท้องสนามหลวง เป็นการปิดฉากการประท้วง การเดินขบวนและการยึด พื้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ของนักศึกษา กรรมกรและผู้ประท้วงซึ่งต่อต้านการเดินทางกลับประเทศของจอมพล ถนอม กิตติขจร อดีตนายกรัฐมนตรี ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน 2519 ในวันที่ 6 ตุลาคม ตำ�รวจใช้อาวุธสงครามปราบ ปรามการประท้วง ตามด้วยกลุ่มฝ่ายขวาที่ลงประชาทัณฑ์ในลักษณะร่วมมือกับตำ�รวจ เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิต และผู้ได้รับบาดเจ็บ สถิติพบผู้เสียชีวิต 45 คนที่มีการชันสูตรพลิกศพ ซึ่งสาเหตุการเสียชีวิตมีทั้งถูกยิงด้วยอาวุธปืน ถูกทุบตี และถูกเผา แต่สถิติไม่เป็นทางการจากมูลนิธิป๋วยคาดว่ามีผู้เสียชีวิตกว่า 100 คน

47


48


49


50


สิทธิมนุษยชน

51


52


สิทธิมนุษยชน สิทธิมนุษยชนคืออะไร สิทธิมนุษยชน คือ สิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานที่เป็นของพวกเราทุกคน ไม่ว่าเราจะเป็นใคร หรืออยู่ที่ไหนบนโลกใบนี้ ไม่ว่าคุณจะมีความเชื่ออะไร หรือใช้ชีวิตแบบไหนก็ตาม สิทธิมนุษยชนไม่สามารถถูกพรากไปได้ แต่บางครั้งสิทธิมนุษยชนอาจถูกจำ�กัด เช่น ถ้าคุณทำ�ผิดกฎหมาย หรือ กระทำ�การที่อาจเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของชาติ ทั้งนี้ สิทธิมนุษยชนนั้นตั้งอยู่บนพื้นฐานของคุณค่าความเ ป็นมนุษย์ เช่น ความมีศักดิ์ศรี ความยุติธรรม ความเท่าเทียม ความเคารพ และความเป็นอิสระ นอกจากนี้สิทธิ มนุษยชนนั้นไม่ได้เป็นเพียงแค่แนวคิดที่เป็นนามธรรมเท่านั้น เพราะสิทธิมนุษยชนคือแนวคิดที่ได้รับการนิยาม และได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย

53


หลักสิทธิมนุษยชน 30 ขอ ้ 1. เราเกิ​ิดมาเป็​็นอิ​ิสระและเท่​่าเที​ียมเสมอภาคกั​ัน ก็​็เลยควรได้​้รั​ับการปฏิ​ิบั​ัติ​ิแบบเดี​ียวกั​ัน 2. ต้​้องไม่​่เลื​ือกปฏิ​ิบั​ัติ​ิ 3. เรามี​ีสิ​ิทธิ​ิที่​่�จะมี​ีชี​ีวิ​ิตอยู่​่� และมี​ีสิ​ิทธิ​ิจะมี​ีชี​ีวิ​ิตอยู่​่�อย่​่าง มี​ีเสรี​ีและปลอดภั​ัยด้​้วย 4. ไม่​่มี​ีใครเป็​็นทาส ไม่​่มี​ีการค้​้าทาส 5. มนุ​ุษย์​์ต้​้องไม่​่ถู​ูกทรมาน ไม่​่มี​ีใครมี​ีสิ​ิทธิ​ิมาทำำ�ร้​้าย หรื​ือทรมานเรา 6. เรามี​ีสิ​ิทธิ​ิมนุ​ุษยชนนี้​้�เสมอในทุ​ุกหนแห่​่งไม่​่ว่​่าจะไป ไหนก็​็ตาม 7. เราเท่​่าเที​ียมกั​ันต่​่อหน้​้ากฎหมาย หมายถึ​ึงกฎหมายต้​้องยุ​ุติ​ิธรรมกั​ับเรา ไม่​่ใช่​่ใครรวยกว่​่า ทำำ�อะไรก็​็ไม่​่ผิ​ิด 8. กฎหมายของแต่​่ละประเทศต้​้องคุ้​้�มครอง สิ​ิทธิ​ิมนุ​ุษยชนของเรา 9. ต้​้องไม่​่มี​ีการกั​ักขั​ังหน่​่วงเหนี่​่�ยวอย่​่างไม ยุ​ุติ​ิธรรม เช่​่น ไม่​่ใช่​่จั​ับไปขั​ังคุ​ุกหรื​ือกั​ักบริ​ิเวณโดยไม่​่มี​ี ไเหตุ​ุผลเพี​ียงพอ รวมไปถึ​ึงการ ‘ไล่​่’ คนออกไปจากประเทศตั​ัวเองด้​้วย 10. เรามี​ีสิ​ิทธิ​ิที่​่�จะได้​้รั​ับการไต่​่สวน เพื่​่�อพิ​ิสู​ูจน์​์ข้​้อกล่​่าวหาต่​่างๆ ในที่​่�สาธารณะ 11. มนุ​ุษย์​์เราบริ​ิสุ​ุทธิ์​์�ก่​่อน จนกว่​่าจะได้​้รั​ับการพิ​ิสู​ูจน ว่​่าผิ​ิดจริ​ิงๆ ไม่​่ใช่​่แค่​่ถู​ูกกล่​่าวหาก็​็ผิ​ิดแล้​้ว 12. เรามี​ีสิ​ิทธิ​ิที่​่�จะรั​ักษาความเป็​็นส่​่วนตั​ัวหรื​ือ Privacy ของเรา 13. เรามี​ีเสรี​ีภาพที่​่�จะย้​้ายที่​่�หรื​ือเดิ​ินทางตามที่​่�เรา ต้​้องการ 14. เรามี​ีสิ​ิทธิ​ิที่​่�จะแสวงหาที่​่�ที่​่�ปลอดภั​ัยในการดำำ�รงอยู่​่� เช่​่นถ้​้าถู​ูกปฏิ​ิบั​ัติด้ิ ้วยแย่​่ๆ ในประเทศของตั​ัวเอง ก็​็มี​ีสิ​ิทธิ​ิจะหนี​ีไปอยู่​่�ที่​่�อื่​่�น 15. เรามี​ีสิ​ิทธิ​ิที่​่�จะมี​ีสั​ัญชาติ​ิ คื​ือมี​ีสิ​ิทธิ​ิจะเป็​็นคนชาต ิใดชาติ​ิหนึ่​่�ง

54


16. เรามีสิทธิที่จะแต่งงานและสร้างครอบครัว 17. เรามีสิทธิที่จะเป็นเจ้าของสิ่งของต่างๆ ของเรา คนอื่นจะ มาเอาของของเราไปโดยไม่มีเหตุผลอันสมควรไม่ได้ 18. เรามีเสรีภาพทางความคิด 19. เรามีเสรีภาพในการแสดงออก 20. เรามีสิทธิที่จะรวมตัวในที่สาธารณะ ตั้งแต่ไปพบเพื่อน หรือไปชุมนุมร่วมกันโดยสันติ และในเวลาเดียวกันก็ไม่มีใคร มาบังคับให้เราเข้าร่วมกลุ่มอะไรที่เราไม่อยากร่วมได้ 21. เรามีสิทธิที่จะมีประชาธิปไตย คือมีสิทธิจะมี ‘ส่วนร่วม’ ในการปกครองของประเทศที่เราอยู่ ผู้ใหญ่ที่บรรลุนิติภาวะแล้ว ต้องสามารถ ‘เลือก’ ผู้นำ�ของตัวเองได้ 22. เราต้องมีสวัสดิการทางสังคม เช่น เข้าถึงบ้าน ยา การศึกษา การเลือกลูกได้ 23. เรามีสิทธิของคนทำ�งาน เช่น ค่าจ้างขั้นต่ำ� หรือการเข้าร่วมสหภาพแรงงาน 24. เรามีสิทธิที่จะเล่น ที่จะพักผ่อน ที่จะผ่อนคลายจากการทำ�งาน 25. เรามีสิทธิในที่พักและอาหาร หรือสิทธิที่จะมีชีวิตที่ดี ต้องได้รับการดูแลจากรัฐ 26. เรามีสิทธิในการศึกษา การศึกษาคือ ‘สิทธิ’ อย่างหนึ่งที่ รัฐจะต้องจัดหามาให้คนทุกคน ในตอนที่เรายังเด็ก พ่อแม่ขอ งเราสามารถเลือกได้ว่าเราจะเรียนอะไรบ้าง 27. เรามีสิทธิที่จะเป็นเจ้าของสิทธิ (หรือลิขสิทธิ์) ในสิ่งที่เราสร้างสรรค์ขึ้นมา ไม่ว่าจะเป็นงานศิลปะ การคิดค้นทางวิทยาศาสตร์ หรืออื่นๆ 28. เรามีสิทธิที่จะได้รับโลกที่ยุติธรรมและมีเสรีภาพ คือต้องมี ‘ระเบียบ’ ที่เหมาะสม ทำ�ให้มนุษย์ทั้งหลายสามา รถมีความสุขกับสิทธิและเสรีภาพในประเทศของตัวเองได้ทั่ วโลก 29. เราไม่ได้มีแค่สิทธิ แต่มีความรับผิดชอบด้วย นั่นคือ ‘หน้าที่’ ที่เราต้องมีต่อผู้อื่น โดยหน้าที่ที่สำ�คัญที่สุดก็คือการ ‘ปกป้อง’ สิทธิและเสรีภาพของทั้งตัวเองและผู้อื่น 30. ไม่มีใครพรากเอาสิทธิมนุษยชนไปจากเราได้

55


CREDIT ภาพต่างๆ ที่ใช้ประกอบการออกแบบหนังสือภาพประกอบเรื่อง “ความเป็นมนุษย์” เป็นภาพข้อมูลอ้างอิงมาจาก wikipedia,teen.mthai,ngthai,mgronline,punyascientificphilosophy555, baanjomyut, forbesthailand, thailaws, thestandard, thetimes.co.uk,history, americamagazine,nytimes,Histomatters,nextsteptv,silpa-mag,songkran.eu,flickr,dailymail.co.uk, bbc,khaosod,isranews,matichon,amnesty,thematter,youthforhumanrights โดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงการทางนฤมิตศิลป์ หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เผยแพร่เพื่อการศึกษาเท่านั้น มิได้ใช้เพื่อการพาณิชย์แต่อย่างใด

The Original Pictures in a book design project were references from wikipedia,teen. mthai,ngthai,mgronline,punyascientificphilosophy555,baanjomyut, forbesthailand, thailaws, thestandard, thetimes.co.uk,history, americamagazine,nytimes, Histomatters,nextsteptv,silpa-mag,songkran.eu,flickr,dailymail.co.uk, bbc,khaosod, isranews,matichon,amnesty,thematter,youthforhumanrights The Project of Visual Communication Program Graduated Senior Project in Creative Arts In Fine and Applied Arts Curriculum Faculty of Architecture Mahasarakham University. Published for Education Only not Commercial.

56


มนุษย์ เข้าถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/มนุษย์ กำ�เนิดบรรพบุรุษโลก (2556) เข้าถึงได้จาก : https://teen.mthai.com/variety/57963.html วิวัฒนาการของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตนั้น(2562) เข้าถึงได้จาก : https://ngthai.com/science/24384/human-evolution/3/ ศ.ดร.ลิขิต ธีรเวคิน (2550) ศักด์ศรีของความเป็นมนุษย์ เข้าถึงได้จาก : https://mgronline.com/daily/detail/9500000006120 ชัยวัฒน์ จันสิริบุญมี (2556) มนุษย์ตามแนวปรัชญากรีก เข้าถึงได้จาก : http://punyascientificphilosophy555.blogspot.com/2013/11/blog-post.html แสง จันทร์งาม (2531) มนุษย์คือใคร ? ทัศนะด้านศาสนา เข้าถึงได้จาก : https://www.baanjomyut.com/library_2/ extension-3/man_and_reasoning/02.html ดร.ณัฐวุฒิ พงศ์สิริ (2561) ความเป็นมนุษย์ของหุ่นยนต์ เข้าถึงได้จาก : https:// forbesthailand.com/commentaries/ insights/ความเป็นมนุษย์ของหุ่นย.html ThaiLaws.com ความหมายของศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เข้าถึงได้จาก : http://www.thailaws.com/aboutthailaw/ general_33.htm ThaiLaws.com การละเมิดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์มีแนวทาง ดังนี้ เข้าถึงได้จาก : http://www.thailaws.com/aboutthailaw/ general_33.htm ปองขวัญ สวัสดิภักดิ์ (2563) จากแอฟริกาถึงอเมริกา การค้าทาส และจุดเริ่มต้นของการเหยี ยดผิวในสหรัฐฯ เข้าถึงได้จาก : https://thestandard.co/origin-of-racism-inunited-states/

Louise Callaghan (2558) Spanish galleon with £1bn treasure found เข้าถึงได้จาก : https://www.thetimes.co.uk/article/spanishgalleon-with-pound1bn-treasure-found-hnr26f8s2 YOHURU WILLIAMS (2562) The Most Damaging Myths About Slavery, Debunked เข้าถึงได้จาก : https://www.history.com/news/debunking-slavery-myths Joseph McAuley (2558) “I Walk Slowly, But I Never Walk Backward”: The Humanity of Abraham Lincoln เข้าถึงได้จาก : https://www.americamagazine.org/politics-society/2015/02/15/i-walk-slowly-i-never-walk-backward-humanity-abraham-lincoln Danny Lyon/Magnum Photos (2560) “The Cotton Pickers, Ferguson Unit, Texas.” เข้าถึงได้จาก : https://www.nytimes.com/2017/03/14/ magazine/a-photograph-never-stands-alone.html Histomatters (2563) The American Civil War 1861 - 1865 เข้าถึงได้ที่ : https://www.blockdit.com/posts/5ec20e0e00dda1075b8665ab ของดีประเทศไทย (2561) ไพร่และทาสในสังคมไทยสมัยอยุธยา เข้าถึงได้จาก : www.nextsteptv.com/khongdee/ไพร่-และทาส-ในสังคมไทยส/ เอนก นาวิกมูล (2561) ภาพถ่ายการเล่นไพ่สมัยรัชกาลที่ 5 จากหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เป็นการจัดฉากเพื่อถ่ายรูปโดยตรง ฉากหลังวาดเป็นภาพพระพุทธรูปและพระเจดีย์ (ภาพจากหนังสือสมุดภาพกรุงเทพฯ) เข้าถึงได้จาก : https://www.silpa-mag.com/culture/article_21600 Das alte Siam in Zeichnungen und Bildern II เข้าถึงได้จาก : www.songkran.eu/Das-alte-Siam-in-Zeichnungen-u-.--Bildern-II.htm

57


Anandajoti Bhikkhu (2555) Ramakien Murals, Wat Phra Kaew, Bangkok เข้าถึงได้จาก : https://www.flickr.com/photos/anandajoti/9150249068 ชาติชาย พณานานนท์ (2532) “ทาสอยุธยาในประมวลกฎหมายรัชกาลที่ 1, ใน“ ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 10 ฉบับที่ 10 เข้าถึงได้จาก : https://www.silpa-mag.com/history/article_46652 สงครามโลก เข้าถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/สงครามโลก BBC NEWS (2564) ฮอโลคอสต์​์ โศกนาฏกรรมฆ่​่าล้​้างเผ่​่าพั​ันธุ์​์�น้ำ��มื ำ ือนาซี​ี เข้​้าถึ​ึงได้​้จาก : https://www.bbc.com/thai/thailland-56317555 การสังหารหมู่นานจิง เข้าถึงได้จาก : https:// th.wikipedia.org/wiki/ การสังหารหมู่ที่หนานจิง เหตุการณ์ 6 ตุลา เข้าถึงได้จาก : th.wikipedia.org/wiki/เหตุการณ์_6_ตุลา CHRIS PLEASANCE FOR MAILONLINE and CORAZON MILLER (2563) Escape from Auschwitz เข้าถึงได้จาก : www.dailymail.co.uk/news/article-7933351/ Prisoner-fled-Nazi-death-camp-seen-alongside-fellow-inmates-newly-colourised-images.html Child survivors at the Nazi concentration camp at Auschwitz-Birkenau in southern Poland in 1945 เข้าถึงได้จาก : www.bbc.com/news/world-europe-60072506 เปิดภาพสื่อนอก! หาดูยาก นักข่าวฝรั่งแฉภาพความโหด 6 ตุลา ล้อมปราบ-ฆ่านักศึกษา (2561) เข้าถึงได้จาก : www.khaosod.co.th/special-stories/ news_1652130 วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ (2556) บันทึก 6 ตุลาคม 2519 เข้าถึงได้จาก : www.isranews.org/content-page/ item/24239-1_24239.html

58

SILPA-MAG.COM (2564) 6 ตุลาคม 2519: เจ้าหน้าที่รัฐ “สังหารหมู่” นักศึกษากลางธรรมศาสตร์, ทหารฉวยโอกาสยึดอำ�นาจ เข้าถึงได้ : www.silpa-mag.com/this-day-in-history/article_3139 MATICHON (2562) สถานีคิดเลขที่12 : ‘6 ตุลา’ : โดย ปราปต์ บุนปาน เข้าถึงได้จาก : www.matichon.co.th/article/thinkstation-12/news_1702036 แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล (2561) สิทธิมนุษยชนคืออะไร ? เข้าถึงได้จาก : https://www.amnesty.or.th/latest/blog/62/ โตมร ศุขปรีชา (2561) อะไรคือ ‘ความเป็นมนุษย์’ เข้าถึงได้จาก : https://thematter.co/thinkers/what-is-humanity/52568 United Nations Universal Declaration of Human Rights Simplified Version เข้าถึงได้จาก : https://www.youthforhumanrights.org/ what-are-human-rights/universal-declaration-of-human-rights/articles-1-15.html


59


60


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.