วิชา บาลีไวยากรณ (กริยา)
๑
ตอนที่ ๑ ปรนัย ๔๐ ขอ
คําสั่ง : ใหวงกลมขอที่เปนคําตอบที่ถูกตอง ๑. บทในพระไตรปฎก มี ๔ คือ ก. นาม, วิเสสนะ, วิภัติ, อาขยาต ข. นาม, อาขยาต, อุปสรรค, นิบาต ค. นาม, ธาตุ, อาขยาต, กิตก ง. นาม, สมาส, ตัทธิต, กิตก ๒. คําตอไปนี้คําใดคือ อาขยาต ก. คจฺฉนฺติ ข. คจฺฉนฺตี ค. คจฺฉนฺโต ง. คจฺฉนฺตา ๓. ขอใดคือลักษณะของอาขยาต ก. กฺริยาวาจี ข. ทพฺพวาจี ค. สตฺตวาจี ง. อสตฺตวาจี ๔. วิภัติอาขยาต มีความสําคัญเชนไร ก. จําแนกอรรถของธาตุ ข. จําแนกอรรถของปจจัย ค. จําแนกอรรถของนาม ง . จําแนกอรรถของลิงค ชื่อ ........................... นามสกุล .....................
วิชา บาลีไวยากรณ (กริยา)
๒
๕. ขอใดกลาวผิด ก. วิภัตอิ าขยาตมี ๙๖ ตัว ข. วิภัติอาขยาตมี ๘ หมวด ค. บุรุษมี ๓ บุรุษ ง. พจนมี ๓ พจน ๖. ขอใดเปนอรรถของปญจมีวิภัติ ก. อรรถปริกัป ข. อรรถอนุมัติ ค. อรรถอาณัตติ ง. อรรถทั้งสามขางตน ๗. วิภัติบอกเงื่อนไข ไดแก ก. ปโรกขา ข. หิยยัตตนี ค. ภวิสสันตี ง. กาลาติปตติ ๘. ขอใดคือคําแปลของกริยาที่ลงอัชชตนี ก. พึงทํา ข. จักทํา ค. ทําอยู ง. ทําแลว ๙. ขอใดจับคูผิด ก. อาณัตติ + ปญจมี ข. ปริกัปปะ + สัตตมี ค. อนาคต + อัชชตนี ง. ปจจุบัน + ปญจมี
ชื่อ ........................... นามสกุล .....................
วิชา บาลีไวยากรณ (กริยา)
๓
๑๐. ขอใดตอไปนี้เปนธาตุ ก. ภู ข. ติ ค. อ ง. นา ๑๑. ขอใดเปนอกรรมกธาตุ ก. คมุ ข. ปจ ค. สิ ง. นี ๑๒. ขอใดมิใชคุณสมบัติของวิกรณปจจัย ก. แยกหมวดธาตุ ข. ชวยสรางคํากริยาใหสําเร็จ ค. เปลี่ยนอรรถของธาตุใหพิเศษ ง. ประกอบทายธาตุ แตอยูหนาวิภัติ ๑๓. เณและณยปจจัย ประจําหมวดธาตุใด ก. ภูวาทิคณิกธาตุ ข. รุธาทิคณิกธาตุ ค. ทิวาทิคณิกธาตุ ง. จุราทิคณิกธาตุ ๑๔. ขอใดจับคูไ มถูกตอง ก. ภูวาทิคณะ + อ ข. ทิวาทิคณะ + ย ค. สวาทิคณะ + นุ ง. จุราทิคณะ + ณา
ชื่อ ........................... นามสกุล .....................
วิชา บาลีไวยากรณ (กริยา)
๔
๑๕. คํากลาวในขอใดที่นักไวยากรณรับไมได ก. ปจจัยยอมลงหลังธาตุและลิงค ข. ปจจัยหมายถึงวิภัติและปจจัย ค. ขึ้นชื่อวาปจจัยยอมมีความหมายเสมอ ง. บางครั้งลิงคก็สามารถกลายเปนธาตุได ๑๖. ประโยคในขอใดใชโยคะ(ประธาน) ไมเหมาะสมกับกริยา ก. โส สตฺถา ภวติ. ข. อหํ โอทนํ ปจามิ. ค. ตวํ เตปฏกํ อุคฺคณฺหาติ. ง. มยํ สีลํ ยาจาม. ๑๗. ขอใด คือ กัมมวาจกของ “ปุริโส มคฺคํ คจฺฉติ.” ก. ปุริโส มคฺเค คจฺฉติ. ข. ปุริเสน มคฺคํ คจฺฉียเต. ค. ปุริเสน มคฺโค คจฺฉียเต. ง. ปุริเสหิ มคฺโค คจฺฉติ. ๑๘. ประธานในประโยค “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ.” ไดแก ก. ปุริโส ข. ตฺวํ ค. อหํ ง. ไมมีประธาน ๑๙. ประโยค “สุคโต ธมฺมํ เทเสตุ.” นี้เปนคําของใคร ก. คําของพระอานนท ข. คําของสหัมบดีพรหม ค. คําของพระสังคาหกาจารย ง. คําของพระอินทร
ชื่อ ........................... นามสกุล .....................
วิชา บาลีไวยากรณ (กริยา)
๕
๒๐. ขอใดคือกัตตุวาจกของ คจฺฉียเต ก. คจฺฉียติ ข. คมียติ ค. คมฺมติ ง. คจฺฉติ ๒๑. ขอใดมิใชวิธีสรางกริยากัมมวาจก ก. ลง ย ปจจัย ข. ลง อิ, อี อาคม ค. แปลง ย เปนปุพพรูป ง. ลง อ อาคมตนธาตุ ๒๒. กริยาในขอใดแปลวา “เจริญ” (ใหบังเกิดขึ้น) ก. สาเรติ ข. ภาเวติ ค. ทาเปติ ง. โจราเปติ ๒๓. กริยากิตกเปนลิงคอะไร ก. ปุลลิงค ข. อิตถีลิงค ค. นปุงสกลิงค ง. ไตรลิงค ๒๔. “ตพฺพ” เปนปจจัยประเภทใด ก. วิกรณปจจัย ข. การิตปจจัย ค. กิตกปจจัย ง. ธาตุปจจัย
ชื่อ ........................... นามสกุล .....................
วิชา บาลีไวยากรณ (กริยา)
๖
๒๕. กิตก มีกี่ประเภท ก. ๒ ข. ๓ ค. ๔ ง. ๕ ๒๖. ปจจัยกิตกบงบอกอะไร ก. สาธนะ ข. อรรถของธาตุ ค. อรรถของลิงค ง. อรรถของวิภัติ ๒๗. สาธนะในกิตก มีเทาไร ก. ๕ ข. ๖ ค. ๗ ง. ๘ ๒๘. “ผูทํา” เปนสาธนะอะไร ก. กัตตุสาธนะ ข. กัมมสาธนะ ค. กรณสาธนะ ง. ภาวสาธนะ ๒๙. อนฺตปจจัยลงในสาธนะอะไร ก. กัตตุสาธนะ ข. กัตตุสาธนะและกัมมสาธนะ ค. กัตตุสาธนะและภาวสาธนะ ง. กัตตุสาธนะ, กัมมสาธนะ และภาวสาธนะ
ชื่อ ........................... นามสกุล .....................
วิชา บาลีไวยากรณ (กริยา)
๗
๓๐. ในการแปล คจฺฉมาโน ปาปุณาติ. วา “เพราะเขาไป จึงถึง” อยากทราบวา ผูแปลตองการให มานปจจัย ลงในอรรถใด ก. อรรถปจจุบันกาล ข. อรรถลักขณะ ค. อรรถเหตุ ง. อรรถกริยาวิเสสนะ ๓๑. ขอใดคือลิงคของมานปจจัย ก. ปุลลิงค ข. อิตถีลิงค ค. นปุงสกลิงค ง. สามลิงค ๓๒. ขอใดถูกละไวในคําวา ตฺวาทิปจจัย ก. มาน และ อนฺต ข. ตุน และ ตฺวาน ค. ตเว และ ตุ ง. เณ และ ณย ๓๓. ตฺวาทิปจจัยลงไดในอรรถกี่อยาง ก. ๕ ข. ๖ ค. ๗ ง. ๘ ๓๔. ตุมาทิปจจัย มี ๔ ตัว ไดแก ก. ตุ, ตเว, ตุเย, ตาเย ข. ตุ, ตเว, ตฺวา, ตฺวาน ค. ตุเย, ตาเย, ตฺวา, ตฺวาน ง. ตุ, ตฺวา, ตุเย, ตาเย
ชื่อ ........................... นามสกุล .....................
วิชา บาลีไวยากรณ (กริยา)
๘
๓๕. ขอใด คือ คําแปลของ “กาตุ” ก. ทําแลว ข. ทําอยู ค. จะทํา ง. เพื่อทํา ๓๖. กริยาในภาษาบาลี นอกจากอาขยาตและกิตกแลว ยังมีอีก ๑ คือ ก. นามกฺริยา ข. นิปาตกฺริยา ค. อุปสคฺคกฺริยา ง. วิเสสนกฺริยา ๓๗. นามธาตุ คืออะไร ก. นามกลายสภาพเปนธาตุ ข. ธาตุกลายสภาพเปนนาม ค. ปจจัยกลายสภาพเปนนามและธาตุ ง. นามและธาตุ มีสภาพเปนหนึ่งเดียวกัน ๓๘. ปจจัยในขอใดสามารถเปลี่ยนนามเปนธาตุได ก. อาย ข. อนฺต ค. ตฺวาน ง. ตุ ๓๙. “สมุทฺทายติ สํโฆ. ภิกษุสงฆ ประพฤติตนดังมหาสมุทร” หมายถึง ก. กระเพื่อมตลอดเวลา ข. นิ่งสงบดุจมหาสมุทร ค. ไมลวงละเมิดศีลดุจมหาสมุทรไมละเมิดฝง ง. เค็มดุจมหาสมุทร
ชื่อ ........................... นามสกุล .....................
วิชา บาลีไวยากรณ (กริยา)
๙
๔๐. กริยาอาขยาต ตางจากกริยากิตกอยางไร ก. อาขยาตมีพจนไมเหมือนกิตก ข. อาขยาตไมมีลิงคเหมือนกิตก ค. อาขยาตไมมีกาลเหมือนกิตก ง. อาขยาตไมมีวาจกเหมือนกิตก
ชื่อ ........................... นามสกุล .....................