TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF THAI FOOD PROCESSORS’ ASSOCIATION www.thaifood.org TUNA
SEAFOOD
FOR: 10-16 JANUARY 2011 FRUIT & VEGETABLE
SWEET CORN
VOL.2 PINEAPPLE
ISSUE.2
DATE: 18 JANUARY 2011
FOOD INGREDTENTS & READY TO EAT
TRADER
ั ันธ์ !!! ขอเชญ ั ิ เข้าร่วมสมมนา ประชาสมพ " The New EU-GSP Rules of Origin: Challenges and Opportunities ์ าร์ค 1 ชน ั้ 2 โรงแรมอิมพีเรียล for Thai Exporters" ว ันพุธที่ 26 มกราคม 2554 เวลา 8.30-17.00 น. ณ ห้องควีนสป ์ าร์ค กรุงเทพมหานคร ท่านละ 1,000 บาท ควีนสป
ความคืบหน้าการต่ออายุโครงการ GSP ของสหร ัฐฯ
เตือนผูป ้ ระกอบการไทยระว ังสารดีบก ุ ตกค้างในอาหาร
ื่ ประเทศทีส รายชอ ่ ามทีส ่ หภาพ ยุโรปยอมร ับใบร ับรอง การจ ับ ั นา้ สตว์ ้ ดอกเบีย ้ ไม่กระทบ ธปท.ย ัน กนง.ขึน บาทแข็ง
TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 10-16 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 2
Page 1
CONTENTS ข้อมูลด้านเทคนิค
สถานการณ์ดา้ นการค้า
3 RASFF ว ันที่ 10-16 มกราคม 2554
10 ความคืบหน้าการต่ออายุโครงการ GSP ของ
4 อียเู ข้มงวดการนาเข้าพืชและผลิตภ ัณฑ์ ิ ค้าประมง 4 จีนเตรียมปร ับค่าแคดเมียมในสน 4 มะก ันคลอดกฎหมายอาหารแล้ว ั แจงปัญหาพบศตรู ั พช ่ ออก 5 “รมช.ศุภชย” ื ในผ ักสดสง ไป อียู เตรียมออกประกาศ 1 กุมภาพ ันธ์ 54 ระง ับการ ่ ออก สง ์ ฏิรป 5 เอมิเรตสป ู ระบบเตือนภ ัยอาหาร
สหร ัฐฯ ้ ราคากลางปี 10 อุตฯอาหารจ่อขึน ่ เค้าป่วยหน ัก-ซม ึ ยาว 11 เศรษฐกิจโลกสอ 11 ปล่อยลอยต ัว"แอลพีจ"ี โรงงาน คิดราคา ้ .ค.นี้ ตลาดโลกเริม ่ ใชก ่ 11 อียแ ู ก้ไขระเบียบเพือ ่ ความปลอดภ ัยในการสง ิ ค้าเข้าสหภาพฯ สน
5 ไทยเตรียมออกระเบียบควบคุมสารแต่งกลิน ่ แมงดา 5 เตือนผูป ้ ระกอบการไทยระว ังสารดีบก ุ ตกค้างในอาหาร กระป๋องไปอียู
สรุปการประชุมคณะร ัฐมนตรี
อ ัตราแลกเปลีย ่ น 12 อ ัตราแลกเปลีย ่ น ระหว่างว ันที่ 1 - 17 มกราคม 2554 13 แบงก์ชาติเตือนปี 54 ระว ังบาทแข็งและผ ัน
6 สรุปการประชุมครม. ว ันที่ 11 ม.ค. 2554 เอกสารแนบ 1
ผวนกว่าปี ก่อน ้ ดอกเบีย ้ ไม่กระทบบาทแข็ง 13 ธปท.ย ัน กนง.ขึน
สถานการณ์ดา้ นประมง ื่ ประเทศทีส 7 รายชอ ่ ามทีส ่ หภาพยุโรปยอมร ับใบร ับรอง ั นา้ เอกสารแนบ 2 การจ ับสตว์
เอกสารแนบ 4 13 ธปท.อุม ้ บาทด ันสารองล่าสุดเพิม ่ 300 ล้าน ดอลลาร์
7 สงิ คโปร์เล็ งภูเก็ ตฐานผลิตทูนา่
ั ันธ์ ประชาสมพ
สถานการณ์ดา้ นการเกษตร
ั ันธ์ !!! ขอเชญ ั ิ เข้าร่วมสมมนา 14 ประชาสมพ " The New EU-GSP Rules of Origin: Challenges and Opportunities for Thai Exporters" ในว ันพุธที่ 26 มกราคม 2554 เวลา ์ าร์ค 1 ชน ั้ 2 โรง 8.30-17.00 น. ณ ห้องควีนสป ์ าร์ค กรุงเทพมหานคร แรมอิมพีเรียล ควีนสป เอกสารแนบ 5
่ ออกสน ิ ค้าผ ักและผลไม้แปร 8 ขนตอนการจดทะเบี ั้ ยนสง รูปไปไต้หว ัน เอกสารแนบ 3 ิ ค้านา้ ตาล ปี 2554 8 พณ. ออกระเบียบการนาเข้าสน ิ ค้าตามความตกลงอาฟตา 8 พณ.ประกาศเปิ ดตลาดสน 9 ส.เครือ ่ งดืม ่ ชงแผนนา้ ตาลปี "54 เพิม ่ 5.5แสนต ัน-ขอ ลด2บ./ก.ก. 9 รบ.อินโดฯ เรียกร้องให้ประชาชน "ปลูกพริก"เองที่ บ้าน หล ังราคาพุง ่ สูงถึง 360 บ./กิโล
TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 10-16 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 2
Page 2
ิ ค้าจากประเทศไทยทีแ่ สดงใน RAPID ALERT SYSTEM FOR FOOD AND FEED ของสหภาพยุโรป สน ระหว่างว ันที่ 10-16 มกราคม 2554 (สินค้าทีเ่ กีย ่ วข้องก ับสมาคมฯ)
NOTIFICATION TYPE
NOTIFICATION DATE
LAST UPDATE
REFERENCE
FROM
PRODUCT
SUBSTANCE/HAZARD
Border Rejection
12/01/2011
12/01/2011
2011.ABD
GERMANY
Chilled Peppermint
Chlorpyriphos (3.0 mg/kg - ppm) and endosulfan (0.35 mg/kg - ppm)
Border Rejection
12/01/2011
12/01/2011
2011.ABA
DENMARK
Fresh
Omethoate (0.19 mg/kg - ppm)
Border Rejection
11/01/2011
Aubergines 11/01/2011
2011.AAY
FINLAND
Fresh Lemon Grass
Salmonella Wandsworth
Source: http://ec.europa.eu/food/food/rapidalert/rasff_portal_database_en.htm
การแจ้งเตือน!!! Border Rejection เป็นการแจ้งเตือนสินค้า ั ทต อาหารและอาหารสตว์ ี่ รวจพบว่า ไม่ได้มาตรฐานของ EU โดย ประเทศสมาชิกดาเนินการปฎิเส ธการนาเข้ า
ณ ด่ านนาเข้ า
*Chlorpyrifos จัดเป็ นสารในกลุม ่ ออร์กาโนฟอสเฟต (Organophosphate Insecticides) อันตรายของ chlorpyrifos มีคา่ LD50 (หนู) 82-270 มิลลิกรัม/กิโลกรัม เป็ นพิษมาก เป็ นอันตรายเมือ ่ กินหรือหายใจเข ้าไป อาจระคายเคืองผิวหนัง ถ ้าได ้รับสารเป็ นระยะเวลานาน อาจมีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ทาลายตับหรือไต ก่อให ้เกิดการระคายเคืองต่อตา น้ าตาไหล ตาบวม แดง และมองภาพไม่ ชัดเจน chlorpyrifos มีผลยับยัง้ การทางานของ cholinesterase enzyme ซึง่ พบในเนือ ่ เยือ ่ ประสาท เซลล์เม็ดเลือดแดง และ พลาสมา ถ ้าได ้รับสารมากเกินไปจะเกิดอาการภายใน 24 ชัว่ โมงทาให ้ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ คลืน ่ ไส ้ อาเจียน ท ้องร่วง ม่านตาหด ั ตัว เห็นภาพไม่ชดเจน มีน้ ามูกหรือน้ าลาย เหงือ ่ ออกมาก ปวดท ้องเกร็ง ขัน ้ ร ้ายแรงทาให ้หมดสติ ชัก หายใจลาบาก อาจตายได ้ เนือ ่ งจากระบบหายใจและหัวใจล ้มเหลว
*Omethoate เป็ นสารกาจัดแมลงและไรออร์กาโนฟอสโฟรัส ประเภทดูดซึ่มออกฤทธิใ์ นทางสัมผัสและกินตาย
*Salmonella เป็ นแบคทีเรียทีเ่ ป็ นท่อน ไม่สร ้างสอร์ ย ้อมติดสีแกรมลบ ้ เจริญได ้ดีในสภาวะทีม สามารถเคลือ ่ นทีได ้ด ้วยแฟลกเจลลาทีอ ่ ยูร่ อบตัว ยกเว ้น S.gallinarum และ S.pullorum เชือ ่ อ ี อกชิเจน ้ Salmonella มีหลายชนิด แต่ละชนิดมีลก เชือ ั ษณะความเป็ นอยูห ่ รือดารงชีวต ิ ทีต ่ า่ งกัน ้ ในมนุษย์ จะได ้รับเชือ ้ ปะปนมากับน้ า และอาหาร และบางครัง้ อาจเกิดจากสัตว์เลีย *สาหร ับการติดเชือ ้ งทีอ ่ าศัยตามบ ้านเรือน เป็ นพาหะ ้ Salmonella ได ้แก่ โรคกระเพาะอาหาร และลาไส ้อักเสบ โรคโลหิตเป็ นพิษ และไข ้ไทฟอยด์ *สาหร ับโรคทีเ่ กิดจากเชือ
TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 10-16 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 2
Page 3
ิ ค้าประมง จีนเตรียมปร ับค่าแคดเมียมในสน ทีม ่ า: มกอช. วันที่ 4 มกราคม 2554
นายสุรศักดิ์ เรียงเครือ รองอธิบดีกรมการค ้าต่างประเทศ (คต.) กระทรวงพาณิชย์ เปิ ดเผยว่า คณะกรรมาธิการยุโรป ได ้ประกาศกฎระเบียบว่าด ้วยการตรวจสอบสินค ้านาเข ้า ประเภทอาหารสัตว์และอาหารมนุษย์ทม ี่ ไิ ด ้มีแหล่งกาเนิด จากสัตว์ (Commission Regulation (EC) No 669/2009 of 24 July 2009) โดยมีผลบังคับใช ้ตัง้ แต่เดือนมกราคม 2553 เป็ นต ้นมา
อียเู ข้มงวดการนาเข้าพืชและผลิตภ ัณฑ์ ทีม ่ า: กรมการค ้าต่างประเทศ วันที่ 10 มกราคม 2554
้ น ขณะนีจ ี ได้แจ้งร่างมาตรฐานใหม่คา่ MRL ของโลหะ หน ักชนิดต่างๆ ในอาหารแล้ว ครอบคลุมดีบก ุ แคดเมียม ปรอท และสารหนูในอาหารแต่ละประเทศ ิ ค้าประมง ด ังนี้ โดยกาหนดค่า MRLs แคดเมียมในสน Fish, Fish products (except canned fish) 0.1 mg/kg Canned fish 0.2 mg/kg Crustaceans 0.5 mg/kg Shellfishes, ephalopods 2.0 mg/kg โดยใช ้วิธวี เิ คราะห์ GB/T 5009.15 ทัง้ นี้ คาดว่าจะเริม ่ บังคับใช ้ภายในเดือนเมษายน 2554
มะก ันคลอดกฎหมายอาหารแล้ว ทีม ่ า: มกอช. วันที่ 6 มกราคม 2554
กฎระเบียบดังกล่าวทาให ้สินค ้าไทย 3 รายการ ได ้แก่ ถั่วฝั กยาว มะเขือม่วง และผักในตระกูลกะหล่า ต ้องผ่าน การตรวจสอบสารตกค ้าง ณ ด่านนาเข ้า ร ้อยละ 50 ของ ปริมาณการนาเข ้าแต่ละล็อต * ล่าสุด คณะกรรมาธิการยุโรปได้ปร ับปรุง กฎระเบียบด ังกล่าว โดยได้เพิม ่ ความเข้มงวดในการ ื้ จุลน ตรวจสอบสารตกค้างทางการเกษตรและเชอ ิ ทรีย ์ ั เชน ่ อ ัลฟาทีเ่ ป็นอ ันตรายต่อสุขภาพมนุษย์และสตว์ ิ ในถว่ ั และสารซูดานในพริก เป็นต้น โดย ท็ อกซน ิ ค้าไทยทีไ่ ด้ร ับผลกระทบย ังคงเป็นสน ิ ค้า 3 สน รายการข้างต้น ซงึ่ จะถูกตรวจสอบในอ ัตราร้อยละ 50 ่ เดิม รวมทงพริ เชน ั้ กและผลิตภ ัณฑ์ ขมิน ้ และนา้ ม ัน ปาล์มแดง จะถูกตรวจสอบในอ ัตราร้อยละ 20 ของ ้ ะมีผล ปริมาณการนาเข้าแต่ละล็ อต ซงึ่ กฎระเบียบนีจ ้ งแต่ บ ังค ับใชต ั้ ว ันที่ 25 มกราคม 2554 เป็นต้นไป ทัง้ นีส ้ ามารถดูรายละเอียดเพิม ่ เติมระเบียบดังกล่าวได ้ที่ http://ec.europa.eu/food/food/controls/increased_checks /index_en.htm
หล ังจากทีป ่ ลายปี 2553 สภาคองเกรสได้เซ็นร ับรอง กฎหมายยกระด ับมาตรฐานความปลอดภ ัยด้านอาหาร ้ E.coil ในประเทศ เพือ ่ หวังหยุดสถานการณ์ระบาดของเชือ และ Salmonella ทีป ่ นเปื้ อนในไข่ และผลิตภัณฑ์อน ื่ ตลอด ช่วง 2-3 ปี นายบาร ัค โอบามา ประธานาธิบดีสหร ัฐฯ ได้ลงนาม ร ับรองกฎหมายอาหารฉบ ับนี้ ซึง่ ทุม ่ งบประมาณ 1,400 ล ้านดอลลาร์สหรัฐ ปรับปรุงระบบความปลอดภัยด ้านอาหาร โดยให ้อานาจรัฐบาลเพิม ่ การตรวจกระบวนการผลิตอาหาร ทุกชนิด รวมทัง้ มีอานาจบังคับบริษัทผู ้ผลิตอาหารให ้เรียก คืนสินค ้าจากท ้องตลาดถ ้าพบปั ญหาบกพร่อง
TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 10-16 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 2
Page 4
นายศุภชัย โพธิส ์ ุ รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ แถลงถึงปั ญหาสุขอนามัยพืชสินค ้าผักสดส่งออก ไปสหภาพยุโรป และการดาเนินการเพือ ่ แก ้ไขปั ญหาว่า จากกรณีทส ี่ หภาพยุโรปตรวจพบศัตรูพช ื กักกันติดไปกับ สินค ้าพืชผักส่งออกจากประเทศไทยอย่างต่อเนือ ่ ง โดย ศัตรูพช ื ทีต ่ รวจพบ ได ้แก่ แมลงหวีข ่ าว หนอนชอนใบ เพลีย ้ ไฟ และแมลงวันผลไม ้ ซึง่ ทัง้ หมดเป็ นศัตรูพช ื กักกัน ของสหภาพยุโรปทีห ่ ้ามติดไปกับสินค ้า นอกจากนีย ้ งั พบว่า มีการลักลอบส่งออกสินค ้าทีไ่ ม่แจ ้งและไม่ผา่ นการ ตรวจสอบของเจ ้าหน ้าทีด ่ า่ นตรวจพืชฝ่ ายไทย ไม่ม ี ใบรับรองสุขอนามัยพืชแนบไปกับสินค ้าตามข ้อตกลง ระหว่างประเทศ ทีผ ่ า่ นมากรมวิชาการเกษตรได ้ดาเนินการ ปรับปรุงแก ้ไขระบบการผลิต การควบคุม การตรวจสอบ รับรองเพือ ่ แก ้ไขปั ญหาอย่างต่อเนือ ่ ง จากสาเหตุดังกล่าว สหภาพยุโรปได ้มีหนังสือแจ ้งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรือ ่ งการตัดสินใจออกมาตรการระงับนาเข ้าพืชผักไทยที่ พบปั ญหาศัตรูพช ื ติดไปมาก
ั แจงปัญหาพบศตรู ั พช “รมช.ศุภชย” ื ในผ ักสด ่ ออกไปอียู เตรียมออกประกาศ 1 สง ่ ออก กุมภาพ ันธ์ 54 ระง ับการสง ทีม ่ า: กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วันที่ 12 มกราคม 2554
ื แจ้ง จากสาเหตุด ังกล่าวสหภาพยุโรปได้มห ี น ังสอ ิ ใจออก กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เรือ ่ งการต ัดสน ั พช มาตรการระง ับนาเข้าพืชผ ักไทยทีพบปั ่ ญหาศตรู ื ติดไปมาก ได้แก่ 1.พืชสกุล Ocimum spp. (กะเพรา โหระพา แมงล ัก ยีห ่ ร่า) 2. พืชสกุล Capsicum spp. ี้ ้ า พริกขีห ้ นู) 3. พืช Solanum (พริกหยวก พริกชฟ melongena (มะเขือเปราะ มะเขือยาว มะเขือม่วง มะเขือเหลือง มะเขือขาว มะเขือขืน ่ ) พืช ้ ก) พืช 4.Momordica charantia (มะระจีน มะระขีน ี รง่ ั ) 5.Eryngium foetidum (ผ ักชฝ โดยกรมวิชาการเกษตรได้เจรจาขอผ่อนผ ันโดย ่ ออกสน ิ ค้าพืชผ ักชนิดด ังกล่าว ประเทศไทยจะหยุดสง เป็นการชว่ ั คราว โดยเริม ่ ตงแต่ ั้ ว ันที่ 1 กุมภาพ ันธ์ 2554 เป็นต้นไป ทัง้ นี้ การระงับการส่งออกโดยฝ่ ายไทยเป็ นผลดีในการขอ ยกเลิกมาตรการ เนือ ่ งจากขัน ้ ตอนการเสนอขอยกเลิก สามารถทาได ้เร็วกว่าการทีส ่ หภาพยุโรปออกเป็ นกฎหมาย ห ้ามการนาเข ้าผักสดจากไทย...อ่านต่อคลิก http://www.moac.go.th/ewt_news.php?nid=4950&filena me=index
์ ฏิรป เอมิเรตสป ู ระบบเตือนภ ัยอาหาร ทีม ่ า: มกอช. วันที่ 12 มกราคม 2554
กระทรวงสงิ่ แวดล้อมและนา้ แห่งสหร ัฐอาหร ับเอมิเรตส ์ (UAE) ร่วมมือก ับหน่วยงานทงในและ ั้ ต่างประเทศเพือ ่ พ ัฒนาระบบเตือนภ ัยอาหารคนและ ั เพือ อาหารสตว์ ่ ร ับรองความปลอดภ ัยอาหาร โดยระบบ ดังกล่าวจะรับการแจ ้งเตือนโดยตรงจากทัง้ ในและนอก ประเทศ ซึง่ จะทาให ้สามารถระงับการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ สินค ้าทีป ่ นเปื้ อนได ้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วยิง่ ขึน ้ ไทยเตรียมออกระเบียบควบคุมสารแต่งกลิน ่ แมงดา ทีม ่ า: มกอช. วันที่ 12 มกราคม 2554
สานักคณะกรรมการคุ ้มครองผู ้บริโภค (สคบ.) ได ้รับ ร ้องเรียนจากสมาพันธ์ชมรมคุ ้มครองผู ้บริโภค ั กรุงเทพมหานครว่า มีการนาว ัตถุแต่งกลิน ่ รสสงเคราะห์ กลิน ่ แมงดามาทานา้ พริกแมงดา เมือ ่ ทาการตรวจสอบ พบว่า สารด ังกล่าวมีสารเคมีอ ันตรายปนเปื้ อน และ ั ัสผิวหน ังจะ เมือ ่ ทานเข้าไปจะทาให้ปวดท้อง เมือ ่ สมผ เกิดผืน ่ ค ัน และหากหยดลงบนกล่องโฟมจะทาให้โฟ มละลาย นายองอาจ คล ้ามไพบูลย์ รัฐมนตรีประจาสานัก นายกรัฐมนตรีกากับดูแล สคบ. กล่าวว่า ได ้มอบหมายให ้ เลขาธิการ สคบ. และคณะกรรมการว่าด้วยฉลาก พิจารณาออกประกาศคณะกรรมการว่าด้วยฉลาก ิ ค้านนเป ิ ค้าควบคุมฉลาก โดย กาหนดให้สน ั้ ็ นสน ิ ค้าควบคุมภายใน 30 ว ัน เร่งร ัดให้ออกประกาศเป็นสน
เตือนผูป ้ ระกอบการไทยระว ังสารดีบก ุ ตกค้างในอาหารกระป๋องไปอียู ทีม ่ า: มกอช. วันที่ 14 มกราคม 2554
เนือ ่ งจากไทยกาหนดค่ามาตรฐานสารดีบก ุ ตกค ้าง (MRL) ในอาหารกระป๋ องไว ้ที่ 250 ppm เท่ากับที่ Codex กาหนด ไว ้ ขณะทีส ่ หภาพยุโรปกาหนดปริมาณสารดีบก ุ ตกค้างในอาหารกระป๋องไว้เพียง 200 ppm จึงอยาก แจ ้งเตือนผู ้ประกอบการไทยทีต ่ ้องการส่งออกอาหาร กระป๋ อง เช่น ผักกระป๋ อง สับปะรดกระป๋ อง ไปยังสหภาพ ยุโรปให ้ระมัดระวังปริมาณสารดีบก ุ ตกค ้างไม่ให ้เกินที่ สหภาพยุโรปกาหนดไว ้
TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 10-16 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 2
Page 5
สรุปการประชุมครม. ว ันอ ังคารที่ 11 มกราคม 2554 ที่ 19.
เรือ ่ ง การรายงานผลการดาเนินการตามมติ คณะร ัฐมนตรี เรือ ่ ง โครงการควบคุมและ ั นา้ เพือ ร ับรองการจ ับสตว์ ่ ป้องก ัน ย ับยงั้ และขจ ัดการทาประมง IUU
สาระสาค ัญ
หน้า 25
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กษ.) ได ้รายงานผลการดาเนินการ ตามมติคณะรัฐมนตรี เรือ ่ ง โครงการควบคุมและรับรองการจับสัตว์ น้ าเพือ ่ ป้ องกัน ยับยัง้ และขจัดการทาประมง IUU ครัง้ ที่ 3 ในช่วง เดือนกรกฎาคม – กันยายน 2553 โดยเป็ นข ้อมูลผลการดาเนินงาน ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 สรุปได้ด ังนี้ ั นา้ ไปแล้วจานวน 3,274 ฉบ ับ 2) 1) ออกใบร ับรองการจ ับสตว์ แจกจ่ายสมุดบ ันทึกการทาการประมง (Logbook) ให้แก่ เรือประมง จานวน 5,623 ฉบ ับ 3) ทาการตรวจสอบสุขอนาม ัย ท่าเรือประมง จานวน 64 แห่ง…อ่านต่อ
28.
การค้าระหว่างประเทศของไทยใน ระยะ 11 เดือนของปี 2553 (มกราคมพฤศจิกายน)
การส่งออกเดือนพฤศจิกายน 2553 มีมูลค่า 17,699.9 ล้าน
36
้ ถึงร้อยละ 28.4 ขยายตัวในอัตราสูงอย่าง เหรียญสหร ัฐฯ เพิม ่ ขึน ต่อเนือ ่ ง ในรูปเงินบาทการส่งออกมีมล ู ค่า 524,800.6 ล ้านบาท เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 14.7 การส่งออกในระยะ 11 เดือนของปี 2553 (ม.ค.-พ.ย.) การ ส่งออก
ส่งออกมีมูลค่า 177,977.3 ล้านเหรียญ
สหร ัฐฯ เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 29.1 ในรูปเงินบาทการส่งออกมีมล ู ค่า 5,661,023.9 ล ้านบาท เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 20.1 ดุลการค้าเดือนพฤศจิกายน 2553 ไทยเกินดุลมูลค่า407.9 ล้าน เหรียญสหร ัฐฯคิดในรูปเงินบาทเกินดุลมูลค่5,523.3 า ล ้านบาท ส่งผลให ้ ในระยะ 11 เดือน (ม.ค.-พ.ย.) ไทยเกินดุลการค ้าสะสมมูลค่า 11,875.4 ล ้านเหรียญสหรัฐฯ หรือ 312,888.6 ล ้านบาท
ทีม ่ า: ทีม ่ า: www.thaigov.go.th วันที่ 11 มกราคม 2554 รายละเอียดด ังเอกสารแนบ 1
TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 10-16 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 2
Page 6
ื่ ประเทศทีส รายชอ ่ ามทีส ่ หภาพยุโรปยอมร ับ ั นา้ ใบร ับรองการจ ับสตว์ ทีมา: กองตรวจสอบรับรองมาตรฐานคุณภาพสัตว์น้ าและ ั ว์น้ า (กตส.) วันที่ 5 มกราคม 2554 ผลิตภัณฑ์สต
ด ้วยสมาคมฯ ได ้รับหนังสือจากกองตรวจสอบรับรองมาตรฐาน ั ว์น้ า (กตส.) ที่ กษ 0504.5/ คุณภาพสัตว์น้ าและผลิตภัณฑ์สต ื่ ประเทศทีส ว. 19 ลงวันที่ 5 มกราคม 2554 เรือ ่ ง รายชอ ่ าม ั นา้ ซงึ่ กองฯ ทีส ่ หภาพยุโรปยอมร ับใบร ับรองการจ ับสตว์ ื่ ประเทศทีส ได้สรุปรายชอ ่ ามฯ ข้อมูล ณ ว ันที่ 29 ตุลาคม 2553 จากเว็ปไซต์ของสหภาพ ฯ http://ec.europa.eu/fisheries/cfp/illegal_fishi ng/info/index_en.htm ห ัวข้อ Flag state notification (LIST) รายละเอียดด ังเอกสารแนบ 2
ี ไพ นายศุภกร บุญคาเอียด ผูป ้ ระสานงาน บริษ ัท ซส ่ ึ ภูเก็ ต จาก ัด เปิ ดเผยว่า บริษ ัทซงมีผบ ู ้ ริหารเป็นชาว ่ ออกปลาทู สงิ คโปร์ และดาเนินธุรกิจเกีย ่ วก ับการสง น่าแบบแปรรูปไปย ังประเทศสหร ัฐอเมริกา และแบบ เป็นต ัวไปย ังประเทศญีป ่ ่ นมาได ุ ้ระยะหนึง่ แล ้ว ด ้วยการ นาเรือจับปลาทูน่าในมหาสมุทรอินเดีย จานวน 200 ลา เพือ ่ นาปลาทูน่าทีจ ่ ับได ้มาขึน ้ ทีท ่ า่ เทียบเรือประมงภูเก็ต โดยในส่วนของการแปรรูปและห ้องเย็นนัน ้ จะเช่าจาก ผู ้ประกอบการทีม ่ อ ี ยู่ จึงเกิดความไม่สะดวกในการดาเนิน ธุรกิจ ประกอบกับแนวโน ้มการเติบโตของการส่งออกปลา ทูน่าแปรรูปเป็ นตลาดทีม ่ ม ี ล ู ค่าสูงมาก โดยเฉพาะตลาด สหรัฐอเมริกาและญีป ่ น ุ่ ดังนัน ้ จึงมีแนวคิดในการลงทุน ้ ทีภ อุตสาหกรรมผลิตทูนา่ แบบครบวงจรขึน ่ เู ก็ ต
สงิ คโปร์เล็งภูเก็ตฐานผลิตทูนา ่ ทีม ่ า: กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 13 มกราคม 2554
โดยกองฯ จะออกเอกสาร ANNEX 4 เพือ ่ ใช ้ ิ ค้าประมงไปย ังสหภาพฯ เฉพาะ ประกอบการนาเข้าสน ื่ อยูใ่ นบ ัญชข ี องสหภาพฯ เท่านน ประเทศทีม ่ รี ายชอ ั้
“รูปแบบของการลงทุน นอกจากกองเรือจับปลาทูน่าทีม ่ อ ี ยู่ แล ้วทีภ ่ เู ก็ต 200 ลา ขณะนีอ ้ ยูร่ ะหว่างการหาสถานทีใ่ น การก่อสร ้างโรงงาน รวมทัง้ การประสานเพือ ่ ขอรับการ อานวยความสะดวกจากหน่วยงานภาครัฐทีเ่ กีย ่ วข ้อง หาก สามารถดาเนินการได ้ ก็พร ้อมทีจ ่ ะย ้ายฐานกองเรือทูน่า จากประเทศอินโดนีเซียซึง่ มีอยูอ ่ ก ี 200 ลา มาอยูท ่ ภ ี่ เู ก็ต แทน”… อ่านต่อคลิก http://www.bangkokbiznews.com/2011/01/13/news_322 51112.php?news_id=32251112
TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 10-16 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 2
Page 7
่ ออกสน ิ ค้าผ ักและ ขนตอนการจดทะเบี ั้ ยนสง ผลไม้แปรรูปไปไต้หว ัน ทีม ่ า: สมาคมผู ้ผลิตอาหารสาเร็จรูป
สืบเนือ ่ งจากกรมวิชาการเกษตร ได ้แจ ้ง เรือ ่ ง การปฎิบ ัติ ตามกฎระเบียบนาเข้าอาหารกระป๋อง ฉบ ับใหม่ของ ไต้หว ัน ซึง่ ทาง Bureau of animal and Plant Health Inspection and Ouarantine (BAPHIQ) ของไต ้หวัน ได ้ ออกประกาศแก ้ไขระเบียบ Good Hygiene Practice for Canned Food กาหนดให ้ประเทศทีส ่ ง่ ออกอาหารกระป๋ อง ไปไต ้หวันต ้องดาเนินการจดทะเบียนส่งออกสินค ้าผักและ ้ งแต่ ผลไม ้แปรรูปไปไต ้หวัน ซงึ่ มีผลบ ังค ับใชต ั้ ว ันที่ 1 กรกฎาคม 2554 เป็นต้นไป ทัง้ นี้ ทางสมาคมฯ ได้จ ัดทา ่ ออกสน ิ ค้าผ ักและผลไม้แปร ขนตอนการจดทะเบี ั้ ยนสง รูปไปไต้หว ัน รายละเอียดด ังเอกสาร 3
ิ ค้านา้ ตาล พณ. ออกระเบียบการนาเข้าสน
ั ร ัฐมนตรีวา่ การกระทรวง นางพรทิวา นาคาศย พาณิชย์ (พณ.) ได้ลงนามประกาศกระทรวงพาณิชย์ ้ มะพร้าวแห้ง เรือ ่ ง การนาเมล็ ดถว่ ั เหลือง มะพร้าว เนือ และนา้ ม ันมะพร้าว เข้ามาในราชอาณาจ ักร ตามความ ี น พ.ศ. 2553 ซงึ่ ประเทศ ตกลงเขตการค้าเสรีอาเซย ไทยมีพ ันธกรณีทจ ี่ ะต้องเปิ ดตลาดการนาเข้าตาม ี น (AFTA) ทีม ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซย ่ ผ ี ล ้ บ ังค ับใชตงแต่ ั้ ว ันที่ 1 มกราคม 2553 ทีผ ่ า่ นมา ให ้แก่ ประเทศสมาชิกอาเซียน โดยต ้องมีการกาหนดมาตรการใน การนาสินค ้าดังกล่าวเข ้ามาในราชอาณาจักร ทัง้ นี้ เมล็ดถั่ว เหลือง มะพร ้าว เนือ ้ มะพร ้าวแห ้ง และน้ ามันมะพร ้าว ทีม ่ ี ถิน ่ กาเนิดและส่งตรงมาจากประเทศสมาชิกอาเซียน เป็ น สินค ้าทีต ่ ้องมีหนังสือรับรองแสดงการได ้รับสิทธิในการ ยกเว ้นภาษี ทงั ้ หมดหรือบางส่วนทีอ ่ อกโดยหน่วยงานของ ประเทศทีส ่ ง่ ออก หรือโดยกรมการค ้าต่างประเทศแสดงต่อ กรมศุลกากรในการนาเข ้ามาในราชอาณาจักรเพือ ่ ประกอบการใช ้สิทธิพเิ ศษทางด ้านภาษี ศล ุ กากร เพือ ่ ให ้ เป็ นไปตามประกาศของกระทรวงพาณิชย์
ิ ค้าตามความตกลง พณ.ประกาศเปิ ดตลาดสน อาฟตา ทีม ่ า: กรมการค ้าต่างประเทศ วันที่ 4 มกราคม 2554
ปี 2554 ทีม ่ า: กรมการค ้าต่างประเทศ วันที่ 4 มกราคม 2554
กระทรวงพาณิชย์ (พณ) ได้ออกระเบียบว่าด้วย ื หล ักเกณฑ์ วิธก ี าร และเงือ ่ นไขในการออกหน ังสอ ิ ธิชาระภาษีตามพ ันธกรณี ร ับรองแสดงการได้ร ับสท ตามความตกลงการเกษตรภายใต้องค์การการค้าโลก ิ ค้านา้ ตาล ปี 2554 และมีผลบ ังค ับ (WTO) สาหร ับสน ้ งแต่ ใชต ั้ ว ันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 เป็นต้นไป โดยให ้การนาเข ้าสินค ้าน้ าตาลทีจ ่ ะออกหนังสือรับรอง ดังกล่าว ต ้องมีถน ิ่ กาเนิดและส่งมาจากประเทศสมาชิก องค์การการค ้าโลก (WTO) หรือ ภาคีแกตต์ 1947 หรือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สอบถาม รายละเอียดเพิม ่ เติมได ้ทีส ่ ายด่วน ๑๓๘๕ หรือ www.dft.go.th.
กรมการค้าต่างประเทศออกประกาศ เรือ ่ ง หล ักเกณฑ์ วิธก ี าร และเงือ ่ นไขในการขอและออก ื ร ับรอง แสดงการได้ร ับสท ิ ธิในการยกเว้นภาษี หน ังสอ ิ ธิขอหนังสือรับรอง ทงหมดหรื ั้ อบางสว่ น สาหรับผู ้ทีม ่ ส ี ท ต ้องเป็ นผู ้ทีไ่ ม่อยูร่ ะหว่างฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบต ั ต ิ าม ข ้อกาหนดใด ๆ ทีก ่ าหนดไว ้ในประกาศนี้ โดยต ้องขอขึน ้ ทะเบียนเป็ นผู ้นาเข ้าสินค ้าดังกล่าว และยืน ่ คาร ้องขอ หนังสือรับรองพร ้อมเอกสารหลักฐานประกอบการพิจารณา สาหรับแต่ละสินค ้า ซึง่ หนังสือรับรองสาหรับเมล็ดถั่วเหลืองให ้มีอายุ 1 เดือน นับแต่วันออก แต่ต ้องไม่เกินวันที่ 31 ธันวาคม ของปี ท ี่ ออกหนังสือรับรอง ส่วนหนังสือรับรองสาหรับมะพร ้าว เนือ ้ มะพร ้าวแห ้ง และน้ ามันมะพร ้าว ให ้มีอายุ 1 เดือนนับแต่วัน ออก แต่ต ้องไม่เกินกาหนดระยะเวลาทีก ่ าหนดไว ้ สาหรับ ผู ้ประกอบการ และผู ้ทีส ่ นใจ สามารถสอบถามรายละเอียด เพิม ่ เติมได ้ที่ สายด่วนกรมการค ้าต่างประเทศ 1385
TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 10-16 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 2
Page 8
นายประจวบ ตยาคีพส ิ ท ุ ธิ์ รองประธานคณะ กรรมการบริหารและโฆษกสมาคมอุตสาหกรรมเครือ ่ งดืม ่ ไทย เปิ ดเผยว่า ความคืบหน้าสถานการณ์ความ ้ า้ ตาลภายในประเทศ (โควตา ก.) ปี ต้องการใชน ิ สมาคมซงึ่ เป็นผูผ 2554 สมาชก ้ ลิตเครือ ่ งดืม ่ ทีใ่ ช ้ ่ กรีนส นา้ ตาลเป็นว ัตถุดบ ิ ในการผลิต 14 ราย เชน ปอร์ต เสริมสุข จาก ัด ไทยนา้ ทิพย์ และอืน ่ ๆ รวมต ัว ก ันยืน ่ เสนอต ัวเลขไปย ังสภาอุตสาหกรรมแห่ง ้ า้ ตาล 5.5 แสนต ัน ประเทศไทย (ส.อ.ท.) เพือ ่ ขอใชน ้ 8-10% สูงกว่าปี หรือ 5.5 ล้านกระสอบ เพิม ่ ขึน ้ า้ ตาลเพียง 4.8-5 แสนต ัน 2553 ขอใชน
ส.เครือ ่ งดืม ่ ชงแผนนา้ ตาลปี "54 เพิม ่ 5.5 แสนต ัน-ขอลด2บ./ก.ก. ทีม ่ า: ประชาชาติธรุ กิจ วันที่ 10 มกราคม 2554
ี ประธานาธิบดีซูซโี ล บ ัมบ ัง ยูโดโยโน แห่งอินโนีเซย กล่าวว่า ประชาชนควร "ริเริม ่ "ปลูกพริก ซงึ่ ถือเป็น สว่ นประกอบทีส ่ าค ัญในการปรุงอาหารของชาว ี ราคาพริกเริม ้ อย่างน่าตกใจ อินโดนีเซย ่ สูงขึน น ับตงแต่ ั้ ปีทีผ ่ า่ นมา หล ังเกิดภาวะขาดแคลนอย่าง หน ัก โดยราคาพริกคละชนิดได ้พุง่ สูงถึงกิโลกรัมละ 100,000 รู เปี ยห์ หรือประมาณ 360 บาท ขณะทีพ ่ อ ่ ค ้าอาหารรายหนึง่ ในเขตชวาตะวันออกกล่าวว่า ตนจาใจต ้องลดจานวนพริก ในอาหารลง "บางครัง้ เราก็ใช ้พริกแดง แต่บางครัง้ เราก็ไม่ ้ มันได ้ เรา ใส่เพราะว่าราคามันแพง ทาให ้เราไม่มป ี ั ญญาซือ จึงเปลีย ่ นมาใช ้พริกสีเขียวแทน" "ตอนนีพ ้ ริกราคาแพง เกินไป ราคาพริกแดงพุง่ ขึน ้ ไปกิโลละ 80,000 รูเปี ยห์ ส่วนพริกทีแ ่ พงทีส ่ ด ุ ก็คอ ื พริก Cayenne ซึง่ เป็ นพริกทีม ่ ี ขนาดเล็ก แต่ราคากลับสูงถึงกิโลละ 100,000 รูเปี ยห์"
รบ.อินโดฯ เรียกร้องให้ประชาชน "ปลูกพริก" เองทีบ ่ า้ น หล ังราคาพุง ่ สูงถึง 360 บ./กิโล ทีม ่ า: มติชน วันที่ 10 มกราคม 2554
อัตราการขอใช ้น้ าตาลเพิม ่ นัน ้ ประเมินตามการเติบโตของ อุตสาหกรรมซึง่ สอดคล ้องกับภาวะเศรษฐกิจและจีดพ ี ี บวก กับสถานการณ์การเมืองขณะนีเ้ ริม ่ นิง่ ส่งเสริมบรรยากาศให ้ มีการใช ้จ่ายมากขึน ้ รวมถึงนโยบายสนับสนุนการ ท่องเทีย ่ วของไทยสร ้างอานิสงส์การบริโภคเครือ ่ งดืม ่ เพิม ่ ขึน ้ "จากปั ญหาภาวะน้ าตาลตรึงตัวในปี ทผ ี่ า่ นมา ทาง สานักงานคณะกรรมการอ ้อยและน้ าตาลทราย (สอน.) ได ้ ขอให ้เอกชนแจ ้งปริมาณการใช ้น้ าตาลทีชั ่ ดเจน เพือ ่ จะได ้ บริหารจัดการให ้ดีขน ึ้ ป้ องกันการเกิดปั ญหาภาวะตรึงตัวขึน ้ อีก ด ้วยการถามผ่านทางสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศ ไทย (ส.อ.ท.) เป็ นผู ้มาตามเรือ ่ งกับสมาคมทาหน ้าที่ รวบรวมข ้อมูลจากสมาชิกและสรุปเป็ นตัวเลขข ้างต ้น" … อ่านต่อคลิก http://www.prachachat.net/view_news.php?newsid=02in v02100154&sectionid=0203&day=2011-01-10
ส่วนรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพาณิชย์ กล่าวต่อหนังสือพิมพ์ เดอะจาการ์ต ้า โกลบ ว่า ตนกาลังทาทุกวิถท ี างทีจ ่ ะตรึง ราคาพริกไว ้ให ้นานทีส ่ ด ุ และพัฒนาอุตสากรรมการปลูก พริก เพือ ่ ให ้สามารถรับมือกับสภาพอากาศทีเ่ ลวร ้ายได ้ ด ้านองค์การสหประชาชาติเปิ ดเผยว่า ราคาอาหารทั่วโลก โดยเฉลีย ่ เพิม ่ ขึน ้ ถึง 80% ในช่วงเวลา 10 ปี นี้ โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ในเดือนธันวาคมทีผ ่ า่ นมา ซึง่ ราคาพุง่ สูงขึน ้ เป็ น ประวัตก ิ ารณ์…อ่านต่อคลิก http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=12 94650165&grpid=&catid=06&subcatid=0600
TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 10-16 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 2
Page 9
ความคืบหน้าการต่ออายุโครงการ GSP ของ สหร ัฐฯ ทีม ่ า: กรมการค ้าต่างประเทศ วันที่ 4 มกราคม 2554
ิ ฎ์ ลิม นายวิศษ ้ ประนะ ประธานกลุม ่ อุตสาหกรรมอาหาร สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) เปิ ดเผยว่า ิ ค้าอาหารจะปร ับต ัว ในปี 2554 แนวโน้มราคาสน ิ ค้าทีจ ้ เฉลีย สูงขึน ่ 3-5% ทงส ั้ น ่ าหน่ายในประเทศ ่ ออกชว ่ งไตรมาส 2 เป็นต้นไป ปัจจ ัยสาค ัญมา และสง ้ มาก โดยเฉพาะ จากต้นทุนการผลิตปร ับต ัวสูงขึน วัตถุดบ ิ หลัก เช่น กะทิ ซึง่ เป็ นเครือ ่ งปรุงในการประกอบ อาหารไทย สูงขึน ้ จากเดิม 20 บาทต่อกิโลกรัม มาอยูท ่ ี่ 50 ้ ยาก ขณะทีร่ าคาน้ าตาลตลาดโลกก็ บาท และยังหาซือ ปรับตัวสูงขึน ้ ต่อเนือ ่ ง อุตสาหกรรมอาหารแช่อม ิ่ หรือ อาหารกระป๋ องทีใ่ ช ้น้ าตาลเป็ นวัตถุดบ ิ หลักเพือ ่ ส่งออก ได ้รับผลกระทบค่อนข ้างมาก ส่วนกลุม ่ ทีใ่ ช ้น้ าตาลโควตา ้ ยาก ทาให ้ต ้องยอมจ่ายแพง กว่าปกติ ในประเทศก็หาซือ
เมือ ่ วันที่ 22 ธันวาคมทีผ ่ า่ นมา วุฒส ิ ภาและ ิ สภาผูแ สมาชก ้ ทนราษฎรของสหร ัฐฯ ได้เห็ นชอบไม่ ิ ธิพเิ ศษทางภาษีศล ต่ออายุระบบสท ุ กากรเป็นการ ทว่ ั ไป หรือ GSP (Generalized System of Preferences) ซงึ่ หมดอายุลงในว ันที่ 31 ธ ันวาคม ิ ค้าทีอ ิ ธิ ศกนี้ มีผลให้ผน ู ้ าเข้าสน ่ ยูใ่ นข่ายได้ร ับสท ิ ธิ GSP รวมถึง GSP จากทุกประเทศทีเ่ คยได้ร ับสท ี ภาษีนาเข้าอ ัตราปกติ (MFN) ประเทศไทย จะต้องเสย สาหร ับการนาเข้าไปย ังสหร ัฐฯ ตงแต่ ั้ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป จนกว่าร ัฐสภาสหร ัฐฯ จะอนุม ัติให้ตอ ่ อายุโครงการ GSP อย่างไรก็ตาม รัฐสภาสหรัฐฯ จะทบทวนการต่ออายุ โครงการ GSP อีกครัง้ ในช่วงต ้นปี 2554 และหากเห็นชอบ ิ ธิ GSP แล ้ว ผู ้นาเข ้าสหรัฐฯทีน การต่ออายุสท ่ าเข ้าโดยเสีย ภาษี อต ั รา MFN ก่อนหน ้าการอนุมต ั ฯิ สามารถขอคืนภาษี ย ้อนหลังจากศุลกากรสหรัฐฯ ได ้หากว่าเป็ นสินค ้านาเข ้าที่ เข ้าข่ายได ้รับสิทธิ GSP โดยมีผลย ้อนหลังไปถึงการนาเข ้า ตัง้ แต่ 1 มกราคม 2554 ทัง้ นี้ ผู ้ส่งออกและผู ้นาเข ้าจะต ้อง เก็บรักษาข ้อมูลทีเ่ กีย ่ วข ้องเพือ ่ ประกอบการยืน ่ คาร ้องขอ คืนภาษี นาเข ้า ต่อไป ้ ท ิ ค้าสาค ัญทีม ิ ธิสง สน ่ ก ี ารใชส ู ได ้แก่ เครือ ่ งประดับทา จากเงิน ยางเรเดียลรถบรรทุก ยาง-เรเดียลรถยนต์นั่ง อาหารปรุงแต่ง ถุงมือยาง เตาอบไมไครเวฟ ส่วนประกอบ เครือ ่ งปรับอากาศ เป็ นต ้น ทัง้ นี้ ผู ้สนใจรายละเอียดเพิม ่ เติมสามารถติดต่อได ้ที่ สานัก สิทธิประโยชน์ทางการค ้า โทร. 02-547 4871 โทรสาร 02-547 4816 สายด่วน 1385
จึงจะได ้ของ
้ ราคากลางปี อุตฯอาหารจ่อขึน ทีม ่ า: โพสต์ทเู ดย์ วันที่ 11 มกราคม 2554
นอกจากนี้ ค่าแรงทีป ่ รับขึน ้ ตัง้ แต่วันที่ 1 ม.ค.ทีผ ่ า่ นมา ก็ ทาให ้ต ้นทุนของผู ้ประกอบการเพิม ่ ขึน ้ โดยต ้นทุนค่าแรง ในภาคอุตสาหกรรมอาหารคิดเป็ น 0.41% ของต ้นทุนรวม สุดท ้ายคือ ต ้นทุนด ้านพลังงาน เช่น ราคาน้ ามันและโลจิสติกส์ กระทบต่อค่าขนสินค ้าอย่างมาก ซึง่ ต ้นทุนด ้านโล จิสติกส์คด ิ เป็ น 25% ของต ้นทุนทัง้ หมด ก็มแ ี นวโน ้มทีจ ่ ะ ขยับขึน ้ อย่างต่อเนือ ่ งในปี นี้ “ไตรมาส 2 ของปี นี้ น่าจะเห็นผู ้ประกอบการเริม ่ ปรับราคา สินค ้าขึน ้ บ ้าง เพราะเริม ่ แบกรับต ้นทุนทีเ่ พิม ่ ขึน ้ ไม่ไหว … อ่านต่อคลิก http://www.posttoday.com
TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 10-16 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 2
Page 10
เวิลด์ อีโคโนมิก ฟอร ัม (World Economic Forum : WEF) องค์กรระด ับโลกประเมินเศรษฐกิจและ สถานการณ์ในภาพรวมของโลกในปี 2011 อย่าง หม่นหมองจนน่าใจหาย สาเหตุหลักทีม ่ ก ี ารประเมินไปในทิศทางดังกล่าว เพราะ ความบอบช้าของแต่ละประเทศในโลกจากวิกฤตเศรษฐกิจ และการเงินในช่วง 3 ปี ทผ ี่ า่ นมา ถือเป็ นเรือ ่ งใหญ่และสาหัส ่ ภาพเดิมเป็ นเรือ จนทาให ้การฟื้ นคืนสูส ่ งยาก ั เจนคือ สถานการณ์ด ้านตัวเลขงบประมาณของ ตัวอย่างทีช ่ ด ั่ คลอน เป็ น ประเทศใหญ่ๆ อย่าง สหรัฐ อังกฤษ ญีป ่ น ุ่ ทีส ่ น แรงถ่วงทีฉ ่ ุดความแข็งแกร่งของประเทศเหล่านัน ้ ลง
่ เค้าป่วยหน ัก-ซม ึ ยาว เศรษฐกิจโลกสอ ทีม ่ า: ฐานเศรษฐกิจ วันที่ 14 มกราคม 2554
สิง่ ทีน ่ ่าสังเกตคือ เพราะสถานการณ์ในโลกอ่อนแอมากขึน ้ ดังนัน ้ จึงเป็ นต ้นตอของการส่งผ่านหรือถ่ายทอดปั ญหาจาก ส่วนหนึง่ ในโลกไปยังส่วนอืน ่ ๆ ได ้รวดเร็วขึน ้ ธนาคารโลกประเมินการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศ (จีดพ ี )ี ของโลกอยูท ่ รี่ าว 3.3% ลดลงจาก ่ ว่า เศรษฐกิจ เมือ ่ ปี 2010 ซึง่ อยูท ่ ี่ 3.3% การประเมินเชือ โลกจะกลับมาดีขน ึ้ ในปี 2012 ด ้วยจีดพ ี แ ี กว่งอยูท ่ รี่ าว 3.6%….อ่านต่อคลิก http://www.posttoday.com/
ปล่อยลอยต ัว"แอลพีจ"ี โรงงาน คิดราคา ้ .ค.นี้ ตลาดโลกเริม ่ ใชก ทีม ่ า: ประชาชาติธรุ กิจ วันที่ 13 มกราคม 2554
น.พ.วรรณรัตน์ ชาญนุกล ู รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน เปิ ดเผยกับถึง แนวทางของกระทรวง พล ังงานทีใ่ ชใ้ น การลอยต ัว LPG ทีใ่ ชใ้ นภาคอุตสาหกรรมว่า จะค่อย ้ ไปแบบขนบ ทยอยปร ับราคาขึน ั้ ันได เริม ่ ตงแต่ ั้ เดือน มี.ค. และจะไปลอยต ัวอย่างเต็มทีใ่ นเดือน ก.ค. 2554 ้ LPG เป็ นจานวนมาก โดยโรงงานอุตสาหกรรมทีม ่ ก ี ารสัง่ ซือ (Bounce) จะต ้องจ่ายในราคา LPG ทีข ่ ายกันในตลาดโลก ส่วนภาคอุตสาหกรรมทีใ่ ช ้ถังก๊าซหุงต ้มทีใ่ ช ้ในครัวเรือนมา ี รือสาร Trade Mark ลงไปในเนือ ต่อ ๆ กันนัน ้ จะมีการใส่สห ้ ก๊าซ เพือ ่ แยกแยะระหว่าง LPG ทีใ่ ช ้ในภาคอุตสาหกรรม ออกจากภาคครัวเรือนและภาคการขนส่ง หากพบว่ามีการนา LPG ทีใ่ ช ้ในภาคครัวเรือนไปใช ้ในภาคอุตสาหกรรมจะมี ความผิด” ดังนัน ้ หากปล่อยให ้ราคา LPG ลอยตัวตามราคาตลาดโลก ในเดือน ก.ค.นี้ ก็จะทาให ้ราคา LPG ภาคอุตสาหกรรมขึน ้ ไป ยืนอยูท ่ รี่ ะดับ 30 บาทต่อลิตร ขณะทีร่ าคา LPG ปั จจุบน ั อยู่ ทีก ่ โิ ลกรัมละ 10 บาท ส่วนน้ ามันเตาอยูท ่ ี่ 12.7 บาท ้น ผู ้ประกอบการก็จะกลับไปใช ้ ามันเตาเหมือนเดิม"…อ่านต่อ คลิก http://www.prachachat.net/view_news.php?newsid=02p0 103130154&sectionid=0201&day=2011-01-13
สหภาพยุโรปได้เผยแพร่แนวทางการปฏิบ ัติตาม ิ ค้าผ่านเข้ามาย ังสหภาพยุโรป ข้อกาหนดในการนาสน โดยมีวัตถุประสงค์เพือ ่ อธิบายการปฏิบต ั ต ิ ามระเบียบศุลกากร ของสหภาพยุโรป (Community Customs Code) ทีแ ่ ก ้ไข โดย Regulation (EC) No 648/2005 และการปฏิบ ัติตาม ่ สน ิ ค้าเข้า ข้อกาหนดเพือ ่ ความปลอดภ ัยในการสง สหภาพยุโรป ซงึ่ จะมีผลบ ังค ับตงแต่ ั้ ว ันที่ 1 มกราคม 2554 ระเบียบใหม่ด ังกล่าว มีด ังต่อไปนี้
อียแ ู ก้ไขระเบียบเพือ ่ ความปลอดภ ัยในการ ่ สน ิ ค้าเข้าสหภาพฯ สง ทีม ่ า: มกอช. วันที่ 14 มกราคม 2554
่ ต้องยืน 1. ผูข ้ นสง ่ เอกสาร Entry Summary Declaration (ENS) ต่อสาน ักงานศุลกากรของท่าเรือ หรือสนามบินในประเทศแรกของสหภาพยุโรปทีจ ่ ะผ่าน ่ งด ้าน เข้ามา เพือ ่ ให ้สานักงานศุลกากรนัน ้ วิเคราะห์ความเสีย ความมัน ่ คงและความปลอดภัย (security and safety risk) ่ งก็จะดาเนินการส่งต่อข ้อมูลความ ซึง่ หากตรวจพบความเสีย ่ งนัน เสีย ้ ผ่านระบบ Import Control System (ICS) ไปยัง สานักงานศุลกากรของท่าเรือหรือสนามบินของสหภาพยุโรป ทุกหน่วยงานทีร่ ะบุไว ้ใน ENS ต่อไป ซึง่ ศุลกากรแรกจะ ดาเนินการทันทีกบ ั สินค ้าทีค ่ าดว่าจะก่อให ้เกิดภัยร ้ายแรง ิ ค ้าทางทะเลลึก (deepโดยสาหรับการขนส่งในตู ้บรรจุสน sea containerized traffic) จะดาเนินการส่งข ้อความว่า “Do Not Load” ถึงผู ้ส่งเพือ ่ สินค ้าจะไม่ต ้องถูกบรรทุกลงเรือเพือ ่ ่ งได ้รับ เข ้ามายังเขตแดนสหภาพยุโรป หากข ้อมูลความเสีย หลังจากทีเ่ รือออกมาแล ้วจะมีการดาเนินการควบคุมทันทีท ี่ ด่านแรกของสหภาพฯ ้ อยูก 2. กาหนดเวลาการยืน ่ เอกสาร ENS ขึน ่ ับวิธก ี าร ่ และระยะเวลาการขนสง ่ สน ิ ค้าในเขตแดนของ ขนสง สหภาพฯ ิ ค ้าทางทะเล (containerized 2.1 การขนส่งในตู ้บรรจุสน maritime cargo) ต ้องดาเนินการอย่างน ้อย 24 ชัว่ โมงก่อน เริม ่ ขนสินค ้าลงแต่ละท่าเรือ หากมีทา่ ใดท่าหนึง่ ทีเ่ ป็ นของ สหภาพยุโรป 2.2 การขนส่งสินค ้าขนาดใหญ่และสินคาหี ้ บห่อทางทะเล (bulk/break bulk maritime cargo) ต ้องดาเนินการอย่าง น ้อย 4 ชัว่ โมงก่อนมาถึงท่าเรือแรกของสหภาพยุโรป 2.3 การขนส่งทางอากาศทางไกล (ระยะเวลาบินเกิน 4 ชัว่ โมง) ต ้องดาเนินการอย่างน ้อย 4 ชัว่ โมงก่อนมาถึง สนามบินแรกของสหภาพยุโรป
TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 10-16 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 2
Page 11
ทีม ่ า: ธนาคารแห่งประเทศไทย ข ้อมูลวันที่ 1,2.3.4.8.9.15.16 ธันวาคม 2553 ไม่มต ี ัวเลขอัตราแลกเปลีย ่ น จากธนาคารแห่งประเทศไทย
ทีม ่ า: ธนาคารแห่งประเทศไทย
TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 10-16 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 2
Page 12
แบงก์ชาติเตือนปี 54 ระว ังบาทแข็งและผ ันผวน กว่าปี ก่อน ทีม ่ า: ไทยรัฐ วันที่ 6 มกราคม 2554
ธปท.ร ับไตรมาสแรกบาทย ังมีโอกาสแข็งค่าต่อ และ อาจจะผ ันผวนมากกว่าปี ทีผ ่ า่ นมา ย ันดูแลเต็มทีใ่ ห้กระทบ เอกชนน้อยทีส ่ ด ุ แนะจ ับตา เงินเฟ้อ ราคานา้ ม ัน ค่าบาท ิ ก่อนต ัดสน ิ ใจดาเนินนโยบาย เงินทุนเคลือ ่ นย้ายใกล้ชด การเงินปี นี้ นางอัจนา ไวความดี รองผู ้ว่าการ ด ้านเสถียรภาพการเงิน
ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กล่าวถึงการไหลกลับเข ้ามา ลงทุนในไทยของนักลงทุนต่างชาติวา่ ในปี 2554 เงินทุน
จากต่างประเทศไหลกล ับเข้ามาเร็ วกว่าปกติ โดยเริม ่ เห็ น ่ ง การนาเงินทุนเข้ามาของน ักลงทุนต่างประเทศ ตงแต่ ั้ ชว ว ันที่ 30-31 ธ.ค.2553 มีเงินทุนไหลกล ับเข้ามาใน ้ เล็ กน้อย ปริมาณค่อนข้างมาก ทาให้คา่ เงินบาทแข็งค่าขึน ่ งนน และชว ั้ ธปท.ได้เข้าไปแทรกแซงเพือ ่ ดูแลไม่ให้ ค่าเงินบาทผ ันผวน “ตามปกติ ทุกปี ยกเว ้นปี 2551 ในช่วงเดือน ม.ค.ของทุกปี หลังหยุดปี ใหม่ จะเริม ่ มีเงินทุนจากต่างประเทศไหลกลับเข ้ามา ลงทุน จากทีช ่ ะลอการลงทุนในช่วงครึง่ เดือนหลังของเดือน ธ.ค.จนถึงเทศกาลปี ใหม่ หรือทีเ่ รียกกันว่า January effect แต่ ปี นม ี้ เี งินไหลกลับเข ้ามาเร็วตัง้ แต่ปลายเดือน ธ.ค. เลยอาจจะ เรียกว่าเป็ น New Year effect ขณะทีใ่ นช่วงหลังปี ใหม่นี้ ยัง เห็นเงินต่างประเทศก็ไหลเข ้ามาต่อเนือ ่ ง แต่ปริมาณไม่มากเท่า ้ ปี " ช่วงสิน
้ ดอกเบีย ้ ไม่กระทบบาทแข็ง ธปท.ย ัน กนง.ขึน ทีม ่ า: ไทยรัฐ วันที่ 13 มกราคม 2554
นายไพบูลย์ กิตติศรีกงั วาน ผู ้ช่วยผู ้ว่าการธนาคารแห่ง ประเทศไทย (ธปท.) สายนโยบายการเงิน แถลงผล ประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ว่า ที่
้ อ ัตรา ประชุมมีมติเป็นเอกฉ ันท์ 7 ต่อ 0 ปร ับขึน ้ นโยบายเพิม ้ อีก 0.25% ต่อปี ตามการ ดอกเบีย ่ ขึน ้ นโยบาย คาดการณ์ของตลาด ทาให้อ ัตราดอกเบีย ้ มาอยูท ขึน ่ ี่ 2.25% ต่อปี เนือ ่ งจากแรงกดดันทีม ่ ต ี อ ่ อัตราเงินเฟ้ อทั่วไป และอัตราเงินเฟ้ อพืน ้ ฐานมีเพิม ่ ขึน ้ ใน ระยะต่อไป สะท ้อนจากการขยายตัวทีเ่ พิม ่ ขึน ้ ของกาลัง ้ ในประเทศ รวมถึงราคาน้ ามัน และสินค ้าโภคภัณฑ์ท ี่ ซือ สูงขึน ้ อย่างชัดเจน รายละเอียดดังเอกสารแนบ 4 ทัง้ นี้ ในการประชุม กนง.ได ้มีการหารือกันถึงอัตรา แลกเปลีย ่ นค่าเงินบาท ในระยะต่อไป โดยมองว่าภาพรวม ทิศทางของค่าเงินบาทยังคงแข็งค่าขึน ้ ตามการไหลเข ้า ของเงิน ทุนต่างประเทศทีจ ่ ะมีตอ ่ เนือ ่ ง และจะมีความผัน ผวนเข ้าออกรวดเร็วกว่าในปี นี้ เช่นในช่วงนี้ เริม ่ เห็นการ อิม ่ ตัวของการหากาไรจากค่าเงินบาท เพราะทีผ ่ า่ นมา ค่าเงินบาทแข็งค่าขึน ้ มากแล ้ว แต่การอ่อนค่าลง ก็ สามารถกลับแข็งค่าได ้เช่นกัน ผู ้นาเข ้าส่งออกจึงควรมี ่ งเพิม การป้ องกันความเสีย ่ ขึน ้ …อ่านต่อคลิก http://www.thairath.co.th/content/eco/140901
ธปท.อุม ้ บาทด ันสารองล่าสุดเพิม ่ 300 ล้านดอลลาร์ ทีม ่ า: กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 14 มกราคม 2554
นางอัจนา กล่าวต่อว่า ตราบใดทีธ ่ นาคารกลางสหรัฐยังคงใช ้ มาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณเงิน หรือ QE เพือ ่ ลดอัตรา ผลตอบแทนพันธบัตรระยะยาว ซึง่ ทีผ ่ า่ นมา ยังไม่ประสบ ่ มัน ความสาเร็จเพราะนักลงทุนยังไม่เชือ ่ การไหลเขาของ ้ เงินทุนมายังประเทศไทยจะเกิดขึน ้ ต่อเนือ ่ ง และตามปกติเดือน ม.ค.ประเทศไทยจะเกินดุลบัญชีเดินสะพัด ดังนัน ้ แนวโน ้ม ค่าเงินบาทของไทยน่าจะยังมีทศ ิ ทางทีแ ่ ข็งค่าขึน ้ อย่างน ้อย ในช่วงไตรมาสแรกของปี …อ่านต่อคลิก http://www.thairath.co.th/content/eco/139437
รายงานข่าวจากธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เปิ ดเผยว่า ทุนสารองระหว่างประเทศ ณ วันที่ 7 มกราคม 2554 อยูท ่ ี่ 1.724 แสนล ้านดอลลาร์ เพิม ่ ขึน ้ จากสัปดาห์ ก่อนหน ้านี้ ซึง่ อยูท ่ ี่ 1.721 แสนล ้านดอลลาร์ คิดเป็ นการ เพิม ่ ขึน ้ ประมาณ 300 ล ้านดอลลาร์…อ่านต่อคลิก
http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/finance/fi nance/20110114/371957
TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 10-16 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 2
Page 13
ั ันธ์ !!! ขอเชญ ั ิ เข้าร่วมสมมนา ประชาสมพ " The New EU-GSP Rules of Origin: Challenges and Opportunities for Thai Exporters" ในว ันพุธที่ 26 มกราคม 2554 ์ าร์ค 1 ชน ั้ เวลา 8.30-17.00 น. ณ ห้องควีนสป ์ าร์ค 2 โรงแรมอิมพีเรียล ควีนสป กรุงเทพมหานคร
ื เนือ ิ ค้า สบ ่ งจากเมือ ่ ว ันที่ 18 พฤศจิกายน 2553 สหภาพยุโรปได้ปร ับปรุงแหล่งกาเนิดสน ้ ล้วตงแต่ ิ ธิพเิ ศษ GSP และมีผลบ ังค ับใชแ ใหม่ภายใต้ระบบสท ั้ ว ันที่ 1 มกราคม 2554 เป็นต้น ไป กฎแหล่งกาเนิดสินค ้าใหม่นี้ มีความยืดหยุน ่ มากและสอดคล ้องกับกระบวนการผลิตของประเทศ ผู ้รับสิทธิมากขึน ้ การปรับปรุงกฎแหล่งกาเนิดสินค ้าใหม่ ส่งผลให ้ประเทศผู ้รับสิทธิฯ สามารถใช ้ ประโยชน์จากระบบ GSP ได ้อย่างเต็มที่ ั ด ังนน ั้ กรมการค้าต่างประเทศ จึงได้จ ัดสมมนาเรื อ ่ ง "The New EU-GSP Rules of Origin: Challenges and Opportnities for Thai Exporters" ในว ันพุธที่ 26 มกราคม 2554 ์ าร์ค 1 ชน ั้ 2 โรงแรมอิมพีเรียล ควีนสป ์ าร์ค เวลา 8.30-17.00 น. ณ ห้องควีนสป กรุงเทพมหานคร เพือ ่ ให ้ผู ้ส่งออกไทยได ้รับทราบและทาความเข ้าใจต่อข ้อกาหนดต่างๆ ในเรือ ่ ง ิ Mr. Gert กฎแหล่งกาเนิดสินค ้าใหม่ และระบบศุลกากรของสหภาพยุโรป โดยกรมฯ ได้เชญ ี่ วชาญด้านกฎแหล่งกาเนิดสน ิ ค้า van't Spijker และ Mr. Henk van Geelen ทีเ่ ป็นผูเ้ ชย จากศุลกากรเนเธอร์แลนด์ (The National Team for Origin Affairs) และได้ร ับเกียรติ จาก Mr. Antonio Berenguer ห ัวหน้าฝ่ายการค้าและเศรษฐกิจ จากสาน ักงานผูแ ้ ทน สหภาพยุโรปประจาประเทศไทย มาบรรยายพิเศษในห ัวข้อ "Thai-EU Trade Relations" โดยมีลา่ มแปลสองภาษาตลอดการบรรยาย ทัง้ นี้่ ผู ้เข ้าร่วมสัมมนาจะมีคา่ ใช ้จ่ายในการ ลงทะเบียนท่านละ 1,000 บาท (หนึง่ พันบาทถ ้วน) ั ิ ท่านใดสนใจเข้าร่วมสมมนาฯ หากสมาชก ใคร่ขอท่านสอบถามรายละเอียดเพิม ่ เติมได้ท ี่ ิ สาน ักสทธิประโยชน์ทางการค้า กรมการค้าต่างประเทศ โทร. 02 547 817, 02 547 5097 ั หรือ DFT Center 1385 และสมาคมฯ ได้แนบแบบแจ้งความประสงค์เข้าร ับการสมมนามา ด้วย ตามเอกสารแนบ 5
TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 10-16 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 2
Page 14
THAI FOOD PROCESSORS’ ASSOCIATION Tel : (662) 261-2684-6 Fax : (662) 261-2996-7 www.thaifood.org E-mail: thaifood@thaifood.org
Executive Director วิกรานต์ โกมลบุตร E-mail: vikrant@thaifood.org Administrative Manager ลินดา เปลีย ่ นประเสริฐ E-mail: linda@thaifood.org Trade and Technical Manager สุพ ัตรา ริว้ ไพโรจน์ E-mail: supatra@thaifood.org Head of Trade & Technical Division -Fruit and Vegetable Products
วิภาพร สกุลครู E-mail: vipaporn@thaifood.org Trade and Technical Officer Division - Fruit and Vegetable Products อ ัญชลี พรมมา E-mail:anchalee@thaifood.org ธณัฐยา จ ันทรศรี E-mail: tanatya@thaifood.org
Head of Trade & Technical Division- Fisheries Products ชนิกานต์ ธนูพท ิ ักษ์ E-mail: chanikan@thaifood.org สมาคมผูผ ้ ลิตอาหารสาเร็จรูป ขอขอบคุณเว็ ปไซต์ ด ังต่อไปนี้ Trade and Technical OfficerDivision -Fisheries Product
1. http://www.thannews.th.com
6. http://www.dailynews.co.th
นลินพรรณ อิม ่ สาระพางค์ E-mail: nalinpan@thaifood.org
2. http://www.thairath.co.th
7. http://www.acfs.go.th
วรวรรณ เมธีธาดา E-mail: worawan@thaifood.org
3. http://www.bangkokbiznews.com
8. http://www.posttoday.com
4. http://www.tnsc.com
9.http://www.matichon.co.th
Data Management Office
5. http://www.prachachat.net
ธนพร จุด ้ ศรี E-mail: thanaporn@thaifood.org Commercial Relation Executive ก ัญญาภ ัค ชินขุนทด E-mail:kanyaphak@thaifood.org
เสนอข้อคิดเห็น/ ข้อเสนอแนะ
Administrator วสุ กริง่ รูธ ้ รรม E-mail:vasu@thaifood.org ศิรณ ิ ีย ์ ถิน ่ ประชา E-mail:sirinee@thaifood.org Accountant วิมล ดีแท้ E-mail: wimon@thaifood.org
………………………… ………………………… ………………………… …………………………
TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 10-16 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 2
Page 15
สรุปการประชุมคณะร ัฐมนตรี ว ันอ ังคารที่ 11 มกราคม 2554 http://www.thaigov.go.th ข่าวที่ 01/01 วันที่ 11 มกราคม 2554 ั ้ 2 สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี นายอภิสท ิ ธิ์ เวชชาชวี ะ วันนี้ เมือ ่ เวลา 09.00น. ณ ห ้องประชุมชน นายกรัฐมนตรี เป็ นประธานการประชุมคณะรัฐมนตรี จากนัน ้ รองศาสตราจารย์ปณิธาน วัฒนายากร รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ปฏิบัตห ิ น ้าทีโ่ ฆษกประจํา ํ ํ สานักนายกรัฐมนตรี นายวัชระ กรรณิการ์ รองโฆษกประจําสานักนายกรัฐมนตรี และนายมารุต มัสยวาณิช รองโฆษก ประจําสํานักนายกรัฐมนตรี ได ้แถลงข่าวผลการประชุมคณะรัฐมนตรี สรุปสาระสําคัญได ้ดังนี้ กฎหมาย 1. เรือ ่ ง 2. เรือ ่ ง 3. เรือ ่ ง
4.
เรือ ่ ง
เศรษฐกิจ 5. เรือ ่ ง 6. เรือ ่ ง 7. 8. 9.
เรือ ่ ง เรือ ่ ง เรือ ่ ง
10. 11. 12. 13.
เรือ ่ ง เรือ ่ ง เรือ ่ ง เรือ ่ ง
14. 15.
เรือ ่ ง เรือ ่ ง
ร่างพระราชบัญญัตก ิ ารกีฬาแห่งประเทศไทย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ร่างพระราชบัญญัตบ ิ ต ั รประจําตัวเจ ้าหน ้าทีข ่ องรัฐ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ้ ร่างระเบียบคณะกรรมการอนุรักษ์ และใชประโยชน์ความหลากหลายทางชวี ภาพ แห่งชาติวา่ ด ้วยหลักเกณฑ์และวิธก ี ารในการเข ้าถึงทรัพยากรชวี ภาพและการได ้รับประโยชน์ ตอบแทนจากทรัพยากรชวี ภาพ พ.ศ. .... ร่างพระราชกฤษฎีกากําหนดจํานวน ทีต ่ งั ้ เขตศาล และวันเปิ ดทําการของศาล อุทธรณ์ภาค (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
ขออนุมัตก ิ ู ้เงินเพือ ่ อุดหนุนบริการสาธารณะ (PSO) ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2553 รายงานการประเมินผลการปฏิบต ั งิ านตามคํารับรองการปฏิบต ั งิ านขององค์การมหาชน ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2552 แผนงานแก ้ไขปั ญหาเร่งด่วนของมาบตาพุด (เพิม ่ เติม) ระบบสารสนเทศการประชุมคณะรัฐมนตรีแบบอิเล็กทรอนิกส ์ ผลการประชุมคณะกรรมการติดตามและประเมินผลการดําเนินโครงการตาม แผนปฏิบต ั ก ิ ารไทยเข ้มแข็ง 2555 ครัง้ ที่ 10/2553 ขอทบทวนมติคณะรัฐมนตรี เมือ ่ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2553 ขอปรับปรุงโครงสร ้างกรอบสอบสวนคดีพเิ ศษ มติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ ครัง้ ที่ 4/2553 (ครัง้ ที่ 133) การดําเนินงานโครงการระบบขนสง่ มวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล ปั ญหาขาดแคลนผลปาล์มนํ้ ามันและนํ้ ามันปาล์มดิบ สถานการณ์และราคาจําหน่ายนํ้ ามันพืชปาล์ม
2
16.
เรือ ่ ง
17.
เรือ ่ ง
18.
เรือ ่ ง
19.
เรือ ่ ง
ั สงคม 20. เรือ ่ ง 21. เรือ ่ ง
ต่างประเทศ 22. เรือ ่ ง 23.
เรือ ่ ง
24. 25.
เรือ ่ ง เรือ ่ ง
ึ ษา การศก 26. เรือ ่ ง 27.
เรือ ่ ง
ิ ค ้าทีไ่ ด ้รับสท ิ ธิพเิ ศษทางภาษี ศล รายงานการนํ าเข ้าสน ุ กากร (ประจําไตรมาสที่ 2 ของปี พ.ศ. 2553) รายงานผลการกู ้เงินเพือ ่ ปรับโครงสร ้างหนีพ ้ ันธบัตรออมทรัพย์ ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2549 ครัง้ ที่ 2 ทีค ่ รบกําหนดในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2553 ิ โครงการเพิม ่ ประสทธิภาพทางหลวงหมายเลข 2090 และเรือ ่ ง รายงานผลกระทบ ี ความเสยหาย กรณีการตัดไม ้จากการดําเนินการก่อสร ้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2090 (ถนนธนะรัชต์) การรายงานผลการดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี เรือ ่ ง โครงการควบคุมและรับรอง ั การจับสตว์นํ้าเพือ ่ ป้ องกันยับยัง้ และขจัดการทําประมง IUU
แผนปฏิบต ั ก ิ ารป้ องกันและลดอุบต ั เิ หตุทางถนน พ.ศ. 2554-2555 รายงานผลความคืบหน ้าการดําเนินการรับฟั งความคิดเห็นของประชาชนในงาน “6 วัน 63 ล ้าน ความคิด” ร่วมเดินหน ้าปฏิรป ู ประเทศไทยตามมติคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 28 กรกฎาคม 2553
ร่างพิธส ี ารว่าด ้วยข ้อกําหนดในการตรวจสอบและกักกันโรคสําหรับการสง่ ออกและ นํ าเข ้าผลไม ้ผ่านประเทศทีส ่ ามระหว่างประเทศไทยและจีน ํ ี นด ้าน เอกสารสาคัญทีจ ่ ะมีการรับรองในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีอาเซย โทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ครัง้ ที่ 10 ี น การประดับธงอาเซย บันทึกความเข ้าใจว่าด ้วยความร่วมมือในการต่อต ้านอาชญากรรมข ้ามชาติและ พัฒนาความร่วมมือของตํารวจ
มาตรการภาษี สําหรับเงินบริจาคเข ้ากองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากร ึ ษาทีก ึ ษาธิการจัดตัง้ ขึน ทางการศก ่ ระทรวงศก ้ แผนการดําเนินงานตามมาตรการป้ องกันและแก ้ไขปั ญหาการทะเลาะวิวาทของ ึ ษาขององค์กรหลักกระทรวงศก ึ ษาธิการและหน่วยงานทีเ่ กีย นักเรียนนักศก ่ วข ้อง
เรือ ่ งทีค ่ ณะร ัฐมนตรีร ับทราบเพือ ่ เป็นข้อมูล 28. เรือ ่ ง การค ้าระหว่างประเทศของไทยในระยะ 11 เดือนของปี 2553 (มกราคม-พฤศจิกายน) 29. เรือ ่ ง สรุปผลการดําเนินงานตามแผน “คมนาคมปลอดภัย เทศกาลปี ใหม่ 2554” แต่งตงั้ 30. เรือ ่ ง
แต่งตัง้ ี เสนอขอแต่งตัง้ เอกอัครราชทูตประจําประเทศไทย 1. รัฐบาลมาเลเซย 2. เลือ ่ นและแต่งตัง้ ข ้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ระดับ 10 (กระทรวงมหาดไทย) ิ ค ้าและบริการ 3. แต่งตัง้ กรรมการผู ้ทรงคุณวุฒใิ นคณะกรรมการกลางว่าด ้วยราคาสน 4. แต่งตัง้ ผู ้ประสานงานคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา (ปคร.) ของรองนายกรัฐมนตรี (นายสุเทพ เทือกสุบรรณ)
3 5. แต่งตัง้ ข ้าราชการให ้ดํารงตําแหน่งประเภทบริหารระดับสูง ตําแหน่งผู ้ตรวจ ราชการสํานักนายกรัฐมนตรี (ผู ้ตรวจราชการกระทรวง) สํานักงานปลัดสํานัก นายกรัฐมนตรี 6. ขออนุมัตแ ิ ต่งตัง้ ข ้าราชการพลเรือนสามัญให ้ดํารงตําแหน่งประเภทบริหาร ื่ สาร) ระดับสูง (กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ 7. แต่งตัง้ คณะกรรมการผู ้ทรงคุณวุฒใิ นคณะกรรมการสงิ่ แวดล ้อมแห่งชาติ 8. แต่งตัง้ ข ้าราชการการเมืองตําแหน่งทีป ่ รึกษารัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน ึ ษา 9. องค์ประกอบคณะกรรมการฝ่ ายไทยในคณะกรรมการบริหารมูลนิธก ิ ารศก ไทย – อเมริกน ั (ฟุลไบรท์) ประจําปี 2554 ******************************** กรุณาตรวจสอบมติคณะรัฐมนตรีอย่างเป็ นทางการกับสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีอก ี ครัง้ หนึง่ ํ ิ สานักโฆษกขอเชญติดตามการถ่ายทอดสดการแถลงข่าวผลการประชุมคณะรัฐมนตรี ี งแห่งประเทศไทย ทาง F.M. 92.5 ทุกวันอังคาร หรือวันทีม ่ ก ี ารประชุม ทางสถานีวท ิ ยุกระจายเสย ี งแห่งประเทศไทยประจําจังหวัด ในเขตกรุงเทพมหานคร สว่ นต่างจังหวัด รับฟั งได ้ทางสถานีวท ิ ยุกระจายเสย และติดตามมติคณะรัฐมนตรีทส ี่ ําคัญได ้ทางรายการ “เจาะลึก ครม.” ทางสถานีวท ิ ยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ทุกวันอังคารในเวลา 21.00-22.00 น. “หากท่านใดประสงค์จะขอรับข่าวการประชุมคณะรัฐมนตรีสมัครได ้ทาง www.thaigov.go.th “
4
กฎหมาย 1. เรือ ่ ง ร่างพระราชบ ัญญ ัติการกีฬาแห่งประเทศไทย (ฉบ ับที่ ..) พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีเห็นชอบร่างพระราชบัญญัตก ิ ารกีฬาแห่งประเทศไทย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามทีก ่ ระทรวง การท่องเทีย ่ วและกีฬาเสนอ ซงึ่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแล ้ว และให ้สง่ คณะกรรมการประสานงาน สภาผู ้แทนราษฎรพิจารณาก่อนเสนอสภาผู ้แทนราษฎรพิจารณาต่อไป สาระสําค ัญของร่างพระราชบ ัญญ ัติ 1. เพิม ่ เติมนิยามคําว่า “กองทุน” คําว่า “สมาคมกีฬา” และคําว่า “สมาคมกีฬาจังหวัด”และได ้แก ้ไขนิยามคํา ว่า “พนักงาน” โดยตัดผู ้ว่าการการกีฬาแห่งประเทศไทยออก (ร่างมาตรา 3) ิ จากบัญชเี ป็ นสูญโดยความเห็นชอบ 2. กําหนดให ้การกีฬาแห่งประเทศไทยมีอํานาจในการจําหน่ายทรัพย์สน ของคณะกรรมการการกีฬาแห่งประเทศไทย (ร่างมาตรา 4) 3. กําหนดเพิม ่ เติมองค์ประกอบและอํานาจหน ้าทีข ่ องคณะกรรมการการกีฬาแห่งประเทศไทย โดยเพิม ่ ปลัด กระทรวงการคลังเป็ นกรรมการโดยตําแหน่ง และกําหนดให ้คณะรัฐมนตรีสามารถแต่งตัง้ กรรมการผู ้ทรงคุณวุฒไิ ด ้อีกไม่เกิน ห ้าคน (ร่างมาตรา 5) 4. กําหนดเพิม ่ เติมองค์ประกอบและอํานาจหน ้าทีข ่ องคณะกรรมการกีฬาจังหวัด โดยเพิม ่ นายแพทย์ ึ ษาในจังหวัด สาธารณสุขจังหวัด นายกองค์การบริหารสว่ นจังหวัด นายกสมาคมกีฬาจังหวัด และผู ้แทนเขตพืน ้ ทีก ่ ารศก ิ เอ็ดคน โดยในจํานวน เป็ นกรรมการ และกรรมการอืน ่ ซงึ่ ผู ้ว่าราชการจังหวัดแต่งตัง้ จํานวนไม่น ้อยกว่าเจ็ดคนแต่ไม่เกินสบ ่ งค์การบริหารสว่ นจังหวัดหนึง่ คนและผู ้แทนองค์กรเอกชนภายใน นัน ้ จะต ้องเป็ นผู ้แทนองค์กรปกครองสว่ นท ้องถิน ่ ทีม ่ ใิ ชอ จังหวัดจํานวนสองคน และได ้กําหนดให ้ผู ้อํานวยการสํานักงาน กกท. จังหวัด เป็ นกรรมการและเลขานุการ และเลขาธิการ สมาคมกีฬาจังหวัดเป็ นกรรมการและผู ้ชว่ ยเลขานุการ (ร่างมาตรา 8) 5. กําหนดให ้จัดตัง้ กองทุนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติขน ึ้ ใน กกท. เพือ ่ เป็ นทุนสําหรับการสง่ เสริม การพัฒนา การ คุ ้มครอง และสวัสดิการทีเ่ กีย ่ วข ้องกับการกีฬารวมตลอดถึงเป็ นค่าใชจ่้ ายเพือ ่ การดําเนินงานของกองทุน (ร่างมาตรา 10) 6. กําหนดให ้หลักเกณฑ์ วิธก ี าร และเงือ ่ นไขการรับรองสมาคมกีฬา การขออนุญาต และการอนุญาตให ้เป็ น สมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย เป็ นไปตามข ้อบังคับทีค ่ ณะกรรมการการกีฬาแห่งประเทศไทยกําหนด และกําหนดให ้ กกท. มีอํานาจเพิกถอนการรับรองทีใ่ ห ้ไว ้แก่สมาคมกีฬาได ้ในกรณีทส ี่ มาคมนัน ้ ไม่ปฏิบต ั ต ิ ามข ้อบังคับทีค ่ ณะกรรมการการกีฬาแห่ง ประเทศไทยกําหนด (ร่างมาตรา 14) 7. กําหนดให ้ความผิดในหมวด 9 เป็ นความผิดอันยอมความได ้ (ร่างมาตรา 21) ิ ธิประโยชน์ตา่ งๆ ทีม 8. กําหนดบทเฉพาะกาลเพือ ่ รองรับสท ่ ต ี ามกฎหมายเดิม และเพือ ่ ความต่อเนือ ่ งในการ ้ ้ บังคับใชกฎหมาย ทัง้ นี้ ได ้กําหนดให ้มีการเร่งรัดการออกกฎหมายลําดับรอง ซงึ่ จะทําให ้การบังคับใชกฎหมายมี ความ สมบูรณ์ยงิ่ ขึน ้ (ร่างมาตรา 22- ร่างมาตรา 28) 2. เรือ ่ ง ร่างพระราชบ ัญญ ัติบ ัตรประจําต ัวเจ้าหน้าทีข ่ องร ัฐ (ฉบ ับที่ ..) พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีเห็นชอบร่างพระราชบัญญัตบ ิ ต ั รประจําตัวเจ ้าหน ้าทีข ่ องรัฐ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามที่ สํานักงาน ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีเสนอ ซงึ่ สํานั กงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแล ้ว และให ้สง่ คณะกรรมการ ประสานงาน สภาผู ้แทนราษฎรพิจารณา แล ้วเสนอสภาผู ้แทนราษฎรพิจารณาต่อไป สาระสําค ัญของร่างพระราชบ ัญญ ัติ 1. กําหนดบทนิยามคําว่า “เจ ้าหน ้าทีข ่ องรัฐ” ให ้มีความหมายครอบคลุมเจ ้าหน ้าทีข ่ องรัฐทุกประเภท รวมทัง้ เจ ้าหน ้าทีใ่ นสว่ นราชการหรือหน่วยงานอืน ่ ของรัฐทีย ่ ังไม่มบ ี ต ั รประจําตัวหรือมีเหตุผลความจําเป็ นต ้องมีบัตรประจําตัวสําหรับ ้ เจ ้าหน ้าทีข ่ องรัฐ เพือ ่ ใชในการปฏิ บต ั ห ิ น ้าที่ (ร่างมาตรา 3 แก ้ไขเพิม ่ เติมมาตรา 4) ิ สภาผู ้แทนราษฎร สมาชก ิ วุฒส ิ สภาทีป 2. กําหนดให ้สมาชก ิ ภา สมาชก ่ รึกษาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ิ สภาท ้องถิน ิ ธิได ้รับและใชบั้ ตรประจําตัวสําหรับเจ ้าหน ้าทีข และสมาชก ่ มีสท ่ องรัฐโดยถือว่าเป็ นเจ ้าหน ้าทีข ่ องรัฐตาม พระราชบัญญัตน ิ ด ี้ ้วย (ร่างมาตรา 4 เพิม ่ เติมมาตรา 4/1)
5 3. กําหนดให ้เจ ้าหน ้าทีข ่ องรัฐมีบต ั รประจําตัวตามพระราชบัญญัตน ิ ี้ รวมทัง้ ข ้อยกเว ้นไม่ใชบั้ งคับกับเจ ้าหน ้าที่ ของรัฐทีม ่ ก ี ฎหมายกําหนดให ้ออกบัตรประจําตัวให ้แก่เจ ้าหน ้าทีข ่ องรัฐไว ้เป็ นการเฉพาะแล ้ว ไม่ต ้องมีบต ั รประจําตัวสําหรับ เจ ้าหน ้าทีข ่ องรัฐตามพระราชบัญญัตน ิ ี้ กําหนดผู ้มีอํานาจออกบัตรประจําตัวสําหรับเจ ้าหน ้าทีข ่ องรัฐให ้สอดคล ้องกับการแก ้ไขบทนิยามคํา ว่า “เจ ้าหน ้าทีข ่ องรัฐ” กําหนดให ้ผู ้มีอํานาจออกบัตรฯ อาจมอบหมายให ้ผู ้ดํารงตําแหน่งรองปฏิบต ั ก ิ ารแทนได ้ (ร่างมาตรา 5 แก ้ไขเพิม ่ เติมมาตรา 5 มาตรา 6 และมาตรา 7) 4. กําหนดให ้บัตรประจําตัวสําหรับเจ ้าหน ้าทีข ่ องรัฐทีไ่ ด ้ออกตามพระราชบัญญัตบ ิ ัตรประจําเจ ้าหน ้าทีข ่ องรัฐ ้ พ.ศ. 2542 ให ้คงใชได ้ต่อไปจนถึงวันทีบ ่ ต ั รนัน ้ หมดอายุ (ร่างมาตรา 6) 5. กําหนดให ้หน่วยงานของรัฐออกบัตรประจําตัวสําหรับเจ ้าหน ้าทีข ่ องรัฐซงึ่ ยังไม่เคยมีบต ั รประจําตัวให ้แล ้ว ้ เสร็จภายใน 90 วัน นั บแต่วันทีพ ่ ระราชบัญญัตน ิ ใี้ ชบังคับ (ร่างมาตรา 7) ้ ระโยชน์ความหลากหลายทางชวี ภาพแห่งชาติวา 3. เรือ ่ ง ร่างระเบียบคณะกรรมการอนุร ักษ์และใชป ่ ด้วย ี หล ักเกณฑ์และวิธก ี ารในการเข้าถึงทร ัพยากรชวภาพและการได้ร ับประโยชน์ตอบแทนจากทร ัพยากรชวี ภาพ พ.ศ. .... ้ คณะรัฐมนตรีเห็นชอบร่างระเบียบคณะกรรมการอนุรักษ์ และใชประโยชน์ ความหลากหลายทางชวี ภาพ แห่งชาติด ้วยหลักเกณฑ์และวิธก ี ารในการเข ้าถึงทรัพยากรชวี ภาพและการได ้รับประโยชน์ตอบแทนจากทรัพยากรชวี ภาพ พ.ศ. .... ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล ้อม (ทส.) ซงึ่ คณะกรรมการตรวจสอบร่างกฎหมายและร่างอนุบญ ั ญัต ิ ทีเ่ สนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ 6 (คกอ. 6) ได ้ตรวจพิจารณาแล ้ว สาระสําค ัญของร่างระเบียบ 1. กําหนดบทนิยาม “การเข ้าถึงทรัพยากรชวี ภาพ” “หน่วยงานของรัฐทีม ่ อ ี ํานาจตามกฎหมาย” “หน่วยงาน ี ื ของรัฐทีค ่ รอบครองทรัพยากรชวภาพ” “ชุมชนท ้องถิน ่ ” “หนังสออนุญาต” และ “ข ้อตกลง” (ร่างข ้อ 3) 2. กําหนดให ้หน่วยงานของรัฐทีม ่ อ ี ํานาจตามกฎหมายและหน่วยงานของรัฐทีค ่ รอบครองทรัพยากรชวี ภาพ ซงึ่ มิได ้กําหนดหลักเกณฑ์ในการเข ้าถึงทรัพยากรชวี ภาพไว ้โดยเฉพาะ จะอนุญาตให ้มีการเข ้าถึงทรัพยากรชวี ภาพได ้ เมือ ่ ได ้ ื ี รับคําขอรับหนังสออนุญาตเข ้าถึงทรัพยากรชวภาพตามแบบที่ กอช. กําหนด และได ้ดําเนินการตามขัน ้ ตอนทีก ่ ําหนดไว ้ใน ระเบียบนี้ (ร่างข ้อ 4) 3. กําหนดให ้หน่วยงานของรัฐทีไ่ ด ้รับคําขอ ตรวจสอบความถูกต ้องครบถ ้วนของเอกสารหรือหลักฐานและ รายละเอียดต่าง ๆ ให ้แล ้วเสร็จภายใน 30 วันนับแต่วันทีไ่ ด ้รับคําขอ ในกรณีทเี่ อกสารหรือหลักฐานและรายละเอียดต่าง ๆ ไม่ ถูกต ้องครบถ ้วน ให ้แจ ้งให ้ผู ้ยืน ่ คําขอทราบเพือ ่ ดําเนินการภายในเวลากําหนด (ร่างข ้อ 5) 4. กําหนดให ้ในกรณีทม ี่ ก ี ารเข ้าถึงทรัพยากรชวี ภาพใดมีแหล่งอยูใ่ นพืน ้ ทีร่ ับผิดชอบขององค์กรปกครองสว่ น ท ้องถิน ่ ใด ให ้หน่วยงานของรัฐทีไ่ ด ้รับคําขอสอบถามความเห็นจากองค์กรปกครองสว่ นท ้องถิน ่ นั น ้ และให ้องค์กรปกครอง ่ ื สวนท ้องถิน ่ นั น ้ มีหน ้าทีใ่ ห ้ความเห็น ทัง้ นี้ เพือ ่ ประกอบการพิจารณาคําขอรับหนังสออนุญาต (ร่างข ้อ 6) ื อนุญาตพิจารณาคําขอรับหนังสอ ื อนุญาตให ้แล ้วเสร็จ 5. กําหนดให ้หน่วยงานของรัฐทีไ่ ด ้รับคําขอรับหนังสอ ื อนุญาตหรือนับแต่วันทีไ่ ด ้รับเอกสารหรือหลักฐานและรายละเอียดต่าง ๆ ภายใน 90 วัน นับตัง้ แต่วันทีไ่ ด ้รับคําขอรับหนังสอ ถูกต ้องครบถ ้วน แล ้วแต่กรณี (ร่างข ้อ 7) ื อนุญาตกับผู ้ได ้รับ 6. กําหนดให ้ข ้อตกลงต ้องระบุถงึ ความตกลงระหว่างหน่วยงานของรัฐทีไ่ ด ้ออกหนังสอ ื อนุญาตเกีย ิ ธิและประโยชน์ตอบแทนในการเข ้าถึงทรัพยากรชวี ภาพไม่วา่ จะคํานวณเป็ นเงินได ้ หนังสอ ่ วกับค่าใชจ่้ าย สท หรือไม่ ทีห ่ น่วยงานของรัฐ ผู ้ได ้รับอนุญาตและชุมชนท ้องถิน ่ พึงจะได ้รับ ค่าภาษี อากร และค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ตามกฎหมาย (ร่างข ้อ 11) 7. กําหนดเนือ ้ หาในข ้อตกลงทีไ่ ม่มวี ัตถุประสงค์เพือ ่ การพาณิชย์ และข ้อตกลงทีม ่ วี ัตถุประสงค์เพือ ่ การ พาณิชย์ (ร่างข ้อ 12 – ร่างข ้อ 13) ื อนุญาตทําความตกลงกับผู ้ได ้รับหนังสอ ื อนุญาตเกีย 8. กําหนดให ้หน่วยงานของรัฐทีอ ่ อกหนังสอ ่ วกับการ ้ ี รายงานความก ้าวหน ้าในการเข ้าถึงและการใชประโยชน์ทรัพยากรชวภาพข ้อตกลงตามระยะเวลาทีจ ่ ะตกลงกัน แต่ต ้องไม่น ้อย
6 ้ ื อนุญาตสน ิ้ ผล (ร่าง กว่า 3 เดือนต่อหนึง่ ครัง้ และการรายงานผลการเข ้าถึงและการใชประโยชน์ ทรัพยากรชวี ภาพเมือ ่ หนังสอ ข ้อ 14) ื อนุญาตมีหน ้าทีต 9. กําหนดให ้หน่วยงานของรัฐทีอ ่ อกหนังสอ ่ รวจสอบติดตาม และกํากับดูแล ให ้ผู ้ได ้รับ ื ้ หนังสออนุญาตปฏิบต ั ต ิ ามข ้อตกลงโดยเคร่งครัด และรายงานความก ้าวหน ้าในการเข ้าถึงและการใชประโยชน์ ทรัพยากร ี ่ ึ ชวภาพตามข ้อตกลงให ้ กอช.ทราบตามระยะเวลาที่ กอช. กําหนด ซงต ้องไม่เกินหกเดือนต่อหนึง่ ครัง้ รวมทัง้ รายงานผลการ ้ ื อนุญาตสน ิ้ ผล (ร่างข ้อ 14) เข ้าถึงและการใชประโยชน์ ทรัพยากรชวี ภาพให ้ กอช. ทราบ เมือ ่ หนังสอ 4. เรือ ่ ง ร่างพระราชกฤษฎีกากําหนดจํานวน ทีต ่ งั้ เขตศาล และว ันเปิ ดทําการของศาลอุทธรณ์ภาค (ฉบ ับที่ ..) พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีรับทราบร่างพระราชกฤษฎีกากําหนดจํานวน ทีต ่ งั ้ เขตศาล และวันเปิ ดทําการของศาลอุทธรณ์ ํ ภาค (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามทีส ่ านักงานศาลยุตธิ รรมเสนอ ข้อเท็จจริง สํานักงานศาลยุตธิ รรม รายงานว่าโดยทีเ่ ป็ นการสมควรย ้ายทีต ่ งั ้ ศาลอุทธรณ์ภาค 8 จากกรุงเทพมหานครไป ่ ยังจังหวัดภูเก็ต เพือ ่ กระจายทีต ่ งั ้ ของศาลอุทธรณ์ภาคไปยังสวนภูมภ ิ าคอันเป็ นการอํานวยความสะดวกและความยุตธิ รรม ่ ให ้แก่ ประชาชนในสวนภูมภ ิ าคได ้อย่างทั่วถึง โดยกําหนดวันเปิ ดทําการตัง้ แต่วันที่ 1 เมษายน 2554 เป็ นต ้นไป และโดยที่ มาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัตจ ิ ัดตัง้ ศาลอุทธรณ์ภาค พ.ศ. 2532 บัญญัตวิ า่ ให ้จัดตัง้ ศาลอุทธรณ์ภาคขึน ้ สว่ นจํานวนและ ทีต ่ งั ้ จะอยู่ ณ ทีใ่ ด มีเขตศาลเพียงใดและจะเปิ ดทําการเมือ ่ ใด ให ้ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา จึงได ้เสนอร่างพระราช กฤษฎีกาดังกล่าวมาเพือ ่ ดําเนินการ สาระสําคัญของร่างพระราชกฤษฎีกา ปรับปรุงแก ้ไขมาตรา 4 แห่งพระราชกฤษฎีกากําหนดจํานวน ทีต ่ งั ้ เขตศาล และวันเปิ ดทําการของศาล ่ ึ อุทธรณ์ภาค (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2540 ซงแก ้ไขเพิม ่ เติมโดยพระราชกฤษฎีกากําหนดจํานวน ทีต ่ งั ้ เขตศาล และวันเปิ ดทํา การของศาลอุทธรณ์ภาค (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2548 โดยย ้ายทีต ่ งั ้ ของศาลอุทธรณ์ภาค 8 จากกรุงเทพมหานครไปยังจังหวัด ภูเก็ต และกําหนดวันเปิ ดทําการตัง้ แต่วันที่ 1 เมษายน 2554 เป็ นต ้นไป เศรษฐกิจ 5. เรือ ่ ง ขออนุม ัติกเู ้ งินเพือ ่ อุดหนุนบริการสาธารณะ (PSO) ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2553 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการให ้คงกรอบวงเงินอุดหนุนบริการสาธารณะประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2553 ของการประปาสว่ นภูมภ ิ าค (กปภ.) จํานวน 1,174.711 ล ้านบาท ตามมติคณะกรรมการเงินอุดหนุนบริการสาธารณะ ครัง้ ที่ 5 เมือ ่ วันที่ 15 กันยายน 2553 ตามทีก ่ ระทรวงการคลังเสนอ ทัง้ นี้ การใชจ่้ ายงบประมาณการกู ้เงินภายใต ้กรอบวงเงินดังกล่าว ให ้เป็ นไปตามความเห็นชองสํานักงบประมาณและให ้การประปาสว่ นภูมภ ิ าครับความเห็นของสํานั กงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ เกีย ่ วกับการจัดทําระบบบัญชโี ดยแยกบัญชรี ายได ้และค่าใชจ่้ ายของการให ้บริการ เชงิ พาณิชย์และเชงิ สงั คมไปดําเนินการต่อไปได ้ 6. เรือ ่ ง รายงานการประเมินผลการปฏิบ ัติงานตามคําร ับรองการปฏิบ ัติงานขององค์การมหาชน ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2552 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามทีส ่ ํานักงาน ก.พ.ร. เสนอ ดังนี้ 1. รับทราบรายงานการประเมินผลการปฏิบต ั งิ านตามคํารับรองการปฏิบัตงิ านขององค์การมหาชน ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2552 2. มอบหมายให ้รองนายกรัฐมนตรี (นายไตรรงค์ สุวรรณคีร)ี เป็ นผู ้ติดตามกํากับดูแลการดําเนินงาน ขององค์การ มหาชน 3 แห่ง ซงึ่ จะต ้องดําเนินการปรับปรุงองค์กรตามมติคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 18 สงิ หาคม 2552 คือ สถาบันระหว่าง ประเทศเพือ ่ การค ้าและการพัฒนา สํานักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพือ ่ นบ ้าน และองค์การบริหารการ พัฒนาพืน ้ ทีพ ่ เิ ศษเพือ ่ การท่องเทีย ่ วอย่างยั่งยืน
7 สาระสําค ัญของรายงานการประเมินผลการปฏิบ ัติงานตามคําร ับรองการปฏิบ ัติงานขององค์การ มหาชน ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2552 ขององค์การมหาชน ประกอบด ้วย 1. กรอบการประเมินผลและการกําหนดตัวชวี้ ัดผลการปฏิบต ั งิ านขององค์การมหาชนประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2552 กรอบการประเมินผลการปฏิบ ัติงานของ องค์การมหาชน ิ ธิผลของการ มิตท ิ ี่ 1 มิตด ิ า้ นประสท ปฏิบ ัติงาน แสดงถึงผลลัพธ์ ผลสําเร็จ หรือ ความสามารถขององค์การมหาชนในการบรรลุ วัตถุประสงค์การดําเนินงานตามทีไ่ ด ้กําหนดไว ้ และบรรลุพันธกิจยุทธศาสตร์ และเป้ าประสงค์ ขององค์การมหาชน เพือ ่ ให ้เกิดประโยชน์สข ุ ต่อ ประชาชน มิตท ิ ี่ 2 มิตด ิ า้ นคุณภาพการให้บริการ แสดงการให ้ความสําคัญกับผู ้รับบริการ ในการบริการทีม ่ ค ี ณ ุ ภาพ สร ้างความพึงพอใจ แก่ผู ้รับบริการ ิ ธิภาพของการ มิตท ิ ี่ 3 มิตด ิ า้ นประสท ปฏิบ ัติงาน ิ ธิภาพใน แสดงความสามารถหรือประสท การปฏิบต ั งิ าน มิตท ิ ี่ 4 มิตด ิ า้ นการกําก ับดูแลกิจการและ การพ ัฒนาองค์การ ่ นาคต แสดงความสามารถในการก ้าวสูอ หรือการเตรียมพร ้อมบริหารการเปลีย ่ นแปลง เพือ ่ สร ้างความพร ้อมในการสนับสนุนยุทธศาสตร์ และพันธกิจขององค์การ
หมายเหตุ
ต ัวชว้ี ัด
นํา้ หน ัก (ร้อยละ)
ตัวชวี้ ัดและนํ้ าหนักขึน ้ กับ วัตถุประสงค์การดําเนินงาน ยุทธศาสตร์และพันธกิจของแต่ ละองค์การมหาชน
60
10+A โดยมีตัวชวี้ ัดร่วมทีป ่ ระเมินผล ทุกองค์การ ได ้แก่ ระดับ ความสําเร็จของการสํารวจ ความพึงพอใจของผู ้รับบริการ
(10)
10+B โดยมีตัวชวี้ ัดร่วมทีป ่ ระเมินผล ทุกองค์การ ได ้แก่ ระดับ ความสําเร็จของการจัดทํา ต ้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
(10)
10+C โดยมีตัวชวี้ ัดร่วมทีป ่ ระมินผล ทุกองค์การ ได ้แก่ ระดับการ พัฒนาด ้านการกํากับดูแล กิจการและการพัฒนาองค์การ
(10)
นํา้ หน ักรวม
100
(1) A,B,C หมายถึง นํ้ าหนั กทีเ่ กิดจากการเจรจาความเหมาะสมกับองค์การมหาชนในมิตท ิ ี่ 2,3,4 ิ ธิผลของการปฏิบต (2) การให ้นํ้ าหนักร ้อยละ 60 ในมิตท ิ ี่ 1 เนือ ่ งจากต ้องการมุง่ เน ้นทีป ่ ระสท ั งิ านเป็ นหลัก
2. หลักการ โดยทีก ่ ารประเมินผลการปฏิบต ั งิ านตามคํารับรองการปฏิบต ั งิ าน ตัง้ อยูบ ่ นพืน ้ ฐานของการเจรจา ข ้อตกลงระหว่างคณะกรรมการเจรจาข ้อตกลงและประเมินผลองค์การมหาชนซงึ่ แต่งตัง้ โดยคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เป็ นผู ้เจรจาความเหมาะสมของค่าเป้ าหมายความสําเร็จตามตัวชวี้ ัด นํ้ าหนัก และเกณฑ์การให ้คะแนน โดยคํานึงถึงภารกิจ หลัก และยุทธศาสตร์ขององค์การมหาชนทีไ่ ด ้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารองค์การมหาชน ประกอบกับ ั ทัศน์ ภารกิจหลัก ยุทธศาสตร์ รวมทัง้ ระยะเวลาการจัดตัง้ ทีแ องค์การมหาชนแต่ละแห่งมีวัตถุประสงค์การจัดตัง้ วิสย ่ ตกต่าง กัน จึงสง่ ผลให ้การกําหนดค่าเป้ าหมายความสําเร็จตามตัวชวี้ ัด นํ้ าหนัก และเกณฑ์การให ้คะแนน รวมถึงประเภทของตัวชวี้ ัด
8 ่ ตัวชวี้ ัดขององค์การมหาชนทีจ ในแต่ละองค์การมหาชนมีความแตกต่างกัน ตัวอย่างเชน ่ ัดตัง้ ใหม่จะเน ้นตัวชวี้ ัดประเภทปั จจัย นํ าเข ้าหรือกระบวนการ ในขณะทีต ่ ัวชวี้ ัดขององค์การมหาชนทีม ่ พ ี ัฒนาการต่อเนือ ่ ง จะเน ้นตัวชวี้ ัดประเภทผลผลิตและ ผลลัพธ์ ดังนัน ้ การกําหนดตัวชวี้ ัดขององค์การมหาชน แต่ละแห่ง จึงมีลักษณะเป็ นการเฉพาะ ไม่สามารถนําผลการ ประเมินไปใชใ้ นเชงิ เปรียบเทียบก ับองค์การมหาชนอืน ่ ๆ โดยตรง 3. ภาพรวมผลการประเมิน ผลการปฏิบต ั งิ านขององค์การมหาชนทัง้ หมด จํานวน 21 แห่ง มีผลการปฏิบต ั งิ านเป็ นไปตาม ิ ่ ึ เป้ าหมายทีก ่ ําหนด โดยเฉพาะในมิตท ิ ี่ 1 มิตด ิ ้านประสทธิผลของการปฏิบต ั งิ าน ซงมุง่ เน ้นการประเมินผลลัพธ์ ผลสําเร็จ หรือ ความสามารถขององค์การมหาชนในการบรรลุวัตถุประสงค์การดําเนินงานตามทีไ่ ด ้กําหนดไว ้ และบรรลุพันธกิจ ยุทธศาสตร์ และเป้ าประสงค์ขององค์การมหาชนเพือ ่ ให ้เกิดประโยชน์สข ุ ต่อประชาชน ทัง้ นี้ หากพิจารณาจําแนกองค์การมหาชนตามระยะการจัดตัง้ ซงึ่ สง่ ผลต่อการกําหนดตัวชวี้ ัด ค่า เป้ าหมาย และเกณฑ์การให ้คะแนนดังทีก ่ ล่าวข ้างต ้น อาจสรุปผลการประเมินขององค์การมหาชนออกเป็ น 3 กลุม ่ คือ ้ กลุม ่ ที่ 1 องค์การมหาชนทีจ ่ ัดตัง้ ขึน ้ หลังจากการบังคับใชพระราชบัญญัตอ ิ งค์การมหาชนเมือ ่ ปี ่ ึ พ.ศ. 2542 จํานวน 6 แห่ง ซงการจัดตัง้ องค์การมหาชนดังกล่าว มีการเตรียมความพร ้อมในการจัดตัง้ เป็ นอย่างดี ทําให ้ องค์การมหาชนกลุม ่ นีม ้ พ ี ัฒนาการในการดําเนินงานทีต ่ รงกับวัตถุประสงค์การจัดตัง้ การกําหนดตัวชวี้ ัดจะมุง่ เน ้นในลักษณะที่ ั สว่ นทีม เป็ นผลผลิต (Output) และผลลัพธ์ (Outcome) ในสด ่ ากกว่าองค์การมหาชนอืน ่ ทําให ้คะแนนขององค์การมหาชนใน กลุม ่ นีจ ้ ะไม่สงู มาก ดังนี้ ที่
องค์การมหาชน
1
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน
ว ันทีป ่ ระกาศในราชกิจจา นุเบกษา 27 ก.ค. 2543
2
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
25 ส.ค. 2543
3
โรงพยาบาลบ ้านแพ ้ว สาํ นักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมส ิ ารสนเทศ
11 ก.ย. 2543
4 5 6
ึ ษา สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศก ศูนย์มานุษยวิทยาสริ น ิ ธร
2 พ.ย. 2543 3 พ.ย. 2543 15 พ.ย. 2543
กลุม ่ ที่ 2 องค์การมหาชนทีจ ่ ัดตัง้ ระหว่างปี 2544 – 2549 จํานวน 13 แห่ง จําแนกเป็ นสองกรณี คือ กรณีท ี่ 1 องค์การมหาชนทีจ ่ ัดตัง้ ขึน ้ ตามนโยบายเฉพาะของรัฐบาลโดยมิได ้ผ่านการให ้ความเห็นจากหน่วยงานกลางที่ เกีย ่ วข ้อง และกรณีท ี่ 2 องค์การมหาชนทีจ ่ ัดตัง้ ขึน ้ ตามแนวทางทีค ่ ณะกรรมการปฏิรป ู ระบบราชการและ ก.พ.ร. กําหนด ซงึ่ ความแตกต่างของการจัดตัง้ องค์การมหาชน สง่ ผลต่อการกําหนดตัวชวี้ ัด โดยเฉพาะตัวชวี้ ัดในมิตท ิ ี่ 1 กล่าวคือ องค์การ มหาชนทีม ่ วี ัตถุประสงค์การจัดตัง้ ขึน ้ กับนโยบายของรัฐบาล เมือ ่ มีการเปลีย ่ นแปลงทางการเมืองจะสง่ ผลต่อการเปลีย ่ นแปลง ่ ึ ้ ี ภารกิจและยุทธศาสตร์ซงอาจเบีย ่ งเบนจากวัตถุประสงค์การจัดตัง้ ทีม ่ อ ี ยูเ่ ดิม หรือบางกรณีจะทําให ้การกําหนดตัวชวัดไม่ม ี ั ความต่อเนือ ่ ง แต่อย่างไรก็ด ี องค์การมหาชนในกลุม ่ ทีม ่ ภ ี ารกิจชดเจนก็สามารถดําเนินงานตามวัตถุประสงค์การจัดตัง้ ได ้ดี ดังนี้ ที่
องค์การมหาชน
ว ันทีป ่ ระกาศในราชกิจจา นุเบกษา
7
30 พ.ค. 2544
8
สถาบันระหว่างประเทศเพือ ่ การค ้าและการพัฒนา สาํ นักงานสง่ เสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ
27 ก.ย. 2545
9
สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร
14 มี.ค. 2546
10
สถาบันบริหารกองทุนพลังงาน
25 มี.ค. 2546
11
องค์การบริหารพัฒนาพืน ้ ทีพ ่ เิ ศษเพือ ่ การท่องเทีย ่ วอย่าง ยั่งยืน
2 มิ.ย. 2546
9 สํานักงานสง่ เสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ ิ ปาชพ ี ระหว่างประเทศ ศูนย์สง่ เสริมศล
23 ก.ย. 2546
สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครือ ่ งประดับแห่งชาติ สาํ นักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู ้
31 ธ.ค. 2546 16 พ.ค. 2548
17
สาํ นักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพือ ่ น บ ้าน ึ ษาแห่งชาติ สถาบันทดสอบทางการศก
18
สถาบันวิจัยและพัฒนาพืน ้ ทีส ่ งู
14 ต.ค. 2548
19
สถาบันเทคโนโลยีนวิ เคลียร์แห่งชาติ
20 เม.ย. 2549
12 13 14 15 16
31 ต.ค. 2546 4 พ.ค. 2547
2 ก.ย. 2548
กลุม ่ ที่ 3 องค์การมหาชนทีจ ่ ัดตัง้ หลังจากปี 2549 จํานวน 2 แห่ง ตามมติคณะรัฐมนตรีได ้มีมติ เมือ ่ วันที่ 18 กรกฎาคม 2549 (เรือ ่ งขัน ้ ตอนการจัดตัง้ องค์การมหาชน) เห็นชอบขัน ้ ตอนการจัดตัง้ องค์การมหาชน นัน ้ การ ่ ารพัฒนาโครงสร ้างพืน กําหนดตัวชวี้ ด ั จะมุง่ เน ้นตัวชวี้ ัดระดับความสําเร็จในการดําเนินการ (milestone) ทีน ่ ํ าไปสูก ้ ฐานที่ จําเป็ นในการปฏิบต ั งิ าน สว่ นการกําหนดค่าเป้ าหมาย เนือ ่ งจากยังไม่มข ี ้อมูลฐาน (baseline data) ทําให ้ผลคะแนนที่ หน่วยงานทัง้ สองได ้รับค่อนข ้างสูงเมือ ่ เปรียบเทียบองค์การมหาชนอืน ่ ดังนี้ ที่
องค์การมหาชน
20 องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก 21 สาํ นักพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชวี ภาพ
ว ันทีป ่ ระกาศในราชกิจจา นุเบกษา 6 ก.ค. 2550 16 ก.ค. 2550
4. สรุปผลคะแนนและ Best Practice ตัวชวี้ ัดร่วม ผลการประเมินของตัวชวี้ ัดร่วม 3 ตัวชวี้ ัด สรุปได ้ดังนี้ (1) องค์การมหาชนทีเ่ ป็ นตัวอย่างทีด ่ ข ี องตัวชวี้ ัดร ้อยละของระดับความพึงพอใจในการ ให ้บริการ คือ สถาบันวิจัยและพัฒนาพืน ้ ทีส ่ งู โดยได ้รับความพึงพอใจสูงถึงร ้อยละ 90.96 (2) องค์การมหาชนทีเ่ ป็ นตัวอย่างทีด ่ ข ี องตัวชวี้ ัดระดับการพัฒนาด ้านการกํากับดูแลกิจการ และการพัฒนาองค์การ คือ สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมส ิ ารสนเทศโดยได ้รับคะแนน 4.7324 (3) องค์การมหาชนทีเ่ ป็ นตัวอย่างทีด ่ ข ี องตัวชวี้ ัดระดับความสําเร็จของการจัดทําตันทุนต่อ หน่วยผลผลิต พบว่า ยังไม่มห ี น่วยงานใดเป็ นตัวอย่างทีด ่ ี เนือ ่ งจากเกณฑ์การประเมินเป็ นลักษณะของการวัดขัน ้ ตอนการ ิ ธิภาพการ ดําเนินการ เมือ ่ องค์การมหาชนดําเนินการตามขัน ้ ตอนครบถ ้วนก็จะได ้คะแนนสูง อีกทัง้ แผนการเพิม ่ ประสท ั เจนในการเชอ ื่ มโยงจากผลการวิเคราะห์ตันทุนต่อหน่วยทีด ดําเนินการยังไม่มค ี วามชด ่ ําเนินการมาทัง้ หมด โดยเป็ นกิจกรรม ในลักษณะทั่ว ๆ ไปเท่านั น ้ ซงึ่ ไม่สอดคล ้องกับวัตถุประสงค์ของตัวชวี้ ัดนี้ 5. ปั จจัยสนั บสนุน ปั ญหาอุปสรรค ข ้อสงั เกตและข ้อเสนอแนะจากการประเมินผลการปฏิบต ั งิ าน ตามคํารับรองการปฏิบต ั งิ านขององค์การมหาชน สรุปได ้ดังนี้ (1) ปั จจัยสนั บสนุน พบว่า องค์การมหาชนทีส ่ ามารถปฏิบต ั งิ านได ้บรรลุเป้ าหมายที่ กําหนดไว ้ มีปัจจัยสนับสนุนทีส ่ ําคัญ คือ การมีสว่ นร่วมของผู ้บริหารระดับสูง การมีสว่ นร่วมของบุคลากรในองค์มหาชน การมี โครงสร ้างองค์กรและระบบบริหารจัดการทีเ่ ป็ นระบบและคล่องตัว รวมทัง้ การมีระบบสารสนเทศและฐานข ้อมูลทีด ่ ี มีการเก็บ เอกสารอ ้างอิงทีเ่ ป็ นระบบและการกําหนดผู ้กํากับดูแลตัวชวี้ ัด/ผู ้จัดเก็บข ้อมูลของแต่ละตัวชวี้ ัดอย่างทางการ (2) ปั ญหาอุปสรรค พบว่า องค์การมหาชนทีไ่ ม่สามารถปฏิบต ั งิ านได ้บรรลุเป้ าหมายที่ กําหนดไว ้ มีปัญหาอุปสรรคทีส ่ ําคัญ คือ มีการเปลีย ่ นแปลงผู ้รับผิดชอบตัวชวี้ ัดทําให ้ขาดความต่อเนือ ่ งในการปฏิบต ั งิ าน มี ่ การไม่มเี สถียรภาพ ข ้อจํากัดด ้านบุคลากรและงบประมาณ มีการเปลีย ่ นแปลงจากปั จจัยภายนอกทีไ่ ม่สามารถควบคุมได ้ เชน
10 ้ ทางการเมือง และความผันผวนทางเศรษฐกิจ ตลอดจนความล่าชาในการประสานงานกั บหน่วยงานอืน ่ เนือ ่ งจากหน่วยงาน อืน ่ มีภารกิจทีต ่ ้องปฏิบต ั เิ ป็ นจํานวนมาก (3) ข ้อสงั เกตและข ้อเสนอแนะทีส ่ ําคัญต่อการพัฒนาระบบคํารับรองการปฏิบต ั งิ าน มีดังนี้ ั ํ (3.1) ข ้อสงเกตและข ้อเสนอแนะของสานักงาน ก.พ.ร. (3.1.1) คณะกรรมการขององค์การมหาชนแต่ละแห่งถือเป็ น ํ องค์ประกอบสาคัญอย่างยิง่ ในการกําหนดทิศทางและกํากับการทํางานขององค์การมหาชนให ้สนองตอบผู ้มีสว่ นได ้สว่ น ี กลุม เสย ่ ต่างๆ จึงสมควรกํากับ ดูแลให ้องค์การมหาชนดําเนินการให ้บรรลุตามแนวทางทีไ่ ด ้กําหนดไว ้อย่างมี ิ ิ ธิผล ประสทธิภาพและประสท (3.1.2) จากการเปลีย ่ นแปลงผู ้รับผิดชอบตัวชวี้ ัดสง่ ผลให ้ขาดความ ต่อเนือ ่ งในการดําเนินงานตามตัวชวี้ ัด สง่ ผลให ้ขาดความต่อเนือ ่ งในการดําเนินงานตามตัวชวี้ ัด ดังนัน ้ องค์การมหาชนจึง ้ ี ี่ งของ สมควรมีกระบวนการในการถ่ายโอนงานและถ่ายทอดองค์ความรู ้เกีย ่ วกับการดําเนินการตามตัวชวัดเพือ ่ ลดความเสย การไม่บรรลุเป้ าหมาย (3.1.3) องค์การมหาชนทีไ่ ด ้รับผลกการประเมินอยูใ่ นระดับสูง จึง ้ สมควรพัฒนาต่อยอดโดยการสร ้างนวัตกรรมเพือ ่ การการพัฒนาอย่างต่อเนือ ่ งหรืออาจใชแนวทางที เ่ ป็ นตัวอย่างทีด ่ ี (Best Practice) เปรียบเทียบกับหน่วยงานอืน ่ ๆ ในระดับนานาชาติเพือ ่ ให ้สามารถเทียบเคียงมาตรฐานระดับสากลต่อไป (3.1.4) องค์การมหาชนทีม ่ ข ี นาดใหญ่อาจพิจารณานํ าระบบประเมิน ่ ค ภายใน (Internal Performance Agreement: IPA) ทีม ่ ก ี ารถ่ายทอดค่าเป้ าหมายและตัวชวี้ ัดระดับองค์กรสูบ ุ คลใน ้ ้ ่ ิ ั ระดับผู ้จัดการมาใช และนํ าผลการประเมินทีไ่ ด ้มาใชในการพิจารณาจัดสรรสงจูงใจ เป็ นการสะท ้อนถึงวิสยทัศน์ของ ่ ารเป็ นองค์กรทีม ั ฤทธิ์ ผู ้บริหารทีจ ่ ะมุง่ สูก ่ ก ี ารบริหารจัดการแบบมุง่ ผลสม ี้ จงรายละเอียดของการปฏิบต (3.1.5) องค์การมหาชนสมควรชแ ั งิ าน มาตรการทีไ่ ด ้ดําเนินการ วิธก ี ารจัดเก็บข ้อมูล และระบุปัจจัยสนับสนุนหรือปั ญหา อุปสรรคต่อการดําเนินงาน รวมทัง้ ข ้อมูลอืน ่ ๆ ทีเ่ กีย ่ วข ้อง เพือ ่ ประโยชน์ในการดําเนินงานและเป็ นแนวทางในการปรับปรุงผลการปฏิบต ั งิ านในอนาคต ั (3.2) ข ้อสงเกตและข ้อเสนอแนะขององค์การมหาชน (3.2.1) ระบบการวัดและประเมินผล เป็ นสงิ่ ทีจ ่ ําเป็ นแต่สําหรับองค์การ ่ สํานั กงาน ก.พ.รสํานัก มหาชนในปั จจุบน ั ถูกตรวจสอบ วัดและประเมินผลจากหน่วยงานต่างๆ เป็ นจํานวนมาก เชน งบประมาณ และสํานักงานตรวจเงินแผ่นดิน ซงึ่ หน่วยงานผู ้ตรวจสอบจะพัฒนาหลักแนวคิด ทฤษฎีตา่ งๆ ทีแ ่ ตกต่างกัน ้ ตามแนวทางของตนให ้องค์กรผู ้ถูกประเมินนํ ามาใชปฏิบต ั ท ิ ําให ้เป็ นภาระแก่องค์การมหาชน ดังนัน ้ หน่วยงานผู ้ตรวจสอบ สมควรประสานงานและพัฒนาวิธก ี ารวัดและประเมินผลร่วมกันและวัดผลการดําเนินงานหลักๆ ทีส ่ ะท ้อนภาพรวมของ องค์การเท่านัน ้ ้ (3.2.2) ตัวชวี้ ัดในลักษณะบังคับ ทีต ่ ้องใชงบประมาณในการดํ าเนินการ ้ ี ่ ํ ตามตัวชวัด เชน การสารวจความพึงพอใจโดยผู ้ประเมินภายนอก สมควรมีการแจ ้งให ้องค์การมหาชนอย่างเป็ นทางการ ก่อนล่วงหน ้าอย่างน ้อย 1 ปี ก่อนทีจ ่ ะมีการวัดและประเมินผลเพือ ่ ให ้สามารถเตรียมการจัดทําคําของบประมาณให ้ สอดคล ้องกับการดําเนินการจริง (3.2.3) ตัวชวี้ ัดระดับการพัฒนาด ้านการกํากับดูแลกิจการและการพัฒนา องค์การ มีจํานวนและรายละเอียดในการวัดและการประเมินผลมากเกินไป จึงสมควรปรับให ้มีจํานวนประเด็นการวัดย่อยให ้ เหลือเฉพาะประเด็น หลัก ๆ เท่านัน ้ 6. ผลการประเมินองค์การมหาชน 3 แห่ง ตามนัยมติคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 18 สงิ หาคม 2552 ในการประชุม ก.พ.ร. ครัง้ ที่ 6/2553 วันที่ 13 กันยายน 2553 มีมติให ้สํานักงาน ก.พ.ร. ติดตาม ผลการดําเนินงานของสถาบันระหว่างประเทศเพือ ่ การค ้าและการพัฒนาสํานักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศ เพือ ่ นบ ้าน และองค์การบริหารการพัฒนาพืน ้ ทีพ ่ เิ ศษเพือ ่ การท่องเทีย ่ วอย่างยั่งยืน ตามมติคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 18 สงิ หาคม 2552 (เรือ ่ ง สรุปผลการประเมินองค์การมหาชนตามมติคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2552) และเห็นชอบให ้ นํ าเสนอคณะรัฐมนตรีเพือ ่ มอบหมายให ้รองนายกรัฐมนตรี (นายไตรรงค์ สุวรรณคีร)ี เป็ นผู ้ติดตามกํากับดูแลต่อไป ซงึ่ สรุปผล การประเมินได ้ดังนี้
11 6.1 สถาบันระหว่างประเทศเพือ ่ การค ้าและการพัฒนา (องค์การมหาชน) (สคพ.) ั ึ ึ สงกัดกระทรวงศกษาธิการ สคพ. จัดตัง้ เพือ ่ ให ้การศกษาอบรมและค ้นคว ้าวิจัย เพือ ่ สง่ เสริมการค ้าและการพัฒนา และดําเนิน กิจกรรมอืน ่ ทีส ่ อดคล ้องกับความตกลงว่าด ้วยความร่วมมือระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยและองค์การสหประชาชาติ เกีย ่ วกับ สคพ. มีผลการประเมินทีผ ่ า่ นมาแสดงให ้เห็นว่า ผลการปฏิบัตงิ านในภาพรวมของ สคพ. สอดคล ้องกับวัตถุประสงค์ จัดตัง้ อย่างไรก็ตาม ยังมีคําถามจากสงั คมอีกหลายประการถึงความสําคัญและการคงอยูข ่ ององค์กร เนื่องจาก สคพ.ไม่ได ้ ั ให ้บริการแก่ประชาชนไทยโดยตรง ผลการปฏิบต ั งิ านจึงยังไม่อาจระบุให ้ชดเจนถึงประโยชน์ทเี่ กิดขึน ้ แก่สงั คมไทยเท่าใดนั ก ั เจนใน ซงึ่ เมือ ่ เปรียบเทียบกับองค์กรมหาชนอืน ่ ๆ นอกจากนี้ อังค์ถัดซงึ่ เป็ นผู ้ร่วมทําความตกลงให ้จัดตัง้ สคพ. ไม่มค ี วามชด ้ ึ ษาและฝึ กอบรมให ้แก่ การสนับสนุนทรัพยากรทีจ ่ ําเป็ นให ้แก่ สคพ. สง่ ผลให ้ สคพ. ต ้องใชงบประมาณแผ่ นดินจัดการศก ี และภูมภ ประเทศในเอเชย ิ าคอืน ่ จึงเป็ นประเด็นทีน ่ า ่ พิจารณาทบทวนเป็นอย่างยิง่ ในเชงิ นโยบายทางการเมืองถึงการ จ ัดตงเป ั้ ็ นองค์การมหาชนของสถาบ ันระหว่างประเทศประเทศเพือ ่ การค้าและการพ ัฒนา ว่าควรมีการเปลีย ่ นแปลง ไปเป็นองค์กรรูปแบบอืน ่ เพือ ่ เป็นการประหย ัดงบประมาณของร ัฐ หรือไม่ และโดยที่ ภารกิจของ สคพ. ในการพัฒนา ั ศกยภาพทรัพยากรมนุษย์ด ้านการค ้าระหว่างประเทศ การเงิน การคลังและการพัฒนาแก่ชาวไทยและชาวต่างประเทศใน ี นัน ั พันธ์และสอดคล ้องกับภารกิจของทัง้ กระทรวงศก ึ ษาธิการ กระทรวงพาณิชย์และ ภูมภ ิ าคเอเชย ้ มีความเกีย ่ วข ้องสม ึ ษาธิการ กระทรวงการต่างประเทศ กล่าวคือ ภารกิจด ้านวิชาการและการเสริมสร ้างศักยภาพบุคลากรสอดคล ้องกับกระทรวงศก ด ้านการค ้า สอดคล ้องกับกระทรวงพาณิชย์ กอปรกับประทรวงการต่างประเทศก็เป็ นหน่วยงานทีด ่ แ ู ลกิจการทีเ่ กีย ่ วข ้องกับ ั อังค์ถัด ดังนัน ้ การย้ายสงก ัดของ สคพ. ไปอยูภ ่ ายใต้กา ํ ก ับของร ัฐมนตรีอน ื่ จึงเป็นประเด็นทีม ่ ักจะถูกหยิบยกมา หารือ 6.2 สําน ักงานความร่วมมือพ ัฒนาเศรษฐกิจก ับประเทศเพือ ่ นบ้าน (องค์การ ั มหาชน) (สพพ.) สงก ัดกระทรวงการคล ัง สพพ. จัดตัง้ ขึน ้ โดยมีวัตถุประสงค์เพือ ่ ให ้ความชว่ ยเหลือพัฒนาเศรษฐกิจแก่ประเทศเพือ ่ นบ ้าน ทัง้ ใน ํ ด ้านวิชาการและการเงิน ตามประกาศของคณะกรรมการบริหารสานักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพือ ่ นบ ้าน ั โดยอํานาจหน ้าที่ สามารถโอนไปสงกัด กระทรวงการคลังหรือกระทรวงการต่างประเทศ ทีม ่ ห ี น ้าทีโ่ ดยตรงในการจัดหาเงิน ่ ่ ื ั ชวยเหลือประเทศเพือ ่ นบ ้าน หรือเชอมความสมพันธ์กบ ั ประเทศเพือ ่ นบ ้าน ผลการดําเนินงานทีผ ่ า่ นมา สพพ. มุง่ เน ้นการ ่ ึ ษา วิเคราะห์ วิจัย และ ดําเนินงานไปทีก ่ ารให ้ความชวยเหลือทางด ้านการเงินแก่ประเทศเพือ ่ นบ ้าน และการรวบรวมข ้อมูล ศก จัดทําข ้อเสนอแนะ เกีย ่ วกับการกําหนดนโยบาย มาตรการความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพือ ่ นบ ้าน เมือ ่ ั เปรียบเทียบกับต ้นทุนและความคุ ้มค่าในด ้านเศรษฐกิจ สงคม และการพัฒนาประเทศในอนาคตแล ้วพบว่า การดําเนินการ ของ สพพ. สามารถให้ผลตอบแทนแก่ประเทศได้ 6.3 องค์การบริหารการพัฒนาพืน ้ ทีพ ่ เิ ศษเพือ ่ การท่องเทีย ่ วอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) ั ํ (อพท.) สงกัดสานักนายกรัฐมนตรี อพท. จัดตัง้ ขึน ้ เป็ นหน่วยงานทีท ่ ําหน ้าทีป ่ ระสานการบริหารและพัฒนาพืน ้ ทีเ่ พือ ่ การ ิ ท่องเทีย ่ วในเชงบูรณาการ โดยดําเนินการในพืน ้ ทีพ ่ เิ ศษทีค ่ ณะรัฐมนตรีเห็นชอบ แต่ผลการดําเนินงานทีผ ่ า่ นมามีปัญหา ํ ื ั เกีย ่ วกับ การพิสจ ู น์ถงึ ผลสาเร็จของการดําเนินงาน สบเนือ ่ งจาก ปั ญหาความไม่ชดเจนเกีย ่ วกับบทบาทในการดําเนินงานใน ่ ึ ฐานะผู ้ประสานการบริหารจัดการ และการจัดทําแผนแม่บทการพัฒนาพืน ้ ทีพ ่ เิ ศษซงไม่เคยผ่านความเห็นชอบจาก คณะรัฐมนตรี และการขาดการสนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐทีเ่ ป็ นเจ ้าของพืน ้ ทีแ ่ ละ/หรือหน่วยงานทีม ่ อ ี ํานาจตามกฎหมาย ิ ่ ั ญหาความ ทําให ้ อพท. เลือกดําเนินงานในเรือ ่ งการปฏิบต ั ท ิ ส ี่ ามารถเห็นผลงานเชงรูปธรรมได ้มากกว่า แต่กลับนํ าไปสูป ้ ซํ้าซอนกั บหน่วยงานอืน ่ และไม่สอดคล ้องกับวัตถุประสงค์การจัดตัง้ อย่างไรก็ตาม คณะรัฐมนตรีได ้มีมติคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2553 เห็นชอบการปรับปรุงภารกิจด ้านการบริหารการพัฒนาพืน ้ ทีพ ่ เิ ศษ โดยให ้พัฒนา “ต ้นแบบ” การบริหาร ้ น จัดการพืน ้ ทีพ ่ เิ ศษเพือ ่ การท่องเทีย ่ ว โดยเลือกพืน ้ ทีพ ่ เิ ศษเพือ ่ การท่องเทีย ่ วตามประเภทของแหล่งท่องเทีย ่ ว เพือ ่ นํ าไปใชเป็ แนวทางในการปรับบทบาท หรือปรับปรุง อพท. ในระยะยาวต่อไป สํานักงาน ก.พ.ร. ได ้เสนอนายกรัฐมนตรีพจ ิ ารณาอนุมัตใิ ห ้นํ ารายงานการประเมินผลการ ปฏิบต ั งิ านตามคํารับรองการปฏิบต ั งิ านขององค์การมหาชนประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2552 เสนอคณะรัฐมนตรีพจ ิ ารณาตามมติ ่ ึ ่ ั ทีป ่ ระชุม ก.พ.ร. ครัง้ ที่ 8/2553 วันที่ 18 พฤศจิกายน 2553 ซงนายกรัฐมนตรีพจ ิ ารณาแล ้วมีคําสงให ้นํ าเรือ ่ งนีเ้ สนอ คณะรัฐมนตรีพจ ิ ารณา ต่อไป
12 7. เรือ ่ ง แผนงานแก้ไขปัญหาเร่งด่วนของมาบตาพุด (เพิม ่ เติม) คณะรัฐมนตรีอนุมัตโิ ครงการแก ้ไขปั ญหาในพืน ้ ทีม ่ าบตาพุดเพิม ่ เติม อีกจํานวน 15 โครงการ และอนุมัต ิ ํ งบประมาณ งบกลาง รายการเงินสารองจ่ายเพือ ่ กรณีฉุกเฉินหรือจําเป็ นภายในวงเงินจํานวน 255.72565 ล ้านบาท สําหรับ ดําเนินโครงการดังกล่าว โดยให ้หน่วยงานทีร่ ับผิดชอบโครงการจัดทํารายละเอียดโครงการและขอรับการจัดสรรงบประมาณ จากสํานักงบประมาณโดยตรงต่อไป ตามทีค ่ ณะอนุกรรมการติดตามรายงานผลการแก ้ไขปั ญหาในพืน ้ ทีม ่ าบตาพุดและบริเวณ ใกล ้เคียง จังหวัดระยองเสนอ สาระสําค ัญของเรือ ่ ง คณะอนุกรรมการประสานงานและขับเคลือ ่ นการดําเนินงานตามมิคณะรัฐมนตรี (ปคค.) ได ้พิจารณาแล ้ว เห็นสมควรนํ าโครงการแก ้ไขปั ญหาในพืน ้ ทีม ่ าบตาพุดเสนอคณะรัฐมนตรีเพือ ่ พิจารณาเพิม ่ เติมอีกจํานวน 15 โครงการ วงเงิน รวม 255.72565 ล ้านบาท ประกอบด ้วย 1. แผนงานแก้ไขปัญหาเร่งด่วนของมาบตาพุด (เพิม ่ เติม) ประกอบด ้วย 3 โครงการ วงเงินรวม 174.29265 ล ้านบาท ดังนี้ ื่ โครงการ ลําด ับ ชอ
หน่วยงาน
วงเงิน (ล ้านบาท)
1.1
กระทรวงสาธารณสุข
30.29265
การประปาสว่ นภูมภ ิ าค
78.00
การประปาสว่ นภูมภ ิ าค
66.00
1.2
โครงการตรวจสุขภาพประชาชนและเฝ้ าระวังโรคของประชาชน ในเขตควบคุมมลพิษ จังหวัดระยอง ปี งบประมาณ 2554 โครงการก่อสร ้างขยายเขตจําหน่ายนํ้ าประปา (สว่ นเพิม ่ เติม) พืน ้ ทีอ ่ ําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง
1.3
โครงการก่อสร ้างขยายเขตจําหน่ายนํ้ าประปา (สว่ นเพิม ่ เติม) พืน ้ ทีเ่ ทศบาลเมืองมาบตาพุดและเทศบาลเมืองบ ้านฉาง จังหวัด ระยอง
้ ทีม 2. แผนงานเร่งด่วนเพือ ่ ลดและขจ ัดมลพิษในพืน ่ าบตาพุด และบริเวณใกล้เคียง จ ังหว ัด ระยอง ตามประเด็นเสนอแนะของคณะอนุกรรมการเติมเต็มทางเทคนิคเพือ ่ ลดและขจัดมลพิษในพืน ้ ทีม ่ าบตาพุดและพืน ้ ที่ ใกล ้เคียง ภายใต ้คณะกรรมการแก ้ไขปั ญหาการปฏิบัตต ิ ามมาตรา 67 วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ประกอบด ้วย 11 โครงการ วงเงินรวม 77.9330 ล ้านบาท ดังนี้ วงเงิน (ล ้านบาท)
ื่ โครงการ ลําด ับ ชอ
หน่วยงาน
2.1
โครงการปรับปรุงแผนปฏิบต ั ก ิ ารตอบโต ้ ภาวะฉุกเฉิน (Emergency Response Plan : ERP) ของโรงงานอุตสาหกรรมในเขตพืน ้ ที่ นอกนิคมอุตสาหกรรม อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง
กรมโรงงานอุตสาหกรรม 2.50
2.2
กรมควบคุมมลพิษ
2.3
โครงการติดตัง้ สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศบริเวณ ศูนย์ราชการจังหวัดระยอง โครงการสาํ รวจและจัดทําฐานข ้อมูลสารสนเทศและสารสนเทศ
กรมโรงงานอุตสาหกรรม 6.10
2.4
ภูมศ ิ าสตร์แหล่งกําเนิดมลพิษทางด ้านกลิน ่ รบกวนจากโรงงาน อุตสาหกรรมในเขตพืน ้ ทีอ ่ ําเภอเมือง จังหวัดระยอง โครงการประเมินสงิ่ แวดล ้อมระดับยุทธศาสตร์ (Strategic
กรมโรงงานอุตสาหกรรม 7.843
12.00
Environmental Assessment: SEA) พืน ้ ทีอ ่ ําเภอเมืองและ พืน ้ ทีใ่ กล ้เคียง จังหวัดระยอง 2.5
2.6
โครงการพัฒนากลไกการกํากับดูแล ติดตาม ตรวจสอบและ ประเมินการปฏิบต ั ต ิ ามมาตรการป้ องกันและแก ้ไขผลกระทบต่อ สงิ่ แวดล ้อมและสุขภาพ ึ ษาและประเมินผลกระทบต่อ โครงการจัดทําแนวทางการศก คุณภาพสงิ่ แวดล ้อมและสุขภาพ
สาํ นักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดล ้อม สาํ นักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติ
8.00
5.00
13 ื่ โครงการ ลําด ับ ชอ
วงเงิน (ล ้านบาท)
หน่วยงาน และสงิ่ แวดล ้อม ร่วมกับ กรมอนามัย
2.7
โครงการพัฒนาระบบเครือข่ายข ้อมูลบริการสุขภาพ เพือ ่ ้ นํ าไปใชประกอบกั บข ้อมูลสงิ่ แวดล ้อมของจังหวัดระยอง
กระทรวงสาธารณสุข
15.00
2.8
โครงการควบคุมและเฝ้ าระวังสภาวการณ์สข ุ าภิบาลอาหารและ นํ้ า พืน ้ ทีจ ่ ังหวัดระยอง ปี 2554
กรมอนามัย
3.65
2.9
โครงการพัฒนาและเสริมสร ้างเครือข่ายอาสาสมัครด ้าน สงิ่ แวดล ้อมและสุขภาพ
สาํ นักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดล ้อม ร่วมกับ กรมอนามัย
5.00
2.10
โครงการเสริมสร ้างศักยภาพของชุมชนในการมีสว่ นร่วมใน กระบวนการรับฟั งความคิดเห็นต่อการประเมินผลกระทบ สงิ่ แวดล ้อมและ สุขภาพ
กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและ สงิ่ แวดล ้อม ร่วมกับ กระทรวงสาธารณสุข
11.84
2.11
โครงการจัดทําแนวปฏิบต ั ท ิ ด ี่ ี (Good Engineering Practice: ้ GEP) สําหรับการใชหอเผาไหม ้ (Flare) ในโรงงาน อุตสาหกรรม
กรมโรงงานอุตสาหกรรม 1.00
ึ ษาผลกระทบสงิ่ แวดล้อมและสํารวจออกแบบเพือ 3. โครงการศก ่ ก่อสร้างโครงสร้างป้องก ันการก ัด เซาะชายฝั่ง บริเวณหาดนํา้ รินและหาดพยูน เทศบาลตําบลบ้านฉาง อําเภอบ้านฉาง จ ังหว ัดระยอง (สําหรับ โครงการก่อสร ้างกําแพงดินเสริมเหล็ก หาดพยูน และหาดนํ้ าริน : โครงการเร่งด่วนภายใต ้แผนปฏิบต ั ก ิ ารเพือ ่ ลดและขจัด มลพิษในเขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยอง ปี งบประมาณ พ.ศ. 2553 – 2556)วงเงิน 3.5 ล ้านบาท ดังนี้ ื่ โครงการ ลําด ับ ชอ 3.1
ึ ษาผลกระทบสงิ่ แวดล ้อมและสํารวจ โครงการศก ออกแบบเพือ ่ ก่อสร ้างโครงสร ้างป้ องกันการกัดเซาะ ชายฝั่ ง บริเวณหาดนํ้ ารินและหาดพยูน เทศบาล ตําบลบ ้านฉาง อําเภอบ ้านฉาง จังหวัดระยอง
หน่วยงาน เทศบาลตําบลบ ้านฉาง
วงเงิน (ล ้านบาท) 3.5
8. เรือ ่ ง ระบบสารสนเทศการประชุมคณะร ัฐมนตรีแบบอิเล็กทรอนิกส ์ คณะรัฐมนตรีรับทราบและเห็นชอบตามทีส ่ ํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเสนอทัง้ 2 ข ้อดังนี้ 1.รับทราบผลการดําเนินงานทีผ ่ า่ นมา และแนวทางการดําเนินงานในขัน ้ ต่อไป ของระบบ CABNET 2. เห็นชอบการนํ าระบบ CABNET มาใชกั้ บหน่วยงานทัง้ หมดตามโครงการ โดยให ้ปฏิบต ั งิ านด ้วยระบบ CABNET อย่างเต็มรูปแบบ ตัง้ แต่เดือนเมษายน 2554 สาระสําค ัญของเรือ ่ ง 1. สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได ้นํ าระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช ้ เพือ ่ พัฒนาการปฏิบต ั งิ านในการ ่ ระบบจัดเก็บและสบ ื ค ้นข ้อมูลมติคณะรัฐมนตรี (ปี สนับสนุนการบริหารราชการแผ่นดินของคณะรัฐมนตรีอย่างต่อเนือ ่ ง เชน ้ 2532 ) ระบบสารบรรณอัตโนมัตเิ พือ ่ ใชในการติ ดตามสถานภาพเรือ ่ งเสนอคณะรัฐมนตรี (ปี 2532) ระบบจัดทําวาระการ ประชุมคณะรัฐมนตรีในรูปแบบ CD เพือ ่ ลดเอกสาร (ปี 2544) ระบบการประชุมคณะรัฐมนตรีทางไกลผ่านจอภาพ (Video Conference) (ปี 2546) และ ล่าสุดคือระบบ CABNET ซงึ่ เป็ นระบบสารสนเทศสนับสนุนภารกิจของคณะรัฐมนตรีใน กระบวนการเสนอเรือ ่ งและการประชุมคณะรัฐมนตรีทงั ้ ระบบ ตัง้ แต่การวางแผนการเสนอเรือ ่ งเสนอคณะรัฐมนตรี การจัดทํา
14 เรือ ่ งเสนอคณะรัฐมนตรี การแจ ้งระเบียบวาระการประชุมและสง่ เอกสารการประชุมคณะรัฐมนตรี การแจ ้งมติคณะรัฐมนตรี ื ค ้นข ้อมูลคณะรัฐมนตรี โดยหน่วยงานทีใ่ ชระบบมี ้ รวมทัง้ การสบ จํานวน 37 หน่วยงาน ํ 2. สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได ้เริม ่ ดําเนินโครงการจัดการระบบ CABNET ในปี 2549 โดยจ ้างทีป ่ รึกษา ึ โครงการจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเพือ ่ ศกษาและวิเคราะห์ระบบสารสนเทศการประชุมคณะรัฐมนตรีแบบอิเล็กทรอนิกส ์ และต่อมาได ้ดําเนินการพัฒนาระบบ CABNET ระหว่างเดือนกรกฎาคม 2552 – พฤศจิกายน 2553 ด ้วยงบประมาณประจําปี ื่ มต่อ พ.ศ. 2549 สําหรับเป็ นค่าจ ้างทีป ่ รึกษาและค่าใชจ่้ ายของโครงการจํานวน 76,414,400 โดยทีผ ่ า่ นมาได ้ดําเนินการเชอ ้ ้ เครือข่ายและพัฒนาระบบจนมีความพร ้อมใชงานแล ้ว และมีการทดสอบการใชงานกั บหน่วยงานนํ าร่อง 12 หน่วยงาน ในชว่ ง เดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ 2553 มีการทดลองปฏิบต ั งิ านกับหน่วยงานนํ าร่องในชว่ งเดือนมีนาคม-กันยายน 2553 รวมทัง้ ี้ จงการใชระบบกั ้ ชแ บหน่วยงานทัง้ หมดในชว่ งเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2553 9. เรือ ่ ง ผลการประชุมคณะกรรมการติดตามและประเมินผลการดําเนินโครงการตามแผนปฏิบ ัติการไทยเข้มแข็ ง 2555 ครงที ั้ ่ 10/2553 คณะรัฐมนตรีรับทราบและเห็นชอบตามทีส ่ ํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ (สศช.) เสนอ ดังนี้ 1. รับทราบผลการประชุมคณะกรรมการติดตามและประเมินผลการดําเนินโครงการตามแผนปฏิบัตก ิ ารไทย เข ้มแข็ง 2555 ครัง้ ที่ 10/2553 2. เห็นชอบตามมติของคณะกรรมการฯ ดังนี้ ั เจนของข ้อ 2.1 มอบหมายให ้สํานักงานบริหารหนีส ้ าธารณะ กระทรวงการคลัง (กค.) ตรวจสอบความชด ้ นกู ้เพือ กฎหมายทีร่ องรับหรือให ้อํานาจการใชเงิ ่ ฟื้ นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร ้างพืน ้ ฐาน (Development Policy Loan : ํ DPL) สาหรับการดําเนินโครงการภายใต ้แผนปฏิบต ั ก ิ ารไทยเข ้มแข็ง 2555 เพือ ่ ให ้การใชจ่้ ายเงินสอดคล ้องกับเจตนารมณ์ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และเสนอวัตถุประสงค์ หลักเกณฑ์ และแนวทางการจัดสรรเงินกู ้ดังกล่าวต่อ คณะรัฐมนตรีเพือ ่ พิจารณาให ้ความเห็นชอบ 2.2 เห็นควรให ้กระทรวงการคลัง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล ้อม และกระทรวงการท่องเทีย ่ ว และกีฬา พิจารณาดําเนินการ ดังนี้ 2.2.1 โครงการทีไ่ ด ้ดําเนินการและเบิกจ่ายแล ้ว ติดตามประเมินผลการดําเนินโครงการในด ้านผลลัพธ์ ํ หรือผลสาเร็จของโครงการตามดัชนีชวี้ ัดทีก ่ ําหนดไว ้ 2.2.2 โครงการทีย ่ ังไม่ได ้ขอรับจัดสรรเงินจากสํานักงบประมาณ (สงป.) และโครงการทีย ่ ังไม่เริม ่ ้ ่ ึ ดําเนินการควรพิจารณายกเลิกโครงการและนํ าเงินมาใชในการแก ้ไขปั ญหาอุทกภัยซงมีความเร่งด่วนก่อน 2.2.3 โครงการทีข ่ อขยายระยะเวลาการขอรับจัดสรรเงินจาก สงป. และขยายระยะเวลาการดําเนิน ั ญาไว ้แล ้วหรือไม่ หากยังไม่มก โครงการออกไปเกินกว่าปี 2555 ควรตรวจสอบว่าโครงการดังกล่าวได ้มีการผูกพันสญ ี าร ั ้ ่ ึ ผูกพันสญญาควรพิจารณานํ าเงินมาใชเพือ ่ แก ้ไขปั ญหาอุทกภัยซงมีความเร่งด่วนก่อน และหากเป็ นโครงการทีม ่ วี งเงินลงทุน สูงควรพิจารณาทางเลือกในการให ้เอกชนเข ้าร่วมลงทุนหรือจัดสรรงบประมาณดําเนินการจากงบประมาณรายจ่ายประจําปี ต่อไป สาระสําค ัญของเรือ ่ ง สศช. รายงานว่า 1. คณะกรรมการฯ ได ้มีการประชุมครัง้ ที่ 10/2553 เมือ ่ วันที่ 26 พฤศจิกายน 2553 โดยพิจารณาเรือ ่ ง ความก ้าวหน ้าของเงินกู ้เพือ ่ ฟื้ นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร ้างพืน ้ ฐาน (DPL) และความก ้าวหน ้าการดําเนินโครงการภายใต ้ แผนปฏิบต ั ก ิ ารไทยเข ้มแข็ง 2555 สาขาพัฒนาการท่องเทีย ่ ว ดังนี้ ้ ้ ฐาน (DPL) คณะ 3.1 ความก้าวหน้าของเงินกูเ้ พือ ่ ฟื นฟูเศรษฐกิจและพ ัฒนาโครงสร้างพืน ั ญาเงิน กรรมการฯ มีความเห็นเกีย ่ วกับการดําเนินการกู ้เงิน DPL ว่าคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาได ้มีมติให ้ความเห็นชอบในร่างสญ ก็ DPL วงเงินรวม 1,300 ล ้านดอลลาร์สหรัฐ ทีเ่ สนอโดย กค. (มติคณะรัฐมนตรี 27 เมษายน 2553) ซงึ่ ระบุวัตถุประสงค์หนึง่ ้ นกู ้ดังกล่าวเพือ ในการใชเงิ ่ ดําเนินโครงการภายใต ้แผนปฏิบต ั ก ิ ารไทยเข ้มแข็ง 2555 รวมทัง้ ได ้นํ าเสนอความก ้าวหน ้าของ ั เจนว่ามีกฎหมายรองรับหรือให ้อํานาจการใชเงิ ้ นกู ้ดังกล่าว เงินกู ้ DPL ต่อคณะรัฐมนตรีเพือ ่ ทราบแล ้ว กค. ควรตรวจสอบให ้ชด เพือ ่ ดําเนินโครงการภายใต ้แผนปฏิบต ั ก ิ ารไทยเข ้มแข็ง 2555 หรือไม่ เพือ ่ ให ้การใชจ่้ ายเงินสอดคล ้องกับเจตนารมณ์ของ
15 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เนือ ่ งจากโดยปกติการใชจ่้ ายเงินจะต ้องผ่านการพิจารณาให ้ความเห็นชอบของรัฐสภา และต ้องมีกฎหมายรองรับและควรเสนอวัตถุประสงค์ หลักเกณฑ์ และแนวทางการจัดสรรเงินกู ้ดังกล่าวต่อคณะรัฐมนตรีเพือ ่ พิจารณาให ้ความเห็นชอบต่อไปด ้วย 3.2 ความก้าวหน้าการดําเนินโครงการภายใต้แผนปฏิบ ัติการไทยเข้มแข็ง 2555 สาขาพ ัฒนาการ ท่องเทีย ่ ว คณะกรรมการฯ มีความเห็นสรุปได ้ ดังนี้ 3.2.1 โครงการภายใต ้แผนปฏิบต ั ก ิ ารไทยเข ้มแข็ง 2555 สาขาพัฒนาการท่องเทีย ่ ว มีการเบิกจ่ายเงินกู ้ ณ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2553 จํานวน 1,916.42 ล ้านบาท จากวงเงินทีไ่ ด ้รับจัดสรร 2,490.56 ล ้านบาท คิดเป็ นร ้อยละ 76.95 โดยการดําเนินโครงการประสบปั ญหาอุปสรรค เกิดความล่าชา้ เนือ ่ งจาก 1) การดําเนินโครงการทีเ่ กีย ่ วข ้องกับการปรับปรุงภูมท ิ ัศน์ของแหล่งท่องเทีย ่ วทีม ่ วี งเงินลงทุนสูง ่ ี ่ และอาจสงผลกระทบต่อวิถช ี วต ิ ของชุมชน จําเป็ นต ้องสร ้างกระบวนการมีสวนร่วมของชุมชนในพืน ้ ที่ 2) บางโครงการจําเป็ นต ้องเปลีย ่ นรูปแบบการก่อสร ้างเพือ ่ ให ้เหมาะสมกับสภาพภูมป ิ ระเทศทีเ่ ป็ น ้ พืน ้ ทีป ่ ่ าตามธรรมชาติ จึงสามารถใชเพียงแรงงานคนเพือ ่ อนุรักษ์ สภาพแวดล ้อม 3) หน่วยงานทีด ่ ําเนินโครงการขนาดใหญ่ขาดบุคลากรทีม ่ ค ี วามรู ้ความชาํ นาญเฉพาะด ้าน ทัง้ ด ้าน การออกแบบอาคารขนาดใหญ่และด ้านธุรกิจการตลาด 3.2.2 โครงการก่อสร ้างศูนย์ประชุมและนิทรรศการนานาชาติภเู ก็ต วงเงินลงทุน 2,600 ล ้านบาท ของ ั ญาเป็ น กรมธนารักษ์ กค. ทีค ่ ณะรัฐมนตรีได ้มีมติอนุมัตข ิ ยายระยะเวลาการขอรับจัดสรรเงินจาก สงป. และการลงนามในสญ ภายในวันที่ 31 กรกฎาคม 2555 และขยายระยะเวลาการดําเนินโครงการเป็ นภายในปี 2557 (มติคณะรัฐมนตรี 27 เมษายน 2553) จะทําให ้ กค. ต ้องกู ้เงินมาไว ้ล่วงหน ้าเป็ นระยะเวลาถึง 2 – 4 ปี ก่อนทีจ ่ ะมีการเบิกจ่ายจริงควรตรวจสอบว่าโครงการ ั ั ้ อ ดังกล่าวได ้มีการผูกพันสญญาไว ้แล ้วหรือไม่ โดยหากยังไม่มก ี ารผูกพันสญญาควรพิจารณานํ าเงินจํานวนดังกล่าวมาใชเพื ่ ่ ึ แก ้ไขปั ญหาอุทกภัยซงมีความเร่งด่วนก่อน และอาจพิจารณาจัดสรรเงินงบประมาณปี 2556 – 2557 ให ้แก่โครงการก่อสร ้าง ศูนย์ประชุมฯ ในภายหลังหรือพิจารณาทางเลือกในการให ้เอกชนเข ้าร่วมลงทุนในโครงการแทน 3.2.3 แนวทางการดําเนินการสําหรับโครงการภายใต ้แผนปฏิบต ั ก ิ ารไทยเข ้มแข็ง 2555 สาขา พัฒนาการท่องเทีย ่ วสามารถแบ่งได ้เป็ น 3 กลุม ่ ดังนี้ 1) โครงการทีไ่ ด ้ดําเนินการและเบิกจ่ายแล ้ว ควรติดตามประเมินผลการดําเนินโครงการในด ้าน ํ ผลลัพธ์หรือผลสาเร็จของโครงการตามดัชนีชวี้ ัดทีก ่ ําหนดไว ้ 2) โครงการทีย ่ ังไม่ได ้ขอรับจัดสรรเงินจาก สงป. และโครงการทีย ่ ังไม่เริม ่ ดําเนินการ ควร ้ ่ ึ พิจารณายกเลิกโครงการและนํ าเงินมาใชในการแก ้ไขปั ญหาอุทกภัยซงมีความเร่งด่วนก่อน 3) โครงการทีข ่ อขยายระยะเวลาการขอรับจัดสรรเงินจาก สงป. และขยายระยะเวลาการดําเนิน ั ญาไว ้แล ้วหรือไม่ หากยังไม่มก โครงการออกไปเกินกว่าปี 2555 ควรตรวจสอบว่าโครงการดังกล่าวได ้มีการผูกพันสญ ี าร ั ้ ่ ึ ผูกพันสญญาควรพิจารณานํ าเงินมาใชเพือ ่ แก ้ไขปั ญหาอุทกภัยซงมีความเร่งด่วนก่อน และหากเป็ นโครงการทีม ่ วี งเงินลงทุน สูงควรพิจารณาทางเลือกในการให ้เอกชนเข ้าร่วมลงทุนหรือจัดสรรงบประมาณดําเนินการจากงบประมาณรายจ่ายประจําปี ต่อไป 10. เรือ ่ ง ขอทบทวนมติคณะร ัฐมนตรี เมือ ่ ว ันที่ 9 กุมภาพ ันธ์ 2553 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบให ้ทบทวนมติคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2553 (เรือ ่ ง รายงานความก ้าวหน ้า ิ การดําเนินการแก ้ไขปั ญหาและพัฒนาประสทธิภาพการให ้บริการของท่าอากาศยานสุวรรณภูม)ิ ตามทีส ่ ํานักงานตํารวจ แห่งชาติเสนอ โดยให ้จัดตัง้ สถานีตํารวจท่าอากาศยานสุวรรณภูมเิ ป็ นหน่วยงานเฉพาะในสงั กัดตํารวจภูธรจังหวัด สมุทรปราการ ตํารวจภูธรภาค 1 และให ้สํานักงานตํารวจแห่งชาติกําหนดหลักเกณฑ์และวิธก ี ารในการคัดเลือกและโยกย ้าย ่ ข ้าราชการตํารวจในสถานีตํารวจท่าอากาศยานสุวรรณภูมใิ ห ้เหมาะสมกับการปฏิบัตงิ าน สวนเรือ ่ งสถานทีแ ่ ละงบประมาณใน ํ การดําเนินการนัน ้ ให ้สานักงานตํารวจแห่งชาติ ขอรับการสนับสนุนจากบริษัท ท่าอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) ข้อเท็จจริง ตช. รายงานผลสรุปได ้ ดังนี้ 1. ตช. ได ้มีบันทึกเรียน รองนายกรัฐมนตรี (นายสุเทพ เทือกสุบรรณ) ประธานกรรมการอํานวยการแก ้ไข ปั ญหาฯ ขอให ้ทบทวนมติคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2553 โดยสรุปดังนี้
16 1.1 เรือ ่ งการจัดตัง้ สถานีตํารวจท่าอากาศยานสุวรรณภูมอ ิ ยูใ่ นสงั กัดกองกํากับการ 6 กองบังคับการตํารวจ ท่องเทีย ่ ว สงั กัดกองบัญชาการตํารวจสอบสวนกลางนั น ้ ไม่สอดคล ้องกับหลักการของการกําหนดโครงสร ้างการจัดสว่ น ราชการของ ตช. และเจตนารมณ์ของกฎหมายแห่งพระราชบัญญัตต ิ ํารวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 ทีก ่ ําหนดให ้กองบัญชาการ ตํารวจนครบาล ตํารวจภูธรภาค 1 ถึง ตํารวจภูธรภาค 9 และศูนย์ปฏิบต ั ก ิ ารตํารวจจังหวัดชายแดนภาคใต ้ เป็ นหน่วย ิ ของประชาชนใน ปฏิบต ั งิ านหลักของ ตช. ในการรับผิดชอบการรักษาความสงบเรียบร ้อย ความปลอดภัยในชวี ต ิ และทรัพย์สน รูปแบบของสถานีตํารวจพืน ้ ที่ สว่ นกองบังคับการตํารวจท่องเทีย ่ ว สงั กัดกองบัญชาการตํารวจสอบสวนกลาง เป็ นหน่วย สนับสนุนการปฏิบต ั ข ิ องหน่วยงานปฏิบต ั งิ านหลัก (สถานีตํารวจพืน ้ ที)่ ทีม ่ งุ่ เน ้นการให ้บริการและอํานวยความสะดวกแก่ ่ ่ ประสานงานหน่วยงานหรือ นักท่องเทีย ่ ว โดยมีบทบาทเป็ นเพียงผู ้ชวยสนับสนุนในงานด ้านต่าง ๆ ของสถานีตํารวจพืน ้ ที่ เชน องค์กรต่างประเทศ หรือชว่ ยในด ้านความรู ้เกีย ่ วกับภาษาต่างประเทศ เป็ นต ้น 1.2 เรือ ่ งสถานทีแ ่ ละงบประมาณดําเนินการ ตช. ได ้รับการสนับสนุนในการจัดตัง้ สถานีตํารวจท่าอากาศยาน สุวรรณภูมต ิ ามมติคณะรัฐมนตรีนัน ้ มีความเหมาะสม เพียงขอเปลีย ่ นแปลงผู ้รับงบประมาณจากกองบังคับการตํารวจท่องเทีย ่ ว ่ เป็ นตํารวจภูธรจังหวัดสมุทรปราการ สวนร่างบันทึกข ้อตกลง (MOU) ระหว่างการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย จํากัด (มหาชน) กับ ตช. นัน ้ ตช. จะได ้ดําเนินการแก ้ไขให ้เกิดความรัดกุมและสอดคล ้องกับแนวทางการปฏิบต ั ห ิ น ้าทีข ่ องเจ ้าหน ้าที่ ตํารวจต่อไป 2. รองนายกรัฐมนตรี (นายสุเทพ เทือกสุบรรณ) ประธานกรรมการอํานวยการแก ้ไขปั ญหาฯ ได ้พิจารณาแล ้ว เห็นว่า ท่าอากาศยานสุวรรณภูมเิ ป็ นพืน ้ ทีพ ่ เิ ศษ ผู ้รับบริการสว่ นใหญ่เป็ นชาวต่างประเทศ จําเป็ นต ้องมีหน่วยงานเฉพาะทีข ่ น ึ้ ่ ตรงกับสวนกลางรับผิดชอบกํากับดูแล ประกอบกับเรือ ่ งนีไ ้ ด ้ผ่านการพิจารณาอย่างรอบคอบจากคณะกรรมการอํานวยการ ิ แก ้ไขปั ญหาและพัฒนาประสทธิภาพการให ้บริการของสนามบินสุวรรณภูม ิ ซงึ่ ประกอบด ้วยผู ้แทนจากทุกสว่ นราชการและ หน่วยงานเกีย ่ วข ้องแล ้ว จึงเห็นว่ามติคณะรัฐมนตรีดังกล่าวมีความเหมาะสมแล ้ว สําหรับประเด็นทีเ่ สนอมาเป็ นเรือ ่ งที่ ตช. ่ ื ิ จะต ้องบริหารจัดการและเร่งสร ้างความเชอมั่นในการรักษาความปลอดภัยในทรัพย์สนแก่นักท่องเทีย ่ วและนักลงทุน ่ ่ ึ ชาวต่างชาติให ้สอดคล ้องกับมติคณะรัฐมนตรีและนโยบายรัฐบาล ด ้านสงเสริมการท่องเทีย ่ วซงเป็ นรายได ้หลักของประเทศ จึงให ้ ตช. ดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีให ้แล ้วเสร็จ ภายใน 60 วัน และรายงานความคืบหน ้าให ้ทราบภายใน 30 วัน ตช. รายงานว่า คณะกรรมการนโยบายตํารวจแห่งชาติได ้มีมติให ้เสนอคณะรัฐมนตรีเพือ ่ พิจารณาทบทวนมติ คณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2553 ทีอ ่ นุมัตห ิ ลักการให ้จัดตัง้ สถานีตํารวจท่าอากาศยานสุวรรณภูมอ ิ ยูใ่ นสงั กัดกอง บังคับการตํารวจท่องเทีย ่ ว กองบัญชาการตํารวจสอบสวนกลาง อีกครัง้ หนึง่ ทัง้ นี้ เพือ ่ ให ้การจัดตัง้ สถานีตํารวจท่าอากาศยาน ั สุวรรณภูมอ ิ ยูใ่ นสงกัดตํารวจภูธรจังหวัดสมุทรปราการ ตํารวจภูธรภาค 1 11. เรือ ่ ง ขอปร ับปรุงโครงสร้างกรบสอบสวนคดีพเิ ศษ คณะรัฐมนตรีเห็นชอบร่างกฎกระทรวงแบ่งสว่ นราชการกรมสอบสวนคดีพเิ ศษ กระทรวงยุตธิ รรม พ.ศ. .... ที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (สคก.) ตรวจพิจารณาแล ้ว และให ้ดําเนินการต่อไปได ้ สาระสําค ัญของร่างกฎกระทรวง ื สวน และการ 1. กําหนดให ้กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ มีภารกิจเกีย ่ วกับการป้ องกันการปราบปราม การสบ ื สวนและสอบสวนโดยใชวิ้ ธก สอบสวนคดีความผิดทางอาญาทีต ่ ้องดําเนินการสบ ี ารพิเศษตามกฎหมายว่าด ้วยการสอบสวนคดี พิเศษ และให ้มีอํานาจหน ้าทีต ่ ามทีก ่ ําหนด (ร่างข ้อ 2) 2. กําหนดให ้แบ่งสว่ นราชการกรมสอบสวนคดีพเิ ศษ เป็ น 17 สํานักและมีอํานาจหน ้าทีต ่ ามทีก ่ ําหนด (ร่าง ข ้อ 3 ร่างข ้อ 6 ถึงร่างข ้อ 14 และร่างข ้อ 16 ถึงร่างข ้อ 20) 3. กําหนดให ้กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ มีกลุม ่ ตรวจสอบภายใน และกลุม ่ พัฒนาระบบบริหาร รวมทัง้ ให ้มีอํานาจ หน ้าทีต ่ ามทีก ่ ําหนด (ร่างข ้อ 4 ถึงร่างข ้อ 5) ื สวน 4. กําหนดให ้สํานักคดีอาญาพิเศษ 1-3 มีอํานาจหน ้าทีป ่ ฏิบต ั งิ านด ้านป้ องกัน การปราบปราม การสบ และการสอบสวนคดีพเิ ศษ เพือ ่ ดําเนินคดีกบ ั ผู ้กระทําความผิดทีม ่ ห ี รืออาจมีผลกระทบอย่างร ้ายแรงต่อความสงบเรียบร ้อยหรือ ี ศลธรรมอันดีของประชาชนหรือระบบเศรษฐกิจของประเทศ หรือผู ้กระทําความผิดทีม ่ ล ี ักษณะเป็ นองค์กรอาชญากรรม ตาม ่ ื รายชอกฎหมายทีอ ่ ธิบดีประกาศกําหนด รวมทัง้ ดําเนินคดีพเิ ศษนอกราชอาณาจักรตามทีไ่ ด ้รับมอบหมาย (ร่างข ้อ 15 (1))
17 12. เรือ ่ ง มติคณะกรรมการนโยบายพล ังงานแห่งชาติ ครงที ั้ ่ 4/2553 (ครงที ั้ ่ 133) คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามทีก ่ ระทรวงพลังงานเสนอ ดังนี้ ้ ั ื ร่างสญญาซอขายไฟฟ้าโครงการไซยะบุร ี ั ญาซอ ื้ ขายไฟฟ้ าโครงการไซยะบุร ี และให ้ กฟผ. ลงนามในสญ ั ญาซอ ื้ ขายไฟฟ้ า 1. เห็นชอบร่างสญ โครงการไซยะบุรก ี บ ั ผู ้ลงทุนต่อไป โดยมีเงือ ่ นไขดังนี้ (1) โครงการฯ ได ้ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมาธิการลุม ่ นํ้ าโขง (MRC) ตามกระบวนการ ิ ข ้อตกลงของประเทศสมาชกในลุม ่ แม่นํ้าโขง (Agreement on the Cooperative for the Sustainable Development of the Mekong River Basin 5 April 1995) แล ้ว ั ญาฯ ได ้ผ่านการตรวจพิจารณาจากสํานักงานอัยการสูงสุด ทัง้ นี้ หากจําเป็ นต ้อง (2) ร่างสญ ั ญาฯ ดังกล่าว ทีไ่ ม่ใชส ่ าระสําคัญของสญ ั ญาฯ ไม่จําเป็ นต ้องนํ ากลับมาเสนอขอความเห็นชอบจาก กพช. มีการแก ้ไขร่างสญ อีก ทัง้ นีใ้ ห ้กระทรวงพลังงานและกฟผ. เปิ ดเผยข ้อมูลโครงการนีต ้ อ ่ สาธารณะชน ั ้ ื ้ อ 2. เห็นชอบให ้สญญาซอขายไฟฟ้ าโครงการไซยะบุรใี ชเงื ่ นไขการระงับข ้อพิพาทโดยวิธก ี าร ํ ํ อนุญาโตตุลาการของสถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักระงับข ้อพิพาท สานักงานศาลยุตธิ รรมประเทศไทย และดําเนินการที่ ้ กรุงเทพฯ โดยใชภาษาไทย และเมือ ่ กพช. ให ้ความเห็นชอบแล ้วให ้นํ าเสนอ ครม. พิจารณาอนุมัตต ิ อ ่ ไป ้ ้ ื 3. เห็นชอบให ้ใชเงินกองทุนนํ้ ามันเชอเพลิงในวงเงินประมาณ 5,000 ล ้านบาท ในการรักษาระดับ ราคาขายปลีกนัน ้ ดีเซลไม่ให ้เกิน 30 บาท/ลิตรเป็ นการชวั่ คราวประมาณ 2-3 เดือน โดยมอบหมายคณะกรรมการบริหาร นโยบายพลังงาน (กบง.) รับไปดําเนินการ และถ ้าหากราคานํ้ ามันตลาดโลกยังปรับตัวเพิม ่ ขึน ้ มากกว่าทีไ่ ด ้คาดการณ์ไว ้ และ เงินกองทุนนํ้ ามันฯ ในวงเงิน 5,000 ล ้านบาทไม่เพียงพอ ให ้กระทรวงการคลังและกรวงพลังงานร่วมกันพิจารณาหาแนว ทางการแก ้ไขปั ญหาเพิม ่ เติม และให ้นํ าเสนอคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติให ้การพิจารณาต่อไป 4. เห็นชอบแนวทางในการแก ้ไขปั ญหาก๊าซ LPG ด ้านการจัดหา โดยเพิม ่ แรงจูงใจให ้โรงกลั่นนํ้ ามัน ้ ื้ เพลิงให ้กับ นํ าก๊าซ LPG ทีจ ่ ําหน่ายให ้กับอุตสาหกรรมปิ โตรเคมี และใชในกระบวนการกลั่น (Own Used) มาจําหน่ายเป็ นเชอ ประชาชนและเพิม ่ การผลิตก๊าซ LPG ให ้มากขึน ้ กว่าปั จจุบน ั ดังนี้ หลักเกณฑ์การคํานวณราคาก๊าซ LPG ของโรงกลั่น LPGwt = (333xQ1) + (CPxQ2) (Q1 + Q2) โดยที่ LPGwt คือ ราคาก๊าซ LPG ณ โรงกลั่นของโรงกลั่น ($/Ton) ราคาเป็ นรายเดือน ั สว่ นระหว่าง CP คือ ราคาประกาศเปโตรมิน ณ ราสทานูรา ซาอุดอ ิ าระเบียเป็ นสด โพรเพนกับบิวเทน 60 ต่อ 40 ($/Ton) ราคาเป็ นรายเดือน Q1 คือ ปริมาณทีจ ่ ําหน่ายให ้กับภาคครัวเรือน/ขนสง่ /อุตสาหกรรม กําหนดให ้คงที่ 34,069 ตัน/เดือน Q2 คือ ปริมาณทีจ ่ ําหน่ายให ้กับปิ โตรเคมีและ Own Used กําหนดให ้คงที่ 107,977 ตัน/เดือน หล ักเกณฑ์การคํานวณอ ัตราเงินชดเชยราคาก๊าซ LPG ของโรงกลน ่ั X = (LPGwt – 333) x Ex 1,000 โดยที่ X คือ อัตราเงินชดเชยราคาก๊าซ LPG ของโรงกลั่น (บาท/กก.) Ex คือ อัตราแลกเปลีย ่ นถัวเฉลีย ่ ทีธ ่ นาคารพาณิชย์ขายให ้ลูกค ้าธนาคารทั่วไป ทีป ่ ระกาศโดย ้ ธนาคารแห่งประเทศไทย โดยใชค่าเฉลีย ่ ย ้อนหลังในเดือนทีผ ่ า่ นมา โดยมอบหมายให ้คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.) รับไปดําเนินการพิจารณาในรายละเอียด ึ ษาจัดเตรียมโครงสร ้างพืน ต่อไปและมอบหมายให ้กระทรวงพลังงานและปตท. รับไปดําเนินการศก ้ ฐานเพือ ่ รองรับการนํ าเข ้า ่ ่ LPG ในอนาคต เชน ท่าเรือ คลัง และระบบขนสง เป็ นต ้น
18 ่ มวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 13. เรือ ่ ง การดําเนินงานโครงการระบบขนสง คณะรัฐมนตรีรับทราบและอนุมัตต ิ ามทีก ่ ระทรวงคมนาคมเสนอ ดังนี้ 1. รับทราบความคืบหน ้าการดําเนินงาน ตลอดจนปั ญหา อุปสรรค และแนวทางการแก ้ไขปั ญหาของโครงการระบบ ่ ขนสงมวลชนทางราง 2. มอบหมายให ้กระทรวงคมนาคมเสนอสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (สคก.) เพือ ่ พิจารณาเรือ ่ งการ บริหารจัดการในฐานะหน่วยงานเจ ้าของโครงการตามพระราชบัญญัตวิ า่ ด ้วยการให ้เอกชนเข ้าร่วมงานหรือดําเนินการในกิจการ ิ -สะพานใหม่ และแบริง่ -สมุทรปราการ ให ้เกิดความชด ั เจน ของรัฐ พ.ศ. 2535 ของโครงการรถไฟฟ้ าสายสเี ขียว ชว่ งหมอชต เพือ ่ ดําเนินการต่อไป ึ ษาและออกแบบ 3. อนุมัตใิ ห ้ รฟม. โอนเปลีย ่ นแปลงงบประมาณประจําปี พ.ศ. 2552 ของโครงการศก โครงข่ายระบบรถไฟฟ้ าขนสง่ มวลชนสายวงแหวนรอบในตามแนวถนนรัชดาภิเษก จํานวน 400 ล ้านบาท สว่ นทีเ่ หลือจากค่าจ ้าง ี มพู ชว่ งแคราย-มีนบุร ี จํานวน 34.154 ล ้านบาท เพือ ้ ทีป ่ รึกษาฯ โครงการรถไฟฟ้ าสายสช ่ นํ าไปใชในการจั ดจ ้างทีป ่ รึกษาดําเนินงาน ่ ี ่ ชวงก่อนการก่อสร ้าง โครงการรถไฟฟ้ าสายสมว่ ง ชวงเตาปูน-ราษฎร์บรู ณะ จํานวน 140 ล ้านบาท และโครงการรถไฟฟ้ าสาย ี ม้ ชว่ งตลิง่ ชน ั -มีนบุรี จํานวน 210 ล ้านบาท สส สาระสําค ัญของเรือ ่ ง กระทรวงคมนาคม รายงานว่า โครงการระบบขนสง่ มวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ประกอบด ้วย โครงการทีค ่ ณะรัฐมนตรีอนุมัตแ ิ ล ้วและอยูร่ ะหว่างดําเนินการ และโครงการทีอ ่ ยูร่ ะหว่างจัดเตรียมโครงการเพือ ่ นํ าเสนอคณะรัฐมนตรีพจ ิ ารณา โดยสรุปสถานะโครงการต่าง ๆ ดังนี้ 1. โครงการทีค ่ ณะร ัฐมนตรีอนุม ัติแล้ว และอยูร่ ะหว่างดําเนินการ ่ ทางรถไฟ 1.1 โครงการทีเ่ ปิ ดให้บริการแล้ว จํานวน 1 โครงการ ได ้แก่ โครงการระบบรถไฟขนสง ื่ มท่าอากาศยานสุวรรณภูมแ ่ ผูโ้ ดยสารอากาศยานในเมือง (Airport Rail Link) ซงึ่ เปิ ดให ้บริการ เชอ ิ ละสถานีร ับสง เชงิ พาณิชย์เมือ ่ วันที่ 23 สงิ หาคม 2553 โดยเก็บค่าโดยสารในอัตราพิเศษ 15 บาทต่อเทีย ่ วสําหรับรถไฟฟ้ าธรรมดาสุวรรณภูม ิ ้ การเพิม (City Line) และ 100 บาทต่อเทีย ่ วสําหรับรถไฟฟ้ าด่วนสุวรรรรณภูม ิ (Express Line) พบว่า ปั จจุบน ั มีผู ้ใชบริ ่ ขึน ้ ถึง ้ ้ ระดับ 43,000 คนต่อวัน แบ่งเป็ นผู ้ใชบริการรถไฟฟ้ าธรรมดาสุวรรณภูม ิ 42,200 คนต่อวัน และผู ้ใชบริการรถไฟฟ้ าด่วนสุวรร รรณภูม ิ 800 คนต่อวัน ทําให ้จํานวนผู ้โดยสารเฉลีย ่ ในชว่ งวันจันทร์-ศุกร์ ตัง้ แต่เปิ ดให ้บริการเชงิ พาณิชย์จนถึงปั จจุบน ั เฉลีย ่ ่ ่ ึ ประมาณ 35,400 คนต่อวัน และ 27,900 คนต่อวันในชวงวันหยุด ซงเป็ นปริมาณผู ้โดยสารทีใ่ กล ้เคียงกับประมาณการ ทัง้ นี้ ั เปิ ดให ้บริการในเดือนมกราคม 2554 แล ้ว จะเก็บค่าโดยสาร เมือ ่ ระบบ Check-in สําหรับผู ้โดยสารสายการบินทีส ่ ถานีมักกะสน ในอัตราปกติ คือ รถไฟฟ้ าธรรมดาสุวรรณภูม ิ 15-45 บาทต่อเทีย ่ วตามระยะทาง และรถไฟฟ้ าด่วนสุวรรณภูม ิ 150 บาทต่อเทีย ่ ว ่ ึ ้ ซงคาดว่าจะทําให ้บริมาณผู ้โดยสารโดยเฉพาะผู ้ใชบริการรถไฟฟ้ าด่วนสุวรรณภูมเิ พิม ่ ขึน ้ ตามเป้ าหมายทีต ่ งั ้ ไว ้ โดยขณะนี้ กระทรวงคมนาคมได ้นํ าเสนอคณะรัฐมนตรีให ้ความเห็นชอบการจัดตัง้ บริษัทลูก เพือ ่ บริหารจัดการเดินรถ Airport Link แล ้ว 1.2 โครงการทีอ ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้างงานโยธาและประกวดราคา จํานวน 4 โครงการ ดังนี้ ั อยูร่ ะหว่างการก่อสร ้างงาน ี ดง ชว ่ งบางซอ ื่ -ตลิง่ ชน 1) โครงการรถไฟชานเมืองสายสแ ้ าแผนร ้อยละ 8.68) (สน ิ้ เดือนกันยายน 2553) คาดว่าเปิ ดให ้บริการ พ.ศ. 2558 โยธา คืบหน ้าร ้อยละ 36.00 (ชากว่ ี ดง ชว ่ งบางซอ ื่ -ร ังสต ิ อยูร่ ะหว่างการประกวดราคา โดย 2) โครงการรถไฟชานเมืองสายสแ มีกําหนดยืน ่ ข ้อเสนอในเดือนธันวาคม 2553 คาดว่าเปิ ดให ้บริการ พ.ศ. 2558 ี ว่ ง ชว ่ งบางใหญ่-บางซอ ื่ อยูร่ ะหว่างการก่อสร ้างงานโยธา 3) โครงการรถไฟฟ้าสายสม ิ้ เดือนกันยายน 2553) และ รฟม. ได ้แต่งตัง้ คณะกรรมการคัดเลือกเอกชนลงทุน คืบหน ้าร ้อยละ 7.31 (แผนร ้อยละ 7.93) (สน ี ว่ ง ชว่ งบางใหญ่-บางซอ ื่ ตามมาตรา 13 แห่ง พ.ร.บ. งานระบบรถไฟฟ้ าและรับจ ้างดําเนินกิจการโครงการรถไฟฟ้ าสายสม ิ ว่าด ้วยการให ้เอกชนเข ้าร่วมงานหรือดําเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 ขณะนีอ ้ ยูร่ ะหว่างพิจารณาจัดทําร่างประกาศเชญ ชวนและขอบเขตการดําเนินงาน คาดว่าเปิ ดให ้บริการ พ.ศ. 2559 ี ํา้ เงิน ชว ่ งบางซอ ื่ -ท่าพระ และชว ่ งห ัวลําโพง-บางแค อยู่ 4) โครงการรถไฟฟ้าสายสน ระหว่างการคัดเลือกผู ้รับจ ้างงานโยธา ซงึ่ คณะกรรมการ รฟม. ในคราวประชุมเมือ ่ วันที่ 10 กันยายน 2553 มีมติอนุมัตใิ ห ้ รฟ ั ม. ว่าจ ้างผู ้รับจ ้างสญญาที่ 1-5 วงเงินรวม 51,747.62 ล ้านบาท โดยได ้นํ าเสนอคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 28 กันยายน 2553 มี ั มติรับทราบผลการประกวดราคางานโยธา สญญาที่ 1-5 และให ้กระทรวงคมนาคมพิจารณาดําเนินการตรวจสอบและกํากับ ติดตามการดําเนินโครงการฯ ให ้เป็ นไปอย่างถูกต ้อง ตามข ้อกฏหมาย ระเบียบหลักเกณฑ์ และมติคณะรัฐมนตรีทเี่ กีย ่ วข ้อง
19 ต่อไป ทัง้ นี้ คณะรัฐมนตรีมข ี ้อสงั เกตว่า ปั จจุบน ั ค่าเงินบาท ได ้มีอต ั ราทีแ ่ ข็งขึน ้ กว่าชว่ งเวลาทีค ่ ณะรัฐมนตรีได ้มีมติอนุมัตก ิ รอบ วงเงินโครงการฯ ไว ้เมือ ่ เดือนพฤศจิกายน 2552 กระทรวงคมนาคมจึงควรรับไปพิจารณาความเป็ นไปได ้ในการเจรจาต่อรองกับ ั ญาให ้สะท ้อนกับค่าเงินบาทในปั จจุบน ผู ้ประกอบการในขัน ้ การจัดทําสญ ั ด ้วย สําหรับงานคัดเลือกผู ้รับจ ้างงานระบบรถไฟฟ้ า ึ ษารูปแบบการลงทุนและการเดินรถในลักษณะ PPP-Gross Cost กระทรวงคมนาคมได ้นํ าเสนอ สศช. พิจารณารายงานการศก ตามขัน ้ ตอนของ พ.ร.บ. ว่าด ้วยการให ้เอกชนเข ้าร่วมงานฯ พ.ศ. 2535 คาดว่าเปิ ดให ้บริการ พ.ศ. 2559 1.3 โครงการทีเ่ ตรียมเปิ ดการประกวดราคา รวม 2 โครงการ ประกอบด ้วย ่ งแบริง่ -สมุทรปราการ อยูร่ ะหว่างเตรียมการประกวดราคา 1) โครงการรถไฟฟ้าสายสเี ขียว ชว งานโยธา โดย รฟม. อยูร่ ะหว่างดําเนินการสํารวจอสงั หาริมทรัพย์ตามพระราชกฤษฎีกาเวนคืนทีด ่ น ิ สําหรับงานคัดเลือกผู ้รับ ึ ษารูปแบบการลงทุนและการเดินรถใน จ ้างงานระบบรถไฟฟ้ า กระทรวงคมนาคมเตรียมนํ าเสนอ สศช. พิจารณารายงานศก ลักษณะ PPP-Gross Cost ตามขัน ้ ตอนว่าด ้วยการให ้เอกชนเข ้าร่วมงานฯ พ.ศ. 2535 คาดว่าเปิ ดให ้บริการ พ.ศ. 2558 ่ งหมอชต ิ -สะพานใหม่ อยูร่ ะหว่างเตรียมการประกวดราคา 2) โครงการรถไฟฟ้าสายสเี ขียว ชว ึ ษารูปแบบการลงทุน สําหรับงานคัดเลือกผู ้รับจ ้างงานระบบรถไฟฟ้ า กระทรวงคมนาคมเตรียมนํ าเสนอ สศช. พิจารณารายงานศก และการเดินรถในลักษณะ PPP-Gross Cost ตามขัน ้ ตอนของ พ.ร.บ. ว่าด ้วยการให ้เอกชนเข ้าร่วมงานฯ พ.ศ. 2535 คาดว่าเปิ ด ให ้บริการ พ.ศ. 2558 2. โครงการทีอ ่ ยูร่ ะหว่างจ ัดเตรียมโครงการเพือ ่ นําเสนอคณะร ัฐมนตรีพจ ิ ารณา เพือ ่ ดําเนินการเตรียมความพร ้อมของโครงการฯ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 9 มีนาคม 2553 ทีเ่ ห็นชอบแผน ่ แม่บทระบบขนสงมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยกําหนดให ้หน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข ้องรับไปดําเนินการใน ระยะ 10 ปี แรก (เปิ ดให ้บริการภายในปี พ.ศ. 2562) ประกอบด ้วยโครงการทีต ่ ้องเร่งจัดเตรียม รวม 7 โครงการ ดังนี้ ี ่ ิ ิ อยูร่ ะหว่าง 1) โครงการรถไฟชานเมืองสายส แดง ชวงรั งสต -มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รั งสต สํานั กงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล ้อม (สผ.) พิจารณารายงานผลกระทบสงิ่ แวดล ้อม (EIA) คาดว่า เปิ ดให ้บริการ พ.ศ. 2558 ี ดง ชว่ งบางซอ ื่ -พญาไท-มักกะสน ั ออกแบบรายละเอียดแล ้วเสร็จ อยู่ 2) โครงการรถไฟชานเมืองสายสแ ระหว่างปรับปรุงรายงาน EIA ตามข ้อเสนอของ สผ. คาดว่าเปิ ดให ้บริการ พ.ศ. 2559 ื่ มท่าอากาศยานสุวรรณภูม-ิ ท่าอากาศยานกรุงเทพ (Airport Rail Link 3) โครงการระบบรถไฟเชอ ื่ -ดอนเมือง ออกแบบรายละเอียดแล ้วเสร็จ สนข. อยูร่ ะหว่างปรับปรุงรายงาน EIA ตาม สว่ นต่อขยาย) ชว่ งพญาไท-บางซอ ข ้อเสนอของ สผ. 4) โครงการรถไฟฟ้ าสายสเี ขียวชว่ งสะพานใหม่-คูคต ออกแบบรายละเอียดแล ้วเสร็ จอยูร่ ะหว่าง สผ. พิจารณารายงาน EIA ก่อนนํ าเสนอคณะรัฐมนตรีพจ ิ ารณาอนุมัตก ิ อ ่ สร ้างโครงการต่อไป ี ่ ึ ษาความเหมาะสมและออกแบบเบือ 5) โครงการรถไฟฟ้ าสายสชมพู ชวงแคราย-มีนบุร ี ศก ้ งต ้นแล ้ว ํ ึ ษา เสร็จ โดยสานักงบประมาณได ้อนุมัตใิ ห ้ รฟม. โอนเปลีย ่ นแปลงงบประมาณรายจ่ายประจําปี พ.ศ. 2552 ของโครงการศก ้ นค่าจ ้างที่ และออกแบบฯ โครงข่ายระบบรถไฟฟ้ าสายวงแหวนรอบในตามแนวถนนรัชดาภิเษก จํานวน 400 ล ้านบาท เพือ ่ ใชเป็ ี มพูฯ จํานวน 34.154 ล ้านบาท ปรึกษาฯ โครงการรถไฟฟ้ าสายสช ี ว่ ง ชว่ งเตาปูน-ราษฎร์บรู ณะ แบ่งแผนดําเนินงานเป็ น 3 ระยะ ได ้แก่ ระยะที่ 6) โครงการรถไฟฟ้ าสายสม ้ 1 ชว่ งเตาปูน-อาคารรัฐสภาแห่งใหม่ (1.5 กิโลเมตร) โดย รฟม. ได ้วางแผนก่อสร ้างให ้แล ้วเสร็จพร ้อมกับการเปิ ดใชอาคาร รัฐสภาแห่งใหม่ในปี พ.ศ. 2557 ระยะที่ 2 ชว่ งอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ - วังบูรพา เพือ ่ ความคุ ้มค่าและประโยชน์สงู สุด ในการ ่ ่ ื ี ่ เชอมต่อกับรถไฟฟ้ าสายสนํ้าเงิน ชวงหัวลําโพง-บางแค ระยะที่ 3 ชวงวังบูรพา-ราษฎร์บรู ณะ โดยคณะกรรมการ รฟม. ในคราวประชุมเมือ ่ วันที่ 30 กรกฎาคม 2553 มีมติเห็นชอบในหลักการกรอบ ่ วงเงินค่าจ ้างทีป ่ รึกษา เพือ ่ ดําเนินงานชวงก่อนการก่อสร ้างโครงการฯ จํานวน 140 ล ้านบาท (ทบทวนความเหมาะสม ออกแบบรายละเอียด (Detailed Design) ในสว่ นโครงสร ้างยกระดับ และออกแบบกรอบรายละเอียด (Definitive Design) ในสว่ นโครงสร ้างใต ้ดิน จัดทําเอกสารประกวดราคา และดําเนินงานตาม พ.ร.บ. ว่าด ้วยการให ้เอกชนเข ้าร่วมงานฯ พ.ศ. 2535) ี ม้ ชว่ งตลิง่ ชน ั -ศูนย์วัฒนธรรม-มีนบุร ี แบ่งแผนดําเนินงานเป็ น 3 ระยะ 7) โครงการรถไฟฟ้ าสายสส ั -ศูนย์วัฒนธรรม ได ้แก่ ระยะที่ 1 ชว่ งศูนย์วัฒนธรรม-บางกะปิ ระยะที่ 2 ชว่ งบางกะปิ - มีนบุรี ระยะที่ 3 ชว่ งตลิง่ ชน
20 โดยคณะกรรมการ รฟม. ในคราวประชุมเมือ ่ วันที่ 30 กรกฎาคม 2553 มีมติเห็นชอบในหลักการกรอบ ่ ึ ษา/ทบทวนความเหมาะสม วงเงินค่าจ ้างทีป ่ รึกษา เพือ ่ ดําเนินงานชวงก่อนการก่อสร ้างโครงการฯ จํานวน 210 ล ้านบาท (ศก ออกแบบรายละเอียด (Detailed Design) สําหรับโครงสร ้างยกระดับ และออกแบบกรอบรายละเอียด (Definitive Design) สําหรับโครงสร ้างใต ้ดิน จัดทําเอกสารประกวดราคา และดําเนินงานตาม พ.ร.บ. ว่าด ้วยการให ้เอกชนเข ้าร่วมงานฯ พ.ศ. 2535) 3. ปัญ หาอุป สรรคและแนวทางการแก้ไ ข ่ งหมอชต ิ -สะพานใหม่ 3.1 โครงการรถไฟฟ้าสายสเี ขียว ชว 1) การปรับแบบเพือ ่ เป็ นสถานีรว่ มระหว่างสถานีวัดพระศรีมหาธาตุของโครงการรถไฟฟ้ าสายสเี ขียว ิ -สะพานใหม่ กับสถานีอนุสาวรียพ ี มพู ชว่ งหมอชต ์ ท ิ ักษ์ รัฐธรรมนูญของโครงการรถไฟฟ้ าสายสช ชว่ งแคราย-ปากเกร็ด-มีนบุรี สํานักงานนโยบายและแผนการขนสง่ และจราจร (สนข.) และ รฟม. ได ้ร่วมกันพิจารณาแก ้ไขปั ญหาการ ้ น ้ น ใชพื ้ ทีส ่ ํานักงานเขตบางเขนเพือ ่ ก่อสร ้างโครงการ เนือ ่ งจาก กรุงเทพมหานคร (กทม.) ได ้แจ ้ง รฟม. ว่าไม่อนุญาตให ้ใชพื ้ ที่ ี จึงได ้พิจารณาปรับปรุงการออกแบบสถานีวัดพระศรีมหาธาตุของโครงการรถไฟฟ้ าสายสเขียวฯ กับสถานีอนุสาวรียพ ์ ท ิ ักษ์ ี รัฐธรรมนูญของโครงการรถไฟฟ้ าสายสชมพูฯ ให ้เป็ นสถานีรว่ ม (Interchange Station) บริเวณอนุสาวรียพ ์ ท ิ ักษ์ รัฐธรรมนูญ เพือ ่ ให ้อํานวยความสะดวกในการเดินทางของประชาชนได ้ดียงิ่ ขึน ้ โดยได ้ดําเนินการปรับแบบสถานีร่วมดังกล่าวแล ้วเสร็ จ ขณะนี้อยู่ระหว่างการปรับปรุงรายงาน EIA เสนอ สผ. พิจารณาต่อไป 2) หน่วยงานเจ ้าของโครงการตาม พ.ร.บ. ว่าด ้วยการให ้เอกชนเข ้าร่วมงานฯ พ.ศ. 2535 มติคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 9 มีนาคม 2553 เห็นชอบในหลักการของการต่อขยายโครงการรถไฟฟ้ า ี ่ ิ ่ มบํารุง สายสเขียวเข ้ม จากชวงหมอชต-สะพานใหม่ ระยะทาง 11.4 กิโลเมตร เป็ น 18.4 กิโลเมตร และยกเลิกศูนย์ซอ ่ ม (Depot) บริเวณด ้านทิศใต ้ของสนามบินดอนเมือง ตามมติคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 27 พฤศจิกายน 2551 และให ้มีศน ู ย์ซอ บํารุงบริเวณตําบลคูคตแทน โดยมอบหมายให ้กระทรวงคมนาคม (รฟม.) ดําเนินการให ้สว่ นทีเ่ กีย ่ วข ้องต่อไป และเห็นชอบให ้ ี ้ แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการพิจารณาความเหมาะสมการบริหารจัดการโครงการรถไฟฟ้ าสายสสม และสายสเี ขียวสว่ นต่อขยาย โดยมี รองนายกรัฐมนตรี (นายสุเทพ เทือกสุบรรณ) เป็ นประธานอนุกรรมการ เพือ ่ พิจารณาแนวทางการบริหารจัดการ การเดินรถ ี ่ ิ โครงการรถไฟฟ้ าสายสเขียวสวนต่อขยายให ้เกิดประสทธิภาพเหมาะสม และเป็ นประโยชน์สงู สุด ในการให ้บริการต่อประชาชน โดยรวม ซงึ่ ในคราวประชุมคณะอนุกรรมการฯ ครัง้ ที่ 1/2553 เมือ ่ วันที่ 8 เมษายน 2553 มีมติมอบหมายให ้ สนข. ในฐานะฝ่ าย ี ในเรือ เลขานุการฯ รายงานความเห็นของทีป ่ ระชุม และจัดทําข ้อมูลเปรียบเทียบ ข ้อดีและข ้อเสย ่ งการดําเนินการตาม ข ้อเสนอของ กทม. เสนอประธานอนุกรรมการฯ ทราบ เพือ ่ ประกอบการพิจารณาเสนอ คจร. ต่อไป โดยทีป ่ ระชุมได ้พิจารณา ่ ึ ในประเด็นเรือ ่ งความเป็ นหน่วยงานเจ ้าของโครงการตามข ้อเสนอของ กทม. ซงต ้องดําเนินการตามพระราชบัญญัตวิ า่ ด ้วยการ ั เจน โดยมีประเด็นพิจารณา ดังนี้ ให ้เอกชนเข ้าร่วมงานฯ ทีม ่ รี ายละเอียดกําหนดไว ้ชด ิ ธิการบริหารจัดการในฐานะเจ ้าของโครงการ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมือ 1) กทม. อ ้างสท ่ วันที่ 7 ี ่ ่ ิ กันยายน 2547 ทีเ่ ห็นชอบให ้ กทม. รับผิดชอบโครงการรถไฟฟ้ าสายสเขียวสวนต่อขยาย ชวงหมอชต-สะพานใหม่ และชว่ ง อ่อนนุช-สําโรง 2) ในขณะที่ รฟม. ได ้ดําเนินการตามมาตรา 6 ของพระราชบัญญัตวิ า่ ด ้วยการให ้เอกชนเข ้า ึ ษาและวิเคราะห์ ร่วมงานหรือดําเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 ซงึ่ กําหนดให ้หน่วยงานเจ ้าของโครงการเสนอผลการศก โครงการฯ ซงึ่ เป็ นการดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีทเี่ กีย ่ วข ้อง ดังนี้ มติคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 7 พฤศจิกายน 2549 เห็นชอบในหลักการให ้เอกชนเป็ นผู ้ลงทุน ั ระบบรถไฟฟ้ า อาณั ตส ิ ญญาณ ระบบตัวรถ และให ้บริการ ทัง้ นี้ ให ้ดําเนินการตามขัน ้ ตอนของพ.ร.บ. ว่าด ้วยการให ้เอกชนเข ้า ร่วมงานฯ พ.ศ. 2535 อย่างเคร่งครัด และให ้รัฐบาลเป็ นผู ้ลงทุนโครงสร ้างพืน ้ ฐานโครงการระบบขนสง่ มวลชน ิ -สะพานใหม่ โดยให ้กระทรวงคมนาคมเป็ น กรุงเทพมหานคร (สายสเี ขียว) ชว่ งแบริง่ -สําโรง-สมุทรปราการ และชว่ งหมอชต ึ ษาออกแบบรายละเอียด และจัดทําเอกสารประกวดราคา สําหรับเตรียมการก่อสร ้างต่อไป หน่วยงานประสานเพือ ่ ดําเนินการศก มติคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 18 มีนาคม 2551 รับทราบมติคณะกรรมการพัฒนาระบบขนสง่ ทางรางและระบบขนสง่ มวลชน ครัง้ ที่ 1/2551 เมือ ่ วันที่ 12 มีนาคม 2551 ซงึ่ มีมติมอบหมายให ้ รฟม. เป็ นหน่วยงาน รับผิดชอบดําเนินการก่อสร ้างโครงการรถไฟฟ้ าสายสเี ขียวทัง้ สองชว่ งดังกล่าว
21 1) มติคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 27 พฤศจิกายน 2551 อนุมัตใิ ห ้ รฟม. ี ่ ิ ดําเนินการก่อสร ้างโครงการรถไฟฟ้ าสายสเขียว ชวงหมอชต-สะพานใหม่ และชว่ งแบริง่ -สมุทรปราการ กรอบวงเงินรวม ประมาณ 40,322 ล ้านบาท ึ ษาและวิเคราะห์โครงการตาม 2) รฟม. อยูร่ ะหว่างนํ าเสนอรายงานการศก ิ -สะพานใหม่ และชว่ งแบริง่ พ.ร.บ. ว่าด ้วยการให ้เอกชนเข ้าร่วมงานฯ พ.ศ. 2535 โครงการรถไฟฟ้ าสายสเี ขียว ชว่ งหมอชต สมุทรปราการ เพือ ่ เสนอกระทรวงคมนาคมพิจารณานํ าเสนอสศช. ตามขัน ้ ตอนต่อไป ั เจนในเรือ ดังนัน ้ เพือ ่ ให ้เกิดความรอบคอบและชด ่ งหน่วยงานเจ ้าของ ํ โครงการตาม พ.ร.บ. ว่าด ้วยการให ้เอกชนเข ้าร่วมงานฯ พ.ศ. 2535 จึงเห็นสมควรเสนอสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเพือ ่ ั พิจารณาเรือ ่ งหน่วยงานเจ ้าของโครงการให ้เกิดความชดเจนในการดําเนินการต่อไป 14. เรือ ่ ง ปัญหาขาดแคลนผลปาล์มนํา้ ม ันและนํา้ ม ันปาล์มดิบ คณะรัฐมนตรีรับทราบการแก ้ไขปั ญหาขาดแคลนผลปาล์มนํ้ ามันและนํ้ ามันปาล์มดิบของ คณะกรรมการนโยบายปาล์มนํ้ ามันแห่งชาติ ตามทีร่ องนายกรัฐมนตรี (นายสุเทพ เทือกสุบรรณ) ประธาน คณะกรรมการนโยบายปาล์มนํ้ ามันแห่งชาติ เสนอ สาระสําค ัญของเรือ ่ ง 1. สถานการณ์ปาล์มนํา้ ม ันและนํา้ ม ันปาล์มปี 2553 และแนวโน้ม ปี 2554 1) ด ้านการผลิตและการใช ้ ผลผลิตปาล์มนํ้ ามันในชว่ งเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2553 ลดลงจากชว่ งเวลาเดียวกันของปี ิ้ เดือนธันวาคม 2553 2552 ร ้อยละ 14 ในขณะทีค ่ วามต ้องการใชช้ ว่ งเวลาดียวกันเพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 7.00 สง่ ผลให ้สต็อก ณ สน ลดลงเหลือ 80,065 ตันนํ้ ามันปาล์มดิบ หรือลดลงร ้อยละ 42 เดือนมกราคม 2554 คาดว่าผลผลิตปาล์มนํ้ ามันจะมีปริมาณ 646,632 ตันทะลาย หรือ ิ้ เดือนธันวาคม 2553 จะมีผลผลิตนํ้ ามันปาล์มดิบรวมทัง้ สน ิ้ เทียบเท่ากับ 109,927 ตันนํ้ ามันปาล์มดิบ เมือ ่ รวมกับสต็อก ณ สน ้ มาณ 111,000 ตันนํ้ ามันปาล์มดิบ (ใชเป็ ้ นนํ้ ามันบริโภคภายในปริมาณ 76,000 189,993 ตัน เมือ ่ เทียบกับความต ้องการใชปริ ิ้ เดือนมกราคม 2554 ปริมาณ 78,993 ตันนํ้ ามัน ตัน ผลิตไบโอดีเซลปริมาณ 35,000 ตัน) คาดว่าจะมีสต็อกคงเหลือ ณ สน ปาล์มดิบ มีปริมาณสต็อก ตํา่ กว่าระดับปกติ 120,000 ตันต่อเดือน ปริมาณ 41,007 ตันนํ้ ามันปาล์มดิบ 2) ราคาผลปาล์มและนํ้ ามันปาล์ม (1) ราคาผลปาล์มสดทีเ่ กษตรกรขายได ้เพิม ่ ขึน ้ จากกิโลกรัมละ 5.17 บาท ในเดือนตุลาคม 2553 เป็ นกิโลกรัมละ 6.68 บาท ในเดือนธันวาคม 2553 (2) ราคานํ้ ามันปาล์มดิบขายสง่ ในตลาดกรุงเทพฯ เพิม ่ ขึน ้ จากกิโลกรัมละ 31.01 บาท ใน เดือนตุลาคม 2553 เป็ นกิโลกรัมละ 42.13 บาท ในเดือนธันวาคม 2553 (3) ราคานํ้ ามันปาล์มดิบในต่างประเทศเพิม ่ ขึน ้ จากกิโลกรัมละ 28.49 บาท ในเดือนตุลาคม 2553 เป็ นกิโลกรัมละ 35.22 บาท ในเดือนธันวาคม 2553 2. ปัญหา 1) โรงงานกลั่นนํ้ ามันปาล์มบริสท ุ ธิข ์ าดแคลนนํ้ ามันปาล์มดิบในการผลิต สง่ ผลให ้ผู ้ประกอบการ ี หายต่อ อุตสาหกรรมทีใ่ ชนํ้ ้ ามันปาล์มเป็ นวัตถุดบ ิ ได ้รับความเดือดร ้อน และอาจต ้องหยุดการผลิตชวั่ คราว ซงึ่ จะสร ้างความเสย ่ การลดการจ ้างงาน การขาดแคลนสน ิ ค ้าบริโภคและอุปโภค และการสง่ ออกเป็ นต ้น เศรษฐกิจโดยรวม เชน 2) ราคาจําหน่ายนํ้ ามันปาล์มบริสท ุ ธิบ ์ รรจุขวดทีไ่ ม่สอดคล ้องกับต ้นทุนการผลิตนํ้ ามันปาล์ม ่ บริสท ุ ธิส ์ งผลให ้ผู ้ประกอบการโรงงานกลั่นนํ้ ามันปาล์มบริสท ุ ธิข ์ าดทุน 3 การแก้ไขปัญหาขาดแคลนผลปาล์มนํา้ ม ันและนํา้ ม ันปาล์มดิบ คณะกรรมการนโยบายปาล์มนํ้ ามันแห่งชาติ ได ้มีการประชุมครัง้ ที่ 1/2554 (ครัง้ ที่ 6) เมือ ่ วันที่ 6 มกราคม 2554 มีมติแก ้ไขปั ญหาขาดแคลนผลปาล์มนํ้ ามันและนํ้ ามันปาล์มดิบ ดังนี้ 1) ให ้ความเห็นชอบนํ าเข ้านํ้ ามันปาล์มดิบแยกไข (Crude Palm Olein) ปริมาณ 30,000 ตัน โดย นํ าเข ้าให ้เสร็จภายในวันที่ 31 มกราคม 2554 ิ ค ้าเป็ นผู ้นํ าเข ้าและจัดสรรให ้สมาชก ิ สมาคมโรงกลั่นนํ้ ามันปาล์ม 2) ให ้องค์การคลังสน
22 3) ให ้ฝ่ ายเลขานุการแจ ้งมติ ข ้อ 1 และ ข ้อ 2 ให ้กระทรวงพาณิชย์เพือ ่ ดําเนินการต่อไป และ นํ าเสนอ คณะรัฐมนตรีเพือ ่ ทราบ 15. เรือ ่ ง สถานการณ์และราคาจําหน่ายนํา้ ม ันพืชปาล์ม คณะรัฐมนตรีรับทราบตามทีก ่ ระทรวงพาณิชย์รายงานสถานการณ์การผลิตผลปาล์ม ปริมาณสต็อคนํ้ ามันปาล์ม ดิบและราคาจําหน่ายนํ้ ามันพืชปาล์ม พบว่า ในชว่ งปลายปี 2553 มีปัญหาทัง้ ด ้านปริมาณและราคา ซงึ่ กระทรวงพาณิชย์ได ้ ดําเนินการแก ้ไขปั ญหาดังกล่าวแล ้ว ดังนี้ 1. สถานการณ์และราคานํา้ ม ันพืชปาล์ม 1.1 ราคาว ัตถุดบ ิ ได ้แก่ ผลปาล์มดิบและนํ้ ามันปาล์มดิบมีปริมาณลดลง และราคาโน ้มสูงขึน ้ ตัง้ แต่เดือน ิ สงหาคม 2553 จาก กก. ละ 5.10 บาท และ 27.49 บาท เป็ น กก. ละ 7.60 บาท และ 47.35 บาท ในเดือนธันวาคม 2553 เนือ ่ งจากเป็ นชว่ งปลายฤดูการผลิต ประกอบกับเกิดภาวะภัยแล ้งในชว่ งต ้นปี 2553 และนํ้ าท่วมในชว่ งปลายปี ทําให ้ผลผลิต ้ ้ ปาล์มลดลง ในขณะทีค ่ วามต ้องการใชในภาคการบริ โภค ภาคอุตสาหกรรมต่างๆ รวมทัง้ การใชในภาคพลั งงานทดแทน ่ เพิม ่ สูงขึน ้ สงผลให ้ สต็อคคงเหลือนํ้ ามันปาล์มดิบของเดือนธันวาคม 2553 ลดลงอยูท ่ ป ี่ ระมาณ 80,000 ตัน จากปกติ ทีค ่ วร อยูใ่ นระดับ 120,000-150,000 ตัน 1.2 ราคาจําหน่ายนํา้ ม ันพืชปาล์ม กระทรวงพาณิชย์ ได ้กําหนดราคาจําหน่ายปลีกแนะนํ านํ้ ามันพืชปาล์มไว ้ที่ ขวดลิตรละ 38.00 บาท ตัง้ แต่เดือนพฤศจิกายน 2551 โดยวิเคราะห์จากราคาผลปาล์มที่ กก. ละ 3.50 บาท และนํ้ ามันปาล์มดิบที่ กก. ละ 22.50 บาท แต่จากการทีร่ าคาวัตถุดบ ิ ในปั จจุบน ั สูงขึน ้ ดังกล่าวข ้างต ้น ทําให ้ผู ้ประกอบการไม่สามารถจําหน่ายนํ้ ามันพืชปาล์มได ้ใน ราคาทีก ่ ําหนดขวดลิตรละ 38.00 บาท 2. การแก้ไขปัญหา ิ ผู ้เกีย 2.1 กระทรวงพาณิชย์ ได ้เชญ ่ วข ้องทัง้ ภาครัฐและเอกชนหารือสถานการณ์ ปาล์มนํ้ ามันและแนว ทางการแก ้ไขปั ญหาด ้านปริมาณและราคา เมือ ่ วันที่ 16 ธันวาคม 2553 โดยทีป ่ ระชุมได ้มีมติให ้เสนอคณะกรรมการนโยบายปาล์ม ิ นํ้ ามันแห่งชาติพจ ิ ารณาให ้องค์การคลังสนค ้า (อคส.) เป็ นผู ้นํ าเข ้านํ้ ามันปาล์มดิบใส (Crude Palm Olein) ปริมาณ 30,000ี น (AFTA) และจัดสรรให ้สมาชก ิ สมาคมโรงกลั่นนํ้ ามันปาล์มตาม 50,000 ตัน ภายใต ้กรอบความตกลงเขตการค ้าเสรีอาเซย ั สว่ นการรับซอ ื้ ผลผลิตนํ้ ามันปาล์มดิบในประเทศ ปี 2553 โดยจะต ้องนํ าเข ้าให ้เสร็จสน ิ้ ภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 เพือ สด ่ มิให ้ ่ สงผลกระทบต่อราคาผลปาล์มในประเทศทัง้ ระบบ และให ้มีการประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาราคานํ้ ามันพืชบริโภค เพือ ่ ้ ิ กําหนดราคาจําหน่ ายทีเ่ หมาะสมและเป็ นธรรมกับทุกฝ่ ายทีเ่ กีย ่ วข ้องหลังส น สุด ระยะเวลาการขอความร่วมมือตรึงราคา ิ สนค ้า (ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553) ในการนี้ คณะกรรมการนโยบายปาล์มนํ้ ามันแห่งชาติ ในคราวประชุมเมือ ่ วันพฤหัสบดีท ี่ 6 มกราคม 2554 ิ ค ้าเป็ นผู ้นํ าเข ้า และ เห็นชอบให ้นํ าเข ้านํ้ ามันปาล์มดิบใส (Crude Palm Olein) จํานวน 30,000 ตัน โดยให ้องค์การคลังสน ิ้ ภายในเดือนมกราคม 2554 ให ้นํ า เข ้าให ้เสร็จสน 2.2 ได ้มอบหมายให ้ กรมการค ้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ทําการตรวจสอบสต็อคนํ้ ามันปาล์ม พบว่า มี สต็อคนํ้ ามันพืชปาล์ม ทีผ ่ ลิตในชว่ งก่อนเดือนตุลาคม 2553 (เป็ นชว่ งทีร่ าคาวัตถุดบ ิ ยังอยูใ่ นระดับปกติ) จึงได ้แจ ้งให ้ ิ ผู ้ประกอบการนํ าสต็อคสนค ้าดังกล่าว ออกมาจําหน่าย ในราคาเดิมทีข ่ วดลิตรละ 38.00 บาท ซงึ่ ผู ้ประกอบการได ้นํ านํ้ ามัน พืชปาล์มออกจําหน่ายผ่านห ้างธุรกิจค ้าสง่ ค ้าปลีกขนาดใหญ่ ตลาดสดดีเด่น 5 แห่ง และทีก ่ ระทรวงพาณิชย์ ปริมาณประมาณ 2,000,000 ขวด (1 ลิตร) เพือ ่ เป็ นการบรรเทาความเดือดร ้อนให ้กับประชาชนผู ้บริโภคทั่วประเทศในชว่ งเทศกาลปี ใหม่ทม ี่ ี ้ ความต ้องการใชมาก 2.3 ได ้จัดประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาราคานํ้ ามันพืชบริโภค เมือ ่ วันศุกร์ท ี่ 7 มกราคม 2554 เพือ ่ ่ ึ พิจารณากําหนดราคาจําหน่ายนํ้ ามันพืชปาล์มทีเ่ หมาะสม ซงทีป ่ ระชุมได ้พิจารณาเห็นว่าสถานการณ์ปัจจุบน ั เป็ นสถานการณ์ท ี่ ้ ่ ่ ่ ึ ่ งทางนีม ผิดปกติทัง้ ในด ้านปริมาณและราคา โดยวัตถุดบ ิ นํ้ ามันปาล์มดิบถูกนํ าไปใชในสวนของพลังงานทดแทนบางสวน ซงชอ ้ ก ี องทุน ้ ื ่ ้ นํ้ ามันเชอเพลิง ดูแลและให ้การอุดหนุนอยู่ สวนในด ้านของการนํ ามาใชเพือ ่ การบริโภคและอุตสาหกรรมอืน ่ ไม่มก ี องทุน ให ้การ สนับสนุน ทําให ้ผู ้ประกอบการต ้องรับภาระเองทัง้ หมด ดังนัน ้ การแก ้ไขปั ญหาในครัง้ นี้จําเป็ นต ้องดําเนินการโดยเร่งด่วน ซงึ่ ที่ ั ้ และระยะยาว ดังนี้ ประชุมได ้พิจารณากําหนดราคาจําหน่ายทีเ่ หมาะสม พร ้อมมีข ้อสงั เกตและข ้อเสนอแนะในการแก ้ไขปั ญหา ทัง้ ในระยะสน
23 ั้ 2.3.1 การแก้ไขปัญหาระยะสน ้ (1) กําหนดราคาจําหน่ายนํา้ ม ันพืชปาล์มทีข ่ วดลิตรละ 47.00 บาท โดยใชราคานํ ้ ามัน ี ้ ปาล์มกึง่ บริสท ุ ธิต ์ ลาดมาเลเซย ทีจ ่ ะมีการนํ าเข ้ามาเป็ นฐานในการคํานวณทีป ่ ระมาณ กก.ละ 36.51 บาท รวมค่าใชจ่ายใน การนํ าเข ้า กก.ละ 1.50 บาท โดยให ้มีผลตัง้ แต่วันที่ 8 มกราคม 2554 เป็ นต ้นไป อย่างไรก็ตาม ราคานํ้ ามันปาล์มใน ตลาดโลกยังคงมีความผันผวนและอยูใ่ นระดับสูง โดยเมือ ่ วันที่ 6 มกราคม 2554 ราคาได ้สูงขึน ้ เป็ นกก.ละ 38.54 บาท ทําให ้ ่ ผู ้ประกอบการจึงยังคงต ้องรับภาระอยูอ ่ ก ี บางสวน ทัง้ นีค ้ าดว่าเมือ ่ มีการนํ าเข ้านํ้ ามันปาล์มดิบจํานวน 30,000 ตัน ดังกล่าวแล ้ว และ ่ ่ ในชวงเดือนมีนาคม 2554 ผลผลิตจะออก สูตลาดมากขึน ้ ราคานํ้ ามันปาล์มดิบในประเทศน่าจะอ่อนตัวลง ซงึ่ กระทรวงพาณิชย์จะพิจารณา ทบทวนการกําหนดราคาจําหน่ายนํ้ ามันพืชปาล์มอีกครัง้ ในเดือนมีนาคม 2554 (2) การจําหน่ายนํา้ ม ันพืชปาล์มในห้างค้าปลีก กระทรวงพาณิชย์เจรจากับห ้างค ้าสง่ ค ้า ปลีกขนาดใหญ่ พิจารณาลดค่าใชจ่้ ายในการกระจายนํ้ ามันพืชปาล์มเพือ ่ ให ้สามารถจําหน่ายในราคาไม่เกินขวดลิตรละ 47.00 บาท ในกรณีทม ี่ ก ี ารตรวจพบว่า มีการจําหน่ายเกินขวดลิตรละ 47.00 บาท ดําเนินการตามกฎหมายโดยเคร่งครัดต่อไป (3) เร่งร ัดการนําเข้าตามมติคณะกรรมการนโยบายปาล์มนํา้ ม ันแห่งชาติเร่งรัดให ้องค์การ ิ คลังสนค ้า (อคส.) นํ าเข ้านํ้ ามันปาล์มดิบใสตามมติของคณะกรรมการนโยบายปาล์มนํ้ ามันแห่งชาติจํานวน 30,000 ตัน ภายในเดือนมกราคม 2554 และจัดสรรให ้โรงสกัดโดยเร็ว เพือ ่ คลีค ่ ลายปั ญหาด ้านปริมาณและราคาในปั จจุบน ั ่ ั (4) กระทรวงพาณิชย์ ได้มค ี า ํ สงที่ 3/2554 ลงว ันที่ 7 มกราคม 2554 แต่งตัง้ คณะทํางานตรวจสอบปริมาณ (สต็อค) สถานทีจ ่ ัดเก็บ และกํากับดูแลการแก ้ไขปั ญหานํ้ ามันปาล์ม โดยให ้ พล.ต.ต. พูลทรัพย์ ั ประเสริฐศกดิ์ ผู ้บังคับการกองบังคับการปราบปราบการกระทําความผิดเกีย ่ วกับการคุ ้มครองผู ้บริโภค (ผบก.ปคบ.) เป็ นประธาน คณะทํางานฯ รองอธิบดีกรมการค ้าภายใน เป็ นรองประธาน ทําหน ้าทีป ่ ฏิบต ั งิ านออกตรวจสอบทั่วประเทศ เพือ ่ ป้ องปรามปั ญหา ิ การกักตุนและขายสนค ้าเกินราคา กรณีพบการกระทําความผิดดังกล่าวจะดําเนินการตามกฎหมายทันที 2.3.2 การแก้ไขปัญหาระยะยาว (1) การจ ัดตงกองทุ ั้ นร ักษาเสถียรภาพราคานํา้ ม ันพืชปาล์ม ทีป ่ ระชุมมีข ้อเสนอให ้ ่ ้ จัดตัง้ กองทุนเพือ ่ บริหารปาล์มนํ้ ามันและนํ้ ามันปาล์มทัง้ ระบบ เพือ ่ ให ้ราคานํ้ ามันพืชปาล์ม มีเสถียรภาพเชนเดียวกับการใชกองทุ น ้ ื ้ ื ่ ึ นํ้ ามันเชอเพลิง เป็ นกลไกในการรักษาระดับราคานํ้ ามันเชอเพลิง ซงจะได ้มีการหารือกับผู ้เกีย ่ วข ้องในแนวทางการจัดตัง้ กองทุน ึ ่ ปั จจุบน ฯ พร ้อมทัง้ ศกษาวิธป ี ฏิบต ั เิ พือ ่ ให ้สามารถบริหารจัดการได ้อย่างเป็ นระบบ มิให ้เกิดปั ญหาด ้านราคาดังเชน ั (2) การจ ัดระเบียบการค้าผลปาล์มเพือ ่ ให้เกิดความเป็นธรรมทางการค้า เห็ น ควรให ้ ้ ื กรมการค ้าภายใน กระทรวงพาณิช ย์ พิจ ารณาจั ด ระเบีย บผู ้รั บ ซ อ ผลปาล์ม (ลานเท) ซ งึ่ มีจํานวนมากรายทําให ้เกิดการ ื้ ผลปาล์มโดยให ้ราคาสูงขึน ้ แย่งซอ ้ รวมทัง้ มีพฤติกรรมในการใชสารเคมี (ฟอร์มาลีน) ในการทําให ้ผลปาล์มหลุดจากทะลาย ซงึ่ เป็ น ิ ค ้าและบริการ พ.ศ. 2542 ในการ สารทีม ่ อ ี น ั ตรายต่อผู ้บริโภค โดยอาจจําเป็ นต ้องใชอํ้ านาจตามพระราชบัญญัตวิ า่ ด ้วยราคาสน กําหนดระเบียบให ้ปฏิบต ั ิ เพื่อ สร ้างความเป็ นธรรมทางการค ้า และใช อํ้ า นาจพระราชบั ญ ญั ต ช ิ ั่ง ตวงวั ด พ.ศ.2542 เข ้มงวดในการตรวจสอบเครือ ่ งชงั่ ของลานเท ิ ค้า คงคล งั ให้อ ยู่ใ นระด บ (3) การบริห ารปริม าณส น ั ทีค ่ ล่อ งต ัว โดยกําหนดให ้มี ปริมาณในระดับที่ 150,000 ตัน (Buffer Stock) และให ้กระทรวงพาณิชย์เป็ นแกนในการติดตามสถานการณ์ ด ้านปริม าณและ ิ เพือ กํา หนดแนวทางในการรั ก ษาระดั บ ปริม าณนํ้ า มั น ปาล์ม ให ้มีเสถียรภาพอย่างใกล ้ชด ่ ป้ องกันปั ญหาการตึงตัวและราคาสูง ้ ้ ผิดปกติ เนือ ่ งจากสถานการณ์การผลิต และความต ้องการใชของประเทศได ้เปลีย ่ นแปลงไปจากทีเ่ คยใชเฉพาะการบริ โภค ้ อย่างเดียวมาใชในพลังงานทดแทนด ้วย และเห็นว่าระดับสต็อคทีเ่ หมาะสมควรเป็ น 120,000 - 150,000 ตัน ในกรณีท ี่ ปริมาณสต็อคนํ้ ามันปาล์มตํา่ กว่าระดับ 120,000 ตัน ถือว่าสต็อคตํา่ เข ้าขัน ้ วิกฤต (Critical Stock) จําเป็ นจะต ้องให ้มีการนํ าเข ้า นํ้ ามันปาล์มอย่างเร่งด่วน และเห็นควรบริหารให ้มีสต็อคปกติ (Buffer Stock) ทีร่ ะดับ 150,000 ตัน เพือ ่ ให ้เกิดความคล่องตัวใน ระบบการจําหน่ายนํ้ ามันพืชปาล์ม ในประเทศ ทัง้ ในด ้านการบริโภค ภาคอุตสาหกรรมและพลังงานทดแทน
24 ิ ค้าทีไ่ ด้ร ับสท ิ ธิพเิ ศษทางภาษีศล 16. เรือ ่ ง รายงานการนําเข้าสน ุ กากร (ประจําไตรมาสที่ 2 ของปี พ.ศ. 2553) ิ ิ ธิพเิ ศษทางภาษี ศล คณะรัฐมนตรีรับทราบรายงานการนํ าเข ้าสนค ้าทีไ่ ด ้รับสท ุ กากร (ประจําไตรมาสที่ 2 ของ ปี พ.ศ. 2553) ตามทีก ่ ระทรวงการคลังเสนอ สาระสําค ัญของเรือ ่ ง ิ ค ้าทีไ่ ด ้รับ กระทรวงการคลังรายงานว่า ในไตรมาสที่ 2 ปี พ.ศ. 2553 (เมษายน – มิถน ุ ายน) มีการนํ าเข ้าสน ิ ธิพเิ ศษทางภาษี ศล ิ ใหม่อาเซย ี น (ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สท ุ กากรจากประเทศสมาชก ิ ค ้าทีไ่ ด ้รับสท ิ ธิพเิ ศษรวม 191,017 บาท แยกเป็ นมูลค่าสน ิ ค ้าทีย และสหภาพพม่า) โดยมีมล ู ค่าสน ่ กเว ้นอากร 191,017 ิ บาท และไม่พบมูลค่าสนค ้าทีล ่ ดหย่อนอากร ทัง้ นี้ มีการนํ าเข ้ารวมลดลงจากการเปรียบเทียบกับไตรมาสที่ 1 ปี พ.ศ. 2553 จํานวน 11,450,322 บาท ้ ันธบ ัตรออมทร ัพย์ ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2549 ครงที 17. เรือ ่ ง รายงานผลการกูเ้ งินเพือ ่ ปร ับโครงสร้างหนีพ ั้ ่ 2 ที่ ครบกําหนดในว ันที่ 15 พฤศจิกายน 2553 คณะรัฐมนตรีรับทราบรายงานผลการกู ้เงินเพือ ่ ปรับโครงสร ้างหนีพ ้ ันธบัตรออมทรัพย์ ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2549 ครัง้ ที่ 2 ทีค ่ รบกําหนดในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2553 ตามทีก ่ ระทรวงการคลังเสนอ ํ สาระสาค ัญของเรือ ่ ง กระทรวงการคลังรายงานว่า เมือ ่ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2553 มีพันธบัตรออมทรัพย์ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2549 ครัง้ ที่ 2 ครบกําหนดไถ่ถอน จํานวน 2,000 ล ้านบาท ซงึ่ กระทรวงการคลังได ้ดําเนินการปรับโครงสร ้างหนี้ จํานวน ั ญาใชเงิ ้ น อายุ 5 ปี จํานวน 2,000 ล ้านบาท จากธนาคารกรุงเทพ จํากัด ดังกล่าวทัง้ จํานวน โดยกู ้เงินระยะยาวโดยตั๋วสญ (มหาชน) อัตราดอกเบีย ้ เท่ากับอัตราดอกเบีย ้ BIBOR ลบ Spread ร ้อยละ 0.02 ต่อปี ตามประกาศกระทรวงการคลัง เรือ ่ ง ั ้ การกู ้เงินเพือ ่ ปรับโครงสร ้างหนี้ โดยตั๋วสญญาใชเงิน ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 ครัง้ ที่ 1 ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2553 ํ ทัง้ นี้ สานั กเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได ้นํ าลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาฉบับประกาศและงานทั่วไป เล่มที่ 127 ตอนพิเศษ 132 ง เมือ ่ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2553 แล ้ว ิ ธิภาพทางหลวงหมายเลข 2090 และเรือ ี หายกรณี 18. เรือ ่ ง โครงการเพิม ่ ประสท ่ ง รายงานผลกระทบความเสย การต ัดไม้จากการดําเนินการก่อสร้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2090 (ถนนธนะร ัชต์) คณะรัฐมนตรีรับทราบผลการพิจารณาของคณะกรรมการตรวจสอบข ้อเท็จจริงกรณีการก่อสร ้างขยายทาง หลวงแผ่นดินหมายเลข 2090 ตอนแยกทางหลวงหมายเลข 2 ต่อเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ระหว่าง กม. ที่ 2+000 – กม. ่ ง จังหวัดนครราชสม ี า และผลกระทบจากการตัดต ้นไม ้บนไหล่ทาง เกีย 10+100 (ถนนธนะรัชต์) อําเภอปากชอ ่ วกับเรือ ่ ง ิ ี โครงการเพิม ่ ประสทธิภาพทางหลวงหมายเลข 2090 และเรือ ่ ง รายงานผลกระทบความเสยหายกรณีการตัดไม ้จากการ ดําเนินการก่อสร ้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2090 (ถนนธนะรัชต์) ตามทีป ่ ระธานกรรมการตรวจสอบข ้อเท็จจริงฯ (นาย ี ่ ิ วิเชยร กีรตินจ ิ กาล) ผู ้ทรงคุณวุฒใิ นคณะกรรมการสงแวดล ้อมแห่งชาติ เสนอ สาระสําค ัญของเรือ ่ ง ประธานกรรมการตรวจสอบข ้อเท็จจริง ฯ รายงานว่า 1. คณะกรรมการตรวจสอบข ้อเท็จจริงฯ ในการประชุมครัง้ ที่ 4/2553 เมือ ่ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2553 ได ้ พิจารณาเรือ ่ งดังกล่าว แล ้วเห็นว่า ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบข ้อเท็จจริงฯ ครัง้ ที่ 1/2553 เมือ ่ วันที่ 25 มิถน ุ ายน ิ 2553 ครัง้ ที่ 2/2553 เมือ ่ วันที่ 2 กรกฎาคม 2553 และครัง้ ที่ 3/2553 เมือ ่ วันที่ 26 สงหาคม 2553 คณะกรรมการตรวจสอบ ข ้อเท็จจริงได ้ดําเนินการตรวจสอบข ้อเท็จจริงจนได ้ข ้อมูลพียงพอทีจ ่ ะสรุปถึงผลกระทบจากการตัดต ้นไม ้บนไหล่ทางของกรม ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2090 ตอนแยกทางหลวงหมายเลข 2 ต่อเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ระหว่าง กม. ที่ 2 ถึง กม. ที่ 10 (ถนนธนะรัชต์) พร ้อมทัง้ ได ้จัดทําข ้อเสนอแนะในการฟื้ นฟูพน ื้ ทีด ่ ังกล่าวแล ้ว โดยในการพิจารณาตรวจสอบของ คณะกรรมการตรวจสอบข ้อเท็จจริงฯ ได ้ดําเนินการด ้วยความรอบคอบ โดยเฉพาะในประเด็นปั ญหาว่าตามมติคณะรัฐมนตรี ( 8 มิถน ุ ายน 2553) กระทรวงคมนาคม (กรมทางหลวง) ต ้องยุตก ิ ารดําเนินโครงการฯ ทัง้ หมดทันทีหรือไม่ นัน ้ คณะกรรมการ ื ตรวจสอบข ้อเท็จจริงฯ ได ้พิจารณาตรวจสอบแล ้วปรากฏข ้อเท็จจริงว่า กระทรวงคมนาคม ได ้มีหนังสอขอหารือมติ ื ตอบข ้อหารือเกีย คณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 8 มิถน ุ ายน 2553 มายัง สลค. ซงึ่ สลค.ได ้มีหนังสอ ่ วกับเรือ ่ งดังกล่าวไปยัง คค.
25 2. ผู ้แทนกรมทางหลวงได ้แจ ้งให ้คณะกรรมการตรวจสอบข ้อเท็จจริงฯ ทราบเพิม ่ เติมว่า ในปั จจุบน ั นีก ้ รมทาง หลวงได ้ดําเนินการก่อสร ้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2090 ตอนแยกทางหลวงหมายเลข 2 ต่อเขตอุทยานแห่งชาติเขา ่ งจราจร พร ้อมชอ ่ งทางรถจักรยานและไหล่ทาง ใหญ่ ในชว่ ง กม. 2 + 000-กม. 10+100 (ถนนธนะรัชต์) เป็ นถนน 4 ชอ ั ว์ป่าและพันธุพ ตามแผนฟื้ นฟูสภาพภูมท ิ ัศน์และระบบนิเวศทีไ่ ด ้พิจารณาร่วมกับกรมป่ าไม ้ กรมอุทยานแห่งชาติ สต ์ ช ื และ ี ่ ึ จังหวัดนครราชสมาตามมติคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 8 มิถน ุ ายน 2553 ซงได ้ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ ข ้อเท็จจริงฯ ในการประชุมครัง้ ที่ 3/2553 เมือ ่ วันที่ 26 สงิ หาคม 2553 เสร็จเรียบร ้อยแล ้ว และอยูใ่ นระหว่างดําเนินการปลูก ต ้นไม ้ตามแผนฟื้ นฟูตอ ่ ไป โดยในการดําเนินโครงการ ฯ ของกรมทางหลวงดังกล่าวประชาชนทีอ ่ าศัยอยูใ่ นพืน ้ ทีไ่ ด ้ให ้การ สนับสนุนการดําเนินการของกรมทางหลวงโดยไม่มก ี ารต่อต ้านแต่อย่างใด ั นํา้ 19. เรือ ่ ง การรายงานผลการดําเนินการตามมติคณะร ัฐมนตรี เรือ ่ ง โครงการควบคุมและร ับรองการจ ับสตว์ เพือ ่ ป้องก ัน ย ับยงั้ และขจ ัดการทําประมง IUU คณะรัฐมนตรีรับทราบรายงานผลการดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี เรือ ่ ง โครงการควบคุมและรับรองการ ั ่ จับสตว์นํ้าเพือ ่ ป้ องกัน ยับยัง้ และขจัดการทําประมง IUU ครัง้ ที่ 3 ในชวงเดือนกรกฎาคม – กันยายน 2553 ตามที่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เสนอ สาระสําค ัญของเรือ ่ ง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กษ.) ได ้รายงานผลการดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี เรือ ่ ง โครงการ ั ่ ควบคุมและรับรองการจับสตว์นํ้าเพือ ่ ป้ องกัน ยับยัง้ และขจัดการทําประมง IUU ครัง้ ที่ 3 ในชวงเดือนกรกฎาคม – กันยายน 2553 โดยเป็ นข ้อมูลผลการดําเนินงาน ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 สรุปได ้ดังนี้ 1.ผลการดําเนิน ั ว์นํ้าไปแล ้วจํานวน 3,274 ฉบับ (ใบรับรองการจับสต ั ว์นํ้า 2,475 ฉบับ 1.1 ออกใบรับรองการจับสต ั ว์นํ้าแบบง่าย 799 ฉบับ) รวมนํ้ าหนักสน ิ ค ้า จํานวน 14,711.51 ตัน คิดเป็ นจํานวนสต ั ว์นํ้ารวม และใบรับรองการจับสต ิ ค ้าประมงจับก่อนวันที่ 1 มกราคม 2553 จํานวน 6,515 ฉบับ ออกเอกสารรับรอง 27,870.80 ตัน ออกเอกสารรับรองสน ั ว์นํ้า (สําหรับวัตถุดบ การแปรรูปสต ิ ทีน ่ ํ าเข ้าจากต่างประเทศ) จํานวน 834 ฉบับ 1.2 แจกจ่ายสมุดบันทึกการทําการประมง (Logbook) ให ้แก่เรือประมง จํานวน 5,623 ฉบับ ซงึ่ ได ้รับ Logbook กลับคืน จํานวน 17,653 ฉบับ และบันทึกข ้อมูลลงระบบรวม จํานวน 17,481 ฉบับ สว่ นการออก Mobile Unit เพือ ่ เร่งรัดการจดทะเบียนเรือประมงและอาชญาบัตร สามารถดําเนินการจดทะเบียนเรือได ้ จํานวน 6,764 ลํา และ บริการรับคําขอจดอาชญาบัตรได ้ จํานวน 2,244 ลํา 1.3 ทําการตรวจสอบสุขอนามัยท่าเรือประมง จํานวน 64 แห่ง ในจังหวัดชายแดนทะเลครบตาม เป้ าหมายทีว่ างไว ้พร ้อมทัง้ ได ้ทําการคัดเลือกท่าเทียบเรือทีม ่ ศ ี ักยภาพในการปรับปรุงปี 2554 ได ้ทัง้ หมด 20 ท่า ทําการ กําหนดมาตรฐานสุขอนามัยเรือประมงเสร็จเรียบร ้อยแล ้ว และได ้ดําเนินการตรวจสอบและประเมินสุขอนามัยเรือประมง ตามมาตรฐานทีก ่ ําหนดไว ้ได ้จํานวนรวม 750 ลํา นอกจากนัน ้ ยังได ้ดําเนินการฝึ กอบรมเจ ้าหน ้าทีผ ่ ู ้ตรวจประเมินสุขอนามัย เรือประมงในพืน ้ ทีจ ่ ังหวัดต่างๆ รวมจํานวน 29 คน อบรมชาวประมง/เจ ้าของเรือประมง จํานวน 725 คน และอบรมด ้าน สุขอนามัยให ้แก่ผู ้ประกอบการแพปลา องค์การสะพานปลา และท่าเทียบเรือ เจ ้าหน ้าทีส ่ ํานักงานประมงจังหวัด จํานวน 433 คน ั ญาเพือ 1.4 ดําเนินการประกวดราคาและจัดทําสญ ่ จัดจ ้างทําระบบข ้อมูลและการสร ้างเครือข่าย ข ้อมูลการทําประมงของเรือประมงไทยในวงเงินจัดจ ้างจํานวน 12,790,000 บาท โดยผู ้รับจ ้างเริม ่ ดําเนินการตัง้ แต่วันที่ 30 กันยายน 2553 กําหนดแล ้วเสร็จ 27 มิถน ุ ายน 2554 ี้ จง 1.5 ศูนย์ประสานงาน IUU ได ้จัดชุดเจ ้าหน ้าทีใ่ นสว่ นเกีย ่ วข ้องจากสว่ นกลางเพือ ่ เดินสายชแ ิ้ 9 ครัง้ ครอบคลุมพืน แก่เจ ้าหน ้าทีส ่ ํานักงานประมงจังหวัดและสํานักงานประมงอําเภอรวมจํานวนทัง้ สน ้ ที่ 22 จังหวัด ั ่ ่ ื ่ ิ และได ้ดําเนินการจัดการประชาสมพันธ์โดยสวนกลางเป็ นสารคดีทางโทรทัศน์ 4 ตอน ทําสอสงพิมพ์ในรูปของโปสเตอร์ ต่างๆ แผ่นพับ Roll up เพือ ่ เผยแพร่ข ้อมูลและแนวทางปฏิบต ั ใิ ห ้แก่ภาคเอกชนทีเ่ กีย ่ วข ้อง ั 1.6 จัดตัง้ ศูนย์ประสานงานการออกใบรับรองการจับสตว์นํ้า (ศปส.) หรือศูนย์ IUU ภายในบริเวณ กรมประมง กรุงเทพฯ เมือ ่ เดือนกุมภาพันธ์ 2553 โดยศูนย์ฯ ได ้มีการประชุมเพือ ่ แก ้ไขปั ญหาต่างๆ ทีเ่ กิดขึน ้ ในโครงการ ั เป็ นประจําทุก 1 – 2 สปดาห์
26 ้ 1.7 ในการดําเนินการตามข ้อ 1.1 – 1.6 ได ้ใชงบประมาณจากงบกลางฯ จํานวน 30,498,583 บาท โดยมีปัญหาและอุปสรรค พร ้อมทัง้ แนวทางในการแก ้ไขปั ญหา ดังนี้
ปัญหาและอุปสรรค
แนวทางแก้ไข
-ชาวประมงบางรายไม่ให ้ความร่วมมือในการจดทะเบียน เรือประมงและขออาชญาบัตรทําการประมง
-กรมประมงบูรณาการทํางานกับกรมเจ ้าท่าในการออก Mobile Unit เร่งรัดการจดทะเบียนเรือประมงและอาชญา บัตรให ้มากยิง่ ขึน ้
ั ว์นํ้ามายังประเทศไทยเพือ -ประเทศผู ้สง่ ออกวัตถุดบ ิ สต ่ แปรรูปสง่ ออกไปยังสหภาพยุโรปโดยเฉพาะประเทศใน ิ ิ ก ยังไม่ได ้แจ ้ง Competent Authority หมูเ่ กาะแปซฟ (CA) ให ้สหภาพยุโรปทราบ ทําให ้ยังไม่สามารถออก ั ว์นํ้าให ้แก่ผู ้ประกอบการไทยได ้ ใบรับรองการจับสต ั ว์นํ้ามายังไทยบางประเทศ -ประเทศผู ้สง่ ออกวัตถุดบ ิ สต ่ ไต ้หวัน สง่ ใบรับรองการจับสต ั ว์นํ้ามาให ้ เชน ้ ผู ้ประกอบการนํ าเข ้าของไทยล่าชามาก และสําเนา ั เจน ทําให ้ต ้องเสย ี เวลาแก ้ไข ใบรับรองฯ ทีใ่ ห ้มาไม่ชด
-กรมประมงได ้แจ ้งไปยังสหภาพยุโรปให ้ดําเนินการ ชว่ ยเหลือประเทศทีย ่ ังไม่ม ี CA แล ้ว และประสานกับ หน่วยงานของประเทศดังกล่าว เพือ ่ รับทราบปั ญหาและ ชว่ ยเหลือทางเทคนิคในเรือ ่ งนีด ้ ้วย -กรมประมงได ้สง่ ผู ้แทนไปเจรจากับ CA ไต ้หวันเพือ ่ แก ้ไขปั ญหาทีเ่ กิดขึน ้
เอกสาร ทัง้ นี้ กรมประมงได ้วางแนวทางในการปฏิบต ั ข ิ องชาวประมง แพปลา และผู ้ประกอบการโรงงานให ้มีความ สะดวกทีส ่ ด ุ มีการทําความเข ้าใจให ้แก่ชาวประมง แพปลาและผู ้ประกอบการโรงงานได ้ทราบถึงความจําเป็ นและแนวทาง ปฏิบต ั ท ิ ต ี่ ้องกระทําอย่างต่อเนือ ่ ง เนือ ่ งจากเป็ นเรือ ่ งใหม่สําหรับภาคเอกชนทีเ่ กีย ่ วข ้องดังกล่าว และกรมประมงได ้เปิ ด ่ บริการผู ้ประกอบการในการร ้องเรียนปั ญหาเรือ ่ ง IUU มายังศูนย์ประสานงาน IUU อีเมล์ท ี่ Uiuucenter@gmail.com เพือ เพือ ่ หาแนวทางแก ้ไขปั ญหาให ้ต่อไป ั สงคม 20. เรือ ่ ง แผนปฏิบ ัติการป้องก ันและลดอุบ ัติเหตุทางถนน พ.ศ. 2554-2555 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการแผนปฏิบต ั ก ิ ารป้ องกันและลดอุบต ั เิ หตุทางถนน พ.ศ. 2554-2555 และ กําหนดให ้การป้ องกันและลดอุบต ั เิ หตุทางถนนเป็ นแนวทางทีส ่ ําคัญในยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจําปี รวมถึงให ้จังหวัดพิจารณานํ าแผนปฏิบต ั ก ิ ารป้ องกันและลดอุบต ั เิ หตุทางถนนระดับจังหวัด พ.ศ. 2553-2555ไปดําเนินการให ้ บรรลุผลสําเร็จตามเป้ าหมายทีไ่ ด ้กําหนดไว ้ด ้วย ตามเหตุผลและความจําเป็ นทีศ ่ น ู ย์อํานวยการความปลอดภัยทางถนน (ศปถ.) เสนอและเห็นควรให ้สว่ นราชการทีเ่ กีย ่ วข ้องพิจารณาปรับแผนการปฏิบต ั งิ านและแผนการใชจ่้ ายงบประมาณ ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 ทีไ่ ด ้รับจัดสรรไปดําเนินการก่อน สว่ นปี งบประมาณ พ.ศ. 2555 ให ้สว่ นราชการทีเ่ กีย ่ วข ้องเสนอขอตัง้ งบประมาณรายจ่ายประจําปี ตามความจําเป็ นและเหมาะสมสอดคล ้องกับสถานการณ์ทางการเงินการคลังของประเทศตาม ระเบียบและขัน ้ ตอนต่อไป สาระสําค ัญของแผนปฏิบ ัติการป้องก ันและลดอุบ ัติเหตุทางถนน พ.ศ. 2554-2555 1. หลักการสําคัญในการจัดทําแผนปฏิบัตก ิ าร ี ชวี ต แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2552 – 2555 มีเป้ าหมายลดอัตราการเสย ิ จากอุบต ั เิ หตุ ทางถนนลงเหลือ 14.15 คนต่อประชากรหนึง่ แสนหรือประมาณ 9,012 คน ภายในปี พ.ศ. 2555 ดังนัน ้ หากจะดําเนินการให ้ ี ชวี ต บรรลุเป้ าหมายดังกล่าวในปี พ.ศ. 2554 – 2555 จะต ้องลดจํานวนผู ้เสย ิ ให ้ได ้ในจํานวนประมาณ 1,287 คน 2. กรอบการจัดทําแผนปฏิบัตก ิ าร แผนปฏิบต ั ก ิ ารฉบับนี้ ได ้จัดทําขึน ้ ภายใต ้แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2552-2555 ซงึ่ ี่ งสาํ คัญทีก ี ชวี ต ิ ธิภาพในการบริหาร เน ้นในเรือ ่ งการลดปั จจัยเสย ่ อ ่ ให ้เกิดการเสย ิ และบาดเจ็บรุนแรง ดังนัน ้ เพือ ่ ให ้เกิดประสท
27 ทรัพยากรจึงวางกรอบโครงการกิจกรรมทีส ่ อดรับกับแผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2552-2555 และทิศทางการ ้ ั พันธ์ และ ดําเนินงานทศวรรษความปลอดภัยทางถนน โดยมุง่ เน ้นการบังคับใชกฎหมายควบคู ก ่ บ ั การให ้ความรู ้ ประชาสม ี่ งสําคัญโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเรือ รณรงค์สร ้างจิตสํานึกให ้แก่ประชาชนเพือ ่ ปรับเปลีย ่ นพฤติกรรมและปั จจัยเสย ่ งการสง่ เสริมการ ้ ี่ งดังกล่าว สวมหมวกนิรภัยการแก ้ไขปั ญหาเมาแล ้วขับ และการใชความเร็ วตามทีก ่ ฎหมายกําหนด ซงึ่ การแก ้ไขปั ญหาปั จจัยเสย ี ชวี ต สง่ ผลให ้อัตราการเสย ิ ลดลงอย่างมีนัยสําคัญ 3. กรอบงบประมาณแผนปฏิบต ั ก ิ ารป้ องกันและลดอุบัตเิ หตุทางถนน พ.ศ. 2554-2555 ประกอบด ้วย 6 แผนงาน 44 โครงการ 21. เรือ ่ ง รายงานผลความคืบหน้าการดําเนินการร ับฟังความคิดเห็นของประชาชนในงาน “6 ว ัน 63 ล้าน ความคิด” ร่วมเดินหน้าปฏิรป ู ประเทศไทยตามมติคณะร ัฐมนตรีเมือ ่ ว ันที่ 28 กรกฎาคม 2553 ํ ํ คณะรัฐมนตรีรับทราบตามทีส ่ านักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี เสนอรายงานผลความคืบหน ้าการดําเนินการ รับฟั งความคิดเห็นของประชาชนในงาน “6 วัน 63 ล ้านความคิด” ร่วมเดินหน ้าปฏิรป ู ประเทศไทย ตามมติคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 28 กรกฎาคม 2553 ดังนี้ เรือ ่ งเดิม คณะรัฐมนตรีได ้มีมติในคราวการประชุมเมือ ่ วันที่ 28 กรกฎาคม 2553 รับทราบผลการรับฟั งความคิดเห็นของประชาชนในงาน “6 วัน 63 ล ้านความคิด” ร่วมเดินหน ้าปฏิรป ู ประเทศไทย ตามทีส ่ ํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีเสนอ และมอบหมายให ้ ์ นองเตย) รับไปจัดตัง้ คณะทํางานขึน รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี (นายสาทิตย์ วงศห ้ เพือ ่ พิจารณากลั่นกรองข ้อมูลผลการ รับฟั งความคิดเห็นของประชาชนในงาน “6 วัน 63 ล ้านความคิด” ร่วมเดินหน ้าปฏิรป ู ประเทศไทย ก่อนสง่ ให ้คณะกรรมการ หรือหน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข ้องพิจารณาดําเนินการต่อไป ดังนี้ 1. กรณีทเี่ ป็ นเรือ ่ งราวร ้องทุกข์ตา่ งๆ ให ้หน่วยงานทีม ่ อ ี ํานาจหน ้าทีท ่ เี่ กีย ่ วข ้องรับไปพิจารณาและจัดทําเป็ น แผนปฏิบต ั ก ิ ารในการดําเนินการแก ้ไขปั ญหาดังกล่าว โดยให ้คณะทํางานมอบหมายหน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข ้อง และติดตามรายงาน ให ้คณะรัฐมนตรีทราบ ทัง้ นี้ ให ้คณะทํางานกําหนดกรอบเวลาในการแก ้ไขปั ญหาด ้วย 2. กรณีทเี่ ป็ นข ้อเสนอแนะในเชงิ นโยบาย ให ้สง่ ให ้คณะกรรมการหรือหน่วยงานทีม ่ อ ี ํานาจหน ้าทีท ่ เี่ กีย ่ วข ้อง รับไปพิจารณาดําเนินการต่อไป ข้อเท็จจริง ์ นองเตย) ปฏิบต 1. รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี (นายสาทิตย์ วงศห ั ริ าชการแทนนายกรัฐมนตรี ได ้ลง ่ ั ํ ิ นามในคําสงสานักนายกรัฐมนตรีท ี่ 216/2553 ลงวันที่ 27 สงหาคม 2553 แต่งตัง้ คณะกรรมการวิเคราะห์และติดตามผลการ รับฟั งความคิดเห็นในโครงการ “6 วัน 63 ล ้านความคิด” โดยให ้มีอํานาจหน ้าทีใ่ นการรวบรวมข ้อมูล จําแนกและวิเคราะห์ ประเภทของข ้อมูลในเรือ ่ งทีเ่ ป็ นนโยบายและเรือ ่ งทีเ่ ป็ นเรือ ่ งราวร ้องทุกข์เพือ ่ ดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 28 กรกฎาคม 2553 2. คณะกรรมการวิเคราะห์และติดตามผลการรับฟั งความคิดเห็นในโครงการ “6 วัน 63 ล ้านความคิด” ได ้ พิจารณากลั่นกรองข ้อมูลการรับฟั งความคิดเห็น จํานวนรวม 298 เรือ ่ งแล ้ว สามารถจําแนกได ้เป็ น 2 กรณี กล่าวคือเป็ นกรณี ิ เรือ ่ งราวร ้องทุกข์ จํานวน 120 เรือ ่ ง และกรณีข ้อเสนอแนะเชงนโยบาย จํานวน 178 เรือ ่ ง 3. คณะกรรมการวิเคราะห์และติดตามผลการรับฟั งความคิดเห็นในโครงการ “6 วัน 63 ล ้านความคิด” ได ้ ํ มอบหมายให ้สานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีดําเนินการสง่ เรือ ่ งราวร ้องทุกข์และข ้อเสนอแนะ จํานวน 298 เรือ ่ ง ให ้ หน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข ้องรวม 27 หน่วยงาน รับไปพิจารณาดําเนินการ ดังนี้ 3.1 กรณีเรือ ่ งราวร ้องทุกข์ จํานวน 120 เรือ ่ ง ซงึ่ เกีย ่ วข ้องกับ 21 หน่วยงาน ให ้หน่วยงานรับไป พิจารณาดําเนินการแก ้ไขปั ญหาแล ้วรายงานผลการดําเนินงานให ้ทราบภายใน 15 วัน หลังจากวันทีไ่ ด ้รับเรือ ่ ง เพือ ่ จะได ้ รวบรวมนํ าเสนอคณะรัฐมนตรีตอ ่ ไป 3.2 กรณีข ้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย จํานวน 178 เรือ ่ ง เกีย ่ วข ้องกับ 24 หน่วยงาน ให ้หน่วยงานรับไว ้ เป็ นข ้อมูลประกอบการพิจารณาดําเนินการตามอํานาจหน ้าทีต ่ อ ่ ไป การดําเนินการ สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีได ้ดําเนินการสง่ เรือ ่ งราวร ้องทุกข์และข ้อเสนอแนะ จํานวนรวม 298 เรือ ่ ง ให ้หน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข ้อง 27 หน่วยงาน รับไปพิจารณาดําเนินการ และเร่งรัดติดตามผลการดําเนินการ ปรากฏผลสรุปได ้ดังนี้
28 1. กรณีข ้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย จํานวน 178 เรือ ่ ง หน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข ้องได ้รับทราบไว ้เป็ นข ้อมูลเพือ ่ ํ พิจารณาดําเนินการตามอํานาจหน ้าทีแ ่ ล ้ว โดยมีสาระสาคัญสรุปได ้ว่า 1.1 ด ้านเศรษฐกิจ ได ้แก่ ปั ญหาด ้านการเงินทีต ่ ้องเร่งปรับลดหลักเกณฑ์และเงือ ่ นไขโครงการแก ้ไข ิ ่ ื ่ ิ เชอ ื่ ในระบบ ควร ปั ญหาหนีน ้ อกระบบให ้ประชาชนเข ้าถึงได ้มากขึน ้ และการปราบปรามการให ้สนเชอนอกระบบ โดยในสวนสน ปรับลดอัตราดอกเบีย ้ เงินกู ้ของธนาคารและบัตรเครดิต การผ่อนปรนหลักเกณฑ์และเงือ ่ นไขการคํ้าประกันเงินกู ้ของธนาคาร ี ิ ปั ญหาด ้านค่าครองชพฯ ควรเน ้นการควบคุมราคาสนค ้าทีจ ่ ําเป็ นปั ญหาของครัวเรือนเกษตรกรทีต ่ ้องเน ้นการปฏิรป ู ทีด ่ น ิ ทํากิน เพือ ่ จัดสรรให ้แก่เกษตรกรทีย ่ ากไร ้ ทัง้ นี้ กระทรวงการคลัง กระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได ้รับทราบไว ้ เป็ นข ้อมูลเพือ ่ พิจารณาดําเนินการตามอํานาจหน ้าทีแ ่ ล ้ว ั่ ควรมีการบังคับใชกฎหมาย ้ 1.2 ด ้านการเมืองและกระบวนการยุตธิ รรม ได ้แก่ ด ้านการทุจริตคอรัปชน แก่ผู ้กระทําความผิดอย่างจริงจังและรวดเร็ว รวมทัง้ สง่ เสริมกระบวนการยุตธิ รรมให ้มีการปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายอย่างเสมอภาค ทัง้ นี้ กระทรวงมหาดไทยและกระทรวงยุตธิ รรมได ้รับทราบไว ้เป็ นข ้อมูลเพือ ่ พิจารณาดําเนินการตามอํานาจหน ้าทีแ ่ ล ้ว ั ั ี ิ 1.3 ด ้านสวัสดิการสงคม ได ้แก่ ด ้านชุมชน สงคม สาธารณสุข ความปลอดภัยในชวต ิ และทรัพย์สน ี และจัดหาทีด ี ลดชอ ่ งว่างทางสงั คม สร ้าง ภาครัฐควรมีการสง่ เสริมการประกอบอาชพ ่ น ิ ทํากินและเงินทุนในการประกอบอาชพ ี การรักษาพยาบาล การศก ึ ษา และการ โอกาสทางสงั คมให ้กับคนระดับล่างมากขึน ้ ทัง้ ทางด ้านทีอ ่ ยูอ ่ าศัย การประกอบอาชพ ถูกเอารัดเอาเปรียบทางสงั คม รวมทัง้ ปลูกฝั งระบบคุณธรรมและจริยธรรมให ้กับคนไทยในทุกระดับ ทัง้ นี้ กระทรวงการพัฒนา สงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ ได ้รับทราบไว ้เป็ นข ้อมูลเพือ ่ พิจารณาดําเนินการตามอํานาจหน ้าทีแ ่ ล ้ว ึ ึ ษาต ้องให ้ 1.4 ด ้านการศกษา ได ้แก่ ควรปฏิรป ู เรือ ่ งการอ่านให ้เป็ นวาระแห่งชาติ การปฏิรป ู การศก ั ฤทธิท ึ ษาของเด็กในระดับประถมศก ึ ษาให ้เข ้มข ้น ความสําคัญกับผลสม ์ างการเรียนอย่างแท ้จริง ปรับปรุงโครงสร ้างการศก กว่าเดิม ปลูกจิตสํานึกให ้นักเรียน/คนรุน ่ ใหม่มค ี วามรักชาติ รักสถาบัน และรักความเป็ นไทย สง่ เสริมเรือ ่ งประชาธิปไตยและ ่ ่ วัฒนธรรมไทย รวมทัง้ โรงเรียนต ้องมีนโยบายสงเสริมให ้ผู ้ปกครองเข ้ามามีสวนร่วมในการแก ้ปั ญหาเด็ก และควรมีนโยบาย ี ค่าใชจ่้ ายใดๆทัง้ สน ิ้ และเพิม ึ ษาในด ้านอืน เรียนฟรีโดยไม่เสย ่ วงเงินค่าใชจ่้ ายทีเ่ กีย ่ วกับการศก ่ ๆ ให ้มีความครอบคลุมและ ึ เพียงพอมากขึน ้ ทัง้ นี้ กระทรวงศกษาธิการได ้รับทราบไว ้เป็ นข ้อมูลเพือ ่ พิจารณาดําเนินการตามอํานาจหน ้าทีแ ่ ล ้ว 1.5 ด ้านสาธารณูปโภค ได ้แก่ รัฐบาลควรมีนโยบายทีต ่ อ ่ เนือ ่ งระยะยาว ในการจัดทําแผนพัฒนาการ ่ กระจายและปรับปรุงซอมแซมสาธารณูปโภคให ้เพียงพอ เท่าเทียม และทั่วถึง ทุกจังหวัดทัง้ ในด ้านนํ้ า/ไฟฟ้ า/ถนน ระบบ ขนสง่ มวลชนควรพัฒนาและใสใ่ จในเรือ ่ งความปลอดภัยให ้มากขึน ้ ด ้านเทคโนโลยีควรพัฒนาเทคโนโลยีในประเทศให ้ก ้าว ่ ื ทันโลก และควรมีสอกลางทีท ่ ําหน ้าทีก ่ ระจายข ้อมูลข่าวสารให ้ประชาชนได ้รับทราบข ้อมูลอย่างทั่วถึง ถูกต ้องและเป็ นกลาง และมีข ้อเสนอแนะทีเ่ ป็ นประโยชน์ตอ ่ ประชาชนทั่วไป ทัง้ นี้ กระทรวงการคลัง กระทรวงคมนาคม และกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศ ได ้รับทราบเป็ นข ้อมูลเพือ ่ พิจารณาดําเนินการตามอํานาจหน ้าทีแ ่ ล ้ว ่ ิ 1.6 ด ้านสงแวดล ้อมและการบริหารทรัพยากรธรรมชาติ ได ้แก่ ควรเร่งดําเนินการธนาคารต ้นไม ้อย่าง จริงจังและต่อเนือ ่ ง รณรงค์ให ้ปลูกป่ าทดแทน และหลีกเลีย ่ งการตัดถนนในพืน ้ ทีอ ่ นุรักษ์ สํารวจแบ่งพืน ้ ทีแ ่ สดงแนวเขตพืน ้ ที่ ั ้ อนุรักษ์ และทีด ่ น ิ เอกชนให ้ชดเจน และบังคับใชกฎหมายอย่างจริงจัง เพิม ่ บทลงโทษให ้มากขึน ้ เอาผิดแก่เจ ้าหน ้าทีร่ ัฐทีม ่ ี พฤติกรรมไม่เหมาะสม ตรวจสอบการถือครองทีด ่ น ิ ของผู ้มีอท ิ ธิพล เพิม ่ บทบาทของชุมชนในการร่วมดูแลรักษาป่ าไม ้ และ คิดค ้นวิธก ี ลั่นนํ้ าทะเลเป็ นนํ้ าจืด ทัง้ นี้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล ้อมได ้รับทราบไว ้เป็ นข ้อมูลเพือ ่ พิจารณา ดําเนินการตามอํานาจหน ้าทีแ ่ ล ้ว ื่ และการสอ ื่ สารมวลชน ได ้แก่ ควรปฏิรป ื่ ให ้มีความเป็ นกลาง มีความรับผิดชอบและมี 1.7 ด ้านสอ ู สอ ้ ื่ จรรยาบรรณในการนํ าเสนอข ้อมูลอย่างตรงไปตรงมาโดยใชภาษาที เ่ หมาะสม รวมทัง้ เพิม ่ บทลงโทษในกรณีทม ี่ ก ี ารใชส้ อ ่ งการใชส้ อ ื่ ในการแสดงความคิดเห็น การร ้องทุกข์และการสร ้างความเข ้าใจระหว่างประชาชนและรัฐบาล ในทางทีผ ่ ด ิ เพิม ่ ชอ ่ งทางทีส ั พันธ์ได ้รับทราบไว ้เป็ นข ้อมูลเพือ ด ้วยชอ ่ ามารถเข ้าถึงได ้ง่าย และรวดเร็ว ทัง้ นี้ กรมประชาสม ่ พิจารณาดําเนินการ ตามอํานาจหน ้าทีแ ่ ล ้ว 1.8 ประเด็นอืน ่ ๆ ได ้แก่ รัฐบาลควรมีความเข ้มแข็งและอดทนในการทํางาน เพือ ่ จัดให ้มีการปฏิรป ู ประเทศไทย/แผนปรองดองอย่างจริงจัง โปร่งใส เป็ นกลาง รับฟั งทุกความคิดเห็นจากประชาชนเป็ นหลัก นอกจากนี้ สนับสนุนให ้มีการดําเนินโครงการทีเ่ ป็ นประโยชน์ตอ ่ ประเทศต่อไป รัฐบาลควรเร่งแก ้ไขปั ญหาต่างๆ ทีส ่ ร ้างความเดือดร ้อน ให ้กับประชาชน และควรเร่งดําเนินการแก ้ไขรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550
29
2. กรณีเรือ ่ งราวร ้องทุกข์ จํานวน 120 เรือ ่ ง สามารถยุตเิ รือ ่ งได ้ทัง้ หมด โดยจําแนกได ้ดังนี้ 2.1 ยุตเิ รือ ่ งโดยมีผลการดําเนินการแล ้ว จํานวน 28 เรือ ่ ง จําแนกเป็ นรายกระทรวงเรียงลําดับตาม จํานวนเรือ ่ งมากทีส ่ ด ุ ได ้ดังนี้ ิ เชอ ื่ ของธนาคารพาณิชย์ และ (1) กระทรวงการคลัง ได ้แก่ ปั ญหาการให ้บริการด ้านสน ิ ธิเบิกค่ารักษาพยาบาลจากโรงพยาบาลของรัฐ ซงึ่ กระทรวงการคลังได ้แจ ้งผลการดําเนินการและชแ ี้ จงให ้ผู ้ ปั ญหาการใชส้ ท ร ้องทราบเป็ นทีเ่ ข ้าใจแล ้ว (2) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได ้แก่ ปั ญหาการจ่ายเงินชดเชยการเวนคืนทีด ่ น ิ เพือ ่ ่ ํ ก่อสร ้างโครงการเขือ ่ นแควน ้อย และการขอรับความชวยเหลือตามระเบียบสานั กนายกรัฐมนตรีวา่ ด ้วยกองทุนหมุนเวียนเพือ ่ ่ ึ ้ ี การกู ้ยืมแก่เกษตรกรและผู ้ยากจน พ.ศ. 2546 ซงกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได ้แจ ้งผลการดําเนินการและชแจงให ้ผู ้ร ้อง ทราบเป็ นทีเ่ ข ้าใจแล ้ว (3) กระทรวงคมนาคม ได ้แก่ ปั ญหาการจัดการเดินรถโดยสารประจําทางขององค์การขนสง่ ี้ จงให ้ผู ้ร ้อง มวลชนกรุงเทพ และการรับเงินบํานาญของพนักงานรถไฟ ซงึ่ กระทรวงคมนาคมได ้แจ ้งผลการดําเนินการและชแ ทราบเป็ นทีเ่ ข ้าใจแล ้ว (4) กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ ได ้แก่ ปั ญหาการขอทีอ ่ ยูอ ่ าศัย ิ ธิรับเบีย ี ผู ้พิการ ซงึ่ กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ได ้แจ ้งผลการดําเนินการ และปั ญหาการใชส้ ท ้ ยังชพ ี้ จงให ้ผู ้ร ้องทราบเป็ นทีเ่ ข ้าใจแล ้ว และชแ ึ ษาธิการ ได ้แก่ ปั ญหาการกู ้ยืมเงินเพือ ึ ษา และปั ญหาการจัดซอ ื้ จัด (5) กระทรวงศก ่ การศก ึ ษาธิการได ้แจ ้งผลการดําเนินการและชแ ี้ จงให ้ผู ้ร ้องทราบเป็ นทีเ่ ข ้าใจแล ้ว จ ้างภายในโรงเรียน ซงึ่ กระทรวงศก 2.2 ยุตเิ รือ ่ งโดยอยูใ่ นขัน ้ ตอนการดําเนินการแก ้ไขปั ญหาของสว่ นราชการจํานวน 83 เรือ ่ ง จําแนก เป็ นรายกระทรวงเรียงลําดับตามจํานวนเรือ ่ งมากทีส ่ ด ุ 5 อันดับแรกได ้ดังนี้ (1) กระทรวงการคลัง ได ้แก่ ปั ญหาหนีน ้ อกระบบและปั ญหาการกู ้เงินกับสถาบันการเงิน ่ ึ ิ ภาค ต่างๆ ซงกระทรวงการคลังได ้มอบหมายให ้ธนาคารแห่งประเทศไทยและศูนย์อํานวยการปฏิบต ั ก ิ ารแก ้ไขปั ญหาหนีส ้ น ประชาชนพิจารณาดําเนินการแล ้ว (2) กระทรวงมหาดไทย ได ้แก่ การขอความเป็ นธรรมกรณีชาวบ ้านถูกบุกรุกทีด ่ น ิ ทํากิน และ ั ่ ึ การขอสญชาติไทย ซงกระทรวงมหาดไทยได ้มอบหมายให ้ศูนย์ดํารงธรรมประจําจังหวัดพิจารณาดําเนินการแล ้ว ั ญาณไฟจราจรทําให ้เกิดปั ญหา (3) สํานักงานตํารวจแห่งชาติ ได ้แก่ การร ้องเรียนกรณีสญ ั่ ซงึ่ สํานักงานตํารวจแห่งชาติได ้มอบหมายให ้สํานักงานจเรตํารวจพิจารณาดําเนินการแล ้ว รถติด และการทุจริตคอรัปชน ิ ธิใ์ นทีด (4) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล ้อม ได ้แก่ การขอเอกสารสท ่ น ิ ทํากิน ่ ึ ่ ิ และการร ้องเรียนการบุกรุกชายฝั่ งทะเล ซงกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงแวดล ้อมได ้มอบหมายให ้กรมป่ าไม ้และกรม ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งพิจารณาดําเนินการแล ้ว ึ ษาธิการ ได ้แก่ การขอทุนการศก ึ ษา และการขอกู ้เงินเพือ ่ มแซม (5) กระทรวงศก ่ การซอ ึ ษาธิการได ้มอบหมายให ้สํานักงานคณะกรรมการการศก ึ ษาขัน บ ้าน ซงึ่ กระทรวงศก ้ พืน ้ ฐาน และสํานักงานคณะกรรมการ ึ ษาพิจารณาดําเนินการแล ้ว สง่ เสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศก 2.3 ยุตเิ รือ ่ งเนือ ่ งจากไม่สามารถดําเนินการได ้ จํานวน 9 เรือ ่ ง จําแนกเป็ นรายกระทรวงเรียงลําดับตามจํานวน เรือ ่ งมากทีส ่ ด ุ 5 อันดับแรกได ้ดังนี้ (1) กระทรวงมหาดไทย ได ้แก่ ปั ญหาความเดือดร ้อนในเรือ ่ งทีด ่ น ิ ทํากิน ไม่สามารถ ั ดําเนินการได ้ เนือ ่ งจากข ้อมูลไม่ชดเจนเพียงพอประกอบกับไม่สามารถติดต่อผู ้ร ้องได ้ ิ ธิ์ สปก. 4-01 ไม่สามารถ (2) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได ้แก่ การให ้ออกเอกสารสท ดําเนินการได ้เนือ ่ งจากสํานั กงานการปฏิรป ู ทีด ่ น ิ เพือ ่ เกษตรกรรมได ้ตรวจสอบแล ้วพบว่าปั จจุบันพืน ้ ทีด ่ ังกล่าวยังคงเป็ นที่ ้ สาธารณประโยชน์ประชาชนใชร่วมกัน จึงไม่สามารถออก สปก. 4-01 ให ้กับผู ้ร ้องได ้ ทัง้ นีก ้ ระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได ้แจ ้ง ้ ี ผลการดําเนินการและชแจงให ้ผู ้ร ้องทราบเป็ นทีเ่ ข ้าใจแล ้ว
30 ิ ธิบต (3) กระทรวงพาณิชย์ ได ้แก่ การร ้องเรียนกรณีการขอจดทะเบียนสท ั รดําเนินการมาแล ้ว ั 3 ปี ยังไม่แล ้วเสร็จ ไม่สามารถดําเนินการได ้ เนือ ่ งจากข ้อมูลไม่ชดเจนเพียงพอประกอบกับ ไม่สามารถติดต่อผู ้ร ้องได ้ ี เพือ (4) กระทรวงแรงงาน ได ้แก่ การขอฝึ กอาชพ ่ ให ้มีรายได ้เสริม ไม่สามารถดําเนินการได ้ ั เนือ ่ งจาก เนือ ่ งจากข ้อมูลไม่ชดเจนเพียงพอประกอบกับไม่สามารถติดต่อผู ้ร ้องได ้ ี ไม่สามารถดําเนินการได ้ (5) กรุงเทพมหานคร ได ้แก่ การขอเงินทุนเพือ ่ การประกอบอาชพ ี้ จงให ้ผู ้ร ้อง เนือ ่ งจากผู ้ร ้องขาดคุณสมบัตต ิ ามระเบียบในการชว่ ยเหลือ ทัง้ นี้ กรุงเทพมหานครได ้แจ ้งผลการดําเนินการและชแ ทราบเป็ นทีเ่ ข ้าใจแล ้ว ต่างประเทศ ่ ออกและนําเข้าผลไม้ผา่ น 22. เรือ ่ ง ร่างพิธส ี ารว่าด้วยข้อกําหนดในการตรวจสอบและก ักก ันโรคสําหร ับการสง ประเทศทีส ่ ามระหว่างประเทศไทยและจีน คณะรัฐมนตรีอนุมัตต ิ ามทีก ่ ระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กษ.) เสนอดังนี้ 1. อนุมัตจ ิ ัดทําร่างพิธส ี ารว่าด ้วยข ้อกําหนดในการตรวจสอบและกักกันโรคสําหรับการสง่ ออกและนํ าเข ้า ผลไม ้ผ่านประเทศทีส ่ ามระหว่างประเทศไทยและจีน 2. อนุมัตใิ นหลักการให ้รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็ นผู ้ลงนามในร่างพิธส ี ารว่าด ้วย ข ้อกําหนดในการตรวจสอบและกักกันโรคสําหรับการสง่ ออกและนํ าเข ้าผลไม ้ผ่านประเทศทีส ่ ามระหว่างประเทศไทยและจีน ระหว่างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย กับกระทรวงควบคุมคุณภาพและตรวจสอบกักกันโรค (AQSIQ) แห่ง ่ าระสําคัญ กษ. จะได ้หารือร่วมกับกรม สาธารณรัฐประชาชนจีน ทัง้ นี้ หากมีการปรับปรุงแก ้ไขร่างพิธส ี ารฯ ในสว่ นทีม ่ ใิ ชส ั ญาและกฎหมาย กระทรวงการต่างประเทศ เพือ สนธิสญ ่ พิจารณาดําเนินการในเรือ ่ งนัน ้ ๆ แทนคณะรัฐมนตรีโดยไม่ต ้องนํ ามา เสนอคณะรัฐมนตรีพจ ิ ารณาอีกครัง้ หนึง่ ื มอบอํานาจเต็ม (Full Powers) ให ้แก่ 3. อนุมัตใิ ห ้กระทรวงการต่างประเทศ (กต.) จัดทําหนั งสอ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในการลงนามร่างพิธส ี ารฯ ฉบับนี้ ้ 4. อนุมัตใิ ห ้ลงนามย่อ (Initial) ในร่างพิธส ี ารฯ ไปพลางก่อนได ้ในกรณีทม ี่ ค ี วามล่าชาในขั น ้ ตอนระหว่างการ ิ ค ้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กษ. จะเป็ นผู ้ลงนามฝ่ ายไทย และ ลงนามร่างพิธส ี ารฯ โดยผู ้อํานวยการสํานักงานมาตรฐานสน ผู ้แทนกระทรวงควบคุมคุณภาพและตรวจสอบกักกันโรค (AQSIQ) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน ระดับอธิบดี เป็ นผู ้ลงนาม ฝ่ ายจีน อนึง่ การลงนามย่อในร่างพิธส ี ารฯ ฉบับนี้ จะไม่มผ ี ลผูกพันตามกฎหมาย ระหว่างประเทศแต่อย่างใด สาระสําค ัญของร่างพิธส ี ารฯ สรุปได้ ด ังนี้ 1. ร่างพิธส ี ารฯ นีอ ้ ยูภ ่ ายใต ้บันทึกความเข ้าใจร่วมกันว่าด ้วยความร่วมมือด ้านสุขอนามัยและ สุขอนามัยพืช ระหว่างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แห่งราชอาณาจักรไทย กับกระทรวงควบคุมคุณภาพและตรวจสอบกักกัน โรคแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน ทีล ่ งนามเมือ ่ วันที่ 12 เมษายน 2547 ้ ้ นทางการขนส ้ 2. เสนทางการขนส ง่ ผลไม ้ไทยไปสาธารณรัฐประชาชนจีนจะใชเส ง่ สาย R3 จากไทย ี งของ) – ลาว (ห ้วยทราย – บ่อเต็น) – จีน (โม่หาน) ใชระยะเวลาขนส ้ (เชย ง่ (รถ) ประมาณ 1,104 ก.ม. หรือไม่เกิน 2-3 วัน 3. ร่างพิธส ี ารฯ นี้ ประกอบด ้วย 7 มาตรา ดังนี้ มาตราที่ 1 ชนิดของผลไม ้และข ้อมูลทีท ่ ัง้ สองฝ่ ายต ้องสง่ ให ้แก่กน ั ในกรณีมก ี ารร ้องขอ มาตราที่ 2 วิธก ี ารขนสง่ ผลไม ้ระหว่างกัน มาตราที่ 3 มาตรการก่อนการสง่ ออก (ได ้แก่ การตรวจสอบและออกใบรับรองสุขอนามัยพืช ิ ค ้า การแสดงหมายเลขกํากับผนึกปิ ดตู ้สน ิ ค ้าทีส การรับรองแหล่งกําเนิดของผลไม ้ การปิ ดผนึก ตู ้สน ่ ง่ ออก) ้ ้ มาตราที่ 4 เสนทางการขนส ง่ ผลไม ้ระหว่างสองฝ่ ายตามเสนทางสาย R3 ี งของ – (ลาว) ห ้วยทราย-บ่อเต็น-(จีน) โม่หาน จากไทยไปจีน (ไทย) เชย ี งของ จากจีนมาไทย (จีน) โม่หาน – (ลาว) บ่อเต็น – ห ้วยทราย – (ไทย) เชย ้ มาตราที่ 5 การเพิม ่ เสนทางการขนส ง่ มาตราที่ 6 มาตรการตรวจสอบ ณ ด่านนํ าเข ้าของทัง้ สองฝ่ าย
31 ิ ธิ ร่างพิธส ี ารฯ ดังกล่าวไม่มบ ี ทเปลีย ่ นแปลงอาณาเขตไทยหรือเขตพืน ้ ทีน ่ อกอาณาเขตซงึ่ ประเทศไทยมีสท ื สญ ั ญา หรือตามกฎหมายระหว่างประเทศ หรือมีผลกระทบต่อความมั่นคงทาง อธิปไตย หรือมีเขตอํานาจตามหนังสอ ื สญ ั ญาตามมาตรา 190 วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแห่ง เศรษฐกิจหรือสงั คมของประเทศอย่างกว ้างขวาง จึงไม่ถอ ื เป็ นหนังสอ ราชอาณาจักรไทย ั ญาและกฎหมาย กต. ถึงร่างพิธส กษ. ได ้สอบถามกรมสนธิสญ ี ารฉบับนี้ ว่าเข ้าเกณฑ์ตามมาตรา 190 วรรค ่ ึ ั สอง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยหรือไม่ ซงกรมสนธิสญญาและกฎหมายได ้แจ ้งตอบว่า ร่างพิธส ี ารฯ ดังกล่าวนี้ มี ํ ่ ํ ่ สาระสาคัญเป็ นการสงเสริมความร่วมมือในการตรวจสอบและกักกันโรคสาหรับการสงออกและนํ าเข ้าผลไม ้ระหว่างประเทศ ื สญ ั ญาทีม ไทยและประเทศจีน จึงไม่น่าจะเป็ นหนังสอ ่ บ ี ทเปลีย ่ นแปลงอาณาเขตไทย หรือเขตพืน ้ ทีน ่ อกอาณาเขตซงึ่ ิ ธิอธิปไตย หรือมีเขตอํานาจตามหนังสอ ื สญ ั ญาหรือตามกฎหมายระหว่างประเทศ หรือมีผลกระทบต่อความ ประเทศไทยมีสท มั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสงั คมของประเทศอย่างกว ้างขวาง หรือมีผลผูกพันด ้านการค ้า การลงทุน หรืองบประมาณของ ประเทศอย่างมีนัยสําคัญ ดังนัน ้ หากสว่ นราชการเจ ้าของเรือ ่ งสามารถปฏิบต ั ไิ ด ้โดยไม่ต ้องออกพระราชบัญญัตเิ พือ ่ ให ้การ ื ั ื ั เป็ นไปตามหนังสอสญญา ก็ไม่น่าจะเป็ นหนังสอสญญาตามมาตรา 190 วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ที่ จะต ้องได ้รับความเห็นชอบของรัฐสภา ี นด้านโทรคมนาคมและเทคโนโลยี 23. เรือ ่ ง เอกสารสําค ัญทีจ ่ ะมีการร ับรองในระหว่างการประชุมร ัฐมนตรีอาเซย สารสนเทศ ครงที ั้ ่ 10 ื่ สาร (ทก.) เสนอ ดังนี้ คณะรัฐมนตรีเห็นชอบและอนุมัตต ิ ามทีก ่ ระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ ี นด ้านโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ครัง้ 1. เห็นชอบต่อร่างแถลงการณ์การประชุมรัฐมนตรีอาเซย ื่ สารอาเซย ี น ที่ 10 และร่างแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ ื่ สารหรือผู ้ทีไ่ ด ้รับมอบหมายจาก 2. อนุมัตใิ ห ้รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ ื่ สาร ร่วมรับรองร่างแถลงการณ์ฯ และร่างแผนแม่บทฯ ในการ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ ี นด ้านโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ครัง้ ที่ 10 ทัง้ นี้ หากมีความจําเป็ นต ้องปรับปรุงแก ้ไขร่าง ประชุมรัฐมนตรีอาเซย ่ าระสําคัญหรือไม่ขด เอกสารดังกล่าว ทีไ่ ม่ใชส ั ต่อผลประโยชน์ของประเทศไทย ขอให ้ ทก. ดําเนินการได ้โดยไม่ต ้อง นํ าเสนอคณะรัฐมนตรีเพือ ่ พิจารณาอีก ํ สาระสาค ัญของเรือ ่ ง ื่ สาร (ทก.) รายงานว่า กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ ี จะเป็ นเจ ้าภาพจัดการประชุมรัฐมนตรีอาเซย ี นด ้านโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ครัง้ ที่ 1. มาเลเซย th ASEAN Telecommunications and IT Ministers Meeting : The 10th TELMIN) ระหว่างวันที่ 13 – 14 10 (The 10 ี โดยในระหว่างการประชุมดังกล่าวรัฐมนตรีวา่ การกระทรวง มกราคม 2554 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซย ื่ สาร จะร่วมให ้การรับรองเอกสารสําคัญ จํานวน 2 ฉบับ ได ้แก่ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ ี นด้านโทรคมนาคมและเทคโนโลยี 1.1 ร่างแถลงการณ์การประชุมร ัฐมนตรีอาเซย สารสนเทศ ครงที ั้ ่ 10 เป็ นเอกสารสําคัญทีแ ่ สดงเจตนาในการดําเนินการความร่วมมือด ้านโทรคมนาคมและ ่ ื เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอสารอย่างต่อเนือ ่ ง โดยมีสาระสําคัญเพือ ่ รับทราบความร่วมมือสาขาโทรคมนาคมและ ่ ื ี ี ่ ึ ิ ปี แล ้ว ซงึ่ ไอซท ี ม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอสาร (ไอซท)ี ในกรอบอาเซยนซงได ้ดําเนินการเป็ นระยะเวลาสบ ี ส ี ว่ น ี น เป็ นเครือ สนับสนุนความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการพัฒนาสงั คมในภูมภ ิ าคอาเซย ่ งมือในการบรรลุเป้ าหมายการ ี น พัฒนาแห่งสหัสวรรษของสหประชาชาติ ตลอดจนเป็ นเครือ ่ งมือในการสร ้างพลังและปรับบทบาทภาคประชาชนของอาเซย ี น รวมถึงเพิม ่ งว่างทางดิจท เพือ ่ สนับสนุนการบรรลุเป้ าหมาย การเป็ นประชาคมอาเซย ่ ความพยายามเพือ ่ ลดชอ ิ ัล การพัฒนา ี ี ้ ี ี ทักษะด ้านไอซท ี การเข ้าถึงไอซท ี และการใชไอซทใี นอาเซยนให ้มากขึน ้ รวมถึงการรับรองแผนแม่บทเทคโนโลยี ่ ื ี ี สารสนเทศและการสอสารอาเซยนเพือ ่ เป็ นแนวทางในการพัฒนาไอซทใี นภูมภ ิ าคและมอบหมายให ้ทีป ่ ระชุมเจ ้าหน ้าทีอ ่ าวุโส ี ี อาเซยนด ้านโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ และทีป ่ ระชุมสภาหน่วยงานกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคมอาเซยน ดําเนินขัน ้ ตอนทีจ ่ ําเป็ นในการปฏิบต ั ต ิ ามแผนแม่บทฯ ื่ สารอาเซย ี น ค.ศ. 2015 เป็ นเอกสารที่ 1.2 ร่างแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ ี นด ้านโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ ื่ สาร ครัง้ ที่ 8 เมือ จัดทําขึน ้ ตามมติทป ี่ ระชุมรัฐมนตรีอาเซย ่ เดือน
32 ี ต่อมาในการประชุมฯ ครัง้ ที่ 9 ได ้เห็นชอบร่างแผนแม่บทฯ และมอบหมายให ้ที่ สงิ หาคม 2551 ณ ประเทศอินโดนีเซย ี นฯ ครัง้ ที่ 10 พิจารณาและรับรองต่อไป ซงึ่ ร่างแผนแม่บทฯ ดังกล่าวเสร็จแล ้ว โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ ประชุมอาเซย 1.2.1 เป็ นการกําหนดแผนการดําเนินงานความร่วมมือด ้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ่ ื ี สอสารในกรอบอาเซยน ในระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2554 – 2558) โดยมีเป้ าหมาย 4 ประการ คือ ี เี ป็ นเครือ ี นมีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 1) ไอซท ่ งมือในการผลักดันให ้อาเซย ี นได ้รับการยอมรับในฐานะเป็ นศูนย์กลางด ้านไอซท ี ข 2) อาเซย ี องโลกแห่งหนึง่ ี ี 3) ประชากรอาเซยนมีคณ ุ ภาพชวต ิ ทีด ่ ข ี น ึ้ ี ่ ่ ่ ี น และได ้กําหนด 4) ไอซทม ี ส ี วนชวยสงเสริมการรวมตัวเป็ นหนึง่ เดียวของอาเซย ั ทัศน์ของแผนแม่บทฯ คือ “Towards an Empowering and Transformational ICT : Creating an Inclusive, Vibrant วิสย and Integrated ASEAN” 1.2.2 ยุทธศาสตร์การดําเนินงานตามแผนแม่บทฯ มี 6 ยุทธศาสตร์ คือ ยุทธศาสตร์ท ี่ 1 การปรับเปลีย ่ นทางเศรษฐกิจ (Economic transformation) ี ่ อาเซยนจะสร ้างสภาพแวดล ้อมทางธุรกิจทีเ่ อือ ้ ต่อการดึงดูดและสงเสริมการค ้า การลงทุน และการสร ้างผู ้ประกอบการใน ี ี ่ สาขาไอซท ี โดยไอซทย ี ังเป็ นเครือ ่ งมือชวยปรับเปลีย ่ นสาขาอืน ่ ๆ ของภาคเศรษฐกิจด ้วย ยุทธศาสตร์ท ี่ 2 การสร ้างพลังอํานาจและการมีสว่ นร่วมของประชาชน (People ี นจะยกระดับคุณภาพชวี ต ี อ empowerment and engagement) : อาเซย ิ ของประชาชนโดยให ้สามารถเข ้าถึงไอซท ี ย่างเท่า เทียมกันและในราคาทีป ่ ระชาชนสามารถรับภาระได ้ ี นจะสง่ เสริมให ้สาขา ยุทธศาสตร์ท ี่ 3 การสร ้างนวัตกรรม (Innovation): อาเซย ี ม ไอซท ี ค ี วามสร ้างสรรค์ มีนวัตกรรม และเป็ นมิตรกับสงิ่ แวดล ้อม ยุทธศาสตร์ท ี่ 4 การพัฒนาโครงสร ้างพืน ้ ฐาน (Infratructure development): ี ี ี น อาเซยนจะพัฒนาโครงสร ้างพืน ้ ฐานด ้านไอซทเี พือ ่ สนั บสนุนการให ้บริการต่างๆ แก่ทก ุ ชุมชนอาเซย ยุทธศาสตร์ท ี่ 5 การพัฒนาทุนมนุษย์ (Human capital development): ี ี ี เพือ ี แ อาเซยนจะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให ้มีความสามารถและทักษะในด ้านไอซท ่ สนับสนุนความเติบโตของสาขาไอซท ี ละ ่ ชวยปรับเปลีย ่ นสาขาอืน ่ ๆ ในภาคเศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์ท ี่ 6 การลดความเหลือ ่ มลํ้าด ้านดิจท ิ ัล (Bridging the digital ี ้ ี ิ แต่ละประเทศในระดับ divide): อาเซยนจะคํานึงถึงระดับการพัฒนาและการใชไอซทท ี แ ี่ ตกต่างกันภายในประเทศสมาชก ี นจะให ้ความสําคัญกับการลดชอ ่ งว่างด ้านอืน ภูมภ ิ าค อาเซย ่ ๆ ทีอ ่ ยูใ่ นความเหลือ ่ มลํ้าทางดิจท ิ ัลเพือ ่ สง่ เสริมให ้เกิดการนํ า ี ไี ปใชมากขึ ้ ไอซท น ้ ่ ารปฏิบต 1.2.3 ร่างแผนแม่บทฯ ได ้ระบุกลไกการดําเนินงานเพือ ่ นํ าแผนไปสูก ั ิ การ ่ สนับสนุนด ้านงบประมาณ และกําหนดเวลาการดําเนินกิจกรรมต่างๆ ในชวงปี 2554 –2558 2. ร่างแถลงการณ์ฯ ครัง้ ที่ 10 เป็ นการแสดงเจตนารมณ์ของรัฐมนตรีด ้านโทรคมนาคมและ ื่ สารของรัฐสมาชก ิ อาเซย ี นทีจ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ ่ ะเสริมสร ้างความร่วมมือด ้านโทรคมนาคมและเทคโนโลยี ่ ื ื่ สารอาเซย ี น และสนั บสนุนไปสูก ่ าร สารสนเทศและการสอสาร รวมทัง้ รับรองแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ ี น ตลอดจนเป้ าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ ทัง้ นี้ เอกสาร ปฏิบต ั เิ พือ ่ บรรลุเป้ าหมายร่วมกันของการเป็ นประชาคมอาเซย ื สญ ั ญาตามมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชาอาณาจักรไทย ดังกล่าวไม่มก ี ารลงนาม จึงไม่เป็ นหนังสอ 3. ทก. ได ้นํ าเสนอร่างแผนแม่บทฯ ในการประชุมคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ่ ื สอสารแห่งชาติ (กทสช.) ครัง้ ที่ 1/2553 เมือ ่ วันที่ 17 กันยายน 2553 ซงึ่ มีนายกรัฐมนตรีเป็ นประธาน ทีป ่ ระชุมฯ ได ้มี มติรับหลักการร่างแผนแม่บทดังกล่าว นอกจากนี้ ทก. ได ้แจ ้งความเห็นและข ้อเสนอแนะเพิม ่ เติมบางประเด็นของหน่วยงานที่ ั เกีย ่ วข ้อง ได ้แก่ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการพัฒนาสงคมและความมั่นคงของมนุษย์ ํ สานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงแรงงาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สํานั กงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม กระทรวงคมนาคม กระทรวงยุตธิ รรม บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) และบริษัท กสท ี น จึงไม่ขด โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) โดยสรุปเห็นว่าแผนแม่บทฯ จะสนับสนุนการรวมตัวของอาเซย ั ข ้องกับร่างแผน ่ ึ ํ ี นและ แม่บทฯ และมีข ้อเสนอแนะให ้เพิม ่ เติมบางประเด็น ซง ทก. ได ้แจ ้งข ้อเสนอแนะต่างๆ ต่อสานักเลขาธิการอาเซย สงิ คโปร์ในฐานะผู ้ประสานงานโครงการแล ้ว
33 ี นด ้านโทรคมนาคมและ 4. แผนแม่บทดังกล่าวจะเป็ นกลไกสําคัญในการผลักดันความร่วมมืออาเซย ั เจนตามยุทธศาสตร์ทวี่ างไว ้ ซงึ่ จะ เทคโนโลยีสารสนเทศให ้มีความเข ้มแข็งและกําหนดทิศทางการพัฒนาความร่วมมือทีช ่ ด ี นภายในปี 2548 ทัง้ นี้ แผนแม่บทฯ ยังมีความสอดคล ้องกับแผนแม่บท สนับสนุนและสง่ เสริมการเป็ นประชาคมอาเซย ื่ สาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552 – 2556 ของประเทศไทยอีกด ้วย ทัง้ นี้ เอกสารดังกล่าวไม่ม ี เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ ื สญ ั ญาตามมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย การลงนาม จึงไม่เป็ นหนังสอ ี น 24. เรือ ่ ง การประด ับธงอาเซย คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามทีก ่ ระทรวงการต่างประเทศ (กต.) เสนอ ดังนี้ ้ ี น (Guidelines on the Use of the ASEAN Flag) 1.ให ้ความเห็นชอบต่อร่างแนวปฏิบต ั ใิ นการใชธงอาเซ ย ี น และอนุมัตใิ ห ้รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการต่างประเทศรับรองเอกสารดังกล่าวในการประชุมคณะรัฐมนตรีประสานงานอาเซย ่ าระสําคัญหรือไม่ขด และหากมีความจําเป็ นต ้องปรับปรุงแก ้ไขร่างแนวปฏิบัตฯิ ทีไ่ ม่ใชส ั ต่อผลประโยชน์ของประเทศไทยให ้ กต.ดําเนินการได ้โดยไม่ต ้องนํ าเสนอคณะรัฐมนตรีเพือ ่ พิจารณาอีก ํ ี่ ห่งพระราชบัญญัตธิ ง พ.ศ. 2. ให ้สานักนายกรัฐมนตรีดําเนินการตามนัยมาตรา 46 วรรคสอง (6) และวรรคสแ ั หรือประดับธงอาเซย ี นคูก 2522 เพือ ่ อนุมัตใิ ห ้ กต. ใช ้ ชก ่ บ ั ธงชาติเป็ นการถาวร ณ ทีท ่ ําการของ กต. ซงึ่ เป็ นทีต ่ งั ้ ของ ํ ี ี สานักงานเลขาธิการอาเซยนแห่งชาติ (กรมอาเซยน) รวมทัง้ ทีท ่ ําการคณะผู ้แทนการทูตและกงสุลของไทยในต่างประเทศ ิ ี ั ยกเว ้นประเทศทีส ่ มาชกอาเซยนบางประเทศไม่มค ี วามสมพันธ์ทางการทูต ทัง้ นี้ กต. จะดําเนินการเสนองบประมาณเพือ ่ เตรียมการดังกล่าวตัง้ แต่ปีงบประมาณ 2555 เป็ นต ้นไป ี นดังกล่าว เพือ ้ นแนวปฏิบต 3. ให ้ทุกหน่วยราชการรับทราบแนวทางการประดับธงอาเซย ่ พิจารณาใชเป็ ั ิ ํ ี สาหรับการประดับธงในการจัดประชุมและจัดกิจกรรมอาเซยนในประเทศไทยต่อไป สาระสําค ัญของเรือ ่ ง ี นเข ้าสูก ่ ารพิจารณา กต. รายงานว่า ตามทีค ่ ณะรัฐมนตรีมม ี ติเห็นชอบให ้คณะรัฐมนตรีเสนอร่างกฎบัตรอาเซย ของสภานิตบ ิ ัญญัตแ ิ ห่งชาติกอ ่ นการลงนามของนายกรัฐมนตรีนัน ้ ี นเมือ 1. สภานิตบ ิ ญ ั ญัตแ ิ ห่งชาติได ้ผ่านร่างพระราชบัญญัตก ิ ฎบัตรอาเซย ่ วันที่ 7 พฤศจิกายน 2550 โดย ี ้ อ นายกรัฐมนตรีได ้ลงนามแล ้วเมือ ่ วันที่ 20 พฤศจิกายน 2550 และกฎบัตรอาเซยนมีผลบังคับใชเมื ่ วันที่ 15 ธันวาคม 2551 ี 2. คณะกรรมการผู ้แทนถาวรประจําอาเซยน ณ กรุงจาการ์ตา ได ้รับมอบหมายให ้จัดทําร่างแนวปฏิบต ั ใิ นการ ้ ี ี ่ ึ ี ใชธงอาเซยนตามข ้อ 37 ของกฎบัตรอาเซยน ซงกําหนดให ้มีธงอาเซยน และคณะกรรมการฯ คาดว่าจะนํ าเสนอร่างแนว ี น (ASEAN Coordinating Council) ซงึ่ ประกอบด ้วยรัฐมนตรีวา่ การ ปฏิบต ั ด ิ ังกล่าวให ้ทีป ่ ระชุมคณะมนตรีประสานงานอาเซย ิ อาเซย ี นทัง้ 10 ประเทศให ้การรับรองในการประชุมซงึ่ จะมีขน กระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชก ึ้ ระหว่างวันที่ 17ี ี 18 มกราคม 2555 ทีส ่ าธารณรัฐอินโดนีเซย เพือ ่ วางแนวทางการประดับธงอาเซยนคูก ่ บ ั ธงชาติเป็ นการถาวรในลักษณะเท่า ํ ี ิ อาเซย ี นใน เทียมกันทีส ่ านักเลขาธิการอาเซยนแห่งชาติ ทีท ่ ําการคณะผู ้แทนทางการทูตและกงสุลของชาติสมาชก ิ อาเซย ี นบางประเทศไม่มค ั พันธ์ทางการทูตและกําหนดแนวทางการ ต่างประเทศ ยกเว ้นในประเทศทีป ่ ระเทศสมาชก ี วามสม ี นในการประชุมและกิจกรรมอาเซย ี น ประดับธงอาเซย ี น 3. กต.พิจารณแล ้วเห็นว่า ร่างเอกสารดังกล่าวเป็ นการกําหนดแนวปฏิบต ั ด ิ ้านพิธก ี ารทูตในกรอบอาเซย ิ พิจารณาใช ้ รวมทัง้ ไม่มก ื สญ ั ญาตามมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญแห่ง เพือ ่ ให ้ประเทศสมาชก ี ารลงนามจึงไม่น่าเข ้าข่ายหนังสอ ราชอาณาจักรไทย อย่างไรก็ด ี กต. เห็นสมควรขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีในเชงิ นโยบายก่อนการรับรองเอกสารใน ี นต่อไป โดยใชงบประมาณการดํ ้ ทีป ่ ระชุมคณะมนตรีประสานงานอาเซย าเนินการจาก กต. ํ ํ 4. สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ในฐานะหน่วยงานราชการกํากับพระราชบัญญัตธิ ง พ.ศ. 2522 พิจารณาแล ้วเห็นว่า ี นซงึ่ เป็ นสํานักเลขาธิการอาเซย ี นแห่งชาติจะสามารถประดับธงอาเซย ี นได ้ต่อเมือ 4.1 กรมอาเซย ่ ้ ั ี ี ่ ี ได ้รับอนุญาตจากนายกรัฐมนตรีให ้ใช ชก หรือแสดงธงอาเซยน ณ กรมอาเซยน ตามนัยมาตรา 46 (6) และวรรคส แห่ง ี นจะต ้องถือปฏิบต ั หรือแสดงธงของต่างประเทศใน พระราชบัญญัตธิ งดังกล่าวโดยกรมอาเซย ั ต ิ ามหลักเกณฑ์การใช ้ ชก ั หรือการแสดงธงชาติและธงของต่างประเทศใน ราชอาณาจักร ตามทีร่ ะเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด ้วยการใช ้ การชก ราชอาณาจักร พ.ศ. 2529 และทีแ ่ ก ้ไขเพิม ่ เติมกําหนดด ้วย
34 ี นอย่างเป็ นทางการถาวร ณ สถานทูตและสถานกงสุลของประเทศ 4.2 กรณีการประดับธงอาเซย ิ อาเซย ี นคูก ิ อาเซย ี นประดับธงในประเทศทีส สมาชก ่ บ ั ธงชาติ และให ้ประเทศสมาชก ่ ามนัน ้ เห็นว่า หากเป็ นกรณีประเทศไทย ี ั หรือแสดง ประดับธงอาเซยนอย่างเป็ นการถาวร ณ สถานเอกอัครราชทูต และสถานกงสุลใหญ่ของไทย ย่อมเป็ นการใช ้ ชก ื่ มเสย ี ซงึ่ ธงชาติคห ู่ รือร่วมกับธงของต่างประเทศ หากไม่มล ี ักษณะเป็ นการดูถก ู เหยียดหยาม หรือทําให ้เกิดความเสอ เกียรติภม ู ข ิ องประเทศไทยหรือชาติไทย ตามนัยระเบียบฯ ข ้อ 6 แล ้ว ก็สามารถกระทําได ้โดยจะต ้องกระทําให ้เป็ นไปใน ลักษณะทีเ่ ท่าเทียมกันตามระเบียบฯ ข ้อ 21 ี นน่าจะมีสว่ นเสริมสร ้างความตระหนักรู ้ในความเป็ น 4.3 กต. เห็นว่าแนวทางการประดับธงอาเซย ี นและกระบวนการสร ้างประชาคมอาเซย ี นในหมูป ิ อาเซย ี นโดยรวม และทําให ้ อาเซย ่ ระชาชนชาวไทยและประเทศสมาชก ี นเป็ นทีแ ี นคูธ ประชาคมอาเซย ่ พร่หลายในหมูน ่ านาประเทศยิง่ ขึน ้ ทัง้ นี้ การประดับธงอาเซย ่ งชาติ ณ สถานทูตและสถาน กงสุล และการลดธงครึง่ เสาเพือ ่ ไว ้อาลัยตามทีร่ ะบุไว ้ในร่างแนวทางฯ จะต ้องเป็ นไปโดยไม่ขด ั ต่อกฎหมายภายในของ ิ ี ั ญากรุงเวียนนาว่า ประเทศทีส ่ ถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลของประเทศสมาชกอาเซยนตัง้ อยู่ ทัง้ นี้ ตามนัยของอนุสญ ั พันธ์ทางการทูต ค.ศ.1961 ข ้อ 41 วรรคหนึง่ ด ้วยความสม 25. เรือ ่ ง บ ันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือในการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติและพ ัฒนาความร่วมมือของ ตํารวจ คณะรัฐมนตรีอนุมัตใิ ห ้ลงนามบันทึกความเข ้าใจว่าด ้วยความร่วมมือในการต่อต ้านอาชญากรรมข ้ามชาติและ พัฒนาความร่วมมือของตํารวจ ระหว่างสํานักงานตํารวจแห่งชาติกบ ั สํานักงานตํารวจสหพันธรัฐออสเตรเลีย ตามที่ สํานักงาน ื มอบอํานาจเต็ม (Full Powers) ให ้ผู ้ ตํารวจแห่งชาติ (ตช.) เสนอ และขอให ้กระทรวงการต่างประเทศ (กต.) มีหนังสอ บัญชาการตํารวจแห่งชาติหรือผู ้แทน ลงนามบันทึกความเข ้าใจฯ ดังกล่าว สาระสําค ัญของเรือ ่ ง ํ สานักงานตํารวจแห่งชาติ รายงานว่า 1. ตามมติคณะรัฐมนตรี (10 พฤศจิกายน 2552) ทีใ่ ห ้ ตช. ดําเนินการตามความเห็นของ สํานั กงบประมาณ (สงป.) นั น ้ การดําเนินการบันทึกความเข ้าใจฯ ทีผ ่ า่ นมา ตช. สามารถดําเนินการได ้ภายในงบประมาณปกติ ไม่กอ ่ ให ้เกิดผล ผูกพันงบประมาณในอนาคตแต่อย่างใด ื แจ ้งให ้ทราบว่า ผู ้บัญชาการตํารวจแห่งชาติออสเตรเลียมีกําหนด 2. ทางการออสเตรเลียได ้มีหนังสอ เดินทางมายังประเทศไทย ระหว่างวันที่ 16-18 กุมภาพันธ์ 2554 และประสงค์ทจ ี่ ะเข ้าพบผู ้บัญชาการตํารวจแห่งชาติ และ ่ ร่วมลงนามบันทึกความเข ้าใจฯ ในชวงเวลาดังกล่าว ึ ษา การศก ึ ษาที่ 26. เรือ ่ ง มาตรการภาษีสําหร ับเงินบริจาคเข้ากองทุนพ ัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศก ึ ษาธิการจ ัดตงขึ ้ กระทรวงศก ั้ น คณะรัฐมนตรีเห็นชอบมาตรการภาษี สําหรับเงินบริจาคเข ้ากองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการ ึ ษาทีก ึ ษาธิการจัดตัง้ ขึน ศก ่ ระทรวงศก ้ ตามทีก ่ ระทรวงการคลังเสนอ สาระสําค ัญของเรือ ่ ง กระทรวงการคลังรายงานว่า เพือ ่ จูงใจให ้ภาคเอกชนมีสว่ นร่วมในการระดมทุนเข ้ากองทุนฯ และเพือ ่ เป็ นการ ึ ษา รวมถึงเป็ นการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ ้าอยูห สง่ เสริมด ้านการศก ่ ัว “พระผู ้ซงึ่ เป็ นครูแห่งแผ่นดิน” ึ ษา ที่ กระทรวงการคลังเห็นควรกําหนดให ้ผู ้บริจาคเงินเข ้ากองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศก ึ ษาธิการจัดตัง้ ขึน ิ ธิประโยชน์ทางภาษี ภายใต ้หลักการและแนวทางการปรับปรุงกฎหมายดังนี้ กระทรวงศก ้ ได ้รับสท 1. หล ักการ 1.1 กรณีบค ุ คลธรรมดาทีม ่ ก ี ารบริจาคเงินเข ้ากองทุนพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการ ึ ษา ทีก ึ ษาธิการจัดตัง้ ขึน ศก ่ ระทรวงศก ้ สามารถนํ ามาหักลดหย่อนในการคํานวณภาษี ได ้สองเท่า แต่เมือ ่ รวมกับรายจ่ายเพือ ่ ึ ษาตามโครงการทีก ึ ษาธิการให ้ความเห็นชอบแล ้วต ้องไม่เกินร ้อยละ 10 ของเงินได ้สุทธิ สนับสนุนการศก ่ ระทรวงศก 1.2 กรณีบริษัทหรือห ้างหุ ้นสว่ นนิตบ ิ ค ุ คลทีม ่ ก ี ารบริจาคเงินเข ้ากองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และ
35 ึ ษา ทีก ึ ษาธิการจัดตัง้ ขึน ิ ธินํารายจ่ายดังกล่าวมาเป็ นค่าใชจ่้ ายในการคํานวณภาษี ได ้สอง บุคลากรทางการศก ่ ระทรวงศก ้ มีสท ึ ษาตามโครงการทีก ึ ษาธิการให ้ความเห็นชอบ และรายจ่ายในการ เท่า แต่เมือ ่ รวมกับรายจ่ายเพือ ่ สนับสนุนการศก ่ ระทรวงศก ้ นการทั่วไปโดยไม่เก็บ จัดสร ้างและบํารุงรักษาสนามเด็กเล่น สวนสาธารณะ หรือสนามกีฬาของเอกชนทีเ่ ปิ ดให ้ประชาชนใชเป็ ค่าบริการทั่วไป หรือสนามเด็กเล่น สวนสาธารณะ หรือสนามกีฬาของทางราชการแล ้ว ต ้องไม่เกินร ้อยละ 10 ของกําไรสุทธิ ื่ ของกองทุนฯ ในภายหลังให ้ผู ้บริจาคยังคงได ้รับการ หากกองทุนฯ ได ้มีการแก ้ไขเปลีย ่ นแปลงชอ ื่ ใหม่แล ้ว ยกเว ้นภาษี เงินได ้ สําหรับการบริจาคให ้แก่กองทุนฯ ทีม ่ ก ี ารเปลีย ่ นแปลงเป็ นชอ 2. แนวทางการปร ับปรุงกฎหมาย เพือ ่ ให ้เป็ นไปตามหลักการข ้างต ้น จะต ้องมีการดําเนินการโดยการตราพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่า ด ้วยการยกเว ้นรัษฎากร (ฉบับที… ่ ) พ.ศ. …. ทัง้ นี้ การดําเนินการตามมาตรการข ้างต ้นคาดว่าจะมีผลกระทบ ดังนี้ 1. สามารถระดมทุนประเดิมสําหรับการจัดตัง้ กองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการ ึ ษา ทีก ึ ษาธิการจัดตัง้ ขึน ศก ่ ระทรวงศก ้ ด ้วยการมีสว่ นร่วมจากทุกภาคสว่ น ี ครู มุง่ มั่นพัฒนาตนเองโดยแสวงหาความรู ้ใหม่ ๆ 2. ชว่ ยสง่ เสริมให ้ครูมค ี วามภาคภูมใิ จในวิชาชพ 3. มาตรการนีอ ้ าจมีผลกระทบต่อรายได ้การจัดเก็บภาษี เพียงเล็กน ้อย แต่จะมีสว่ นชว่ ย ึ ษาของชาติทัดเทียมกับนานาอารยะประเทศ และเป็ นการประหยัดงบประมาณอีกทางหนึง่ สง่ เสริมให ้ การศก ึ ษาของ 27. เรือ ่ ง แผนการดําเนินงานตามมาตรการป้องก ันและแก้ไขปัญหาการทะเลาะวิวาทของน ักเรียนน ักศก ึ ษาธิการและหน่วยงานทีเ่ กีย องค์กรหล ักกระทรวงศก ่ วข้อง คณะรัฐมนตรีรับทราบแผนการดําเนินงานตามมาตรการป้ องกันและแก ้ไขปั ญหาการทะเลาะวิวาทของนักเรียน ึ ึ ษาธิการและหน่วยงานทีเ่ กีย ึ ษาธิการเสนอ นักศกษาขององค์กรหลักกระทรวงศก ่ วข ้อง ตามทีก ่ ระทรวงศก สาระสําค ัญของเรือ ่ ง ึ กระทรวงศกษาธิการรายงานว่าได ้ดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี (7 ก.ย. 53) แล ้ว โดยแต่งตัง้ ึ ษา ประกอบด ้วย กระทรวง กรม และหน่วยงาน คณะกรรมการป้ องกันและแก ้ไขปั ญหาการทะเลาะวิวาทของนักเรียนนักศก ภาครัฐและเอกชนทีเ่ กีย ่ วข ้อง และได ้มีการประชุมจัดทําแผนปฏิบต ั ก ิ ารเสร็จเรียบร ้อยแล ้ว ซงึ่ มีแผนการดําเนินงานตาม มาตรการป้ องกันฯ ของหน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข ้อง จํานวน 20 หน่วยงาน ดังนี้ ึ ษาธิการ 1. แผนการดําเนินงานตามมาตรการป้ องกันฯ สํานักงานปลัดกระทรวงศก ึ ษาขัน 2. แผนการดําเนินงานตามมาตรการป้ องกันฯ สํานักงานคณะกรรมการการศก ้ พืน ้ ฐาน ํ ึ 3. แผนการดําเนินงานตามมาตรการป้ องกันฯ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศกษา ึ ษา 4. แผนการดําเนินงานตามมาตรการป้ องกันฯ สํานักงานคณะกรรมการอาชวี ศก ึ ษา 5. แผนการดําเนินงานตามมาตรการป้ องกันฯ สํานักงานเลขาธิการสภาการศก 6. แผนการดําเนินงานตามมาตรการป้ องกันฯ กองบัญชาการตํารวจนครบาล 7. แผนการดําเนินงานตามมาตรการป้ องกันฯ กองกํากับการสวัสดิภาพเด็กและสตรี กองบัญชาการตํารวจ นครบาล 8. แผนการดําเนินงานตามมาตรการป้ องกันฯ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม 9. แผนการดําเนินงานตามมาตรการป้ องกันฯ กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุตธิ รรม 10. แผนการดําเนินงานตามมาตรการป้ องกันฯ สํานักงานสง่ เสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์ เด็ก และเยาวชน ผู ้ด ้อยโอกาสและผู ้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ 11. แผนการดําเนินงานตามมาตรการป้ องกันฯ กรมพินจ ิ และคุ ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุตธิ รรม 12. แผนการดําเนินงานตามมาตรการป้ องกันฯ ศูนย์เฝ้ าระวังทางวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ั พันธ์ 13. แผนการดําเนินงานตามมาตรการป้ องกันฯ กรมประชาสม 14. แผนการดําเนินงานตามมาตรการป้ องกันฯ กองบังคับการปราบปราม สํานักงานตํารวจแห่งชาติ 15. แผนการดําเนินงานตามมาตรการป้ องกันฯ กรมสง่ เสริมการปกครองสว่ นท ้องถิน ่ กระทรวงมหาดไทย 16. แผนการดําเนินงานตามมาตรการป้ องกันฯ กระทรวงแรงงาน ิ ป์ 17. แผนการดําเนินงานตามมาตรการป้ องกันฯ สถาบันบัณฑิตพัฒนศล
36 ึ ษากรุงเทพมหานคร 18. แผนการดําเนินงานตามมาตรการป้ องกันฯ สํานักการศก 19. แผนการดําเนินงานตามมาตรการป้ องกันฯ กระทรวงการท่องเทีย ่ วและกีฬา 20. แผนการดําเนินงานตามมาตรการป้ องกันฯ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล ้อม เรือ ่ งทีค ่ ณะร ัฐมนตรีร ับทราบเพือ ่ เป็นข้อมูล 28. เรือ ่ ง การค้าระหว่างประเทศของไทยในระยะ 11 เดือนของปี 2553 (มกราคม-พฤศจิกายน) คณะรัฐมนตรีรับทราบข ้อมูลการค ้าระหว่างประเทศของไทยในระยะ 11 เดือนของปี 2553 (มกราคมพฤศจิกายน) ของกระทรวงพาณิชย์สรุปได ้ดังนี้ สาระสําค ัญของเรือ ่ ง ่ ออก 1. การสง ่ ออกเดือนพฤศจิกายน 2553 1.1 การสง ่ ออก มีมล ้ ถึงร ้อยละ 28.4 ขยายตัว 1.1.1 การสง ู ค่า 17,699.9 ล ้านเหรียญสหรัฐฯ เพิม ่ ขึน ในอัตราสูงอย่างต่อเนือ ่ ง ในรูปเงินบาทการสง่ ออกมีมล ู ค่า 524,800.6 ล ้านบาท เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 14.7 ิ ค้าสง ่ ออก สง่ ออกเพิม ิ ค ้า ดังนี้ 1.1.2 สน ่ ขึน ้ ต่อเนือ ่ งทุกหมวดสน ิ ค้าเกษตร/อุตสาหกรรมเกษตร เพิม ้ ถึงร ้อยละ 25.7 เนือ (1) สน ่ ขึน ่ งจากการ ิ ค้าอาหาร ประเภท อาหาร สง่ ออกข้าวเพิม ่ ขึน ้ ทัง้ ปริมาณและมูลค่าถึงร ้อยละ 38.4 และ 53.1 ตามลําดับ รวมทัง้ สน ่ ข็งและแปรรูป ผ ักผลไม้ และ ไก่แชแ ่ ข็งและแปรรูป ทีย ทะเล กุง้ แชแ ่ ังสง่ ออกเพิม ่ ขึน ้ ทัง้ ปริมาณและมูลค่า ขณะที่ ยางพารา ม ันสําปะหล ัง มูลค่าสง่ ออกเพิม ่ ขึน ้ แต่ปริมาณสง่ ออกลดลง เนือ ่ งจากผลผลิตในประเทศลดลงและราคา สง่ ออกสูงขึน ้ สําหรับ นํา้ ตาล สง่ ออกลดลงทัง้ ปริมาณและมูลค่า เนือ ่ งจาก ผลผลิตในประเทศลดลงและความต ้องการใช ้ ในประเทศเพิม ่ ขึน ้ ิ ค้าอุตสาหกรรมสําค ัญ สน ิ ค ้าสง่ ออกสําคัญสว่ นใหญ่สง่ ออกเพิม (2) สน ่ ขึน ้ ิ ค้าทีส ่ ออกเพิม ้ ้ สูงกว่าร้อยละ 20 ได ้แก่ ยานยนต์ เครือ สน ่ ง ่ ขึน ่ งใชไฟฟ้ า เม็ดและผลิตภัณฑ์พลาสติก สงิ่ ทอ ผลิตภัณฑ์ยาง สงิ่ พิมพ์ เครือ ่ งสําอาง เครือ ่ งเดินทางและเครือ ่ ง ิ ้ อ ั /เครือ หนัง เลนส ์ เครือ ่ งใชเครื ่ งประดับตกแต่ง ผลิตภัณฑ์เภสช ่ งมือแพทย์ นาฬกา เครือ ่ งกีฬาและ เครือ ่ งเล่นเกมส ์ โดยเฉพาะ อัญมณีทส ี่ ง่ ออกเพิม ่ ขึน ้ ถึงร ้อยละ 89.7 เนือ ่ งจากการสง่ ออกทองคําทีเ่ พิม ่ ขึน ้ ถึงร ้อยละ 215.6 ขณะทีอ ่ ญ ั มณีทห ี่ ักทองคําออกแล ้วสง่ ออกเพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 23.8 ิ ค้าทีส ่ ออกลดลง ได ้แก่ ว ัสดุกอ สน ่ ง ่ สร้าง ลดลงร ้อยละ 1.4 เป็ นการ ลดลงของการสง่ ออกโครงก่อสร ้างทําด ้วยเหล็กและเหล็กกล ้าไปออสเตรเลียทีล ่ ดลงถึงร ้อยละ 98.0 เนือ ่ งจากปี 2552 มี การสง่ ออกไปเพือ ่ ก่อสร ้างโรงแยกก๊าซ ่ ออก สง่ ออกเพิม 1.1.3 ตลาดสง ่ ขึน ้ ต่อเนือ ่ งในทุกตลาด ิ สามร ้อยละ 22.5 เป็ นการเพิม (1) ตลาดหล ัก สง่ ออกเพิม ่ ขึน ้ ต่อเนือ ่ งเป็ นเดือนทีส ่ บ ่ ขึน ้ ในอัตราสูงในทุกตลาด โดยเฉพาะ ญีป ่ นที ุ่ ย ่ ังเพิม ่ ขึน ้ ถึงร ้อยละ 25.1 ขณะทีส ่ หภาพยุโรปและสหรัฐฯก็ขยายตัวถึงร ้อยละ 22.6 และ 19.9 ตามลําดับ ั ิ ห ้า ร ้อยละ 30.3 เป็ น (2) ตลาดศกยภาพสู ง สง่ ออกเพิม ่ ขึน ้ ต่อเนือ ่ งเป็ นเดือนทีส ่ บ ่ งกง และ เกาหลีใต ้ทีข การเพิม ่ ขึน ้ ในอัตราสูงในทุกตลาด โดยเฉพาะ ไต ้หวัน ฮอ ่ ยายตัวในอัตราสูงถึงร ้อยละ 70.3 , 55.8 ี น(5) จีน อินโดจีนและพม่า และ อินเดีย ก็ขยายตัวสูงกว่าร ้อยละ 20 และ 41.8 ตามลําดับ ขณะที่ อาเซย ั ิ ห ้า เป็ นการ (3) ตลาดศกยภาพระด ับรอง สง่ ออกเพิม ่ ขึน ้ ต่อเนือ ่ งเป็ นเดือนทีส ่ บ ี และ CIS แอฟริกา และ ขยายตัวเกือบทุกตลาด ยกเว ้นออสเตรเลียทีส ่ ง่ ออกลดลงร ้อยละ 0.3 ขณะทีก ่ ารสง่ ออกไปรัสเซย ิ แคนาดาขยายตัวในอัตราสูงถึงร ้อยละ 122.9 , 46.3 และ 35.6 ตามลําดับ สําหรับตะวันออกลางและประเทศสมาชก ิ ค ้าทีล สหภาพยุโรปทีเ่ หลือ 12 ประเทศ ขยายตัวในอัตราทีไ่ ม่สงู มากนัก สว่ นออสเตรเลีย ลดลงร ้อยละ 4.1 สน ่ ดลง ได ้แก่ โครงก่อสร ้างทําด ้วยเหล็กและเหล็กกล ้า(ลดลงร ้อยละ 84.8) ่ ผลทําให้การสง ่ ออกขยายต ัว ได ้แก่ 1.1.4 ปัจจ ัยทีส ่ ง 1) ความต ้องการในตลาดโลกทีฟ ่ ื้ นตัวมากขึน ้ ตามการฟื้ นตัวของเศรษฐกิจและการค ้าของ ี คือ จีน อินเดีย เอเซย ี ตะวันออกและอาเซย ี น ตลาดสง่ ออกสําคัญ โดยเฉพาะ สหรัฐฯ ญีป ่ น ุ่ และประเทศในแถบเอเซย
37 ื้ ในต่างประเทศเริม ื้ 2) สต็อกของผู ้นํ าเข ้าในต่างประเทศทีล ่ ดลง ทําให ้ผู ้ซอ ่ กลับมาซอ ิ ค ้าเกษตรและอุตสาหกรรม มากขึน ้ ทัง้ สน 3) ผลสําเร็จจากข ้อตกลงการค ้าเสรีกบ ั ประเทศต่าง ๆ ทําให ้การสง่ ออกขยายตัวเพิม ่ ขึน ้ ี ํ ่ ในอัตราสูง โดยเฉพาะ จีน อินเดีย และ อาเซยน รวมทัง้ ความสาเร็จจากการดําเนินมาตรการเร่งรัดผลักดันการสงออก ร่วมกันระหว่างภาครัฐและ เอกชนทีด ่ ําเนินการมาโดยตลอดและต่อเนือ ่ ง ่ 1.2 การสงออกในระยะ 11 เดือนของปี 2553 (ม.ค.-พ.ย.) ่ ออก สง่ ออกมีมล 1.2.1 การสง ู ค่า 177,977.3 ล ้านเหรียญสหรัฐฯ เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ ่ 29.1 ในรูปเงินบาทการสงออกมีมล ู ค่า 5,661,023.9 ล ้านบาท เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 20.1 ิ ่ ิ 1.2.2 สนค้าสงออก เพิม ่ ขึน ้ ทุกหมวดสนค ้า ดังนี้ ิ ่ ออกเพิม ้ เกือบทุกรายการ (1) สนค้าเกษตร/อุตสาหกรรมเกษตรสําค ัญสง ่ ขึน ํ ิ เป็ นการเพิม ่ ขึน ้ ทัง้ ปริมาณและมูลค่า โดยเฉพาะ ยางพารา ม ันสาปะหล ัง และสนค้าอาหาร ประเภท อาหารทะเลแช่ ่ ข็งและแปรรูป และ ไก่แชแ ่ ข็งและแปรรูป ขณะที่ ผ ักและผลไม้ และ นํา้ ตาล แข็ง กระป๋องและแปรรูป กุง้ แชแ ้ มูลค่าสง่ ออกเพิม ่ ขึน ้ แต่ปริมาณสง่ ออกลดลงเล็กน ้อย เนือ ่ งจาก ผลผลิตในประเทศลดลงและความต ้องการใชในประเทศ เพิม ่ ขึน ้ รวมทัง้ ข้าว ทีม ่ ล ู ค่าสง่ ออกกลับมาสง่ ออกเพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 1.7 แต่ปริมาณลดลงร ้อยละ 1.0 จากปั ญหาการ แข่งขันด ้านราคากับเวียดนาม ปากีสถานและอินเดียและการแข็งค่าของเงินบาท ิ ค้าอุตสาหกรรมสําค ัญ สง่ ออกเพิม (2) สน ่ ขึน ้ ทุกรายการ ิ ่ ้ สูงกว่าร้อยละ 20 ได ้แก่ เครือ สนค้าทีส ่ งออกเพิม ่ ขึน ่ ง ์ ้ ่ อิเล็กทรอนิกส เครือ ่ งใชไฟฟ้ า ยานยนต์ อุปกรณ์และสวนประกอบ เม็ดและผลิตภัณฑ์พลาสติก ผลิตภัณฑ์ ิ ํ ยาง เครือ ่ งสาอาง เลนส ์ นาฬกา และ อัญมณีทห ี่ ักทองคําออกแล ้วสง่ ออกเพิม ่ ขึน ้ ถึงร ้อยละ 24.8 (การสง่ ออกอัญ มณีเพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 14.2 และการสง่ ออกทองคําเพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 7.0) ่ 1.2.3 ตลาดสงออก เพิม ่ ขึน ้ ต่อเนือ ่ ง ในทุกตลาดดังนี้ ่ ั สว่ นคิดเป็ นร ้อยละ 30.6 (1) ตลาดหล ัก สงออกเพิม ่ ขึน ้ ต่อเนือ ่ งร ้อยละ 24.1 มีสด ของการสง่ ออกรวม เป็ นการเพิม ่ ขึน ้ ในทุกตลาด ได ้แก่ ญีป ่ น ุ่ สหรัฐฯ และสหภาพยุโรป(15) เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 29.8 , 22.2 และ 20.6 ตามลําดับ ั ั สว่ น (2) ตลาดศกยภาพสู ง สง่ ออกเพิม ่ ขึน ้ ต่อเนือ ่ งในอัตราสูงถึงร ้อยละ 37.2 มีสด ี น(5) จีน อิน คิดเป็ นร ้อยละ 47.2 ของการสง่ ออกรวม และเป็ นการเพิม ่ ขึน ้ ในอัตราทีค ่ อ ่ นข ้างสูงในทุกตลาด ทัง้ อาเซย ่ งกง อินเดีย ไต ้หวันและเกาหลีใต ้ โดจีนและพม่า ฮอ ั ั สว่ นคิดเป็ น (3) ตลาดศกยภาพระด ับรอง สง่ ออกเพิม ่ ขึน ้ ต่อเนือ ่ งร ้อยละ 20.2 มีสด ี และ CIS ที่ ร ้อยละ 19.5 ของการสง่ ออกรวม เป็ นการขยายตัวในทุกตลาด โดยเฉพาะ ลาตินอเมริกา และ รัสเซย ิ สหภาพยุโรปที่ ขยายตัวในอัตราสูง ต่อเนือ ่ ง ขณะทีท ่ วีปออสเตรเลีย ตะวันออกกลาง แอฟริกาและประเทศสมาชก เหลือ 12 ประเทศ ขยายตัวในอัตราทีไ่ ม่สงู มากนัก 2. การนําเข้า 2.1 การนําเข้าเดือนพฤศจิกายน 2553 2.1.1 การนําเข้า มีมล ู ค่า 17,292.0 ล ้านเหรียญสหรัฐฯ เทียบกับระยะเดียวกันของปี ท ี่ ผ่านมา เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 35.30 คิดในรูปเงินบาทมีมล ู ค่า 519,277.3 ล ้านบาท เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 21.05 ิ ิ ํ 2.1.2 สนค้านําเข้า สนค ้านํ าเข ้าสาคัญมีการนํ าเข ้าเพิม ่ ขึน ้ เกือบทุกหมวดดังนี้ ้ ิ ื (1) สนค้าเชอเพลิง นํ าเข ้ามูลค่า 3,738.3 ล ้านเหรียญสหรัฐฯ เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 61.1การ ิ ้ ื ํ ิ นํ าเข ้าสนค ้าเชอเพลิงทีส ่ าคัญ ได ้แก่ นํา้ ม ันดิบ มูลค่าเพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 72.5 ในเชงปริมาณมีจํานวน 36.7 ล ้านบาร์เรล (1,222,375 บาร์เรลต่อวัน) เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 59.2 ิ ค้าทุน นํ าเข ้ามูลค่า 4,216.1 ล ้านเหรียญสหรัฐฯ เพิม (2) สน ่ ขึน ้ ร ้อยละ 23.6 สอดคล ้องกับทิศทางเศรษฐกิจของประเทศทีเ่ ริม ่ ขยายตัว และการลงทุนในภาคการผลิตภายในประเทศและเพือ ่ การสง่ ออก ิ ค ้าทุนทีส เพิม ่ ขึน ้ การนํ าเข ้าสน ่ ําคัญ ได ้แก่ เครือ ่ งจ ักรกลและสว่ นประกอบ เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 38.0 เครือ ่ งจ ักรไฟฟ้าและ ่ ่ สวนประกอบ เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 20.1 เครือ ่ งคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และสวนประกอบ เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 5.97
38 ิ ค้าว ัตถุดบ (3) สน ิ และกึง่ สําเร็จรูป นํ าเข ้ามูลค่า 6,918.6 ล ้านเหรียญสหรัฐฯ เพิม ่ ขึน ้ ่ ิ ร ้อยละ 34.1 สอดคล ้องกับการสงออกและการบริโภคในประเทศทีข ่ ยายตัวเพิม ่ ขึน ้ อย่างต่อเนือ ่ ง สนค ้าวัตถุดบ ิ และกึง่ ้ ์ ่ ํ ํ สาเร็จรูปสาคัญ ได ้แก่ อุปกรณ์สวนประกอบเครือ ่ งใชไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 16.1 เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภ ัณฑ์ นํ าเข ้าปริมาณลดลงร ้อยละ 2.4 มูลค่าเพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 27.6 เป็ นการนํ าเข ้าตามความต ้องการ บริโภคภายในประเทศ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมยานยนต์ ภาคก่อสร ้าง และการผลิตภาชนะบรรจุภัณฑ์ เป็ นต ้น เคมีภ ัณฑ์ เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 26.2 ทองคํา ปริมาณ 13.1 ตัน มูลค่า 566.1 ล ้านเหรียญสหรัฐฯ ในเชงิ ปริมาณ เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 121.4 และ ิ ในเชงมูลค่าเพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 175.5 เนือ ่ งจากราคาทองคําในตลาดโลกมีแนวโน ้มเพิม ่ ขึน ้ และเงินบาทแข็งค่า ิ ิ ค ้าถูกลง (4) สนค้าอุปโภคบริโภค นํ าเข ้าเพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 23.4 เนือ ่ งจากราคานํ าเข ้าสน ื้ เพิม ิ ค ้าอุปโภคบริโภคทีส จากค่าเงินบาททีแ ่ ข็งค่าขึน ้ และเป็ นชว่ งเทศกาลปลายปี ทําให ้มีการซอ ่ ขึน ้ การนํ าเข ้าสน ่ ําคัญ ได ้แก่ เครือ ่ งใชไ้ ฟฟ้าในบ้าน เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 13.4 เครือ ่ งใชเ้ บ็ดเตล็ด เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 27.3 ผลิตภ ัณฑ์เวชกรรมและ ั เภสชกรรม เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 14.0 ิ ค้ายานพาหนะและอุปกรณ์ขนสง ่ เพิม ิ ค ้านํ าเข ้าสําคัญ (5) สน ่ ขึน ้ ร ้อยละ 41.5 สน ได ้แก่ สว่ นประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 44.7 รถยนต์นง่ ั เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 41.2 รถยนต์โดยสารและ ่ รถบรรทุก เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 33.3 สวนประกอบและอุปกรณ์จ ักรยานยนต์และรถจ ักรยาน เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 17.3 2.2 การนําเข้าในระยะ 11 เดือนของปี 2553 (ม.ค.-พ.ย.) 2.2.1 การนําเข้า นํ าเข ้ามูลค่า 166,101.9 ล ้านเหรียญสหรัฐฯ เทียบกับระยะเดียวกัน ของ ปี 2552 เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 39.3 คิดในรูปเงินบาทมีมล ู ค่า 5,348,135.3 ล ้านบาท เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 29.8 ํ ิ ิ ิ ค ้าเชอ ื้ เพลิงเพิม 2.2.2 สนค้านําเข้าสาค ัญ มีการนํ าเข ้าเพิม ่ ขึน ้ ทุกหมวดสนค ้าดังนี้ สน ่ ขึน ้ ร ้อย ิ ิ ํ ิ ละ 27.8 สนค ้าทุน เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 31.6 สนค ้าวัตถุดบ ิ กึง่ สาเร็จรูป เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 49.4 สนค ้าอุปโภคบริโภค เพิม ่ ขึน ้ ร ้อย ิ ละ 29.0 และสนค ้ายานพาหนะและอุปกรณ์ เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 80.0 3. ดุลการค้า เดือนพฤศจิกายน 2553 ไทยเกินดุลมูลค่า 407.9 ล ้านเหรียญสหรัฐฯ คิดในรูปเงินบาทเกินดุลมูลค่า 5,523.3 ่ ล ้านบาท สงผลให ้ในระยะ 11 เดือน (ม.ค.-พ.ย.) ไทยเกินดุลการค ้าสะสมมูลค่า 11,875.4 ล ้านเหรียญสหรัฐฯ หรือ 312,888.6 ล ้านบาท ่ ออกของไทยก ับประเทศคูแ 4. เปรียบเทียบอ ัตราการขยายต ัวของการสง ่ ข่ง ปี 2553 มค. 53 กพ. 53 มีค. 53 เมย. 53 พค.53 มิย.53 กค.53 สค. 53 กย.53 ตค.53 พ.ย.53 ไทย 30.8 23.1 40.9 35.2 42.1 46.3 20.6 23.9 21.2 15.7 28.5 จีน 21.0 45.7 24.2 30.4 48.4 43.9 38.0 34.3 25.1 22.8 34.9 ไต ้หวัน 75.8 32.6 50.1 47.8 57.9 34.1 38.5 26.6 17.5 21.9 21.8 เกาหลีใต ้ 45.8 30.3 34.3 29.8 40.5 30.2 27.5 26.6 17.5 21.9 21.8 เวียดนาม 34.8 - 25.6 5.3 24.6 43.0 33.4 25.5 51.6 34.2 23.9 36.6 ิ สงคโปร์ 37.0 19.2 29.3 30.0 29.0 28.3 16.6 25.5 18.8 19.6 Na ี มาเลเซย 37.0 18.4 36.4 26.6 21.9 17.2 13.5 10.6 6.9 Na Na ์ ฟิ ลป ิ ปิ นส 42.4 42.5 43.7 28.2 37.3 33.7 35.9 36.6 46.1 26.4 Na 29. เรือ ่ ง สรุปผลการดําเนินงานตามแผน “คมนาคมปลอดภ ัย เทศกาลปี ใหม่ 2554” คณะรัฐมนตรีรับทราบข ้อมูลสรุปผลการดําเนินการรองรับการเดินทางของประชาชนในชว่ งเทศกาลปี ใหม่ 2554 ตามแผน “คมนาคมปลอดภัย เทศกาลปี ใหม่ 2554” ระหว่างวันที่ 29 ธันวาคม 2553-4 มกราคม 2554 ของกระทรวง คมนาคม สรุปได ้ดังนี้ ่ สาธารณะ และการอํานวยความสะดวกและความปลอดภ ัย 1. การให้บริการขนสง ่ สาธารณะ 1.1 การจ ัดบริการขนสง หน่วยงานทีร่ ับผิดชอบการให ้บริการขนสง่ สาธารณะได ้เพิม ่ จํานวนยานพาหนะ เทีย ่ ววิง่ รถ และ ้ ้ ิ เทีย ่ วบินเสริมพิเศษ เพือ ่ รองรับปริมาณการเดินทางตลอดเทศกาล โดยมีประชาชนใชบริการทงส ั้ น จํานวน 6,052,508 คน ่ ึ ซงเพียงพอกับความต ้องการของประชาชน ประกอบด ้วย
39 ่ จําก ัด และบริษ ัทรถร่วมบริการ 1) บริษ ัท ขนสง เพิม ่ จํานวนเทีย ่ วรถขาขึน ้ และขาล่องระหว่างวันที่ 29 ธันวาคม 2553-4 มกราคม 2554 รวม ้ ้ ิ 43,757 เทีย ่ ว มีผู ้โดยสารใชบริการรวมจํานวนทัง้ สน 1,271,566 คน 2) การรถไฟแห่งประเทศไทย ้ จัดเดินขบวนรถไฟพิเศษเพิม ่ ในเสนทางสายเหนื อและตะวันออกเฉียงเหนือ เทีย ่ วไปวันที่ 3031 ธันวาคม 2553 จัดเพิม ่ ขึน ้ จากปกติ จํานวน 7 ขบวน และเทีย ่ วกลับวันที่ 3-4 มกราคม 2554 จัดเพิม ่ ขึน ้ จากปกติ จํานวน 13 ้ ้ ิ ขบวน มีผู ้โดยสารใชบริการรวมจํานวนทัง้ สน 975,744 คน ่ มวลชนกรุงเทพ 3) องค์การขนสง เพิม ่ จํานวนเทีย ่ ววิง่ รถโดยสารเป็ น 44,024 เทีย ่ ว เพือ ่ รับสง่ ผู ้โดยสารตามสถานีขนสง่ และ ้ การรวมจํานวนทัง้ สน ิ้ 2,855,671 คน สถานีรถไฟ มีผู ้โดยสารใชบริ 4) บริษ ัท การบินไทย จําก ัด (มหาชน) ิ้ 587 เทีย ให ้บริการเทีย ่ วบินในประเทศ รวมทัง้ สน ่ วบิน โดยได ้เพิม ่ เทีย ่ วบินเสริมพิเศษ จํานวน ้ ี 8 เทีย ่ วบิน ในเสนทางบินไป-กลับ กรุงเทพฯ-เชยงใหม่ และกรุงเทพฯ-กระบี่ ในวันที่ 30 ธันวาคม 2553 และวันที่ 2 มกราคม ้ การรวมจํานวนทัง้ สน ิ้ 122,547 คน 2554 มีผู ้โดยสารใชบริ ่ มวลชนแห่งประเทศไทย 5) การรถไฟฟ้าขนสง เพิม ่ ความถีใ่ นการให ้บริการและจัดขบวนรถเพิม ่ ในระหว่างวันที่ 31 ธันวาคม 2553-1 ้ ้ ิ มกราคม 2554 มีผู ้โดยสารใชบริการรวมจํานวนทัง้ สน 826,980 คน 1.2 การอํานวยความสะดวกและความปลอดภ ัย 1) การยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ เพือ ่ อํานวยความสะดวกในการเดินทางและลดปั ญหา ิ้ ประมาณ 114,252,225 บาท ประกอบด ้วย ่ การจราจรติดขัดบริเวณหน ้าด่านเก็บเงินในชวงเทศกาล คิดเป็นมูลค่าทงส ั้ น ้ 1.1) กรมทางหลวง ยกเว ้นค่าธรรมเนียมการใชยานยนต์ บนทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 และ ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ตัง้ แต่เวลา 16.00 น. ของวันที่ 27 ธันวาคม 2553 ถึงเวลา 24.00 น. ของวันที่ 3 มกราคม 2554 โดยมีรถผ่านทาง จํานวน 2,845,461 คัน ซงึ่ คิดเป็ นมูลค่าผ่านทาง จํานวน 91,552,490 บาท 1.2) การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ยกเว ้นค่าผ่านทางพิเศษสายบูรพาวิถ ี (บางนาชลบุร)ี ตัง้ แต่เวลา 00.00 น. ของวันที่ 28 ธันวาคม 2553 ถึงเวลา 24.00 น. ของวันที่ 3 มกราคม 2554 โดยมีรถผ่านทาง จํานวน 551,768 คัน ซงึ่ คิดเป็ นมูลค่าผ่านทาง จํานวน 22,699,735 บาท ั 2) การจ ัดตงั้ “ศูนย์คมนาคมปลอดภ ัย สงคมไทยเป ็ นสุข” บนทางหลวงสายหลักทั่วประเทศ ทํา หน ้าที่ ดังนี้ 2.1) เป็นจุดบริการร่วมของกระทรวงคมนาคม (กรมการขนสง่ ทางบก กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท และบริษัท ขนสง่ จํากัด) และหน่วยงานอืน ่ ทีเ่ กีย ่ วข ้อง ในการอํานวยความสะดวก/ บริการประชาชนระหว่างการ เดินทาง 2.2) จุดพ ักรถโดยสารสาธารณะ โดยกรมการขนสง่ ทางบกและบริษัท ขนสง่ จํากัด ได ้ ้ กําหนดให ้รถโดยสารประจําทางและไม่ประจําทางทีว่ งิ่ ผ่านเสนทางบนถนนสายหลั ก จอดพักรถ ตรวจสภาพความพร ้อมของผู ้ขับ ขีแ ่ ละตัวรถ และเพือ ่ ให ้ผู ้โดยสารได ้ผ่อนคลายอิรย ิ าบถ ณ จุดให ้บริการ ี ่ งเทศกาลปี ใหม่ 2554 ระหว่างว ันที่ 29 ธ ันวาคม 2. สรุปจํานวนอุบ ัติเหตุ ผูเ้ สยชวี ต ิ และผูบ ้ าดเจ็บในชว 2553-4 มกราคม 2554 2.1 สถิตก ิ ารเกิดอุบ ัติเหตุทางถนนในความร ับผิดชอบของกระทรวงคมนาคม (กรมทางหลวง ประมาณ 60,000 กิโลเมตร และกรมทางหลวงชนบท ประมาณ 49,000 กิโลเมตร) เปรียบเทียบระหว่างชว่ งเทศกาลปี ใหม่ปี ี ชวี ต 2553 และ 2554 มีจํานวนครัง้ ของการเกิดอุบต ั เิ หตุและจํานวนผู ้บาดเจ็บลดลง แต่จํานวนผู ้เสย ิ เพิม ่ ขึน ้ เล็กน ้อยร ้อยละ 2.10 รายละเอียดปรากฏดังตารางที่ 1
40 ี ชวี ต ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบจํานวนอุบ ัติเหตุ ผูเ้ สย ิ และผูบ ้ าดเจ็บทางถนน ในความ ่ ร ับผิดชอบของกระทรวงคมนาคม ระหว่างชวงเทศกาลปี ใหม่ 2553 และ 2554 รายการ
ปี ใหม่ 2553
ปี ใหม่ 2554
เปลีย ่ นแปลง (ร้อย ละ)
อุบต ั เิ หตุ (ครัง้ ) ี ชวี ต ผู ้เสย ิ (คน)
1,139
949
ลดลง 16.86
238
243
เพิม ่ ขึน ้ 2.10
ผู ้บาดเจ็บ (คน)
1,332 1,214 ลดลง 8.86 ั ษฐานของการเกิดอุบ ัติเหตุทางถนนในความร ับผิดชอบของกระทรวงคมนาคม 2.2 มูลเหตุสนนิ ั นิษฐานของการเกิด จากการตรวจสอบพบว่า ในชว่ งเทศกาลปี ใหม่ 2553 และ 2554 มูลเหตุสน ั ้ ชด ิ และเมาสุราหรือยาบ ้า รายละเอียดปรากฏดังตารางที่ 2 อุบต ั เิ หตุ 3 ลําดับแรก คือ ขับรถเร็วเกินกําหนด ตัดหน ้ากระชน ั ษฐานของการเกิดอุบ ัติเหตุทางถนนในความร ับผิดชอบของกระทรวงคมนาคม ตารางที่ 2 มูลเหตุสนนิ ลําด ับ
รายการ
ปี ใหม่ 2554 (ครง) ั้
คิดเป็นร้อยละ
1
ขับรถเร็วเกินกําหนด
434
54.73
2
ั ้ ชด ิ คนหรือรถตัดหน ้ากระชน
154
16.23
3
เมาสุรา/ยาบ ้า
123
12.96
2.3 ประเภทของยานพาหนะทีเ่ กิดอุบ ัติเหตุมากตามลําด ับ ในชว่ งเทศกาลปี 2554 ประเภทของยานพาหนะทีเ่ กิดอุบต ั เิ หตุทางถนนในความรับผิดชอบของ กระทรวงคมนาคม ตารางที่ 3 ประเภทของยานพาหนะทีเ่ กิดอุบ ัติเหตุทางถนนในความร ับผิดชอบของกระทรวงคมนาคม 3 อ ันด ับแรก ลําด ับ
รายการ
ปี ใหม่ 2554 (ครง) ั้
คิดเป็นร้อยละ
1
รถจักรยานยนต์
559
36.42
2
รถปิ คอัพบรรทุก 4 ล ้อ รถยนต์นั่งสว่ นบุคคล/รถยนต์นั่งสาธารณะ
425
27.69
3
317
20.65
2.4 การเกิดอุบ ัติเหตุทางราง ี ชวี ต สรุปการเกิดอุบต ั เิ หตุทางรถไฟชว่ งเทศกาลปี ใหม่ 2554 เกิดอุบต ั เิ หตุจํานวน 9 ครัง้ มีผู ้เสย ิ จํานวน 7 คน และผู ้บาดเจ็บจํานวน 7 คน 2.5 การเกิดอุบ ัติเหตุทางนํา้ และทางอากาศ ไม่มรี ายงานการเกิดอุบต ั เิ หตุในชว่ งเทศกาลปี ใหม่ 2554 ่ งเทศกาลปี ใหม่ 2554 ้ ชว 3. การวิเคราะห์สถิตอ ิ บ ุ ัติเหตุทเี่ กิดขึน ั ษฐานการเกิดอุบ ัติเหตุในชว ่ งเทศกาลปี ใหม่ 2554 ยังคงพบว่า มูลเหตุ 3.1 สถิตแ ิ ละมูลเหตุสนนิ ั นิษฐานการเกิดอุบต สน ั เิ หตุทางถนนในความรับผิดชอบของกระทรวงคมนาคม เมือ ่ เปรียบเทียบกับชว่ งเทศกาลปี ใหม่ 2553 ั นิษฐานการเกิดอุบต ้ ้ มูลเหตุสน ั เิ หตุยังคงเกิดจากพฤติกรรมของผู ้ใชรถใช ถนน ความประมาท และการขาดวินัยจราจร โดยเฉพาะในเรือ ่ งของการขับรถเร็วเกินทีก ่ ฎหมายกําหนด คิดเป็ นร ้อยละ 45.73 และชว่ งเวลาทีเ่ กิดอุบต ั เิ หตุสงู สุด ได ้แก่ ระหว่างเวลา 16.00 ถึง 20.00 น. รายละเอียดปรากฏดังตารางที่ 4 ั ษฐานการเกิดอุบ ัติเหตุในชว ่ งเทศกาลปี ใหม่ 2553-2554 ตารางที่ 4 เปรียบเทียบมูลเหตุสนนิ ั ษฐาน ลําด ับ มูลเหตุสนนิ ปี ใหม่ 2553 ปี ใหม่ 2554 เปลีย ่ นแปลง (ครง) ั้
(ครง) ั้
1
ขับรถเร็วเกินกําหนด
510 (ร ้อยละ 44.77)
434 (ร ้อยละ 45.73)
ลดลงร ้อยละ 14.90
2
ั ้ ชด ิ คนหรือรถตัดหน ้ากระชน
145 (ร ้อยละ 12.73)
154 (ร ้อยละ 16.22 )
เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 6.20
3
เมาสุรา/ยาบ ้า
131 (ร ้อยละ 11.50)
123 (ร ้อยละ 12.96)
ลดลงร ้อยละ 6.10
41 4
อืน ่ ๆ
รวม
353 (ร ้อยละ 30.99)
238 (ร ้อยละ 25.07 )
1,139
949
ลดลงร ้อยละ 32.57
ลดลงร้อยละ 16.68 ้ กรยานยนต์ 3.2 รถจ ักรยานยนต์ย ังคงเป็นพาหนะทีเ่ กิดอุบ ัติเหตุสง ู สุด เนือ ่ งจากปริมาณการใชรถจั เป็ นพาหนะในการเดินทางมีอต ั ราเพิม ่ ขึน ้ อย่างรวดเร็ว โดยในปี 2553 มีสถิตก ิ ารจดทะเบียนรถใหม่ จํานวน 1,792,432 คัน ซงึ่ มากกว่าการจดทะเบียนรถใหม่ ปี 2552 ถึง 154,277 คัน ซงึ่ อาจจะเป็ นผลมาจากการขยายตัวทางด ้านเศรษฐกิจของประเทศ ในปี 2553 รายละเอียดปรากฏดังตารางที่ 5 ่ งเทศกาลปี ใหม่ 2553-2554 ตารางที่ 5 เปรียบเทียบประเภทของยานพาหนะทีเ่ กิดอุบ ัติเหตุในชว ลําด ับ
รายการ
ปี ใหม่ 2553 (ครง) ั้
ปี ใหม่ 2554 (ครง) ั้
เปลีย ่ นแปลง
1
รถจักรยานยนต์
660 (ร ้อยละ 35.71)
559 (ร ้อยละ 36.42 )
ลดลงร ้อยละ 15.30
2
รถปิ คอัพบรรทุก 4 ล ้อ
476 (ร ้อยละ 25.75 )
425 (ร ้อยละ 27.69)
ลดลงร ้อยละ 10.71
3
รถยนต์นั่งสว่ นบุคคล/รถยนต์นั่งสาธารณะ
418 (ร ้อยละ 22.61)
317 (ร ้อยละ 20.65)
ลดลงร ้อยละ 21.21
4
อืน ่ ๆ
294 (ร ้อยละ 15.93 )
234 (ร ้อยละ 15.24)
ลดลงร ้อยละ 20.40
1,848
1,535
ลดลงร้อยละ 16.94
รวม
่ งเทศกาลปี ใหม่ 2554 เกิดอุบ ัติเหตุขน ้ึ ก ับรถโดยสารสาธารณะ จํานวน 15 ครัง้ มี 3.3 ในชว ี ชวี ต ผู ้โดยสารเสย ิ 1 ราย และมีผู ้บาดเจ็บจํานวน 124 คน ซงึ่ จากการตรวจสอบของกรมการขนสง่ ทางบกพบว่า รถโดยสารทีเ่ กิด ี ชวี ต ั นิษฐานการเกิดอุบต อุบต ั เิ หตุและมีผู ้เสย ิ เป็ นรถโดยสารไม่ประจําทาง มูลเหตุสน ั เิ หตุเบือ ้ งต ้นพบว่า เกิดจากพนักงานขับรถ ้ โดยสารไม่ชาํ นาญเสนทาง ทัง้ นี้ แม ้ว่าการเกิดอุบต ั เิ หตุทเี่ กิดขึน ้ กับรถโดยสารสาธารณะจะมีจํานวนไม่มากนัก แต่อบ ุ ต ั เิ หตุ ี ชวี ต สว่ นใหญ่จะมีความรุนแรง ทําให ้มีการเสย ิ และบาดเจ็บในคราวเดียวกันเป็ นจํานวนมาก เนือ ่ งจากรถโดยสารสาธารณะสว่ น ่ เข็มขัดนิรภัยสําหรับผู ้โดยสาร เป็ นต ้น รายละเอียดปรากฏดังตารางที่ 6 ใหญ่ยังไม่มอ ี ป ุ กรณ์ด ้านความปลอดภัยประจํารถ เชน ่ งเทศกาลปี ใหม่ 2553-2554 ้ ก ับรถโดยสารสาธารณะในชว ตารางที่ 6 เปรียบเทียบสถิตก ิ ารเกิดอุบ ัติเหตุทเี่ กิดขึน ลําด ับ รายการ
ปี ใหม่ 2553 (ครัง้ )
ปี ใหม่ 2554 (ครัง้ )
เปลีย ่ นแปลง
1
10
15
เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 50
2
จํานวนการเกิดอุบต ั เิ หตุ ี ชวี ต จํานวนผู ้โดยสารทีเ่ สย ิ
-
1
เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 100
3
จํานวนผู ้โดยสารทีไ่ ด ้รับบาดเจ็บ
19
124
เพิม ่ ขึน ้ ร ้อยละ 552.63
4. แนวทางการดําเนินการต่อไป ั นิษฐาน และประเภทของยานพาหนะ ทีเ่ กิดอุบัตเิ หตุ จากผลการวิเคราะห์ข ้อมูลจํานวนอุบต ั เิ หตุ มูลเหตุสน ี ชวี ต ดังกล่าวข ้างต ้น แม ้ว่าการดําเนินงานของกระทรวงคมนาคมจะไม่สามารถลดจํานวนผู ้เสย ิ จากอุบต ั เิ หตุทางถนนในชว่ ง เทศกาลปี ใหม่ 2554 เมือ ่ เทียบกับเทศกาลปี ใหม่ 2553 ได ้ตามเป้ าหมายทีต ่ งั ้ ไว ้ เนือ ่ งจากสาเหตุของการเกิดอุบต ั เิ หตุสว่ นใหญ่ เกิดจากพฤติกรรมการขับขีข ่ องประชาชนในชว่ งเทศกาลปี ใหม่ แต่กระทรวงคมนาคมจะยังคงดําเนินการแก ้ไขปั ญหาทีเ่ กิดขึน ้ ่ ต่อไป ภายใต ้โครงการ “2554 ปี แห่งความปลอดภัย” โดยจะนํ าข ้อมูลดังกล่าวมากําหนดเป็ นแนวทางในการแก ้ไขปั ญหา เชน ้ การสร ้างจิตสาํ นึกด ้านความปลอดภัยทางถนนแก่ประชาชน การยกระดับมาตรฐานด ้านความปลอดภัยในการใชระบบขนส ง่ ้ ิ ธิภาพเพือ สาธารณะ การใชมาตรการที ม ่ ป ี ระสท ่ ควบคุมความเร็วของยานพาหนะ เป็ นต ้น
42 แต่งตงั้ 30. เรือ ่ ง แต่งตงั้ ี เสนอขอแต่งตงเอกอ 1. ร ัฐบาลมาเลเซย ั้ ัครราชทูตประจําประเทศไทย ี เสนอแต่งตัง้ ดาโต๊ะนาซรี ะห์ บินตี ฮส ั ซย ั น์ (Dato’ Nazirah คณะรัฐมนตรีอนุมัตต ิ ามทีร่ ัฐบาลมาเลเซย ี ประจําประเทศไทยคนใหม่ สบ ื แทน binti Hussain) ให ้ดํารงตําแหน่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู ้มีอํานาจเต็มแห่งมาเลเซย ดาโต๊ะฮุสนี ไซ บิน ยาโคบ (Dato’ Husni Zai bin Yaacob) โดยมีถน ิ่ พํานัก ณ กรุงเทพมหานคร ตามทีก ่ ระทรวงการ ต่างประเทศเสนอ 2. เลือ ่ นและแต่งตงข้ ั้ าราชการกรุงเทพมหานครสาม ัญ ระด ับ 10 (กระทรวงมหาดไทย) ์ ร ้อยเพชร ข ้าราชการกรุงเทพมหานคร ตําแหน่ง นายแพทย์ คณะรัฐมนตรีอนุมัตแ ิ ต่งตัง้ นายบรรเทิง พงศส 9 วช. (ด ้านเวชกรรม สาขาศัลยกรรมกระดูก) กลุม ่ บริการทางการแพทย์ กลุม ่ งานศัลยกรรมกระดูก โรงพยาบาลเจริญกรุง ประชารักษ์ สํานักการแพทย์ ให ้ดํารงตําแหน่ง นายแพทย์ 10 วช. (ด ้านเวชกรรม สาขาศัลยกรรมกระดูก) กลุม ่ บริการทาง การแพทย์ กลุม ่ งานศัลยกรรมกระดูก โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ สํานักการแพทย์ ตัง้ แต่วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2553 ซงึ่ เป็ นวันทีม ่ ค ี ณ ุ สมบัตค ิ รบถ ้วนสมบูรณ์ ทัง้ นี้ ตัง้ แต่วันทีท ่ รงพระกรุณาโปรดเกล ้าฯ แต่งตัง้ เป็ นต ้นไป ิ ค้าและบริการ 3. แต่งตงกรรมการผู ั้ ท ้ รงคุณวุฒใิ นคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสน ิ ค ้าและบริการชุด คณะรัฐมนตรีอนุมัตใิ ห ้แต่งตัง้ กรรมการผู ้ทรงคุณวุฒใิ นคณะกรรมการกลางว่าด ้วยราคาสน ใหม่ จํานวน 8 คน เนือ ่ งจากกรรมการผู ้ทรงคุณวุฒช ิ ด ุ เดิมได ้ดํารงตําแหน่งมาครบกําหนดสองปี ตามวาระแล ้ว ตามที่ ื่ ดังนี้ นายนพปฎล เมฆเมฆา นางสาวจิตรา เศรษฐอุดม รองศาสตราจารย์ปรียานุช กระทรวงพาณิชย์เสนอ โดยมีรายชอ ิ ธิ์ นายอุตตม สาวนายน นายวาชต ิ รัตนเพียร นายวิชย ั อัศรัสกร นายกิตติ อภิบณ ุ โยภาส นายวิบล ู พงศ ์ พูนประสท ตัง้ จิตรมณีศักดา ทัง้ นี้ ให ้มีผลตัง้ แต่วันที่ 16 มกราคม 2555 เป็ นต ้นไป 4. แต่งตงผู ั้ ป ้ ระสานงานคณะร ัฐมนตรีและร ัฐสภา (ปคร.) ของรองนายกร ัฐมนตรี (นายสุเทพ เทือกสุบรรณ) คณะรัฐมนตรีรับทราบการแต่งตัง้ นายวรรณธรรม กาญจนสุวรรณ รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่าย การเมือง เป็ นผู ้ประสานงานคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาของรองนายกรัฐมนตรี (นายสุเทพ เทือกสุบรรณ) 5. แต่งตงข้ ั้ าราชการให้ดา ํ รงตําแหน่งประเภทบริหารระด ับสูง ตําแหน่งผูต ้ รวจราชการสําน ัก นายกร ัฐมนตรี (ผูต ้ รวจราชการกระทรวง) สําน ักงานปล ัดสําน ักนายกร ัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีอนุมัตต ิ ามทีส ่ ํานักนายกรัฐมนตรีเสนอแต่งตัง้ นายอํานวย โชติสกุล ผู ้อํานวยการสํานัก (อํานวยการระดับสูง) สํานักตรวจราชการ สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ให ้ดํารงตําแหน่งผู ้ตรวจราชการสํานัก นายกรัฐมนตรี (ผู ้ตรวจราชการกระทรวง) สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี สํานักนายกรัฐมนตรี ตัง้ แต่วันทีท ่ รงพระกรุณา โปรดเกล ้าฯ แต่งตัง้ เป็ นต ้นไป 6. ขออนุม ัติแต่งตงข้ ั้ าราชการพลเรือนสาม ัญให้ดํารงตําแหน่งประเภทบริหารระด ับสูง (กระทรวง ื่ สาร) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ ื่ สารเสนอแต่งตัง้ นางเมธินี เทพมณี คณะรัฐมนตรีอนุมัตต ิ ามทีก ่ ระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ ้ ื่ สาร สํานักงานปลัดกระทรวง ให ้ดํารงตําแหน่ง ผู ้อํานวยการสํานักสง่ เสริมและพัฒนาการใชเทคโนโลยี สารสนเทศและการสอ ื่ สาร ตัง้ แต่วันทีท ผู ้ตรวจราชการกระทรวง สํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ ่ รงพระกรุณา โปรดเกล ้าฯ แต่งตัง้ เป็ นต ้นไป 7. แต่งตงคณะกรรมการผู ั้ ท ้ รงคุณวุฒใิ นคณะกรรมการสงิ่ แวดล้อมแห่งชาติ คณะรัฐมนตรีอนุมัตต ิ ามทีก ่ ระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล ้อมเสนอแต่งตัง้ กรรมการผู ้ทรงคุณวุฒใิ น ี่ วชาญในด ้านต่าง ๆ ทีเ่ กีย คณะกรรมการสงิ่ แวดล ้อมแห่งชาติ จํานวน 8 คน จากผู ้เชย ่ วข ้องกับการสง่ เสริมและรักษาคุณภาพ สงิ่ แวดล ้อม ซงึ่ ประกอบด ้วยผู ้แทนจากภาคเอกชนไม่น ้อยกว่ากึง่ หนึง่ ดังนี้
43 1. นายประสงค์ เอีย ่ มอนันต์ (ภาคเอกชน) ประธานกรรมการทีป ่ รึกษาสมาคมนักผังเมืองไทย (ด ้านอนุรักษ์ ิ ่ ิ สงแวดล ้อมธรรมชาติ ศลปกรรมและผังเมือง) 2. นายสุทน ิ อยูส ่ ข ุ (ภาคเอกชน) กรรมการกลางสมาคมวิศวกรรมแห่งประเทศไทย (ด ้านมลพิษ) ี 3. นายวิเชยร กีรตินจ ิ กาล ผู ้อํานวยการศูนย์วช ิ าการเทคโนโลยีชวี ภาพทางการเกษตรแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ด ้านทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล ้อม) 4. นายพนัส ทัศนียานนท์ นักวิชาการอิสระ (ด ้านกฎหมายสงิ่ แวดล ้อม) ั ทัด สมชวี ต 5. นายสน ิ า (ภาคเอกชน) กรรมการมูลนิธส ิ ถาบันสงิ่ แวดล ้อมไทย (ด ้านบริหารจัดการ) 6. นายพยุง นพสุวรรณ (ภาคเอกชน) รองประธานมูลนิธริ ักษ์ โลก (ด ้านทรัพยากรป่ าไม ้) 7. รองศาสตราจารย์ ศริ น ิ ธรา สงิ หรา ณ อยุธยา หัวหน ้าภาควิชารังสวี ท ิ ยา คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาล รามาธิบดี (ด ้านสาธารณสุขและสุขภาพ) 8. นางสาวแสงจันทร์ ลิม ้ จิรกาล ผู ้อํานวยการหลักสูตรสหสาขาวิชาสงิ่ แวดล ้อม การพัฒนา และความยั่งยืน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ด ้านความหลากหลายทางชวี ภาพและการเปลีย ่ นแปลงสภาพภูมอ ิ ากาศ) โดยลําดับที่ 1-4 ได ้รับการแต่งตัง้ เป็ นระยะเวลาติดต่อกันจากวาระทีแ ่ ล ้วอีกหนึง่ วาระ และลําดับที่ 5-8 แต่งตัง้ ขึน ้ ใหม่ในวาระนี้ ทัง้ นี้ ตัง้ แต่วันที่ 11 มกราคม 2554 เป็ นต ้นไป 8. แต่งตงข้ ั้ าราชการการเมืองตําแหน่งทีป ่ รึกษาร ัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพล ังงาน คณะรัฐมนตรีอนุมัตต ิ ามทีก ่ ระทรวงพลังงานเสนอแต่งตัง้ นายอร่ามอาชว์วัต โล่หว์ รี ะ เป็ นทีป ่ รึกษา ่ ึ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน แทนนายอุทัย มิง่ ขวัญ ซงได ้ขอลาออกจากตําแหน่งดังกล่าว ึ ษา ไทย – 9. องค์ประกอบคณะกรรมการฝ่ายไทยในคณะกรรมการบริหารมูลนิธก ิ ารศก อเมริก ัน(ฟุลไบรท์) ประจําปี 2554 ึ ษา คณะรัฐมนตรีเห็นชอบองค์ประกอบคณะกรรมการฝ่ ายไทยในคณะกรรมการบริหารมูลนิธก ิ ารศก ไทย – อเมริกน ั (ฟุลไบรท์) ประจําปี 2554 โดยให ้คงคณะกรรมการชุดเดิมซงึ่ จะครบวาระในวันที่ 31 ธันวาคม 2553 เพือ ่ ให ้มีความต่อเนือ ่ งในการปฏิบต ั ห ิ น ้าที่ ตามทีก ่ ระทรวงการต่างประเทศเสนอ ดังนี้ นายมนั สพาสน์ ชูโต อดีต ิ ิ ิ กใต ้ หรือผู ้แทน เอกอัครราชทูต ณ กรุงวอชงตัน ประธานกรรมการ กรรมการประกอบด ้วย อธิบดีกรมอเมริกาและแปซฟ ผู ้อํานวยการสํานักงานความร่วมมือเพือ ่ การพัฒนาระหว่างประเทศหรือผู ้แทน ผู ้แทนสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ ึ ษา ผู ้แทนตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นายก เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ผู ้แทนสํานั กงานคณะกรรมการการอุดมศก สมาคมฟุลไบร์ทไทย ********************
!
yl f i \ ! o a o d . e / a . a /
an111'r$6vrJaslnnlqrafl 11]'l tnrgfinna'l,l[19]!flxn5 nl1 . oocloo
rn:rnr bec<
/
tdorroair:rudo{:vrvrfi a,ttLiavarylaf :r.iuar:irlu:n:ornr:irflo'irir tiru urunarrnrfiaf, noryr:a'rr5o:! drfi;iurdra:rudorl:vrrnfiaufirJ:rnnaa"tr website raraunrnql: {oXaruirfi ux alarn bddmii'ru'ru luiu ",
nrrLiliiiyr ldduro nnnexd nrnn0.i0t:1naor'lil:ollrot:5rlqruntud'ot'idruav r6oralruda-oririr n:lrl:vrr rdo'ldrjr-rnornr:riruirf, udl-l:vrrt!u-{ayir ul:l fu druar,lnrrt[:rJldrJ:znrflrrudo!r!!1rflfiflr!darlLr:noonfuir:orrr:iiua-nifit6' 'lunr:i'narr '1 [avaunr uo!iuhi!io.ri'in6jrx 6{dafl:rs6o{:vrflflfiarrLri :"]iUa0l,!website rorarn11r'r d.rrflutoXa ?-1rfi bc(naln! bddâ&#x201A;Źniluac!6uqn'ueifid{rdru rtri'llidTr arlr:n ; ;c v (tUU) sr:tlaa!:rs6o!:vrmnfrarr frrfluriolaflou'l'lrinffl website: tltegatFishing raiaxrty't1 http:,Tec.europa.eu,zfisheries/cfp,/ittegal_fishingi4ndex_en.htm fixlloFtagstate ' o i r a to ^ : ( - 5 - )d ' v i t r t : o o ' r o f a - t A ^ ^ e r d L "uur " T t*oonronarin"rnat':11i.alrrs!:c,v :rudooulul'i1fi roravnrr r rvilil n.il:uult'ltlio[u:ul1:'tlJ[|avKn{alJ1tn'1 11:'tLlu1u nJ1Jaun ul
6.rltru {tirr-n(jt11 tffi*aOqrrn+rxouortr 4riwlrrtrntnv ndil
10uan.in?'LrL/11fi 0
r
,-
/l
,!
e
qq,4 .tq.t^ .
'f--lPrwAd v
(l.t'rid'r')n:anlj[u
d-)::fu5.tu) emtf.Hdu(.rfiir HO',tl.t',t8f)'15 4 ^ b 4 tt a o 1olffi ;1,1o1riri:o rtrq:trunruntna-q iriruavHfiflrioyn'n iri'r
ndrtn:rnao! rraci!: a.intunrwa"qr{rir uavariqfroeia"n'ilir lvl5. o bddd oodo-d ly:a-r: o bddd oodo
,,'/,t ;M
ilsda l 2 3 4
5rrudi'id-rridd5lnfla4lu
A banla Alqena Anqoa A n t q l a a n dB a r b u d a
5 Arqentrna 6 Australa 7 TheBahamas 8 Banqladesh 9. Be ize 10 BenLn l
BGzl
12 Cameroon 13 Cannada 14 CAP-Vert T5 Chie 16 Ch 1 1 .C oombia 18 CostaRlca T9 Croata
2a Cuba 21 Ecuador 22 Ea'tal 2 3 .ElSalvador 24 E lrea 25 Falklandlslands 26 Faroelslands 21 F 28 FrenchpolvnesLa 29. Gabon 30 Gamba
website 1jatat tr1 ql5
?ia,Ja rr! iufi 29 qa16]t 2553
31 Ghana 32. Greenland 33 Grenada
34 Guatamala 35 Gunea 36 Guvana 37 38 n d a 3 9 ndonesta voryCost
61 N qeria
62 Norwav 63 Oman 64 Pakstan
65 Panama 66 Papla NewGuinea
67.Peru 6 8 T h eP h i i p p L n e s
69 Russia
5 1 Mexico 52 I\,4onteneqro
70 SainiPierreEt IVliquelon 71 Seneqal 72. Sevchelles 73 Solomonls and 74 SouthAfr ca 75. Sri Lanka 76 ST He ena 77 Slriname 78. Ta wan 79 UniledArab Emirates 80 L rLeoR.ouol- o'Ta11.ria Francaises(TAAF) Et AntarctiqLles 81 TerresALrslrales 8 2 .T h a l a n d
53. IVlorocco
83 Tunsa
54 Mozamblque
84 TLrrkey
55 lMvanmar
85 Uruquav
56 57 58 59 60
86 USA
4l Jamaica 42 Jaaan
43 Kenva 45 lMadaqascar 46 IVlalavsa 47 Maldves
a 48 Mauntan 49 I\laur t us 50 lvlavotte
Nam bLa Ant I es Netherland New Ca edonia NewZealand Nlcaraqua
87 v etnam 88 Venezuela
89 WallsandFutuna 90 Yemen
่ ออกสน ิ ค้า ผ ักและผลไม้แปรรูปไปไต้หว ัน ขนตอนการจดทะเบี ั้ ยนสง ่ พร้อมเอกสารส่งให้ ขนตอนการจดทะเบี ั้ ยน แจ้งรายชือ สาน ักงานพ ัฒนาระบบและร ับรองมาตรฐานสินค้าพืช(สมพ.) กรมวิชาการเกษตร (ตามเอกสาร 1) ติดต่อ คุณสุระเดช โทร. 02-5796133 E-Mail suradeach_nong@hotmail.com
กรณีผา่ นการร ับรอง GMP (Thermal Process) สมพ. รวบรวมเอกสารส่งให้ มกอช.
มกอช.ประสานงานไป ่ โรงงานย ัง ส่งรายชือ ประเทศไต้หว ัน
กรณีย ังไม่ผา่ นการร ับรองมาตรฐาน GMP (Thermal Process) จากกรมวิชาการเกษตร
ยืน ่ คาร้องขอการร ับรอง ทีก ่ รมพ ัฒนาระบบร ับรองคุณภาพสินค้า ติดต่อ คุณธงชยั 02-9406464
ดาเนินการตรวจโรงงาน เพือ ่ ขอร ับการร ับรอง (ใชร้ ะยะเวลา ภายหล ังการยือ ่ เอกสารประมาณ 1-2 เดือน โดยไม่เสีย ้ า่ ย) ค่าใชจ
เมือ ่ โรงงานผ่านร ับการร ับรอง ทางกรมพ ัฒนาระบบร ับรอง ่ โรงงานไปย ัง สมพ. คุณภาพสินค้า จะส่งรายชือ
หมายเหตุ หลังจากขึน ้ ทะเบียนโรงงานแล ้ว การส่งออกสินค ้าไปยังประเทศไต ้หวัน หลังวันที่ 1 กรกฎาคม 2554 จะต ้องแนบใบรับรอง สุขอนามัยสินค ้าด ้วยทุกครัง้ โดยขอใบรับรองสุขอนามั นได ้ทีก ่ รมวิชาการเกษตร เอกสาร 1 แบบ สมพ.13 หลักฐานประกอบ -กรณีบค ุ คลธรรมดา (อย่างละ 1 ฉบับ) สาเนาบัตรประชาชน สาเนาทะเบียนบ ้าน สาเนาใบทะเบียนพาณิชย์ทรี่ ะบุชนิดแห่งพาณิชยกิจว่าเป็ นผู ้ประกอบการค ้าส่งออกสินค ้าเกษตร -กรณีนต ิ บ ิ ค ุ คล (อย่างละ 1 ฉบับ) สาเนาบัตรประชาชน/สาเนาทะเบียนบ ้านของกรรมการผู ้มีอานาจลงนามผูกพันบริษัท สาเนาหนังสือรับรองพร ้อมวัตถุประสงค์ของสานักงานทะเบียนหุ ้นส่วนบริษัทซึง่ ออกมาแล ้วไม่เกิน 6 เดือน หนังสือมอบอานาจ (กรณีผู ้มีอานาจลงนามให ้ผู ้อืน ่ ยืน ่ คาขอจดทะเบียนแทน )พร ้อมอากรแสตมป์ มูลค่า 30 บาท -สาเนาบัตรประชาชน/สาเนาทะเบียนบ ้าน ของผู ้ยืน ่ คาขอจดทะเบียน (กรณีผู ้มีอานาจลงนามให ้ผู ้อืน ่ ยืน ่ คาขอจด ทะเบียนแทน) หมายเหตุ -กรณีตอ ่ อายุผู ้ส่งออกให ้นาสาเนาใบจดทะเบียนฯใบเก่าแนบมาด ้วย ่ ผู ้มีอานาจลงนามบริษัท /ห ้างหุ ้นส่วนจากัด พร ้อมประทับตรา -เอกสารทุกชุดให ้รับรองสาเนาถูกต ้อง เซ็นชือ บริษัททุกหน ้ารวมทัง้ แบบฟอร์มคาขอจดทะเบียนด ้วย
ฉบับที่ 1/2554 เรื่อง ผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน วันที่ 12 มกราคม 2554 นายไพบูลย์ กิตติศรีกังวาน ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายนโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย แถลงผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ในวันนี้ ซึ่งที่ประชุมได้พิจารณาภาวะเศรษฐกิจ และเงินเฟ้อรวมทั้งแนวโน้มในระยะต่อไปเพื่อกําหนดแนวนโยบายการเงินที่เหมาะสม โดยมีประเด็นสําคัญดังนี้ ความเสี่ ย งต่ อ การขยายตั ว ของเศรษฐกิ จ โลกลดลงจากการประชุ ม ครั้ ง ก่ อ น โดยเศรษฐกิ จ สหรัฐอเมริกาฟื้นตัวต่อเนื่องและคาดว่าในปี 2554 จะขยายตัวสูงกว่าปีที่ผ่านมา แต่ก็ยังมีความเสี่ยงที่สําคัญ จากปัญหาการว่างงานเรื้อรังและภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ฟื้นตัวช้า ขณะที่เศรษฐกิจยุโรปขยายตัวต่อเนื่องตาม การส่งออกและการบริโภคของเศรษฐกิจประเทศหลักโดยเฉพาะเยอรมนี แต่ยังมีความเสี่ยงจากปัญหาหนี้ สาธารณะเช่นเดิม สําหรับเศรษฐกิจเอเชียมีแนวโน้มขยายตัวดีจากอุปสงค์ในประเทศ และการส่งออกที่คาดว่า จะขยายตั วต่อเนื่ องตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกและประเทศในภูมิภาค ขณะที่ความเสี่ยงสําคัญ คือ แรงกดดันต่อเงินเฟ้อที่สูงขึ้นตามราคาสินค้าโภคภัณฑ์และอุปสงค์ในประเทศที่เร่งขึ้น เศรษฐกิ จ ไทยปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น ในไตรมาสที่ 4 จากอุ ป สงค์ ทั้ ง ในและต่ า งประเทศที่ เ พิ่ ม ขึ้ น จาก ไตรมาสก่อนหน้า ส่วนหนึ่งเป็นการเร่งการผลิตและการใช้จ่ายหลังจากผลกระทบจากภาวะน้ําท่วมบรรเทาลง ขณะที่ภาคการส่งออกและการท่องเที่ยวขยายตัวได้ดีกว่าที่คาดไว้ การที่เศรษฐกิจในไตรมาสที่ 4 ขยายตัว ดี ก ว่ า ไตรมาสก่ อ น ประกอบกั บ ปั จ จั ย สนั บ สนุ น การบริ โ ภคและการลงทุ น ในประเทศที่ ยั ง คงเอื้ อ ต่ อ การขยายตั ว ของเศรษฐกิ จ ในระยะต่ อ ไป อาทิ รายได้ แ ละการจ้ า งงาน การใช้ กํ า ลั ง การผลิ ต ในหลาย อุ ต สาหกรรมที่ อ ยู่ ใ นเกณฑ์ สู ง ตลอดจนการกระตุ้ น จากนโยบายการคลั ง จะเป็ น แรงส่ ง ให้ เ ศรษฐกิ จ ใน ปี 2554 ขยายตัวในเกณฑ์ดีต่อเนื่อง อัตราเงินเฟ้อทั่วไปและอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานมีแนวโน้มสูงขึ้นในระยะต่อไป สะท้อนการขยาย ตั ว อย่ า งต่ อ เนื่ อ งของอุ ป สงค์ ประกอบกั บ แนวโน้ ม ราคาน้ํ า มั น และสิ น ค้ า โภคภั ณ ฑ์ ที่ สู ง ขึ้ น อย่ า งชั ด เจน ในขณะเดี ย วกั น แรงกดดั น ด้ า นราคาที่ ม าจากการส่ ง ผ่ า นต้ น ทุ น ไปยั ง ราคาสิ น ค้ า จะมี ม ากขึ้ น ตามลํ า ดั บ ส่วนหนึ่งสะท้อนการที่ผู้ประกอบการได้ชะลอการปรับขึ้นราคามาแล้วระยะหนึ่ง จากแนวโน้มแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่สูงขึ้น และการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยเข้าสู่แนวโน้มปกติ คณะกรรมการฯ จึงมีมติเป็นเอกฉันท์ให้ขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.25 จากร้อยละ 2.00 เป็นร้อยละ 2.25 ต่อปี โดยให้มีผลทันที ธนาคารแห่งประเทศไทย 12 มกราคม 2554 ข้อมูลเพิ่มเติม : ทีมกลยุทธ์นโยบายการเงิน 1 โทร: 0-2283-5621, 0-2283-6186 e-mail: MonetaryPolicyStrategyTeam@bot.or.th
การสัมมนา เรื่อง “The New EU-GSP Rules of Origin: Challenges and Opportunities for Thai Exporters” วันพุธที่ 26 มกราคม 2554 เวลา 08.30-17.00 น. ณ ห้องควีนส์ปาร์ค 1 ชั้น 2 โรงแรมอิมพีเรียล ควีนส์ปาร์ค กรุงเทพมหานคร ---------------------------------------------------
ระบบสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็นการทั่วไป (GSP) ของสหภาพยุโรปเป็นการให้การลดหย่อนหรือยกเลิก ภาษีแก่สินค้านําเข้าจากประเทศกําลังพัฒนาและประเทศพัฒนาน้อยที่สุดรวม 176 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มโอกาส และศักยภาพให้แก่ประเทศผู้รับสิทธิให้สามารถแข่งขันและเข้าสู่ตลาดสหภาพยุโรปได้ใน ทั้งนี้ สินค้าที่ได้รับสิทธิดังกล่าว จะต้อง มีคุณสมบัติถูกต้องตามกฎแหล่งกําเนิดสินค้า โดยเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2553 สหภาพยุโรปได้ปรับปรุงกฎแหล่งกําเนิด สินค้าใหม่ภายใต้ระบบสิทธิพิเศษ GSP และมีผลบังคับใช้แล้วตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 กฎแหล่งกําเนิดสินค้าใหม่นี้ มี ความยืดหยุ่นและสอดคล้องกับกระบวนการผลิตของประเทศผู้รับสิทธิมากขึ้น อาทิ สินค้าในกลุ่มเดียวกันใช้กฏเดียวกัน (Sector-by-Sector) จากเดิมที่กําหนดเป็นกฎเฉพาะรายสินค้า และยังเปิดโอกาสให้ผู้รับสิทธิฯ สามารถเลือกใช้กฎตามความ เหมาะสมกับกระบวนการผลิตได้ หากเห็นว่ากฎการเปลี่ยนพิกัดฯ มีความเหมาะสมหรือทําได้ง่ายกว่ากฎการเพิ่มมูลค่า (Valueadded) นอกจากนี้ ยังอนุญาตให้ใช้วัตถุดิบนําเข้าในการผลิตได้ในอัตราที่สูงกว่าเดิมที่กําหนดไว้เพียงร้อยละ40 เท่านั้น การปรับปรุงกฎแหล่งกําเนิดสินค้าใหม่ ส่งผลให้ประเทศผู้รับสิทธิฯ สามารถใช้ประโยชน์จากระบบ GSP ได้อย่างเต็มที่ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการส่งออกของไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เพื่อให้ผู้ส่งออกไทยได้รับทราบและทํา ความเข้าใจต่อข้อกําหนดต่างๆ ในเรื่องกฏแหล่งกําเนิดสินค้าใหม่ และระบบศุลกากรของสหภาพยุโรป กรมการค้าต่างประเทศ จึง กําหนดจัดสัมมนาเรื่อง “The New EU-GSP Rules of Origin: Challenges and Opportunities for Thai Exporters” โดยได้เชิญ Mr. Gert van ‘t Spijker และ Mr. Henk van Geelen ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านกฏแหล่งกําเนิดสินค้าจากศุลกากร เนเธอร์แลนด์ (The National Team for Origin Affairs) ซึ่งเป็นประตูการค้าสู่ตลาดสหภาพยุโรป มาเป็นวิทยากรตลอดการ สัมมนา เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจและตอบข้อซักถามแก่ผู้เข้าร่วมสัมมนา ทั้งในเรื่องระบบ GSP และกระบวนการผ่านพิธีศุลกากร ของสหภาพยุโรป นอกจากนี้ ยังได้รับเกียรติจาก Mr. Antonio Berenguer หัวหน้าฝ่ายการค้าและเศรษฐกิจ จากสํานักงานผู้แทน สหภาพยุโรป ประจําประเทศไทย มาบรรยายพิเศษในหัวข้อ “Thai-EU Trade Relations” โดยจัดให้มีล่ามแปลสองภาษาตลอด การบรรยาย ทั้งนี้ผู้เข้าร่วมสัมมนาจะมีค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนท่านละ 1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถ้วน) ผู้สนใจสมัครหรือสอบถามรายละเอียดการสัมมนาเพิ่มเติมได้ที่ สํานักสิทธิประโยชน์ทางการค้า กรมการค้า ต่างประเทศ โทร. 02-5474817, 02-5475097 หรือ DFT Center 1385 และสามารถ Download กําหนดการและ ใบสมัครสัมมนาได้ที่ http://www.dft.go.th วิธีการสมัครเข้าร่วมสัมมนา 1. กรอกข้อมูลใน “แบบแจ้งความประสงค์เข้ารับการสัมมนา” และ “แบบชําระค่าลงทะเบียน” ให้ครบถ้วน ถูกต้องและชัดเจน 2. นํา “แบบแจ้งความประสงค์เข้ารับการสัมมนา” และ “แบบชําระค่าลงทะเบียน” ที่กรอกข้อมูลแล้ว ไปชําระค่าลงทะเบียนผ่านเคาน์เตอร์ ธนาคารกรุงไทย ทุกสาขา จํานวน 1,000.- บาท (หนึ่งพันบาทถ้วน) (ตาม “แบบแจ้งความประสงค์เข้ารับการสัมมนา”) ไม่รวมค่าธรรมเนียมธนาคาร ฉบับละ 15 บาท 3. ส่ง FAX “แบบแจ้งความประสงค์เข้ารับการสัมมนา” และ “หลักฐานที่ได้รับจากธนาคาร (ใบ Pay in slip)” ไปยังสํานักสิทธิประโยชน์ทางการค้า กรมการค้าต่างประเทศ FAX : 02-547-4816 4. ตรวจสอบรายชื่อและลําดับที่ลงทะเบียนของท่าน ก่อนเข้าร่วมสัมมนาได้ที่ www.dft.go.th หรือติดต่อสอบถามได้ที่ โทร. 02-547-4817, 02547-4819 5. ในวันสัมมนาต้องนําแบบแจ้งความประสงค์เข้ารับการสัมมนาพร้อม “หลักฐานที่ได้รับจากธนาคาร (ใบ Pay in slip)” มาเพื่อเป็นหลักฐานรับ ใบเสร็จรับเงินและลงทะเบียนการเข้าร่วมสัมมนา 6. หากท่านใดไม่สามารถเข้าร่วมสัมมนาดังกล่าวได้ กรมฯ ขอสงวนสิทธิ์ไม่คืนค่าลงทะเบียน 7. ใบเสร็จรับเงินไม่สามารถหักภาษี ณ ที่จ่ายได้
กําหนดการสัมมนา “The New EU-GSP Rules of Origin: Challenges and Opportunities for Thai Exporters”
วันพุธที่ 26 มกราคม 2554 เวลา 08.30-17.00 น. ณ ห้องควีนส์ปาร์ค 1 ชั้น 2 โรงแรมอิมพีเรียล ควีนส์ปาร์ค, กรุงเทพมหานคร -----------------------------------------------
เวลา 08.30-09.00 น. 09.00-09.30 น. 9.30-10.00 น. 10.00-10.15 น. 10.15-11.00 น.
11.00-12.00 น.
12.00-13.00 น. 13.00-14.00 น.
14.00-14.45 น.
14.45-15.00 น. 15.00-15.30 น. 15.30-16.00 น. 16.00-17.00 น.
กิจกรรม ลงทะเบียน (มีล่ามผู้ชํานาญการแปลเป็นภาษาไทยและอังกฤษตลอดการบรรยาย) พิธีเปิดการสัมมนาโดยนายยรรยง พวงราช ปลัดกระทรวงพาณิชย์ การบรรยายพิเศษหัวข้อ “Thai-EU Trade Relations” โดย Mr. Antonio Berenguer (Head of Trade and Economic Section, Delegation of the European Union to Thailand) รับประทานอาหารว่าง การบรรยายในหัวข้อ “General view on GSP’s Rules of Origin” - Changes from 1 January 2011 - Definitions โดย Mr. Gert van ‘t Spijker (ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎแหล่งกําเนิดสินค้า จากศุลกากรเนเธอร์แลนด์) การบรรยายในหัวข้อ “Origin Criteria” - Wholly obtained - Sufficiently processed - Tolerance rule โดย Mr. Henk van Geelen (ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎแหล่งกําเนิดสินค้า จากศุลกากรเนเธอร์แลนด์) รับประทานอาหารกลางวัน การบรรยายในหัวข้อ - Minimal Operation และ - Cumulation (bilateral, regional, extended cumulation) โดย Mr. Gert van ‘t Spijker การบรรยายในหัวข้อ “Determination of Origin” - Rules of origin for top 10 Thai exports to EU - Proof of origin โดย Mr. Gert van ‘t Spijker และ Mr. Henk van Geelen รับประทานอาหารว่าง การบรรยายในหัวข้อ “GSP from 1-1-2017: REX System” โดย Mr. Gert van ‘t Spijker “Custom Procedures in Netherlands” โดย Mr. Henk van Geelen ถาม-ตอบ ประเด็นข้อสงสัย -----------------------------------------------------------------------------------------
* หมายเหตุ: กําหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม สํานักสิทธิประโยชน์ทางการค้า กรมการค้าต่างประเทศ มกราคม 2554
ก The New EU-GSP Rules of Origin: Challenges and Opportunities for Thai Exporters3 456789 26 ก 2554 > ? @A 48 8BC 8 ก 5 74D
+ , $ ,- . .......................
*******************
1. GH9@ I ก5C....................................................................................................................................................................
- C 789 J G G AK 7 / M N B ............................................................................................................................................................ O 789JAPJN@ P ก......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ?7 Q 47 ............................................?7 .......................................E I mail............................................................... 2. ก ก
ก ก ก ก ก .......... ! " ( $ %)........................... 3. / ( ( $ก ก ก /) * ................................................................................................ **M B MJ5 1. J P N 8 U C MC กV 789WP ก6 (Y Pay in slip) N FAX W B _ ก A76A ?BG 7 ก FAX : 02-547-4816 (M H@ @ O BC @8BP 4A9 JA WP 789 5> B M H@ 5> A 86 ?7 . 02-5474817, 02-5475097) 2. @BN CH !!! _ ก 4 @ MC กV 789WP ก6 (Y Pay in slip) YG f MC กV 4H@9 Y g A C C 7 8B N Y 456789 26 ก 2554 3. OON B _ D M H@ Download 4A9 JA WP 789 www.dft.go.th
สําหรับธนาคาร : For Bank Only
แบบฟอรมการชําระเงินผาน บมจ.ธนาคารกรุงไทย สาขา ..............................
วันที่ ................................
กรมการคาตางประเทศเพื่อชําระคาลงทะเบียน เรื่อง:
Company Code : 9478
The New EU-GSP Rules of Origin: Challenges and Opportunities for Thai Exporters
ชื่อ-นามสกุล ผูเขารวมสัมมนา
...........................................................................................................................................................
เบอรโทรศัพทที่สามารถติดตอได หมายเลขอางอิง 1 (Ref No.1) :
...........................................................................................................................................................
เลขที่บัตรประชาชน หมายเลขอางอิง 2 (Ref No.2) : จํานวนเงิน (ตัวอักษร)
-
หนึ่งพันบาทถวน
-
จํานวนเงิน (บาท)
1,000.-
ชื่อผูนําฝาก..................................….....……………………..................………… เบอรโทรศัพท............................................. โปรดนําเอกสารนี้ไปชําระเงินสดผานเคานเตอรธนาคารกรุงไทย “เทานั้น” 1 ทาน ตอ 1 ใบสมัคร (ยังไมรวมคาธรรมเนียมธนาคาร 15 บาท)
สถานที่จัดสัมมนา : ห้องควีนส์ปาร์ค 1 ชั้น 2 โรงแรมอิมพีเรียล ควีนส์ปาร์ค วันพุธที่ 26 มกราคม 2554
โรงแรม อิมพีเรียล ควีนส์ ปาร์ค อยู่บนถนนสุขุมวิทซอย 22 ติดกับ สวนสาธารณะเบญจสิริ /ห้างสรรพสินค้าเอ็มโพเรียมและสถานี รถไฟฟ้า bTs สถานีพร้อมพงษ์