TFPA Trade & Technical
WEEKLY BRIEF
Vol. 2 issue 29
16 - 22 Aug 2011
Thai Food Processors’ Association Pineapple
สั ม มนา Food Safety Control: EU Member States’ Experiences
Sweet Corn
ความคืบหน้า...การตรวจเข้มผักไทยไป อียู
Tuna
7 สิ่ ง ที่ ค วรทราบเกี่ ย วกั บ US Food Safety Moderniza-
Seafood
ขึ้ น ค่ า แรง300 รสก.-เอกชน มี ผล1 ม.ค.55
Fruits&Vegetables Food Ingredient&Ready-to-Eat
www.thaifood.org
ต้ า นวิ ก ฤติ เ ศรษฐกิ จ โลก
Contents Contents
TFPA Trade & Technical WEEKLY BRIEF
16 Aug - 22 Aug 2011
Vol. 2 Issue 29
ข่าวประชาสัมพันธ์
03 ขาวประชาสั มพันธ ์ ่
3 • สัมมนาโครงการศึกษาโอกาสส�ำหรับภาคอุตสาหกรรม และผลกระทบจาการเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน เอกสารแนบ 1 3 • สัมมนาเชิงปฏิบัติการแนวทางการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีส�ำหรับผู้ประกอบการไทย เอกสารแนบ 2 4 • สัมมนา Food Safety Control: EU Member States’ Experiences and Practices เอกสารแนบ 3 4 • เสวนา“วิกฤตการณ์เศรษฐกิจสหรัฐฯ ... ผลกระทบและการปรับตัวของผู้ส่งออกไทย เอกสารแนบ 4 5 • สัมมนาฝึกอบรม Logistics Excellence Training 2011 เอกสารแนบ 5
06 สถานการณด์ ้านมาตรฐานและความปลอดภัย อาหาร
6 • จีนพบไนไตรท์ปนเปื้อนรังนกน�ำเข้าจากมาเลย์ 6 • ความคืบหน้า...การตรวจเข้มผักไทยไปอียู 7 • จีนเสนอร่างเปลี่ยนแปลงการก�ำจัดอาหารหมดอายุและไม่ปลอดภัย 7 • 7 สิ่งที่ควรทราบเกี่ยวกับ US Food Safety Modernization Act
10 สถานการณด์ ้านประมง 10 • เวียดนามสุ่งออกกุ้งสูงขึ้น 35% ในรอบ 7 เดือน
11 สถานการณด์ ้านเกษตร 11 • ตลาดน�้ำสับปะรดในเนเธอร์แลนด์ เอกสารแนบ 6 12 • ไทยเอเย่นซี่สนองเกษตรกร
13 สถานการณ์ นโยบายครม.ชุดใหม่ และประเด็นแรงงาน
13 • พาณิชย์ประกาศดักคอผู้ผลิตสินค้า อย่าอ้างมั่วขอขึ้นราคา 14 • เปิดค�ำแถลงนโยบาย “ยิ่งลักษณ์” เน้นนโยบาย 2 ส่วน 8 กรอบนโยบาย 16 ภารกิจ 15 • ขึ้นค่าแรงทันที กิตติรัตน์หนุน ไม่รอไตรภาคี 16 • ขึ้นค่าแรง300 รสก.-เอกชน มีผล1 ม.ค.55
สั ม มนาโครงการศึ ก ษาโอกาสส� ำ หรั บ ภาค
อุตสาหกรรม และผลกระทบจาการเข้าร่วมเป็น ส่วนหนึ่งของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เอกสาร
สั ม ม น า เ ชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร แ น ว ท า ง ก า ร สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีส�ำหรับผู้ ประกอบการไทย (เอกสารแนบ 2)
แนบ 1)
เนื่องด้วยประเทศไทยก�ำลังพิจารณาการเข้าร่วมเป็นส่วน หนึ่งของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การเข้าร่วมดังกล่าวอาจมี การเปลี่ยนแปลงในด้านรูปแบบการลงทุน การจ้างแรงงาน การ จัดหาวัตถุดิบ และการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อ ภาคอุตสาหกรรมในประเทศได้ กรมโรงงานอุตสาหกรรม จึงได้ ด�ำเนินโครงการศึกษาโอกาสส�ำหรับภาคอุตสาหกรรมและผลกระ ทบจากการเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษาและจั ด สร้ า งระบบข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ โอกาสและผลกระทบต่ออุตสาหกรรมของไทย และเพื่อจัดสร้าง เครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน ก�ำหนดการสัมมนา วันที่ 7 กัยยายน 2554 เวลา 9.00 – 12.00 น. ณ ห้องกษัตริย์ศึก 2 ชั้น 4 โรงแรมเดอะ ทวิน ทาวเวอร์(กรุงเทพฯ) ติดต่อ 02 625 6300
ด้วยกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ก�ำหนดการสัมมนา วัน อังคารที่ 30 สิงหาคม 2554 เวลา 8.30-16.30 น. ณ ห้องเมจิก 3 โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กรุงเทพฯ ผู้สนใจ โปรดส่งแบบตอบรับกลับไปยังส�ำนักส่งเสริมและถ่ายทอด เทคโนโลยี ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี ภายในวันที่ 19 สิงหาคม 2554 ทางโทรสาร 02-333-3931 หรือสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ คุณ สุจิรัส หรือ คุณสมบัติ โทรศัพท์ 02-333-3956 คุณสรร ณพ โทรศัพท์ 02-333-3954 หรือ 081-141-5694
ด านการค้า 18 18 สถานการณ ้ ์ • พม่ายกเว้นภาษีส่งออกข้าวและสินค้าเกษตร 18 • เอฟทีเอไฟเขียวช่วยเกษตรกร4กลุ่มรับเปิดค้าเสรี 20 • ต้านวิกฤติเศรษฐกิจโลก 20 • ตลาดอาหารฮาลาลเกิดใหม่
22 อัตราแลกเปลีย่ น 2
3
TFPA Trade & Technical WEEKLY BRIEF
สัมมนา Food Safety Control: EU Member States’ Experiences and Practices (เอกสารแนบ 3)
16 Aug - 22 Aug 2011
เสวนา“วิ ก ฤตการณ์ เ ศรษฐกิ จ สหรั ฐ ฯ ผลกระทบและการปรับตัวของผู้ส่งออกไทย (เอกสารแนบ 4)
สภาอุตสาหกรรม F.T.I. Economic Focus ครั้งที่ 5/2554 จัดเสวนาหัวข้อดังกล่าว โดยจะมี การวิเคราะห์และสะท้อนมุมมองของภาคส่วนต่างๆ กับ วิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นและแนวทางการรองรับของผู้ประกอบ การไทย เพื่อที่จะน�ำไปสู่การวางแผนงานทางธุรกิจ คณะผู้แทนไทยประจ�ำสหภาพยุโรป ได้เชิญผู้เชี่ยวชาญจากสมาชิกสหภาพยุโรป (European Union-Eu) 2 ประเทศ มาร่วมเป็น วิทยากรในการ สัมมนาครั้งนี้ด้วย จึงขอเรียนเชิญท่านที่เกี่ยวข้องกับการ ส่ ง ออกสิ น ค้ า เกษตรและอาหารของไทยไปยั ง สหภาพ ยุโรป เข้าร่วมสัมมนาครั้งนี้ด้วย ก�ำหนดการสัมมนา ระหว่างวันที่ 5-6 กันยายน 2554 ณ โรงแรม Pullman Bangkok king Power Hotel ซอยรางน�้ำ ถ.พญาไท กทม. ดาวน์โหลดใบ สมัครได้ที่เว็บไซต์ www.thaieurope.net
4
ก�ำหนดการเสวนา วันอังคารที่ 30 สิงหาคม 2554 เวลา 13.30 – 16.30 น. ณ ห้องประชุม Meeting Room 3 – 4 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุณาส่ง แบบตอบรับการเข้าร่วม ภายในวันศุกร์ที่ 26 สิงหาคม 2554 (รับจ�ำนวนจ�ำกัด) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่คุณวุฒิ ทองพูน ฝ่ายเศรษฐกิจและโลจิสติกส์สภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยโทรศัพท์ 0 2345 1147
Vol. 2 Issue 29 สัมมนาฝึกอบรม Logistics Excellence Training 2011 (เอกสารแนบ 5) ส�ำนักโลจิสติกส์การค้า กรมส่งเสริมการส่ง ออก กระทรวงพาณิชย์ มีก�ำหนดจัดงานสัมมนาดัง กล่าว ส�ำหรับผู้ส่งออกขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่ง เสริมผู้ส่งออก ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการ บริหารจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนของการส่ง ออก เพื่อน�ำไปใช้ด�ำเนินธุรกิจและปรับปรุงการให้ บริการจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถ ลดต้นทุนการผลิตของผู้ส่งออกได้ อีกทั้ง เพื่อ เป็นการรองรับต่อผลกระทบของการเปิดเสรีธุรกิจตาม ข้อตกลง ASEAN Economic Community (AEC) ก� ำ หนดการฝึ ก อบรม ระหว่ า งวั น ที่ 25 สิงหาคม – 27 สิงหาคม 2554 เวลา 8.00 – 16.00 น. ณ โรงแรมโฟร์วิงส์ สุขุมวิท 26 ติดต่อ 02 718 8950 ต่อ 204
5
TFPA Trade & Technical WEEKLY BRIEF
16 Aug - 22 Aug 2011
สถานการณ์ด้านมาตรฐานและความปลอดภัยอาหาร จีนพบไนไตรท์ปนเปื้อนรังนกน�ำเข้า จากมาเลย์ เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2554 หน่วยงานบริหาร ด้ า นอุ ต สาหกรรมและพาณิ ช ย์ จั ง หวั ด ซี เ จี ย ง แจ้ ง ว่ า จากการตรวจสอบรังนกสีแดง (blood-red cubilose) น�ำเข้าจากมาเลเซียของผู้ค้าจ�ำนวน 491 รายในจังหวัด ซีเจียงพบว่า มีไนไตรท์ปนเปื้อนรังนกสีแดงโดยเฉลี่ยที่ 4,400 มิลลิกรัมต่อหนึ่งกิโลกรัม เกินกว่ามาตรฐานซึ่ง ก�ำหนดไว้ที่ 70 มิลลิกรัมต่อหนึ่งกิโลกรัม และระดับ การปนเปื้อนไนไตรท์ที่มากจะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ของผู้บริโภค เช่น เป็นสารก่อมะเร็ง รังนกสีแดงเป็นอาหารประเภท หายาก เป็นที่นิยมบริโภคในจีนและมีราคาแพงเนื่องจาก ความเชื่อว่าดีต่อสุขภาพ โดยรังนกสีแดงส่วนใหญ่ซึ่งมี จ�ำหน่ายในตลาดท้องถิ่นของซีเจียงน�ำเข้าจาก มาเลเซีย ซึ่งเป็นผู้ผลิตและส่งออกรังนกรายใหญ่ อนึ่งก่อนหน้านี้หนังสือพิมพ์ท้องถิ่นSin Chew Dailyระบุว่ารังนกสีแดงที่จ�ำหน่ายในตลาดท้องถิ่นเป็น ของปลอม ที่มา :มกอช. (Xinhua) วันที่ 17 ส.ค. 54
ความคืบหน้า...การตรวจเข้มผักไทย ไปอียู
เมือ่ วันที่ 10 สิงหาคม 2554 ส�ำนักงาน ที่ปรึกษาการเกษตรต่างประเทศ ประจ�ำสหภาพยุโรป ได้แจ้งผลการทบทวน ครั้งที่ 5 ว่า การพิจารณาปรับ มาตรการสุ่มตรวจเข้มผักไทย 50 % ณ ด่านน�ำเข้าของ สหภาพยุโรปในส่วนของไทย ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง ที่ แ ตกต่ า งจากการทบทวนครั้ ง ที่ ผ ่ า นมา กล่ า วคื อ 1. คงมาตรการตรวจเข้มเพื่อหาสารฆ่าแมลงที่ระดับ 50 % ในผัก 3 ประเภท ได้แก่ ผักกลุ่มมะเขือ กลุ่ม กะหล�่ำและ ถั่วฝักยาว ทั้งสด แช่เย็น และแช่แข็ง 2 . ค ง ม า ต ร ก า ร ต ร ว จ เ ข ้ ม เ พื่ อ ห า ส า ร ฆ ่ า แมลงที่ ร ะดั บ 20 % ในผั ก 2 ประเภท ได้ แ ก่ ผั ก ชี แ ล ะ ก ะ เ พ ร า - โ ห ร ะ พ า ใ น รู ป ผั ก ส ด 3. คงมาตรการตรวจเข้ ม เพื่ อ หาเชื้ อ ซั ล โมเนลลา ที่ระดับ 10 % ในผัก 3 ประเภท ได้แก่ ผักชี และกะเพรา-โหระพา และสะระแหน่ ในรู ป ผั ก สด 4. คงมาตรการตรวจเข้มเพื่อหาสารฆ่าแมลงที่ระดับ 10 % ในพริก โดยมาตรการเหล่านี้จะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2554 ที่มา :มกอช. วันที่ 17 ส.ค. 54
6
Vol. 2 Issue 29 จีนเสนอร่างเปลี่ยนแปลงการก�ำจัด อาหารหมดอายุและไม่ปลอดภัย
7 สิ่งที่ควรทราบเกี่ยวกับ US Food Safety Modernization Act
หน่วยงานบริหารด้าน อุตสาหกรรมและพาณิชย์จีน เสนอร่างการเปลี่ยนแปลง ขั้นตอนการก�ำจัดอาหารที่หมดอายุหรือไม่ผ่านมาตรฐาน ความปลอดภัย เนื่องจากได้รับการร้องเรียนจากผู้บริโภค ว่า บริษัทบางแห่งได้น�ำผลิตภัณฑ์อาหารที่หมดอายุหรือ ไม่ปลอดภัยมาบรรจุใหม่
Food Safety Modernization Act S.510 (FSMA) เป็นกฎหมายว่าด้วยความ ปลอดภัยของอาหารของสหรัฐฯ มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่ 4 มกราคม 2554 โดยกฎหมายฉบับนี้ถือได้ว่าเป็นการ ยกระดับระบบความปลอดภัยอาหารของสหรัฐฯครั้งใหญ่
เพื่อให้มั่นใจว่ามีเจ้าหน้าที่ คอยควบคุมการก�ำจัดอาหารดังกล่าว หน่วยงานบริหาร ด้านอุตสาหกรรมและพาณิชย์จึงเสนอให้มีเจ้าหน้าที่จาก ส�ำนัก อุตสาหกรรมและพาณิชย์ระดับอ�ำเภอ 2 คนเป็น ผู้ดูแลและจดบันทึกระหว่างการ ก�ำจัดอาหารเหล่านั้น ซึ่ง การก�ำจัดอาหารสามารถกระท�ำได้ 3 วิธี ได้แก่ 1. การเผา
FSMA มีวัตถุประสงค์ ส�ำคัญ คือ มุ่งเน้นสร้างความปลอดภัยอาหารน�ำเข้า และจ�ำหน่ายในประเทศอย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะ มาตรการควบคุมและตรวจสอบตั้งแต่ต้นทางโดย ผู้ ผลิต ผู้น�ำเข้า หรือผู้จัดจ�ำหน่าย ซึ่งจะเป็นการเพิ่ม อ�ำนาจการตรวจสอบและการควบคุมสินค้าทุกชนิด ของส�ำนักงานอาหารและยา (FDA) ตัวกฎหมายจะ มอบอ�ำนาจให้ FDA ในการเรียกคืนสินค้า ตลอดจน สามารถเข้าถึงข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสินค้า และ บริษัทผู้ผลิต
2. ฝังกลบ 3. ผสมลงในปุ๋ยอินทรีย์ ร่างการก�ำจัดอาหารใหม่ประกาศ บนหน้ า เว็ ป ไซต์ ข องหน่ ว ยงานบริ ห ารด้ า นอุ ต สาหกรรม และพาณิชย์จีน เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2554 และเปิด รับความคิดเห็นถึงวันที่ 29 สิงหาคม 2554
ที่มา : มกอช. (Food Quality) 18 ส.ค. 54
7
TFPA Trade & Technical WEEKLY BRIEF
FDA จะมีอ�ำนาจหน้าที่เพิ่ม มากขึ้นในการด�ำเนินการควบคุมตรวจสอบสินค้าอาหาร น�ำเข้าทุกชนิด รวมทั้งออกกฎหมายและมาตรการอื่น ที่อาจส่งผลกระทบต่อผู้ประกอบการไทยที่ส่งสินค้าไป สหรัฐฯได้ ทั้งนี้ สรุป 7 สิ่งที่ผู้ประกอบการอาจได้รับ ผลกระทบจากบัญญัติ FSMA ได้แก่ 1.อ�ำนาจหน้าที่ในการเรียกคืนสินค้า หารได้ตลอดเวลาหากพบข้อสงสัยว่ามีความเสี่ยง อันตราย ผิดปกติ หรือมีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดอันตราย ต่อมนุยษ์และสัตว์ โดยค่าปรับหรือค่าใช้จ่ายในการ ด�ำเนินการหากสินค้าถูกเรียกคืนจะเป็นภาระของเจ้าของ สินค้านั้น 2.การตรวจสอบสินค้า บทบัญญัตินี้จะเพิ่มความถี่ในการตรวจสอบตลอดขั้น ตอนการแปรรูป โดยเฉพาะอาหารที่ผลิตในสหรัฐฯ ทั้งนี้ FDA สามารถออกมาตรการเพิ่มเติมเพื่อตรวจสอบหรือ ควบคุมสินค้าอาหารที่มาถึงด่านน�ำเข้า รวมทั้งด�ำเนิน การ เพื่อให้มั่นใจว่าสินค้าอาหารจะไม่ถูกปล่อยออกจาก ด่านน�ำเข้าจนกว่าจะได้รับการตรวจสอบเป็นที่เรียบร้อย แล้ว
16 Aug - 22 Aug 2011
4.การป้องกันควบคุมความเสี่ยง และ HACCP ผู้ผลิต ผู้ด�ำเนินการ หรือตัวแทนที่รับผิดชอบผลิตสินค้า ต้องประเมินความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบต่ออาหาร พร้อมทั้งระบุและจัดตั้งการควบคุมที่จะเป็นการป้องกัน ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างการผลิตและเก็บรักษา บันทึกของการควบคุมไว้อย่างน้อย 2 ปี ซึ่งหมายถึงผู้ ผลิตจะต้องน�ำระบบการควบคุมด้วย HACCP มาใช้ใน การผลิตอาหาร 5.การปฏิบัติตามมาตรฐาน FDA และ USDAหรือกระทรวงเกษตร จะด�ำเนินการ ร่วมกันในการตรวจสอบหาสาเหตุของโรคอาหารเป็นพิษ เนื่องจากการปนเปื้อนในอาหาร เพื่อลดความเสี่ยงที่จะ ก่อให้เกิดความเจ็บป่วยหรือเสียชีวิตโดยใช้กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ เอกสารค�ำแนะน�ำ หรือกฏระเบียบ ต่างๆมาควบคุมการปนเปื้อนเหล่านั้น รวมทั้งจัดท�ำ เอกสารที่เป็นแนวทางปฏิบัติต่อสิ่งปนเปื้อน
Vol. 2 Issue 29 แม้ว่าทบบัญญัติใหม่ยังไม่มีการก�ำหนด แต่คาดว่า จะเป็นขั้นตอนต่อไปที่ FDA จะด�ำเนินการโดยน�ำ ระบบติดตามและตรวจสอบย้อนกลับส่วนประกอบ อาหาร (Tracking and tracing) มาใช้ ซึ่งจะช่วย ให้สามารถทราบถึงส่วนประกอบที่มาของการปนเปื้อน ต่างๆได้อย่างรวดเร็ว และยังสามารถแก้ปัญหาความ ไม่ปลอดภัยของอาหารที่อาจเกิดขึ้นได้ทันท่วงที 7.ค่าธรรมเนียมอุตสาหกรรมอาหารอาจมีการเรียก เก็บค่าธรรมเนียมบ้างในขั้นตอนการยื่นขอรับรอง ค่า ธรรมเนียมแบบฟอร์มต่างๆ ส่วนค่าใช้จ่ายอื่นๆที่ เกี่ยวข้อง เช่น ค่าด�ำเนินการเรียกคืนสินค้า ค่าปรับ และค่าตรวจวิเคราะห์สินค้าเพิ่มเติม เป็นต้น ถือเป็น ความรับผิดชอบของเจ้าของสินค้าร่วมกัน ระหว่าง ผู้ ผลิต ผู้น�ำเข้า ผู้จัดจ�ำหน่าย หรือตัวแทนผู้กระจาย สินค้า บทบัญญัติ FSMA จะ
6.การตรวจสอบย้อนกลับและการติดตามสินค้า
เป็นการสร้างความมั่นใจได้ว่าระบบความปลอดภัย ของสินค้าอาหารน�ำเข้าสหรัฐฯ นับต่อจากนี้ไปจะเป็น ไปด้วยความเข้มงวดมากยิ่งขึ้น (รายละเอียดเพิ่มเติม ตามเอกสารแนบ) ที่มา: ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร
3.การจดทะเบียนผู้ประกอบการFDA ได้ออกมาตรการ Food Facilities Registration ก�ำหนดให้สถาน ประกอบการอาหารที่ผลิต แปรรูป บรรจุ หรือครอบ ครองอาหารที่ใช้เพื่อการบริโภคในสหรัฐฯ ต้องขึ้น ทะเบียนกับ FDA โดยข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ประกอบ การนี้จะท�ำให้ทราบแหล่งที่มา ในกรณีที่มีความไม่ ปลอดภัยในการบริโภคอาหาร และจะต้องมีการต่ออายุ การขึ้นทะเบียนทุก 2 ปี เพื่อให้มั่นใจว่าได้รับการตรวจ สอบข้อมูลอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ FDA สามารถ ระงับหรือถอดถอนการขึ้นทะเบียนได้หากพบว่าผู้ผลิตมี ความน่าจะเป็นที่จะก่อผลกระทบรุนแรงต่อผู้บริโภค
8
สถาบันอาหาร
9
TFPA Trade & Technical WEEKLY BRIEF
สถานการณ์ด้านประมง สถานการณ์ด้านประมง เวียดนามสุ่งออกกุ้งสูงขึ้น 35% ในรอบ 7 เดือน สมาคมผู้ผลิตและส่งออกอาหารทะเลเวียดนาม (VASEP) เปิดเผยว่าตั้งเดือนมกราคม – กรกฎาคม 2554 เวียดนามส่งออกกุ้งสูงขึ้น 35% คิดเป็นมูลค่า 1.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในจ�ำนวนนั้นรวมถึงการส่งออกกุ้ง แช่แข็ง 115,000 ตัน ซึ่งส่งออกสูงขึ้น 15% ปริมาณการส่งออกกุ้งเวียดนามสูงขึ้น 15% และมูลค่าสูงขึ้น 30% ขณะที่กุ้งข้าวปริมาณส่งออกสูงขึ้น 37% และมูลค่าสูงขึ้น 72% โดยกุ้งยังคงเป็นสินค้าส�ำคัญ ที่มียอดส่งออกเติบโตเร็วที่สุดของภาคประมง ขณะที่ราคากุ้งเวียดนามส่งออกก็สูงขึ้นเรื่อยๆโดยเพิ่ม ขึ้น 15.6% คิดเป็นกิโลกรัมละ 9.53 ดอง ที่มา : มกอช. (FIS) 19 ส.ค. 54
16 Aug - 22 Aug 2011 Vol. 2 Issue 2
Vol. 2 Issue 29
สถานการณ์ด้านเกษตร ตลาดน�้ำสับปะรดในเนเธอร์แลนด์(เอกสารแนบ 6) ชาวดัชท์และประชากรต่างชาติที่อาศัย ในเนเธอร์ แ ลนด์ มี ค วามชื่ น ชอบในการดื่ ม น�้ ำ ผั ก และผล ไม้เป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นสินค้าที่สามารถหาซื้อได้ ทั่วไป มีราคาต�่ำและมีสินค้าหลากหลายประเภท ซึ่งใน เนเธอร์แลนด์น�้ำผักและผลไม้ไทยได้รับความนิยมสูง โดย สินค้าผักและผลไม้ไทยที่จ�ำหน่าย ได้แก่ สับปะรด มะเขือ เทศ ส้ม แอปเปิ้ล มะนาว ส้มโอ ฝรั่ง มะม่วง เชอร์รี่ ลูก แพร์และกะทกรก ส่วนน�้ำผลไม้ไทยที่น�ำเข้าเนเธอร์แลนด์ มากที่สุด คือ น�้ำสับปะรด คู่แข่งทางการตลาดของไทย ในเนเธอร์แลนด์ ได้แก่ บราซิล เยอรมนี คอสตารกา อาร์เจนตินา สหรัฐอเมริกา โปแลนด์ เอกวาดอร์ แบล เยี่ยม และอิสราเอล ตามล�ำดับ เนเธอแลนด์เป็นผู้น�ำเข้าน�้ำสับปะรด อันดับ 1 ของโลก โดยมีแหล่งน�ำเข้าส�ำคัญ 3 อันดับแรก คือ ไทย คอสตาริกา และอินโดนีเซีย ตามล�ำดับ ในอีก ด้ านหนึ่ ง เนเธอร์ แ ลนด์ ก็ เป็ นผู ้ ส ่ ง ออกกระจายน�้ ำผลไม้ ที่ ส�ำคัญในสหภาพยุโรปด้วย โดยเนเธอร์แลนด์ส่งออกน�้ำ สับปะรดต่อไปยังเยอรมนี สเปน ฝรั่งเศส อิตาลี อังกฤษ จากข้ อมู ล ปี 2553 แนวโน้ ม การบริ โ ภคน�้ ำ สั บปะรดใน เนเธอร์แลนด์ลดลง ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากราคาน�ำเข้า ต่อหน่วยของน�้ำส้มที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในเนเธอร์แลนด์มี แนวโน้มลดลง ขณะที่ราคาน�ำเข้าต่อหน่วยของน�้ำสับปะรด มีแนวโน้มปรับขึ้นอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้ผู้บริโภคหันไปดื่ม น�้ำส้มมากขึ้น
อย่างมาก ดังนั้น หากผู้ผลิตมีการต่อยอดให้ความส�ำคัญ กับการผลิตสีเขียวตั้งแต่ระดับไร่นา ในระดับโรงงานลด การปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจก และกระจายรายรั บ สู ่ ห ่ ว ง โซ่ ก ารผลิ ต อย่ า งเป็ น ธรรม อาจสามารถเป็ น กลยุ ท ธ์ ที่ สร้างความแตกต่างและสามารถเจาะตลาดเฉพาะของน�้ำ สับปะรดได้มากขึ้น ในตลาดสหภาพยุโรปให้ความสนใจ สินค้าน�้ำสับปะรด โดยจะบริโภคน�้ำสับปะรดเป็นน�้ำผลไม้ เดี่ยว นอกจากนี้ยังนิยมน�ำไปผสมน�้ำผลไม้อื่นๆ เพื่อปรับ แต่งรสชาติ และน�ำไปใช้เป็นส่วนผสมของเครื่องดื่มจ�ำพวก ค็อกเทลอีกด้วย ดังนั้น การอิงกระแสผลไม้เขตร้อนด้วย การน�ำน�้ำสับปะรดไปผสมกับน�้ำผลไม้เขตร้อนอื่นๆ เช่น มะม่วง ล�ำไย ลิ้นจี่ ฝรั่ง ฯลฯ ตามช่วงฤดูกาลของไทย ก็จะช่วยเพิ่มปริมาณการขายได้มากยิ่งขึ้น ที่มา : ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมเกษตรอาหาร สถาบันอาหาร
ดังนั้น โอกาสอุตสาหกรรมน�้ำสับปะรด ของไทย นั้น จะเห็นว่า สับปะรดเป็นพืชที่ใช้น�้ำค่อนข้าง น้อย เมื่อเทียบกับผลไม้ประเภทอื่นๆที่นิยมน�ำมาผลิตน�้ำ ผลไม้ ซึ่งท�ำให้ผู้บริโภคตลาดเนเธอร์แลนด์ให้ความสนใจ
10
11
TFPA Trade & Technical WEEKLY BRIEF
16 Aug - 22 Aug 2011
ไทยเอเย่นซี่สนองเกษตรกร “ไทยเอเย่ น ซี่ เอ็ น ยี เ นี ย ริ่ ง ” ผู ้ ป ระกอบการ เครื่องจักรกลการเกษตร เตรียมวางตลาดเครื่องหีบปาล์ม น�้ ำ มั น ที่ ผ ลิ ต โดยคนไทยร้ อ ยเปอร์ เ ซ็ น ต์ ป ี นี้ พร้ อ มอยู ่ ระหว่างวิจัยพัฒนาเครื่องเก็บเกี่ยวมันส� ำปะหลังและอ้อย เผยเป้ า หมายทุ ่ น แรงเกษตรกรและแก้ ป ั ญ หาขาดแคลน แรงงานภาคการเกษตร นายชัชนันท์ ถนอมวรสิน กรรมการ บริหารบริษัท ไทยเอเย่นซี่ เอ็นยีเนียริ่ง จ�ำกัด เปิดเผยกับ “ฐานเศรษฐกิจ” ว่าภายในปีนี้บริษัทจะน�ำเครื่องหีบปาล์ม น�้ำมัน ประกอบด้วยเครื่องหีบปาล์มน�้ำมันจากผลปาล์ม และเครื่อ งหีบจากเมล็ด ในปาล์ม วางจ� ำ หน่ายตลาดใน ประเทศเพื่อป้อนโรงงานน�้ำมันปาล์ม โดยเครื่องหีบปาล์ม น�้ำมันของบริษัทแทบจะเรียกได้ว่าเป็นเครื่องหีบที่ผลิต โดย บริษัทคนไทยร้อยเปอร์เซ็นต์เป็นเจ้าแรก เพราะว่าเครื่อง หีบที่โรงงานสกัดน�้ำมันปาล์มใช้กันอยู่ในขณะนี้ส่วนใหญ่ น�ำ เข้าจากประเทศมาเลเซีย และขณะนี้ บริษัทได้รับ สนับสนุนทุนจากส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.)วิจัย และพัฒนาเครื่องเก็บเกี่ยวมันส�ำปะหลัง โดยจะเป็นเครื่อง ที่สามารถดึงหัวมันส�ำปะหลังขึ้นจากดินแล้วเครื่องสามารถ ช่วยแยกเหง้าและหัวออกจากกัน ซึ่งปัจจุบันจะไม่มีเครื่อง ที่แยกได้ลักษณะนี้จะมีเฉพาะเครื่องถอนหัวมัน เท่านั้น
Vol. 2 Issue 29
สถานการณ์นโยบายครม.ใหม่ เช่ น เดี ย วกั น บริ ษั ท อยู ่ ร ะหว่ า งวิ จั ย พั ฒ นารถตั ด อ้ อ ย ที่ ส ามารถตั ด อ้ อ ยและสั บ เป็ น ชิ้ น และมี ท ่ อ ล� ำ เลี ย งเพื่ อ ถ่ายเทลงรถบรรทุกขนส่ง เข้าโรงงานได้ทันที ทั้งเครื่อง เกี่ยวมันส�ำปะหลังและเครื่องตัดอ้อย คาดว่าจะวางตลาด ได้ ป ี ห น้ า อ่ า นต่ อ http://www.thannews.th.com/ index.php?option=com_content&view=article& id=79621:2011-08-17-06-03-56&catid=87:2009-02-0811-23-26&Itemid=423
และประเด็นแรงงาน
พาณิชย์ประกาศดักคอผู้ผลิตสินค้า อย่า อ้างมั่วขอขึ้นราคา พาณิชย์ ประกาศดักคอผู้ผลิตสินค้า อย่ามั่วอ้างขึ้น ค่าแรง-ราคาน�้ำมัน-บาทผันผวน ขึ้นราคาสินค้าเด็ดขาด เหตุไม่ท�ำให้ต้นทุนพุ่งแรง ...
ที่มา : จากหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจฉบับที่ 2,662 18- 20 ส.ค. 54
วันที่ 16 ส.ค. นางวัชรี วิมุกตายน อธิบดีกรมการ ค้าภายใน เปิดเผยว่า จากการติดตามดูโครงสร้างต้นทุน สินค้าจากปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 3 ด้าน คือการปรับขึ้นค่าแรง ขั้นต�่ำเป็นวันละ 300 บาท ราคาน�้ำมัน และอัตราแลก เปลี่ยน พบว่า ยังไม่ใช่เหตุผลที่ผู้ผลิตจะขอปรับขึ้นราคา สินค้า เพราะปัจจัยดังกล่าวไม่ท�ำให้ต้นทุนสินค้าปรับสูง ขึ้น โดยเฉพาะการปรับขึ้นค่าแรงขั้นต�่ำ 300 บาท แม้ จะท�ำให้สินค้าที่ใช้แรงงานในการผลิตมีต้นทุนสูงขึ้น แต่ ก็เป็นต้นทุนส่วนเล็กน้อยเท่านั้น เมื่อเทียบกับต้นทุนด้าน อื่นๆ เช่น ต้นทุนวัตถุดิบ ต้นทุนบริหารจัดการ อีกทั้งการ ปรับขึ้นค่าแรงงานจะเพิ่มก�ำลังซื้อของคนในประเทศ ซึ่งจะ ช่วยชดเชยต้นทุนผลิตสินค้าที่เพิ่มสูงขึ้นได้
ส่วน ราคาน�้ำมันนั้น รัฐบาลมีนโยบายยกเลิกการจัด เก็บเงินเข้ากองทุนน�้ำมัน ซึ่งจะท�ำให้ราคาน�้ำมันเบนซิน และดีเซล ลดลงลิตรละ 7 บาท และจะช่วยลดต้นทุน ค่าขนส่งได้ ขณะที่อัตราแลกเปลี่ยนยังผันผวนไม่มาก จึงไม่น่ามีผลต่อต้นทุนน�ำเข้าสินค้า แต่ปัจจัยที่น่าห่วง คือ สินค้าที่น�ำเข้าวัตถุดิบจากต่างประเทศมาผลิต เช่น เหล็ก แบตเตอรี่ สายไฟฟ้า ยางรถยนต์ ซึ่งผู้ประกอบ การสินค้าทั้ง 4 รายการได้ท�ำเรื่องขอปรับขึ้นราคามา ตั้งแต่ช่วง 2-3 เดือนที่ผ่านมา แต่กรมขอให้ชะลอไว้ ก่อน เพราะต้องรอรัฐบาลใหม่พิจารณา แต่หากชะลอ นานเกินไป ขณะที่ต้นทุนปรับขึ้นต่อเนื่อง อาจส่งผลให้ สินค้ากลุ่มนี้หายไปจากตลาด
ด้าน นายยรรยง พวงราช ปลัดกระทรวงพาณิชย์ กล่าวว่า ยืนยันเป้าหมายเงินเฟ้อทั้งปีที่ 3.2-3.7% แม้ หลายฝ่ายคาดอาจสูงขึ้นกว่านี้ แต่เชื่อว่ารัฐบาลจะดูแล ไม่ให้เงินเฟ้อสูงขึ้นได้ อย่างไรก็ตาม กระทรวงฯได้จัด งานมหกรรมลดค่าครองชีพวันพาณิชย์ โดยห้างค้าปลีก และห้างสรรพสินค้า 11,101 สาขาทั่วประเทศ จะลด ราคาสินค้าอุปโภคบริโภคมากกว่า 6,000 รายการ ถึง 10-70% วันที่ 19-21 ส.ค.นี้ ที่มา : ไทยรัฐ วันที่ 16 ส.ค. 54
12
13
TFPA Trade & Technical WEEKLY BRIEF
เปิ ด ค� ำ แถลงนโยบาย “ยิ่ ง ลั ก ษณ์ ” เน้ น นโยบาย 2 ส่วน 8 กรอบนโยบาย 16 ภารกิจ “ยิ่งลักษณ์” ร่ายยาวแถลงนโยบายรัฐบาล 44 หน้า 2 ชั่วโมง 20 นาที เน้นนโยบาย 2 ส่วน 8 กรอบนโยบาย 16 ภารกิจ เร่งด่วนในปีแรก เน้นสร้างความ ปรองดอง สามัคคี ปราบยาเสพติดตาม พระราชเสาวนีย์ราชินี ยก ระดับคุณภาพชีวิต เพิ่มก�ำลังซื้อ เพิ่มค่าแรง 300 บาท ต่ อ วั น ตามที่ ห าเสี ย ง ประกาศจะให้ มี ส.ส.ร.ยกร่ า ง รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ผ่านการออกเสียงประชามติ ลั่นจะ น�ำความสุขคืนคนไทยทุกคน ผู ้ สื่ อ ข่ า วรายงานจากรั ฐ สภาว่ า เมื่ อ เวลา 09.14 น.มีการประชุมร่วมรัฐสภา ครั้งที่ 1 สมัยสามัญทั่วไป มี วาระส�ำคัญใน การแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี ตาม มาตรา 176 ของรัฐธรรมนูญ มี นายสมศักดิ์ เกียรติสุร นนท์ ประธานสภาผู้แทนราษฎร ในฐานะประธานรัฐสภา ท�ำหน้าที่ประธานในการประชุม ซึ่ง น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชิน วัตร นายกรัฐมนตรี พร้อมคณะรัฐมนตรี ได้เข้ามานั่งใน ห้องประชุม เตรียมแถลงและชี้แจง โดยมีสมาชิกรัฐสภาทั้ง ส.ส.พรรคร่วมรัฐบาล พรรคฝ่ายค้าน และสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) เข้าร่วมประชุมกันอย่างพร้อมเพรียง โดยประธานรัฐสภาได้แจ้งว่า การประชุมจะมีการ ถ่ายทอดสดทาง โทรทัศน์ เอ็นบีที ช่อง11 , ช่องไทย พีบีเอส และเนชั่นทีวี พร้อมวิทยุกระกระจายเสียงฯ จน เสร็จสิ้นการประชุม รวมทั้งให้ปฎิบัติตามมติวิปสามฝ่ายใน การอภิปรายด้วย ทั้งนี้ ในการประชุมขอใช้ข้อบังคับอย่าง เคร่งครัด และขอให้สมาชิกให้ความร่วมมือด้วย
16 Aug - 22 Aug 2011
จากนั้นเวลา 09.15 น.ได้เริ่มพิจารณาเรื่อง ด่วนการแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อ รัฐสภา โดย น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบาย รัฐบาลต่อรัฐสภา ความยาว 44 หน้า ใช้เวลา 2 ชั่วโมง 20 นาที ทั้งนี้ ระหว่างแถลงมีการอ่านผิดเล็กน้อย พร้อม มีการหยุดพักจิบดื่มน�้ำตลอดเป็นช่วงๆ ด้วย
โดย น.ส.ยิ่ ง ลั ก ษณ์ ได้ แ ถลงมี เ นื้ อ หาสรุ ป ว่ า จาก สถานการณ์ แ ละสภาวะแวดล้ อ มของเศรษฐกิ จ โลก ที่ เปลี่ ย นแปลงมี นั ย ส� ำ คั ญ ได้ ส ่ ง ผลให้ ป ระเทศไทยอยู ่ ใ น ช่วงการเปลี่ยนผ่านเชิงโครงสร้างที่ส�ำคัญ 3 ประการ คือ 1.การเปลี่ยนผ่านเศรษฐกิจ ที่ผ่านมาเศรษฐกิจไทยมีความ เสี่ยงสูงไม่สามารถก้าวพ้นวิกฤตได้อย่างยั่งยืน เศรษฐกิจ โลกมีความไม่แน่นอนสูงอยู่ในกระบวนการเปลี่ยนผ่านขั้ว อ�ำนาจทางเศรษฐกิจและการเมือง ไปสู่ศูนย์กลางใหม่ทาง ทวีปเอเซียในระยะยาว 2.การเปลี่ยนผ่านทางด้านการเมือง ความขัดแย้ง ทางการเมืองในช่วงที่ผ่านมา แม้จะมีผลต่อ ความเชื่อมมั่นทางเศรษฐกิจในระยะสั้น แต่เนื่องจากการ เติบโตทางเศรษฐกิจที่ผ่านมาผูกโยงกับภาวะเศรษฐกิจโลก
Vol. 2 Issue 29 ขึ้ น ค่ า แรงทั น ที กิ ต ติ รั ต น์ ห นุ น ไม่ ร อ ไตรภาคี “กิตติ รัตน์ ณ ระนอง” ส่งสัญญาณไทยหมดยุค แรงงานราคาถูก ดันเอกชนขึ้นค่าแรงทันที ไม่ต้องรอ ไตรภาคี ระบุ รัฐพร้อมสนับสนุนเพิ่มทักษะแรงงาน...
เมื่อ วันที่ 18 ส.ค. นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รอง นายกรัฐมนตรี และรมว.พาณิชย์ เปิดเผยภายหลังการ ปาฐกถาพิเศษ 1 ปีของเออีซี กับทิศทางประเทศไทย ในงานเสวนา AEC and SMEs Challenges : Next Steps (Phase 2) จัดโดยสภาหอการค้าแห่ง ประเทศไทย ร่วมกับส�ำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม (สสว.) ที่โรงแรม พลาซ่าแอทธินี ว่า การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) ในปี 2558 นอกจากการลดภาษีสินค้าทุกรายการเหลือ 0% แล้ว ยังมีการเคลื่อนย้ายแรงงานในอาเซียนที่จะท�ำได้ เสรีมากขึ้น ซึ่งในส่วนของไทย ยืนยันว่าจะไม่มีแรงงาน ราคาถูกอีกต่อไป และใครก็ตามที่มาลงทุนในไทยก็ต้อง ปฏิบัติตามเงื่อนไขเรื่องค่าแรงงานของไทยด้วย
“ไม่ อ ยากให้ ธุ ร กิ จ กั ง วลเรื่ อ งการปรั บ ขึ้ น ค่ า แรงแล้ ว จะแข่ ง ขั น ไม่ ไ ด้ เพราะการเพิ่ ม ค่ า แรงจะเป็ น การเพิ่ ม ศักยภาพของแรงงานด้วย ซึ่งภาครัฐพร้อมจะสนับสนุน เอกชนในเรื่องการเพิ่มทักษะแรงงานด้วยเช่นกัน อย่างไร ก็ ต าม วั น ที่ 18 ส.ค. จะหารื อ กั บ ภาคเอกชน เช่ น หอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เพื่อ หาแนวทางในการปรับขึ้นค่าแรง 300 บาท/วัน เบื้องต้น อยากให้ภาคเอกชนด�ำเนินการได้เลย โดยไม่ต้องรอมติ ของคณะกรรมการไตรภาคี” นายกิตติรัตน์กล่าว ส�ำหรับ การดูแลภาคธุรกิจขนาดกลางและเล็ก (เอส เอ็มอี) รัฐบาลมีแผนเตรียมความพร้อมอยู่แล้ว ด้วยการ ปรับมาตรฐานของธุรกิจให้เป็นสากล พัฒนาบุคลากรให้มี ความรู้ภาษาต่างประเทศ และภาษาเพื่อนบ้าน แก้ปัญหา ด้านการตัดราคาระหว่างผู้ประกอบการ เป็นต้น เชื่อว่า หากท�ำได้ตามแผนจะผลักดันยอดส่งออกของไทยไปตลาด อาเซียน จีน อินเดีย และญี่ปุ่นได้มากขึ้น และเชื่อว่าหลัง เปิดเออีซีในปี 2558 จะท�ำให้ยอดการส่งออกสินค้าไทย ภาพรวมโตไม่ต�่ำกว่า 20-30% หากภาครัฐและเอกชนร่วม มือกันมองหาตลาดในต่างประเทศมากขึ้น
รายละเอียด http://www.naewna.com/news.asp?ID=276681 ที่มา : แนวหน้า วันที่ 23 ส.ค. 54
14
15
TFPA Trade & Technical WEEKLY BRIEF
16 Aug - 22 Aug 2011
ด้าน นายดุสิต นนทะนาคร ประธานหอการค้าไทย ขึ้นค่าแรง300 รสก.-เอกชน มีผล1 ม.ค. กล่ า วว่ า ขณะนี้ รั ฐ และเอกชนยั ง มี แ นวคิ ด เรื่ อ งการขึ้ น 55 ค่าแรงงานขั้นต�่ำที่แตกต่างกันอยู่ โดยรัฐบาลต้องการให้ เอกชนขึ้นค่าแรงได้เลย แต่เอกชนมองว่าควรต้องท�ำตาม “กิตติรัตน์ ณ ระนอง” ลั่น แถลงนโยบายรัฐ จะ มติของคณะกรรมการไตรภาคี ซึ่งไม่ว่ามติจะออกอย่างไร ประกาศให้ รั ฐ วิ ส าหกิ จ -องค์ ก รขนาดใหญ่ ขึ้ น ค่ า จ้ า ง ก็ขอให้เป็นเอกฉันท์ ไม่เช่นนั้นจะเกิดปัญหาตามมา ที่มา : ไทยรัฐ วันที่ 18 ส.ค. 54 ขั้นต�่ำ-เงินเดือนปริญญาตรี วันละ 300 บาท มีผล 1 มกราคม 2555 เมื่อ วันที่ 19 ส.ค. นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รอง นายกรัฐมนตรีและรมว.พาณิชย์ เปิดเผยในการปาฐกถา พิเศษเรื่อง “ทิศทางการค้าไทยในทศวรรษใหม่” เนื่อง ในโอกาสกระทรวงพาณิชย์ครบรอบ 91 ปี (วันพาณิชย์) ว่า ในการแถลงนโยบายรัฐบาลต่อรัฐสภาสัปดาห์หน้า จะมี ค วามชั ด เจนในนโยบายปรั บ ขึ้ น ที่ ค ่ า แรงขั้ น ต�่ ำ เพิ่ ม ขึ้นเป็น 300 บาท/วัน ซึ่งจะสอดคล้องกับผลิตผลของ แรงงาน และจะปรับขึ้นเงินเดือนส�ำหรับผู้จบปริญญาตรี เป็น 15,000 บาท โดยจะเริ่มตั้งแต่เดือนม.ค. 55 โดย ภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชนขนาดใหญ่จะน�ำร่อง ก่อน ทั้งนี้ ยืนยันว่านโยบายดังกล่าวไม่ใช่ประชานิยมราย ชิ้น เพื่อเอาใจแค่ส่วนใดส่วนหนึ่ง แต่เป็นนโยบายภาพ รวมในการเปลี่ยนสมดุลประเทศไทย เพราะรั ฐ บาลไม่ ได้ปรับขึ้นค่าแรงงานเพียงอย่างเดียว แต่จะมีนโยบาย ลดภาษีรายได้นิติบุคคลจาก 30% เหลือ 23% ในปี 55 และเหลือ 20% ในปี 56 ซึ่งการขยายฐานภาษีดังกล่าว เพื่อเตรียมพร้อมให้กับประเทศไทยในการเข้าสู่การรวมตัว เป็นประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (เออีซี) ในปี 58 ด้วย เพราะประเทศที่มีอ�ำนาจทางเศรษฐกิจในอาเซียนต่างก็มี อัตราภาษีที่ต�่ำกว่าไทย ทั้งนั้น
16
Vol. 2 Issue 29 ส� ำ หรั บ ภาคธุ ร กิ จ ที่ ไ ม่ มี ค วามพร้ อ มเรื่ อ งการปรั บ ขึ้ น ค่าแรงงานนั้น จะเป็นหน้าที่ของคณะกรรมการไตรภาคี ที่จะท�ำงานควบคู่ไปกับรับบาล ซึ่งจะพิจารณาค่าจ้างให้ สอดคล้องกับภาคธุรกิจ และจะมีระยะเวลาที่ทุกฝ่ายปรับ ตัว เพื่อให้ค่าจ้างสอดคล้องกับการน�ำร่องของการจ้างงาน ภาครัฐและเอกชนรายใหญ่ใน ที่สุด พร้อมกันนั้น ต้อง ทบทวนต้นทุนภาคธุรกิจให้ลดลงด้วย เช่นเดียวกับอัตรา ดอกเบี้ยภายในประเทศก็ต้องลดลงด้วย ดังนั้นนโยบาย ของรัฐบาลจึงต้องท�ำเป็นภาพรวม เพราะเชื่อว่าเมื่อรัฐบาล ปรับขึ้นค่าแรงงานแล้ว และระดับอัตราเงินเฟ้อไม่สูงขึ้น อัตราดอกเบี้ยก็ควรจะทรงตัวหรืออ่อนตัวให้มากที่สุด
“นโยบาย การปรับค่าแรงงานขั้นต�่ำ 300 บาทของ รัฐบาล ควรใช้ผ่านโครงการของรัฐที่มีการลงทุนต่อเนื่อง ทุกปี ทั้งในโครงการสาธารณูปโภค การขนส่ง ซึ่งจะเกิด การจ้างงานมากมาย ไม่อยากให้ตื่นตระหนกในการขึ้น ค่าแรงงาน หากต้องการผลักดันเศรษฐกิจให้เติบโต” นาย ศุภชัย กล่าว ที่มา : ไทยรัฐ วันที่ 19 ส.ค. 54
ด้าน นายนายศุภชัย เจียรวนนท์ ประธานคณะผู้ บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ทฤษฎีสองสูง คือการเพิ่ม ราคาสินค้าเกษตร และเพิ่มค่าแรงงานขั้นต�่ำ เพราะปัจจัย กระทบต่อความเป็นอยู่ได้เปลี่ยนแปลงไป จากเดิมพึ่งพา ยา เครื่องนุ่มห่ม อาหาร และที่อยู่ แต่ปัจจุบันต้องอาศัย รถยนต์ ตู้เย็น ทีวี มอเตอร์ไซด์ หรือมือถือ ต้นทุนสังคม ใหม่สูงขึ้น แต่สิ่งเหล่านี้ก็ท�ำให้ประสิทธิภาพการท�ำงานสูง ขึ้นด้วย ดังนั้น จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่รัฐบาลจะขยับค่าแรง ให้เหมาะสมกับประสิทธิภาพที่เพิ่ม ขึ้น
17
TFPA Trade & Technical WEEKLY BRIEF
16 Aug - 22 Aug 2011
Vol. 2 Issue 29
สถานการณ์ด้านการค้า พม่ายกเว้นภาษีส่งออกข้าวและสินค้า เกษตร
เอฟทีเอไฟเขียวช่วยเกษตรกร4กลุม ่ รับเปิดค้าเสรี
รัฐบาลพม่ายกเว้นภาษีส่งออกข้าว ข้าวโพด เมล็ด พืช ถั่ว งา ยาง และอาหารทะเล ซึ่งมีผลระหว่างวันที่ 15 สิงหาคม 2554 ถึงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2555
พาณิ ช ย์ เผยกองทุ น เอฟที เ อ ไฟเขี ย วช่ ว ยเหลื อ เกษตรกรและผู้ประกอบการในกลุ่มสินค้า 4 กลุ่ม ลิ้นจี่ ปลาสลิด นมโคสดแท้ 100% และหอมแดง เพื่อปรับตัว รองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า
นาย Sein Win Hlaing รองประธานสมาคมผู้ส่ง ออกข้าวกล่าวว่า จากการยกเว้นภาษีท�ำให้พม่าสามารถ แข่งขันกับประเทศผู้ส่งออกข้าวอื่นๆในตลาด โลกได้ โดยก่อนหน้านี้รัฐบาลพม่าชุดก่อนเก็บภาษีส่งออกข้าวที่ 8 % เป็นหลายสิบปี และในวันที่ 1 กรกฎาคม 2554 รัฐบาลชุดใหม่ได้ลดภาษีส่งออกข้าวลงเหลือ 5 % ในปีงบประมาณ 2553 (1 เมษายน 2553 - 31 มีนาคม 2554) พม่าส่งออกข้าวจ�ำนวน 800,000 ตัน ปัจจุบันราคาตลาดข้าวพม่าอยู่ที่ประมาณ 420 ดอลลาร์ สหรัฐต่อตัน อนึ่ง ก่อนปี 2505 ซึ่งนายพลเนวินได้ยึดอ�ำนาจ รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ในอดีตพม่าเป็นผู้น�ำด้าน การส่งออกข้าวของโลก ที่มา : Bangkok Post และ The New Light of Myanmar 18 ส.ค. 54
เมื่อ วันที่ 16 ส.ค. นายยรรยง พวงราช ปลัด กระทรวงพาณิ ช ย์ เปิ ด เผยภายหลั ง การประชุ ม คณะ กรรมการบริหารเงินช่วยเหลือเพื่อการปรับตัวของ ภาค การผลิตและภาคบริการที่ได้รับผลกระทบจากการเปิด เสรีทางการค้า (กองทุน เอฟทีเอ) กระทรวงพาณิชย์ ว่า ที่ประชุมได้อนุมัติแนวทางการให้ความช่วยเหลือผู้ ประกอบการไทย ที่ได้รับผลกระทบจากการท�ำเอฟทีเอ ของไทยกับประเทศต่างๆ เพื่อให้สามารถปรับตัวและ อยู่ได้อย่างยั่งยืน ซึ่งล่าสุด ได้อนุมัติความช่วยเหลือ เกษตรกรและผู้ประกอบการ 4 กลุ่ม ได้แก่
ยุทธศาสตร์ด้านการตลาดนมโคสดแท้ 100% ในระยะที่ 2 การฝึกอบรมพัฒนาบุคลากรของศูนย์รวบรวมน�้ำนมดิบ และสหกรณ์ผู้ผลิตนมพร้อมดื่ม ด้านการบริหารจัดการและ การตลาด และการจัดตั้งธุรกิจแฟรนไชส์ผลิตภัณฑ์นมแปร รูปสไมล์มิลค์ และ
1. วิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตลิ้นจี่คุณภาพป่าแฝก ในการ พัฒนาคุณภาพการผลิตและการตลาดของสินค้าลิ้นจี่ ใน ระยะที่ 2 พร้อมจัดตั้ง “วิสาหกิจชุมชนเพื่อการค้า” เพื่ อ เป็ น โครงการต้ น แบบที่ ส ามารถขยายผลไปสู ่ สิ น ค้ า อื่น ๆ ต่อไป 2. สหกรณ์ปลาสลิดและสัตว์น�้ำฉะเชิงเทรา จ�ำกัด เพื่ อ พั ฒ นาระบบอั จ ฉริ ย ะต้ น แบบการสอบย้ อ นกลั บ ผลิตภัณฑ์สินค้าปลาสลิด การสร้างตราสินค้า การพัฒนา ผลิตภัณฑ์ปลาสลิด เช่น ปลาสลิดสมุนไพรกรอบเพื่อ สุขภาพ ไส้กรอกปลาสลิด ปลาสลิดแดดเดียว ปลาสลิด หอม หนังปลาสลิดปรุงรส และผงแคลเซียมจากปลาสลิด เป็นต้น ซึ่งนอกจากจะสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้บริโภคใน ประเทศแล้ว ยังจะช่วยให้ปลาสลิดของไทยเข้าสู่ตลาด ในสหรัฐฯ และสหภาพยุโรปได้ด้วย 3. ชุ ม นุ ม สหกรณ์ โ คนมแห่ ง ประเทศไทย ชุ ม นุ ม สหกรณ์ โ คนมและแปรรู ป 2010 และสมาคมผู ้ เ ลี้ ย ง โคนมไทย-โฮลสไตน์ ฟ รี เ ชี่ ย น เพื่ อ การวิ จั ย และพั ฒ นา
18
4. กลุ ่ ม วิ ส าหกิ จ เกษตรกรผู ้ ป ลู ก หอมแดง จั ง หวั ด ศรีสะเกษ ในการด�ำเนินกิจกรรม การพัฒนาสายพันธุ์และ การยกระดับการผลิตของเกษตรกร การประชาสัมพันธ์ หอมแดงสายพันธุ์ใหม่ การพัฒนาการจัดการศูนย์รับซื้อ หอมแดงและห้ อ งเย็ น โดยการน� ำ ระบบสารสนเทศและ บัญชีมาใช้ การแปรรูปผลิตภัณฑ์หอมแดงในรูปแบบต่าง ๆ “กลุ่มผู้ผลิตหรือกลุ่มผู้ประกอบการที่ได้รับผลก ระทบเอฟทีเอ หรือต้องการเพิ่มศักยภาพในการส่งออก โดยใช้สิทธิประโยชน์ที่เกิดจากการค้า เสรี สามารถ เสนอโครงการเพื่อขอรับความช่วยเหลือจากกองทุนเอฟที เอ กระทรวงพาณิชย์ได้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สอบถาม รายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทร. สายด่วน 1385” นาย ยรรยงกล่าวทั้งนี้ตั้งแต่ปี2550จนถึงปัจจุบันกองทุนเอฟที เอ กระทรวงพาณิชย์ได้ให้ความช่วยเหลือผู้ผลิตและผู้ ประกอบการแล้ว 31 โครงการ รวมวงเงิน 269 ล้าน บาท และมีสินค้าที่ได้รับความช่วยเหลือแล้ว เช่น สินค้าเกษตร สินค้าอุตสาหกรรม และสินค้าบริการ ได้แก่ สินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องหนัง โคเนื้อ โคนม อาหารโคนม ปลาน�้ำจืด ปลาสลิด ปลาป่น ข้าว ข้าว กล้องและข้าวฮาง ชา ส้ม ลิ้นจี่ สับปะรด ยาสมุนไพร ยาแผนปัจจุบัน หอมแดง การบริการท่องเที่ยว การ บริการร้านอาหารไทย และการบริการขนส่ง ที่มา : ไทยรัฐ วันที่ 16 ส.ค. 54
19
TFPA Trade & Technical WEEKLY BRIEF
16 Aug - 22 Aug 2011
ต้านวิกฤติเศรษฐกิจโลก
ตลาดอาหารฮาลาลเกิดใหม่
รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน+3 (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี) จับมือกันเพื่อเตรียมรับมือผลกระทบ ที่อาจจะเกิดขึ้นจาก วิกฤติเศรษฐกิจโลก
ปัจจุบันพบว่า ตลาดอาหารฮา ลาลมีการเจริญเติมโตอย่างรวดเร็ว เห็นได้จากมูลค่า การค้าเฉลี่ยของอาหารฮาลาลโลกนับตั้งแต่ปี 2547 ถึง 2553 คิดเป็นประมาณ 632 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯต่อ ปี ซึ่งปัจจัยผลักดันที่ส�ำคัญ คือ ผู้นับถือศาสนาอิสลาม เป็นหนึ่งในเชื้อชาติที่ใหญ่ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 25 ของ ประชากรโลก ประกอบกับการบริโภคอาหารฮาลาลที่ ไม่ได้จ�ำกัดเพียงประชากรมุสลิม แต่ยังครอบคลุมถึง ผู้บริโภคที่ไม่ใช่มุสลิม เพราะอาหารฮาลาลมีหลักการ ผลิตที่เป็นเลิศ ซึ่งดีต่อสุขภาพและมีความปลอดภัยสูง นอกจากนั้นการที่เศรษฐกิจโลกฟื้นตัวและรายได้ต่อหัว ของประชากรโลกเพิ่มสูงขึ้น จึงส่งผลให้ผู้บริโภคมีความ ต้องการอาหารฮาลาลเพิ่มขึ้นนับว่าเป็นโอกาสทองของ อาหารฮาลาล
นางศรี รั ต น์ รั ษ ฐปานะ อธิ บ ดี ก รมเจรจาการค้ า ระหว่างประเทศ เปิดเผยว่า รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน +3 (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี) ได้หารือกันในระหว่างการประชุม รั ฐ มนตรี เ ศรษฐกิ จ อาเซี ย น ที่ เ มื อ งมานาโด ประเทศ อินโดนีเซีย สัปดาห์ที่ผ่านมา โดยได้แสดงความกังวล ต่อแนวโน้มเศรษฐกิจโลกในปี 55 หลังปัญหาเศรษฐกิจ ในสหรัฐฯ และสหภาพยุโรปรุนแรงขึ้น และอาจกระทบ ต่ อ เศรษฐกิ จ ทั่ ว โลก จนอาจท� ำ ให้ ป ระเทศต่ า งๆ ใช้ มาตรการกีดกันทางการค้ามากขึ้น ซึ่งอาเซียน+3 เห็นว่า จ�ำเป็นต้องร่วมมือกันรับมือกับผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น นอกจากนี้ อาเซียน+3 ยังได้หารือถึงความเป็น ไปได้ในการจัดตั้งเขตการค้าเสรีเอเชียตะวันออก รวม ถึงการขยายการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจไปเป็นอาเซียน +6 (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี อินเดีย ออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์) โดยได้ตั้งคณะท�ำงาน 4 คณะ เพื่อศึกษา แนวทางและการปรับกฎว่าด้วยถิ่นก�ำเนิดสินค้า การ ปรับพิกัดศุลกากร พิธีการศุลกากร และความร่วม มือทางเศรษฐกิจ โดยจะสรุปผลการหารือต่อรัฐมนตรี เศรษฐกิจอาเซียน+3 พิจารณาก่อนการประชุมสุดยอด อาเซียนในเดือน พ.ย.54 ส่วนการหารืออาเซียนกับจีน นั้น ในส่วนความตกลงด้านการค้าบริการ ได้เห็นชอบ และพร้อมที่จะลงนามในการประชุมสุดยอดอาเซียนจีน ในเดือน พ.ย.นี้ ซึ่งจีนจะเปิดสาขาบริการเพิ่มขึ้น อีก 97 สาขาย่อย บริการด้านวิชาชีพกฎหมาย บัญชี สถาปัตยกรรม วิศวกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม การเช่า โทรคมนาคม การเงิน การศึกษา และการท่องเที่ยว เป็นต้น มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค.55 เป็นต้นไป
Vol. 2 Issue 29
สถานกาณ์ตลาดโลกปี 2553 จะพบว่าอาหารฮาลาลมีการเติบโตรวดเร็วและเป็นไปอย่าง ต่อเนื่อง โดยคิดเป็นร้อยละ 17 ของมูลค่าการค้าอาหาร โลก การเติบโตหลักของการค้าอาหารฮาลาลจะอยู่ในทวีป เอเซีย มีตลาดที่ส�ำคัญ คือ อินโดนีเซีย จีน อินเดีย รัฐ เซีย เป็นต้น และก�ำลังได้รับความนิยมมากขึ้นในทวีปยุโรป นอกจากนี้ ยั ง พบว่ า กลุ ่ ม ผู ้ บ ริ โ ภคยั ง ขยายไปสู ่ ป ระเทศที่ ตระหนักถึงคุณภาพและความปลอดภัยในอาหารสูง เช่น ออสเตรเลีย สหรัฐฯ และกลุ่มสหภาพยุโรป อาหารฮาลาล คือ อาหารที่มี กระบวนการท�ำหรือปรุงอาหารให้สะอาด ถูกตามหลักสุข อนามัยตามหลักศาสนาอิสลาม ซึ่งไม่แตกต่างจากการปรุง อาหารทั่วไป แต่ตามหลักของศาสนาอิสลามจะมีขั้นตอน ในการควบคุมกระบวนการปรุงและผลิตอาหารเพิ่มเติม ดัง นั้นผู้บริโภคทั่วไปก็สามารถบริโภคอาหารฮาลาลได้
จากข้อมูลขั้นต้นพบว่า ประเทศไทยน่าจะได้รับประโยชน์เนื่องจาก สินค้าอาหาร ฮาลาลของไทยเป็นที่ยอมรับในตลาดโลก โดยสินค้าที่มี ศักยภาพในการแข่งขัน คือ ธัญพืช(ข้าว) น�้ำผลไม้ เครื่อง ปรุงรส และสินค้าที่ไทยมีความสามารถในการแข่งขันต�่ำ ในตลาดโลก ได้แก่ น�้ำมันพืช เครื่องเทศ ผักสด และ ผลไม้สด ส�ำหรับกลยุทธ์ที่ส�ำคัญในการขยายตลาดสินค้า ไปยังตลาดโลก คือ การรักษามาตรฐานการผลิตสินค้าให้ มีคุณภาพตลอดจนการพัฒนาสินค้าอาหารฮาลาลไทยให้มี ความแตกต่างจากสินค้าในตลาดโลก เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับ ผลิตภัณฑ์และเพิ่มทางเลือกให้กับผู้บริโภค (รายละเอียด เพิ่มเติม ตามเอกสารแนบ) ที่มา: ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร สถาบันอาหาร
ที่มา : ไทยรัฐ วันที่ 16 ส.ค. 54
20
21
TFPA Trade & Technical WEEKLY BRIEF
16 Aug - 22 Aug 2011
อัตราแลกเปลี่ยน
Vol. 2 Issue 29
อัตราแลกเปลี่ยน
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย ตัวเลขวันที่ 30, 31 กรกฏาคม 2554 ธนาคารแห่งประเทศไทยไม่มีข้อมูล
22
23
TFPA Trade & Technical WEEKLY BRIEF
16 Aug - 22 Aug 2011
TFPA TEAM Executive Director
วิกรานต์ โกมลบุตร E-mail:
อัตราแลกเปลี่ยน THB 70.00
40.00 30.00
61.60 53.57 48.93
47.71 36.72
32.34
34.29
4.80
5.02
วิภาพร สกุลครู E-mail:
42.04
2552 THB /1 GBP
THB / 1 EUR
supatra@thaifood.org
อัญชลี พรมมา E-mail: anchalee@thaifood.org ธณัฐยา จันทรศรี E-mail: tanatya@thaifood.org
Division-Fisheries Products
4.68
E-mail : fish@thaifood.org Year
Head of Trade & Technical
THB/CNY
Trade and Technical Officer
2553 THB / 100 JPY
vipaporn@thaifood.org
Trade and Technical Officer
31.69
0.00 2551
สุพัตรา ริ้วไพโรจน์ E-mail:
Head of Trade & Technical
48.97
36.12
33.31
THB / 1 USD
Division-Fruit and Vegetable Products
สมาคมผู้ผลิตอาหารส�ำเร็จรูป ขอขอบคุณเว็ปไซต์ ดังต่อไปนี้
E-mail: linda@thaifood.org
E-mail : fv@thaifood.org
20.00 10.00
Trade and Technical Manager
ลินดา เปลี่ยนประเสริฐ
YEARLY MID RATES OF EXCHANGE OF COMMERCIAL BANGKOK IN BANGKOK
THAIFOODPROCESSORS’ASSOCIATION Tel : (662) 261-2684-6 Fax : (662) 261-2996-7 E-mail: thaifood@thaifood.org www.thaifood.org
Administrative Manager
60.00 50.00
vikrant@thaifood.org
Vol. 2 Issue 29
ชนิกานต์ ธนูพิทักษ์
E-mail: chanikan@thaifood.org
1. http://www.thannews.th.com 2. http://www.thairath.co.th 3. http://www.bangkokbiznews.com 4. http://www.tnsc.com 5. http://www.prachachat.net 6. http://www.dailynews.co.th 7. http://www.acfs.go.th 8. http://www.posttoday.com 9. http://www.matichon.co.th 10. http://www.naewna.com
รัตนา ชูศรี E-mail: rattana@thaifood.org ธนัญญา ตั้งจินตนา E-mail: thananya@thaifood.org
IT Support Officer ปวัณรัตน์ ใจกล้า
E-mail: pawanrat@thaifood.org
Data Management Office ญดา ชินารักษ์
E-mail: yada@thaifood.org
Commercial Relation Executive กัญญาภัค ชินขุนทด
E-mail: kanyaphak@thaifood.org
Administrator
วสุ กริ่งรู้ธรรม E-mail: vasu@thaifood.org ศิริณีย์ ถิ่นประชา E-mail: sirinee@thaifood.org
Accountant
วิมล ดีแท้ E-mail:
24
wimon@thaifood.org
เสนอขอคิ ้ ดเห็น/ขอเสนอแนะ ้ ……………………………………………………… ……………………………………………………… ……………………………………………………… ……………………………………………………… ……………………………………………………… ……………...................................................... 25
't drurnl ii'lril crrii ;;r 1.il
iufr..91.a.2
.i'utti..fi...fu.t'yy... lf.n'......... Cave(Thailand)Co.,Ltd. No 1.south 25. O HouseLumpini, Road,Sathorn, Bangkok10120 +66 2 625 6300 Fax.+662 625 6311
1 1 ; 1 [ o :c o 1
r"ufis fi':rarnrzss+ l4..l
a.r tnr.rnr:6nurlanradru:lnrnaosrnn':rrJ $d: dn::rualnnr:tn'riutflueiruudrr riuurfrpo"rrur t
:..J::trnrra:uJfioartduu riuu
vitua"::naunr:
i.lfiri.rlroiru
1. ri'rr,luon'r:fl-!r u1 2. rr:.rroauir rl"rir n'r:fl-rJ rJlt'l 3. uHufi anr ufio-onr': a"rL rLur
nr: triri':uqr".r n6irr rda.ro-rr:l::rnntnrdrn-.rfinr:rurnr:rririrr:r:lueiruud.rra.r:.1'::trnrts'rutfioart6uu n6u ta:nr:,1'ruriruHfion-tu.ri dr aroii.:Ha rr:.r.:r u nr:q-ollrr'o arafinlirl duurrrlo.r1uo'ru:rrurnlro.rru nr:a-r.r fl::Yt 0an'tnaqg'ttlnTt
lull::tYlfi l9l
n::rlun:ann::nrrrnnr:ldtdrrL n:rl:.r.rruaoarun::l6r1o"rirrfiuln:rnr:6nurlanraiiru:"un1naqflr ntd!tn-ulanraun: tn:ugfirart6uu Iqu'r'oo 'r:a.riitdadnur$n:l"erairr::uurio ri urirur drr a.r:J::trn:.L taSraftl auulunr:lt-sr ur}i ::naLn1:oIfrl14flttrl Hnn::ruoianrnaoarun::r rdaa''orirarer *o{$n:r:rq'rnrrri.l
.X
lun"r:u nt
l:.t,t'tuaofl't14nt: Lon1'luoftlifllllJulL
al utlv{:LlfluuYlffl']991:Llfl:lJ'l6l'tn'lta.ltaJ
luiuuri 7 n-uu'r uu airudrdurl-ar
rrir auurtn:irr^linrr rt6eniurr
1 d 1 9 . 0 0-
1 2 . 3 0U .
al
v1o"r:J:r n4lu rir r-ruonr:a=r ur arr r R.r ir'itir:l o'rsrt t.tYl'tu rurlo ulrii rirlr'iirrlo "rntrA'u ar.rr:nrririr rLlruc-r: -
A -
-
-,r
it|yrut1t1fl n']'5a!!u'tLfla:u .ln?'tuftot14uI
n.J1at:uut
vt1ufl't 1:nfl n: ;
x-l
rllrirr:nr:arruro.ru6rulo.r'lo-fr
A'
d.i 1o"?u 2 ry{uiufi .com tl,t0iot1jlr
a a"nralor*0run:laauototei.lttu-.lf,atfruodr.rtflulr.rnr:lrn nlJa.JYlituuufl?.1v\u't d'tvt:uYt'tuLts r:/uio rirryruo"r o 26256300 ur n-nflorn1 11!n:rdaorriirrsr-rlsYn'rar1u!n1 n:r:I:rrruaqarunr:r d.rvirudnn:trlun'r
O fi<,u r4crr-n?nr: 1allfl0r.:fl')'lllu!na
b C,n-q^" ranfl't n!11f ManagingDirector
rG'o1'ilnurar:cr,no!1!1ru, ut{olr1r'v&{.lrr!i r,1ri tTYo; Ortntrari\qt11nti]uPryitlxl' 11 I q 6 n '5 u
g
qqt,
-, ar/4o, '(-
/.f /rl4J',n.^r"Nf
/,,/o/^
Bqan(]arc(l.hailand)Ild'sina|fIiatcofI]n'ao(ja!cIntcrnational'l'ndcL],c'aconsultingfrmofntrn'li$lerProicssnJn,tsaf'lia 'lbk}o. 'l Ilryan (;a!e I-l-t) B.ran Carc IJl,. Ilr\ao (ja\c intcrnational ndc of6ccs: Bxngkok,Jakarta, Kuala l.umpur. lr{anila, Shanghri, Sinsiporc and
R,]?1fl,trl1n1 1
riruuonr:d-uurre!,$ iueus11seranf 1]a3l|'19'tn'ltalill3]: alttu3lltl{?|a{ ntI tto01tlaoel1$ntt la:{ n1:dnl+1 tanl6tellutun'loa o?{1unlt c!J,
ua 3flan:3Yruo1nn1l[?,'lt2tJnll{61'ltttlttir?a{u::g'r otJtfflr'snoa.rrss
iud z riuuruu255+u lia,:nricr?i6n z iu q I:r url rna: niu rtrra{ 1n:rrvrr"r; ,irrio o"olo u n:rl:r.nuaoflrlrn:r nr!rr?,ranfiiuni:r n'rrfiunlrlnu uirivrlu:a"runr41rJ::rnalnul
- 9.oou. B.3o
a{r:liiuu
9.00- 9.10u.
nrimrru.crunr:a"llurTer u ur.laufir nruruu:-erf il a-ru't un'nn't nduIa'r
al
tld:uyr Dfl1dfl : n:r t:,r{']uanfl'lylnt:r
9.10- 9.20u.
nsirrrflonr:a"lrurlqu aiu6n:ilI:,r,:ruaflfl'lrn::x / riumu
g.2o- 10.2ov.
rirreuaannrrio-lln:.rnr:6nr*rlanradt:-unrnaoarrnrrrtlrnl A,
l
rJf, nt31lu01nn1:tlt1T? t:Jun?ufi un1ja.rurltlRrlrfl:nInna1r.truu lou . o'r.:"xerlt6rsna l"o-ernr:arrle AU
T
T
O
V
ll:lrYr ruTollrnr'{(uTstYtft tYru)n'rno
. o'r.n:inr filrlrisfio frirurio'onrr a!
V
I
.
!
u:uYrtttau tflv{(ur3tyrfl tnu)nlnfi 10.20- 10.30u.
n-n:"rj::mruaruTrir.r
10.30- 12.00u.
afirl:rrJHnnr:6npr Ios r
ttYtunlfltBnTu
|
fltlnunlnti
. flttytuRln2a'tR1: fa
sr'lruunl'ton!flu tou ot. flt0t?ytu'tt.:a{fl:
a-irir aqin"o nr : ri rir h : o"urnyl 1rJ :: rr n'[nu1,irn"o il l, -
ir
A
a
12.OO- 12.30, .
nlfi!1'{.J1Atf,UArrU:U,nltto!n?',llthot1,tutl{lJtoltolnnlt?ljinJltul
12.30- 13.30u.
r"u ::lruatut:n at,:iu
drn'ti,rlro"ru z uruoaur-utn'riu{rua"r$$rrltsur,riur*snsf,rdnfira:mnrnr:d,rra3rariui**zaon:d:.roruanslr$nrrr rirriufnrsnr:finsrlanradrn:-lnrnao
r n:r lrn:Hnn::nuornnr:uirdelriurieunt'rolarrJr:arnrrerr*gioalris$ r"u#z n'uursru zss+ru n'a,:n:ieriri6n 2 gru4 I:,:r:l roo: vriu lrrrrof 1n:rrnn.r1 'l'rn"o o"oloun:ll:':':ruq6rfl'rvln::!nr:ylJl.raoalunrr!irrn"u ririn !L:du rnr,l1rJ::rvralvrrl
e, na
t:rnnsrfia / andrun::n L'
nltnonl:fl.ttt?n8a!
tl
1,ru?lli'run1flt6
E r:firfirlinur ! alrnn
n nr:rufio O rnso:rr:r /orur: \J
d
rrr,Y
[n:a,rt! tfl]r1tln:alnnYt:aunR
\J
E snr!-unr:f,nB'r/rnru-uio"g
00 ff1$n filJ t11l uu9tufl: fl?uu:: n au
\-,,, aofll nttllfl1.ttln:flnon
.vutlJ
.lA
\-,,, Anfft n:tlltn!fltu.ll
\J aofrlnnultf,tYtotLfl :[n:aruJl ! /'L-,' Anff',1lt flT l0oJ1, fBBn:tflfa{:Jl:ou
O qoerlnr:rrvrdnrrinnn"rus:Hinn-r*4i
O aetslunfi!fio1fi
\J
0nfl1untt!
n1f,nn|'ta:t!oyin']Enn
LJ 0Ut tu.......... t41$Ef$lnl'|1t2l|l11:tlt
5allj
n nrrlornrr: !
hinulornrr:
:rgda{rririer
::q r 1n1u'tt:uruai[nniwifi'd'tuti'tinann6oaiana"utfraudnn-antntn:tiau1
1. ta
)-
Ir:a-r,rri.....................
yirunrr:r:nar:-o itdti':r nrts-lrulo't routa.rldi ww..u.yancavesemlnar,com iasi.lrruna :-u.inrul$i'$d 3t ioura;r zssl d h:ar:urr rtar 0 262563ll r.riari.lSu{lrnjttatttrlka.waraslrl@bryancavetrade,com sounrrrr rn;rdlnrr{l16llvr: o zozsogzg
tcUrn!Lu/rttrl !rqnfluu9BgBL*Fanrn]rllrrffi 008tuLII:!ltLlL[]nLuaL4tlLtltL u^sI nL!:sMtltlULJLrTEBUln-UU NUnl-n TL!unLr{|tuRn]u LLnreGlrl0M1LPLrd-itLfinL! t nL!,;!MTL!,(UUlcLn-:flnr-Lo^sn) z prr.rr,lLuoLuo
flrurprtuug (renriuu) onnu-unu.uftc:otnrll EuftloogLnflurgtl(!MILpL,$sunepnur,lu!unrrngr;onunrr) nLpcL|r-ulucuLLIL 9 trLc!MnnuLJLI Inlu,lg Lrrp-nl (nLFuLMnL!4$L|ltr BLfBt fr!it1e-u!unLrl|tuBr11M:E rMlLpL-KrLLncEorLt [Ls:!Mr.Lp (;r,rrr^Lout.uu]cLn]r luurug) !54*nrgtLuO uLu:Dnsl|l!'n ltlLILlnLIhLBpItl sBnl 002 (u!,nuRn)LlurltL.uunrMLLrr.LBpl.nln-u nrun:epnsui,brune uennw,i o:onrr rr1 nlr,rli,b luuuncru ncplLr,ulLrlrLlLBL-GLrlur {r:ur1l1u Ln}su Tg TeIt1]c(lttluLJLIB LILBElL.unSMILPL-lirL]1lrn LFnL-q'LE ul UlulTLl,{flRul TglJTLMMttttLM;D|lLJLn L,q'LB]t^lll tunggM |rlnn91TlILltlltlLl'aLLIL LnPl4l LBgrLlULftLBMlllLnrrflLFOLpLB]l.Klggnlnunn]unLLt'Clur!:r*l,lnrLJLILLILLB]II TLUril,nLUr{}LLrLBclre unurnp.rr.rn,-x.ru,-a@ uLu:D.uln!n!!1LJ$i (uBfiDtlLFuLMLurutrn nlsnuluurc_l)pr,t1 LLILLB uru!LnLtr onLlrion!,ncll !6nr ooz ruLn:!FL||T!ri]L r1LlrcLli$lu0un1,0,Lfl91 ir*Ifiruug u-to+tt utbu nr nu:ou ufrgutuntttrn gL[$$nL-Mun LtlDLnnn Ly utnt npr.lrln^cnt.rFuRnnMTLGLrlLM:DnL.lLg*rs.L!,rLBLn rn3;r-cuuireu r-o@ pLrlflfluugennLr,Fcrt3n}lltunl 008 n Ltr:!FilLu]LrttLtttl'$!B]E (TMlLpLr,rrurlcun uuu!un nngrtu nn) LnL,llrflLlr]Lnaluaunul(ccnri,uo) 9 nL!:!MnnuLJnLLnLB]1.rtl FLllo-r! (uErDr1LFuLMnL!9TLt,|n (nLBttLr] t NLs:!L(flrruur-o@) BLlno16urrx)uttt'ttL^6uBIt nMLL[.ug,lrl!0|,or,{KnuBInLf, }MlLpL]rrLtrLn$sucg (ncn!!ILflnu!ufrlpL}nL.0rtr:uILl0uIuulTt) uLu:D.uln!n]sILrLlBLr,Lor9l ugLfiL! nLtr :0ur tr!,rrll Eunl 0og ruLn:!FLnnLUTLuttL trr!6aL:ul (regriuu) pnlug 9 nLr:r'urlrlu firulntruugernu,o,nu-usuuic:u,rcctrrn (sqLpLlr] t rL!,:!,lr|1nuuuo@ L,FtnL*Lufl,rl(uEnPnLIuLMnL!rlLLrrt BL]nulourrx)sunLLtnuBrD 0Gu!]ruBrrrflM:0nLpnLD]LtrLnas6$L BUrUU!,nTSlLJLlLLrLLfl Ur (uBnDtlLprJLMtlLosLtlfr u3LnL! c nLLILttL^u$Luh c;u ,eoctcur,tnru :eur t|!ll$sl !unr o0z ruLn:rFLn]sorL trLprLr,r.ulueuBL-0JLn[] nLi'nul l uurr-u)pnlu-urruib TeEuunrnM:otrJruLu unff:rurunrnur:urcrs(flrLusuLnL t) gL[$f nLMutrLrlDLr!irr1L.ut1Ll, t ttL!:!t.l,r.nuuuo@
! ,coL'lLLu$Lu :eur Nrlls{ 0nLN0Lun!,!!,Lun3!tLpuLu:pcLurr,t
e nLuLtt$!tt!!
LttN Nt2tlL0r40 ul{Lu p utl Htt
กาหนดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง แนวทางการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยี สาหรับผู้ประกอบการ ไทย วันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๔ เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น. ห้องเมจิก ๓ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กรุงเทพฯ ๐๘.๓๐ – ๐๙.๒๐ น. ๐๙.๒๐ – ๐๙.๕๐ น.
๐๙.๕๐ – ๑๐.๓๐ น. ๑๐.๓๐ ๑๒.๐๐ น.
ลงทะเบียน และอาหารว่าง-เครื่องดื่ม พิธีเปิดงาน พิธีกร คุณสร้อยฟ้า โอสุคนธ์ทิพย์ กล่าวต้อนรับผู้ร่วม สัมมนา และฉายวิดิทัศน์ กล่าวรายงาน โดย นางนิตยา พัฒนรัชต์ ผู้อานวยการสานักส่งเสริม และถ่ายทอดเทคโนโลยี กล่าวเปิดงาน โดย รศ.ดร.วีระพงษ์ แพสุวรรณ รองปลัดกระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และส่งมอบแบบพิมพ์เขียวผลงานพัฒนาเทคโนโลยี ภายใต้โครงการศึกษาพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้วย กระบวนการวิศวกรรมย้อนรอย ให้กับ นายพสุ โลหารชุน อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ถ่ายภาพร่วมกัน การมอบนโยบายด้านการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยี โดย นายวีระพงษ์ แพสุวรรณ รองปลัดกระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเสวนา “ผลสาเร็จของการพัฒนาเทคโนโลยีที่นาไป ขยายผลการใช้ประโยชน์สู่ภาคการผลิต” โดย นายณรงค์ วรงค์เกรียงไกร ผู้อานวยการสถาบัน ไทย – เยอรมัน นายณรงค์ สกุลศิริรัตน์ อุปนายกสมาคม เครื่องจักรกลไทย นายบูรณางค์ ศุขสมิติ ผู้ประกอบการบริษัท เด ลแคม (ประเทศไทย) จากัด
และ ผู้ประกอบการบริษัท ซูเทค เอ็นจิเนียริ่ง จากัด จากัด ดาเนินการเสวนาโดย คุณสร้อยฟ้า โอสุคนธ์ทิพย์ พิธีกร ๑๒.๐๐ ๑๓.๐๐ น. ๑๓.๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
๑๖. ๐๐ น.
รายการ Energy Update อาหารกลางวัน การอภิปรายหัวข้อ “การสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยี ของ สานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี” โครงการพัฒนาสินค้าเทคโนโลยีเพื่อทดแทนการนาเข้า และเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน โดยนายสมหวัง บุญรักษ์เจริญ รองผู้อานวยการสถาบัน ไทย – เยอรมัน โครงการพัฒนาประดิษฐกรรมเพื่อชนบท โดยนายสุพัฒน์ จันทรมาศ ผู้ทรงคุณวุฒพ ิ ิจารณา คัดเลือกโครงการพัฒนาประดิษฐกรรมฯ โครงการศึกษาพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้วย กระบวนการวิศวกรรมย้อนรอย โดย นายธนาภรณ์ โกราษฎร์ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและ วัสดุแห่งชาติ และ ผศ.ดร.ชัชพล ชังชู คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตอบข้อซักถาม โดย นางนิตยา พัฒนรัชต์ ผู้อานวยการสานักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี ปิดการประชุม
แบบตอบรับการเข้าร่วม การสัมมนาเรื่องแนวทางการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยี สาหรับผู้ประกอบการไทย ในวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๔ ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กรุงเทพฯ
ชื่อหน่วยงาน ..................................................................................................... ................................
ยินดีเข้าร่วมงาน สามารถเข้าร่วมงาน
ไม่
ชื่อผู้เข้าร่วมงาน ๑. ............................................................................... โทรศัพท์มือถือ ............................................ ๒. ............................................................................... โทรศัพท์มือถือ ............................................ ๓. ............................................................................... โทรศัพท์มือถือ ............................................
๔. ............................................................................... โทรศัพท์มือถือ ............................................
หมายเหตุ
.
กรุณาส่งแบบตอบรับภายในวันที๑๙ ่ สิงหาคม ๒๕๕๔ ทาง
หมายเลขโทรสาร ๐-๒๓๓๓-๓๙๓๑
.
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
คุณสุจิรัส หรือ คุณสมบัติ โทรศัพท์ ๐-๒๓๓๓-๓๙ ๕๖ คุณสรรณพ โทรศัพท์ ๐-๒๓๓๓-๓๙ ๕๔ หรือ ๐๘๑๑๔๑-๕๖๙๔
ที่ วท ๐๒๐๔.๓ / ว 5404973
กระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ถนนพระราม ๖ เขตราชเทวี กทม. ๑๐๔๐๐ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๕๔
เรื่อง ขอเชิญมาร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรียน ท่านที่สนใจ สิ่งที่ส่งมาด้วย กาหนดการโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการและใบตอบรับ ตามที่ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้สนับสนุนการพัฒนา เทคโนโลยีสาหรับผู้ประกอบการไทยร่วมกับสถาบันวิจัยและพัฒนา สถาบันการศึกษา สมาคมต่างๆ และผู้ประกอบการเอกชนทั้งในระดับส่วนกลาง และภูมิภาค ได้แก่ โครงการ พัฒนาประดิษฐกรรมเพื่อชนบท โครงการ ศึกษา พัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้วยกระบวนการวิศวกรรมย้อนรอย และโครงการ พัฒนาสินค้าเทคโนโลยีเพื่อทดแทนการนาเข้าและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน นั้น ภายใต้ยท ุ ธศาสตร์แห่งชาติเพือ ่ ใช้วท ิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวัตกรรม ในการ (๑) พัฒนาความเข้มแข็งของสังคมชุมชนและท้องถิ่น (๒) เพิ่ม ขีดความสามารถ ความยืดหยุ่นและนวัตกรรมในภาคเกษตร การผลิตและบริการ (๓) ส่งเสริมความมั่นคงด้านพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของประเทศ และ ยุทธศาสตร์ของสานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ข้อ ๔ การถ่ายทอด เทคโนโลยีและนาผลงานวิจัยและพัฒนาไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์และบริการ สังคม ดังนั้น การทาแผนพัฒนาเทคโนโลยี ๔ ปีข้างหน้าจะต้องมีทิศทางที่ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ดังกล่าว กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ พิจารณาแล้วเห็นว่า ท่านเป็นผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับกิจกรรมของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ จึงขอเชิญ
มาร่วมงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง แนวทางการสนับสนุนการพัฒนา เทคโนโลยีสาหรับผู้ประกอบการไทย วันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๔ เวลา ๐ ๘.๓๐๑๖.๓๐ น. ณ ห้องเมจิก ๓ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กรุงเทพฯ มีรายละเอียดตาม สิ่งที่ส่งมาด้วย จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา เข้าร่วมการสัมมนาดังกล่าว และส่งใบตอบ รับมาร่วมงานภายในวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๔ ด้วย จักขอบคุณยิ่ง
ขอแสดงความนับถือ
นายวีระพงษ์ แพสุวรรณ รองปลัดกระทรวง ปฏิบัติราชการแทน ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สานักงานปลัดกระทรวง สานักส่งเสริมและถ่ายทอด เทคโนโลยี โทรศัพท์ ๐๒- ๓๓๓ ๓๙๕๔ (สรรณพ) โทรสาร ๐๒- ๓๓๓ ๓๙๓๑
iil iTil'rnil pir,.r { - , frnoi rrt : ci-,,ta
iu;i..Pto.
I
rr Ft?
;ud..t:.%...sw.
fr oaoortdcJe.) vd
tu R:{1t:dt.uofl q
0t
firurn:rb&&c
6ot
nrrdruruur6o{ FoodSafetyControl: EUMember States' Experiences andPractices
ltflu
u1fln u1fl nd:J1 FnJorurrdr 6qnl
e
dr
lnrmnr lrn yfiruunnredru rur r
9/
a{Ta{il1nefl
ficunrruvfiuvrutrflila;,iraun'rvrqlnJ ritauor{nn'ruduruur6al Foodsafetycontrot: EUMember States' Experiences andPractices 6u evu.jtiufi a-u riuaruub&&c,rulxurt Pullman Bangkok KingPower Hotelflolir:l1rlfir nuunryrtvr nqrlrntfnulilfiry{ldactrrgornilaymrt (European ailrBnc{unrvlqTnJ Unioneu; r" ilr;ryrrtil'rd,lilrflilAyrfl1nrfiufiBlunmdluurnrilfl tfiuri -Mr.Freek (o)ilrvturttutnofunuri vanZoeren, Deputy Inspector Food Product General, andConsumer (VWA),Ministry SafetyAuthority of Economic Affairs, Agriculture the Netherlands ttnv and Innovation, (r") r.lrvrYlrttofunuriMr. RaymondEllard,Director,Auditand ComplianceFoodSafetyAuthorityof
lreland(FSAI)'inqrJevn.rdlunrr{otdl.rruur.1 rflo{q1nfiqmrurrfiu.jr nmxrJnoord'ufiruorumrflu rlrvdufiuruTrJrvrvrrttfincudT niegrfluodxrrn lnrsroilrynilnrvr^qlnlfirriiunnrprdroonfiufirrn:*nr tu7 Jq
,t
v
d
d i J t J unvarumfrald'ruto{lilu unvfingrvufiavlrmrgT ufi4.:"Lu6o.rfi vir'lunrrnnuqufiufitirrfirun;draon 6snm6tlulunvu"nnurldflu:lrvarimniunvuucfr.:nmdrrfiu':rulufiruri.:nci'rQflorilrvrunnurfi qtnhtrJrvmntfiuri tur,oofunuriunytofunuriqyrflur.layifltririonrnigunyrontutyrflfirfiflrfio{riu ardnunyr{roonol u'rmortvrEJ r r Eir:JrywrfiFf{n6i1e?xil fi{dunTvrqlnJlnurcl
rrud'rururqyrniroonuilu r"{ur nyr' dr.rrr"'.rd 'iufi a riuflrflubaa"' nlrd'lmu'tti,tfio'Food EUmember safetycontrolin selected states: Usefultips forThaiexporters' druru{rfirdrl odo AlJn{urlJtaruraudn6o Rlnton{u
:Jrvnollfi,rfl nrurfinnnrqmarunm:rtmu 6n1ilon1?firtvrfl nnrqrfinlvru-6q firJr;nornmvirt:lfifincrru c{ulslnflrqvrlvontdlunmrfiruorum-un;{r,r,vruornnrnrigfirfiflofior d'rfl nq:JgrJrruunmdl.rruur cirsrfir(o)rfiryfiuruqrndrfnrlu rfrfiurriL vwAro.rrurnofunurT il1Laeflrt'Lfinn, n4rvufirrlunmritoonarumuayfiufirrnunrtilf{aunrnqlnJ lprurqillvilrvrvrtrurooSunuddrtilu af,lqctadoa
nnrorud'nuil{ufr{ra{tfluluaran'rnqlerl i6nmdruf,umuro.ruurnofunudlunl?Fr?Lqilil1n?I1une1}r
rlnon.rirlfiruo'rumnufionSrvrfiarnranT vrqTlJfirfiacfio{ virnmnreuqrfiufirriT rfirqrnilrvmnfinu flnrfl'Luilavrvrrt nnonqunltn?Lq}.rtJ1nr5'ruRufiT rfiod'ruriT unvcd{oontrJfi:layrvrrtdul luaranrvrqlnJ t
,),
To.1 rurfio?rrnunila{oontiltisrirq.lryrvr rt
'lfi (r") rBry{ uvruq'r ndtin r 1u FSAIr osto5unuri ur ume1fl nrertl"grfiacriu unvrlavlatffifirdsoon ruuQyrl.inrrdrrfiurrurortofrunud'[unrrFrQ:rFrr.Jr.J1Fn{1une1ll:lnonfi'flfi1uo'r111t qvtfi5r'Lunmn,lL qiln11uilno rqlnJ orfi'fl firuorumlunmdmontrlfinunT qdr$
/{?{il1?r...
-lo-
rirsrirs rBeguilcuvrurr'rnronxu,n"rorfiuvrunT nnrnigfirfiT d,rildrJilu'r dcilriuofi:-lmfl ilrvtfiunQrl.Jfi1ilrulosnT nJfrrJfinrrunXrvuflalrfifl?ftlnmililnoor"riflfirua1u'r?ro.r6lrnt^rqInJfi{ r{.:oonlyrafnilrynu n"rordrruri'ulr1 uuQyrl.r lrfihod,xrflugilomr {ufi u ffuurtlubaa"' nrrduilurfi"tfio'Coordinating foodsafety Experiences control: andpractices fromselected EUmember states',iruoufirfirdctilry:lrru ooogtJ n{lirJrurura6o (o)nrnis ilrvnoLficuntvvrto.rc{'rfl'r?cu41r nrvvrra{m:Jrnunvaunrni nryyrrxiilflrfilamfrrnyrvrnlutnd navilrQ{ilrriltfnrvtaclnrrrirr:lryryrfi nryylrt{:lurntTfl nryymc{qnc{lunm}J drfnrtunruvn?eiln1? fimrtnmnn6ouunvdTfnmw{'ruurnmrtaugfiqunyd'rntuvisrfi (ro) rflufiu nnrriuimnmr6oronru firfieefiorunv(cn) rqfl.ryfirflrld'cuvrunnruonrafir 6n'rqnfilunmrnnrqrfintrr-dq fiurunrnrrontu qf
9/
|
v
tli9
v
d
tuuFrufurruLnltfirJr.Jul dat [n n{u
rirsrdr (o),rfiryfiuvruqr ndrfnrlu FSAI rartoirmurilfi nnt r"grun vun.n uJ6ru rJrvn:-tnrenigorlofunurirfiEJrrfLn1e,r"'nnmrrnynm:lry6'ru.r1u?yu.j'NorrinrfiirLfi nrror60{nlrFr'rilnil nQrililaon.riflfiruotum (r")rBfu{ uvr uqr ndrfnr 1u vwAr o.rrurooiunuri1finrcr r"guav*nnrildgu ilevaunranilortutoofunupfrfiflod'urueil1{nlrFrQrqrnnrrilnon.rirlfiruo'r1r'rrfirflufi nrrir-r{r{roon 'r? (r) rirsrirsrfirgfir,muurjramunrnrigtfiuui drfnmurrnragruRufitnun?unyo'n (orl.)(c')qurirJfr:jfinlrnQrililnonJi'a rni.ltrfi (lnot.) (ts)neililryN(en)rrrurn?rlJn1?o1u't?[nyfl't
firuo'tumr $nv(e) fiuvrunnrqrfintvra-6q drruriuoFrlmflfi{nQrilriluliltfiuavfiodrrior fiodunvfio16n tornrrilrilrvrqrnrrnlrrnvLru,lyr1{nrrdrrf,uvruroruilcflr'luro.rilrywrArqtrfinrqunrflfllrild'.rn 'lun?uyr r tl fulfi r ortuu,r unior,iJ ^ir nmru6orr"rl unr n{ rfir dcr nmdrr urdul oftfin uay6 a n}n x n'trtmyfimunnn {x uutn'txil $ dt xt freil v
nmduurr fiT.rfiuqvdrrfiuriluvi.:nr:yrtruuny'il.rnn:* TorflfiuSnrautlnnrsrtvrfl-d'{nnu-tufl
'[un r eflrrruvfiuvrutyrfl r lnfuono,tlldcrufi d'.rfl onrurrx fizu6 noruT rdr r6qerl yt9
*
-lurirsrirerrarr.-ufr a elist)
,", ou*u
rYueretu hddd titfio "FoodSafetyControl:Challenges for ThaiExporters to the EU"[Lnv
.fg (r") to1fifiqrrrutlgpd'lr{'u6unrrfi rnBn?rnuolra'ntortvratrJfinunrnqlarl rfifdrlnra& ermdlunorbnfnrtfi fi riutt oiwww.thaieurope.net 4d,Cota
q{ ttElutJl tl\ 0 !utnilq 1?il't
-l
utvrflr r ?'run'ra ru nrilu:Jrvnmtnl:lrernrruru6rnruvfiuvr
snloLqrufl.r il\ idsu vu
u"drwqaill) .\^
tdrldq;tdtltsrut ( r
1
la 3.o, Eq
@ lc"t-lttl""t'"o'1 flordrr{nelrrilfio
ilUqilrun 1
/A^/^,fo*/.-tT*'
(Yr'v /'q or
q''
rdo[Jtrrnnu
nA;
(u'rflofit.rfi fiumrlru) dw?rr^-irr.ntn r vrA tondnnrtln .iu*,rr, ,N (*)#rufirnruv{uvrutvrar.Javirnunrnqlr:J {/ ,/1 //
y',. t ..-
ln ernr afrnr ur nrurl aaorn-gFfruo'lu1e
o. UAnnleUnglUnHA q
q1nn1?riltfiulnrrtnmq.lluto{fiNlhvryrr4trfl run?{uidrxndddrrin.rri roooandVeterinary office(FVo)rJrvrvrrt'[ofunuri'lurdoufiurprru b&&dfir:lryrvrnhfllfifilonrflrfrTnuunyr,lTlorT:-ld'rrin.:ru Foodsafety (FSA|) Authority oflreland d.rrfluo.rninrno.odiufi^ouuduo^r''r.r:lnoarfiud'ru01l,t't?110. lofrrnuri'rrnvlfinuir toiunuri'fin.Jrilndlandrrir:lrvryrnlru duoulnrflurlryrvrnfi'lrlnmudrd'rgdru qn61'!n?tilo'tttl? l'runzu6mvrr.rn1?rnunril1n rrnyr{toonrunzu6mrurirrfut}irrir.r:lxryrnrfluilueuilln firun'r'uJdtfluilrvtnnrnrJn?n??il riourfirrflus{rrinnunrnqlr:J lofununifiu,lfiouri'u:Jxryrntnrurin o o A 6u1frfrunruuurfl.:runrulu rirrirqrrnrlo.:nnrru:Jnonrd'rlfiluorurrficanurot orjrrlrfid r,ld'.:rfr'rrflunrr?n aran'rvrqTrTJ-6tnrn'urflumn1nrQil rirhi fiau,flrSnmr?.1.11u unrriu4unrrumnmrdoulr,lnldodr.:rn? ilrvtnnrqHrfinfr'o.rrlfi:ifinrunnr;rfiarnunrnqlll rsnrfi.rrfluo.:ninrno.ud dmirTu-tofunurilfr{nr#., +-.--!r-
I
d
-
,N
&
J
.a
rirrilqrrnriotnr,tl.l:Jnonnifld'1uo'ru'mfru rfiolrinrrrtn:Jfrrifin.ltlnnrrrflfluso.t6!rnlnqlnl lunTrnnr4ru nrrzu6nunv'6rurflnrrilrqvnrrn'[unmr{.:oonl#fiiu rsnt finuu,r4fl lorflri.:n{'lfrr,lriot.rTudoafifioqirufiou16ru to.:lofunur{6tdrqvrflunrrflfin:crdluir:lryryrntyrflfl'drfiu1q rnvfi rflo.rqrnfilnr?{6h{nlmrhnnrdluffu nrrdr.:r urcrurTutotun r flilu.Jfl.:r u dnr,lfi.rrlrvrvnnurBnnunrnqlr:.Jfirj'rqyrflunrnidn:sr doilryruntrurnofunuri rdorqrnrflu:Jrvrvrnfi ilrtritunvd.:oonfiudrtnBortrnr0lurrrflu,{rururrnrduriu od'r.:lrfi6rurnofuaunifig:Juuurornrr{nrnmfi umnrir.:oonlrl nr{rr6orfiunrQriln6iorfir1unrr.61ueflne1N6ynQnil1.:n1rA'r1ri'ri'ru?tfvrrir.:r 6.:rirrfludn oy
ra6
l!
uf,.:model filvrflorqfismrurlfi:Jr;lfltfilril1:liu:Jqlr;urnQilql.rlrlnrJruriru4rourfflrnvnQru:lnon to.:fiufi'rtnun?unv01l,r1rrdonrrilrr{r-r{roonro.rlvru u^r^'''umnuri.:rTurfu }ifirlryfivrinrnrirndu ' q & A -^^-s- -uv<& c | " nnrnrlnnld'frfiu Inrursil'rvlunrrr{roonrrfrnun'rnqlrrJfi.rfir.rrnrrgrulu6orffrnrim4.: iornrJecasd ldfilon'rs{finu'r o.6) rdo}illurfl{runrnrf,gvrlfufiartorrdo.rnrrril:lnonrrifl6'ruorumro{lvrfl vrrtt6on {rurJilfi'uro.l tfiucriug:J unvnrrviT rruufiunlnunralunrr{ornmunvffiurrorninr un1fluil,lrJ.r rufi rfiflr {or Jayocrvdel
rfiofie1rru't o.rs rfrorirufnrrfirrruqrno.rninrludn:rruyrdflrrTuelnilryrilrtc{urfinnuntrqlr:l rlfu1fflrirfinr:JarTrtri4r4n'lunmrirrrunrLqilqilnryrfiud'rorumnra"[u:lrvrununvtfi r{roon ld'iur{rd'ruuvrirfirfifl']fiu o.6,r rfio'lrlnrnrrontulvrafir{{oonfiufi'roruTrtrlfi.rc{un'rvrqlr:J nnrrrfiarunvillnrjlunlrs{.:oon-il1r{rRudrcrno.rninrd'rnri'rQ fi.:firufi1fimr'rss{oLunv 'r1:.1 T neil qil qrunr nfiudrfirir rfi {.:nr,ln nqlr:J
bl
qnaaru b. eilsruunrafriruur/fi {luffrJilu.luri{oonrflu b {ur nyr" rir.ld'.rd -Av iufr a riuerflu baa'G' n1tdililu1fi'.J{o'Foodsafetycontrolin selectedEUmemberstates:
Usefultips forThaiexporters' 4ruru{r{m':ru fiN1fin nlnrontu:lrvnot-l6'efl oao nrunrjlrfltlllflud'ndo 6n1qn61unrtillvtfl nnruonrrfirturnnrqrfinlvru-6q Tnruronrrqmr{1un?til ni'rl:JfifinrrNdu'ls {rJrrnor:nT riruorur a- un; { uvrun r nnr nrflgfirdtnfros nq:Jg:JuLun1?dN d il u.rd'.r
drsrdr(o)rirU{uvruslndlfn{1u \ /vArorrurnofununiilrLmflrr1#n':tiftfiarrir nSrvrfiuulunmr{roonorumunyfiufirrn:cn?blfl{nr,rnrnqir:.J nnlnudn Tnrursv{ryilryrilnrurnofrmurifirrflu tttitufitto.rlvrulunr.rnrvrqlr:l iinrrnirrfiumulo.lrur0ofunurililn''lrneuqilNln?Slunelilrlnonrd'flfr1uCI1u nrl.lflonSxrfiuudunrilqiuddur'fruo #on.r^ru4r.rdudtirrfirsrnilrvryrrrfirrtrldo,it,lu'rfln1fl'lu:lrvtunt '[unr,rnrnqlr:l unvdtoon'[:Jti.::Jrvrvrndul nnonrqu nr?Fr?uFr:.rNrnrytufiufrrrotrurnofrtnuri'dr{.:oonlrlfl.l rir.:ilrytyrrt rrny (r") ifirU{uvruqrndtins l u FSA Hf rdur ri'luuqil l.t t l ortofunur{'il'r:jerur Eilfi'nn'r nrrdtrflu.:ruto.:lofrrnuri'lunrrnr:rnil].J1n?S1unmililnonrd'tfituorurr unrrlrvlutfd{r{.roonnvlA'f,ilu nlrnnuqllnr1il:-lnonrd'fl 6'ruot,l'rr'[unmr{qoontltTrnr,rnrnqlrrJ drsilrerrfiryrauru.:runlnronxu rqHrYuofi:lrrflilrvrfiu vrior.rfruvrunrnnrnrfgfirfirmrudriruur n'rrilfr'lnrfllornm:Jfrrifinrrrn5rrfit:.r rdflrd'Ln11il:lnonrfiufi'ruo'rr1?lr0.rdllnrvrqTr:Jfi{r{monlvrarin :lrynuniolmtri'ul,t1 rrueyn.: lrnllod'r.r r:]urilnrrru 'Coordinating and Experiences foodsafety control: {ufi u d'uflruu baa- narffuuu.tri'rfio ,iruru{rfrrdrru:Jryutru practices a fio (o)nrnrfl$ fromselected EUmember states' ooo n1.lnrjr.rrflrulT :JrvnoLdnu nrvnrrrnrrf,tti n?;ilre{fi'rol?ru4r n?il?e{rnunrunvnunrnin?vil?e{nnflrntrnnfunvrvrntuTnE ttnv n?vvr?Q{n1?ritilrvryrnt n?yyr?Q.rru1r1ntutL drfinmunrilvn??}Jn1?frmrtnrrvrntSou nrynre{qm61un?il (cn) drfntrur{m.ru1n1?rflrtejfrqunyfftnruuvi.:t'rfi rflufiu(r")nn'r:iriitrnrru?orontufirfiflQfio{unv {rrvrunrnr nqrjt6'ff.:fl ronfiurqilrvfirflud'rununnluonmdr rflufr'ug:-Juunmffirlur nnrqn6lun??il nn'rqrfinha-dq
unvunnr:l6fluilrvalnrrnito.: drsrd'r(o)rBrU{uvruqrndrfnllu FSAI ro.:lofunuri'[r]'nrrtrf tofrrnunr"rdtnfi:-tnrr{nrnrlrnynrr:Jryd1u.r1u?ylr,jr.ro.rninrfiiufiortourdotnl?neil4NFr'nil:.lnon (ro)rfirg{uvrun'rndtinmu turoofttnur{' runv \ /vAr0.rrurnofrrnuri''h}'nrmrufrrnrrrnnr:lduu:lrvdrnmnitor tfiflr rf:ruurnl{n1?Fr.lL nilnrQ1ililno nJi'Erfiruotnrfi rflufimrrir{d.:oon drsrjre rfiry{uvruuururT unrniglfiuri(o)dtin.:'ruvrnrrgruRudrtnuntunvolumrrviltrfi (Hnot.)(r")nruilayrut rnv (en) (ofl.)(@') nrruynr?Nn1?0'r1r1lrnyfl1 4udrJfrffinmnrrruilnond'u6'1uo'r1,t't?"1 (a) {uvrunnrqlfintra-dq frodunr{orfiflnornrrilr:Jrvnlnrrni drrrTuofir-Jnufi.rnn'rrurflut:lld'unvfro,irrYor
unvttuqill{nmdrtfiuttuto{urirfl{'rurorilryrnnnrurfinnunrnqlnld'.lnr{'rQ rcufi't uTr.liulfrlu:$:rilro{1ilfl
rflni:.rnmrufi orrfiunrn{rfrrdrlnrrffilurdul nredruruurr frT.rfiusvdr rfiurfluri'tn'r:*1tnu rn;d'{nnr* lnrufil?nmurlnnrmtyrfl-d'{nnu-'lilu sr. iyrerna '
cn.oMr.Freekvan Zoeren
DeputyInspector General, Foodand Consumer ProductSafetyAuthority Ministryof Economic Affairs,Agriculture the Netherlands and Innovation, en.lsr Mr.RaymondEllard Director, AuditandCompliance FoodSafetyAuthority of lreland d
I
uye
d. Hniln1n?1s3[netj
c.o torrxillvrfldr{roonRufi'rorum'[:Jrirnun'rnqlnl nnoneunrn'f,gdrdarfrosfin"Jrilrn1ts rruQilr.rnrr:.1fr:ifito.::lryrilfidil1Anr{unT ilfllrillun1?naunNillFr?{1uneril:lnonrifld'ru 01u1?f.tn.r^rrqr?udrdzu6mn'rfl'luilryrilfir0.:unvAufi'ldrirr{TqT nril{:l?ttilfirdorir ,d,ll,d.t
{orynd'rnrirrl:l rflu:JryTfltf[unmfizuu1].r1rr?jlunelililnon.rTrfiruorumto':lvruriol:l rfiflQ{o{fiun1flJn:jfi rnrfi'tunnr:lduufrofinrfiurfiflQfii.r6{fr1m1fld1ui:rn1nronxutflflfi t9
,
d
n1NN1rl?51un.J1Nil nond'flfr'ruor ur ?fl0.rr{un1il qlrrJ rrnr rrueil 1{ ttffh c'.b udrurlunlni5flo.:lvrfldiufintourCo{n"JrllrJnond'rfiruorumtA'iunmrg:Julu 9vttv n{ tfl unvlofunuriteilfit n1?:r3u1?0.rninrror:Jryrilfifiil1fin6ilnrnqlr:J rdururnofunupi runnuJduuil?y6Ln1?ni unyrjrfroFnruludrflurJevlfltfill:JrvnounlrfislaruuJiurJq.: nmrirrflunmro{'[ilfl lrifir rrurnT?un;il ?vAilEnT nHr nduriol:l
at 15.00hrs. Rev.02.08.11
'Food safetycontrol in selectedEU memberstates: Useful tiPs for Thai exPorters' Organised by Mission of Thailand to the European Union, Bnpsels MondaY5 SePtember2011 09.00- 16.00hrs. Hotel Pullman Bangkok King Power 8-2 Soi Rangnam,PhayathaiRoad, Ratchathewi,Bangkok
Venue:
Infinity Ballroom
09.00- 09.30hrs.
Registration
09.30- 09.45hrs.
Opening remarks H.n. emUassadorApichart Chinwanno,Head of Mission of Thailand to the EuropeanUnioru Brussels
09.45- 10.15hrs.
Session1: Exporting food & agricultural products to the Netherlands, as an EU member state:regulations and expectations by Mr. FreekvanZoeten,Deputy Inspector General,Food and ConsumerProductSafety Authority, the Netherlands (VWA)
10.15- 10.45hrs.
Q&A
10.45- 11.00hrs.
CoffeeBreak
11.00- 11.30hrs.
Session2: How food safetycontrol can benefit export sectonExperiencesand practices from Ireland by Mr. RaymondEllard, Director,Audit and Compliance,Food SafetyAuthority of Ireland (FSAD
Rev.02.08.11 at 15.00hrs.
11.30-12.00 hrs.
Q&A
12.00- 13.15hrs.
Lunch a
13.15- 14.15hrs .
Food Safety Control: Challenges for Thai exporters to the EU Panelists:4 representativesfrom the Thai private and 1 representative from the government sector (Names to be confirmed)
- 14.30hrs. 1,4.15
Coffee Break
14.30- 15.30hrs.
Food Safety Control: Challenges for Thai exporters to the EU (Continued)
15.30- 16.00hrs.
Views from guest speakers(Mr. Freek vanZoeren and Mr. Raymond Ellard, Director) followedbyQ&A
Objective: This event is aimed at providing useful tips regarding the two selectedEU member states',namely, the Netherland's and Ireland's national practices and implementation of EU regulations on food safety and the benefits of complying with those rules. Target audience: Target groups of audience are Thai exporters of agricultural and food products to the EU and government agenciesconcerned. Approximately 150-200participants Langnage: English/ Thai with a simultaneous English-Th ai/ Thai-English translation service.
at 15.00hrs. Rev.02.08.11
'Coordinating food safety conhol: Experiences and practices from selected EU member states' Organised by Mission of Thailand to the European Union, Bnrsels Tuesday 6 September 2011 09.00- 15.00hrs. Hotel Pullman Bangkok King Power 8-2 Soi Rangnam, Phayathai Road, Ratchathewi, Bangkok Venue:
Infinity I Meeting Room
09.00-09.30 hrs.
Registration
09.30- 09.45hrs.
09.45- 10.15hrs
Opening remarks & Summary of the 1stDay Seminar H.E. Ambassador Apichart Chinwanno, Head of Mission of Thailand to the European Uniory Brussels Session 1: Managing and coordinating among food safety control agencies:Experiences and practices from Food Safety Authority of Ireland (FSAI) by Mr. Raymond Ellard, Director, Audit and Compliance, Food Safety Authority of Ireland
10.15-10.45hrs.
Q&A
10.45-11.00 hrs.
Coffee Break
11.00-11.30hrs.
Session 2: Export-friendly approach to food safety control: Experiences and practices from the Netherland's Food and Consumer Safety Authority (VWA) by Mr. Freek vanZoeren, Deputy Inspector General, Food and Consumer Product Safety Authority, the Netherlands
at 15.00hrs. Rev.02.08.11
hrs. 11.30-12.00
Q&A
12.00- 13.1,5hrs.
Lunch
hrs. 13.15- 14.1,5
Panel discussion: Coordinating fooa safety controlthe applicability of the European experiences and practices Panelists: 4-5 representativesfrom the Thai government and L representativefrom the private sector (Names to be confirmed)
- 14.30hrs. 1,4.15
Coffee Break
-L5.30hrs. 1,4.30
Panel discussion: Coordinating food safety conholthe applicability of the European experiences and practices (Continued)
15.30- 16.00hrs.
Views from guest speakers (Mr. Freek vanZoeren and Mr. Raymond Ellard) followedbyQ&A
Obiective: This event is aimed at providing the Thai government agencies responsible for food safety control alternative models for food safety control management from the two selected EU member states, namely, the Netherland and Ireland, with special emphaseson coordination among several agenciesand friendliness to the export sector. Target audience: Thai government agenciesresponsible for food safety control. Interested representatives from universities and private sector associations are also welcomed. Expected number of participants: 100 participants. Language: English with a simultaneous English-Thai/Thai-English translation service.
REPLYFORM ForSeminarDayI 'Food
safetycontrol in selectedEU memberstates: Usefultips for Thai exporters' by Organised Union Mission of Thailand to the European 5 September2011 HotelPullmanBangkokKing Power 09.00- 16.00hrs.
Name: Position: Organisation:
Tel number: Faxnumber: Email:
Pleasereturnthis form to Khun JeeramasHroosiriwong E-maiI: Jeeramas@trailsofasia.com Tel: 02 8867828-9 Fax: 02 8827294 Dateline:25 August2011 Moreinformationat www.thaieurope.net
/
REPLYFORM Dayll ForSeminar 'Coordinatingfood safetycontrol: Experiencesand practicesfrom selectedEU memberstates' by Organised Union to the European Missionof Thailand 6 September2011 HotelPullmanBangkokKing Power 09.00- 16.00hrs.
Name: Position: Organisation:
Tel number: Faxnumber: Email:
Pleasereturnthis form to KhunJeeramasHroosiriwong E-maiI: Jeeramas@trailsofasia.com Tel: 02 8867828-9 Fax: 02 8827294 Dateline:25 August2011 More informationat www.thaieurope.net
– ร่าง – กําหนดการ
การเสวนา
F.T.I. Economic Focus 2011 ครั้งที่ 5/2554 เรื่อง “วิกฤตการณเศรษฐกิจสหรัฐฯ ... ผลกระทบและการปรับตัวของผูสงออกไทย ...?”
วันอังคารที่ 30 สิงหาคม 2554 เวลา 13.30 – 16.30 น. ณ หองประชุม Meeting Room 3 – 4 ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์ 12.30 – 13.30 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมงาน 13.30 – 13.45 น. กล่าวต้อนรับ โดย
นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
13.45 – 14.30 น. กล่าวปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “ทิศทางนโยบายการส่งเสริมการส่งออกไทย กับการแข่งขันในตลาดโลก” โดย
นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
14.30 – 16.30 น. การเสวนา F.T.I. Economic Focus 2011 ครั้งที่ 5/2554 เรื่อง “วิกฤตการณ์เศรษฐกิจสหรัฐฯ ... ผลกระทบและการปรับตัวของผู้ส่งออกไทย ...?” โดย
1)
2) 3) 4)
นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค อธิบดีกรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ นายธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ (PIT) ดร.กอบศักดิ์ ภูตระกูล ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ ธนาคารกรุงเทพ
ดําเนินรายการโดย : นายปณิธาน ปวโรฬารวิทยา
รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
16.30 น.
การถาม – ตอบ และปิดการเสวนา
หมายเหตุ : กําหนดการดังกล่าวอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม / อาหารว่างเสิร์ฟในที่ประชุม ฝ่ายเศรษฐกิจและโลจิสติกส์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ชั้น 4 โซน C 60 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ คลองเตย กรุงเทพฯ 10110
สอบถามข้อมูลเพิมเติมได้ที
นายวุฒิ ทองพูน ฝ่ายเศรษฐกิจและโลจิสติกส์ ส.อ.ท. โทรศัพท์ 0 2345 1147 โทรสาร 0 2345 1153 อีเมลล์ wuttho@off.fti.or.th
17a{ulnl| 2554
yr'tu 4.:oon
tftlu
r?o.r rirg{r{.roonr{ricrfrur.rurflnourLogisticsExcettence Training2011d{r{ulruntu dtd?rntdroon
rdo.rd,:fldrfnln4s{f,ndnrrdr nnrdrrnSrnrrd{oon nrryrr,:{rlrritf firiruun{orru ra druur"LogisticsExcellence Training 2011drufu{t{monf;ulnofi{orqrJrvn.rrirfiod.rrnSl{ '
.t1
t'
..
A
droonhifinmuinrrrrirlnrfiacriuntl3ut{rrnraln6nfin{unvi'yr nlurnunolnlrdroon rfio c
rt
a
|.f !9
^
,t
I
l/
a
ul lu lnnl tuu6tnq$nJUtuul{n1t tlr!tn'lt loori1.rx1lryfiyrfnl1l Ltny6l ltnannuuunl??Jnnflo.: ,,
ASEAN Economic {d.:oonlddnrftrfiorfluntroriurioarnnr:yruro.:nurflnraigrfinnrufronnor (AEC) Community
lnefiruuo{nlru{ulu, dqyfidulus q'rll{ns ninTn ldud n?sr?ry{'i 25- 27alx1nr 54 ti.:uel tv{6i.rrirpluivt lalp 1 - 3 rilrslarr54 raiu yirngrfil 6aofr risslud 1s- 17n"ualsl s4 trruel {mrir rfia.r'lud 'l untr.lda 29riuersu- 1 Ea1nil54 lr.ruor ililrorfi d{tfla.l 13- 15nn1a 54 lr.rue 6 nrdrnu jq
luntu drrinln4dfrndnlt6l ldr.rorlllTuhiu5fvi ifrlolos{,irr{nrflu{drrfiunrrlnxnrr Bat!3fvr'1 lddurfioriunnrriuiyrsln'rrldoilyr'lu !urirerdsfiiilyluungnruviylsrnrfirdecrrru r
..i
. r, crnuriovfo{duNr r{rdr umgrBlu.rrudllurro.:rroio;nfinrnotrlfiruuanmi'r.ruufirr4.rhl y5or{rr.rriT un:finerr rvn.rrilor?rgceo firyd'lr.Fr.rrmarr.rsf,yrrirdudro.rurlu{uurn Ar" vv ) ' ruavnrrrrnrilur4'rili1fryiTu'tofrnTilfrldfuilouulrshirirourlluiufi 2 un:3ro.:.:rudrrur nt u r r nfi ornr r r r ea; rds nI o.rl r u{r r ur rfi'r rfiri uass{}inr r{r ir u {r.rr ur t dd
tiutrof www.logisticsdigest.com rlaywww.tradelogistics.go.th u?o6naianornunun:!6flo{ru
d r n u r r r t d f i r S t r v rf i f i t o r o n4 r r i ' oq r u 6 u n l i l rl y rr . o z z t B 8 9 5 0r i o z o q u i a 6! d: iindaporn@ttis.co.th r.r?rivrr lndroto!iltrnruyilurfluod't.l4.rdrufirrrcr dQfrorr ru .i
ton16u rourto.:nrrrlf:.t6o \
t\--J
(nr.rqurlnn'uuuuf) nrrlnrr{{nnrr
TTISCompanyLimited :
' 4 soi Ramkhamhaeng l6 Huamark, Eangkapi, Eangkokt 0240,'thailand Tel.+6627188950 Fax.+6627188951E-mail:ttis.co.th rvww.nist]ldcinio,com
liruuqnrerru#uur tneqnr.r: Logistics Excellence TrainingZOtt druiu{ailoon - 16.30 vrq#audd 2s Rrurnr - uar6d27 Esurnil 2ss4(o8.oo u.) {luinnertynfllm1unasuleruel&,l6ird arlin zo sqtnel a t) a a dlun [asslnndnl€n'] .
a/
<r
.aa
n€}ld{ttdtilnltd{aon
fl €s?15'xr?t'roldgo
ilandnf,dililu1d1l,r?u cEo ru,
-a1qfi nt t uJdauuil a tht dt uunduu ut fl rtau n1'ttJLuN1rdN
?u?1 1
lrq#aun-d25a{u1ail 2s54 - 08.45 o8.oo awvrfieu fiGrfln.:ru 08.45 09.00 "nnqrf,nturird'udruirlfishaonhrvurnrrdrrniuavrlrvmnn 09.00- 10.30 dl.ruurrio.r tfirt*tfisortigu(Export Strategies forGlobal Business Competition and AEC2015)" lorenr.irer 4uqvrdm.r 1o.3o- 10.4s r{nrurn , - 12.OO {llur16o.l"nrrrJr:q 10.45 noil{rv u creenManufacturing, Green Logistics, EcoDesignlfiora3ils{ir{dnfl nrnrr.lnrlrdrfuluqnnrrdrrni"
lns nr.ivrer Er,rqrdm'r 12.00-13.00 iu:lr:rruorurrnorriu "rilnrpuoriduri'nri{rir{r.Jrvlrnr (AEC 13.oo- 16.30 rncurrSor rnrugfieorrfieu 2015): nrnifinvruuryn.rluntdr nr{.loan nrri rnm:fnmr.r rfluqrfi rde.lua:noqrd nrr 3utnmr6fl{"lns 1. rfl.(firfilJ)o?. {nrnquni or.rr{norer
z. m.intt nuqvrrim.: a. 4runriunrdnfi 'd-
k
4. Fttu^uflnn fil: lvi nfl
5. 4ruv{rnEJ nunflfl.r1
tu
ua nfi.u n96{lJtJil1 alqnnlS un3fl ql il5!r1â&#x201A;Ź .u mn fi nt nildauutJath t rttuunda uutf,lrtatu n21 NLyt uE nN
,=udz 4nrvl.26 d{x18
2554
o8.oo-09.45 - O9.OO 08.45 09.00-10.30
1o.3o- 10.45 10.45- 't2.00
-13.00 12.00 13.00-14.30
- 16.30 14.30
a{rvrfisu fiirila.rT u duuurrdo.r"ryrnfinntlsuuinntln6nfin{unrtdqrJnrurfiorfiu flnsnryrunvi nncrrnrrtnlunr rurirfu" lrru4runignvrmr nirlnr r{nrurn {ruurr?or"uurfinlunT rnhlr{uoiorrunyntrcun{lqornrunaru rdorfi rdnnmunuT rnluntudr{uunvntl{zuurordnr"
lna4runiganrau ni.rtnr iu rnruoryrrnnr.:iu druurrio.r"n'rrrfrfitnrirnr:rruntdloon*o;tnnfinnrrrirriu qrnmrrfionmdroon" lns (n.or.ridnArvrvrfir{nf "nnqnf,nrruSurr{antA'rouucin drr.rurdol un: outsourcing mnfinnt16on{1riil3nmn1 uusn 3pL" los zu n.nr.re'd'ndrvrnfi ri'nr{
?ltvl -
w:.4dzt a{r.rnil 25s4 09.00-10.30 {ururrdor"ryrnfinnrrdrrfiuorfiqun:n'rrfruuriotncrrnrrrenlu nmurirnu drfluucfi noirin*ruudu rfionrrr6orunynrrnouc{uo.r " qndrfifi n.h rFrn.jr *o:qnn.jT lnfl o.tr?fiuri r1r-u6{s{d 10.30-i0.45 r{nrurn "ntr.Jrvqnrfuuc6avrr.rntrJfrffifidfi4olaestPractice)rfi'ont 10.45-12.00 ntnrnluntudr,i'u" lnu o.trfiu?i!rus{dad -13.OO 12.00 ir rvuruoryrrnnr.:{u 13.00-16.00 f,nurq.:rulurici'o"ntflnrrqlruuStrvrfirfluBestpractice" lne o.d'nniquvrrlrfin . 16.30-17.oo fi6iln.rrudrriurua:roulu rynrafiaint
ai
9d
tt
t2
.
nruc2ils1ntfl tf,a?{'lru uasHtltlt2rJtd?u1 'lulnarnT e "Logistics Excellence TrainingZOtt druiu{zisoan' ttt
n3u!?Tslnâ&#x201A;Ź t. ar.iyrsr quqrndrrl
.rdrunrr{ornrrlais{fin{ {druconmnnr:iuirarnrrldqrJvrrulurirurdani'rJ4l {rdtLrmrgnT un:ldq:JnruLeanandGreenLogistics uo:rflu{rdacmrgdru necr
z. qrunigancn* n6{nr qilurunrlmnrirJilluriuJr;ryrahs uovro.irvorunrrunrnr?utGfirnsril to6afind qlnn oao'tuuou{ ae4
3. Af,.nt.$I'no
lfllt
ytnu
vA
ExportLogistics ttAJIncoterm 20103PLOutsourcing rrnynl? 4Hg'l11ruO1un1t
r.lr:riurisntfrrrsr,r.ir.tilear Rmily1{nnrrrdln6n6ndr:u'ir.rrl rlryrR u
.^
a
e4
4. O.lta2 vr uord26n ,A
Logistics andLeanun:nnqvrdntt{niurrJrcfifiGnrfl {rfiuolrrgdrunnqvrdnrrnotdurlu nrru3um{nntdcsiint oursourcing uo;nrr1{u?nt{ti'uSnrrnrauon 3pL
s arlnA 4lvratrin Logistics mrfir:uunrrionlrnd'{Aud1 rr1r n1t {riiactrqvrrld'runnqn6nmonfruru rufinrrnyd'rundr.lru flt1t1?2Nt6l?tj',l '
t. ra.(ir^lrr*)nr. dnrnrlnniorrridorn fi liurulunrrtcrq,ri'onnollrldtrnrr {rfitrcmrgntnarnuny.lrurur{rrvil.j't.tilrvryr rud.rua;to6afindlurirsrduioornn{!fisrfiu qd'rula6afind rrn {rdtLrrT oaooqurflr.r irgrntuttgtgna;c'xfi fiytrr:u.r'tu 2. ot.inal 4uqvrol'tl ct
|
-
u
a
|
,a
rlur]xl.Jytg'ragfltw! rlB2n1r-ult1.to1un1tcnn'tttaednnd {o1u?gnlmn'ruu'tvru'tnlttxq
to:ldqrJmu LeanandcreenLogistics rrnvrflu{riur.lrcgdru neC
3. qruou-anra"cd firlrvnrLnrrni {riuctrr-umunr.r[r,l.runryu?unlrl3umnt{nnral'na61srnulrarloAafind rir.rruriunq'r$fi Nestte rmrcRc ri.irurrynulu.rrunrru?unlrtaa6finduoyfi,rlrnrs ttuluoorarunmrdrrJdnunv6u6"rqrllnnu3lnn rc!fi{nrc!runtd'runrrdroon +. qruaund, fudnrlari Logistics andsuppty chainfle1:iudrrldruud.rnruynmunrr {rdeictrrydrunrr{nn'r? ro.rrluiiurnirl s. firtn{ nlnfiiur u)' . -z (CIPSIntroductoryPurchasingand SupplyCertificate 4tXtllX1a_UOlUn'3UCUnltqntrO Holders)ttn:{ns{l (CPIM(Productionand InventoryManagement) by Apics ) ilr;nunrrni
n,jrzzflluqornruneru6rnnyrrofinz(ilcqriudrr.ld'rBuri.r{ri.iurrntdro u3fir ros{6to .!^*^
r. -.^-.,r
tuarinefxr.rur LogisticsExcellence Training2011
dtaiuaidroon
rJrvmrlo{qfnc([urordonlofl!narnfl {1|4o)
I adorniurinrlnuorr
a -tr urusurtiudrurrnro;luduruauri LI ntttul/to.[1r1/tnto.llru.lln4
! rionir.runvq nrnf
nnrefin tr rnfiri'nrrit
rrJ
Ll nta{a'ro1{/ quntrunl?ltYlyrU
txtv{v{1 Ll qunrruornnrrounn^nro.r Ll o1u'tt
I .l
.a ,, d.lyto,(1t]u, tAta{u{uN
-
!ao.lli'rglorudlrilrtlruifio
!
n rn?o.r{nlra:qrJnrnf
!
E rufrrvilrrrlfirud
tr q nrniinurnru norra-u
n qilnrn!fiwr
tl
LR?O.lt'!UU / tnto{ tnnlun.:11l
! to.rrtiusn:nr
fl
u1 nl, tnto.lut:olr, orutJu
i
a
)
a
tl
.v.
-
ra
^h
e
L-l lnto.l tll luu1u r-
rudt rdonr6'r
uloffirqof
- eI Rnqtnu{lln:glnnnruflq']nnn.)
n uSnturlnr:dr !ir Lr ou']...
$lenrirrndasulraufrc-ruindvilroiorntrliril6-rxu1
n nt{ tvrvt'1 tr nout !
tnfl{ [111.1
ilqu6un ilqus{url q nurl
tr
6.:nn1
nqriru6
!
unmlxar]1 flqun o
25a.:uln - $1{ 27a.lulnil2554 1 riuerlflu- rnli 3 riusrsu2s5a $tat{ fi riusreu25sa 29riurllrlu- rari t qnrnu2ssa t3 - rarits nn'rnrJ 25s4
{a uln atn aoar-nr llir icrr dr l urt oalil rdEi,irldir a nounlrlrrov16eorfiurfiltdfi 4 r u A u n T i l r I r r . 0 2 7 i 8 8 9 5 0 r io 2 0 4 6rrd:booking EXPqERTER@ttis.co.th r,rionrr1'ndruy{nfintdfiu:eiOZ 7188951 uionaunrr{a4ntdfiarsrirlnrrs{.!!d?!n'rrshoon lnr. t t 69r6uttriwww.tradetogistics.go.tn
นา้ ผักและผลไม้ ไทยในเนเธอร์ แลนด์ ชาวดัชท์ (Dutch) และประชากรต่างชาติที่อาศัยในเนเธอร์ แลนด์ มีความชื่นชอบในการดื่มน ้าผักและ ผลไม้ เป็ นอย่างมาก เนื่องจากเป็ นสินค้ าที่สามารถหาซื ้อได้ ทวั่ ไปในซุปเปอร์ มาร์ เก็ต, ไฮเปอร์ มาร์ เก็ต, ร้ าน สะดวกซื ้อและปั ม้ น ้ามัน มีราคาต่าและมีสินค้ าหลากหลายประเภท, รูปแบบและรสชาติให้ เลือกซื ้อตามความ ต้ องการที่แตกต่างของผู้บริโภค น ้าผักและผลไม้ ไทยเป็ นที่นิยมสูงและมียอดการนาเข้ าสินค้ าเป็ นอันดับสามใน เนเธอร์ แลนด์ปี 25531 (มกราคม – ตุลาคม) และมียอดการนาเข้ าสูงขึ ้นต่อเนื่องในช่วงเวลาเดียวกันตลอดสาม ปี ที่ผา่ นมา (2551-2553) อีกทังเป็ ้ นสินค้ าอันดับเจ็ดที่เนเธอร์ แลนด์นาเข้ าจากไทยทังหมด ้ น ้าผักและผลไม้ ไทยจัดอยูใ่ นสินค้ านาเข้ าประเภท Preserved food โดยมีสินค้ าอื่นๆในประเภทนี ้ เช่น 1. 2. 3. 4. 5.
Fruit and Vegetable Juice Other Fruit and Nut Other Prepared food, not frozen Prepared with vinegar และ Other prepared vegetable, frozen
ในส่วนของน ้าผักและผลไม้ นนั ้ มีสินค้ าจากผักและผลไม้ ไทยที่จาหน่ายในเนเธอร์ แลนด์ ได้ แก่ สับปะรด, มะเขือเทศ, ส้ ม, แอปเปิ ล้ , มะนาว, ส้ มโอ, ฝรั่ง, มะม่วง, เชอร์ รี่, ลูกแพร์ และกะทกรก (Passion fruit) ส่วนน ้าผลไม้ ที่มีการนาเข้ ามากที่สดุ คือ น ้าสับปะรด ในช่วงตลอดสามปี ที่ผา่ นมา ตารางที ่ 1 : มูลค่า(ล้าน USD) การนาเข้าน้าสับประรด ในช่วง 10 เดือน (มกราคม-ตุลาคม) ปี 2551-2553 2551
ปี 2552
ปี 2553
(มกราคม-ตุลาคม)
(มกราคม-ตุลาคม)
(มกราคม-ตุลาคม)
อัตราการขยายตัว ( % ) เพิ่ม – ลด
45.54
48.03
62.55
+30.22
________________________________ 1 ทีม่ า: World Trade Atlas สานักงานส่งเสริ มการค้ าระหว่างประเทศ ณ กรุงเฮก
คู่แข่ งทางการตลาดนา้ ผักและผลไม้ ในเนเธอร์ แลนด์ ไทยมีคแู่ ข่งสาคัญทางการตลาดได้ แก่ บราซิล, เยอรมนี, คอสตาริกา, อาร์ เจนตินา, สหรัฐอเมริกา, โปแลนด์, เอกวาดอร์ , เบลเยียมและอิสราเอล ตามลาดับ ตารางที ่ 2 : มูลค่า(ล้าน USD) คู่แข่งน้าผักและผลไม้ในเนเธอร์ แลนด์ ในช่วง 10 เดื อน (มกราคม-ตุลาคม) ปี 2551-2553 2551
ปี 2552
ปี 2553
ประเทศ
(มกราคม-ตุลาคม)
(มกราคม-ตุลาคม)
(มกราคม-ตุลาคม)
อัตราการ ขยายตัว ( % ) เพิ่ม – ลด
1. บราซิล 2. เยอรมนี 3. ไทย 4. คอสตาริกา 5. อาร์ เจนตินา 6. สหรัฐอเมริกา 7. โปแลนด์ 8. เอกวาดอร์ 9. เบลเยียม 10. อิสราเอล
489.60 198.45 48.65 54.89 41.30 52.95 51.46 34.11 42.64 35.99
342.45 156.05 54.55 61.46 44.38 58.55 48.01 44.86 39.21 21.09
328.92 112.24 68.57 67.66 54.01 53.40 39.82 39.17 35.43 34.04
-3.95 -28.07 25.71 10.08 21.69 -8.8 -17.05 -12.68 -9.64 61.43
จากตารางที่ 2 สังเกตได้ วา่ ทังสองประเทศแรกนั ้ นได้ ้ แก่ บราซิลและเยอรมนี มียอดการนาเข้ าลดลง ตลอดสามปี ที่ผา่ นมา ในขณะที่ไทย คอสตาริกาและอาร์ เจนตินามียอดการนาเข้ าสูงขึ ้นต่อเนื่อง ในส่วนการ แบ่งทางด้ านการตลาดจาแนกเป็ นเปอร์ เซ็นต์ได้ ดงั นี ้ บราซิล (28.77%), เยอรมนี (9.82 %), ไทย (6 %), คอสตาริกา (5.92 %), อาร์ เจนตินา (4.72 %), สหรัฐอเมริกา (4.67 %), โปแลนด์ (3.48 %), เอกวาดอร์ (3.43 %), เบลเยียม (3.10 %) และอิสราเอล (2.98 %)
สานักงานส่งเสริ มการค้ าระหว่างประเทศ ณ กรุงเฮก
นา้ ผลไม้ ท่ ไี ด้ รับความนิยมสูงสุด ข้ อมูลจากศูนย์อาหารและโภชนาการในเนเธอร์ แลนด์ (Voedings Centrum) ระบุวา่ ผลิตภัณฑ์น ้าส้ ม นันได้ ้ รับความนิยมสูงสุด2 โดยเฉพาะน ้าส้ มเข้ มข้ น (concentrate) ที่มีสว่ นประกอบของเกล็ดส้ มผสมอยูด่ ้ วย โดยมีจาหน่ายทัว่ ไปอยูส่ องประเภทคือ น ้าส้ มที่ต้องแช่เย็นและมีอายุสินค้ าสัน้ (ในเนเธอร์ แลนด์เรี ยกว่า Vers Sinaasappel) มักบรรจุในขวดแก้ วหรื อขวดพลาสติกมีปริมาตรให้ เลือกซื ้อแตกต่างกันไป และน ้าส้ มพาสเจอร์ ไรส์ (Pasteurized) บรรจุในรูปแบบของกล่องกระดาษ carton หรื อ popper (ที่มีสว่ นประกอบของ Polyethylene, Paper และ aluminum foil) หรื อขวดพลาสติกใสหลากหลายปริมาตร โดยทัว่ ไปน ้าส้ มที่ต้องแช่เย็นและมีอายุสินค้ าสันได้ ้ รับความนิยมมากเนื่องจากมีวิตามินซีสงู กว่าน ้าส้ ม พาสเจอร์ ไรส์ สังเกตได้ วา่ ผู้บริโภคในเนเธอร์ แลนด์ให้ ความสนใจในเรื่ องคุณค่าทางโภชนาการ ทังนี ้ ้ปริมาณของ วิตามินซีในน ้าส้ มของแต่ละเครื่ องหมายการค้ า (Brand) นันแตกต่ ้ างกัน อันเนื่องมาจาก พันธ์ส้มที่เลือกใช้ , การแปรรูปและการขนส่ง จากการสารวจพบว่าน ้าส้ มที่วางจาหน่ายในเนเธอร์ แลนด์ นาเข้ าจากประเทศบราซิลเป็ นอันดับหนึง่ สูงสุดปี ละประมาณ 16 ล้ านตัน รองลงมาคือ อเมริ กา (รัฐฟลอริด้า) ประมาณ 13 ล้ านตัน, Middle-land Sea ประเทศในบริเวณระหว่างยุโรปทางตอนใต้ ,เอเชียตะวันออกและแอฟริกาทางตอนเหนือ เช่น กรี ก, ไซปรัส, โมร็ อกโก, อิสราเอลและตุรกี10 ล้ านตัน, เม็กซิโก 4 ล้ านตัน และจีน 4 ล้ านตันตามลาดับ น ้าส้ มที่หาซื ้อได้ ตามซุปเปอร์ มาร์ เก็ตทัว่ ไปในเนเธอร์ แลนด์ ผู้บริโภคสามารถสังเกตหาฉลากที่มี คาว่า EKO แปะอยูบ่ นผลิตภัณฑ์ หากน ้าส้ มดังกล่าวเป็ นน ้าส้ มแท้ และผ่านการปลูกและดูแลด้ วยวิธี Biologic และไม่มีการปนเปื อ้ นของสารกันบูดซัลไฟต์ นอกจากนี ้มีอีกฉลากที่แปะอยูบ่ นผลิตภัณฑ์เช่นเดียวกันเรี ยกว่า Fairtrade Standards (ในเนเธอร์ แลนด์เรี ยกว่า Max Havelaar) หมายถึง โรงงานผู้ผลิตน ้าส้ มนันไม่ ้ เอารัดเอา เปรี ยบ ยึดหลักสิทธิสงั คม, ดูแลสุขภาพและจัดสรรรายได้ ที่เหมาะสมแก่เกษตรกร ผลส้ มเจริญเติบโตด้ วยการ ใช้ สารเคมีหรื อยาฆ่าแมลงที่ได้ รับอนุญาตเท่านัน้ รวมทังเกษตรกรรั ้ บประกันต้ นทุนการผลิตขันต ้ ่า ที่รวมถึง ค่าใช้ จา่ ยในการดูแลสิ่งแวดล้ อมและสังคมอีกด้ วย สัญลักษณ์ EKO
สัญลักษณ์ Fairtrade/ Max Havelaar
____________________________________ 2 ที่มา: www.voedingscentrum.nl สานักงานส่งเสริ มการค้ าระหว่างประเทศ ณ กรุงเฮก
ราคานา้ ผัก ผลไม้ และขนาดบรรจุในซุปเปอร์ มาร์ เก็ต
ชื่อผู้จาหน่ าย (ซุปเปอร์ มาร์ เก็ต)
ประเภทของสินค้ า
ปริมาตร
Albert Heijn ‘’ ‘’ ‘’ ‘’ Plus Supermarkt ‘’ ‘’ ‘’ ‘’
น ้าส้ มพาสเจอร์ ไรส์ น ้าส้ มสด น ้าสับปะรดผสมมะม่วง น ้าแอปเปิ ล้ น ้าแอปเปิ ล้ ผสมพีช น ้าผลไม้ รวม exotisch น ้าสับปะรด น ้ามะนาวผสมแอปเปิ ล้ น ้าผลไม้ รวม น ้าสับปะรด
1.50 ลิตร 1 ลิตร 1.50 ลิตร 1.50 ลิตร 1.50 ลิตร 1.50 ลิตร 1.50 ลิตร 1.50 ลิตร 1.50 ลิตร 1 ลิตร
ราคาสินค้ าแบรนด์ ของซุปเปอร์ มาร์ เก็ต (ยูโร) 1.14 2.99 0.90 1.05 0.78 1.44 1.79 1.79 1.44 0.79
ราคาสินค้ า แบรนด์ ของเอกชน (ยูโร) 1.16 ---0.92 1 ลิตร 0.98 ยูโรเซนต์ 0.92 1.52 1 ลิตร 0.93 ยูโรเซนต์ 1 ลิตร 1.79 1.52 0.93
ลักษณะบรรจุภัณฑ์ ของสินค้ านา้ ผักและผลไม้ ท่ วี างจาหน่ ายในเนเธอร์ แลนด์ 1. สินค้ าน ้าผักและผลไม้ ที่วางจาหน่ายในซุปเปอร์ มาร์ เก็ตมีปริมาตรตังแต่ ้ 2 ลิตร – 0.20 ลิตรและวัสดุ บรรจุภณ ั ฑ์ที่นิยมใช้ เช่น กล่องกระดาษ carton หรื อ popper ขวดพลาสติก ขวดแก้ ว โดยจะต้ องมีรูปแบบที่ ง่ายต่อการใช้ งาน ฝาเปิ ด/ปิ ดและรินที่สะดวก รวมทังขนาดต้ ้ องเหมาะสมกับชันวางในตู ้ ้ เย็น 2. บนบรรจุภณ ั ฑ์ต้องมีรูปภาพสินค้ าของผักหรื อผลไม้ ที่บรรจุอยูด่ ้ านใน มีสีสด สดุดตา รวมทังระบุ ้ ประเภทของผักหรื อผลไม้ เพื่อชักจูงในการซื ้อสินค้ าของผู้บริโภค 3. มีบรรจุภณ ั ฑ์เฉพาะของเด็กเล็ก คือมีฝาดึง สะดวกสาหรับเด็กในการบริโภค ซึง่ ฝาดึงสามารถเปิ ด/ปิ ดได้
สานักงานส่งเสริ มการค้ าระหว่างประเทศ ณ กรุงเฮก
ประเภท นา้ ผลไม้ เดี่ยว
นา้ ทับทิม (1 ลิตร)
นา้ แอปเปิ ้ ล Gouden (1 ลิตร)
ประเภท นา้ ผลไม้ ผสม
นา้ ส้ มผสมพีช (1 ลิตร)
นา้ สับปะรด ผสมฝรั่ง (1 ลิตร)
นา้ ผลไม้ กลุ่ม ประเภทสีแดง (1.5 ลิตร)
นา้ ผลไม้ นานาชนิด (1.5 ลิตร)
ประเภท นา้ ผลไม้ วิตามินรวม
สานักงานส่งเสริ มการค้ าระหว่างประเทศ ณ กรุงเฮก
ประเภท นา้ ผลไม้ กล่ องเล็ก
นา้ ผลตระกูล เบอร์ ร่ ี (0.20 ลิตร/กล่ อง)
นา้ ส้ ม (0.20 ลิตร/กล่ อง)
ประเภท นา้ ผลไม้ ต้องแช่ เย็นและมีอายุสินค้ าสัน้
นา้ ส้ มสด (1 ลิตร)
นา้ ส้ มผสมกีวีสด
นา้ แครนเบอร์ ร่ ี (1 ลิตร)
นา้ สตอเบอร์ ร่ ี ผสมกล้ วย (0.75 ลิตร)
นา้ แครนเบอร์ ร่ ี ( 1 ลิตร)
นา้ ส้ ม (1 ลิตร)
ประเภท ขวดพลาสติก
ประเภท นา้ ตาลน้ อย (Light)
สานักงานส่งเสริ มการค้ าระหว่างประเทศ ณ กรุงเฮก
ประเภท นา้ ผลไม้ BIOLOHISCH
นา้ แอปเปิ ้ ล (1 ลิตร)
นา้ ส้ ม (1 ลิตร)
ประเภท รูปแบบ packaging แปลกใหม่ สดุดตา
นา้ มะม่ วง ผสมพีช (0.22 ลิตร/ขวด)
นา้ ทับทิม (710 มิลลิลิตร)
ข้ อสังเกต/ความคิดเห็น 1. จากการสารวจพบว่าน ้าผักและผลไม้ ประเภท Biologisch มีราคาสูงกว่าสินค้ าลักษณะคล้ ายคลึง กันแต่ไม่ Bilologisch ถึง 50%3 ส่วนน ้าผลไม้ ที่มีราคาโดยเฉลี่ยสูงสุดคือ น ้าผลไม้ สดที่ทาจากน ้า ผลไม้ เข้ มข้ น (concentrate) 2. สินค้ าน ้าผักและผลไม้ ประเภท Biologisch นัน้ โดยทัว่ ไปแล้ วไม่ได้ รับเลือกจัดใน Promotion ลด ราคาในแต่ละสัปดาห์ที่ซุปเปอร์ มาร์ เก็ตในเนเธอร์ แลนด์มกั จัดเป็ นประจา
____________________________________ 3 ทีม่ า: สิ นค้าจากซุปเปอร์ มาร์ เก็ต Albert Heijn น้าส้ม Biologisch 1 ลิ ตร ราคา 1.45 ยูโร น้าส้มทัว่ ไป 1.5 ลิ ตร ราคา 1.05 ยูโร สานักงานส่งเสริ มการค้ าระหว่างประเทศ ณ กรุงเฮก
3. ลักษณะการจัด promotion สินค้ าประเภทน ้าผักและผลไม้ ในซุปเปอร์ มาร์ เก็ตคือ 1) ซื ้อ 1 แถม 1 2) สินค้ าชิ ้นที่ 2 ลดราคา 50% 3) สินค้ าชิ ้นที่ 3 ฟรี 4. ประเทศไทยเป็ นประเทศที่อดุ มสมบูรณ์หลากหลายไปด้ วยผลไม้ นานาชนิด ผู้สง่ ออกอาจมองหา ช่องทางส่งออกผลไม้ ไทยประเภทอื่นๆมายังเนเธอร์ แลนด์ เนื่องจากประชากรที่นี่มีความต้ องการ บริโภคสินค้ าประเภทน ้าผลและไม้ จานวนมาก, ต่อเนื่องสม่าเสมอและเปิ ดรับการทดลองสินค้ า ใหม่ ส่วนผลไม้ ที่ทาง สคร, พบว่ามีโอกาสทางธุรกิจและสามารถเปิ ดตลาดสินค้ าประเภทน ้าผลไม้ Exotic ใหม่ๆ เช่น มะเฟื อง, ลิ ้นจี่, แตงโม, องุ่น, สละและสาลี่
สานักงานส่ งเสริมการค้ าระหว่ างประเทศ ณ กรุ งเฮก 28 มกราคม 2554
สานักงานส่งเสริ มการค้ าระหว่างประเทศ ณ กรุงเฮก
ŕ¸
: 2554
World Food Market Report
ภภภภภภภ2 !"# $% ภ&$' ภ( ) ภ* + ,) % $ - (nectar) & 78- ภ) ' 9
& 78- ภ' : : :7) !"# ) * + 9 $ % % * , ภ; < '< , ภ: : ,) 9 ภ' ,( & 7 8- : ภ: 9 9 =9 ' < 9 ŕ¸
100% A 9 < B $ AB A( ' : ภ( ' ) $9 : : A A 9 ภภ9 ภB & ' B 6 C : < A $ D $% PepsiCo , Coca-Cola , Cadbury Schweppes, Del Monte Foods, Nestle SA ) Kraft Foods C [ : ภ( : AB ) ภ* + \] ภ9 , 'A
, ภ&$ [ 7.5 ( a 2553) - ภA( $% A (EU-27 &$ A _ a 916,448 ) $% jk ) A - B ,(' ภcarton A 9 ^] 60% : 9 -< , , [ A 9 ภภ), A $ ภภ9 70% $% $ ภภ(Take-home outlet) - , ภ& 9) Coภ,<) 9 '[ ภ-$ ภ(Private brand) : A 9 ^] 52% : EU - ' EU $9 ŕ¸
& 78- *% A(:& * , ภ; < ) ภA 9 ) % * ภ:]
A[& * ( ^% ' [D A( : ภA [ ภ) 7 &$ $ _ AB 2 , ภภ[ % $ _ B ) 7 23 $ a $ ( &$ A 9 [ ] : [ < - ' [D A( 5 ) ภ' A[& * ( $% ( A A 9 28%) ! A A[ < 7 , ภA ) - -< 9 % _ 38.9 $ aAB A( ' ภ- B 100% A 9 : : ^] 2 ' 3 : B $ :7) $ - $9 : : 25-99% : 3.8 http://fic.nfi.or.th
Eco friendly packaging . . 2552 & ' ( )* + ,ภ(
Organic mango, passion & pineapple smoothies ภ... 2552 & /(,0 1'
- 9 ' ภ'< A 9 A $ % % q ภ:] *% ( AB & 78- *% A(:& * ) ' < 9 [ ,) ภ( Super fruit
1/
6
ŕ¸
: 2554
World Food Market Report
I(? +L(?HE. @ ABC D& ' E F GH(IMBNI(N +ภ(IJ 2554-2557
230 : EU Fruit Juice Association 2010,Market Report
(') >? @ ABC D230 ? & ' E F GH(IIJ 2553
230 : EU Fruit Juice Association 2010, Market Report
http://fic.nfi.or.th
' A[& * ( < : &$ ภA( $% A A A 9 AB ^] ) 7 1 ' 3 : 9 $% jk A 9 ) 15 A ) 11.2 ) A ',$% A ) 1 ' 5 A< < ภA 9 ) 7 ) 4.8 ภ= ภ'< ) < - A ) ภ, ภ&$
9 9 A % q *% A< ) '< A 9 A : $ % % q , *9ภ$= ภ9 A 9 B ,(& 78-: ,) ภ(carton) ภA( A 9 ^] ) 60 $% :9 * A ภ(PET) ) 24.6 ):9 ภ9 ) 13.2
2/
6
ŕ¸
: 2554
World Food Market Report
B &$ ภ&$ ภภ:] ) [ ) ; - - & 78- $(7$ &< ภ)A(:& *AB ,] ) ,), ภ( 100% ,] 9 9 ภ&$ ภ-ภ=: 9AB ' % 9 B &$ ภ, )'[ _ $ $ $9 A $ Dภ$(7$ t q A 9 ",, ) 7 a ) $9 A '[ $( 7 & * $9 A) ) = 9 ' $ B &$,)$ [ A $ 29.1 ' a 2553 , ภ: B : Euromonitor A(:& * ภ:] ) A $ _* )^ \] ,) t ; - - , [ ภ(ภ) & 9 : '[ A $ - ) u - * :] 708.1 $ B $ 809..9 B $ % % $9 : : ภภ9 24% ',R' (') >? @ ABC D230 ? & S*(TMB RTIJ 2553 A A 9 7, [ ) 47 : 7 [ $% ภ100% A A 9 7, [ ) 34 [ ภ* , 7 B $ , [ ŕ¸
100 % ,) A 9 ^] ) 54 * ) $ [ 9 AB ภ9 ) & % [ ภ* , 7 A< ภ' ; - - A $ A 9 AB A( < 9ภ& * 9 : A[& * ( A 9 ^] ) 54.2 $% jk ) 20.1 ) A ) 16.4 A 9 A ) ',R' 'U 230L(?HE. @ ABC DV* ) S*(TMB RT A< 9 *r ภ: B &$' ภ&$ ) 72.3 \% ภ) ภ) 15.9 &$' [ % A^ ภ,ภq ) ) 11.37 &$ * ) ภ) ( , ภ",, < ภภA< ภA< '[ $ s
B &$ 9 A '[ $9 B A]ภ9 ; < ภA( '[ & 7 8- < < = $9 ภ:] * ) B ภ( $ : EU Fruit Juice Association 2010,Market Report ภ) ,(& 78- % ภ, ภhttp://fic.nfi.or.th
3/
6
ŕ¸
: 2554
World Food Market Report
:7) : private brand ภ= A 9 01 2 * :] % * ) ภ* + A $ [ ภ[ ) ; - - B : A ) 1 ภ) C -< : ภA A 9 B $ : ) 23 : ภ$ ภ[ : A $ D 3 ภ$% ( A 9 C B ' ; - - $% ) 37 ) $ A ภ( ) 28 ) Royal FrieslandCampina A 9 ) 26 ' \ ( ) 5) ) & : A ) : ภภ< a 2553 - A $ D ภDubbelFrisss, Cool Best Appelsientje -$B : A 9 $ 9 : : ภ\- AB ภภ9 20 B $ : a 2553 ภ155.60 -A[ o s A 9 $% ) 5 $% Hero A ) $9 : : ภ9 20 ภ\- B $ : 48.77 -s \] , 9 ภ\- AB ,)A * ;-ภWB. >B R @ ABC D*? 2(3 T (BD $US) Organic 2553 2557 % change $( 7 & * AB : % : A ) A $ D$% ภ: : compound 2557/53 house \] ,) $ 9 < 9< D' ภ: Concentrates 15.6 21.6 38.5 : : ) B 9 ภA [ % '[ $ 100%juice 9.5 12.9 35.4 o $9 ภ: B \% ) ,( *% Juice drinks , [ ( A [ภ$ % % [ ภภ, ภภ= (+24% juice) ,) : B : ) 9 Nectars 10.3 12.4 20.3 ' ภ[ ] ; - -ภ= B A ภ[ % B (25-99% juice) ภ), A $ D' A[& * ( 9 A ) 35.4 46.9 32.4 : : B $ A ภa 2553 ภ132.84 230 : EUROMONITOR, 2011 A[ os A 9 A ) $9 : : ภ9 20 ภ\ B $ A ภ40.86 -s A ) ; - - B : 3 : ; - - A ภA ! A ภA A 9 ) 7 ) 11 : B $ : : ภrC 5 ภA A 9 B $ A ภภ) ' ภภ), A $ AB ) q ) 7 ) 77 : 9: B $ A ภ' A[& * ( ! A A[ < 7 , ภA ) < : : _ ' < 9 3 a (2551A A s :7) ภA ภ; - - 2553) B ) 10.94 A 9 A ) $9 : : ภ= B A ภ2 : ภA 9 ภ9 20 ภ\- : 9 _ ' < 9 3 a B ) 10 , ภ\ A 9 ) 14 ) 25.64 ' ; - - A ) $9 * A $9 A ^: ' ภC7) A ) http://fic.nfi.or.th
4/
6
ŕ¸
: 2554
World Food Market Report
9q ) ภA % * , 7 B $ : )A ภA ) : ; - -,)* 9 ,)* 9 A 9 ภ$ : * , 7 7 ภ< , :] 9 ' ) a ; - - &$ A ) ' ) _ ) 7 a ) 40,000-45,000 9 ภ&$ A ) ภa 2550 [ % 46,043 , ภa 2549 AB ^] 71,493 ): B a 2553 [ % 39,234 A 9 [ ] , A [ (, ภ% $ : [ 9 9 $ : A \] ภA( 9 $ :7) $ : A ) ภA9 9 :] % '[ B &$[ % A ภ:] >, * @ ABC DML( RT Cool best
ภ>, * ML( RT Cool best N a &)D @ ',LIN(R Ib @ ABC D B,ภ& @ ABC DA' 2Gภ(' >, * @ ABC DML( RT Krings
http://fic.nfi.or.th
ภภ01 2 4 5 6 2 4 5 A [ ) ' o ) B A ภA ) A $ D: ภ$ A9 [ ภA'[ q '[ ภA $ < ภ:] * )[ ภ[9 * ภ: ' q ภ=, )^B ภA $ A 9 ภ:] \] [ ภ, ภ) A A 9 )A(:& * : 9 B ' A ) 9ภ= <% 9 ,) $9 * :] ภ( ;-ภ< , ' ภA% A ^] Bภ$ , ภ9 , : M.M. M.M MEKONNEN , ภVALUE OF WATER RESEARCH REPORT SERIES NO. 47 * % % ; 9 $ 2553 * 9 $ ภ'< 9 (water water footprint) footprint : A ) B 255 . ./ A 560 . ./ jk 820 . ./ ( 2,400 . ././ ,) [= 9 A ) *%< '< $ : % ภ) & : % q \] 9 ; - - B &$'[ $9 A ', ภ' ภ% [ ภB ภ'[ $9 A $ DภภA : 9 9 ) ' ) (Green Green productivity) productivity ภภ\ % ภ),ภ)ภภ), AB [ 9 \ ภ; ,,)A ^ภ[ ภ( ;- A $9 ภ)A ^ , ) _* ): )A ^ , ) _* ) A ) ภ:] ภ, ภภภ) A : A $9 ภ'[ _* )r Bภ\]\] ภ$9 A ',' ( 9 ภA ) A ภ: % q < ) 9 , ! s < 9 r Bภ: ภ=,)< 9 * 7ภ: ภ:]
5/
6
ŕ¸
: 2554
World Food Market Report
: AIJN European Fruit Juice Association Market Report 2010 Euromonitor International, 2011 EU Management Â&#x20AC; Marketing Strategies in the Juice Sector Global Trade Atlas Pineapple juice in Netherlands, CBI Ministry of Foreign Affairs
http://fic.nfi.or.th
6/
6