199คติธรรม คำกลอนสอนใจ

Page 1

1|

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก 

 

       


2|

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก 

คานา การบันทึกเรื ่องราวทีเ่ กิ ดขึ้น โดยเฉพาะยิ่ ง คติ ธรรม คากลอน เป็ น  การง่ายเพือ่ เรี ยนรู้ธรรมและฝึ กใจให้สงบสุขทัง้ เป็ นอาหารสมอง เพิ่ม  สติ ปัญญาในการดาเนิ นชี วิต แต่ละวันและในวันทีเ่ รามี เวลาหยุดดูลม  หายใจ ในช่วงที ข่ ้าพเจ้าทางานเป็ นเจ้าหน้าที ่ ของมหาจุฬาอาศรมของ มหาวิ ทยาลัย และไปครู อาจารย์สอนพิ เศษที ม่ หาจุฬาลงกรรราชวิ ทยาลัย วิ ทยาเขตนครราชสีมา ต้องกราบขอบพระคุณพระสงฆ์ ทกุ รู ปที ใ่ ห้กาลังใจ และญาติ ธรรมที ่ อุปถัมภ์ ดูแลพระสงฆ์ จนทาให้การเป็ นอยู่ในสมณะเพศ ดารงประพฤติ พรหมจรรย์ได้ ข้าพเจ้าจึงหาเวลารวมรวบ เรี ยบเรี ยงคติ คากลอนสอนใจ เพือ่ เป็ นธรรมบรรณาการ ก่อนจากมหาจุอาศรม และลาไปสอบพระธรรมทูต สายต่างประเทศแล้วเดิ นทางทางานทีป่ ระเทศอังกฤษเพือ่ เป็ นอาสาสมัคร เพือ่ งานพระศาสนา ในช่วงนัน้ ไม่มีเวลาและทรัพย์พิมพ์ จึงมาพิมพ์ทีห่ ลัง ดังนัน้ งานรวมคติ เล่มเล็กๆ นี ้ หากจะมี ประโยชน์ ข้าพเจ้า ขอบูชา พระคุณของผูพ้ ระคุณทุกท่านทีเ่ ป็ นเจ้าของคติ ธรรมนัน้ ๆ ซึ่งมาจากทีต่ ่างๆ ความผิ ดพลาดตกบกพร่ องประการใด ต้องขออภัย และหวังว่าคงได้รับ เมตตานุเคราะห์จากท่านผูร้ ู้ เมตตาชี ้แนะแนวทางให้เกิ ดสติ ปัญญาด้วย ด้วยธรรมไมตรี  มหาบ้านอก (พระมหาปกานนท์ พุทธิ เมธี นธ.เอก,ปธ.๖,พธ.ม.)  วัดศรี รัตนาราม แมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ


3|

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก 

ปณามคาถา               ผู้ทชี่ ื่อว่า “”       


4|

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก 

                “วายเมเถว ปุริโส กยิรา”  เกิดเป็นคนควรเพียรพยายามร่​่าไปจนกว่าจะพบความส่าเร็จ     


5|

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก 

             บัณฑิตจะต้องเว้นสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ ยึดถือเอาแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์เท่านั้น และเป็นอยู่ด้วยสติปัญญา      


6|

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก 

                      


7|

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก 

  แพ้เป็นบันได ชนะเป็นสะพาน ประสบการณ์เป็นบทเรียน   หากปรารถนาจะไปให้ถึงจุดสูงสุด จงเริ่มต้นจากจุดต่​่าสุด        “โง่ไม่เป็น เป็นใหญ่ยาก แต่ถ้าโง่มาก ๆ ก็ยากที่จะเป็นใหญ่”  อุปมาชีวิต

หยาดน้่าค้างซึ่งโปรยปรายลงมาจากเบื้องบนในยามราตรีและจับตาม ต้นไม้ ใบหญ้าจนเปียกชุ่ม มองเห็นได้ชัดเจนตอนรุ่งอรุณนั้นไม่นานเลย พอ แสงพระอาทิตย์กล้าขึ้นและลมพัดผ่านไปมา ชั่วครูเดียวเท่านั้น ก็พลันเหือดแห้ง หายไป จะเหลือไว้เพียงแต่คราบพอให้เห็นรอยเท่านั้นเอง ชีวิตของทุกคนก็ไม่ต่างอะไรกับหยาดน้่าค้างเลย เพาระเมื่อเกิดขึ้นแล้ว  มากวัน นานคืน ก็ต้องก้าวสู่วัยชรา อันเป็นวัยที่แห้งเหี่ยว อับเฉา  เตรียมทอดร่างลงทิ้งในที่สุด คล้ายหยาดน้่าค้าง ที่ต้องสลายตัวออก เมื่อสิ้นรัตติกาล ฉะนั้น ทางชีวิต มิได้ราบรื่นเหมือนทางซึ่งโรย 


8|

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก 

ด้วยดอกกุลาบ แต่มันทั้งลื่น ทั้งรก คดเคี้ยว นอกจากนี้ ยังเต็มไปด้วยหลุมพราง และห้วงเหวอันน่าหวาดเสียวยิ่งหนัก ทางชีวิต จึงเป็นทางทุรกันดารที่สุดของบรรดาทางทั้งหลาย กระแสชีวิต ไม่ต่างอะไรกับกระแสน้่า บางแห่งก็ไหลเอื่อย บางแห่งก็วกวนหมุนเวียน บางแห่งก็ไหลเชี่ยวอย่างน่าหวาดเสียว ชีวิตก่อตัวขึ้นมาจากธรรมชาติอย่างหนึ่ง ซึ่งผูกมัดรัดรึงมนุษย์ทั้งหลายให้เกาะอยู่กับ โลก และแล้ว ก็บังคับให้วิ่งกระหืดกระหอบไปตามความเปลี่ยนแปลงของโลก อันไม่ มีการหยุดหย่อนผ่อนพัก ชีวิตได้สลายตัวลงเป็นฉาก ๆ ตอน ๆ แล้วก่อตัวขึ้นใหม่ ดังบท ละคร บางทีก็เป็นเหมือนดอกไม้เพราะเติบโตตูมอยู่ในเบื้องต้น เบ่งบานในท่านกลาง และร่วงโรยในที่สุด ในระหว่างนั้นก็ถูกแมลงที่ปรารถนาเกสรเข้าชอนไช ให้ร่วงหล่น โรยราเร็วเข้า ชีวิตนี้ ถูกแมลงคือ ความเจ็บ เพราะอันตรายต่าง ๆ  และความตรอมใจความคับแค้นใจไชชอนท่าให้อับเฉา ชีวิตเป็นความฝัน ชั้นหนึ่งแล้ว ยังหลงใหลงมงายกับเหตุการณ์ต่าง ๆที่เกิดขึ้นในชีวิตชีวาเป็นจริงอีก จึงเป็นฝันทีซ่ ้อนฝัน............        


9|

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก  

“ปากหนอปากปากบ่นปากคนบ้า ปากปลาร้าปลาเจ่าปากเป่าหู ปากสุนัขปากนินทาปากปลาทู ปากลบหลู่ปากเสร็จเคร็งปากเฮงซวย ปากมีดโกนผสมเกลือเจือน้่าผึ้ง ปากหวานซึ้งน่าพาปากบ้าหวย ปากขี้โมปากสวดปากอวดรวย ปากไม่ช่วยปากสอพลอขอกิน ปากอัปรีย์หมาวัดกัดเจ้าของ ปากจองหองปากจัญไรเห่าไม่สิ้น ปากซุบซิบปากอิจฉาปากราคิน ปากหวานลิ้นปากเบี้ยวปากเที่ยวทา ปากดีเด่นปากขูดปากรูดทรัพย์ ปากชอบสับชอบจิกปากพลิกหา ปากป้องพวกปกปิดผิดต่ารา ปากทายท้าปากพล่อยปากร้อยเงิน ปากหอยปู ปากตลาดขาดธรรมะ ปากด่าพระเณรชีไม่มีเขิน ปากเป็นพิษปากกวนปากส่วนเกิน ปากสรรเสริญปากปลอบปากชอบชม ปากบัณฑิตปากนักปราชญ์ฉลาดล้่า ปากมีธรรมรองรับไม่ทับถม ปากคนพาลปากคนโง่ปากโสมม ปากคุยข่มซ้่าซากเฮ้อปากคน ชศรีนอก              “โชคอยู่ที่การศึกษา วาสนาอยู่ที่ ความเพียร” ”ท่านว่า คนที่นอนรอวาสนา เหมือนสุนัขนอนรอน้่าข้าว ฉะนั้น เราไม่ต้องรอราชรถมาเกย” 


10 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

  ๗  “          “สะอาด ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ เสียสละ สามัคคี”   “ไม่หลงส่วนเกิน ไม่เพลินอบายมุข ไม่แก่สุขส่วนตน เป็นคนกล้าเสียสละ”  “อ่อนน้อม ถ่อมตน จิตใจสุภาพ ซึมซาบใจชน ผู้คนสรรเสริญ น่ารักเหลือเกิน เพราะอ่อนน้อมถ่อมตน  “ เตาะแตะ ต้วมเตี้ยม ตูมตาม เต่งตึง โตงเตง ต้องตาย” .....      “เยาวชนเอ่ย........... พ่อแม่หวังพึ่งพาจ้า ครูเล่าหวังให้สร้างชื่อ ชาติก็หวังพึ่งฝีมือ พุทธศาสตร์ฤา หวังให้เจ้าเป็นคนดี” 


11 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

         ๑สภาพแวดล้อมภูมิประเทศ อุตุนิยาม ๒พ่อแม่เผ่าพันธ์ พีชนิยาม ๓กรรมที่สร้างสรรมา กรรมนิยาม ๔จิตใจที่ต่างกัน จิตนิยาม ๕เรื่องธรรมดา ธรรมชติ ธัมมนิยาม  “  ” 

“ได้พบเห็นการท่าความดี ได้มีความปรองดอง ได้มองเห็นสัจจธรรม ได้น้อมน่าพระสัทธรรม”   


12 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

    อยู่ให้เขารัก จากให้เขาเสียดาย ตายให้เขาคิดถึง” ที่เราต้องมี ความรู้ดี การงานดี ประพฤติดี” ในวัยชีวติ         “หลักฐาน หลักการ หลักปฏิบัติ”  “ได้เห็น ก็เป็นบุญตา เจรจาเป็นบุญปาก อุปัฏฐากก็เป็นบุญใจ” คนเรามี หน้า  1.หน้านอก บอกความงาม 2.หน้าใน บอกความดี 3.หน้าที่บอกความสามารถ เมื่อ  “        มองให้เห็นโลก โลกภายนอกกว้างไกล ใคร ๆรู้ โลกภายใน ลึกซึ้ งอยู่ รู้บา้ งไหม จะมองโลก ภายนอก  มองออกไกล จะมองโลก ภายใน ให้มองตน  


13 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

    ดุ  ห้    “แก้ข่าวร้าย กระจายข่าวดี มีมนุษย์สัมพันธ์  ป้องกันภัยสารพัด บ่าบัดทุกข์ประชาชน ท่าตนเป็นตัวอย่าง        “    เดินทางไกลได้ทนนาน อาหารย่อยดี มีอาพาธน้อย จิตค่อยตั้งมัน่ เป็นสมาธิเร็ว 


14 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก



หรือเพื่อเรียน เพื่อสอบ ตอบถูกต้อง เพื่อสนองหนึ่ง ไม่เป็นสอง จึงแข่งขัน หรือเป็นบัณฑิต อภิสิทธิ์ ฐานนันดร์ แผ่นกระดาษ ฤาส่าคัญ เหมือนสัจธรรม 

วัดจะดี มีหลักฐาน เพราะบ้านช่วย บ้านจะสวย เพราะมีวัด ดัดนิสัย บ้านกับวัด ผลัดกันช่วย จึงอวยชัย ถ้าขัดกันก็บรรลัย ทั้งสองทาง 

อันบ้านเรือน ใหญ่โต รโหฐาน มีเสาธาร หลายต้น จึงทนไหว เกิดเป็นคน อยู่เดียว ก็เปลี่ยวใจ ต้องอาศัย พวกพ้อง พี่น้องนา  ไม่ให้เจ็บตัว ไม่ให้เจ็บใจ ไม่ให้เสียงาน ไม่ให้เสียเพื่อน  

มีหลวงพ่อ ๕ องค์ก็คงสุขใจ หลวงพ่อยิ้ม แย้ม แจ่ม ใส เย็น 


15 |



1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก 

จนเงินทอง ข้าวไม่เป็นไร จนอะไรไม่ว่า แต่อย่าจนความดี 

หน้าที่ชาวของประมง คือจับ ปลา หน้าที่ของพ่อค้า คือหาผลก่าไร หน้าที่ของศิลปิน คือสร้างศิลปะ หน้าที่ของพระ คือ สอนมนุษย์ หน้าที่ของชาวพุทธ คือท่าดี หน้าที่ของศิษย์ที่ดีคือกตัญญูกตเวทีต่ออาจารย์ 

ในยามวิบัติ จะเห็นใจ ของมิตร ในยามศึกประชิต จะเห็นน้่าใจทหาร ในยามสิ้นทรัพย์ จะเห็นน้่าใจภรรยา ในยามอนาถา จะเห็นน้่าใจของญาติ



ปิ้งปลาหมอ งอแล้งกลับ นี้ค่าข่า เจ็บแล้วจ่าใส่กระบาลน่าขานไข ผิดแล้วรีบกลับตัวเปลี่ยนหัวใจ จะมีใครมาวอนไม่สอนตัว 

อันเพือ่ นดี มีหนึ่งถึงจะน้อย ดีกว่ามีเพื่อนร้อยที่คิดริษยา เหมือนเกลือมีนัดหน่อยด้อยราคา ยังมีค่ากว่าน้่าเค็มเต็มทะเล


16 |



1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก 

“ศิษย์ดีต้องมีครู เป็นหมู ต้องมีมัน เป็นสตรีต้องมีถัน”

     ทรัพย์นี้ มิอยู่ไกล ใครปัญญาไว หาได้บ่นาน ทั่วแคว้นแดนดิน มีสิ้นทุกสถาน ผู้ใดเกียจคร้าน บ่พบพานเอย    ความคิดที่ปราศจากข้อมูล เป็นความว่างเปล่า ข้อมูลที่ปราศจากความคิดก่ากับ เป็นความมืดบอด  เป็นหลักของบ้าน เป็นพลเมืองดีของชาติ เป็นญาติพระศาสนา  มีวาสนาเป็นทุน มีบุญเป็นยา มีเมตตาเป็นบ้าน มีลูกหลานเป็นผ้าห่ม มีอารมณ์เป็นเพื่อนที่ดี


17 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

 ดูคนดีชั่ว ดูที่การกระท่า ดูผู้น่า ดูที่การเสียสละ ดูพระ ดูที่กิจวัตร ดูคฤหัสถ์ ดูที่ความขยัน ดูเพือ่ นดูทค่ี วามจริงใจ ดูผู้ใหญ่ดูที่พรหมวิหาร ดูผู้น้อยดูที่ความอ่อนน้อม    โลกนี้ คือ โรงละคร

ปวงนิกรเราท่านเกิดมา ต่างร่ายร่าท่าที่ท่า ตามลีลาของบทละคร บางครั้งสุขเศร้า บางคราวสุข บางทีก็ทุกข์หัวอกสะท้อน มีร้างมีรักมีจากมีจร พอจบละครชีวิตก็ลา อันวรรคตอนละครชีวิต เป็นสิ่งน่าคิดนะท่านเจ้าขา กว่าฉากจะปิดชีวิตจะลา ต้องทรมาน์กันเหลือประมาณ มิใช่เทวาจะมาอุ้มสม มิใช่พระพรหมจะมาเสกสรรค์ มิใช่ศุกร์ เสาร์อาทิตย์หรือจันทร์ จะยากดีมีจนก็สุดแท้แต่วิถี กกแห่งกรรมท่าดีก็ได้ดี ท่าชั่วแล้ก็มีแต่เลวทราม ความดีท่าไว้ถึงคราวตายจาก ก็มีคนอยากช่วยแบกช่วยหาม หากท่าชั่วก็พาตัวตกต่​่าๆ ถึงมีหน้าก็คว่​่าเหมือนหอยโข่งหอยแครงฯ  


18 |



1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก 

หลงตัว ลืมตาย หลงกาย ลืมแก่ หลงเมีย ผัว ลืม พ่อแม่  สังขารแก่ ไม่เห็นโลงศพ ไม่หลั่งน้่าตา

           

เป็นผู้ น่า ไม่เสียสละ เป็นพระไม่นิ่งเป็นหญิงไม่เหนียม  เป็นคนจนไม่เจียม เป็นคนรวยไม่จุนเจือใช้ไม่ได้ ล่อ ไม่อยาก ถากไม่เข้า เย้า ไม่รัก ชัก ไม่หลง     

    

  เผาไม่ไหม้ ศีล  ใกล้ไม่ร้อน เมตตา  นอนไม่มาก ความเพียร  ปากไม่โป้ง เก็บความลับ  โกงไม่เป็นก ตัญญูต่อโลก


19 |

 ส่งให้สูง

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก 

ศีลปรุงให้สวย ศีลท่าให้นวย ศีลช่วยให้รอด

    



ก้าวที่หนึ่ง พึงหมั่นขั้นศึกษา ก้าวไปหามาไว้ให้สูงส่ง ก้าวทีส่ องต้องขยันถือมั่นคง ก้าวให้ตรงจุดจ้องต้องท่างาน ก้าวสามตามหลักรักษา ก้าวนี้นับทรัพย์ทวีมีหลักฐาน ก้าวสี่มีเงินต้องเดินงาน ก้าวช่านาญงานขยายได้มากมี ก้าวที่ห้าถ้ารวยให้ช่วยญาติมิตรและชาติศาสน์กษัตริย์ พัฒนศรี ก้าวที่หกอกสามัคคี ก้าวให้ดีมีจิตคิดกาลไกล ก้าวที่เจ็ด วิเศษศรีมีศีลสัตย์ ก้าวนี้จัดสัตย์ซื่อเชื่อถือได้ ก้าวแปดถ้าให้ดีมีวินัย ก้าวไปช่วยชนคนลือชา ก้าวที่เก้าเข้ายึดประพฤติธรรม เก้าท้าวน่าท่าใจไม่ให้หมอง ท่าให้มีความสุขสมดังปอง เชิญพี่น้องยึดก้าวเก้า เท้าสุขเอย  


20 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

     ก่าหนดเดือน ด้วยพระจันทร์  ก่าหนดวัน ด้วยพระอาทิตย์ ก่าหนดจิตด้วยสมถะกัมมัฏฐาน ก่าหนดสังขาร ด้วยวิปัสสนากัมมัฏฐาน                      


21 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

       หนีแก่ไม้ได้ หนีเจ็บไม่พ้น ทุกคนต้องตาย ต้องจากไกลของรัก  เป็นไปตามหลักกรรมเอย          อย่าปล่อยให้ วันเวลา คร่าชีวิต   โดยไม่คิด ท่าสิ่งใด ให้พูนเพิ่ม   สร้างความดี ทวีไว้ ใฝ่ต่อเติม   ชั่วอย่าเสริม สร้างเลย เสบยแล   


22 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

              ก้านบัว บอกลึกตื้น ชลธาร   มารยาท ส่อสันดาน  ชาติเชื้อ   โง่ฉลาดอาจทราบได้เพราะ ค่าขาน

หย่อมหญ้าเหี่ยวแห้ง บอกร้าย แสลงดิน 

     

ขยันท่ามาหากิน ไม่บินสูงนัก  รักความสะอาด ฉลาดสะสม นิยมสามัคคี มีความกตัญญู

     

ขยัน สันโดษ ศีล อารักขา สามัคคี กตัญญู


23 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

      

บริวารมาเพราะน้่าใจมี บริวารหนีเพราะน้่าใจลด บริวารหมดเพราะน้่าใจไม่มี    เงินซื้อเตียงนอนได้  แต่ซื้อการหลับเป็นสุขไม่ได้ เงินซื้อกระดาษปากาได้  แต่ซื้อความเป็นกวีไม่ได้ เงินซื้ออาหารดี ๆได้  แต่ซื้อความอยากรับประทานไม่ได้ เงินซื้อความประจบสอพลอได้ แต่ซื้อความความจริงใจไม่ได้ เงินซื้อการตามใจได้  แต่ซื้อความจงรักภักดีไม่ได้ เงินซื้อเพชรนิลจินดาได้  แต่ซื้อความงามไม่ได้ เงินซื้อความสนุกสุข ชั่วคราวได้ แต่ซื้อความสุขไม่ได้ เงินซื้อเพื่อร่วมทางได้  แต่ซื้อเพื่อนแท้ไม่ได้ เงินซื่ออ่านาจราชศักดิ์ได้  แต่ซื้อปัญญาไม่ได้ เงินซื้ออาวุธยุทธภันฑ์ได้ แต่ซื้อสันติสุขไม่ได้ เงินซื้อเมียที่สวยๆได้  แต่ซื้อแม่ที่ดีของลูก ไม่ได้ เงินส่าคัญก็ต่อเมื่อ จ่าเป็นต้องใช้เท่านั้น 


24 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

  อันวิสัยคนดีนั้น ย่อมไม่ระลึกถึงและจดจ่าคุณที่เคยท่าไว้แก่ผู้อื่น ไม่บุญคุณ แต่ย่อมระลึกและจดจ่าพระคุณที่คนอื่นท่าไว้แก่ตนเสมอ และหาโอกาสที่จะ  สนองพระคุณท่าน                  


25 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

                           


26 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

                          


27 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

                      


28 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

                         


29 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

  “   โ ตาย                  


30 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

            นี                


31 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

                            


32 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

  คาถาเรียกเงิน (จากหลวงพ่ อเดช สุมโน) ทุกเช้า หลังจากสวดมนต์ภาวนา ก่อนเปิ ดร้าน ค้าขาย ให้เสกคาถาว่า “พุทธัง เป็ นเงิ น ธัมมัง เป็ นทอง สังฆังเป็ นข้าวของ เงิ นทองไหลมาเทมา คาถากันทุกข์  กูว่าแล้ว โลกนีม้ ี ปัญหา  ไม่นินทา ก็ชื่นชม หรื อเฉยๆ สามประเภททีว่ ่ามา ไม่ผิดเลย ใครวางเฉยไม่ได้ จะบ้าตาย เพือ่ น เพือ่ นทีด่ ีมีหนึ่งถึงจะน้อย ดีกว่ามี เพือ่ นร้อย ที ่คิดริ ษยา เหมื อนเกลื อ มี นิดหน่อยด้อยราคา ยังมี ค่ากว่าน้าเค็ม เต็มทะเล เสกคาถาแก้โลกธรรม เมื ่อมี ลาภ ยศ เสียง สรรเสริ ญ นิ นทา สุขทุกข์ ท่านให้เสกคาถาว่า “ เกิ ดขึ้นตัง้ อยู่ดบั ไป หรื อมึงไม่จากกู กูก็จะจากมึง”  เซ่ออยู่ในวัด แม้จะเซ่อ ๆ เผลอๆ อยู่ในวัด ดีกว่า จรจัดอยู่ในซอย แม้จะมี บญ ุ น้อย แต่ทาบ่อยๆ ดี กว่าผู้ประมาท ขาดสติ ธรรม” 


33 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

 อดไม่ได้ เราอย่าเป็ นประเภท รู้ หมด แต่อดไม่ได้ จะอายเขา ท่ วมหัว บางครั้งเรา อาจจะเป็ นแบบ มี ความท่วมตัว เอาหัวไม่รอด หรื อ ความรู้ ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด” พบเพื่อจาก เมื ่อเราเจอให้ฝึกทาใจไว้ว่า “ เราพบเพือ่ รอวันจาก  เราไม่มามาก ก็รอวันหมดไป” ใจจะได้สขุ เย็น คบคนให้ดูหน้า ซื ้อผ้าให้ดูเนือ้ นัน้ หมายว่า เวลาจะคบใคร ให้มีสติ ว่า “เขามี หน้าทีท่ งั้ สาม คื อหน้านอก หน้าใน และหน้าที ่ ทัง้ สามหน้า งามสมบูรณ์ ไหม ผ้าทีเ่ ราจะซื ้อสวมใส่เนือ้ ดี อย่างไร” ซื้อคอมฯ จะซื ้อคอมหรื อของงให้สอยให้ดูว่า เหมาะสมกับงานทีใ่ ช้ จาเป็ นกับ งานทีท่ า อย่าไปจดจาว่า ถูกหรื อแพงมากไป หรื อหลงใหลของใหม่ จนลืม ของเก่า  ได้ เก่ าลืมใหม่  อย่าเป็ นแบบประเภท “ลืมของทีด่ ีมีคณ ุ ค่า และมัวเมาบ้าของใหม่ จนเสียชาติ ”   


34 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

   สิ่งที่ยาก ยากอะไรก็ไม่อยากเท่าปฏิ สงั ขรณ์  ถอนอะไรก็ไม่ยาก ถอนทิ ฐิมานะ ละอะไรก็ไม่ยากเท่าตัณหา  หาอะไรก็ไม่ยาก เท่าหาตน   ละครชีวิต โลกนี ้ คือโรงละคร ทุกบทตอนเราแสดงไปตามลี ลา บางคราทุกข์ บางคราสุข บางตอนโศกบางตอนเศร้า พอจบโรง ก็ลาโลกกันไป คาถาชนะ ชนะความชัว่ ด้วยการทาดี  ชนะความตระหนีก่ ารด้วยให้ ชนะความไม่พอใช้ด้วยการอดออม ชนะคนปากมอมด้วยสัจจะ ชนะผูใ้ หญ่ดว้ ยการถ่อมตน ชนะคนเสมอกันด้วยความพยายาม ชนะทุกข์ทงั้ ปวงด้วยประพฤติ ธรรม  


35 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

 164.  จากหนึ่งจึงเป็นเรา รวมกันเข้าจึงเป็นหนึ่ง   165. อยู.่ ...... อยู่คนเดียว แสนสบาย แต่ไม่สนุก อยู่สองครองทุกข์ แสนสนุก แต่ไม่สบาย  166. อยูเ่ พื่อตน  อยูเ่ พือ่ ตน อยู่ได้ชั่วคราว อยู่เพื่อสาว อยู่ได้เพียงขณะ อยู่เพื่อพระ อยูไ่ ด้เพื่อชุมชน 

167.คากลอนสอนจิต คติธรรมคากลอนไว้สอนจิต

เพื่อให้คดิ เตือนใจใฝ่กุศล

แต่ญาติโยมหญิงชายได้ทุกคน

หมั่นฝึกตนให้พูดคิดและทาดี

เราจะได้เป็นคนไม่ประมาท

จะไม่ขาดปัญญาหาเหตุผล

เพื่อนทุกคนโปรดจาไว้ใส่ใจเอยฯ     


36 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก 

168. แก่-เจ็บ-ตาย อันความแก่แน่นอนไม่ผ่อนผัน

คิดและวันนั้นรึงดึงสังขาร

ฟันที่มั่นพลันคลอนหนังหย่อนยาน ชรากาลผลาญพร้าให้อาลัย ทั้งดวงตาฝ้าไปมองไม่เห็น หูก็เป็นเช่นกันกายสั่นไหว ผมกลับหงอกชอกช้าระกาใจ

มองตรงไหนก็ไม่งามรูปทรามเอย

คราเจ็บไข้ไม่สบายวุ่นวายเหลือ

ช่างน่าเบื่อเนื้อหนังโอ้สังขาร

เป็นทุกข์ย่งิ จริงน่าทรมาน กว่าวายปราณผ่านพ้นจาทนไป ไม่เจ็บกายใจหมดทุกข์จึงสุขสม

พระโคดมข่มจิตน่าพิสมัย

ไม่ยึดมั่นพลันถอนลูกศรใจ

จิตแจ่มใสไร้ทุกข์สมสุขเอย.

169. อยู่ที่ใจ สุขทุกข์อยู่ที่ใจมิใช่หรือ

ถ้าใจถือก็เป็นทุกข์ไม่สุกใส

ถ้าไม่ถอื ก็เป็นสุขไม่ทุกข์ใจ เราอยากได้ความสุขหรือทุกข์นา


37 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

170.จงทากับเพื่อนมนุษย์โดยคิดว่า...  เขาเป็นเพื่อน เกิด แก่เจ็บ ตาย ของเรา. เขาเป็นเพื่อน เวียนว่ายอยู่ในวัฎฎสงสารด้วยกันกะเรา. เขาก็ตกอยู่ใต้ อานาจกิเลส เหมือนเรา ย่อมพลั้งเผลอไปบ้าง. เขาก็มีราคะ โทสะ โมหะ ไม่น้อยไปกว่าเรา. เขาย่อมพลั้งเผลอบางคราว เหมือนเรา. เขาก็ไม่รู้ว่าเกิดมาทาไม เหมือนเรา ไม่รู้จักนิพพานเหมือนเรา. เขาโง่ในบางอย่าง เหมือนที่เราเคยโง่. เขาก็ตามใจ ตัวเองในบางอย่าง เหมือนที่เราเคยกระทา. เขาก็อยากดี เหมือนเรา ที่อยาก ดี-เด่น-ดัง. เขาก็มักจะกอบโกย และ เอาเปรียบ เมื่อมีโอกาสเหมือนเรา. เขามีสิทธิที่จะบ้า ดี-เมาดี-หลงดี-จมดี เหมือนเรา. เขาเป็น คนธรรมดา ที่ยึดมั่น ถือมั่น อะไรต่างๆ เหมือนเรา. เขาไม่มี หน้าที่ ที่จะเป็นทุกข์ หรือตายแทนเรา. เขาเป็น เพื่อน ร่วมชาติ ร่วมศาสนา กะเรา. เขาก็ ทาอะไร ด้วย ความคิดชั่วแล่น และ ผลุนผลัน เหมือนเรา. เขามี หน้าที่ รับผิดชอบ ต่อครอบครัวของเขา มิใช่ของเรา.


38 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

เขามีสิทธิ ที่จะมีรสนิยม ตามพอใจของเขา. เขามีสิทธิ ที่จะเลือก ( แม้ศาสนา ) ตามพอใจของเขา. เขามีสิทธิ ที่จะใช้ สมบัติ สาธารณะ เท่ากันกับเรา. เขามีสิทธิ ที่จะเป็นโรคประสาท หรือเป็นบ้า เท่ากับเรา. เขามีสิทธิ ที่จะขอความช่วย เหลือ เห็นอกเห็นใจ จากเรา. เขามีสิทธิ ที่จะได้รับอภัย จากเรา ตามควรแก่กรณี. เขามีสิทธิ ที่จะเป็นสังคมนิยม หรือ เสรีนยิ ม ตามใจเขา. เขามีสิทธิ ที่จะเห็นแก่ตัว ก่อนเห็นแก่ผู้อ่นื . เขามีสิทธิ แห่งมนุษย์ชน เท่ากัน กับเรา , สาหรับจะอยู่ในใลก. ....ถ้าเราคิดกันอย่างนี้ จะไม่มีการ ขัดแย้งใดๆเกิดขึ้น (พุทธทาส ภิกขุ) 171.# Don't find advisors that know how to 'do it.' Find advisors who 'do it.' อย่าหาที่ปรึกษาที่รู้วธิ ีการทา ให้หาที่ปรึกษาที่ 'ลงมือทา' 172. # to know just not to do is not to know. รู้ แต่ไม่ได้ลงมือทา มีค่า เท่ากับไม่รู้ 173. # ถ้าเรามีเงินคนละ 1 บาท แล้วเอามาแลกกัน เรายังคงมีเงินคนละ 1 บาท เท่าเดิม แต่ถ้าเรามีความคิดดีๆ คนละ 1 ความคิด แล้วเอามาแลกกัน เรา จะมีความคิดดีๆ คนละ 2 ความคิด


39 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

 174.ความรักไม่ไช่ การเป็นคนดีพร้อม สมบู รณ์ ของใคร ความรักคือ การหาใครสักคนที่ช่วยให้คุณเป็นคนดีที่สุดเท่าที่คุณดีได้

175. ความมหัศจรรย์ของ "marketing" คือ สามารถ ขายก้อนหินที่ไร้ราคา ให้มีมูลค่ามหาศาลได้ 176. ความสวยของผู้หญิงมีเวลาเป็นเครื่องทาลาย 177.ถ้าเราสู้ เราอาจจะชนะหรืออาจจะแพ้ แต่ถ้าเราไม่สู้ เราจะแพ้ 178.ไม่มีใครปีนบันไดได้สาเร็จ ในขณะที่มอื ทั้ง 2 ข้างยังซุกอยู่ในกระเป๋ากางเกง 179.Internet เป็นได้ทั้งศัตรูที่ร้ายกาจ และเป็นมิตรแท้ที่แสนประเสริฐ ของนัก ธุรกิจทุกประเภท 180.วิธีเดียวที่จะเอาชนะความกลัวในสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้ คือ ลุกขึ้นเผชิญหน้ากับสิ่ง นั้นด้วยความกล้าหาญ 181. การที่จะประสบความสาเร็จนั้น เราต้องเป็นคนที่ง่ายที่จะเริ่ม และยากที่จะ เลิก 182. ทาในสิ่งที่เคยทา ก็จะได้ในสิ่งที่เคยได้ ทาในสิ่งที่ไม่เคยทา ก็จะได้ในสิ่งที่ไม่ เคยได้ 183.มีหลักการ ไม่มีวธิ ีการ = ไปไม่ถึงเป้าหมาย, มีวธิ ีการ ไม่มีหลักการ = ไปผิดเป้าหมาย, มีหลักการ และวิธีการ = ไปถึงเป้าหมาย ที่ถูกต้อง 184. ผู้รู้....คือผู้ที่รู้ว่าตนรู้อะไร และ รู้ว่าตนไม่รู้อะไร


40 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

185.#ข Give a man a fish, and you feed him for a day. Teach a man to fish, and you feed him for life. 186.#ข้อคิด เทียน...ที่นาไปจุดให้เทียนเล่มอื่น มันจะไม่สูญเสียความสว่างในตัวเอง แต่มันจะยิ่งทาให้ห้องสว่างไสวขึ้น 187 การลุกขึ้นจุดเทียนนั้น ดีกว่าการนั่งบ่นอยู่ในความมืด 188.ด คนเรามี 2 ประเภทคือ 1. รวยให้คนอื่นดู 2. มองดูคนอื่นรวย 189. พูด 1 ฟุต สู้ทา 1 นิ้วไม่ได้ คนที่ปรับปรุงไม่ได้ ก้าวหน้าไม่ได้ 190.ต่อยอดอนาคต กาหนดปัจจุบัน สืบสานอดีต ถ้าเรายังจนอยู่ ทาอย่างไรถึงจะ รวย ลอง 191. ไม่จาเป็นที่ต้องเป็นคนเก่งเท่านั้น ที่จะเป็นครูของเราได้ คนไม่เก่งก็เป็นครูของ เราได้ 192.เพราะคนไม่เก่งก็ทาให้เราได้เรียนรู้ว่าเขา ทาอย่างไร พูดอย่างไร คิดอย่างไร เราจะได้ไม่ทา, พูดและคิดแบบเขา 193.เวลาเป็นของมีค่าที่สุด เงินทองหมดไป ยังหามาใหม่ได้ เวลาหมดไป ถึงจะมี เงินแสนล้าน ก็ไม่สามารถหาซื้อกลับมาใหม่ได้ ดังนั้นการใช้เวลา จึงควรคิดให้ดี แต่ถ้าไม่มีจะกิน ก็ต้องหาเงินทองมาซื้อข้าวกินก่อน 194.วิธีคิดของคนรวย คนจน ซื้อสิ่งที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้, คนชั้นกลาง ซื้อสิ่งที่ ก่อให้เกิดรายจ่าย, คนรวย ซื้อสิ่งที่ก่อให้เกิดรายได้


41 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

195.การออกกาลังกายที่ดีที่สุดสาหรับจิตใจ คือ การก้มลงแล้ว ช่วยคนอื่นให้ลุกขึ้น เมื่อคุณช่วยคนอื่นให้ได้ในสิ่งที่เขา 196. คนเราล้มแล้วต้องลุกแต่อย่าลุกบ่อยนัก และ ผู้แพ้คอื ผู้ที่ล้มเลิกเท่านั้น 197.#ข้อคิด วิสัยทัศน์ที่ปราศจากการลงมือทา คือฝันกลางวัน การลงมือทา โดยขาดวิสัยทัศน์ คือฝันร้าย #ข้อคิด Vision without action is Daydream. Action without vision is Nightmare. 198.#ข้อคิด ความยิ่งใหญ่ของชีวติ ไม่ใช่การไม่เคยเป็นผู้ล้มเหลว แต่อยู่ที่การลุก ขึ้นมาทุกครั้ง ที่ล้มเหลวต่างหาก 199. พบเพื่อลา คนเราเกิดมาแล้ว ก็เดินทางไปสู่ความตาย “ พบกันเพื่อรอวันจาก มีมากก็รอเพื่อวันหมด “  

อีกมุมก็บอกเราว่า จากกัน เพื่อรอวันพบ จบกันเพื่อรอวันเริ่มต้น


42 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

...............พ้นรัก.............. ความรักที่ดาเนินไปในทิศทางที่ถกู ต้ องชอบธรรม มีความพอใจด้ วยกันทุกฝ่ ายมีรากฐานอยูค่ คู่ ณ ุ ธรรม ย่อมให้ เกิดความอบอุ่นใจ มีความรู้สกึ ปลอดภัยเมื่ออยู่ใกล้ หรื ออยูท่ ่ามกลางคนอันเป็ นที่รัก ทาให้ จิตใจร่าเริง แจ่มใส มีกาลังใจในการทาความดี ขยันหมัน่ เพียรเพื่อตนและเพื่อคนที่ตนรัก รู้สกึ ตนว่ามีคา่ และพร้ อมที่จะประพฤติคณ ุ ธรรมต่างๆ เช่นความเสียสละ เป็ นต้ น นี่คือคุณที่พอมองเห็นได้ ในปั จจุบนั ส่วนโทษของความรักมีอยูม่ าก เช่นเป็ นต้ นเหตุแห่งความเศร้ าโศกเสียใจ พิไรราพัน ความริษยา ความเกลียดชังผู้อื่นที่เข้ าใจ มาแย่งสิ่งที่รักของตน ความวิตกกังวัลห่วงใย ความที่ใจต้ องคอยจดจ่ออยู่กบั คนอันเป็ นที่รัก รู้สกึ ไม่อิสระ จิตใจถูกจองจาผูกพัน อรารมณ์รักคอยหน่วงเหนี่ยวจิตใจ ให้ วนเวียนอยู่กบั คนที่ตนรักนัน้ ยิ่งหมกหมุน่ มากก็ยิ่งทุกข์มาก ในกรณีที่ความรักสลาย เป็ นพิษขึ ้นมาอีกก็ยิ่งเห็นโทษของมันมากขึ ้น ผู้ที่จิตใจพ้ นจากกระแสแห่งความรักอย่างโลกๆ แล้ ว ย่อมได้ รับการอุดหนุนจากกระแสธรรมซึง่ สงบเยือกเย็นกว่า ปลอดภัยกว่า ไม่ต้องเสี่ยงต่อโทษที่แฝงอยูใ่ นความรักนัน้ เป็ นผู้ปลอดโปร่งแท้ จริง ที่มา: dhamma4ever


43 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

นิสัยนักศึกษา.............

".....เพื่อมิให้ ความผิดหวังเป็ นพิษแก่ จิตใจของเรา ขอให้ สร้ างนิสัยเป็ นนักศึกษาขึน้ คือมองเหตุการณ์ ต่างๆ ที่เกิดขึน้ แก่ เราในแง่ ของการศึกษา เรี ยนรู้ เพื่อประโยชน์ ต่อการ พัฒนาชีวิต จะสังเกตได้ ว่าเหตุการณ์ เดียวกัน ถ้ ามองในแง่ ร้ายอาจให้ ทุกข์ แก่ เราอย่ างมาก แต่ ถ้ามองในแง่ ดีและแง่ ของการศึกษาเรี ยนรู้ แล้ ว อาจให้ ความสุขความพอใจแก่ เราได้ "...สองคนยลตามช่ อง คนหนึ่งมองเห็นโคลนตม คนหนึ่งตาแหลมคม มองเห็นดาวอยู่พราวพราย สิ่งที่เราเห็นว่ าดีในเบือ้ งต้ น อาจกลายเป็ นร้ ายในบัน้ ปลาย ตรงกันข้ าม สิ่งที่เราเห็นว่ าร้ าย อาจกลายเป็ นดีก็ได้ ..." ชีวิตจะต้ องเดินทางผ่ านประสบการณ์ เป็ นอันมาก ความรู้ ความเข้ าใจในชีวิตนัน้ เป็ นวิทยาการอันสูงเยี่ยมกว่ าวิทยาการ ใดๆ เมื่อเข้ าใจชีวิตดีแล้ ว จะเป็ นผู้มีชีวิตอยู่อย่ างเป็ นทุกข์ น้อยที่สุด หรือไม่ มีทุกข์ ทางใจเลย มีชีวิตและทางานอย่ างสงบเหมือนดอกไม้ ออกดอก ตูม บาน ส่ งกลิ่นหอม ร่ วงโรยไปทุกขัน้ ตอนทาอย่ างสงบ....."     


44 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก

จบเอวัง    รณ์   หากท่านช่วยพิมพ์ 

     

มหาบ้านนอก

เขียนรวมไว้ สมัยอยู่จ่าพรรษาที่

 


45 |

1 9 9 คา ก ล อ น ส อ น ใ จ : ม ห า บ้ า น น อ ก 

            


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.