26 ต.ค. 54 รายงานน้ำ กรมชลฯ

Page 1

สถานการณ์ปัจจุบนั : สถานการณ์วิกฤตระดับ 3 เริ่มตั้งแต่ วันจันทร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2554 เวลาทําการ : ตลอด 24 ชั่วโมง 2 ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ํากรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โทรศัพท์ 0 2669 2560 โทรสาร 0 2243 6956, 0 2241 3350, 0 2243 1098 สายด่วน 1460 http://www.rid.go.th/2009, http://hydrology.rid.go.th/wmsc/, E-mail : wmsc.1460@gmail.com สถานการณ์น้ําในช่วงฤดูฝน ปี 2554 วันพุธที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2554 1. สภาพภูมิอากาศ แผนที่อากาศ วันที่ 26 ตุลาคม 2554 (01.00 น.)

แผนที่ลมชั้นบน ระดับ 925 hPa

ภาพถ่ายดาวเทียม GOES-9 IR1

บริเวณความกดอากาศสูงกําลังปานกลางจากประเทศจีน ได้แผ่ลงมาปกคลุมประเทศไทยตอนบนแล้ว ลักษณะ เช่นนี้ทําให้ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีอากาศเย็นกับมีหมอกบางในตอนเช้า และอุณหภูมิจะลดลง 1-3 องศา ส่วนภาคกลางและภาคตะวันออก มีฝนบางแห่งถึงเป็นแห่งๆ อนึ่งมรสุมะวันออกเฉียงเหนือมีกําลังปานกลางพัดปกคลุม อ่าวไทยและภาคใต้ ทําให้บริเวณภาคใต้มีฝนกระจายถึงเกือบทั่วไป และมีฝนตกหนักบางพื้นที่ ส่วนคลื่นลมบริเวณอ่าวไทย จะมีกําลังแรงขึ้น โดยเฉพาะอ่าวไทยตอนล่างมีคลื่นสูง ประมาณ 2 เมตร ขอให้ชาวเรือเดินเรือด้วยความระมัดระวัง 2. สภาพฝน ปริมาณฝนสูงสุดรายภาค ตั้งแต่ เวลา 07.00 น. วันที่ 25 ตุลาคม 2554 จนถึง เวลา 07.00 น. วันที่ 26 ตุลาคม 2554 ดังนี้ ภาคเหนือ ที่ อําเภอเมือง จังหวัดกําแพงเพชร 8.8 มม. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ อําเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 0.7 มม. ภาคกลาง ที่ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพมหานคร 28.5 มม. ภาคตะวันออก ที่ อําเภอกบินทร์บรุ ี จังหวัดปราจีนบุรี 13.7 มม. ภาคใต้ (ฝัง่ ตะวันออก) ที่ อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช 73.8 มม. ภาคใต้ (ฝั่งตะวันตก) ที่ อําเภอเมือง จังหวัดระนอง 19.0 มม.

1

ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ าํ กรมชลประทาน


ปริมาณฝน วันที่ 25 ตุลาคม ปี 2554

ปี 2553

ปริมาณฝนสะสม ตัง้ แต่

ปริมาณฝนสะสม ตั้งแต่

ปริมาณฝนสะสมเทียบกับค่าปกติ

1 – 25 ตุลาคม 2554

1 มกราคม – 25 ตุลาคม 2554

1 มกราคม – 25 ตุลาคม 2554

(ข้อมูลจากกรมอุตุนิยมวิทยา : ฝนวัดไม่ได้ ปริมาณฝนน้อยกว่า 0.1 มม. ฝนเล็กน้อย 0.1-10.0 มม. ฝนปานกลาง 10.1 - 35.0 มม. ฝนหนัก 35.1- 90.0 มม. ฝนหนักมาก 90.1 มม. ขึ้นไป)

27 ต.ค. - 28 ต.ค. 54 7.00 น-19.00 น

19.00 น - 7.00 น.

การคาดการณ์ฝนล่วงหน้า 3 วัน 28 ต.ค. - 29 ต.ค. 54 29 ต.ค. – 30 ต.ค. 54 7.00 น-19.00 น

19.00 น - 19.00 น.

19.00 น - 19.00 น.

(ข้อมูลจาก The National Centers for Environmental Prediction เริ่มพยากรณ์ วันที่ 25 ต.ค. 54) ในช่วงวันที่ 27 ต.ค. – 30 ต.ค. 54 คาดว่า ทุกภาคจะมีฝนตกกระจายทั่วไป ประมาณ 10-30 มม. 3. สภาพน้ําในอ่างเก็บน้ํา สภาพน้ําในอ่างเก็บน้ําขนาดใหญ่และขนาดกลาง ปริมาตรน้ําในอ่างฯ 69,595 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 94 (ปริมาตรน้ําใช้การได้ 45,631 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 62) ปริมาตรน้ําในอ่างฯ เทียบกับปี 2553 (55,119 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็น ร้อยละ 74) มากกว่าปี 2553 จํานวน 14,476 ล้าน ลบ.ม. ปริมาณน้ําไหลลงอ่างฯ จํานวน 200.21 ล้าน ลบ.ม. ปริมาณน้ํา ระบาย จํานวน 238.00 ล้าน ลบ.ม. สามารถรับน้ําได้อีก 4,522 ล้าน ลบ.ม. สภาพน้ําในอ่างเก็บน้ําขนาดใหญ่ ปริมาตรน้ําในอ่างฯ 65,811 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 94 (ปริมาตรน้ําใช้การได้ 42,165 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 60) ปริมาตรน้ําในอ่างฯ เทียบกับปี 2553 (51,600 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 74) มากกว่า ปี 2553 จํานวน 14,211 ล้าน ลบ.ม. ปริมาณน้ําไหลลงอ่างฯ จํานวน 174.74 ล้าน ลบ.ม. ปริมาณน้ําระบายจํานวน 212.84 ล้าน ลบ.ม. สามารถรับน้ําได้อีก 4,346 ล้าน ลบ.ม.

2

ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ าํ กรมชลประทาน


สภาพน้ําในอ่างเก็บน้ําขนาดใหญ่และขนาดกลาง วันพุธที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2554 ขนาดใหญ่ ภาค

ความจุ

จํานวน (แห่ง)

ขนาดกลาง ปริมาตรน้ํา

ที่

%

ในอ่างฯ

รนก.

รนก.

ใช้การ

% รนก.

จํานวน (แห่ง)

ความจุ ที่ รนก.

รวม

ปริมาตรน้ํา ในอ่างฯ

%

ใช้การ

รนก.

% รนก.

จํานวน (แห่ง)

ความจุ ที่ รนก.

รับได้อกี

ปริมาตรน้ํา ในอ่างฯ

% รนก.

ใช้การ

% 3 รนก. (ล้าน ม. )

เหนือ

7

24,721

24,663

100

17,924

73

51

823

816

99

750

91

58

25,544 25,479

100

18,674

73

65

ตอน.

12

8,323

8,700

105

7,057

85

222

1,771

1,940

110

1,798

102

234

10,094

10,640

105

8,855

88

-546

กลาง

3

1,185

1,441

122

1,390

117

9

80

78

98

72

90

12

1,265

1,519

120

1,462

116

-254

ตะวันตก

2

26,605

23,812

90

10,535

40

7

132

115

87

104

79

9

26,737 23,927

89

10,639

40

2,810

ตะวันออก ใต้

5 4

1,173 8,150

1,185 6,010

101 74

1,104 4,313

94 53

47 31

646 508

628 207

97 41

576 166

89 33

52 35

1,819 8,658

1,813 6,217

100 72

1,680 4,479

92 52

6 2,441

รวม

33

70,157

65,811

94

42,165

60

367

3,960

3,784

96

3,466

88

400

74,117 69,595

94

45,631

62

4,522

(หน่วย : ล้าน ลบ.ม.)

สภาพน้ําในอ่างเก็บน้ําเขื่อนภูมิพล สิริกิติ์ แควน้อยฯและป่าสักฯ วันพุธที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2554 ปริมาตรน้ําในอ่างฯ

อ่างเก็บน้ํา

ปริมาตรน้ํา

% ความจุอา่ งฯ

ปริมาตรน้ํา

13,422

100

9,622

71

ภูมพ ิ ล

ปริมาณน้ําไหลลงอ่างฯ

ปริมาตรน้ําใช้การได้ % ความจุอา่ งฯ

ปริมาณน้ําระบาย

ปริมาณน้ํา

วันนี้

เมื่อวาน

วันนี้

เมื่อวาน

รับได้อกี

40.18

51.82

55.00

60.20

40

สิริกิติ์

9,495

100

6,645

70

16.18

17.20

15.31

11.20

15

ภูมิพล+สิรก ิ ิต์ิ

22,917

100

16,267

71

56.36

69.02

70.31

71.40

55

แควน้อยฯ

937

100

894

95

4.24

5.17

1.73

1.73

2

ป่าสักชลสิทธิ์

1,019

130

1,016

129

16.66

25.25

8.67

17.34

-

24,873

101

18,177

74

77.26

99.44

80.71

90.47

57

รวม ภูมิพล สิรก ิ ิต์ิ แควน้อยฯ ป่าสักฯ

(หน่วย : ล้าน ลบ.ม.)

อ่างเก็บน้ําขนาดใหญ่ที่อยู่ในเกณฑ์น้ํา มากกว่าร้อยละ 80 ของความจุอ่างฯ จํานวน 30 อ่างฯ ดังนี้ ปริมาตรน้ําในอ่างฯวันนี้

ปริมาตรน้ําใช้การได้

26 ตุลาคม 2554

26 ตุลาคม 2554

ปริมาณน้ําไหลลงอ่าง

ปริมาณน้ําระบาย

ปริมาณน้ํา

ลําดับที่

อ่างเก็บน้ํา

วันนี้

เมื่อวาน

วันนี้

เมื่อวาน

รับได้อีก

1

ภูมิพล

13,422

100

9,622

71

40.18

51.82

55.00

60.20

40

2

สิริกิติ์

9,495

100

6,645

70

16.18

17.20

15.31

11.20

15

3

แม่งัดสมบูรณ์ชล

270

102

243

92

1.39

1.42

0.50

0.52

-

4

แม่กวงอุดมธารา

258

98

244

93

1.09

1.09

0.82

1.16

5 18

ปริมาตรน้ํา

% ความจุอ่างฯ

ปริมาตรน้ํา

% ความจุอ่างฯ

5

กิ่วลม

94

84

90

80

2.78

3.35

2.06

3.35

6

กิ่วคอหมา

187

110

164

96

0.54

0.40

0.13

0.13

-

7

แควน้อยบํารุงแดน

937

100

894

95

4.24

5.17

1.73

1.73

2

8

น้ําอูน

542

104

499

96

0.64

0.91

2.94

3.20

-

9

น้ําพุง

164

99

155

94

0.24

0.50

0.57

0.62

1

10

จุฬาภรณ์

172

105

120

73

0.55

0.69

0.96

0.99

-

11

อุบลรัตน์

2,801

115

2,220

91

18.67

23.80

32.39

33.56

-

12

ลําปาว

1,980

100

1,880

95

7.78

10.81

7.78

8.01

13

ลําตะคอง

345

110

287

91

1.37

1.08

1.22

0.88

-

14

ลําพระเพลิง

112

102

109

99

0.03

0.00

0.56

0.43

-

15

มูลบน

161

114

134

95

2.90

0.34

3.20

4.22

-

16

ลําแซะ

311

113

268

97

1.71

1.49

1.49

1.49

-

17

ลํานางรอง

101

83

98

81

0.74

1.48

0.00

0.00

20

18

สิรินธร

1,909

97

1,078

55

0.00

3.08

9.40

10.64

57

19

ป่าสักชลสิทธิ์

1,019

130

1,016

129

16.66

25.25

8.67

17.34

-

20

ทับเสลา

164

103

152

95

1.45

1.50

0.00

2.00

-

21

กระเสียว

258

108

200

83

1.84

1.76

2.00

1.58

-

22

ศรีนครินทร์

16,175

91

5,910

33

26.87

25.03

21.96

20.12

1,570

23

วชิราลงกรณ์

7,637

86

4,625

52

6.83

14.02

13.01

13.05

1,223

24

ขุนด่านปราการชล

215

96

210

94

0.48

0.85

0.16

0.15

9

25

คลองสียัด

433

103

403

96

0.00

0.41

2.45

0.93

-

26

บางพระ

107

91

95

81

0.00

0.00

0.99

1.01

10 -

27

หนองปลาไหล

168

102

154

94

2.08

2.43

2.32

2.20

28

ประแสร์

262

106

242

98

1.13

1.04

2.23

2.57

-

29

แก่งกระจาน

575

81

508

72

2.58

4.79

0.17

0.17

135

30

รัชชประภา

4,574

81

3,222

57

9.19

7.50

20.00

19.93

1,065

(หน่วย : ล้าน ลบ.ม.)

3

ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ าํ กรมชลประทาน


4. สภาพน้ําท่า แม่น้ํา

สถานี

ตลิ่ง ความจุ ระดับน้ํา

ทีต่ ั้งสถานี

ม. 1. ปิง ปิง ปิง 2. วัง 3. ยม ยม ยม ยม 4. น่าน น่าน น่าน 5. ชี

P.1 P.7A P.17 W.4A Y.1C Y.4 Y.16 Y.17 N.1 N.5A N.67 E.23 E.20A 6 มูล M.6A M.9 M.7 7 พระสทึง Kgt.10 8 ท่าตะเภา X.158 9 ตาปี X.37A 10 โก-ลก X.119A 11 ค.ตันหยงมัส X.73

ม.3 / วิ.

ม.

ปริมาณน้ํา เมื่อวาน วันนี้ 3 ม. / วิ. ม.3 / วิ.

ต่ํา(-) สูง(+)

อยูใ่ น เกณฑ์ แนวโน้ม

กว่าตลิ่ง

สะพานนวรัฐ

อําเภอเมือง

จังหวัดเชียงใหม่

3.70

440

1.78

62

65

-1.92

สะพานบ้านห้วยยาง บ้านท่างิ้ว บ้านวังหมัน สะพานบ้านน้ําโค้ง สะพานตลาดธานี บ้านบางระกํา บ้านสามง่าม หน้าสํานักงานป่าไม้ สะพานเอกาทศรถ สะพานบ้านเกยไชย บ้านค่าย แนวสะพาน บ้านสะตึก บ้านหนองหญ้าปล้อง สะพานเสรีประชาธิปไตย

อําเภอเมือง อําเภอบรรพตพิสัย อําเภอสามเงา อําเภอเมือง อําเภอเมือง อําเภอบางระกํา อําเภอสามง่าม อําเภอเมือง อําเภอเมือง อําเภอชุมแสง อําเภอเมือง อําเภอมหาชนะชัย อําเภอสตึก อําเภอเมือง อําเภอเมือง

จังหวัดกําแพงเพชร จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดตาก จังหวัดแพร่ จังหวัดสุโขทัย จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดพิจิตร จังหวัดน่าน จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดยโสธร จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดศีรสะเกษ จังหวัดอุบลราชธานี

5.87 38.08 7.10 8.20 7.43 7.15 7.04 7.00 10.54 28.30 9.00 10.00 5.40 9.00 7.00

4,035 1,815 753 1,000 702 357 1,300 1,548 1,520 340 1,215 303 187 2,600

2.65 36.90 3.21 1.35 4.40 10.68 6.52 1.05 4.84 28.12 7.81 10.99 7.85 11.95 9.78

1,072 1,115 133 74 322 1,060 870 125 445 1,469 148 1,606 1,347 427 4,546

1,150 1,157 140 80 175 1,070 910 128 481 1,480 155 1,621 1,402 417 4,525

-3.22 -1.18 -3.89 -6.85 -3.03 3.53 -0.52 -5.95 -5.70 -0.18 -1.19 0.99 2.45 2.95 2.78

บ้านสระขวัญ ที่สะพานบ้านวังครก บ้านย่านดินแดง บ้านปาเสมัส บ้านตันหยงมัส

อําเภอเมือง อําเภอท่าแซะ อําเภอพระแสง อําเภอสุไหงโก-ลก อําเภอระแงะ

จังหวัดสระแก้ว จังหวัดชุมพร จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

11.50 12.20 11.70 8.20 15.58

314 748 734 244 137

6.08 4.73 7.52 4.32 11.17

16 85 122 29 13

17 56 136 29 11

-5.42 -7.47 -4.18 -3.88 -4.41

น้อย ปกติ มาก ปกติ น้อย ปกติ ท่วม มาก น้อย ปกติ มาก ปกติ ท่วม ท่วม ท่วม

ลดลง ลดลง ลดลง ลดลง ลดลง เพิ่มขึ้น ลดลง ลดลง ลดลง ลดลง ลดลง ลดลง ลดลง ลดลง เพิ่มขึ้น

ท่วม น้อย น้อย ปกติ น้อย น้อย

เพิ่มขึน้ ลดลง เพิ่มขึ้น ลดลง ทรงตัว เพิ่มขึ้น

หมายเหตุ: เครื่องหมาย – หมายถึง ไม่ได้รับรายงาน

แม่น้ําเจ้าพระยา สถานี C.2 ที่ อ.เมือง จ.นครสวรรค์ มีปริมาณน้ําไหลผ่าน 3,935 ลบ.ม./วินาที (เมื่อวาน 4,038 ลบ.ม./วินาที) ระดับน้ํา +26.45 เมตร สูงกว่าตลิ่ง 0.25 เมตร เขื่อนเจ้าพระยา สถานี C.13 ที่ อ.สรรพยา จ.ชัยนาท มีปริมาณน้ําไหลผ่าน 3,394 ลบ.ม./วินาที (เมื่อวาน 3,426 ลบ.ม./ วินาที) ระดับน้ําเหนือเขื่อน +17.44 ม.รทก. (เมื่อวาน +17.48 ม.รทก.) ระดับน้ําท้ายเขื่อน +17.28 ม.รทก. (เมื่อวาน +17.32 ม.รทก.) รับน้ําเข้าระบบส่งน้ําทุ่งฝั่งตะวันออก ปริมาณน้ําไหลผ่าน 28 ลบ.ม./วินาที (เมื่อวาน 28 ลบ.ม./วินาที) คลองชัยนาท-ป่าสัก (ปตร.มโนรมย์) 28 ลบ.ม./วินาที คลองชัยนาท-อยุธยา (ปตร.มหาราช ) ปิดการระบาย คลองเล็กอื่นๆ ปิดการระบาย โดยรับน้ําเข้าคลองระพีพัฒน์ (ปตร.พระนารายณ์) 51 ลบ.ม./วินาที รับน้ําเข้าระบบส่งน้ําทุ่งฝั่งตะวันตก ปริมาณน้ําไหลผ่าน 676 ลบ.ม./วินาที (เมื่อวาน 679 ลบ.ม./วินาที) คลอง มะขามเฒ่าอู่ทอง (ปตร.มะขามเฒ่า-อู่ทอง) 40 ลบ.ม./วินาที แม่น้ําสุพรรณ 421 ลบ.ม./วินาที (ปตร.พลเทพ 344 ลบ.ม./วินาที คลองเล็กอื่นๆ 77 ลบ.ม./วินาที) แม่น้ําน้อย ปตร.บรมธาตุ 215 ลบ.ม./วินาที เขื่อนพระรามหก อัตราการไหลเฉลี่ย 251 ลบ.ม./วินาที (เมื่อวาน 359 ลบ.ม./วินาที) อ.บางไทร สถานี C.29 วันนี้ น้ําล้นตลิ่ง (เมื่อวาน 3,503 ลบ.ม./วินาที)

4

ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ าํ กรมชลประทาน


ปตร.คลองลัดโพธิ์ ปริมาณน้ําไหลผ่าน 58.58 ล้าน ลบ.ม. (เมื่อวาน 59.25 ล้าน ลบ.ม.) อัตราการไหลเฉลี่ย 678.05 ลบ.ม./วินาที (เมื่อวาน 685.71 ลบ.ม./วินาที) ระยะเวลาเปิดการระบายน้ํา 24.00 ชั่วโมง ทุ่งเจ้าพระยาฝั่งตะวันออกตอนล่าง รวมสูบและระบายทั้งหมดวันละ 34.00 ล้าน ลบ.ม. โดยได้เร่งระบายน้าํ ลง แม่น้ําเจ้าพระยาวันละ 3.01 ล้าน ลบ.ม. ระบายน้ําลงแม่น้ํานครนายกวันละ 3.09 ล้าน ลบ.ม. ระบายน้ําลงแม่น้ําบางปะกง วันละ 5.96 ล้าน ลบ.ม. ระบายน้ําลงอ่าวไทยวันละ 21.94 ล้าน ลบ.ม. (สูบจากคลองชายทะเลลงอ่าวไทยวันละ 17.35 ล้าน ลบ.ม. และสูบจากสถานีสูบน้ําสุวรรณภูมิลงอ่าวไทยวันละ 4.59 ล้าน ลบ.ม.) ทุ่งเจ้าพระยาฝั่งตะวันตกตอนล่าง รวมสูบและระบายทั้งหมดวันละ 25.60 ล้าน ลบ.ม. โดยได้เร่งระบายน้ํา ลงแม่น้ําเจ้าพระยาวันละ 3.61 ล้าน ลบ.ม. ระบายน้ําลงแม่น้ําท่าจีนวันละ 21.99 ล้าน ลบ.ม. 5. สถานการณ์น้ําท่วม ภาคเหนือและภาคกลาง 1. จังหวัดพิษณุโลก มีพื้นที่ประสบอุทกภัย ทั้งหมด 6 อําเภอ คือ อําเภอบางระกํา อําเภอพรหมพิราม อําเภอเมือง อําเภอบางกระทุ่ม อําเภอวังทอง อําเภอวัดโบสถ์ โครงการชลประทานพิษณุโลกได้ส่งเครื่องสูบน้ําเข้าช่วยเหลือ รวม 28 เครื่อง สถานการณ์น้ํามีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง คาดว่าจะกลับสู่ภาวะปกติภายใน 1-2 วัน 2. จังหวัดพิจิตร ปัจจุบันมีพื้นที่น้ําท่วมในพื้นที่ลุ่มทั้งหมด 10 อําเภอ ได้แก่ อําเภอสามง่าม อําเภอบึงนาราง อําเภอโพทะเล อําเภอวชิรบารมี อําเภอเมือง อําเภอตะพานหิน อําเภอบางมูลนาก อําเภอสากเหล็ก อําเภอวังทรายพูน และอําเภอโพธ์ประทับช้าง รวมพื้นที่ประมาณ 693,812 ไร่ โครงการชลประทานพิจิตรส่งเครื่องสูบน้ําเคลื่อนที่เข้า ช่วยเหลือพื้นที่ จํานวน 32 เครื่อง 3. จังหวัดกําแพงเพชร แม่น้ําปิงเข้าท่วมพื้นที่ลุ่มต่ํา ในพื้นที่ อําเภอโกสัมพีนคร อําเภอเมือง อําเภอขาณุวรลักษบุรี โครงการชลประทานกําแพงเพชรส่งเครื่องสูบน้ําเข้าช่วยเหลือ จํานวน 4 เครื่อง และจะเข้าสู่ภาวะปกติในระยะเวลา 2-3 วัน 4. จังหวัดเพชรบูรณ์ ยังคงมีน้ําท่วมขังจากแม่น้ําป่าสักล้นตลิ่ง จํานวน 4 อําเภอ คือ อําเภอหนองไผ่ อําเภอ บึงสามพัน อําเภอวิเชียรบุรี และอําเภอศรีเทพ ปัจจุบันสถานการณ์มีแนวโน้มทรงตัว โครงการชลประทานเพชรบูรณ์จัดส่ง เครื่องสูบน้ําเข้าช่วยเหลือพื้นที่ จํานวน 1 เครื่อง คาดว่าสถานการณ์น้ําจะกลับสู่ภาวะปกติภายใน 1-2 วัน 5. จังหวัดนครสวรรค์ มีพื้นที่น้ําท่วม จํานวน 15 อําเภอ แบ่งเป็น พื้นที่น้ําหลากเนื่องจากฝนตกหนัก มี 5 อําเภอ คือ อําเภอตากฟ้า อําเภอแม่เปิน อําเภอไพศาลี อําเภอชุมตาบง อําเภอแม่วงศ์ พื้นที่น้ําท่วมขัง มี 10 อําเภอ คือ อําเภอ ชุมแสง อําเภอเก้าเลี้ยว อําเภอเมือง อําเภอโกรกพระ อําเภอตาคลี อําเภอพยุหะคีรี อําเภอท่าตะโก อําเภอหนองบัว อําเภอลาดยาว อําเภอบรรพตพิสัย สถานการณ์น้ําท่วมมีแนวโน้มลดลงอย่างช้าๆ โดยมีพื้นที่ที่อยู่ในสถานการณ์วิกฤต 4 อําเภอ คือ อําเภอชุมแสง อําเภอเมือง อําเภอโกรกพระ อําเภอพยุหะคีรี พื้นที่การเกษตรเสียหาย 903,401 ไร่ คาดว่าจะเข้า สู่ภาวะปกติภายใน 3-4 สัปดาห์ โครงการชลประทานนครสวรรค์ส่งเครื่องสูบน้ําเข้าช่วยเหลือพื้นที่ จํานวน 67 เครื่อง 6. จังหวัดอุทัยธานี น้ําท่วมจากน้ําล้นตลิ่งแม่น้ําเจ้าพระยาเข้าท่วมพื้นที่ราบลุ่มต่ําริมฝั่งแม่น้ําเจ้าพระยาที่ตําบล หาดทะนง ตําบลสะแกกรัง ตําบลน้ําซึม ตําบลท่าซุง ตําบลเนินแจ้ง ตําบลหนองไผ่แบน ตําบลดอนขวาง และตําบลเกาะเทโพ อําเภอเมือง รวม 32,296 ไร่ ซึ่งเป็นพื้นที่นอกเขตชลประทาน และสถานการณ์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 7. จังหวัดชัยนาท มีพื้นที่น้ําท่วมขังในพื้นที่ลุ่มจากปริมาณฝนตกสะสม จํานวน 8 อําเภอ 49 ตําบล คือ อําเภอ สรรพยา อําเภอหันคา อําเภอเมือง อําเภอวัดสิงห์ อําเภอมโนรมย์ อําเภอหนองมะโมง อําเภอสรรคบุรี และอําเภอเนินขาม เป็นพื้นที่การเกษตร รวม 111,460 ไร่ ได้ส่งเครื่องสูบน้ําเข้าช่วยเหลือพื้นที่ท้งั หมด จํานวน 21 เครื่อง 5

ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ าํ กรมชลประทาน


8. จังหวัดสิงห์บุรี พื้นที่น้ําขังจากน้ําล้นตลิ่งจากคลองชัยนาท-ป่าสัก (ทุ่งเชียงราก) จํานวน 4 อําเภอ คือ อําเภอ เมือง อําเภอพรหมบุรี อําเภอท่าช้าง และอําเภอบางระจัน พื้นที่เกษตรเสียหายประมาณ 26,263 ไร่ 9. จังหวัดอ่างทอง ยังคงมีพื้นที่น้ําท่วมจากน้ําล้นตลิ่ง รวม 7 อําเภอ 71 ตําบล 447 หมู่บ้าน ได้แก่ อําเภอ ป่าโมก อําเภอเมือง อําเภอวิเศษชัยชาญ อําเภอไชโย อําเภอโพธิ์ทอง อําเภอสามโก้ อําเภอแสวงหา ได้รับผลกระทบ 28,272 ครัวเรือน พื้นที่ทางการเกษตรเสียหาย 97,577 ไร่ โครงการชลประทานอ่างทองได้ส่งเครื่องสูบน้ําเข้าช่วยเหลือ พื้นที่ จํานวน 50 เครื่อง 10. จังหวัดสุพรรณบุรี เกิดน้ําล้นตลิ่งไหลเข้าท่วมพื้นที่ 5 อําเภอ คือ อําเภอเมือง อําเภอสามชุก อําเภอดอน เจดีย์ อําเภออู่ทอง อําเภอสองพี่น้อง พื้นที่ประสบภัยน้ําท่วม ประมาณ 53,116 ไร่ มีพื้นที่เสี่ยงภัยโดยเฉพาะพื้นที่ลุ่มต่ํา ที่ติดแม่น้ําท่าจีน มี 3 อําเภอ คือ อําเภอเดิมบางนางบวช อําเภอศรีประจันต์ อําเภอบางปลาม้า 11. จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ยังมีพื้นที่น้ําท่วมขังจากน้ําล้นตลิ่ง จํานวน 16 อําเภอ คือ อําเภอบางบาล อําเภอ บางปะอิน อําเภอบางไทร อําเภอผักไห่ อําเภอเสนา อําเภอพระนครศรีอยุธยา อําเภอมหาราช อําเภอบางปะหัน อําเภอ นครหลวง อําเภอบางซ้าย อําเภอบ้านแพรก อําเภอวังน้อย อําเภอท่าเรือ อําเภอภาชี อําเภอบัวหลวง และอําเภออุทัย พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่นอกคั้นกั้นน้ํา โครงการชลประทานพระนครศรีอยุธยา ได้ส่งเครื่องสูบน้ําเข้าช่วยเหลือพื้นที่ จํานวน 42 เครือ่ ง และเครื่องสูบน้ําด้วยไฟฟ้าส่งเข้าช่วยเหลือในพื้นที่พระราชวังบางปะอิน จํานวน 2 เครื่อง ที่ อําเภอบางบาล 1 เครื่อง 12. จังหวัดนครปฐม มีน้ําท่วมขังจากแม่น้ําท่าจีนล้นตลิ่ง จํานวน 7 อําเภอ คือ อําเภอบางเลน อําเภอนครชัยศรี อําเภอสามพราน อําเภอดอนตูม อําเภอกําแพงแสน อําเภอพุทธมณฑล อําเภอเมือง พื้นที่การเกษตรเสียหาย 61,321 ไร่ โครงการนครปฐมได้ส่งเครื่องสูบน้ําเข้าช่วยเหลือพื้นที่ จํานวน 9 เครื่อง และติดเครื่องผลักดันน้ําที่สะพานสําโรง-ลานตาก ฟ้า อําเภอนครชัยศรี จํานวน 14 เครื่อง สถานการณ์น้ําในแม่น้ําท่าจีนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 13. จังหวัดลพบุรี ยังคงมีพื้นที่ประสบภัย จํานวน 10 อําเภอ คือ อําเภอเมือง อําเภอบ้านหมี่ อําเภอท่าวุ้ง อําเภอชัยบาดาล อําเภอพัฒนานิคม อําเภอท่าหลวง อําเภอหนองม่วง อําเภอลําสนธิ อําเภอสระโบสถ์ และอําเภอ โคกเจริญ โครงการชลประทานลพบุรีได้ส่งเครื่องสูบน้ําเข้าช่วยเหลือพื้นที่ จํานวน 52 เครื่อง 14. จังหวัดสระบุรี แม่น้ําป่าสักมีแนวโน้นลดลง หากไม่มีการระบายน้ําเพิ่ม และไม่มีฝนตกหนักเพิ่มในเขตพื้นที่ คาดว่าจะเข้าสู่ภาวะปกติภายในสัปดาห์นี้ โครงการชลประทานสระบุรีได้ส่งเครื่องสูบน้ําเข้าช่วยเหลือ จํานวน 12 เครื่อง 15. จังหวัดปทุมธานี น้ําเอ่อล้นเข้าท่วมพื้นที่ 7 อําเภอ อําเภอเมือง อําเภอสามโคก อําเภอคลองหลวง อําเภอ ธัญบุรี อําเภอหนองเสือ อําเภอลาดหลุมแก้ว อําเภอลําลูกกา โครงการชลประทานปทุมธานีได้จัดส่งเครื่องสูบน้ําเข้า ช่วยเหลือพื้นที่ จํานวน 66 เครื่อง 16. จังหวัดนนทบุรี น้ําเอ่อล้นเข้าท่วมพื้นที่ลุ่มต่ําริมแม่น้ําเจ้าพระยาและริมคลองขนาดใหญ่ 6 อําเภอ คือ อํ าเภอบางบั วทอง อําเภอบางใหญ่ อํ าเภอเมื อง อํ าเภอปากเกร็ด อําเภอบางกรวย และอํ าเภอไทรน้ อย โครงการ ชลประทานนนทบุรี ได้ส่งเครื่องสูบน้ําเข้าช่วยเหลือพื้นที่ จํานวน 54 เครื่อง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 17. จังหวัดนครราชสีมา น้ําได้ล้นตลิ่งแม่น้ํามูลเข้าท่วมพื้นที่การเกษตรและชุมชนในพื้นที่ 4 อําเภอ คือ อําเภอชุมพวง อําเภอเมืองยาง อําเภอโนนสูง (ระดับน้ํายังทรงตัว) อําเภอพิมาย (ระดับน้ํามีแนวโน้มสูงขึ้น) โครงการ ชลประทานนครราชสีมาได้ติดตั้งเครื่องผลักดันน้ําในลําน้ําลําตะคอง จํานวน 12 เครื่อง 6

ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ าํ กรมชลประทาน


18. จังหวัดสกลนคร ยังคงมีน้ําท่วมบริเวณรอบหนองหารและลุ่มน้ําก่ํา ในเขต อําเภอเมือง อําเภอโคกศรีสุพรรณ และอําเภอโพนนาแก้ว มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง ได้ส่งเครื่องสูบน้ําเข้าช่วยเหลือพื้นที่น้ําท่วมขัง จํานวน 1 เครื่อง หากไม่มีฝนตกหนัก สถานการณ์น้ําจะเข้าสู่ภาวะปกติภายใน 5-6 วัน 19. จังหวัดกาฬสินธุ์ มีพื้นที่ประสบอุทกภัย ประมาณ 48,307 ไร่ ใน 6 อําเภอ คือ อําเภอเมือง อําเภอ กุฉินารายณ์ อําเภอห้วยผึ้ง อําเภอกมลาไสย อําเภอยางตลาด และอําเภอฆ้องชัย โครงการชลประทานกาฬสินธุ์ได้ส่ง เครื่องสูบน้ําเข้าช่วยเหลือพื้นที่อําเภอกมลาไสย อําเภอเมือง รวม 30 เครื่อง คาดว่าจะเข้าสู่ภาวะปกติภายใน 3-4 วัน 20. จังหวัดขอนแก่น มีพื้นที่ประสบภัยน้ําท่วม 9 อําเภอ คือ อําเภอชนบท อําเภอเมือง อําเภอมัญจาคีรี อําเภอน้ําพอง อําเภอบ้านไผ่ อําเภอบ้านแฮด อําเภอพระยืน อําเภอหนองเรือ อําเภออุบลรัตน์ พื้นที่การเกษตร เสียหายประมาณ 339,462 ไร่ 21. จังหวัดมหาสารคาม ระดับน้ําในลําน้ําชี ช่วงผ่านจังหวัดมหาสารคามสูงขึ้นเล็กน้อย จากการระบายน้ําของเขื่อน อุบลรัตน์ ทําให้เกิดน้ําท่วมขังแผ่กระจายในเขตที่ลุ่มต่ําติดลําน้ําชี ครอบคลุมพื้นที่ 6 อําเภอ คือ อําเภอโกสุมพิสัย อําเภอ เชียงยืน อําเภอกันทรวิชัย อําเภอเมืองมหาสารคาม อําเภอวาปีปทุม และอําเภอพยัคฆภูมิพิสัย พื้นที่ประสบภัย 223,611 ไร่ คาดว่าจะเสียหาย 181,037 ไร่ (ข้อมูลเกษตรจังหวัดมหาสารคาม) โครงการชลประทานมหาสารคามได้จัดส่งเครื่องสูบน้ําเข้า ช่วยเหลือพื้นที่ประสบภัยจํานวน 36 เครื่อง ช่วยเหลือสูบระบายน้ําออกจากพื้นที่ท่วมขัง 22. จังหวัดร้อยเอ็ด สถานการณ์น้ําในลุ่มน้ําชีและลุ่มน้ํายังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ปัจจุบันมีพื้นที่ประสบภัยรวม 14 อําเภอ คือ อําเภอโพธิ์ชัย อําเภอเสลภูมิ อําเภออาจสามารถ อําเภอพนมไพร อําเภอเชียงขวัญ อําเภอทุ่งเขาหลวง อําเภอธวัชบุรี อําเภอจังหาร อําเภอเกษตรวิสัย อําเภอเมือง อําเภอโพนทราย อําเภอเมืองสรวง อําเภอหนองฮี อําเภอ สุวรรณภูมิ รวม 220,224 ไร่ โครงการชลประทานร้อยเอ็ดได้ส่งเครื่องสูบน้ําเคลื่อนที่เข้าช่วยเหลือ รวม 27 เครื่อง สถานการณ์น้ําในลุ่มน้ําชี และลุ่มน้ํายังมีแนวโน้มทรงตัว แต่สถานการณ์น้ําในลุ่มน้ําเสียวใหญ่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 23. จังหวัดยโสธร ยังคงมีพื้นที่น้ําท่วมขังในพื้นที่ลุ่มต่ํา รวม 9 อําเภอ คือ อําเภอเมือง อําเภอคําเขื่อนแก้ว อําเภอ มหาชนะชัย อําเภอเลิงนกทา อําเภอกุดชุม อําเภอป่าติ้ว อําเภอทรายมูล อําเภอไทยเจริญ และอําเภอค้อวัง รวม 234,255 ไร่ โครงการชลประทานยโสธรได้ส่งเครื่องสูบน้ําเข้าช่วยเหลือพื้นที่ จํานวน 5 เครื่อง สถานการณ์น้ํามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 24. จังหวัดอุบลราชธานี มีพื้นที่ประสบภัยน้ําท่วม 5 อําเภอ คือ อําเภอเมือง อําเภอวารินชําราบ อําเภอเขื่องใน อําเภอสว่างวีระวงศ์ อําเภอพิบูลมังสาหาร พื้นที่เกษตรได้รับความเสียหาย 106,394 ไร่ สถานการณ์น้ําท่วมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 25. จังหวัดศรีสะเกษ มีพื้นที่ประสบภัย 15 อําเภอ คือ อําเภอกันทรารมย์ อําเภอกันทรลักษ์ อําเภอโนนคูณ อําเภอเมืองจันทร์ อําเภอน้ําเกลี้ยง อําเภอไพรบึง อําเภอราศีไศล อําเภอห้วยทับทัน อําเภอเมือง อําเภอศิลาลาด อําเภอภูสิงห์ อําเภอยางชุมน้อย อําเภออุทุมพรพิสัย อําเภอขุขันธ์ อําเภอขุนหาร พื้นที่การเกษตรเสียหายประมาณ 76,638 ไร่ โครงการชลประทานศรีสะเกษจัดส่งเครื่องสูบน้ําเข้าช่วยเหลือพื้นที่ จํานวน 1 เครื่อง 26. จังหวัดสุรินทร์ น้ําในแม่น้ํามูลเอ่อล้นตลิ่งเข้าท่วมพื้นที่ 9 อําเภอ 74 ตําบล คือ อําเภอเมือง อําเภอสําโรงทาบ อําเภอท่าตูม อําเภอชุมพลบุรี อําเภอศรีณรงค์ อําเภอรัตนบุรี อําเภอกาบเชิง อําเภอจอมพระ และอําเภอสังขะ พื้นที่ การเกษตรรวม 154,388 ไร่ ราษฎรที่ได้รับความเดือนร้อน ประมาณ 17,071 ครัวเรือน โครงการชลประทานสุรินทร์ จัดส่งเครื่องสูบน้ําเข้าช่วยเหลือพื้นที่ จํานวน 7 เครื่อง

7

ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ าํ กรมชลประทาน


ภาคตะวันออก 27. จังหวัดนครนายก ยังคงมีน้ําในพื้นที่ล่มุ ต่ําริมตลิ่งแม่น้ํานครนายก จํานวน 4 อําเภอ คืออําเภอเมือง อําเภอ ปากพลี อําเภอองครักษ์ และอําเภอบ้านนา โครงการชลประทานนครนายกได้จัดส่งเครื่องสูบน้ําเคลื่อนที่เข้าช่วยเหลือ จํานวน 16 เครื่อง และจะเข้าสู่สภาวะปกติภายใน 3-5 วัน 28. จังหวัดปราจีนบุรี ยังคงมีน้ําท่วม พื้นที่ทางการเกษตร ที่ อําเภอบ้านสร้างประมาณ 30-50 ซ.ม. 29. จังหวัดฉะเชิงเทรา มีพื้นที่น้าํ ท่วม 9 อําเภอ คือ อําเภอเมือง อําเภอบางน้ําเปรี้ยว อําเภอบางคล้า อําเภอ คลองเขื่อน อําเภอพนมสารคาม อําเภอแปลงยาว อําเภอราชสาส์น อําเภอสนามชัยเขต อําเภอบ้านโพธิ์ พื้นที่เสียหาย รวม 446,894 ไร่ โครงการชลประทานฉะเชิงเทราได้จัดส่งเครื่องสูบน้ําเคลื่อนที่ เข้าช่วยเหลือพื้นที่ จํานวน 8 เครื่อง 6. สถานการณ์น้ําในแม่น้ําโขง (ข้อมูล ณ วันอังคารที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2554) สรุปสถานการณ์น้ําในแม่น้ําโขง วันอังคารที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2554 สถานี

ระดับตลิ่ง

ระดับน้ํา

ระดับน้ํา

+ สูงกว่าตลิ่ง

+ เพิ่มขึ้นจากเมื่อวาน

(วันนี้)

(เมื่อวาน)

- ต่ํากว่าตลิ่ง

- ลดลงจากเมื่อวาน

แนวโน้ม

อ.เชียงแสน จ.เชียงราย

11.80

3.05

3.38

-8.75

-0.33

ลดลง

อ.เชียงคาน จ.เลย

17.40

7.68

7.65

-9.72

0.03

เพิ่มขึ้น

อ.เมือง จ.หนองคาย

12.20

5.20

5.29

-7.00

-0.09

ลดลง

อ.เมือง จ.นครพนม

12.70

5.72

5.93

-6.98

-0.21

ลดลง

อ.เมือง จ.มุกดาหาร

12.60

5.74

5.97

-6.86

-0.23

ลดลง

อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี

16.20

8.51

8.76

-7.69

-0.25

ลดลง

หมายเหตุ : ระดับ : รสม. ข้อมูลจาก www.mrcmekong.org

8

ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ าํ กรมชลประทาน


7.การเตรียมความพร้อมและการให้ความช่วยเหลืออุทกภัย กรมชลประทานได้เตรียมความพร้อมเครื่องสูบน้ํา จํานวน 1,193 เครื่อง เพื่อช่วยเหลือพื้นที่ประสบอุทกภัย ตาม จังหวัดต่างๆ ปัจจุบัน ได้มีการสนับสนุนเครื่องสูบน้ําเคลื่อนที่ รวมทั้งหมด 965 เครื่อง ในพื้นที่ 45 จังหวัด สนับสนุนเครือ่ งสูบน้ําเคลือ่ นที่รวมทั้งหมด 965 เครื่อง ในพื้นที่ 45 จังหวัด ภาค

จังหวัด

เครือ่ งสูบน้ํา

รายชื่อจังหวัด

(เครือ่ ง)

(จํานวนเครือ่ งสูบน้ํา)

เหนือ

9

151

ลําพูน (1) น่าน (15) พิษณุโลก (21) พิจิตร (30) นครสวรรค์ (73) อุตรดิตถ์ (1) ตาก (6) สุโขทัย (3) กําแพงเพชร (1)

ตะวันออกเฉียงเหนือ

14

175

เลย (2) ขอนแก่น (24) มหาสารคาม (36) ร้อยเอ็ด (21) กาฬสินธุ์ (29) ชัยภูมิ (11) อุบลราชธานี (11) ยโสธร (5) นครพนม (7) อํานาจเจริญ (5) นครราชสีมา (7) บุรีรัมย์ (2) สุรินทร์ (4) ศรีสะเกษ (11)

กลาง,ตะวันออก, ตะวันตก

20

607

นครนายก (17) ปราจีนบุรี (29) ฉะเชิงเทรา (14) สระแก้ว (2) ชลบุรี (2) ระยอง (4) ชัยนาท (39) ลพบุรี (52) สิงห์บุรี (62) สระบุรี (19) พระนครศรีอยุธยา (60) อ่างทอง (39) อุทัยธานี (12) สุพรรณบุรี (63) นนทบุรี (79) ปทุมธานี (70) กรุงเทพฯ (8) สมุทรสาคร (1) สมุทรปราการ (2) นครปฐม (33)

ใต้

2

32

นครศรีธรรมราช (7) สงขลา (25)

รวม

45

965

สนับสนุนรถยนต์บรรทุกน้ํา (แผน 295 คัน) แยกเป็น ภาคเหนือ 55 คัน, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 90 คัน, ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก 114 คัน, ภาคใต้ 36 คัน ออกช่วยเหลือ จํานวน 4 คัน ดังนี้ จังหวัดขอนแก่น 1 คัน, นครราชสีมา 1 คัน และ จังหวัดนนทบุรี 2 คัน 1460,1460,1460,1460,1460,1460,1460,1460,1460,1460,1460,1460,1460,1460,1460,1460,1460

นายพัชรินทร์ นายพรชัย

พิมพ์สิงห์ พ้นชั่ว

วิศวกรชลประทานชํานาญการ ผอ.ศปส.ชป.

9

รายงาน ตรวจ

ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ าํ กรมชลประทาน


10

ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ าํ กรมชลประทาน


11

ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ าํ กรมชลประทาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.