ยุทธการล้มพรรคร่วมรัฐบาลกับวิธีป้องกันแก้ไขปัญหา รองศาสตราจารย์ ดร.วรพล พรหมิ กบุตร นักวิ ชาการเพื่อประชาธิ ปไตยและสันติ วิธี (๑) นิ รโทษกรรมประชาชน : ประวัติศาตร์แห่งการเปลี่ยนแปลง เมือ่ ถึงวันเปิดประชุมสภาผูแ้ ทนราษฎร สมัยสามัญนิตบิ ญ ั ญัติ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๖ ข้อมูลและความเคลือ่ นไหวทางการเมืองทีป่ รากฏทัง้ ในทางผลักดันสนับสนุ นและคัดค้าน ต่อต้านการพิจารณาออกกฎหมายพระราชบัญญัตนิ ิรโทษกรรมประชาชนทีก่ ระทําผิดเกีย่ วเนื่อง กับการชุมนุ มทางการเมือง (ร่างพระราชบัญญัตนิ ิรโทษกรรม ฉบับ สส.วรชัย เหมะ) ก็ทะยอย ปรากฏให้ประเมินได้วา่ ร่างกฎหมายฉบับดังกล่าวจะสามารถผ่านการรับรองในวาระที่ ๑ (การ รับหลักการ) ของสภาผูแ้ ทนราษฎรได้ไม่ยากนัก ขณะเขียนต้นฉบับนี้ยงั ไม่สามารถประเมินได้ ว่าร่างกฎหมายฉบับดังกล่าวจะสามารถผ่านมติสภาผูแ้ ทนราษฎร วาระที่ ๒ และวาระที่ ๓ ภายในวันเดียวกันได้หรือไม่ และยังจะผ่านวาระที่ ๓ ได้หรือไม่ภายในกีว่ นั หลังจากนัน้ ไม่ว่าพรรคประชาธิปตั ย์และเครือข่ายกลุม่ พลังต่อต้านกฎหมายนิรโทษกรรมให้i ประชาชนจะดําเนินการอย่างไรทัง้ ในและนอกรัฐสภาหรือไม่วา่ จะใช้บริการตุลาการภิวตั น์ในศาล ต่าง ๆ อย่างไรก็ไม่น่าจะสามารถยับยัง้ การพิจารณาเพือ่ รับหลักการร่างกฎหมายดังกล่าววาระที่ ๑ ในวันที่ ๗-๘ สิงหาคมได้ ซึง่ นันหมายความว่ ่ าความพยายามในการแก้ไชปญั หาความขัดแย้ง ระหว่างประชาชนทีม่ คี วามเห็นทางการเมืองแตกต่างกันในช่วงหลายปีทผ่ี า่ นมาก็จะคืบหน้าไป ได้อกี ถึง ๑ ใน ๓ ส่วน กลไกบริหารทีเ่ ป็ นแกนนําและ สส. ลูกพรรคจํานวนหนึ่งของพรรคการเมืองฝา่ ย ค้าน (พรรคประชาธิปตั ย์) ประกาศในเวทีปราศรัยมวลชนนอกรัฐสภาแสดงการคัดค้านต่อต้าน ร่างกฎหมายดังกล่าวอย่างแข็งกร้าวทัง้ ๆ ทีร่ ่างกฎหมายนัน้ มีเนื้อหาทีเ่ ป็ นคุณต่อมวลชน พันธมิตรประชาธิปไตยฯทีส่ นับสนุ นพรรคประชาธิปตั ย์ในการต่อต้านล้มล้างอํานาจรัฐบาลพรรค พลังประชาชน (พ.ศ. ๒๕๕๑) แต่ใช้วธิ กี ารผิดกฎหมายโดยบุกยึดสนามบินของรัฐ แกนนํา พรรคประชาธิปตั ย์ยงั แถลง “ข้อแนะนํา (ที่ไม่เป็ นมิ ตร)” ให้นายกรัฐมนตรีกระทําการในทางที่ ขัดต่อบทบัญญัตริ ฐั ธรรมนูญ (กล่าวคือ แนะนําให้นายกรัฐมนตรีดาํ เนินการให้ถอนร่างกฎหมาย ดังกล่าวออกจากการประชุมพิจารณาของรัฐสภา) ความเคลือ่ นไหวเหล่านี้บง่ ชีถ้ งึ ความตกตํ่า ทางการเมืองมากยิง่ ขึน้ กว่าทีต่ กตํ่ามากอยูแ่ ล้ว ในทางตรงข้าม การแถลงของสํานักงานตํารวจแห่งชาติทไ่ี ด้รบั มอบหมายให้ รับผิดชอบดูแลความมันคงตามพระราชบั ่ ญญัตคิ วามมันคงฯ ่ พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึง่ จะใช้อาํ นาจรักษา ควมสงบเรียบร้อยของการชุมนุ มมวลชนทีต่ ่อต้านรัฐบาลปจั จุบนั เป็ นคําแถลงทีบ่ ่งชีถ้ งึ ความ แตกต่างและวุฒภิ าวะทางการเมืองทีเ่ หนือกว่าการดําเนินนโยบายของรัฐบาลพรรคประชาธิปตั ย์ ทีเ่ คยสังการสลายการชุ ่ มนุ มของคนเสือ้ แดงด้วยกองทัพและอาวุธกระสุนจริงสังหารประชาชน สาระสําคัญตอนหนึ่งของคําแถลงจากผูบ้ ญ ั ชาการตํารวจแห่งชาติ คือ ประชาชนสามารถใช้สทิ ธิ 1
ชุมนุ มได้ แต่ตอ้ งดําเนินการภายในขอบเขตกฎหมาย ไม่มอี าวุธ และใม่ใช้ความรุนแรงในการ ชุมนุ ม จุดยืนเชิงยุทธศาสตร์ขององค์กรประชาชนเสือ้ แดงทีส่ นับสนุ นร่างกฎหมาย ดังกล่าวและมีขอบเขตครอบคลุมกว้างขวางมากทีส่ ดุ คือ นปช. ทีแ่ ถลงให้แกนนําและสมาชิก รวมพลังกันอยูใ่ นทีต่ งั ้ ทําให้โอกาสการปะทะระหว่างมวลชนทีเ่ ข้าร่วมชุมนุ มต่อต้านรัฐบาลกับ มวลชนเสือ้ แดงทีส่ นับสนุ นร่างกฎหมายดังกล่าวหมดไป เหลือเพียงการสร้างสถานการณ์ความ รุนแรงขึน้ เองระหว่างผูจ้ ดั การชุมนุ มกับผูช้ ุมนุ มทีต่ กเป็ นเหยือ่ ทางการเมือง ข้อแนะนําให้ถอนร่างกฎหมายนิรโทษกรรมฉบับดังกล่าวออกจากการประชุม พิจารณาวันที ่ ๗ สิงหาคม รวมทัง้ ข้อแนะนําคล้ายกันว่าถึงแม้รฐั สภาไม่สามารถออกกฎหมายนิร โทษกรรมเป็ นพระราชบัญญัตไิ ด้ แต่รฐั บาลก็ออกกฎหมายนิรโทษกรรมเป็นพระราชกําหนด แทนได้นนั ้ ไม่น่าจะมีผลเป็ นจริงได้อกี ต่อไป พระราชบัญญัตนิ ิรโทษกรรมประชาชนฉบับนี้จะเป็นกฎหมายนิรโทษกรรมฉบับ แรกในประวัตศิ าสตร์การเมืองไทยทีเ่ กิดจากผลของความร่วมมือผลักดันทัง้ ทางความคิด ข้อมูล ความรู้ และพลังการขับเคลื่อนต่อเนื่องทางการเมืองตามระบอบประชาธิปไตยระหว่างประชาชน กับพรรคการเมืองในรัฐสภาทีใ่ ห้ความสําคัญกับประชาชนผูร้ ว่ มชุมนุ มทางการเมืองมากกว่าแกน นําผูช้ ุมนุ มและอํานาจรัฐทีส่ งการปราบปรามการชุ ั่ มนุ มทางการเมือง (๒) การสร้างสถานการณ์ รนุ แรงและยุทธศาสตร์การล้มรัฐบาล การระดมมวลชนเพือ่ ชุมนุ มประท้วงการพิจารณาร่างกฎหมายนิรโทษกรรมที่ แกนนําพรรคประชาธิปตั ย์และแนวร่วมพันธมิตรประกาศต่อต้านข้างต้นเป็ นเพียงกระบวนวิธี ขัน้ ต้นในเส้นทางยุทธศาสตร์การยึดอํานาจการเมืองเบ็ดเสร็จรอบใหม่ซง่ึ กลุม่ อํานาจคณาธิปไตย ดัง้ เดิม (คณะรัฐประหาร ๒๕๔๙ และกลุม่ ผูบ้ งการ) จะต้องพยายามดําเนินการตามขัน้ ตอนต่าง ๆ ให้สาํ เร็จก่อนทีส่ มาชิกรัฐสภาเสียงส่วนใหญ่จะสามารถแก้ไขรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ และก่อนที่ พรรคร่วมรัฐบาลปจั จุบนั จะสามารถดําเนินการผลักดันร่างพระราชบัญญัตเิ งินกู้ ๒.๒ ล้าน ๆ บาทและโครงการพัฒนามูลค่ามหาศาลของประเทศได้ต่อไป โดยกลุม่ อํานาจคณาธิปไตยและ พรรคประชาธิปตั ย์ไม่สามารถเข้าควบคุมผลประโยชน์ของชาติไว้ในกํามือได้ต่อไป ในฐานะทีเ่ ป็ นกระบวนวิธใี นขัน้ ตอนแรกของยุทธศาสตร์การยึดอํานาจกลับคืน, การสร้างสถานการณ์รุนแรงให้กระทบกระทังกั ่ บเจ้าหน้าทีต่ าํ รวจจึงเป็ นวัตถุประสงค์สาํ คัญของ กลุ่มผูบ้ งการเบื้องหลังการชุมนุ ม โดยจะต้องเป็ นการกระทบทางกายภาพทีแ่ นบเนียนควบคูก่ บั การดําเนินยุทธวิธเี ปิดช่องทางให้ระบบสือ่ สารมวลชนสามารถรายงานเป็ นข่าวในทิศทางทีม่ งุ่ ชี้ ว่าเป็ นความผิดของเจ้าหน้าทีต่ าํ รวจควบคุมฝูงชน เพือ่ ก่อผลกระทบทางการเมืองลูกโซ่ต่อไป ในการขยายข่าวสารข้อมูลว่าเป็นการละเมิดสิทธิของประชาชนทีร่ ฐั บาลนางสาวยิง่ ลักษณ์ ชิน วัตรต้องแสดงความรับผิดชอบ ผูบ้ งการเบือ้ งหลังและผูเ้ กีย่ วข้องกับการจัดการชุมนุ มดังกล่าว
2
สามารถประเมินทราบได้ลว่ งหน้าอยูแ่ ล้วว่ารัฐบาลจะไม่ปฏิบตั ติ ามข้อเรียกร้องหรือการกล่าว อ้างของแกนนําผูช้ ุมนุ ม ยุทธศาสตร์ความรุนแรงและกระบวนการข่าวสารปรักปรําเจ้าหน้าทีต่ าํ รวจและ รัฐบาลดังกล่าวยังเป็ นขัน้ ตอนก่อนการนํากรณีเหตุการณ์สถานการณ์รนุ แรงนัน้ ไปสร้างเป็นคดี ทางการเมืองและ คดีทางอาญาของผูด้ าํ รงตําแหน่งทางการเมือง ในศาลยุตธิ รรม ศาลปกครอง และศาลรัฐธรรมนูญ (ซึง่ จะมีทงั ้ นักกฏหมายทีท่ าํ งานให้พรรคประชาธิปตั ย์และกลุม่ พันธมิตร เดิมพร้อมจะให้บริการทางคดีอยูแ่ ล้ว) และยังเป็ นไปได้วา่ จะมีการนํากรณีดงั กล่าวไปยืน่ เรือ่ ง เป็ นวาระเร่งด่วนในวุฒสิ ภาเพือ่ พิจารณาถอดถอนนายกรัฐมนตรีและรองนายกรัฐมนตรีฝา่ ย ความมันคง ่ รวมทัง้ อาจรวมถึงการขูถ่ อดถอนผูบ้ ญ ั ชาตํารวจแห่งชาติ หากเข้าเงือ่ นไขตามที่ กฎหมายกําหนด (ซึง่ สมาชิกวุฒสิ ภาทีม่ าจากการแต่งตัง้ พร้อมทีจ่ ะใช้อาํ นาจดําเนินการอยูแ่ ล้ว) ขัน้ ตอนยุทธวิธขี า้ งต้นมีวตั ถุประสงค์นําร่องในการสร้างบรรยากาศระสํา่ ระสาย ั ่ ว่ นทางการเมืองมากขึน้ ตามลําดับเพือ่ สอดรับกับหลักการเรือ่ ง “ความ(ไม่)มันคง และความปนป ่ แห่งชาติ” ทีส่ ามารถมีผนู้ ําไปใช้เป็นเหตุผลข้ออ้างสนับสนุ นความจําเป็ นทีก่ องทัพจําเป็ นจะต้อง เข้ามีสว่ นร่วมดูแลแก้ไขปญั หาความขัดแย้ง ในขันตอนนี ้ ้เราจะสังเกตเห็นการใช้ประโยชน์จาก สํานักสํารวจความคิดเห็นประชาชน (โพล) เพิม่ เติมมากขึน้ รวมทัง้ การดําเนินยุทธการข่าวสาร เพือ่ โน้มน้าวความคิดเห็นสาธารณะของประชาชนว่ารัฐบาลนางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตรรวมทัง้ กลไกบริหารต่าง ๆ ภายในบังคับบัญชาไม่สามารถรักษาความสงบเรียบร้อยตามลําพัง และไม่ สามารถบริหารจัดการความขัดแย้งภายในได้ แรงกดดันเหล่านี้จะสร้างความระสํ่าระสายและ ความคิดเห็นอันไม่เป็ นเอกภาพภายในกลไกบริหารของพรรคเพือ่ ไทย พรรคร่วมรัฐบาล และ สมาชิกวุฒสิ ภาทีส่ นับสนุ นการผ่านร่างพระราชบัญญัตนิ ิรโทษกรรมและร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญได้ พอสมควรในทางปฏิบตั ิ ความคิดเห็นไม่เป็ นเอกภาพนี้จะไม่ปรากฏทางสือ่ มวลชนจนกว่ากลุม่ ผูเ้ คลือ่ นไหวแสดงความคิดเห็นทีค่ ดิ แย้งแตกต่างกันภายในระบบพรรคร่วมรัฐบาลจะสามารถตก ผลึกความคิดทางใดทางหนึ่งได้เรียบร้อยแล้ว การแสดงความเห็นแย้งแตกต่างทีไ่ ม่เป็นทาง หนึ่งทางเดียวกันนัน้ จะสามารถก่อผลในทางยับยัง้ การผ่านร่างพระราชบัญญัตนิ ิรโทษกรรมฉบับ นี้ได้หรือไม่จะมีความชัดเจนขึน้ ภายในคํ่าวันที่ ๖ สิงหาคมนี้ หากการเคลือ่ นไหวของฝา่ ยค้าน ทัง้ ในและนอกรัฐสภาผนวกกับความเห็นแย้งถ่วงรัง้ ภายในกลไกพรรครัฐบาลประสบผลสําเร็จทํา ให้รฐั สภาไม่สามารถผ่านร่างพระราชบัญญัตนิ ิรโทษกรรมถึงวาระที่ ๓ ได้ ก็จะมีผลกระทบเป็ น ความล้มเหลวในการแก้ไขรัฐธรรมนูญตามร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญทีร่ อการพิจารณาอยูใ่ นรัฐสภา แล้ว ๔ ฉบับ (โดยเฉพาะอย่างยิง่ ร่างแก้ไขว่าด้วยทีม่ าของสมาชิกวุฒสิ ภาให้มาจากการเลือกตัง้ ทัง้ หมด) หากพลังของฝา่ ยต่อต้านคัดค้านไม่สามารถคุกคามข่มขูใ่ ห้เสียงส่วนใหญ่ในรัฐสภา หวาดกลัวได้ โอกาสความสําเร็จในการแก้ไขรัฐธรรมนูญจะมีมากขึน้ ควบคูก่ บั ความเข้มแข็ง ของมวลชนฝา่ ยทีส่ นับสนุ นรัฐบาล สาธารณชนยังคงจําเป็ นต้องรอความชัดเจนจากการแถลงที่ เป็ นทางการของรัฐสภาเกีย่ วกับการบรรจุวาระและความคืบหน้าหรืออุปสรรคการชะงักงันในการ แก้ไขรัฐธรรมนูญทีค่ า้ งวาระการประชุมในรัฐสภา ความมันคงและเข้ ่ มแข็งของประชาธิปไตย
3
ตามระบอบรัฐสภาทีเ่ คารพเสียงส่วนใหญ่จะเพิม่ ชึน้ หรือลดลงจึงขึน้ อยูก่ บั ผลรูปธรรมของการ พิจารณาร่างพระราชบัญญัตนิ ิรโทษกรรมฉบับนี้หลายส่วน แกนนําแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) แถลงชัดเจน แล้วว่าให้สมาชิกรวมตัวเตรียมความพร้อมอยูใ่ นทีต่ งั ้ และไม่ให้ตกเป็ นเหยือ่ ทางการเมืองทีน่ ํา กลุ่มมวลชนเสือ้ แดงออกมาชุมนุ มเผชิญหน้ากับกลุม่ ผูต้ ่อต้านรัฐบาล ขณะทีฝ่ า่ ยทีม่ งุ่ สร้างภาวะ ั ่ ว่ นและสถานการณ์รุนแรงเพือ่ การยึดอํานาจกลับคืนมีวตั ถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์ ความปนป ตามลําดับขัน้ ตอนเหล่านัน้ ในการกระตุน้ ให้มวลชนเสือ้ แดงเคลือ่ นกําลังออกมาเผชิญหน้ากับ ั ่ ว่ นวุน่ วายทางการเมืองต่อเนือ่ งและ มวลชนทีต่ ่อต้านรัฐบาล เพือ่ สร้างบรรยากาศความปนป เพิม่ เติมให้ถงึ ระดับทีจ่ ะสามารถจัดการล้มล้างรัฐบาลพรรคเพือ่ ไทยต่อไปได้ กลุม่ ผูก้ ําหนด ยุทธศาสตร์การล้มรัฐบาลทีบ่ งการอยูเ่ บื้องหลังการชุมนุ มมวลชนต่อต้านรัฐบาลครัง้ นี้ไม่มวี ธิ อี นื ่ ใดเหลืออยูน่ อกจากการประเมินว่าจะใช้วธิ ตี ุลาการภิวตั น์หรือวิธรี ฐั ประหารในสถานการณ์ “สุก ั ่ ว่ นวุน่ วายแบบจลาจลโดยกลุม่ มวลชนคุม้ คลังปะทะขยายวง งอม” ทีเ่ กิดจากการสร้างภาวะปนป ่ กว้าง (มวลชนเสือ้ แดงอิสระกลุม่ ย่อยหลายกลุ่มและนักเคลือ่ นไหวข่าวสารข้อมูลทีม่ สี ถานีวทิ ยุ ชุมชนของตนเองบางกลุ่มมีภมู หิ ลังทางอารมณ์ทอี ่ ่อนไหวต่อการถูกกระตุน้ ให้ดาํ เนินกิจกรรม ข่าวสารกระตุน้ ยัวยุ ่ มวลชนเสือ้ แดงต่อไปอีกทอดหนึง่ ให้เคลือ่ นตัวแสดงตนเผชิญหน้าตอบโต้กบั มวลชนทีช่ ุมนุ มต่อต้านรัฐบาลนางสาวยิง่ ลักษณ์ การตอบโต้กนั ระหว่างมวลชนจะยิง่ ช่วยหนุ น เสริมให้แผนยุทธศาสตร์ของกลุม่ ผูม้ ุ่งล้มล้างรัฐบาลนางสาวยิง่ ลักษณ์ในการชุมนุ มครัง้ นี้บรรลุ เป้าหมายใกล้ผลสําเร็จมากขึ้น การเพิม่ สถานการณ์ความรุนแรงและความวุน่ วายบานปลาย นอกจากจะเพิม่ ความยากลําบากต่อเจ้าหน้าทีต่ าํ รวจในการควบคุมดูแลการชุมนุ มให้อยูภ่ ายใน กรอบของกฎหมายแล้วยังสร้างภาระทางการเมืองเพิม่ เติมให้แก่รฐั บาลพรรคเพือ่ ไทยโดยตรง คําแถลงเป็ นทางการเมือ่ วันที่ ๓ สิงหาคมทีผ่ า่ นมาของแกนนํานปช.ทัวประเทศช่ ่ วยป้องกัน ปญั หานํ้าผึง้ หยดเดียวทีอ่ าจจเกิดจากภาวะอารมณ์ววู่ ามของกลุม่ สมาชิก นปช. ได้เป็ นอย่างดี (คงเหลือแต่ภาวะ “จงใจวูว่ าม” ทีอ่ าจปรากฏขึน้ ได้ไม่มากนัก) แม้วา่ แกนนํา นปช.จะแถลงจุดยืน และเผยแพร่ขา่ วสารแจ้งเตือนกลุ่มสมาชิกเพือ่ ป้องกันผลกระทบเสียหายเช่นนัน้ แล้ว แต่กย็ งั จําเป็ นต้องดําเนินการต่อเนื่องด้วยการเผยแพร่ขา่ วสารข้อมูลติดตามสถานการณ์และยํ้าให้ มวลชนเสือ้ แดงรวมตัวดําเนินกิจกรรมด้วยความตื่นตัวเตรียมความพร้อมอยูใ่ นทีต่ งั ้ ห่างไกลจุด ชุมนุ มเคลือ่ นไหวของกลุม่ ผูต้ ่อต้านรัฐบาล ไม่ใช่เพือ่ รอวันปะทะกับมวลชนต่อต้านรัฐบาลแต่ เพือ่ จับตาดูความเคลือ่ นไหวของกลุม่ ผูน้ ํากองทัพ (ว่าจะสังการเคลื ่ อ่ นกําลังพลออกกระทํา รัฐประหารหรือไม่) เป้าหมายหลักของมวลชนเสือ้ แดงในการต่อสูก้ บั พายุการเมืองครึง่ หลังของ ปี ๒๕๕๖ ไม่ใช่การกําราบ “มวลชนแช่แข็งประเทศไทย” ในสนามชุมนุ มมวลชน แต่เป็นการ เตรียมความพร้อมและสะสมความเข้มแข็งของพลังประชาธิปไตยไว้ในทีต่ งั ้ สําหรับการกําราบ ผูน้ ํากองทัพทีย่ งั คงหรืออาจยังคงมีความคิดฉวยโอกาสยกระดับอํานาจสูงสุดของตนด้วยการก่อ กบฎตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๓ โดยการวางแผนกระทํารัฐประหาร การยับยัง้ การ รัฐประหารได้สาํ เร็จจะกดดันให้กลุม่ คณาธิปไตยจําเป็นต้องใช้บริการจากอํานาจตุลาการภิวตั น์
4
และการใช้อาํ นาจถอดถอนของสมาชิกวุฒสิ ภาในอาณัตกิ ารแต่งตัง้ ของตน อย่างไรก็ตาม, อํานาจตุลาการภิวตั น์ทฉ่ี บั พลันรุนแรงเท่าทีม่ อี ยูใ่ นกลไกตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในปจั จุบนั อ่อน เปลีย้ พลังการเมืองและสูญเสียความชอบธรรมตามหลักนิตธิ รรมถึงระดับตกตํ่าจนถูกประชาชน แจ้งความจดําเนินคดีอาญาร้ายแรงแล้วหลายคดี หากศาลรัฐธรรมนูญกําหนดวันประชุม พิจารณาคดีทางการเมืองทีม่ ตี าํ แหน่งนายกรัฐมนตรีหรือสมาชิกรัฐสภา ๓๐๐ กว่าคนเป็ นเดิม พัน (ซึง่ มีความเป็นไปได้ว่าจะเกิดขึน้ ภายใน ๑-๒ เดือน) คณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญจะเปิด “เกม” ต่อสูก้ บั นักการเมืองในระบบรัฐสภาทีเ่ ป็ นเสียงส่วนใหญ่ของอํานาจนิตบิ ญ ั ญัตใิ นปจั จุบนั ซึง่ ผูเ้ ขียนเห็นว่านักการเมืองในระบบรัฐสภาทัง้ ทีเ่ ป็ น สส. ในพรรคร่วมรัฐบาลและสมาชิก วุฒสิ ภาทีม่ าจากการเลือกตัง้ ในฐานะทีเ่ ป็นตัวแทนโดยชอบธรรมของประชาชนสามารถบริหาร จัดการและต่อสูด้ ว้ ยวิถที างรัฐสภาตามกฎหมายกับปญั หาการใช้อาํ นาจของตุลาการศาล รัฐธรรมนูญชุดปจั จุบนั ได้ กล่าวโดยสรุป ยุทธศาสตร์การยึดอํานาจเบ็ดเสร็จรอบใหม่ (อํานาจนิตบิ ญ ั ญัติ อํานาจบริหาร อํานาจตุลาการ และอํานาจองค์กรตามรัฐธรรมนูญทุกส่วน) ปรากฏให้เห็นความ เคลือ่ นไหวชัดเจนเป็ นลําดับแล้ว โดยมีจุดมุง่ หมายเพือ่ ล้มล้างอํานาจบริหารของพรรคเพือ่ ไทย และพรรคร่วมรัฐบาลปจั จุบนั ควบคูไ่ ปกับการดําเนินกระบวนวิธที ม่ี ผี ลในทางคุกคามข่มขู่ หรือ พยายามทําให้ผดู้ าํ รงตําแหน่งทางการเมืองในรัฐสภาทีม่ อี าํ นาจนิตบิ ญ ั ญัตทิ งั ้ สมาชิกสภาผูแ้ ทน ราษฎรเสียงส่วนใหญ่และสมาชิกวุฒสิ ภารวมกันจํานวนกว่า ๓๐๐ คนพ้นจากตําแหน่ง (ด้วยการ ใช้กฎหมายผนวกอํานาจศาลรัฐธรรมนูญและอํานาจถอดถอนของวุฒสิ ภา และ/หรือด้วยวิธผี ดิ กฎหมายโดยการรัฐประหารซึง่ อาจลงมือก่อนหรือหลังสลับกันตามการประเมินสถานการณ์ของ เจ้าของแผนยุทธศาสตร์) ขัน้ ตอนระยะแรกในแผนยุทธศาสตร์ดงั กล่าวเริม่ ต้นขึน้ แล้วหลังจากที่ พรรคประชาธิปตั ย์ใช้สทิ ธิตามกฎหมายเคลือ่ นไหวนําร่องเดินสายเปิดเวทีปราศัยตามโครงการ “ผ่าความจริง” ในหลายจังหวัดทัวประเทศ ่ โดยมีการถ่ายทอดเผยแพร่ทางสถานีโทรทัศน์บลู สกายของพรรคประชาธิปตั ย์ และต่อมาแกนนําพรรคประชาธิปตั ย์แสดงตนให้เห็นชัดเจนขึน้ ว่า มีบทบาทสําคัญในการผลักดันสนับสนุ นการเคลือ่ นไหวมวลชนทีม่ งุ่ ล้มรัฐบาลพรรคเพือ่ ไทยและ อ้าง “ระบอบทักษิณ” เป็ นจําเลย รวมทัง้ การประกาศในเวทีปราศรัยทัง้ ก่อนและหลังวันนัดชุมนุม เป็ นการเรียกร้องเชิญชวนประชาชนให้เข้าร่วมชุมนุ มต่อต้านรัฐบาลนางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร ด้วยวาทกรรม “ล้มล้างระบอบทักษิณ” อีกรอบหนึ่ง (อย่างไรก็ตาม พรรคประชาธิปตั ย์จะไม่เข้า ร่วมเป็นแกนนําการชุมนุ มอย่างเป็นทางการโดยมติพรรค แต่จะปล่อยให้อดีตนายทหารและแกน นํามวลชนนอกพรรคต้องเผชิญกับความเสีย่ งในการถูกดําเนินคดีต่อไปตามลําพัง) เส้นทางยุทธศาสตร์การยึดอํานาจเบ็ดเสร็จระยะแรกยังคงเป็นวิธกี ารทีด่ าํ เนิน ได้ตามกฎหมาย กล่าวคือ การใช้สทิ ธิเผยแพร่แสดงความเห็นในการปราศรัยทางการเมือง (แต่ บางกรณีอาจมีการกระทําผิดกฎหมายเล็กน้อยบางส่วนเช่นการหมิน่ ประมาทด้วยการโฆษณา หรือบางกรณีอาจถึงขัน้ การใส่รา้ ยป้ายสีพรรคการเมืองอื่นทีอ่ าจเข้าข่ายความผิดตามกฎหมาย พรรคการเมือง เป็ นต้น) แต่การใช้สทิ ธิแสดงความเห็นหรือการวิจารณ์รฐั บาลภายในกรอบของ
5
กฎหมายไม่สามารถจะมีผลในการล้มล้างอํานาจบริหารของพรรคเพือ่ ไทยและพรรคร่วมรัฐบาล ปจั จุบนั ได้ การชุมนุ มมวลชนต่อต้านรัฐบาลโดยใช้วธิ กี ารภายในขอบเขตของกฎหมายก็ไม่ สามารถมีผลในการล้มล้างรัฐบาลได้ (ไม่วา่ จะมีประชาชน ๑ คนหรือแสนคนเข้าร่วมชุมนุ มขับไล่ รัฐบาลตามวาทกรรมประวัตศิ าสตร์ของหัวหน้าพรรคประชาธิปตั ย์เอง) ดังนัน้ การดําเนินยุทธวิธี ตามขัน้ ตอนต่าง ๆ ทีม่ งุ่ หวังผลทางปฏิบตั เิ ป็ น “บันไดการเมือง” นําไปสูก่ ารใช้อาํ นาจตุลาการภิ วัตน์ การใช้อาํ นาจถอดถอนของวุฒสิ ภา และการใช้อาํ นาจรุนแรงเบ็ดเสร็จโดยการรัฐประหาร จึงถูกออกแบบขึน้ และเริม่ ปฏิบตั กิ ารในทางปฏิบตั บื างส่วนแล้วตามลําดับขัน้ ตอน ลําดับขัน้ ตอนของยุทธศาสตร์การล้มรัฐบาลและการหวังผลตามขัน้ ตอนต่าง ๆ ทีเ่ ป็นส่วนประกอบของยุทธศาสตร์ภาพรวมข้างต้นเป็นการประมวลจากข้อมูลและสถานการณ์ ความเป็นไปได้มากทีส่ ดุ เท่าทีม่ ขี อ้ มูลรองรับถึงปจั จุบนั การป้องกันการล้มล้างอํานาจบริหาร และอํานาจนิตบิ ญ ั ญัตทิ ผี ่ พู้ ยายามล้มล้างมุ่งใช้วธิ กี ารทีผ่ ดิ กฎหมายและขัดรัฐธรรมนูญเป็นสิง่ ที ่ ประชาชนตามระบอบประชาธิปไตยควรกระทําด้วยความรูเ้ ท่าทัน ความไม่ประมาท และความ ไม่ตกเป็นเหยือ่ ของการสร้างสถานการณ์ทกี ่ ลับส่งเสริมความพยายามทีผ่ ดิ ทํานองคลองธรรม (๓) บทอภิ ปราย ฐานข้อมูลทีป่ รากฏชัดเจนแน่นอนแล้วในสถานการณ์การเมืองกลางปี ๒๕๕๖ คือ กลุม่ บุคคลและองค์กรต่าง ๆ รวมทัง้ แกนนําพรรคประชาธิปตั ย์ (รวมหัวหน้าพรรคและอดีต เลขาธิการพรรคทีอ่ ยูร่ ะหว่างการถูกดําเนินคดีเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการใช้อาํ นาจสลายการชุมนุ ม ทีม่ เี จตนาเล็งเห็นผลให้ประชาชนเสือ้ แดงเสียชีวติ ) ต่างก็เข้ามีสว่ นร่วมในการเคลือ่ นไหวกดดัน เพือ่ ล้มรัฐบาลนางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร หรือเพือ่ ให้รฐั บาลดังกล่าวพ้นจากตําแหน่ง แต่วธิ กี ารทีจ่ ะทําให้รฐั บาลนางสาวยิง่ ลักษณ์พน้ จากตําแหน่งด้วยวิถที างตาม รัฐธรรมนูญและตามบทบัญญัตขิ องกฎหมายกลายเป็ นสิง่ ทีท่ าํ ได้ยากยิง่ ในสถานการณ์ปจั จุบนั อีกทัง้ ยังเป็ นการสร้างปญั หาคดีความทางกฎหมายย้อนกลับไปยังบุคคลในตําแหน่งทีม่ อี าํ นาจ ในลูกโซ่กระบวนการตุลาการภิวตั น์ซง่ึ แม้วา่ จะเคยสามารถกระทําการดังกล่าวต่อรัฐบาลนาย สมัคร สุนทรเวชและรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ ์ต่อเนื่องกันในปี ๒๕๕๑ แต่ผลของการดําเนิน กระบวนการตุลาการภิวตั น์เหล่านัน้ กําลังย้อนกลับมาเป็นโทษต่อผูใ้ ช้อาํ นาจตุลาการภิวตั น์ใน ทํานองเดียวกับทีน่ ายอภิสทิ ธิ ์ เวชชชีวะและนายสุเทพ เทือกสุบรรณกําลังเผชิญกับข้อกล่าวหา เป็ นคดีการกระทําผิดร้ายแรงของแต่ละคน วิธกี ารเคลือ่ นไหวของบุคคลหรือองค์กรภายนอกคณะรัฐมนตรีทต่ี อ้ งการล้ม รัฐบาลและสามารถกระทําได้โดยชอบธรรมตามรัฐธรรมนูญและตามกฎหมายเท่าทีม่ อี ยูเ่ ป็ น แนวทางหลัก ได้แก่ (๑) การอภิปรายไม่ไว้วางใจทีส่ ามารโน้มน้าวมติเสียงส่วนใหญ๋ในสภา ผูแ้ ทนราษฎรให้ลงมติไม่ไว้วางใจ (๒) การใช้อาํ นาจตามรัฐธรรมนูญของวุฒสิ ภาและด้วย ข้อเท็จจริงประกอบหลักกฎหมายทีเ่ ป็ นธรรมในการลงมติถอดถอนนายกรัฐมนตรีออกจาก ตําแหน่ง (๓) การใช้อาํ นาจศาลรัฐธรรมนูญตามบทบัญญัตริ ฐั ธรรมนูญและด้วยข้อเท็จจริงและ
6
หลักกฎหมายทีเ่ ป็ นธรรมในการวินิจฉัยว่านายกรัฐมนตรีขาดคุณสมบัตทิ างการเมืองตาม บทบัญญัตขิ องกฎหมาย (๔) การใช้สทิ ธิเรียกร้องของประชาชนจํานวนมากเพียงพอทีจ่ ะทําให้ รัฐบาลเห็นว่าไม่สามารถบริหารประเทศต่อไปซึง่ จะดําเนินการประกาศลาออกหรือยุบสภา ผูแ้ ทนราษฎรตามทีน่ ายกรัฐมนตรีมอี าํ นาจเห็นสมควรหรือไม่สมควรได้ตามกฎหมาย วิ ธีที่ ๑ ไม่สามารกระทําได้ในช่วงเวลานี้เนื่องจากการประชุมรัฐสภาสมัยสามัญ ครัง้ นี้เป็นการประชุมสมัยนิตบิ ญ ั ญัตหิ รือเพือ่ การพิจารณาบัญญัตกิ ฎหมายต่าง ๆ เป็ นสําคัญ ซึง่ กฎหมายกําหนดไว้ไม่ให้มกี ารยืน่ เรือ่ งขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล (และแม้วา่ จะมีการ เปิดอภิปรายรัฐบาลโดยไม่ลงมติกไ็ ม่น่าจะมีขอ้ มูลเพียงพอทีจ่ ะล้มรัฐบาลได้) พรรคประชาธิปตั ย์ จึงต้องรอจนกว่าสภาจะปิดประชุมสมัยสามัญครัง้ นี้และเปิดประชุมสมัยสามัญครัง้ ต่อไป (ซึง่ ย่อม เป็นความอึดอัดกระวนกระวายใจของกลุม่ ผูส้ งการระดมมวลชนมาชุ ั่ มนุ มต่อต้านรัฐบาลครัง้ นี้วา่ หากจะต้องรอจนถึงวันนัน้ อํานาจครอบงําระบบการเมืองตามรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ ของเครือข่าย คณาธิปไตยจากการรัฐประหาร ๒๕๔๙ อาจสูญเสียไปโดยผลของการแก้ไขรัฐธรรมนูญทีอ่ ยูใ่ น วาระการพิจารณาของรัฐสภาในสมัยการประชุมครัง้ นี้แล้ว) วิ ธีที่ ๒ อยูใ่ นข่ายทีก่ ลุม่ ทีต่ อ้ งการล้มรัฐบาลจะดําเนินการต่อไปได้เนื่องจากมี การวางรากฐานการยืน่ เรือ่ งให้องค์กรต่างๆ ตรวจสอบคุณสมบัตขิ องนายกรัฐมนตรีไว้ก่อนแล้ว และสมาชิกวุฒสิ ภา “กลุ่ม ๔๐ สว.” เคยเคลือ่ นไหวทางการเมืองเพือ่ วางรากฐานข้อมูลเป็ น เอกสารทีเ่ กีย่ วข้องไว้เตรียมพร้อมสามารถดําเนินการให้วฒ ุ สิ ภาพิจารณาเพือ่ ลงมติถอดถอน นายกรัฐมนตรีต่อไปได้ (ในทางปฏิบตั ิ วิธกี ารนี้กย็ งั ไม่สามารถทําได้โดยง่ายหรือทําสําเร็จได้ ยากหากไม่มสี ถานการณ์สบั สนวุน่ วายทางการเมืองเพิม่ เติม ทัง้ นี้เนือ่ งจากความอ่อนแอ นํ้าหนักฐานข้อมูลของกลุม่ สว. ดังกล่าวและข้อกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องยังไม่เข้าข่ายทีส่ มาชิก วุฒสิ ภาจํานวนมากจะเห็นด้วยได้) วิ ธีที่ ๓ ในสถานการณ์ปจั จุบนั ตกอยูใ่ นสภาพใกล้เคียงกับวิธที ่ี ๒ และมีความ เสีย่ งเพิม่ เติมทีเ่ ป็ นโทษต่อคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญชุดปจั จุบนั มากขึน้ แต่ในทางปฏิบตั กิ ม็ ี การเตรียมความพร้อมโดยการวางรากฐานการยืน่ คําร้องเอาผิดต่อสมาชิกรัฐสภา ๓๐๐ กว่าคน ไว้แล้ว และมีการวางรากฐานการยืน่ เรือ่ งร้องเรียนศาลปกครองและองค์กรอื่นทีอ่ าจใช้อาํ นาจ เป็ นขัน้ บันไดต่อยอดให้ศาลรัฐธรรมนูญใช้อาํ นาจวินิจฉัยในทางทีเ่ ป็ นคุณหรือโทษต่อตําแหน่ง นายกรัฐมนตรีของนางสาวยิง่ ลักษณ์ไว้กอ่ นหน้านี้แล้ว วิ ธีที่ ๔ คือวิธที ถ่ี กู เลือกใช้เป็นบันไดเริม่ ต้นในยุทธศาสตร์การกดดันเพือ่ ล้ม รัฐบาลนางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร โดยจะเป็ นขัน้ บันไดต่อยอดนําไปสูเ่ หตุการณ์อ่นื ๆ ทีม่ งุ่ หวัง ผลให้มกี ารใช้อาํ นาจล้มรัฐบาลนางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตรต่อไป การใช้อาํ นาจเพือ่ ล้มรัฐบาลดังกล่าวเป็ นบันไดต่อยอดตามวิธกี ารที่ ๔ ข้างต้น ยังมีวธิ กี ารต่อเนื่องอีก ๒ แนวทางหลัก คือ (๑) แนวทางตามวิถรี ฐั ธรรมนูญตามทีก่ ล่าวข้างต้น ซึง่ ไม่สามารถหวังผลสมบูรณ์ได้วา่ จะทันท่วงทีต่อการยับยัง้ กฎหมายนิรโทษกรรมประชาชนและ
7
การแก้ไขรัฐธรรมนูญ และ (๒) แนวทางนอกรัฐธรรมนูญซึง่ ผิดกฎหมายอาญาและกฎหมายอื่น หลายฉบับ แนวทางทีผ่ ดิ กฎหมายดังกล่าวยังจะต้องหรือมักจะต้องเริม่ ต้นด้วยการสร้าง สถานการณ์รุนแรงเพือ่ นําไปสูก่ ารจลาจลบ่อนทําลายความมันคงภายใน ่ ซึง่ จะเป็ นสถานการณ์ พืน้ ฐานสําหรับการประท้วงรัฐบาลอย่างยกระดับเข้มข้น และการอ้างความชอบธรรมในการ ชุมนุ มต่อเนื่องเพือ่ เรียกร้องฝา่ ยต่าง ๆ ในการไม่รว่ มมือกับรัฐบาลหรือกดดันให้รฐั บาลลาออก หรือยุบสภา ซึง่ หากยังดําเนินการไม่บรรลุผลดังกล่าวก็ยงั สามารถประเมินสถานการณ์และนํา ข้ออ้างเหตุการณ์จลาจลไปใช้ประกอบเหตุผลข้ออ้างในการทํารัฐประหารต่อไป (แต่กเ็ ป็นทีแ่ น่ ชัดในวุฒภิ าวะการเมืองโดยส่วนรวมของประชาชนชาวไทยในปจั จุบนั แล้วว่าการรัฐประหารซึง่ ต้องใช้เวลาอย่างน้อยหลายชัวโมงในการดํ ่ าเนินการนัน้ เป็นการกระทําผิดกฎหมายอาญาที ่ ประชาชนมีทงั ้ สิทธิและอํานาจตามรัฐธรรมนูญในการต่อต้านยับยัง้ ซึง่ ประชาชนจํานวนมากทัว่ ประเทศจะต่อต้านอย่างแน่นอน นอกจากนัน้ กําลังพลทางทหารตัง้ แต่ชนั ้ ประทวนถึงสัญญา บัตรจํานวนมากในปจั จุบนั ก็ทราบเท่ากับทีป่ ระชาชนทราบข้อกฎหมายว่าการเคลือ่ นกําลังติด อาวุธออกกระทํารัฐประหารเป็นความผิดฐานก่อกบฎตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๓ ซึง่ กําลังพลระดับปฏิบตั กิ ารสามารถวางอาวุธและพร้อมกันถอนตัวออกจากการรัฐประหารได้ทุก ขณะโดยไม่เป็นการผิดวินยั ทหารหรือขัดคําสังผู ่ บ้ งั คับบัญชา ซึง่ คาดว่าจะถูกคําสังปลดหรื ่ อ อย่างน้อยโยกย้ายแต่งตัง้ ออกจากตําแหน่งทีม่ อี าํ นาจคุมกําลังในขณะนัน้ ทันทีทปี ่ รากฎตัวเป็น ผูบ้ งั คับบัญชาทหารปฏิบตั กิ ารสายต่าง ๆ ทีพ่ ยายามล้มรัฐบาลด้วยการรัฐประหาร) ฐานข้อมูลทีช่ ดั เจนเพิม่ เติม (นอกเหนือไปจากฐานข้อมูลประการแรกทีก่ ล่าว แล้วว่ามีกลุม่ บุคคลและองค์กรรวมทัง้ แกนนําพรรคประชาธิปตั ย์ประกาศเคลือ่ นไหวเพือ่ ให้ รัฐบาลปจั จุบนั พ้นจากตําแหน่ง) ได้แก่ บุคคลและองค์กรต่าง ๆ ทีเ่ คลือ่ นไหวเพือ่ ให้รฐั บาลพ้น จากตําแหน่งต่างก็มแี ผนยุทธศาสตร์หรือขัน้ ตอนวิธกี ารบริหารจัดการแบบมุ่งหวังผลเป็นลําดับ คืบหน้าแบบขัน้ บันไดไปสูเ่ ป้าหมายหลักทีต่ รงกัน คือ การทําให้รฐั บาลพ้นจากตําแหน่ง แกนนํา แต่ละกลุม่ ย่อยทีแ่ สดงตนว่าต้องการให้รฐั บาลพ้นจากตําแหน่งไม่จาํ เป็ นด้องประชุมวางแผน ร่วมกันทัง้ หมด และบางส่วนอาจไม่เคยทราบว่าตนเองเป็นเสมือน “เบีย้ หมาก โคน” อยูใ่ น กระดานการเมืองทีถ่ กู ประสานแผนยุทธศาสตร์รว่ มกันโดย “กลุ่มมือทีม่ องไม่เห็น” ในทางปฏิ บตั ิ และภายใต้สถานการณ์ รวมทัง้ วุฒิภาวะทางการเมืองที่เป็ น จริ งของประชาชนส่วนใหญ่ในต่างจังหวัดทัวประเทศ ่ ความสําเร็จของแผนยุทธศาสตร์ ที่ม่งุ ทําให้รฐั บาลนางสาวยิ่ งลักษณ์ ชิ นวัตรและสมาชิ กสภาผูแ้ ทนราษฎรพรรคเพื่อไทย พ้นจากตําแหน่ งที่มีอาํ นาจของฝ่ ายบริ หารและนิ ติบญ ั ญัติในปัจจุบนั เป็ นไปได้ยากเย็น เป็ นอย่างยิ่ ง เพราะเหตุใด ? การชุมนุ มประชาชนภายในกรอบของรัฐธรรมนูญและกฎหมายอื่นเป็ นสิง่ ที่ สามารถกระทําได้โดยเจ้าหน้าทีข่ องรัฐไม่ขดั ขวาง การวิพากษ์วจิ ารณ์รฐั บาลอย่างต่อเนื่อง เข้มข้นโดยจัดชุมนุ มมวลชนยืดเยือ้ แรมเดือนต่อไปก็สามารถทําได้โดยหลักการ แต่ผลทาง 8
ปฏิบตั จิ ะไม่สามารถล้มรัฐบาลนางสาวยิง่ ลักษณ์ได้เนื่องจากปญั หาคุณภาพข้อมูลของผูป้ ราศรัย และผูว้ พิ ากษ์โจมตีรฐั บาลนางสาวยิง่ ลักษณ์เท่าทีป่ รากฎจากเวทีปราศรัย “ผ่าความจริง” และ รายการในสถานีโทรทัศน์บลูสกายทีวี รวมทัง้ จากนักปราศรัยรายอื่น ๆ ในกลุม่ แกนนํามวลชน ทีเ่ กีย่ วข้องกับการชุมนุ มครัง้ นี้จาํ นวนมากเป็นข้อมูลตัดตอนความจริง ข้อมูลกล่าวอ้างเอง และ ข้อมูลแต่งเติมคลาดเคลือ่ นจากความจริง ซึง่ สามารถถูกตรวจสอบ ถ่วงดุล และโต้แย้งได้ดว้ ย ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลอืน่ แม้แต่ในขณะทีพ่ รรคประชาธิปตั ย์มอี าํ นาจเป็นรัฐบาลทีบ่ ริหารโดย การกํากับดูแลการทํางานของระบบสือ่ มวลชนของรัฐอย่างเข้มข้นโดยอาศัยฝีมอื ของนายสาทิตย์ วงศ์หนองเตยเป็ นรัฐมนตรี ข่าวสารข้อมูลของพรรคประชาธิปตั ย์และเครือข่ายต่อต้านพรรค เพือ่ ไทย (ซึง่ ใช้ขอ้ อ้างเรือ่ ง “ระบอบทักษิณ” มาตัง้ แต่ก่อนหน้านัน้ ) ก็ไม่สามารถเอาชนะความ จริงทางการเมืองได้ ดังนัน้ ความพยายามในทางโฆษณาชวนเชื่อทางการเมืองรวมทัง้ การใช้ วาทกรรมทีม่ ปี ระสิทธิภาพมากทีส่ ดุ เท่าทีม่ อี ยูข่ องพรรคประชาธิปตั ย์ยคุ ปจั จุบนั และพันธมิตร ล้มรัฐบาลเพือ่ ไทยในขณะนี้ไม่น่าจะมีศกั ยภาพใหม่เพิม่ เติมและไม่น่าจะสามารถต่อสูก้ บั ความ จริงทางการเมืองได้เช่นเดิม การชุมนุ มอาจถูกประกาศยุตอิ ย่างไม่ยดื เยือ้ ตัง้ แต่ขนั ้ ตอนนี้ หากผูว้ างแผน เบือ้ งหลังการชุมนุ มประเมินแล้ว เห็นว่าไม่สามารถใช้เป็ นขันบั ้ นไดไปสูก่ ารสร้างสถานการณ์ ั ่ ว่ นวุน่ วายเพียงพอต่อการจัดชุมนุ มยืดเยือ้ รือ้ รัง นํ้าผึง้ หยดเดียวเพือ่ ขยายผลเป็ นความปนป ดังนัน้ วิธปี ้ องกันแก้ไขปญั หาการล้มรัฐบาลด้วยวิธกี ารนอกกฎหมายทีส่ ามารถดําเนินการได้ใน ขัน้ ตอนนี้คอื การป้องกันไม่ให้มผี สู้ ามารถสร้างสถานการณ์ปะทะระหว่างมวลชนกับเจ้าหน้าที ่ ควบคุมความสงบของการชุมนุ ม และป้องกันมิให้ประชาชนทีไ่ ม่ได้เข้าร่วมชุมนุ มตกเป็นเหยือที ่ ่ ถูกสถานการณ์ชุลมุนจากการเคลือ่ นไหวของผูช้ ุมนุ มกระทบกระทังทํ ่ าให้เกิดอันตรายทัง้ ต่อ ร่างกายและทรัพย์สนิ รวมทัง้ ความสามารถในการรวบรวมหลักฐานเพือ่ ยืนยันต่อสือ่ มวลชนและ เพือ่ การดําเนินคดีกบั ผูก้ ่อสถานการณ์ผดิ กฎหมายในการชุมนุ ม (มาตรการของเจ้าหน้าทีต่ าํ รวจ ได้เตรียมความพร้อมในการป้องกันอยูแ่ ล้ว แต่การกําหนดเวลาและสถานทีก่ ่อเหตุเป็ นเรือ่ งของ ผูส้ ร้างสถานการณ์ทอ่ี าจเล็ดรอดกระทําการได้ระดับหนึ่ง) หากการชุมนุ มเป็ นไปด้วยความสงบเรียบร้อยและทุกฝา่ ยดําเนินการภายใน กรอบของกฎหมาย ผลในการล้มรัฐบาลจะไม่เกิดขึน้ ไม่วา่ จะชุมนุ มยืดเยือ้ ถึง ๑ หรือ ๒ เดือน และไม่วา่ จะมีผชู้ ุมนุ มเข้าผลัดเปลีย่ นหมุนเวียนกัน ๑ หมืน่ หรือ ๑ แสนคน (ซึง่ ไม่ใช่เป้าหมาย เชิงยุทธศาสตร์ของกลุม่ ผูว้ างแผนล้มรัฐบาล) ดังนัน้ ยุทธการการสร้างสถานการณ์เผชิญหน้า เพือ่ ก่อให้เกิดการปะทะทางกายภาพ และการทําลายทรัพย์สนิ สาธารณะหรือทรัพย์สนิ เอกชน เสมือนเป็นอุบตั เิ หตุทห่ี ลีกเลีย่ งได้ยากจะมีโอกาสเกิดขึน้ และหากเกิดขึน้ แล้วก็จะถูกใช้ประโยชน์ เป็ นขัน้ บันไดนําไปสูเ่ ป้าหมายการล้มรัฐบาลอีกคืบหนึ่ง (ในขัน้ ตอนนี้ประชาชนและการ์ดการ ชุมนุ มจํานวนหนึง่ ทีเ่ กีย่ วข้องอยูใ่ นพื้นทีส่ ถานการณ์ผดิ กฎหมายจะกลายเป็นเหยือ่ ทีผ่ จู้ ดั การ ชุมนุ มปล่อยให้เจ้าหน้าทีต่ าํ รวจนําตัวไปดําเนินคดี และเป็นไปได้มากว่าผูจ้ ดั การชุมนุ มจะนํา
9
เหตุการณ์และการจับกุมตัวนัน้ ไปใช้เป็นประเด็นปราศรัยโจมตีรฐั บาลอย่างดึงดันยืนกราน กระต่ายขาเดียวในความบริสทุ ธิข์ องตนและมวลชนของตนต่อไป) ตราบเท่าที่มวลชนเสื้อแดงปักหลักสะสมพลังการเมืองอยู่ในที่ตงั ้ ของตน อย่างเคร่งครัด มวลชน “ล้ม” รัฐบาลจะไม่สามารถมีมวลชน “รัก” รัฐบาลออกมาช่วย สร้างเหตุการณ์ ปะทะให้เกิ ดสถานการณ์ ที่มีความฉุกเฉิ นร้ายแรงมากขึน้ กว่าเดิ ม แกนนํามวลชนล้มรัฐบาลจะต้องออกแบบสร้างสถานการณ์รนุ แรงขึน้ เองหาก ต้องการให้เกิดภาวะจลาจลทีร่ ุนแรงเพียงพอต่อการสันคลอนเสถี ่ ยรภาพของรัฐบาลและความ มันคงของประเทศ ่ กลไกการป้องกันปญั หานี้มอี ยูภ่ ายในตัวเองคือความเสีย่ งมากขึน้ ของแกน นําและผูป้ ฏิบตั กิ ารชุมนุ มทีจ่ ะต้องถูกควบคุมตัวไว้ดาํ เนินคดีอาญาและถูกคําสังของรั ่ ฐทีม่ ผี ลใน การยับยัง้ การชุมนุ ม (เช่น คําสังคุ ่ ม้ ครองชัวคราวโดยศาลแพ่ ่ ง ตามคําร้องของประชาชนทีไ่ ด้รบั ความเสียหายหรือผลกระทบจากสถานการณ์รุนแรงทีเ่ กิดขึน้ จากการเคลือ่ นไหวของผูช้ ุมนุ ม เป็ นต้น) นอกเหนือไปจากนี้ ฐานความผิดในคดีอาญาทีเ่ ป็ นข้อกล่าวหาร้ายแรงมากขึน้ ซึง่ มี ร่องรอยข้อเท็จจริงเชือ่ มโยงให้สงั เกตเป็นหลักฐานมัดตัวกลุม่ แกนนําผูจ้ ดั การชุมนุ มมวลชนครัง้ นี้ได้แล้วระดับหนึ่งก็เริม่ ปรากฏและอาจมีผเู้ ตรียมใช้เป็ นคดีความฟ้องร้องแกนนําผูช้ ุมนุ มอยูบ่ า้ ง แล้วก็มอี ยูเ่ ช่นกัน หากการชุมนุมมวลชนที่ต่อต้านและมุ่งล้มรัฐบาลครังนี ้ ้ ยตุ ิ ลงภายใน ขอบเขตปฏิ บตั ิ การเพียงเท่าที่กล่าวถึงนี้ พายุการเมืองจากการชุมนุมมวลชนครังนี ้ ้ จะ ระงับไป หลังจากนัน้ บทบาทขององค์กรที่มีอาํ นาจตามรัฐธรรมนูญ ทัง้ ศาลรัฐธรรมนูญ และวุฒิสภาจึงจะเปิ ดเผยตนเองชัดเจนขึน้ ว่ายังคงมีความประสงค์จะเดิ นหน้ าต่อสู้ใน เวทีล้มรัฐบาลชุดนี้ ต่อไปหรือไม่ และเพียงใด สถานการณ์ หลังจากนัน้ รวมทัง้ การ ป้ องกันแก้ไขสถานการณ์ที่เป็ นปัญหาหลังจากนัน้ จะคลี่คลายเปิ ดเผยตัวตนให้เห็นได้ ชัดเจนขึน้ อีกระดับหนึ่ งหลังวันที่ ๘ สิ งหาคม ๒๕๕๖ โดยสามารถเริ่ มต้นจากผลของการ ประชุมพิ จารณาร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมเฉพาะประชาชน ฉบับ สส.วรชัย เหมะ และสมาชิ กสภาผูแ้ ทนราษฎรอีกกว่า ๔๐ คนที่ร่วมกันยื่นเสนอร่างกฎหมายดังกล่าวเข้า สู่กระบวนการทางรัฐสภา ................................................................................................................... การนําเสนอข้อเขียนนี้โดยผูเ้ ขียนตรวจสอบข้อมูล เนื้อหา และการวิเคราะห์ประกอบข้อกฎหมายแล้วว่าไม่ขดั ต่อกฎหมาย ความมัน่ คงฯ ที่อยูร่ ะหว่างการประกาศใช้ เนื้อหาที่แสดงขั้นตอนยุทธการและการคาดการณ์ต่าง ๆ เป็ นสิ่ งที่หน่วยงานของรัฐ และนักวิเคราะห์ทางสื่ อมวลชนจํานวนหนึ่งทราบหรื อประเมินอยูแ่ ล้ว เหตุผลที่ผเู ้ ขียนนําเสนอในที่น้ ีคือการช่วยให้ประชาชน ทั้งฝ่ ายที่สนับสนุนและไม่สนับสนุนการชุมนุมมวลชนครั้งนี้มีโอกาสทบทวนข่าวสารข้อมูลและพิจารณาสถานการณ์อย่าง รอบคอบก่อนดําเนินการต่าง ๆตามที่ตนเองเลือกหรื อจะเลิอกต่อไป i
10