ข้อแนะการปรับปรุงกฎหมายนิรโทษกรรม 2

Page 1

ร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมประชาชน : เส้นทางการเมืองในรัฐสภา วาระที่ ๒ รองศาสตราจารย์ ดร.วรพล พรหมิ กบุตร ความสามารถของสภาผูแ้ ทนราษฎรในการจัดประชุมพิจารณาและลงมติรบั รอง หลักการ (วาระที่ ๑) ร่างพระราชบัญญัตนิ ิรโทษกรรมการกระทําผิดอันเกีย่ วเนื่องกับการกระทํา ทางการเมืองของประชาชน(ร่างพระราชบัญญัตฉิ บับสส.วรชัย เหมะและคณะสส.พรรคเพือ่ ไทย) เมือ่ วันที่ ๗ และ๘ สิงหาคม ๒๕๕๖ เป็ นย่างก้าวสําคัญทีส่ ามารถนําไปสูก่ ารคลีค่ ลายวิกฤต ความขัดแย้งทางความคิดและการกระทําตอบโต้กนั ของประชาชนกลุม่ ต่าง ๆ ทีท่ งั ้ นักการเมือง และนักวิชาการ (รวมถึงสาธารณชนโดยทัวไป) ่ เห็นว่าเป็ นวิกฤตเกีย่ วกับการเลือกข้างและการ แบ่งขัว้ อย่างรุนแรง ย่างก้าวสําคัญนัน้ ยังสามารถนําไปสูก่ ารต่อยอดพัฒนาการเปลีย่ นแปลงที่ สร้างสรรค์ตามระบอบประชาธิปไตยต่อไปได้ ในช่วงเวลาสัน้ ๆ ก่อนทีค่ ณะกรรมาธิการฯทีส่ ภาผูแ้ ทนราษฎรแต่งตัง้ ขึน้ เพือ่ การพิจารณาปรับปรุงร่างกฎหมายฉบับดังกล่าวภายในกรอบหลักการทีร่ บั รองแล้ว และการให้ เวลาแก่สมาชืกสภาผูแ้ ทนราษฎรจากพรรคการเมืองต่าง ๆ ในการสงวนคําแปรญัตติเพือ่ การ อภิปรายปรับปรุงและลงมติในรายละเอียดร่างกฎหมายนัน้ ตามขัน้ ตอนการพิจารณาวาระที่ ๒ ของสภาผูแ้ ทนราษฎร บุคคล องค์กรและประชาชนทัวไปมี ่ สทิ ธิในการเสนอความคิดความเห็น และข้อเสนอแนะเพือ่ การปรับปรุงร่างกฎหมายดังกล่าวได้ ส่วนการพินิจพิจารณาดําเนินการ เป็ นอํานาจและดุลยพินิจของสภาผูแ้ ทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญ ในช่วงเวลานัน้ ดร.คณิต ณ นคร อดีตประธานคณะกรรมการอิสระตรวจสอบ ค้นหาความจริงเพือ่ การปรองดองแห่งชาติ (คอป.) ได้ทาํ เอกสารเสนอต่อผูม้ ตี ําแหน่งและอํานาจ ระดับสูงหลายองค์กรโดยแสดงความเห็นในทางคัดค้านว่าร่างพระราชบัญญัตดิ งั กล่าวไม่มคี วาม เหมาะสมต่อช่วงเวลาและขัดต่อหลักนิตธิ รรมระยะเปลีย่ นผ่าน ในช่วงเวลาใกล้เคียงกันมีการ แสดงออกจากภายในองค์กรคณะกรรมการสิทธิมนุ ษยชนแห่งชาติ (กสม.) ซึง่ ก่อให้เกิดการตอบ โต้จากองค์กรภาคประชาชนจํานวนหนึ่งทีส่ นับสนุ นการออกกฏหมายนิรโทษกรรมนัน้ ในวันที่ ๑๔ สิงหาคม ผูเ้ ขียนและตัวแทนกลุม่ บุคคลประกอบด้วยนักวิชาการ นักธุรกิจรายย่อย ข้าราชการเกษียณ ตัวแทนองค์กรแนวร่วมวิทยุชุมชนและกลุม่ กิจกรรมภาค ประชาชนจํานวนหนึ่งเดินทางไปยืน่ หนังสือแถลงจุดยืนร่วมและเอกสารข้อคิดเห็นเกีย่ วกับการ พิจารณาปรับปรุงร่างพระราชบัญญัตฉิ บับดังกล่าวเพือ่ ให้ประธานและกรรมาธิการฯพิจารณาร่าง พระราชบัญญัตริ บั ทราบ โดยยืน่ ผ่านนายวรชัย เหมะ สมาชิสภาผูแ้ ทนราษฎร (สมุทรปราการ) และคณะสส.พรรคเพือ่ ไทยทีเ่ ป็นผูร้ ว่ มกันเสนอร่างกฎหมายดังกล่าวเข้าสูก่ ารประชุมพิจารณา ของสภาผูแ้ ทนราษฎร ข้อเขียน ๓ ส่วนต่อไปนี้เป็ นเนื้อหาทีไ่ ด้ยน่ื ซึง่ ผูเ้ ขียนเห็นว่าประชาชน ส่วนอื่น ๆ (ทัง้ ส่วนทีส่ นับสนุ นและคัดค้านร่างพระราชบัญญัตฉิ บับดังกล่าว) สามารถพิจารณา และมีขอ้ คิดเห็นต่าง ๆ ของตนสําหรับการใช้ประโยชน์ในการทํางานของสภาผูแ้ ทนราษฎรต่อไป ไม่ว่าจะในทางท้วงติงหรือสนับสนุ นร่างกฎหมายดังกล่าวตามครรลองระบอบประชาธิปไตย 1


(๑) ข้อเสนอแนะการปรับปรุงร่างพรบ.นิ รโทษกรรม วาระ ๒ เพื่อไม่ละเมิ ดหลักสิ ทธิ มนุษยชนสากล จากการประชุมพิจารณาร่าง พรบ.นิรโทษกรรมฯ วาระที่ ๑ วันที่ ๗-๘ สิงหาคม ทีผ่ า่ นมา สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรทัง้ ฝา่ ยเสียงข้างมากและฝา่ ยค้านต่างก็นําประเด็นในเอกสาร ขององค์กรสิทธิมนุ ษยชนต่างประเทศมาอภิปรายถกเถียงโต้แย้งเป็ นประเด็นสําคัญ โดยทีใ่ น เอกสารทีอ่ า้ งถึงกันนัน้ ไม่มขี อ้ ความใดบ่งชีว้ ่าองค์กรดังกล่าว ทัง้ องค์กรสิทธิมนุ ษยชนระดับ ภูมภิ าคและสหประชาชาติ คัดค้านหรือแสดงจุดยืนต้องการให้สภาผูแ้ ทนราษฎรล้มเลิกการ พิจารณาร่างพรบ.ดังกล่าว เพียงแต่ตอ้ งการให้ทุกฝา่ ยมีความระมัดระวังว่ากฎหมายทีจ่ ะบังคับ ใช้ต่อไปนัน้ ไม่ควรมีบทบัญญัตทิ อ่ี าจเป็ นการนิรโทษกรรมให้แก่ผกู้ ระทําการละเมิดต่อสิทธิ มนุ ษยชนอย่างร้ายแรง ไม่ว่าผูก้ ระทําการนัน้ จะมีสถานะใดหรือมีสว่ นร่วมดําเนินการกับฝา่ ยใด ในความขัดแย้งทางการเมืองทีอ่ ยูใ่ นกรอบเวลาและเงือ่ นไขการนิรโทษกรรม ผูเ้ ขียนและคณะบุคคลทีร่ ว่ มข้อเสนอแนะนี้เห็นว่าข้อกังวลข้างต้นขององค์กร สิทธิมนุ ษยชนต่างประเทศมีความสมเหตุสมผลเป็ นข้อกังวลทีส่ ร้างสรรค์ซง่ึ สภาผูแ้ ทนราษฎร ของไทยควรนําไปพิจารณาอย่างจริงจังเพือ่ การปรับปรุงร่างกฎหมายนิรโทษกรรมฉบับดังกล่าว ในขัน้ ตอนก่อนลงมติวาระที่ ๒ โดยไม่เบีย่ งเบนออกไปจากหลักการของร่างกฎหมายซึง่ สภา ผูแ้ ทนราษฎรลงมติยนื ยันรับรองแล้วจากการประชุมพิจารณา วาระที่ ๑ เมือ่ วันที่ ๗-๘ สิงหาคม ทีผ่ า่ นมา รวมทัง้ เห็นว่าการปรับปรุงเพิม่ เติมในส่วนนี้สามารถกระทําพร้อมกับการปรับปรุงก้ไข ส่วนอื่นทีจ่ าํ เป็ นได้ภายในช่วงเวลา ๗ วันตามทีม่ ติสภาผูแ้ ทนราษฎรเมือ่ วันที่ ๘ สิงหาคมทีผ่ า่ น มาได้กาํ หนดกรอบเวลาไว้ ดังนี้ผเู้ ขียนและคณะบุคคลทีร่ ว่ มทําบันทึกนี้จงึ ขออนุ ญาตนําเสนอ ความเห็นและข้อแนะนําต่อสภาผูแ้ ทนราษฎร ดังนี้ ๑. สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรฝา่ ยทีส่ นับสนุนการออกพระราชบัญญัตนิ ิรโทษกรรมให้ ประชาชนควรพิจารณาข้อกังวลขององค์กรสิทธิมนุ ษยชนดังกล่าวอย่างจริงจังและใช้ประโยชน์ ในการพิจารณาปรับปรุงร่างกฎหมายดังกล่าวในวาระ ๒ โดยยึดถือหลักการทีล่ งมติรบั รองแล้ว ในวาระ ๑ อย่างเคร่งครัด ขณะทีส่ ามาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรฝา่ ยทีค่ ดั ค้านการออกกฎหมาย ดังกล่าวไม่ควรใช้ประโยชน์จากข้อกังวลขององค์กรดังกล่าวในทางบิดเบือนหรือตัดตอน ข้อเท็จจริงในเอกสารจนทําให้ประชาชนเข้าใจผิดว่าแม้แต่องค์กรสหประชาชาติกค็ ดั ค้านการ ออกกฎหมายนิรโทษกรรมดังกล่าว ๒. เพือ่ ให้ทุกฝา่ ยมันใจว่ ่ ากฎหมายนี้มงุ่ นิรโทษกรรมให้ประชาชนโดยไม่เป็ นประโยชน์ ครอบคลุมถึงแกนนําและผูส้ งการใช้ ั่ อาํ นาจรัฐ และเพือ่ ให้ทุกฝา่ ยมันใจว่ ่ าการนิรโทษกรรมทีจ่ ะ เกิดขึน้ ตามกฎหมายนี้ต่อไปไม่เป็ นการขัดหรือละเมิดหลักสิทธิมนุ ษยชนสากลหรือไม่เป็ นการ ช่วยเหลือให้ผกู้ ระทําการละเมิดสิทธิมนุ ษยชนขัน้ ร้ายแรงพ้นจากการถูกพิจารณาดําเนินการ ต่อไปตามกระบวนการยุตธิ รรม ไม่ว่าผูก้ ระทําการละเมิดสิทธิมนุ ษยชนนัน้ จะเป็ นผูม้ สี ถานะใด หรือเป็ นผูม้ สี ว่ นร่วมอยูใ่ นฝา่ ยใดทีข่ ดั แย้งกัน ผูเ้ ขียนเสนอความเห็นว่าควรให้มกี ารระบุ

2


ข้อความต่อไปนี้หรือข้อความทีม่ สี าระทํานองเดียวกันนี้อยูใ่ นการปรับปรุงร่างกฎหมายดังกล่าว ก่อนนําเข้าสูก่ ารลงมติ วาระ ๒ ต่อไป ; (๒.๑) “ประชาชน” ตามกฎหมายนี้ไม่ครอบคลุมถึง (๑) ผูเ้ ป็ นเจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั กิ ารของ รัฐ (๒) ผูม้ ตี ําแหน่งหน้าทีแ่ ละอํานาจบังคับบัญชาสังการให้ ่ ผอู้ ่นื ดําเนินการต่าง ๆ เกีย่ วข้องกับ การดูแลการชุมนุ ม การควบคุมการชุมนุ ม หรือการจัดการอย่างหนึ่งอย่างใดต่อประชานผูร้ ว่ ม ชุมนุ มหรือต่อผูน้ ําการชุมนุ ม (๓) ผูใ้ ช้ ผูจ้ า้ งวาน หรือผูจ้ ดั ให้มกี ารชุมนุ ม ผูน้ ําการชุมนุ ม รวมทัง้ ผูว้ างแผนหรือร่วมวางแผนสังการให้ ่ ดาํ เนินการชุมนุ มหรือดําเนินการเคลือ่ นไหวกิจกรรม ต่างๆ ของประชาชนทีเ่ กีย่ วข้องกับการชุมนุ ม (๒.๒) การนิรโทษกรรมให้ประชาชนตามกฎหมายนี้ไม่ครอบคลุมถึงการกระทําความผิด ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๐๙ มาตรา ๒๒๔ มาตรา ๒๒๘ มาตรา ๒๓๘ มาตรา ๒๘๘ มาตรา ๒๘๙ มาตรา ๒๙๒ มาตรา ๒๙๓ มาตรา ๒๙๔1 เว้นแต่ผกู้ ระทําหรือผูเ้ ข้าร่วม กระทําความผิดนัน้ กระทําไปโดยถูกผูอ้ น่ื ขูเ่ ข็ญหรือล่อลวงให้กระทําการดังกล่าว หรือพิสจู น์ได้ ว่าตนเองบรรดาลโทสะหรือไม่สามารถควบคุมตนเองในเหตุการณ์ฉุกละหุกขณะทีก่ ระทําผิดใน ระหว่างมีการชุมนุ ม

การกระทําผิดที่อยูน่ อกขอบเขตการนิรโทษกรรมตามที่ระบุเหล่านี้มีลกั ษณะสําคัญเป็ นการกระทําผิดที่ละเมิด สิ ทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรงต่อบุคคลอื่น ไม่ว่าผูก้ ระทําผิดจะเป็ นบุคคลสถานะใดหรื ออยูฝ่ ่ ายใดในความขัดแย้ง ทางการเมืองที่เกี่ยวข้อง ผูเ้ ขียนเห็นว่าแม้จะไม่มีการนิรโทษกรรมให้แก่ผกู ้ ระทําผิดในลักษณะที่ระบุถึงนี้แต่กย็ งั สามารถดําเนินการแก้ไขคลี่คลายปั ญหาความขัดแย้งทางการเมืองที่เกี่ยวเนื่องกับการกระทําผิดส่วนนี้ในลําดับ ต่อไปได้โดยใช้กระบวนการยุติธรรมหากกระบวนการแก้ไขปั ญหาดังกล่าวเป็ นไปตามลําดับและหลักการ ๓ ประการ คือ (๑) หลักการเรื่ องความจริ ง (๒) หลักการเรื่ องความเป็ นธรรม และ (๓) หลักการเรื่ องเมตตาธรรมใน กระบวนการยุติธรรมตั้งแต่ช้ นั พนักงานสอบสวนจนถึงชั้นการพิจารณาพิพากษาของศาล วิธีหรื อเครื่ องมือทาง เทคนิคปฏิบตั ิและข้อกฎหมายเพื่อบรรลุผลตามหลักการ ๓ ประการดังกล่าวมีอยูแ่ ล้วในระบบกฎหมายไทย (อย่างไรก็ตาม ในขณะนี้ผเู ้ ขียนเห็นว่ารายละเอียดดังกล่าวยังอยูน่ อกเหนือกรอบเนื้อหาของข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ สิ ทธิมนุษยชนในที่น้ ี แต่กอ็ าจนําเสนอเป็ นรายละเอียดเพิ่มเติมในวาระอื่นต่อไป) และดูคาํ อธิ บายข้อเท็จจริ ง ประกอบเหตุผลเพิม่ เติมในบทผนวกท้ายหนังสื อนี้ 1

3


(๒) คําอธิ บายข้อเท็จจริ งประกอบเหตุผลข้อเสนอแนะการปรับปรุงร่าง พรบ. นิ รโทษกรรมฯ ในระดับหลักการนัน้ สาระสําคัญของร่างกฎหมายนิรโทษกรรมดังกล่าวต้องการ ยกเว้นโทษสําหรับผูก้ ระทําความผิดเกีย่ วเนื่องกับการชุมนุ มโดยไม่รวมถึงผูก้ ระทําผิดทีเ่ ป็ นแกน นําการชุมนุ มหรือเป็ นผูใ้ ช้อาํ นาจรัฐ ความจําเป็ นจะต้องนิยามความเป็ น “ประชาชน” ตามกฎหมายดังกล่าวให้ ชัดเจนกว่าทีป่ รากฎอยูใ่ นร่างกฎหมายฉบับนัน้ ยังมีอยู่ เพราะหากใช้การตีความหมายว่าแกน นําการชุมนุ มและผูม้ อี าํ นาจรัฐทีก่ ระทําผิดเกีย่ วเนื่องกับการชุมนุ มไม่ตอ้ งรับโทษหรือไม่ได้รบั การนิรโทษกรรมตามกฎหมายดังกล่าว เพียงเท่านี้ ผลทางกฎหมายคือจะช่วยให้ผกู้ ระทําผิด จํานวนหนึ่งทีล่ ะเมิดสิทธิมนุ ษยชนหรือคุกคามต่อชีวติ และทรัพย์สนิ ของผูอ้ ่นื ขันร้ ้ ายแรง (ทัง้ ทรัพย์สนิ เอกชนและทรัพย์สนิ สาธารณะ) ได้รบั ประโยชน์จากการนิรโทษกรรม ความหมายของผูซ้ ง่ึ ไม่ควรถือว่าเป็ น “ประชาชน” ในข้อเสนอแนะ (๒.๑) (๒) และ (๓) ตรงกับความหมายทีต่ คี วามได้จากข้อความในร่าง พรบ. ดังกล่าว และจากคําอภิปราย ของผูส้ นับสนุ นร่างกฎหมายนี้ทงั ้ ในและนอกรัฐสภาทีใ่ ช้คาํ ว่า “ผูม้ อี าํ นาจรัฐ” และ “แกนนําการ ชุมนุ ม” แต่ขอ้ เสนอแนะในข้อเขียนนี้ขยายความให้เพิม่ เติมว่า “แกนนํา” ไม่ใช่มคี วามหมาย เฉพาะบุคคลทีข่ น้ึ เวทีปราศรัยหรือร่วมประชุมวางแผนรวมทัง้ แถลงข่าวให้เป็ นทีป่ รากฎต่อ สาธารณชนเท่านัน้ แต่ยงั รวมถึงผูท้ อ่ี าจไม่ได้ประกาศตัวเป็ นแกนนําหรือไม่มผี รู้ บั รูว้ า่ เป็ นแกน นําการชุมนุ ม แต่เป็ นผูว้ างแผนสังการเกี ่ ย่ วกับการชุมนุ มทัง้ ในบริเวณทีม่ กี ารชุมนุ มหรือในทีล่ บั ดังนัน้ ผูเ้ ขียนจึงเห็นว่าควรให้เพิม่ ความชัดเจนดังกล่าวนี้ลงในบทบัญญัตขิ องกฎหมายนิรโทษ กรรมด้วยข้อความทีเ่ สนอแนะในข้อ (๒.๑) (๓) ทัง้ นี้มไิ ด้หมายความหากบุคคลใดทีม่ ใิ ช่เป็ น “ประชาชน” ตามความหมายนี้แล้วจะต้องเป็ นผูก้ ระทําผิดเกีย่ วกับการชุมนุ ม แต่ถา้ หากเป็ นผู้ มิใช่เป็ น “ประชาชน” ทีเ่ กีย่ วข้องกับการชุมนุ มทางการเมืองและกระทําผิดก็จะไม่ได้รบั การนิร โทษกรรมให้โดยผลของกฎหมายนี้และต้องพิสจู น์ความจริงในศาล ตัวอย่างเช่นผูเ้ ขียนขณะที่ มีการชุมนุ มและต่อมามีผวู้ างเพลิงเผาศูนย์การค้าทีส่ แ่ี ยกราชประสงค์ในปี ๒๕๕๓ หรือก่อน หน้านัน้ ทีเ่ คยมีการชุมนุ มยึดทําเนียบรัฐบาลในปี ๒๕๕๑ ผูเ้ ขียนเคยขึน้ เวทีบรรยาย สัมมนา และปราศรัย ให้คาํ ปรึกษาแนะนําประชาชนและแกนนําการชุมนุ ม (ทัง้ คนเสิอ้ แดงและคนเสือ้ เหลือง) หลายครัง้ ดังนัน้ หากไม่มกี ารกําหนดนิยามให้ชดั เจนตามข้อเสนอแนะ (๒.๑) (๓) ว่า “ประชาชน” ไม่มคี วามหมายรวมถึงบุคคลตามข้อ (๓) นี้ ก็จะเป็ นการช่วยเหลืออย่างขัดหลักนิติ ธรรมให้ผอู้ ยูเ่ บือ้ งหลังแกนนําบนเวทีชุมนุ ม (ทุกฝา่ ย) สามารถพ้นจากการรับโทษทีต่ นกระทํา ผิดต่อประชาชนอย่างร้ายแรง เช่น ผูเ้ ขียนหรือบุคคลอื่นในทํานองดังกล่าวสามารถจะอ้างเอา ประโยชน์จากกฎหมายนิรโทษกรรมได้หากตนเองได้กระทําความผิดเกีย่ วเนื่องกับการชุมนุ ม แต่หากบุคคลดังกล่าวไม่ได้กระทําผิดก็ไม่มปี ระเด็นจะต้องถูกลงโทษโดยกระบวนการยุตธิ รรม อยูแ่ ล้วจึงไม่ตอ้ งอาศัยประโยชน์ใด ๆ จากกฎหมายนิรโทษกรรม

4


ข้อความตาม (๒.๑) (๑) ทีไ่ ม่ยกเว้นโทษให้แก่เจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั กิ ารของรัฐที่ กระทําผิดร้ายแรงต่อประชาชนนัน้ เป็ นข้อความทีต่ รงตามหลักนิตริ ฐั นิตธิ รรมและสอดคล้องกับ หลักสิทธิมนุ ษยชน และมิได้หมายความว่าเจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั กิ ารของรัฐเป็ นผูก้ ระทําผิดเสมอหรือ กระทําการโดยชอบเสมอเมือ่ ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ กีย่ วกับการชุมนุ มของประชาชน เจ้าหน้าทีผ่ ู้ ปฏิบตั กิ ารตามคําสังของผู ่ ม้ อี าํ นาจรัฐได้รบั การคุม้ ครองจากกฎหมายอื่นในระดับทีเ่ ทียบเท่าหรือ อาจมากกว่าผลของการนิรโทษกรรมอยูแ่ ล้ว ผูเ้ ขียนจึงด้วยทีร่ า่ งกฎหมายนิรโทษกรรมฉบับนี้ ไม่ครอบคลุมถึงการกระทําความผิดของเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ความผิดทีเ่ ป็ นการ ละเมิดสิทธิในร่างกาย ทรัพย์สนิ หรือละเมิดสิทธิมนุ ษยชนขัน้ ร้ายแรงต่อบุคคลอื่นในระหว่างการ ปฏิบตั กิ าร ฐานความผิดทีไ่ ม่ควรได้รบั การนิรโทษกรรม แม้แต่ในกรณีทผ่ี กู้ ระทําการนัน้ เป็ นประชาชนผูร้ ว่ มชุมนุ มหรือเป็นผูเ้ กีย่ วข้องกับการชุมนุ มแต่ไม่ได้เข้าร่วมการชุมนุ มโดยตรง ตามทีร่ ะบุเลขมาตราต่าง ๆ ตามประมวลกฎหมายอาญาในข้อเสนอแนะ (๒.๒) ข้างต้นเป็ นฐาน ความผิดทีเ่ ข้าข่ายการละเมิดสิทธิมนุ ษยชนของผูอ้ ่นื อย่างร้ายแรง เช่น การฆ่าคนตายโดย เจตนาไตร่ตรองไว้ก่อน การวางแผนก่อวินาศกรรมรุนแรงทีม่ ผี ลให้มผี เู้ สียชีวติ เป็ นต้น ซึง่ หาก มีการนิรโทษกรรมให้แก่การกระทําผิดตามลักษณะเหล่านัน้ แล้วต่อไปจะเป็ นแบบอย่างให้ผมู้ ี อํานาจเชิงมวลชน (ทุกฝา่ ย) สามารถใช้ศกั ยภาพทางการเมืองจากการชุมนุ มมวลชนเป็ น เครือ่ งมือโดยมิชอบในการบรรลุเป้าหมายทางการเมืองด้วยการก่อวินาศกรรม, การดําเนินการ ลับเช่นประชุมลับเพือ่ วางแผนสังการให้ ่ ก่อความผิดร้ายแรงทีข่ ดั ต่อหลักสิทธิมนุ ษยชน เช่น การ ประชุมวางแผนลับเพือ่ ลอบสังหารบุคคลทางการเมือง, การใช้กลุม่ ติดอาวุธ (กองกําลังไม่ทราบ ฝา่ ย) ปฏิบตั กิ ารสังหารประชาชนและเจ้าหน้าทีข่ องรัฐในการชุมนุ มทางการเมือง, การประชุม วางแผนลับและจงใจสร้างสถานการณ์กระตุน้ เร้ามวลชนให้บรรดาลโทสะหรือขาดสติเข้าร่วมก่อ ความรุนแรงทางกายภาพเพือ่ หวังผลทางการเมือง (กรณีน้ีมขี อ้ เท็จจริงบ่งชีว้ า่ ทัง้ มวลชนเสือ้ แดงและมวลชนเสือ้ เหลืองต่างก็เคยตกอยูใ่ นสถานการณ์เดียวกัน แต่ต่างกรรมต่างวาระ เช่น กรณีคนเสือ้ เหลืองบุกยึดทําเนียบรัฐบาลและสนามบินนานาชาติแล้วทําลายทรัพย์สนิ ของทาง ราชการเสียหายร้ายแรง และการรวมตัวชุมนุ มคนเสือ้ แดงทีศ่ าลากลางจังหวัดบางแห่งแล้ว บรรดาลโทสะเข้าร่วมอยูใ่ นเหตุการณ์เผาทําลายทรัพย์สนิ ของทางราชการ), การลอบใช้อาวุธ สงครามอานุ ภาพสูง (เช่น ปืนความเร็วสูงหรือสไนเปอร์ และเครือ่ งยิงวัตถุระเบิด ฯลฯ) ในการ ลอบสังหารหรือทําร้ายประชาชนผูบ้ ริสทุ ธิ ์ไม่วา่ จะเป็ นประชาชนในทีช่ ุมนุ มหรือประชาชนทีไ่ ม่ได้ เข้าร่วมชุมนุ มแต่เดินทางผ่านมาในบริเวณใกล้เคียงทีช่ ุมนุ ม (เข่น กรณีเหตุการณ์ทแ่ี ยกศาลา แดง) รวมทัง้ การลอบทําร้ายหรือลอบสังหารเจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั กิ ารของรัฐทีเ่ กีย่ วข้องกับการ ชุมนุ ม (เช่น กรณีปฏิบตั กิ ารชายชุดดําทีส่ แ่ี ยกคอกวัว) หรือพนักงานของรัฐไม่เกีย่ วข้องแต่ บังเอิญปรากฏตัวในทีน่ นั ้ (เช่น กรณีการเสียชีวติ ของเจ้าหน้าทีอ่ งค์การสวนสัตว์ดุสติ ) เป็ นต้น กรณีขอ้ เท็จจริงต่าง ๆ ทีป่ รากฎจากการชุมนุ มของกลุ่มมวลชนทุกฝา่ ยทีข่ ดั แย้งกันทางการเมือง ในเหตุการณ์ตงั ้ แต่หลังการรัฐประหาร ๒๕๔๙ ถึงการสลายการชุมนุ มประชาชนในปี ๒๕๕๓

5


และการดําเนินการของรัฐต่อแกนนําและประชาชนทีร่ ว่ มชุมนุ มดังกล่าวหลังการสลายการชุมนุ ม นัน้ มีกรณีขอ้ เท็จจริงทีเ่ ป็ นการละเมิดสิทธิมนุ ษยชนขัน้ ร้ายแรงทีไ่ ม่ควรอยูในข่ายการได้รบั นิร โทษกรรมและสามารถป้องกันมิให้มกี ารนิรโทษกรรมได้ดว้ ยการระบุเป็ นข้อยกเว้นการนิรโทษ กรรมในฐานความผิดต่าง ๆ ให้ชดั เจนไว้ในร่างกฎหมาย การป้องกันทางกฎหมายมิให้มกี ารนิร โทษกรรมในฐานความผิดเหล่านัน้ มีความชอบธรรมตามหลักนิตริ ฐั นิตธิ รรมและยังแสดงให้เห็น การเคารพหลักการสิทธิมนุ ษยชนของระบบกฎหมายไทยตามทีอ่ งค์กรระหว่างประเทศแถลง ชีแ้ นะด้วย กรณีขอ้ เท็จจริงทีท่ าํ ให้เห็นได้วา่ ควรมีการระบุขอ้ ยกเว้นฐานความผิดทีไ่ ม่สามารถ นิรโทษกรรมให้ตามกฎหมายนี้ ได้แก่ กรณีกลุม่ กองกําลังลึกลับ “ชายชุดดํา” ใช้อาวุธสงครามยิง ใส่กลุม่ ทหารปฏิบตั กิ ารสลายการชุมนุ มและเป็ นเหตุให้พลเอกร่มเกล้าฯ (ยศภายหลังเหตุการณ์) เสียชีวติ , กรณีการใช้อาวุธปืนความเร็วสูงลอบยิงจากทีส่ งู โดยมุง่ สังหารและทําให้พลตรีขตั ติยะ สวัสดิผล นายทหารทีเ่ ข้าร่วมสนับสนุ นการชุมนุ มประชาชนเสือ้ แดงเสียชีวติ ในเวลาต่อมาที่ โรงพยาบาล, กรณีกลุม่ กองกําลังลึกลับลอบวางเพลิงเผาภายในศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิรล์ สีแ่ ยก ราชประสงค์, กรณีการลอบก่อวินาศกรรมวางระเบิดอาคารทีพ่ กั อาศัยของประชาชนในพืน้ ที่ ปริมณฑลโดยมีการเชื่อมโยงกับกรณีการชุมนุ มประชาชน, กรณีการลอบยิงอาวุธระเบิดจากที่ สูงใส่กลุม่ ประชาชนบริเวณสีแ่ ยกศาลาแดง, กรณีการวางแผนเผาสถานทีร่ าชการในต่างจังหวัด เกีย่ วเนื่องกับช่วงท้ายของการสลายการชุมนุมประชาชนทีส่ แ่ี ยกราชประสงค์, กรณีเจ้าหน้าที่ ทหารใช้อาวุธปืนกระสุนจริงเล็งยิงประชาชนหรือพลเรือนทีไ่ ม่มอี าวุธและมิได้คกุ คามต่อชีวติ หรือร่างกายของทหารในขณะปฏิบตั กิ ารสลายการชุมนุ มในหลายพืน้ ที,่ กรณีการยิงอาวุธปืนใส่ ประชาชนในระหว่างทีม่ กี ารสลายการชุมนุ มและเป็ นเหตุให้ผสู้ อ่ื ข่าวต่างประเทศเสียชีวติ , และ กรณีการลอบเล็งยิงศีรษะประชาชนผูร้ ว่ มชุมนุ มทีถ่ นนราชดําเนินในช่วงเริม่ ต้น “ปฏิบตั กิ ารขอ คืนพืน้ ที”่ ตามแผนปฏิบตั กิ ารของผูม้ อี าํ นาจรัฐขณะนัน้ เป็ นต้น หากไม่มกี ารระบุขอ้ ยกเว้น ความผิดทีน่ ิรโทษกรรมตามร่างกฎหมายนี้ไม่ได้ การผ่านร่างกฎหมายนิรโทษกรรมฉบับนี้จะมี ผลครอบคลุมในการเอือ้ ประโยชน์ต่อนักลอบสังหาร นักก่อวินาศกรรม นักบ่อนทําลายความ มันคงของประเทศและประชาชนอย่ ่ างร้ายแรง รวมทัง้ นักวางแผนสังการในทางลั ่ บทีไ่ ม่มี ตําแหน่งหน้าทีเ่ ป็ นเจ้าหน้าทีข่ องรัฐหรือมิได้เป็นผูม้ อี าํ นาจรัฐอย่างเป็ นทางการในขณะก่อการ กระทําผิดนัน้ ข้อเท็จจริงและรายละเอียดอื่น ๆ ทีส่ ามารถอ้างอิงเป็นเหตุผลประกอบการแปร ญัตติ (วาระ ๒) และการผ่านร่างกฎหมายฉบับนี้ได้ในวาระ ๓ จนถึงขัน้ การประกาศใช้ต่อไปโดย เป็ นไปตามหลักนิตธิ รรมและไม่ขดั หลักสิทธิมนุ ษยชนสากล เป็ นข้อมูลทีอ่ ยูใ่ นวิสยั ของสมาชิก รัฐสภาสามารถตรวจค้นและนํามาใช้ในการกลันกรองพิ ่ จารณาเพือ่ ผลักดันร่างกฎหมายอันจะ เป็ นประโยชน์ต่อประชาชนส่วนรวมฉบับนี้ได้อยูแ่ ล้ว จึงไม่มคี วามจําเป็ นทีผ่ เู้ ขียนต้องพรรณนา ต่อไปในทีน่ ้ี

6


(๓) คําแถลงร่วมจุดยืน ๑.ผูร้ ว่ มแถลงเอกสารนี้มจี ุดยืนหนักแน่นในการสนับสนุนการผ่านร่างพระราชบัญญัตนิ ิรโทษ กรรมให้ประชาชนทุกฝา่ ย (ร่างพรบ.นิรโทษกรรมฉบับสส.วรชัย เหมะ และคณะสส.พรรคเพือ่ ไทย) จากการกระทําผิดเกีย่ วเนื่องกับการเมืองหรือการชุมนุ มทางการเมืองระหว่างปี ๒๕๔๙ (หลังการรัฐประหาร ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙) จนถึงสิน้ สุดรัฐบาลพรรคประชาธิปตั ย์ ๒.ผูร้ ่วมแถลงเอกสารนี้ไม่เห็นด้วยกับความคิดเห็นของอดีตประธาน คอป. ทีอ่ า้ งว่าการนิรโทษ กรรมตามร่างกฎหมายฉบับดังกล่าวเป็ นการขัดหลักนิตธิ รรมระยะเปลีย่ นผ่าน และผูร้ ว่ มแถลง เอกสารนี้มคี วามคิดเห็นว่าการนิรโทษกรรมให้ประชาชนทุกฝา่ ยดังกล่าวในช่วงเวลานี้เป็ น ช่วงเวลาทีเ่ หมาะสมและสามารถดําเนินการต่อไปได้ตามหลักนิตธิ รรมโดยกระบวนการทาง รัฐสภาตามวาระที่ ๒ ทีส่ ามารถแปรญัตติรายละเอียดให้สอดคล้องมากยิง่ ขึน้ กับหลักสิทธิ มนุ ษยชนสากล และเพือ่ การผ่านวาระที่ ๓ โดยปราศจากข้อท้วงติงจากองค์กรสิทธิมนุ ษยชน สากลและสหประชาชาติ ๓.ผูร้ ว่ มแถลงเอกสารนี้ขอแสดงการตําหนิและประท้วงคณะกรรมการสิทธิมนุ ษยชนแห่งชาติ (กสม.) ของไทยทีแ่ สดงการเคลือ่ นไหวในทางคัดค้านการพิจารณาร่างกฎหมายนิรโทษกรรม ฉบับนี้ทาํ นองเดียวกับพรรคฝา่ ยค้าน โดยการฉวยเอาโอกาสในกรณีทอ่ี งค์กรสิทธิมนุ ษยชน ระดับภูมภิ าคและสหประชาชาติมเี อกสารแสดงข้อวิตกกังวลการพิจารณาผ่านร่างกฎหมายนิร โทษกรรมนัน้ ควรเป็ นไปโดยไม่ขดั หลักสิทธิมนุ ษยชนสากล ทัง้ นี้ผแู้ ถลงร่วมเห็นว่า กสม.ชุด ปจั จุบนั ได้แสดงออกถึงการไม่ดาํ เนินหน้าทีต่ ามหลักสิทธิมนุ ษยชนสากลหลายกรรมหลายวาระ ในช่วงทีพ่ รรคประชาธิปตั ย์เป็ นรัฐบาล (ไม่คดั ค้านท้วงติงการใช้อาํ นาจรัฐขัดหลักสิทธิมนุ ษยชน) และในช่วงรัฐบาลพรรคพลังประชาชน (มุง่ มันกล่ ่ าวหาว่าการใช้อาํ นาจรัฐขัดหลักสิทธิมนุ ษยชน) ผูแ้ ถลงร่วมเอกสารนี้เห็นว่า “แนวรบด้าน กสม. เหตุการณ์ไม่เปลีย่ นแปลง” และจะร่วมกันต่อสู้ แก้ไขให้สภาพการณ์ของ กสม. ของไทยได้รบั การปฏิรปู ต่อไป นักวิชาการเพือ่ ประชาธิปไตยและสันติวธิ ี และคณะ วันที่ ๑๔ เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

7


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.