การศึกษากษัตริย์ของนักกฎหมาย ช่วงที่ ๑ หลังการปฏิวตั ิ ๒๔ มิถนุ ายน ๒๔๗๕ ช่วงที่ ๒ ตังแต่ ้ ๒๕๐๐ ช่วงที่ ๓ ตังแต่ ้ ๒๕๓๐ ช่วงที่ ๔ อุดมการณ์กษัตริ ย์นิยมครอบงําเบ็ดเสร็จ ช่วงที่ ๕ การกลับไปสู่ ๒๔๗๕
ช่ วงที่ ๑ หลังการปฏิวตั ิ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ หลวงประเจิดอักษรลักษณ์ ไพโรจน์ ชัยนาม เดือน บุนนาค ดิเรก ชัยนาม หยุด แสงอุทยั ช่ วงที่ ๒ ตั้งแต่ ๒๕๐๐ ไพโรจน์ ชัยนาม หยุด แสงอุทยั
ช่ วงที่ ๓ ตั้งแต่ ๒๕๓๐ • กษัตริ ยอ์ ยูเ่ หนือการเมือง พ้นไปจากการเมือง • กษัตริ ยม์ ีพระราชอํานาจบางประการตามประเพณี และบารมีของ กษัตริ ย ์ • ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ ไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงอันยิง่ ใหญ่จาก ระบอบเก่าไปสู่ระบอบใหม่ แต่เป็ นการแย่งชิงอํานาจจากกษัตริ ย ์ มาแล้วกลับนํามาใช้ในทางที่ผดิ จนเกิดวงจรอุบาทว์ รัฐประหาร บ่อยครั้ง • พระมหากษัตริ ยพ์ ระราชทานรัฐธรรมนูญให้ • อดุล วิเชียรเจริ ญ วิษณุ เครื องาม บวรศักดิ์ อุวรรณโณ
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ • พระมหากษัตริ ย์ไม่ได้ เป็ นเพียง “สัญลักษณ์” ของชาติเท่านัน้ แต่เป็ น “ศูนย์รวมของชาติ” • สถาบันพระมหากษัตริ ย์เป็ นสถาบันเดียวที่แสดงความต่อเนื่องของ ประเทศไทยให้ เห็นเป็ นรูปธรรมที่สดุ • อํานาจอธิปไตยอยูท่ ี่พระมหากษัตริ ย์และประชาชน • ผู้ทรงอํานาจสถาปนารัฐธรรมนูญ คือ พระมหากษัตริ ย์
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ • การเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองในปี ๒๔๗๕ เป็ นการ “ปฏิวตั ิ” ทางรัฐศาสตร์ แต่ในทางนิติศาสตร์ ต้องถือว่าเป็ นความต่อเนื่องของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และระบอบรัฐธรรมนูญ • อํานาจอธิปไตย – กรดไหลย้ อน • “เมื อ่ มี การรัฐประหารเลิ กรัฐธรรมนูญ ก็ตอ้ งถือว่าอํานาจอธิ ปไตยทีเ่ คยพระราชทาน ให้ปวงชนนัน้ กลับคืนมายังพระมหากษัตริ ย์ผทู้ รงเป็ นเจ้าของเดิ มมาก่อน ๒๔ มิ ถนุ ายน ๒๔๗๕... ส่วนคณะรัฐประหารไม่ใช่เจ้าของอํานาจอธิ ปไตย หากมี อํานาจ ปกครองบ้านเมื องในเวลานัน้ ตามความเป็ นจริ งเท่านัน้ และเมื อ่ คณะรัฐประหาร ประสงค์จะจัดทํารัฐธรรมนูญใหม่ เมื อ่ จัดทําแล้วเสร็ จ ต้องนําขึ้นทูลเกล้าฯถวายเพือ่ ขอให้ทรงลงพระปรมาภิ ไธย เมื อ่ ลงพระปรมาภิ ไธยก็เท่ากับว่าพระมหากษัตริ ย์สละ อํานาจอธิ ปไตยกลับคืนมาทีป่ ระชาชนอีกครัง้ หนึ่ง”
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ • ธรรมเนียมปฏิบตั ิทางรัฐธรรมนูญไทย - กษัตริ ย์ยบั ยังร่้ างกฎหมาย รัฐสภาไม่สมควรอย่างยิ่งที่จะใช้ อํานาจตามรัฐธรรมนูญยืนยันกลับไป เพื่อประกาศใช้ กฎหมายนันเสมื ้ อนหนึง่ ว่าทรงลงพระปรมาภิไธย อย่างไรก็ตาม ธรรมเนียมปฏิบตั ินี ้อาจเปลี่ยนแปลงได้ อีกตามพระบรม เดชานุภาพของพระมหากษัตริ ย์แต่ละพระองค์
ช่ วงที่ ๔ อุดมการณ์ กษัตริย์นิยมครอบงําเบ็ดเสร็จ • ไม่ศึกษากษัตริ ย ์ • วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต ศึกษากษัตริ ยไ์ ปในทิศทาง สนับสนุนพระราชอํานาจ (ภายใต้การแนะนําของบวรศักดิ์ อุวรรณ โณ, ธงทอง จันทรางศุ และการสนับสนุนให้ตีพิมพ์แพร่ หลายโดย ธานินทร์ กรัยวิเชียร) • งานอาเศียรวาทในคราบของหนังสื อกฎหมาย (คณะนิติศาสตร์ ศาล อัยการ ทนายความ ส่ วนราชการที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายและ กระบวนการยุติธรรม)
ช่ วงที่ ๕ การกลับสู่ การปฏิวตั ิ ๒๔๗๕ • หลังรัฐประหาร ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙ • ประเด็นปั ญหาเรื่ องบทบาทและตําแหน่งแห่งที่ของกษัตริ ย ์ • ขบวนการ “เสื้ อแดง” กับการเชื่อมโยง ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕
กําเนิดรัฐธรรมนูญ กระแสแรก ฝ่ ายประชาธิปไตย-คณะราษฎร • เป็ นการตกลงกันระหว่างคณะราษฎรซึง่ เป็ นตัวแทนของประชาชนกับ พระปกเกล้ าฯซึง่ เป็ นกษัตริ ย์ในระบอบเก่า เพื่อสร้ างระบอบใหม่ โดย กษัตริ ย์เป็ นประมุขของรัฐ และอยูใ่ ต้ รัฐธรรมนูญ • รัฐธรรมนูญจึงเป็ น "สัญญา" ที่ทําขึ ้นระหว่างคณะราษฎรกับกษัตริ ย์ • หลวงประเจิดอักษรลักษณ์, ไพโรจน์ ชัยนาม, สุพจน์ ด่านตระกูล
กําเนิดรัฐธรรมนูญ กระแสที่สอง ฝ่ ายกษัตริ ย์นิยม-ปฏิปักษ์ ปฏิวตั ิ ๒๔๗๕ • คณะราษฎร "ชิงสุกก่อนห่าม" แย่งชิงอํานาจจากกษัตริ ย์ไป และสุดท้ าย กษัตริ ย์เป็ นผู้พระราชทานรัฐธรรมนูญให้ • รัฐธรรมนูญจึงเป็ นรัฐธรรมนูญที่กษัตริ ย์พระราชทานให้ เอง • อดุล วิเชียรเจริ ญ, บวรศักดิ์ อุวรรณโณ ฯลฯ
กําเนิดรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญ คือ การตัดสินใจฝ่ ายเดียวของผู้ทรงอํานาจสถาปนารัฐธรรมนูญ Emmanuel Joseph Sieyès Carl Schmitt Olivier Beaud
กษัตริย์กบั รัฐประหาร • เหตุใดคณะรัฐประหารเมื่อลงมือรัฐประหารแล้ ว ต้ องให้ กษัตริ ย์ลงนาม ประกาศใช้ รัฐธรรมนูญ? • รัฐประหารแล้ ว อํานาสูงสุดอยูท่ ี่ใคร?
วิษณุ เครืองาม “ในประเทศไทยนัน้ ถือเป็ นประเพณี การเมื องตลอดมาว่า ไม่ว่าจะมี การปฏิ วตั ิ หรื อ รัฐประหารเกิ ดขึ้นครัง้ ใด การตรารัฐธรรมนูญขึ้นใช้บงั คับใหม่จะต้องถือว่าเป็ นความ ตกลงร่ วมกันระหว่างประมุขของรัฐกับคณะผูก้ ่อการปฏิ วตั ิ หรื อรัฐประหารเสมอ ที ่ เป็ นเช่นนีน้ ่าจะมี เหตุผล ๓ ประการ ๑. คณะผูก้ ่อการปฏิ วตั ิ หรื อรัฐประหารต้องการอาศัยพระราชอํานาจทางสังคมของ พระมหากษัตริ ย์ เพือ่ ทีจ่ ะให้ประชาชนรู้สึกและเข้าใจว่าพระมหากษัตริ ย์ก็ทรง ยิ นยอมด้วยตามรัฐธรรมนูญฉบับนีแ้ ล้ว ๒. คณะผูก้ ่อการปฏิ วตั ิ หรื อรัฐประหารต้องการอาศัยพระราชอํานาจทางการเมื อง ของพระมหากษัตริ ย์ เพือ่ ให้นานาประเทศรับรองรัฐบาลใหม่ ๓. เพือ่ แสดงให้เห็นว่าคณะผูก้ ่อการได้ถวายพระเกี ยรติ ยกย่องและยอมรับ พระมหากษัตริ ย์พระองค์นนั้ ไม่เสือ่ มคลาย และต้องการให้มีสถาบันประมุขเช่นเดิ ม อยู่ต่อไป”
กิตติศักดิ์ ปรกติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๓ อํานาจอธิปไตยเป็ นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริ ย์ผ้ ทู รงเป็ นประมุข ทรงใช้ อํานาจนันทางรั ้ ฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี ้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๒๑ ผู้เยาว์จะทํานิตกิ รรมใดๆต้ องได้ รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมก่อน การใดๆที่ผ้ เู ยาว์ได้ ทําลงปราศจากความยินยอมเช่นว่านันเป็ ้ นโมฆียะ เว้ นแต่จะบัญญัติไว้ เป็ นอย่างอื่น ประชาชน (ผู้เยาว์) กษัตริ ย์ (ผู้แทนโดยชอบธรรม)
กิตติศักดิ์ ปรกติ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๘๒๑ บุคคลผู้ใดเชิดบุคคลอีกคนหนึง่ ออกแสดงเป็ นตัวแทนของตนก็ ดี รู้แล้ วยอมให้ บคุ คลอีกคนหนึง่ เชิดตัวเขาเองออกแสดงเป็นตัวแทนของตนก็ ดี ท่านว่าบุคคลผู้นนั ้ จะต้ องรับผิดต่อบุคคลภายนอกผู้สจุ ริ ตเสมือนว่าบุคคล ้ วแทนของตน อีกคนหนึง่ นันเป็นตั ประชาชน (ตัวการ) คณะรัฐประหาร (ตัวแทนเชิด)
กิตติศักดิ์ ปรกติ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๘๒๓ ถ้ าตัวแทนกระทําการอันใดอันหนึง่ โดยปราศจากอํานาจก็ดี หรื อ ทํานอกทําเหนือขอบอํานาจก็ดี ท่านว่าย่อมไม่ผกู พันตัวการ เว้ นแต่ ตัวการจะให้ สตั ยาบันแก่การนันถ้ ้ าตัวการไม่ให้ สตั ยาบัน ท่านว่าตัวแทนย่อม ต้ องรับผิดต่อบุคคลภายนอกโดย ลําพังตนเอง เว้ นแต่จะพิสจู น์ได้ วา่ บุคคลภายนอกนันได้ ้ ร้ ูอยูว่ า่ ตนทําการโดยปราศจากอํานาจ หรื อ ทํา นอกเหนือขอบอํานาจ คณะรัฐประหาร (ตัวแทนเชิด) ต้ องการให้ ประชาชน (ตัวการ) ให้ สตั ยาบันใน การกระทําของตนเอง จึงต้ องให้ กษัตริ ย์ (ผู้แทนโดยชอบธรรมของประชาชน ซึง่ เป็ นผู้เยาว์) ลงพระปรมาภิไธยพระราชทานรัฐธรรมนูญ
• นักกฎหมายมีอดุ มการณ์ใด กษัตริ ย์นิยม? นิติรัฐ-ประชาธิปไตย? • นักกฎหมายสังกัดระบอบใด? ระบอบเก่า? ระบอบประชาธิปไตย? • นักกฎหมายที่อธิบาย ใช้ ตีความกฎหมายไปในทิศทางที่สอดคล้ องกับ ระบอบประชาธิปไตย คือ นักกฎหมายที่สงั กัดระบอบเก่า มีอดุ มการณ์ แบบกษัตริ ย์นิยม แต่ใช้ ระบอบใหม่-นิติรัฐ-ประชาธิปไตย เป็ นที่อยู่ อาศัย เพื่อทําลายระบอบใหม่-นิติรัฐ-ประชาธิปไตย • การสอบทานระบอบ และอุดมการณ์ของนักกฎหมายจึงเป็ นเรื่ องสําคัญ
"Toute constitution est un régicide" "รัฐธรรมนูญทังหลาย ้ คือ การฆ่ากษัตริ ย์" Abbé Rauzan, 1814