Automotive navigator issue Jul-Sep 2013

Page 1



Automotive Navigator

Contents Automotive Navigator Navigate To The Automotive Industry By Thailand Automotive Institute

Contents

กองบรรณาธิการ

ชั้น 4 อาคารสำนักพัฒนาอุตสาหกรรม รายสาขา (สพข.) ซอยตรีมิตร กลวยน้ำไท ถนนพระราม 4 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพ 10110 โทรศัพท : 0 2712 2414 โทรสาร : 0 2712 2415 E-mail : marketing@thaiauto.or.th website : www.thaiauto.or.th

02 03 12

Automotive Industry Statistics & Trends Overview of Thai Automotive Industry

28

Techno Focus Reduce Pollution

President Talk

as of Year 2013 (Jan-Jun)

Cars Delivery News

21

Auto Smart Ethanol Fuel Technology

for Substitution of DIESEL (Part 1)

บรรณาธิการบริหาร ดร.ปฎิมา จีระแพทย

ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ ทัศนา พิริยพฤทธิ์ จุรีรัตน สุวรรณวิทยา

กองบรรณาธิการ

นฤมล บรรทร, อนุสรา จันเกษม, สุชาดา ซึ้งปรีดา, ประเสริฐ ขุนณรงค, ธนวัฒน บุญประดิษฐ, ปรีดี นุกลุ สมปรารถนา, ศมิษฐา สัตตบุศย, ฆนมาศ วงษสวัสดิ์, มณฑล ศุภกำเนิด, สศิญา กลิ่นกาหลง, ชนุดล ชูเรืองสกุล

of Gasolene’s Exaust Gas by using Electronics Air Cleaner

ติดตอลงโฆษณา

32 36

Train the Trainer TWI JI the Grafted on Development to Enhance Technique of Coaching

Testing Standards The Testing of Inner tube for Motorcycle as defined by TIS 683-2530

โทรศัพท : 0 2712 2414 ตอ 6300-6303

จัดทำโดย

หจก. บี. เอ็น. เอส. แอดวานซ โทรศัพท : 0 2708 1910 บทความและรูปภาพทั้งหมด ใน Automotive Navigator Magazine นี้ สงวนสิทธิ์ ตามกฎหมาย หากตองการ นำไป เผยแพรซ้ำไมวาจะเปนบางสวน หรือทั้งหมด ตองอางอิง และระบุ แหลงทีม่ าในเอกสารเผยแพรของทานดวย ทั้งนี้ ทานสามารถดาวนโหลด Automotive Navigator Magazine ไดทางเว็บไซต www.thaiauto.or.th

41

Way to SUCCESS

Adaptation of Thai SMEs in the era of globalization

49

Auto Discuss The Impact Evaluation of Eurozone Crisis and Cancellation the Generalized System of Preferences (GSP) of EU to Thai Automotive Exported Product


President Talk

Talk By Dr. Patima Jeerapaet TAI’s President

16

เดือนของการด�ำรงต�ำแหน่ง ผูอ้ ำ� นวยการสถาบันยานยนต์ ของผมที่ผ่านมา ผมมีความ ภาคภู มิ ใ จอย่ า งยิ่ ง ในการ ได้เข้าไปมีส่วนรวมในการก�ำหนดแผนกลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ต่างๆ ในการพัฒนาอุตสาหกรรม ยานยนต์ ผลักดันแผนแม่บทอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3 ปี พ.ศ. 2555 - 2559 ให้ส�ำเร็จลุล่วงอย่างเป็น รูปธรรม ซึง่ ผมมองว่าเป็นจุดส�ำคัญในการน�ำพา อุ ตสาหกรรมยานยนต์ ไ ทย ก้าวสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน และสถาบันยานยนต์ได้เป็น แรงก�ำลังส�ำคัญในการขับเคลื่อนแก้ไขปัญหา การตรวจ/ ทดสอบ รถยนต์และรถจักรยานยนต์ ทีน่ ำ� เข้าโดยผูน้ ำ� เข้าอิสระ ด้วยการเปิดศูนย์ปฏิบตั ิ การร่วมระหว่างส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม และสถาบันยานยนต์ ซึ่งส่งผล ให้การด�ำเนินงานเป็นระบบ โปร่งใส สามารถ ตรวจสอบได้ และทีน่ า่ ยินดีไปกว่านัน้ คือ ในเดือนกันยายน 2556 นี้ สถาบันยานยนต์ มีอายุครบ 15 ปีบริบรู ณ์ ซึ่ง ในตอนนี้สถาบันฯ ก�ำลังพัฒนาเพื่อความ ก้าวหน้า ค้นหาเทคโนโลยี นวัตกรรม องค์ความรู้ ใหม่ๆ เพื่อน�ำมาพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ ไทยให้มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ ในอนาคตผม คิดว่าสถาบันยานยนต์ จะเป็นหน่วยงานระดับชาติ ทีก่ ำ� กับดูแลในด้านมาตรฐานยานยนต์ ด้านการ พัฒนาบุคลากร รวมถึงผลงานการศึกษาวิจยั ต่างๆ ต้องเป็นทีย่ อมรับในระดับสากลอย่างแน่นอนครับ

2

Throughout 16 months as the president of Thailand Automotive Institute (TAI) I am proud to be a part of strategic and tactic determination for automotive development and published “Master Plan for Automotive Industry 20122016”, which is the significant dynamic to drive Thai automotive industry to the gate of ASEAN. TAI played a major role to support and provide more conveniences to individual importer for having their imported automobile and motorbike; a.k.a. grey market, inspection/testing. TAI has cooperated with Thai Industrial Standards Institute (TISI) in setting up the ad hoc operation center that provides service with systematically, truthfully and accountably. Furthermore, the auspicious occasion is coming to us this September, the 15th anniversary of establishment. At present, TAI is being develop to further step by seeking technology and innovation as well as generating new knowledge in order to upgrade standard of Thai automotive industry and be accepted worldwide. I foresee TAI is institute of the nation that manipulates the standard of automotive, human resource development and R&D to be recognized, internationally.

ส� ำ หรั บ Automotive Navigator Magazine ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2556 ฉบับนี้ มีสาระความรู้มาให้ท่านผู้อ่าน อย่างครบครัน อาทิ บทวิจยั การประเมินผลกระทบ จากวิกฤติหนี้สาธารณะและเศรษฐกิจสหภาพ ยุ โ รป และการยกเลิ ก สิ ท ธิ พิ เ ศษทางภาษี ศุลกากรทั่วไปของสหภาพยุโรป ต่อการส่งออก สินค้า ยานยนต์ไ ทย และบทสรุป ของสภาวะ อุตสาหกรรมยานยนต์ในครึ่งปีแรกที่ผ่านมา รวมถึงบทความเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากรใน Train The Trainer และมาตรฐานการทดสอบ ยางรถยนต์ใน Testing Standards ซึง่ ท่านผูอ้ า่ น สามารถติดตามความรู้ต่างๆ เหล่านี้ได้ภายใน เล่มครับ This issue, we present you assorted informativeness; for instance, Evaluation of effects of European crisis and GPS cancellation to Thailand’s automotive export as well as the Summary of automotive industry condition during the 1st half year. There are also human resource development article in the column of “Train The Trainer”, Standard of tire testing in “Testing Standards”. You are welcome to explore more in this issue. Please, enjoy your reading.


Automotive Industry Statistics & Trends

Overview of Thai Automotive Industry as of Year 2013 (Jan-Jun) ภาพรวมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย ปี 2556 (มกราคม - มิถุนายน) ภาพรวมของอุตสาหกรรมยานยนต์ในเดือน มกราคม-มิถุนายน 2556 มีปริมาณการผลิต รถยนต์รวม 1,340,959 คัน เมื่อเปรียบเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปี 2555 เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 26 ส�ำหรับ ปริมาณการจ�ำหน่ายรถยนต์ในประเทศรวม 740,795 คัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 22 เมื่อเปรียบเทียบกับช่วง เดียวกันของปี 2555 โดยแบ่งเป็นตลาดรถยนต์ นั่งมากที่สุด ส�ำหรับการผลิตรถจักรยานยนต์ มี การผลิตรถจักรยานยนต์สำ� เร็จรูป (CBU) จ�ำนวน 1,194,606 คัน ลดลงร้อยละ 11 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปี 2555 และมีปริมาณจ�ำหน่าย รถจักรยานยนต์ในประเทศรวม 1,097,970 คัน ลดลง ร้อยละ 1 เมือ่ เปรียบเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปี 2555 ในด้านการส่งออก มีปริมาณการส่งออก รถยนต์รวม 534,366 คัน เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 17 เมือ่ เปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2555 ในขณะ ทีป่ ริมาณการส่งออกรถจักรยานยนต์ (CBU และ CKD) มีจ�ำนวน 463,605 คัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 9 เมือ่ เปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2555 โดย แบ่งเป็น CBU จ�ำนวน 160,674 คัน และ CKD จ�ำนวน 302,931 ชุด การส่งออกชิ้นส่วนยานยนต์ที่ส่งออกโดย ผู้ผลิตและประกอบรถยนต์ มีมูลค่า 113,161 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 7 เมื่อเปรียบเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปี 2555 โดยแบ่งเป็นชิน้ ส่วนและ อุปกรณ์ 89,914 ล้านบาท เครื่องยนต์ 13,333 ล้านบาท ชิน้ ส่วนอะไหล่ 8,744 ล้านบาท แม่พมิ พ์ และอุปกรณ์ยึดจับชิ้นงาน 730 ล้านบาท และ ชิ้นส่วนอื่นๆ 440 ล้านบาท สถานการณ์ดุลการค้าสินค้ายานยนต์ (ข้อมูลจากกรมศุลกากร) เดือนมกราคม-มิถนุ ายน 2556 มีมูลค่าการส่งออกยานยนต์และชิ้นส่วน

ยานยนต์รวมทั้งสิ้น 508,191 ล้านบาท เพิ่มขึ้น ร้อยละ 8 จากช่วงเดียวกันของปี 2555 จ�ำแนก เป็นการส่งออกรถยนต์ 248,282 ล้านบาท เพิม่ ขึ้นร้อยละ 16 รถจักรยานยนต์มูลค่า 22,013 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 13 และชิน้ ส่วนยานยนต์ มูลค่า 237,896 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 1 โดย แบ่งเป็นชิน้ ส่วนรถยนต์และชิน้ ส่วนรถจักรยานยนต์ 228,639 และ 9,257 ล้านบาทตามล�ำดับ สำ�หรับการนำ�เข้า มีมลู ค่านำ�เข้ายานยนต์ และชิ้นส่วนยานยนต์ 321,452 ล้านบาท เพิ่ม ขึ้นร้อยละ 9 จากช่วงเดียวกันของปี 2555 โดย นำ�เข้ารถยนต์ 28,355 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 24 รถจักรยานยนต์ 3,634 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 123 และชิน้ ส่วนยานยนต์มลู ค่า 289,463 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 14 โดยแบ่งเป็นชิ้นส่วนรถยนต์ และรถจักรยานยนต์ 279,903 และ 9,560 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ดังนัน้ จึงทำ�ให้ดลุ การค้ายานยนต์ในปี 2556 (ม.ค.-มิ.ย.) มีมลู ค่าส่งออกมากกว่านำ�เข้า 186,739 ล้านบาท คิดเป็นดุลการค้าเกินดุล เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2555 Overview of Thai automotive industry as of Jan-Jun 2013, the total number of automobile production is 1,340,959 units, which is increased 26% from the same period of last year. On the other hand, the total number of domestic sale is 740,795 units or 22% increasing from last year by which passenger car take the highest market share. The total production of motorcycle in CBU is 1,194,606 units, decreasing 11%, while the total domestic sale volume is 1,097,970 units, decreasing 1% compared to the same period of previous year.

Total export number of automobile is 534,366 units or rising up 17% and motorcycle’s (CBU & CKD) is 463,605 units, increasing 9% from the same period of year 2012 (CBU = 160,674 units and CKD = 302,931 sets) Total export value of auto parts, based on operators’ records, is 113,161 MB, 7% more than last year (OEM = 89,914 MB, Engine = 13,333 MB, Spare part = 8,744 MB, JIG & DIE = 730 MB and Others = 440 MB). During the first half year (Jan-Jun, 2013), based on the Customs Department’s data, the total export value of automotive and auto part items is 508,191 MB or increasing 8%, by which 248,282 MB is the value of automobile export or rising up 16%, while 22,013 MB is from exporting motorcycle, expanding 13%. However, the value of auto part export reduced 1% with the value at 237,896 MB (automobile part = 228,639 MB and motorcycle part = 9,257 MB) The total import value of automotive and auto part is 321,452 MB, 9% increasing from last year by which automobile = 28,355 MB (reducing 24%), Motorcycle = 3,634 MB (123% escalation) and auto part = 289,463 MB (expanding 14%); automobile part = 279,903 MB and motorcycle part = 9,560 MB. As a result, the automotive trade balance as of Jan-Jun 2013 has greater value of export than import at 186,739 MB. The trade surplus is increased 4% from the same period of last year.

3


สภาวะอุตสาหกรรม ยานยนต์เดือนมกราคมมิถุนายน 2556 1. รถยนต์

ในปี 2556 (ม.ค.-มิ.ย) มีปริมาณการผลิต รถยนต์ทงั้ สิน้ 1,340,959 คัน โดยแบ่งเป็น รถยนต์ นัง่ จ�ำนวน 592,101 คัน รถกระบะ 1 ตัน จ�ำนวน 719,887 คัน และรถยนต์เพือ่ การพาณิชย์ (ไม่รวม รถกระบะ 1 ตัน) จ�ำนวน 28,971 คัน เมือ่ เปรียบ เทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2555 เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 26 โดยการผลิตรถยนต์นงั่ มีอตั ราการเติบโตมากทีส่ ดุ ที่ร้อยละ 65 ด้ า นปริ ม าณการจำ�หน่ า ยรถยนต์ ใ น ประเทศมีจำ�นวน 740,795 คัน เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 22 โดยรถยนต์นั่ง มีปริมาณการจำ�หน่ายมากที่สุด คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 50 รถกระบะ 1 ตัน คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 44 และรถยนต์เพื่อการพาณิชย์ (ไม่รวมรถกระบะ 1 ตัน) คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 6 โดยที่ปริมาณจำ�หน่ายรถยนต์ในแต่ละประเภท มีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ (ตารางที่ 2-4) ตลาดรถยนต์นงั่ มีปริมาณจ�ำหน่ายทัง้ สิน้ 371,666 คัน เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 40 เมือ่ เปรียบเทียบ กับช่วงเดียวกันของปี 2555 จะเห็นว่ารถยนต์นั่ง ทุกขนาดมีปริมาณจ�ำหน่ายเพิม่ ขึน้ ยกเว้นรถยนต์ นัง่ ขนาด 2,501-3,000 cc ลดลงร้อยละ 24 และ รถยนต์นงั่ ขนาด 3,001 cc ขึน้ ไป ลดลงร้อยละ 1 โดยรถยนต์นงั่ ขนาดไม่เกิน 1,500 cc และรถยนต์ นั่งขนาด 2,001-2,500 cc มีปริมาณจ�ำหน่าย เพิม่ ขึน้ มากทีส่ ดุ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 46 อย่างไรก็ตาม รถยนต์นั่งที่มีปริมาณจ�ำหน่ายสูงสุดคือ รถยนต์ นัง่ ขนาดไม่เกิน 1,500 cc ซึง่ มีสดั ส่วนร้อยละ 70 ของตลาดในกลุ่มนี้

ตลาดรถกระบะ 1 ตัน มีปริมาณจ�ำหน่าย ทั้งสิ้น 326,947 คัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 7 เมื่อเปรียบ เทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2555 โดยกระบะ 1 ตัน ประเภท 4 ประตู มีปริมาณจ�ำหน่ายเพิม่ ขึน้ มาก ที่สุด จ�ำนวน 113,957 คัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 9 รถกระบะ 1 ตันประเภท 2 ประตู มีปริมาณ จ�ำหน่าย 182,500 คัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 8 และ รถกระบะกึ่งบรรทุก (PPV) มีปริมาณจ�ำหน่าย 30,490 คัน ลดลงร้อยละ 4 ตลาดรถเพือ่ การพาณิชย์ (ไม่รวมรถกระบะ 1 ตัน) ได้แก่ รถบรรทุกขนาดต่างๆ ประกอบด้วย รถบรรทุก น้อยกว่า 1 ตัน รถบรรทุกขนาดน้อย กว่า 5 ตัน รถบรรทุกขนาดใหญ่ รถตู้ และรถ โดยสาร มีปริมาณจ�ำหน่ายจ�ำนวน 41,933 คัน มีอัตราการเติบโตเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของ ปี 2555 เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 22 โดยทีร่ ถบรรทุกขนาด น้อยกว่า 5 ตัน มีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นมาก ที่สุด คือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 53 และรถตู้มีอัตรา การเติบโตลดลง ร้อยละ 8

There are 740,795 units of automobile have been sole domestically, growing 22%. The passenger car is the highest sale or 50%, 44% for 1-ton pick-up truck and 6% for commercial car (excluded 1-ton pick-up truck). In Table 4, it shows number of automobile domestic sale in each type Passenger car 371,666 units are domestic sale, growing 40% compared to previous year. It is noticeable that most sizes of passenger car are increased, except 2,501-3,000 cc and 3,001 up which reducing 24% and 1%, respectively. In the meantime, passenger car with capacity not over 1,500 cc and 2,001-2,500 cc are ranked in topmost position with the growth rate at 46% by which the capacity not over 1,500 cc is the highest sale volume and takes 70% of this market sector. 1 ton Pick-up truck has been sold for 326,947 units, rising 7% compared to last year in the same period. 113,957 unit of 1 ton pick-up truck with 4-door sold, which is the highest increasing rate, 9%. Meanwhile, the total sale volume of 1 ton pick-up truck with 2-door is 182,500 units, 8% growth rate, and PPV’s has been dropped down 4% or 30,490 units. Commercial car (excluded 1 ton Pick-up truck) is referred to Truck < 1-ton, Truck < 5-ton, Larger truck, Van and Bus. There are 41,933 units sold, which increases 22%. The truck < 5-ton is the topmost growth rate at 53% while Van is the undermost with sale growth rate only 8%.

Automotive Industry condition as of Jan - Jun 2013 1. Passenger car

During Jan-Jun 2013, there are 1,340,959 units of total automobile manufacturing which increases 26% from last year by which Passenger car = 592,101 units, 1-ton Pick-up truck = 719,887 units and Commercial car (excluded 1-ton pick-up truck) = 28,971 units. The highest growth rate; 65%, belongs to passenger car.

Table 1: Total Number of Thailand’s Automobile Production as of 2007 - 2013 by type Items

2012

2013

957,623

358,622

592,101

65.10%

670,734 1,066,759

899,200 1,452,252

682,247

719,887

5.52%

15,202

20,608

20,428

28,971

41.82%

999,378 1,645,304 1,457,795 2,453,717 1,061,297 1,340,959

26.35%

2007

2008

2009

2010

2011

2012

Passenger car

315,444

401,474

313,442

554,387

537,987

1 ton pick-up Commercial car (excld 1 ton pick-up) Total

948,380

974,775

23,522

17,780

Increase/Decrease (%)

1,287,346 1,394,029 8.36%

8.29%

-28.31%

24,158 64.63%

Remark(s): Double Cab and PPV are included in the 1-ton pick-up truck Source: Automotive Intelligent Unit

4

Unit (S) % Change

-11.40%

43,842 68.32%

Jan - Jun Jan - Jun 2013 / 2012


Table 2: Total Number of Thailand’s Automobile Domestic Sale as of Year 2007 - 2013 by Type Items

2012

2013

694,234

266,038

371,666

39.70%

52,611

74,132

34,485

41,933

21.60%

387,793

365,848

667,532

305,867

326,947

6.89%

-

-

-

437

153

249

0.00%

615,269

548,871

800,357

796,123 1,436,335

606,543

740,795

22.13%

-2.53%

-10.79%

45.82%

-0.53%

2007

2008

2009

2010

2011

2012

182,767

239,954

238,773

362,561

377,664

42,619

41,033

34,206

50,003

405,865

334,282

275,892

-

-

Total

631,251

Increase/Decrease (%)

-7.46%

Passenger car Commercial car (excld 1 ton pickup truck) 1 ton pickup truck Others

Unit (S) % Change

Jan - Jun Jan - Jun 2013 / 2012

80.42%

Source(s): Automotive Intelligent Unit Table 3: Comparison the Number of Automobile Domestic Sale by each type’s market

178,323 50,962 20,342 10,170 483 106 5,652 266,038 169,552 104,644 31,671 305,867 13,109 143 4,012 5,818 3,467 7,752 184 34,485 153

261,069 59,348 28,265 14,850 367 105 7,662 371,666 182,500 113,957 30,490 326,947 12,088 150 4,780 8,915 4,447 11,017 536 41,933 249

% Change 2013 / 2012 46.40% 16.46% 38.95% 46.02% -24.02% -0.94% 35.56% 39.70% 7.64% 8.90% -3.73% 6.89% -7.79% 4.90% 19.14% 53.23% 28.27% 42.12% 191.30% 21.60% 62.75%

606,543

740,795

22.13%

Jan - Jun 12

Passenger car

1 Ton pick-up

Other Commercial Vehicle

Others

650-1,500 cc. 1,501-1,800 cc. 1,801-2,000 cc. 2,001-2,500 cc. 2,501-3,000 cc. 3,001 cc. UP Others Total 2 Doors 4 Doors PPC Total Van Bus Pick-up < 1 ton Truck < 5 ton Truck 5-10 ton Truck >10 ton Others Total Total

Total Grand sale

Unit (S)

Jan - Jun 13

Source : Automotive Intelligent Unit 5


Table 4: Comparison the Proportion of Automobile Domestic Sale by type Jan - Jun 12 Volume Sale proportion 266,038 43.86%

Items Passenger car Commercial vehicle (excld 1 ton pick-up) 1 Ton pick-up

Jan - Jun 13 Volume Sale proportion 371,666 50.17%

Unit(s) % Change 2013 / 2012 39.70%

34,485

5.69%

41,933

5.66%

21.60%

305,867

50.43%

326,947

44.13%

6.89%

Others

153

0.03%

249

0.03%

62.75%

Total

606,543

100.00%

740,795

100.00%

Remark(s): PPV is included in the 1-ton pick-up truck Proportion of Automobile Domestic Sales as of Jan - Jun 2012

1 Ton pick up

Passenger car

50.43%

43.86%

Proportion of Automobile Domestic Sales as of Jan - Jun 2013

1 Ton pick-up

Commercial vehicle (Exclude 1 Ton pick-up)

Source: Automotive Intelligent Unit

6

50.17% Commercial vehicle (Exclude 1 Ton pick-up)

5.69%

ด้านการส่งออกรถยนต์ของไทย ในปี 2556 (ม.ค.-มิ.ย.) เมื่อพิจารณาจากข้อมูลของผู้ผลิต และประกอบรถยนต์ (ตารางที่ 5) พบว่ามีปริมาณ ส่งออก จำ�นวน 534,366 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วง เดียวกันของปี 2555 ร้อยละ 17 คิดเป็นมูลค่า การส่งออก 240,815 ล้านบาท มีมูลค่าเพิ่มขึ้น จากช่วงเดียวกันของปี 2555 ร้อยละ 11 ส่วนการส่งออกรถยนต์ เมือ่ พิจารณาข้อมูล จากกรมศุลกากร (ตารางที่ 11) มีมลู ค่าการส่งออก ทัง้ สิน้ 248,282 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกัน ของปี 2555 ร้อยละ 16 โดยรถยนต์ทม่ี กี ารส่งออก มากที่สุดได้แก่ การส่งออกรถแวน และปิกอัพ มูลค่า 150,845 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกัน ของปี 2555 ร้อยละ 1 รองลงมาคือ รถยนต์นั่ง มีมูลค่าการส่งออก 89,153 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จากช่วงเดียวกันของปี 2555 ร้อยละ 61 ในด้านการน�ำเข้ารถยนต์ปี 2556 (ม.ค.-มิ.ย.) โดยพิจารณาข้อมูลจากกรมศุลกากร พบว่ามีมลู ค่า การน�ำเข้า 28,355 ล้านบาท มีอัตราการน�ำเข้า ลดลงจากช่วงเดียวกันของปี 2555 ร้อยละ 24 โดยรถยนต์ที่น�ำเข้ามากที่สุดได้แก่ รถยนต์นั่งมี

Passenger car

44.13%

5.66%

มูลค่า 18,357 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกัน ของปี 2555 ร้อยละ 22 ส่วนรถยนต์โดยสารและ รถบรรทุกมีมูลค่า 9,998 ล้านบาท ลดลงจาก ช่วงเดียวกันของปี 2555 ร้อยละ 28

2. รถจักรยานยนต์ การผลิตรถจักรยานยนต์ของไทยในปี 2556 (ม.ค.-มิ.ย.) มีปริมาณการผลิต จำ�นวนทั้งสิ้น 1,194,606 คัน ลดลงร้อยละ 11 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปี 2555 ทั้งนี้เมื่อพิจารณาการ ผลิตรถจักรยานยนต์จำ�แนกรายประเภท พบว่า มีการผลิตรถจักรยานยนต์แบบครอบครัว จำ�นวน 1,017,259 คัน ลดลงร้อยละ 16 และรถจักรยานยนต์ แบบสปอร์ต จำ�นวน 177,347 คัน เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 39 Based on operator’s record (Table 5) reveals that total number of Thai automobile export as of Jan-Jun 2013 is 534,366 units, 17% growing from last year with value of 240,815 MB which is increased 11% from year 2012. Whereas, the Customs Department’s data (Table 11) shows the total value of automobile export is 248,282 MB, increasing 16% from 2012.

The highest export value belongs to van and pick-up truck which has value altogether at 150,845 MB or 1% increases from last year. Passenger car is the runner up with the value at 89,153 MB or growing 61% from the same period of last year. The Customs Department’s data also indicates that total import value of automobile as of Jan-Jun 2013 is 28,355 MB or reducing 24%. Passenger car is the highest import value at 18,357 MB, but decreasing 22%. For import value of bus and truck is lessen 28% with value at 9,998 MB.

2. Motorcycle The total manufacturing of motorcycle as of Jan-Jun 2013 is 1,194,606 units, 11% less than in year 2012. The total production of family typed has dropped down 16% at 1,017,259 units, while the total production of sport type increases 39%, 177,347 units.


Table 5: Total Number and Value of Automobile Export as of Year 2007-2013 Items Volume (Units) Value (MB)

Unit: Unit (s) and MB

2012

2013

Jan - Jun

Jan - Jun

457,049

534,366

% Change 2013 / 2012 16.92%

306,595.20 351,640.71 251,342.99 404,659.37 343,383.92 490,134.74 217,184.62 240,814.72

10.88%

2007 690,100

2008 776,241

2009 535,563

2010 895,855

2011 735,627

2012 1,026,671

% of Change (Units)

28.04%

12.48%

-31.01%

67.27%

-17.89%

39.56%

16.92%

% of Change (MB)

27.34%

14.69%

-28.52%

61.00%

-15.14%

42.74%

10.88%

Source : Automotive Intelligent Unit Table 6: Total Number of Motorcycle Production as of Year 2007-2013 Types

Unit (s)

% Change 2012 2013 / 2012 Jan - Nov Jan - Nov 2,348,642 1,217,017 1,017,259 -16.41% 2012

2013

2007

2008

2009

2010

2011

Family

1,563,789

1,768,393

1,511,238

1,921,880

1,871,296

Sport

90,196

155,922

124,011

105,038

174,872

257,519

127,782

177,347

38.79%

Total

1,653,985

1,924,315

1,635,249

2,026,918

2,046,168

2,046,168

1,344,799

1,194,606

-11.17%

-20.65%

16.34%

-15.02%

23.95%

0.95%

0.95%

% of Change

Source : Automotive Intelligent Unit ตลาดรถจักรยานยนต์ในประเทศปี 2556 (ม.ค.-มิ.ย.) มีปริมาณจ�ำหน่าย 1,097,970 คัน ลดลงร้อยละ 1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2555 โดยทีผ่ นู้ ำ� ตลาดจักรยานยนต์ยงั เป็นฮอนด้า มีสดั ส่วนตลาดร้อยละ 74 รองลงมาคือ ยามาฮ่า ร้อยละ 19 และซูซูกิ ร้อยละ 3 ตามล�ำดับ

The growth rate of motorcycle’s domestic sale volume during Jan-Jun 2013 is 1,097,970 units, reducing 1%. Honda is the leader in this market which takes 74%, followed by Yamaha at 19% and Suzuki at 3%.

7


Table 7: Total Number of Motorcycle Domestic Sales as of Year 2013 by type Types

2011

Family Scooter Sport Total % Y-O-Y

2012

962,888 974,244 70,252 2,007,384 8.74%

989,114 1,062,456 78,497 2,130,067 6.11%

2012 Jan - Jun 516,383 550,111 39,530 1,106,024

2013 Jan - Jun 523,783 500,283 73,904 1,097,970

% YTD

Unit (s) 1.43% -9.06% 86.96% -0.73%

Source : Automotive Intelligent Unit Table 8: Total Number of Motorcycle Domestic Sales as of Year 2013 by made No.

Manufacturer

Market Share (%)

1

Honda

810,463

73.81%

2

Yamaha

211,901

19.30%

3

Suzuki

28,900

2.63%

4

Kawasaki

24,928

2.27%

5

Tiger

502

0.05%

6

Platinum

368

0.03%

7

JRD

-

0.00%

8

Others

20,908

1.90%

1,097,970

100.00%

Total

Source : Automotive Intelligent Unit 8

Volume (Units)

Unit (s)

ด้านการส่งออกรถจักรยานยนต์ของไทยนัน้ จากข้อมูลของผูผ้ ลิต และประกอบรถจักรยานยนต์ มีปริมาณการส่งออก (รวม CBU และ CKD) ใน ปี 2556 (ม.ค.-มิ.ย.) จ�ำนวนทั้งสิ้น 463,605 คัน โดยแบ่งเป็นการส่งออก CBU จ�ำนวน 160,674 คัน และการส่งออก CKD จ�ำนวน 302,931 ชุด คิดเป็น มูลค่า 17,220 ล้านบาท เมือ่ เปรียบเทียบกับ ช่วง เดียวกันของปี 2555 ปริมาณส่งออก เพิ่มขึ้น ร้อยละ 9 และมีมูลค่าเพิ่มขึ้น ร้อยละ 16 For total export number of motorcycle (included CBU and CKD), during Jan-Jun 2013, from operator’s report is 463,605 units, 9% of growth rate, (CBU = 160,674 units and CKD = 302,931 sets) or 17,220 MB which is 16% greater value than last year.


Table 9: Total Number of Motorcycle Export as of Year 2007-2013 Types

2010

2011

Change 2012 2013 %2013 Jan - Jun Jan - Jun 2012 /

2007

2008

1,789,485

1,255,212

588,398

816,427

1,213,002

856,935

426,402

463,605

8.72%

CBU

101,560

150,948

115,280

155,688

221,164

313,991

172,313

160,674

-6.75%

CKD

1,687,925

1,104,264

473,118

660,739

991,838

542,944

254,089

302,931

19.22%

CBU & CKD (MB)

41,653.80

26,551.97

19,331.31

25,013.18

24,351.92

29,659.88

14,897.04

17,219.62

15.59%

CBU & CKD (Units)

2009

Unit: (s)

2012

Source : Automotive Intelligent Unit Table 10: Total Export Value of Auto Parts as of Year 2007-2013 by type Types

Unit: MB

2012 2013 % Change Jan - Jun Jan - Jun 2013 / 2012

2007

2008

2009

2010

2011

2012

Engine

10,504.24

18,029.29

13,266.37

21,610.40

26,669.68

26,991.95

14,595.19

13,333.20

-8.65%

Spare part

7,651.20

11,007.04

12,531.85

14,451.09

16,438.75

20,116.53

9,625.83

8,743.53

-9.17%

JIG & DIE

662.29

2,121.94

994.10

1,304.38

1,682.21

1,720.91

680.46

730.12

7.30%

86,225.42 141,422.74 136,450.30 168,541.97

79,508.14

89,913.79

13.09%

1,779.61

440.45

-75.25%

132,516.57 164,929.39 113,408.39 179,350.25 183,680.36 219,681.65 106,189.23 113,161.09

6.57%

OEM and part

112,341.88 132,813.68

Others Total

1,356.96

957.44

390.65

561.64

2,439.42

2,310.29

Source : Automotive Intelligent Unit

3. ชิ้นส่วนยานยนต์ การส่งออกชิ้นส่วนยานยนต์ในปี 2556 (ม.ค.-มิ.ย.) โดยพิจารณาจากข้อมูลผู้ผลิตและ ประกอบรถยนต์ (ตารางที่ 10) พบว่ามีมลู ค่าทัง้ สิน้ 113,161 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกันของปี 2555 ร้อยละ 7 ชิ้นส่วนยานยนต์ที่มีการส่งออก มากทีส่ ดุ คือ ชิน้ ส่วนประกอบ และอุปกรณ์มมี ลู ค่า การส่งออกทัง้ สิน้ 89,914 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 13 รองลงมาคือ แม่พมิ พ์ และอุปกรณ์ยดึ จับชิน้ งาน มีมลู ค่าการส่งออก 730 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 7 และชิ้นส่วนอื่นๆ มีมูลค่าการส่งออก 440 ล้านบาท ลดลงมากที่สุด ร้อยละ 75 ส่วนการส่งออกชิ้นส่วนยานยนต์รวมของ ไทยในปี 2556 (ม.ค.-มิ.ย.) โดยพิจารณาข้อมูล จากกรมศุลกากร (ตารางที่ 11) มีมลู ค่าการส่งออก รวมทั้งสิ้น 237,896 ล้านบาท ลดลงจากช่วง เดียวกันของปี 2555 ร้อยละ 1 โดยจ�ำแนกเป็น ชิ้นส่วนรถยนต์มูลค่า 228,639 ล้านบาทและ การส่งออกชิน้ ส่วนรถจักรยานยนต์ มูลค่า 9,257 ล้านบาท โดยชิ้นส่วนที่มีมูลค่าการส่งออกมาก ที่สุด คือ ส่วนประกอบและอุปกรณ์อื่นๆ 97,636 ล้านบาท ส่วนมูลค่าการส่งออกชุดสายไฟรถยนต์

และยางยานพาหนะ ลดลงร้อยละ 21 และ 5 ตาม ล�ำดับ เนือ่ งจากยังคงได้รบั ผลกระทบจากวิกฤต ยูโรโซน ในด้านการน�ำเข้าชิ้นส่วนยานยนต์รวม ของไทยในปี 2556 (ม.ค.-มิ.ย.) โดยพิจารณา ข้อมูลจากกรมศุลกากร (ตารางที่ 11) พบว่ามี มูลค่า 289,463 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกัน ของปี 2555 ร้อยละ 14 โดยจ�ำแนกเป็นชิ้นส่วน รถยนต์มูลค่า 279,903 ล้านบาท และน�ำเข้า ชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์มูลค่า 9,560 ล้านบาท โดยชิน้ ส่วนรถยนต์ทนี่ ำ� เข้า มีมลู ค่ามากทีส่ ดุ คือ ส่วนประกอบ และอุปกรณ์รถยนต์รวมทัง้ โครงรถ และตัวถังมูลค่า 161,838 ล้านบาท

3. Auto Part Considering from the operator’s record (Table 10), total export value of auto part as of Jan-Jun 2013 increases 7% or 113,161 MB from last year. The highest export value is OEM and part with value at 89,914 MB or 13% increasing, followed by JIG & DIE with the value of 730 MB or 7% up. For other is dropped down by 75% with value at 440 MB.

Based on the Customs department’s data (Table 11) shows that total export value of auto part in 2013 (Jan-Jun) is 237,896 MB which is lessen 1% by which automotive part = 228,639 MB and motorcycle part = 9,257 MB. The highest export value is other parts and accessories at 97,636 MB. As a result from the Eurozone crisis causes the reduction in export value of Ignition wiring sets used in vehicles and Pneumatic tires and inner tubes of rubber, 21% and 5% lower than last year’s, respectively. On the other hand, the total import value of auto part in 2013 (Jan-Jun) is 289,463, 14% increasing from the previous year (Table 11). The import value of automotive part is 279,903 MB and motorcycle part is 9,560 MB. The highest import value belongs to Parts and accessories; including, chassis and bodies with value at 161,838 MB.

9


4. ดุลการค้าต่างประเทศ

ดุลการส่งออกและน�ำเข้ายานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ในปี 2556 (ม.ค.-มิ.ย.) มีมูลค่าทั้งสิ้น 186,739 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2555 ซึง่ มีมลู ค่า 178,855 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 4

4. International Trade Balance

Export-Import trade balance of automotive and auto part as of Jan-Jun 2013 has total value at 186,739 MB, 4% increasing from last year which had total value at 178,855 MB. Table 11: Total Export-Import Value of Thai Automotive and Auto Part as of year 2008 -2013 code

List Export: Automotive & Auto part (1 - 3)

2012

2012 2013 Jan - Jun Jan - Jun

MB Growth %

2012

2013 Jan - Jun

2008

2009

2010

2011

708,773.84

543,822.32

779,56.52

780,944.07

1,010,349.10

472,571.51

508,190.61

29.38

7.54

60.64

321010100

(1.1) Passenger car

165,895.03

132,673.19

214,109.94

182,000.66

153,127.09

55,497.21

89,153.49

-15.86

321010200

(1.2) Van and Pick-up

148,745.45

92,027.44

152,882.99

134,269.09

323,127.56

148,782.34

150,845.28

140.66

1.39

321010300

(1.3) Bus and Truck

32,522.06

27,750.49

31,416.07

26,610.32

18,095.12

9,471.20

8,283.04

-32.00

-12.55

346,163.54

252,451.12

398,409.00

342,880.06

494,349.78

213,750.75

248,281.80

44.18

16.15

(1) Total export of automobile

321020100

(2.1) Motorcycle

16810.29

16,767.95

17,218.78

18,961.55

30.241.27

16,955.04

18,601.67

59.49

9.71

321020201

(2.2) CKD for Motorcycle

5,082.21

2,848.80

2,874.03

5,821.80

5,244.69

2,457.36

3,411.47

-9.91

38.83

21,892.51

19,616.75

20,092.81

24,783.35

35,485.96

19,412.39

22,013.14

43.18

13.40

(2) Total export of motorcycle

321040000

(3.1) Spark- ignition reciprocating internal combustion piston engines and parts thereof

69,492.99

53,538.67

79,28.43

88,771.56

99,018.81

49,487.13

488,858.17

11.54

-1.27

343100000

(3.2) Transmission shafts and cranks

6,852.02

5,047.53

7,390.44

8,879.67

10,019.51

4,645.54

4,578.31

12.84

-1.45

321050000

(3.3) Electrical equipment for spark ignition internal combustion engines and parts thereof

6,691.67

4,821.08

7,243.18

7,466.18

11,706.30

5,776.03

5,839.32

56.76

1.10

321010404

(3.4) Ignition wiring sets used in vehicles

13,092.13

9,880.13

13,451.15

13.205.82

14,571.00

7,702.41

6,087.25

10.34

-20.97

303160000

(3.5) Electric accumulators and parts thereof

7,787.81

6,537.84

8,043.98

8,477.20

21,921.90

11,070.00

10,541.47

158.60

-4.77

317010000

(3.6) Pneumatic tyres and innertubes of rubber

68,957.10

64,280.00

84,765.72

114,301.24

107,645.99

55,290.74

52,397.11

-5.82

-5.23

336030000

(3.7) Safety glass and glass mirrors

5,168.36

4,277.96

4,808.47

4,752.66

5,396.45

2,667.90

2,700.76

13.55

1.23

321010405

(3.8) Other parts and accessories for motor vehicles

143,923.98

108,078.29

139,303.85

147,026.15

191,779.10

93,563.89

97,636.20

30.44

4.35

321020202

(3.9) Other parts and accessories for motor motorcycles

18,752.73

15,292.95

17,167.49

20,400.19

18,454.29

9,204.73

9,257.07

-9.54

0.57

340,718.79

271,754.45

361,454.72

413,28.66

480,513.36

239,408.37

237,895.67

16.27

-0.63

2008

2009

2010

2011

2012

277,797.64

224,444.40

370,123.09

395,416.32

669,113.12

293,716.30

321,451.97

69.22

9.44

(3) Total export of auto part

code

List Import: Automotive & Auto part (1-3)

2012 2013 Jan - Jun Jan - Jun

2012

2013 Jan - Jun

501000000

(1.1) Passenger motorcars

15,495.99

14,948.63

25,278.46

26,699.30

43,736.01

23,643.91

18,356.63

63.81

-22.36

502010000

(1.2) Buses and Trucks

16,406.14

12,709.52

20,453.89

24,821.71

29,362.38

13,816.86

9,997.92

18.29

-27.64

(1) Total import of auto

31,905.13

27,658.15

45,732.35

51,521.01

73,098.39

37,460.77

28,354.55

41.88

-24.31

438.39

274.66

612.91

1,304.89

4,008.82

1,630.74

3,634.47

207.21

122.87

505000000 (2) Motorcycle 204030100

(3.1) Engines, transmission shafts and other parts

97,848.61

73,698.22

119,930.71

128,158.45

180,650.99

77,407.44

85,401.31

40.69

10.33

504020000

(3.2) Parts and accessories including chassis and bodies

111,965.11

92,879.07

161,351.09

167,542.47

328,454.67

140.936.86

161,838.30

96.04

14.83

504010000

(3.3) Tyres

7,603.64

7,373.15

9,698.82

11,284.97

15,357.29

6,486.54

7,057.48

36.09

8.80

504030000

(3.4) Other parts and accessories

13,870.54

11,730.64

18,045.00

20,587.76

50,361.03

21,670.56

25,606.32

144.62

18.16

507000000

(3.5) Parts and accessories of motorcycles and bicycles

14,166.23

10,830.50

14,752.20

15,016.77

17,168.88

8,123.40

9,559.55

14.33

17.68

(3) Total import of auto part

245,454.12

196,511.59

323,777.82

342,590.42

591,992.86

254,624.80

289,462.95

72.80

13.68

Export - Import

430,976.20

319,377.92

409,833.44

385,527.75

341,235.98

178,855.21

186,738.64

-11.49

4.41

Source : By cooperative of Department of Trade Negotiations and the Customs department 10


แนวโน้มอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย แนวโน้มอุตสาหกรรมรถยนต์ไทยในช่วง 3 เดือนข้างหน้า (ก.ค.-ก.ย.) 2556 คาดว่าจะมี ปริมาณการผลิตจ�ำนวน 633,231 คัน เฉลีย่ เดือน ละ 211,077 คัน แบ่งเป็นการผลิตเพื่อจ�ำหน่าย ในประเทศ จ�ำนวน 331,358 คัน คิดเป็นร้อย ละ 52 และการผลิตเพือ่ ส่งออก จ�ำนวน 301,873 คัน คิดเป็นร้อยละ 48 ทัง้ นี้ การผลิตรถยนต์สว่ น ใหญ่ ยังคงเป็นรถยนต์ประเภทกระบะ 1 ตัน และ อนุพนั ธ์ ซึง่ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 53 ส่วนรถยนต์ นัง่ ขนาด เล็กขนาดเครื่องยนต์ไม่เกิน 1,500 cc ซึ่งรวมถึงรถยนต์อโี คคาร์นนั้ มีสดั ส่วนการผลิต ร้อยละ 31

ระบบสัญญาณเตือนภัย อุตสาหกรรมยานยนต์ ระบบสั ญ ญาณเตื อ นภั ย อุ ต สาหกรรม ยานยนต์เมื่อคาดการณ์ไปในเดือนมิถุนายนกันยายน 2556 คาดว่า อยู่ในเกณฑ์ปกติ โดย

ภาพรวมของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยมีแนวโน้ม ขยายตัว ซึ่งเป็นผลมาจาก ดัชนีความเชื่อมั่น ผูบ้ ริโภคของสหราชอาณาจักร ดัชนีความเชือ่ มัน่ ผูบ้ ริโภคของสหรัฐอเมริกา และดัชนีชนี้ ำ� ผสมของ ประเทศเอเซีย 5 ประเทศ ที่อยู่ในภาวะฟื้นตัว รวมทั้งดัชนีมูลค่าค้าปลีกทั่วประเทศของไทยที่ อยู่ในภาวะขยายตัวด้วย

Tendency of Thai Automotive Industry It is expected that total Thai automobile production in Q3 (Jul-Aug) will be 633,231 units or 211,077 units/month. The proportion of domestic sale to export will be 52:48 (Sale = 331,358 units Export = 301,873 units). The highest number of production will be 1-ton pick-up truck and PPV or 53% of total production; while small passenger car (≤ 1,500 cc) and Eco car will be produced 31%.

Alarm System of Automotive Industry Alarm System of Automotive Industry has indicated that during the period of Jun-Sep 2013 would be normal. In general, the whole aspect of Thai automotive industry will be expanded, due to recent recovery of Business Sentiment Index of UK, Commodity Channel Index (CCI) of the US. and Composite index of 5 Asia countries as well as the expansion stage of Thailand’s Consumer Price Index.

11


Cars Delivery News

Management team from MOI observed the TISI-TAI cooperative center, testing center, for imported car of individual automotive importer, the collaboration between TISI and TAI คณะผู้บริหารกระทรวงอุตฯ ลงตรวจศูนย์ปฏิบัติการร่วม สมอ. - สยย. เพื่อผู้น�ำเข้าอิสระ เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2556 ดร.ปฏิมา จีระแพทย์ ผู้อ�ำนวยการสถาบันยานยนต์ เปิด ศูนย์ทดสอบ สถาบันยานยนต์ (ส�ำนักงานนิคม อุตสาหกรรมบางปู) ต้อนรับคณะผู้บริหารจาก กระทรวงอุตสาหกรรม น�ำโดย นายปิยะชนก ลิมปะพันธุ์ ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวง อุตสาหกรรม ดร.วิฑรู ย์ สิมะโชคดี ปลัดกระทรวง อุตสาหกรรม และคณะสื่อมวลชน เข้าเยี่ยมชม ความพร้อมของศูนย์ทดสอบสถาบันยานยนต์ ในการเปิดเป็น “ศูนย์ปฏิบตั กิ ารร่วม สมอ. - สยย. เพือ่ การตรวจ/ทดสอบรถยนต์และรถจักรยานยนต์ น�ำเข้าโดยผูน้ ำ� เข้าอิสระ (เกรย์มาร์เก็ต)” ในวันที่ 1 กรกฎาคม 2556 อย่างเต็มรูปแบบ โดยจะ เป็นการท�ำงานร่วมกันระหว่าง ส�ำนักงานมาตรฐาน 12

ผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม และสถาบันยานยนต์ เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกในขั้นตอนการขอรับบริการ อย่างครบวงจร (One Stop Service) ให้การขอรับ มาตรฐานเป็นไปตามกฎหมายก�ำหนดถูกต้อง และรวดเร็ว On June 13th, 2013, Dr. Patima Jeerapaet, President of Thailand Automotive Institute (TAI), opened house, the testing center at Bangpoo industrial district, and welcomed the management team from Ministry of Industry (MOI) leaded by Mr. Piyachanok Limpapun, Advisor to Minister of Industry, Dr. Witoon Simachokdee, Permanent Secretary-MOI and press in order to visit and verify the readiness of TAI’s testing center in the

occasion of opening the TISI-TAI cooperative center. The objective of this center is to inspect/ test in fully functions of automotive/vehicle imported by individual automotive importer (Grey market) on this July 1st, 2013. This is the collaboration and co-worked between Thai Industrial Standards Institute (TISI) and TAI to support and provide one stop service for importer in requesting the inspection service as determined by laws and regulations, precisely and quickly.


Operating observation at the cooperative center, collaboration of TISI and TAI, to inspect automotive and motorcycle imported by individual importer การร่วมสังเกตการณ์ขั้นตอนการด�ำเนินงานของ “ศูนย์ปฏิบัติการร่วมระหว่าง สมอ. - สยย. เพื่อการตรวจ/ทดสอบรถยนต์และรถจักรยานยนต์น�ำเข้าโดยผู้น�ำเข้าอิสระ” เมื่อวันศุกร์ที่ 5 กรกฎาคม 2556 เวลา 11.30 น. โดยประมาณ นายปฏิมา จีระแพทย์ ผูอ้ ำ� นวยการสถาบันยานยนต์ เชิญสือ่ มวลชนร่วม สังเกตการณ์ขั้นตอนการด�ำเนินงานของ “ศูนย์ ปฏิบตั กิ ารร่วมระหว่าง สมอ. - สยย. เพือ่ การตรวจ/ ทดสอบรถยนต์และรถจักรยานยนต์น�ำเข้าโดย ผู้น�ำเข้าอิสระ” ณ สถาบันยานยนต์ (ส�ำนักงาน นิคมอุตสาหกรรมบางปู) เผยความคืบหน้าในการ ตรวจสอบมาตรฐานรถยนต์และรถจักรยานยนต์ น�ำเข้าจากผู้น�ำเข้าอิสระ ที่ยื่นความจ�ำนงจะน�ำ รถยนต์เข้าตรวจสอบกับ “ศูนย์ปฏิบัติการร่วม ระหว่างส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม และสถาบันยานยนต์” รวม 2,909 คัน ด้วยการ สุ่มตรวจแบบใช้ตัวแทนแบบรุ่นเพียง 1 ตัวอย่าง เป็นจ�ำนวนรถยนต์ 740 คัน ซึ่งขณะนี้มีรถยนต์ ที่ผ่านการตรวจสอบเกณฑ์มาตรฐานแล้วไปแล้ว 638 คัน โดยการตรวจสอบช่วงนี้จะได้รับส่วนลด ค่าตรวจสอบจากคันละ 124,000 บาท เหลือเพียง 49,000 บาท ซึ่งผู้น�ำเข้ายังสามารถใช้ใบผ่าน มาตรฐานกับรถรุน่ เดียวกันได้ถงึ 1 ปี โดยไม่ตอ้ ง น�ำรถยนต์มาตรวจสภาพทุกคัน แต่ปรากฏว่า

ยังมีผู้ประกอบการส่วนหนึ่ง ยังไม่น�ำรถเข้ามา ตรวจสอบ จึงขอให้ผปู้ ระกอบการทุกราย เร่งน�ำ รถมาเข้าตรวจสอบเพื่อความถูกต้อง ผูอ้ ำ� นวยการสถาบันยานยนต์ กล่าวเสริม อีกว่า ในช่วงประมาณเดือนตุลาคม สถาบัน ยานยนต์ เตรียมพัฒนาศูนย์ทดสอบให้มีขีด ความสามารถมากขึน้ โดยการเพิม่ เครือ่ งมือ อาทิ เครื่อ งมือทดสอบยาง และเครื่องมือทดสอบ รถยนต์ขับเคลื่อน 4 ล้อ โดยคาดว่าจะใช้งบ ประมาณกว่า 80 ล้านบาท เพื่อให้ศูนย์ทดสอบ ของไทยมี ค วามพร้ อ มสู ่ ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน พร้อมผลักดันให้อตุ สาหกรรมยานยนต์ ไทย ขยับขึน้ เป็นอันดับ 8 จากเดิมทีอ่ ยูใ่ นอันดับ 10 ของโลก On Friday 5th July, 2013 at 11. 30 am., Dr. Patima Jeerapaet, the President of Thailand Automotive Institute (TAI) invited press to observe the inspection of imported automotive and motorcycle by individual importer at “the Cooperative Center”, collaboration of Thai Industrial Standards Institute (TISI) and TAI, TAI’s testing center, Bangpoo. He revealed that there were 2,909 units had registered for the inspection.

However, by random sampling, 1 sample/model, there were only 740 units required for testing and 638 units had been done so far. During this period, with special discount, importer wil pay only 49,000 THB from the regular charge at 124,000 THB. Moreover, if pass, importer will receive the MA 6/1 from TISI for that model which is valid 1 year and be applied to every unit of the same model. As a consequence, importer does not need to take every unit for this inspection. Nevertheless, some operators have not sent their requests to the center. It is recommendation for all to have their vehicles for inspection as stated by laws and regulations. Additionally, Dr. Patima stated that, by this October, TAI had increased capacity of testing center by purchasing more equipment for testing tire, 4-wd typed vehicle and such alike with the budget of 80 Million THB. This was also preparation for testing center to be ready for AEC and driving ranking position of Thai automotive industry from, now, 10th to 8th of the world. 13


The MOU of Automotive Industry Development for R&D, Testing and Human Resource Development signing ceremony พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ “เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ด้านวิจัยและพัฒนา การทดสอบ และการพัฒนาบุคลากร” วั น ที่ 27 มิ ถุ น ายน 2556 ดร.วิ ฑู ร ย์ สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ในฐานะ ประธานกรรมการคณะกรรมการสถาบันยานยนต์ ให้เกียรติเข้าร่วมพิธลี งนามบันทึกข้อตกลงความ ร่วมมือ “เพือ่ พัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ดา้ นวิจยั และพัฒนา การทดสอบ และการพัฒนาบุคลากร” ระหว่างสถาบันยานยนต์ ส�ำนักงานวิจัยและ พัฒนาการทางทหาร กองทัพบกและมหาวิทยาลัย 4 สถาบัน คือ มหาวิทยาลัยสยาม มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหารลาดกระบัง ณ ห้องกมลทิพย์ ชัน้ 2 โรงแรม เดอะสุโกศล กรุงเทพฯ โดยมี พล.ต.หม่อมหลวงระวีวฒั น์ เกษมสันต์ ผู ้ อ�ำ นวยการ ส� ำ นั ก งานวิ จัยและพัฒนาการ ทางทหาร กองทัพบก รศ.ดร.ศักรินทร์ ภูมิรัตน อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี ศ.ดร.ถวิล พึง่ มาอธิการบดี สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ผศ.ดร. นิม่ นวล ศรีจาด รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสยาม ร่วมด้วย รศ.สิรี ชัยเสรี รองอธิการบดีมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เข้าร่วมลงนามความร่วมมือในครัง้ นี้ ซึง่ การลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ “เพือ่ พัฒนาอุตสาหกรรม ยานยนต์ดา้ นวิจยั และพัฒนา การทดสอบ และการพัฒนาบุคลากร” เพือ่ พัฒนา อุตสาหกรรมยานยนต์ไทยให้ก้าวไปอีกขั้น ซึ่งวัตถุประสงค์ และขอบเขตหน้าที่ ของ ความร่วมมือระหว่างสถาบันยานยนต์ กับส�ำนักงาน วิ จั ย และพั ฒ นาการทางทหาร กองทัพ บก มี เจตนารมณ์ร่วมกันในการประสานความร่วมมือ ทางวิชาการในการวิจยั และพัฒนา เพือ่ เสริมสร้าง ขีดความสามารถในด้านการวิจัยและพัฒนา รวมถึงสร้างนวัตกรรมใหม่ในด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพื่อป้องกันประเทศ โดยความ 14

ร่วมมือของทั้งสองฝ่ายต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของ ความเสมอภาค และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ของแต่ละฝ่ายอย่างเต็มประสิทธิภาพและก่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุด ส�ำหรับทางด้านการศึกษา ระหว่างสถาบัน ยานยนต์ กับ มหาวิทยาลัยสยาม มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหารลาดกระบัง มีเจตนารมณ์หลัก คือ การพัฒนา ศักยภาพด้านเทคนิควิศวกรรมและวิชาการที่ เกีย่ วข้อง ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ พัฒนา ศักยภาพทางด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรม ไม่วา่ จะเป็นวิศวกรรมทางด้านยานยนต์ เครื่องกล ระบบราง รวมถึงวิศวกรรมการบินและอวกาศ ทัง้ นี้ เพื่อยกระดับความรู้และเพิ่มขีดความสามารถ ในการปฏิบัติงานของนิสิตและบุคลากรระหว่าง สองฝ่ายให้สงู ยิง่ ขึน้ และน�ำไปต่อยอดในการพัฒนา อุตสาหกรรมยานยนต์ของประเทศไทยในอนาคต การลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ในครัง้ นี้ นับว่าเป็นอีกก้าวหนึง่ ทีท่ ำ� ให้ทกุ ภาคส่วน ได้แสดงศักยภาพ จับมือร่วมกันค้นคว้า วิจัย สิง่ ใหม่ๆ เพือ่ พัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ พัฒนา ประเทศให้มีความเจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคง อย่างไม่หยุดหยั่งทั้งในปัจจุบัน และในอนาคต On June 27th, 2013, Dr. Witoon Simachokdee, Permanent Secretary, Ministry of Industry (MOI), as the Chairman of the board, honorable attended the MOU of Automotive Industry Development for R&D, Testing and Human resource Development Signing Ceremony among Thailand Automotive Institute (TAI), The Army Research and Development Office (ARDO) and 4 universities: Siam University (SU), Kasetsart University (KU), King Mongkut’s University of Technology Thonburi (KMUTT) and King Mongkut’s

Institute of Technology Ladkrabang (KMITL) at Kamolthip room, 2nd fl., The Sukosol, Bangkok. Maj. Gen. M.L. Raveewat Kasemsan President of the ARDO, Assoc. Prof. Dr. Sakarindr Bhumiratana - President of KMUTT, Prof. Dr. Tawil Peuangma - President of KMITL, Asst. Prof. Dr. Nimnuan Srichad - Vice President of SU and Assoc. Prof. Siree Chaiseri - Vice President of KU signed the MOU of Automotive Industry Development for R&D, Testing and Human resource Development to further step the Thai automotive industry development. Objective and mission of this collaboration between TAI and ARDO are to cooperate in academic R&D, which will increase more capabilities; including, create innovation of science and technology for country protection. The collaboration is based on equivalence and utilization of each party’s resources, efficiently. For academic cooperation among TAI and SU, KU, KMUTT and KMITL, main purposes are upgrading the capability of technical engineering and other academic related, supporting academic collaboration and developing potentiality of technology and engineering; for example, Automotive/ Mechanical/ Rail/ Aerospace engineering in order to advance knowledge and further more capability of student and human resource of both parties along with extension of Thai automotive industry development in the future. This obligation of this MOU is another step that reveals the ability of collaboration for new research of automotive development and drives Thailand to prosperity, sustainably, from now on.


Thailand Automotive Institute together with Reed Tradex Co., Ltd. encourage operators to be ready for the Green concept by organizing “Automotive Summit 2013” and focusing to promote the environment friendly technology สถาบันยานยนต์ จับมือ รี้ด เทรดเด็กซ์ กระตุ้นผู้ประกอบการตื่นตัวรับมือเทรนด์สีเขียว พร้อมเปิดตัว “Automotive Summit 2013” ชูเทคโนโลยีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อย่างเต็มศักยภาพ วันที่ 20 มิถนุ ายน 2556 สถาบันยานยนต์ ร่วมกับ บริษทั รีด้ เทรดเด็กซ์ จ�ำกัด จัดสัมมนา ระดับอาเซียน Automotive Summit 2013 ภายใต้ หั ว ข้ อ “Moving towards Global Green Automotive Industry” (มุง่ สูอ่ ตุ สาหกรรมยานยนต์ ระดับโลกทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม) เพือ่ กระตุน้ ทุกภาคส่วนในการพัฒนาผู้ประกอบการอุตฯ ยานยนต์ไทย ผลักดันการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตด้วยเทคโนโลยีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ระหว่างวันที่ 20-21 มิถุนายน 2556 ณ ไบเทค บางนา ดร.วิ ฑู ร ย์ สิ ม ะโชคดี ปลั ด กระทรวง อุตสาหกรรม กล่าวว่า กระทรวงอุตสาหกรรม ในฐานะหน่วยงานของภาครัฐ มีพันธกิจหลัก ในการก�ำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนา อุตสาหกรรมไทย สนับสนุนและส่งเสริมวิสาหกิจ เพื่อให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ให้มีความ เข้มแข็ง สามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ สร้าง โอกาสและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลงทุ น และการประกอบกิจการ ให้มีการพัฒนาอย่าง สมดุล เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม และมีความรับผิด ชอบต่อผู้บริโภค ชุมชนและสังคม เพื่อมุ่งให้ อุตสาหกรรมไทยมีศักยภาพ และมีการพัฒนา อย่างเข้มแข็งและยั่งยืน รวมทั้งเพื่อรองรับการสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC ในปี 2558 ซึง่ เป็นปัจจัยส�ำคัญทีช่ ว่ ยเสริมสร้างความแข็งแกร่ง ทางเศรษฐกิจและเพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขันของอาเซียนในตลาดโลก โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเปิดเสรีสินค้า และบริการส�ำคัญๆ อาทิ การบิน ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยี สารสนเทศและสุขภาพ เป็นต้น

จึงก่อให้เกิดงานสัมมนาวิชาการ Automotive Summit 2013 ขึน้ จากการสนับสนุนและ ความร่วมมือจากหลายหน่วยงานทั้งจากองค์กร ภาครัฐ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงคมนาคม ภาคการศึกษา โดยมีอธิการบดี ผู้บริหารและคณาจารย์จากมหาวิทยาชั้นน�ำร่วม การจัดงาน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูน้ ำ� องค์กรภาครัฐ และภาคเอกชนทัง้ ในประเทศไทยและต่างประเทศ ได้แก่ Japan Automobile Research Institute (JARI), European ASEAN Business Centre (EABC), Automotive Co-operative Research Centre (Auto CRC) Australia, AVL SEA & Australia สภาอุต สาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาคม อุตสาหกรรมยานยนต์ไทย สมาคมผูผ้ ลิตชิน้ ส่วน ยานยนต์ไทย บริษัทค่ายรถยนต์ บริษัทผู้ผลิต ชิ้นส่วน และบริษัท รี้ด เทรดเด็กซ์ ซึ่งทุกท่าน เป็นส่วนส�ำคัญให้สถาบันยานยนต์สามารถจัด งานสัมมนาระดับอาเซียนได้ในครั้งนี้ ด้ า น นางจุ รี รั ต น์ สุ ว รรณวิ ท ยา รอง ผูอ้ ำ� นวยการสถาบันยานยนต์ กล่าวถึง วัตถุประสงค์ ของการจัดงานสัมมนาวิชาการ Automotive Summit 2013 ภายใต้หัวข้อเรื่อง “การมุ่ง สู ่ อุตสาหกรรมยานยนต์ระดับโลกที่เป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อม” ในครัง้ นีว้ า่ เป็นการเผยแพร่ความ รู้ท างวิ ช าการในอุ ต สาหกรรมยานยนต์ แ ละ ชิ้นส่วน การพัฒนาเทคโนโลยี ความรู้ด้าน การวิจัยพัฒนา และการพัฒนาบุคลากร ซึ่ง เรื่องเหล่านี้มีส่วนส�ำคัญยิ่งต่อการประกอบการ อุตสาหกรรมยานยนต์ ทีจ่ ะสามารถสร้างประโยชน์ ในการพัฒนาประเทศทัง้ จากการสร้างมูลค่าเพิม่ ทางเศรษฐกิจอันก่อให้เกิด รายได้จากการส่งออก

การจ้างงาน มีการเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรม การผลิ ต และอุ ต สาหกรรมสนั บ สนุ น อื่ น ใน ประเทศอีกเป็นจ�ำนวนมาก โดยคาดการณ์ว่า ในปี พ.ศ. 2558 การผลิตรถยนต์ในประเทศไทย จะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นถึง 3 ล้านคัน และเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์และเป้าหมาย ของแผนแม่บทอุตสาหกรรมยานยนต์ที่วางไว้ ทางสถาบันยานยนต์ และ บริษทั รีด้ เทรดเด็กซ์ จึงจัดงานสัมมานา Automotive Summit 2013 ภายใต้หวั ข้อ “Moving towards Global Green Automotive Industry” (มุง่ สูอ่ ตุ สาหกรรมยานยนต์ ระดับโลกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม) โดยเป็น ส่วนหนึง่ ของงาน แมนูแฟกเจอร์รงิ่ เอ็กซ์โป 2013 สัมมนาระดับชาติทเี่ กีย่ วข้องกับภาคอุตสาหกรรม ยานยนต์ และเทคโนโลยีด้านวิศวกรรม และ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในภาคอุตสาหกรรม ยานยนต์ เรียกได้ว่าเป็นงานสัมมนาที่ครบคลุม ครบทุกวงจรด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ โดยได้ รับเกียรติจากผูบ้ ริหารชัน้ น�ำในวงการอุตสาหกรรม ยานยนต์ทงั้ ไทยและต่างประเทศ รวมทัง้ ผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้า นวิศวกรรม จากหลากหลายหน่ วยงานที่ มีชื่อเสียง ร่วมเผยแพร่ความรู้ด้านอุตสาหกรรม ยานยนต์ แนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยียาน ยนต์ เพือ่ การปรับตัวของผูป้ ระกอบการ และนัก ลงทุนในอนาคต เพื่อเตรียมพร้อมธุรกิจ ตื่นตัว และตระหนักถึงความส�ำคัญของ Green Industry ในวันที่ 20-21 มิถนุ ายน 2556 ณ ศูนย์ นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา

15


On June 20th, 2013, Thailand Automotive Institute (TAI) cooperated with Reed Tradex Co., Ltd. (Reed) organized seminar as ASEAN level, the Automotive Summit 2013 under the topic of “Moving towards Global Green Automotive Industry” in order to urge all sectors for developing operators in Thai automotive industry and increasing production efficiency by applying the environment friendly technology. The event was held on June 20th-21st, 2013 at BITEC, Bangna. Dr. Witoon Simachokdee, Permanent Secretary-Ministry of Industry, said that Ministry of Industry (MOI) as the government agency had a key mission to define policy and Thai industry development strategy which would support and promote enterprise in order to enhance strength of industrial operators and increase their competitiveness in the world market as well as to explore the opportunity and environment that attract investment and business. Moreover, the mission would cause balanced development with responsibilities to consumer, community and society and generate Thai industry to have more potential and development strongly and sustainably. Besides, this was preparation and readiness for becoming ASEAN Economic Community (AEC) in year 2015 which was the major factor that would strengthen economy and ASEAN’s competitiveness in international market; especially, the opening of free trade area for product and service such as aviation, automotive, electronics, information technology and health. 16

Thus, there was academic seminar as Automotive Summit 2013 by supporting and collaborating from several units of the government agencies; MOI, Ministry of Education (MOE), Ministry of Transportation (MOT), and Academic sector; chancellor, departmental chairmen and faculty from leading universities across the country; especially, well-known organizations from local and international government and private sectors, which were Japan Automobile Research Institute (JARI) , European ASEAN Business Centre (EABC), Automotive Co-operative Research Centre (Auto CRC) Australia , AVL SEA & Australia, The Federation of Thai Industries (FTI), The Thai Automotive Industry Association (TAIA), Thai Autoparts Manufacturers Association (TAPMA), Automotive manufacturers, Auto parts manufacturers and Reed. These were all major parts for TAI to organize such this event in ASEAN level. Mrs. Chureerut Suwanvithaya, Vice president-TAI, told that the purpose of this Automotive Summit 2013 under the topic of “Moving towards Global Green Automotive Industry” was to promulgate academic knowledge of automotive and auto parts industries, technology development, R&D and Human resource development. These were key parts to automotive industry enterprising, which would generate advantages in country development by increasing value added of economy. As a result, it would engender revenue from export, employment, connection among many local manufacturing industry and other

supporting industries, as forecasted, there would be up to 3 mil ion units of automotive production in year 2015. To accomplish the vision and objective determined in Master Plan for Automotive Industry 2012 - 2016, TAI and Reed had organized the seminar Automotive Summit 2013 under the topic of “Moving towards Global Green Automotive Industry” which was a section event in Manufacturing Expo 2013, the international seminar of automotive industry, engineering technology, human resource development in automotive industry. It was the seminar that covered all in automotive industry by inviting executives and technology experts from international and local leading organizations in the industry and different well known organizations to divulgate knowledge of automotive industry as well as tendency of automotive technology development for the adjustment of operator and future investor to be ready, awaken and realized the significant of Green Industry. The event was held on June 20th-21st, 2013 at BITEC, Bangna.


Bangkok International

Auto Salon 2013 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2556 นางทัศนา พิรยิ พฤทธิ์ รองผูอ้ ำ� นวยการสถาบันยานยนต์ ร่วม เป็นเกียรติในพิธเี ปิดงาน Bangkok International Auto Salon 2013 งานแสดงรถแต่งและอุปกรณ์ โมดิฟายทีย่ งิ่ ใหญ่ทสี่ ดุ ในอาเซียน ณ ชาเลนเจอร์ ฮอลล์ 2-3 อิมแพค เมืองทองธานี ซึง่ ได้รบั เกียรติ จาก ฯพณฯ พลเรือเอก หม่อมหลวง อัศนี ปราโมช องคมนตรี เป็นประธานในพิธเี ปิดงาน Bangkok International Auto Salon 2013 อย่างเป็นทางการ

โดยนายวิลกั ษณ์ โหลทอง ประธานคณะกรรมการ จัดงานฯ ได้กล่าวถึงวัตถุประสงค์ในการจัดงาน ครั้งนี้ ซึ่งภายในงานจะมีรถแต่งทั้งในประเทศ และน�ำเข้ามาจากประเทศญี่ปุ่น มาให้ชมกว่า 100 คัน รวมถึงอุป กรณ์ตกแต่งรถ ที่ม าจัด แสดงกันอย่างคับคั่ง On June 20 th , 2013, Mrs. Tasana Piriyaprut, Vice President of Thailand Automotive Institute (TAI), attended the opening of Bangkok

International Auto Salon 2013 event, the largest modified car and automobile accessories show in ASEAN held at Challenger hall 2-3, Impact Muang Thong Thani. ADM. M.L. Usni Pramoj, Privy Councilor, honorable presided at this event, officially, along with Mr. Wiluck Lowthong, Chairman of organizing event reported the objective of event. Over 100 modified cars imported from Japan and local were shown as well as many car accessories. 17


SITEX

2013

“The Collaboration and Unity Conduce Industry towards Society” SITEX 2013 “ร่วมแรง ร้อยใจ น�ำอุตสาหกรรมไทยสู่สังคม” เมื่อวันที่ 14 - 16 สิงหาคม 2556 สถาบัน ยานยนต์รว่ มจัดงาน “มหกรรมเครือ่ งจักรกลและ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม” SITEX 2013 ซึ่งเป็น กิจกรรมที่ส�ำนักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน ร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ อาทิ สถาบันพลาสติก สถาบันสิง่ ทอ สถาบันไฟฟ้า สถาบันไทย - เยอรมัน ร่วมถึงสมาคมต่างๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน น�ำเสนอนวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ใหม่ๆ ภายใต้ แนวคิด “ร่วมแรง ร้อยใจ น�ำอุตสาหกรรมไทยสู่ สังคม” โดยได้รบั เกียรติจาก นายกอบชัย สังสิทธิ สวัสดิ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เป็น ประธานเปิดงาน และกล่าวรายงานถึงวัตถุประสงค์ ของการจัดงานโดย นายภานุวัฒน์ ตริยางกูงศรี ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน ทัง้ นีส้ ถาบันยานยนต์ได้นำ� เสนอนิทรรศการ เทคโนโลยียานยนต์ชนั้ สูง ในประเด็น “รถบัสโดยสาร พลังงานไฟฟ้าแห่งอนาคต” ซึง่ เป็นนวัตกรรมแห่ง 18

อนาคตของยานยนต์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อี ก ทั้ ง เป็ น การให้ ค วามรู ้ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ แ ก่ ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมยานยนต์ ผู้ที่ เกีย่ วข้องในภาคอุตสาหกรรม นักเรียน นักศึกษา รวมถึงผูเ้ ข้าร่วมงานและประชาชนทัว่ ไป ณ อาคาร ส�ำนักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน กรมส่งเสริม อุตสาหกรรม ซอยตรีมิตร กล้วยน�้ำไท ซึ่งได้ ความสนใจอย่างมากจากผู้เข้าชมงานดังกล่าว During August 14th - 16th, 2013, Thailand Automotive Institute (TAI) joined “SITEX 2013”, the activity event organized by Bureau of Supporting Industries Development (BSID) with cooperation of the government and private sectors such as Plastics Institute of Thailand, Thailand Textile Institute, Electrical and Electronics Institute, Thai - German Institute and several associations. There were innovation and new invention presented in this event with the concept of

“The Collaboration and Unity Conduce Industry towards Society”. Mr. Korpchai Sungsitthisawadee, Deputy Director - General of Department Industrial Promotion presided at the event along with Mr. Panuwat Triyangkulsri, Director of the Bureau of Supporting Industries Development, Department of Industrial Promotion, who reported the objective of arranging this event. For TAI’s exhibition area, we presented advanced automotive technology under the concept of “Electric Energy for Future Passenger Bus”, which is the innovation for future motor vehicle that is friendly to the environment. This was knowledge and information for operator in automotive and related industries, student and publics who also paid their interest and visited our exhibition at BSID building, Soi Trimitr, Kluaynamthai.


Visit Triumph to observe the Big bike production เยี่ยมชมการผลิตบิ๊กไบค์ Triumph เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2556 ดร.ปฏิมา จีระแพทย์ ผู้อ�ำนวยการ สถาบันยานยนต์ และ นายวิชัย จิราธิยุต ที่ปรึกษาสถาบันฯ น�ำคณะ ผูบ้ ริหาร เข้าเยีย่ มชมโรงงาน Triumph Motorcycles (Thailand) Limited ณ นิคมอุตสาหกรรมอมตะ นคร โดยนายปีเตอร์ โค๊ตส์ ผู้อ�ำนวยการฝ่าย ปฏิบัติการ และ นายแมก คอกซ์ ผู้จัดการฝ่าย ภาษีอากร ให้การต้อนรับ พร้อมพาเยี่ยมชมขั้น ตอนกระบวนการการผลิ ต รถจั ก รยานยนต์

Triumph รวมถึงการขอค�ำปรึกษาแนะน�ำเกีย่ วกับ มาตรการการลงทุนในประเทศไทย และการเข้า ร่วมโครงการต่างๆ ของสถาบันยานยนต์อกี ด้วย Dr. Patima Jeerapaet, President of Thailand Automotive Institute (TAI), Mr. Vichai Jirathiyut, Advisor to President of TAI, and management team visited Triumph Motorcycles (Thailand) Ltd. on August 21st, 2013 at Amata Nakorn Industrial Estate. By the warmth welcome from Mr.

Peter Coates, Operations Director, and Mr. Matt Cox, Customs and Duty Manager, the group observed and walked through the production process of Triumph’s bike. The host also asked some questions from TAI about the investment measure in Thailand as well as requested TAI’s recommendation in what project Triumph should participate.

19


Preliminary Draft the Standard of the Efficiency Automotive Energy for future ต้นร่างมาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานยานยนต์ เพื่ออนาคต เมือ่ วันที่ 28 สิงหาคม 2556 สถาบันยานยนต์ จัดสัมมนาเรื่อง “การน�ำเสนอผลการด�ำเนินการ ต้นร่างกฎกระทรวงฯ และต้นร่างประกาศกระทรวง โครงการทบทวนการศึกษาวิจัย เพื่อการจัดท�ำ มาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานรถยนต์” ซึ่งได้ รับการสนับสนุนจาก กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน กระทรวงพลั ง งาน ณ ห้องแลนด์มาร์คบอลรูม โรงแรมแลนด์มาร์ค โดยนางจุ รี รั ต น์ สุ ว รรณวิ ท ยา รอง ผู ้ อ�ำนวยการ สถาบันยานยนต์ รับหน้าที่เป็น ผู้กล่าวรายงานความเป็นมาของโครงการ และ บรรยายพิเศษเรื่อง “แผนแม่บทอุตสาหกรรม ยานยนต์ พ.ศ. 2555 - 2559” พร้อมทัง้ ได้รบั เกียรติ จาก นายพูลศักดิ์ ภูววิเชียรฉาย ผู้อ�ำนวยการ กลุ่มมาตรฐานการอนุรักษ์พลังงาน กรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวง พลังงาน เป็นผูแ้ ทนประธานกล่าวเปิดงานสัมมนา พร้อมบรรยายพิเศษเรื่อง “แผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี” 20

รวมถึงได้รับเกียรติจากนายวิรัตน์ อาชา อภิสิทธิ์ รองเลขาธิการ ส�ำนักงานมาตรฐาน ผลิต ภัณ ฑ์อุตสาหกรรม บรรยายพิเศษเรื่อง “นโยบายมาตรฐานยานยนต์และสิ่งแวดล้อม” พร้อมรับฟังการน�ำเสนอโครงการฯ จากคณะที่ ปรึกษาโครงการ ทัง้ นีไ้ ด้มกี ารมอบโล่ เพือ่ ขอบคุณ หน่วยงานทีใ่ ห้การสนับสนุนการด�ำเนินโครงการฯ จ�ำนวน 8 บริษทั และเปิดโอกาสให้ผเู้ ข้าร่วมงาน สัมมนาได้แสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ เพื่อน�ำไปใช้ปรับปรุงเป็นแนวทางในการเพิ่ม ประสิทธิภาพให้กับโครงการดังกล่าวในอนาคต On August 28th, 2013, Thailand Automotive institute (TAI) with the support from Department of Alternative Energy Development and Efficiency, Ministry of Energy organized a seminar “Presentation the Summary Report of Preliminary Draft of Ministerial Regulation and Notification on determination the Standard of Efficiency Automotive Energy” at Landmark Ballroom, Landmark Hotel.

Mrs. Chureerut Suwanvithaya, Vice President of TAI, introduced and presented “Master Plan for Automotive Industry 2012 - 2016” as well as Mr. Poolsak Puwavichrenchai, Energy Conservation Std. Director, Department of Alternative Energy Development and Efficiency, Ministry of Energy, presided over this seminar. He honorable gave the opening speech and special keynote in the topic of “20 years Energy Conservation Plan”. Mr. Virat Aja - apisit, Deputy Secretary General, Thai Industrial Standards Institute (TISI), participated the seminar as the guest speaker for “Automotive Standard Policy and Environment”. Then, Project Management Consultant team presented the summary report of project. In additional to tokens of appreciation were given to all 8 supported companies to present them the gratitude. The seminar was a chance for participant to share his point of view and suggestion which would be applied to enhance effectiveness of this project onwards.


Auto Smart

Ethanol Fuel Technology

for Substitution

ofPartDIESEL 1 เทคโนโลยีเชื้อเพลิงเอทานอล เพื่อการทดแทนดีเซล ตอนที่ 1 ดร.ยศพงษ์ ลออนวล

ผู้เชี่ยวชาญ สถาบันยานยนต์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี yossapong@thaiauto.or.th

By Yossapong Laoonual, Ph.D.

Expert, Thailand Automotive Institute Assistant Professor, King Mongkut’s University of Technology Thonburi yossapong@thaiauto.or.th

บทนำ� ในช่วงเริ่มต้นของการพัฒนาเครื่องยนต์ สันดาปภายในนัน้ น�ำ้ มันปิโตรเลียมยังไม่แพร่หลาย เหมือนทุกวันนี้ โดยเอทานอลได้ถูกน�ำมาใช้เป็น เชือ้ เพลิงทีส่ ำ� คัญ จนกระทัง่ การพัฒนาอุตสาหกรรม การผลิตน�ำ้ มันปิโตรเลียมท�ำให้ราคาของพลังงาน ทดแทน เช่น เอทานอลไม่สามารถ แข่งขันได้ อย่างไรก็ดี เอทานอลเป็นเชือ้ เพลิงชีวภาพสามารถ ผลิตจากวัตถุดิบชีวมวลที่ให้น�้ำตาลหรือแป้ง ซึ่ง สามารถเพาะปลูกทดแทนได้ โดยน�ำวัตถุดิบไป ผ่านกระบวนการหมัก และกลัน่ จนได้ออกมาเป็น เอทานอลที่ความบริสุทธิ์ต่างๆ กันนอกจากนี้ การเผาไหม้เชือ้ เพลิงชีวภาพ ถือว่าไม่ได้ปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มาสะสมในบรรยากาศ

เนื่องจากก๊าซ CO2 ที่เกิดขึ้นจากการเผาไหม้ เชื้อเพลิงจะถูกดูดซับกลับคืนไปสู่พืชเป็นวัฏจักร หมุนเวียน [1] ดังแสดงในรูปที่ 1 ดังนั้นจึงท�ำให้ หลายประเทศเริม่ กลับมาให้ความสนใจในการน�ำ เอทานอลมาใช้ เ ป็ น พลั ง งานทดแทนในภาค ขนส่ง เพราะช่วยลดปัญหาการปล่อยก๊าซเรือน กระจกที่น�ำไปสู่ปัญหาโลกร้อน ในปัจจุบัน

Introduction In the early development of internal combustion engine, petroleum was not widespread like today. In fact, ethanol used to be one of the major fuel until the revolution of petroleum industry which was less expensive than ethanol.

Nevertheless, ethanol is the biofuel which is able to produce from biomass that gives sugar or starch. By taking feedstock into the process of fermentation and distillation until it becomes ethanol with different concentrations. Ideally it can be assumed that carbon dioxide (CO2) is not be produced from biofuel combustion since CO2 wil be later consumed by plant as a cycle (shown in Figure 1). As a result, many countries have used ethanol as an alternative fuel in transportation sector because it reduces the greenhouse gases that caused the global warming issue.

21


Figure 1 Carbon dioxide (CO2) cycle from production to the use of ethanol in automobiles [1]

เป็ น ที่ ท ราบกั น อย่ า งแพร่ ห ลายว่ า ประเทศไทยของเราเป็นประเทศที่มีศักยภาพสูง ในการผลิตเอทานอลจากการแปรรูปผลผลิต ทางการเกษตรที่ ส� ำ คั ญ คื อ อ้ อ ย และมั น ส�ำปะหลัง ท�ำให้มีการส่งเสริมการน�ำเอทานอล มาใช้ในการทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิลในภาค ขนส่ ง โดยด� ำ เนิ น การมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งจน สามารถน�ำมาใช้ได้ตั้งแต่ปี พ.ศ.2528 ตามแนว พระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ด้ ว ยการแปรรู ป กากน�้ ำ ตาลจากอ้ อ ยมาเป็ น แอลกอฮอล์ ซึง่ ด�ำเนินการในโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดาเพื่อเป็นพลังงานทดแทน เนื่องจาก ทรงเล็ ง เห็ น ว่ า อาจเกิ ด การขาดแคลนน�้ ำ มั น หรือราคาของอ้อยตกต�่ำในอนาคต [2] โดยในปี พ.ศ.2537 ได้เริ่มมีการทดลองน�ำเอทานอลมา ผสมกับเบนซินเป็นแก๊สโซฮอล์ E10 และใช้กับ รถยนต์ในโครงการส่วนพระองค์ฯ ต่อจากนั้น หน่วยงานภาครัฐได้มกี ารส่งเสริมการน�ำเอทานอล มาใช้เป็นพลังงานทดแทนอย่างต่อเนื่องเป็น ล�ำดับ

22

ทั้งนี้ ถ้าจะ แบ่งการน�ำเอทานอลมา ใช้เป็นพลังงานทดแทนสามารถ แบ่งเป็น 2 ประเภทตามอัตราส่วนในการทดแทน เชื้อเพลิงที่น�้ำมันเบนซินและดีเซล ได้แก่ การ ผสมเอทานอลในสัดส่วนที่น้อย (Low Blend) และการผสมเอทานอลในสัดส่วนที่มาก (High Blend) ดังแสดงในรูปที่ 2 As well-known the high potential of ethanol production in Thailand, sugar cane and cassava is used to produce ethanol that is continuously promoted to use as an alternative fuel of fossil fuel in transportation sector. Since 1985, by His Majesty King Bhumibol Adulyadej’s initiative, one of the “Royal Chitralada Agricultural Projects” within the compound of his residence, Chitralada Villa which transformed the molasses from sugar cane into ethanol, was begun to produce ethanol as an alternative fuel because His majesty

concerned the possibility of fuel shortage and low price of sugar cane [2]. Later in 1994, there was an experiment on gasohol E10 (ethanol blended with gasoline) that initially tested with vehicles in the Royal Chitralada projects. After that the government has continuously promoted the project of the usage of ethanol. Therefore there are two types of using ethanol as the alternative fuel based on proportion of gasoline and diesel replacement from low blend to high blend as shown in Figure 2.


Figure 2 The use of ethanol from low to high blends (Modified from BEST Project [1]

การใช้เอทานอลทดแทนใน เครื่องยนต์เบนซิน ในปัจจุบันคนไทยทั่วไปที่ใช้รถยนต์และ รถจั กรยานยนต์ ส่ ว นใหญ่เริ่มรู้จัก เชื้อ เพลิง แก๊สโซฮอล์เป็นอย่างดี เพราะเป็นเชื้อเพลิงที่ ช่วยลดปริมาณการน�ำเข้าน�้ำมันดิบและยังเป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วย แก๊สโซฮอล์เกิดจาก การผสมกันระหว่างน�้ำมันเบนซินและเอทานอล ที่มีความบริสุทธิ์ 99.5% (Anhydrous Ethanol) ในสัดส่วนต่างๆ กัน และมักจะมีชื่อเรียกสั้นๆ ว่า E10 E20 หรือ E85 โดย E มาจากค�ำว่า Ethanol และตัวเลขด้านหลังแทนสัดส่วนของ เอทานอล เช่น E20 หมายถึง เอทานอล 20% โดยปริมาตร และเบนซิน 80% โดยปริมาตร เป็นต้น แก๊สโซฮอล์ถกู น�ำมาใช้ในกลุม่ เครือ่ งยนต์ เบนซินที่มีการจุดระเบิดด้วยประกายไฟหรือ หัวเทียน โดยทั่วไปแก๊สโซฮอล์ E10 สามารถใช้ กับรถจักรยานยนต์และรถยนต์ที่มีขายในท้อง ตลาดทั่วไป โดยไม่ต้องดัดแปลง ส�ำหรับรถเก่า มากต้องสอบถามผู้ผลิตให้รองรับการใช้งาน โดยไม่จ�ำเป็นต้องดัดแปลง ทั้งนี้ รถยนต์และ จักรยานยนต์รุ่นใหม่เริ่มรองรับน�้ำมันเชื้อเพลิง แก๊สโซฮอล์ E20 เป็นมาตรฐานทั่วไปมากขึ้น ส�ำหรับรถยนต์ที่สามารถใช้เชื้อเพลิงแก๊สโซฮอล์ E85 นั้นเครื่องยนต์และระบบการจ่ายเชื้อเพลิง

จะออกแบบมาเฉพาะให้รองรับการใช้แก๊สโซฮอล์ ตั้งแต่เบนซิน (E0) ถึงแก๊สโซฮอล์ E85 ซึ่งเป็นที่ รู้จักว่า รถยนต์ FFV (Flexible Fuel Vehicle) หมายถึงรถยนต์ที่ใช้เชื้อเพลิงหลากชนิด

การใช้เอทานอลในเครื่องยนต์ จุดระเบิดด้วยการอัด นอกจากนี้การนำ�เอทานอลมาใช้ทดแทน ในกลุ่มเชื้อเพลิงดีเซลในเครื่องยนต์จุดระเบิด ด้วยการอัดก็สามารถทำ�ได้เหมือนกัน ซึ่งไม่ใช่ เรื่องใหม่สำ�หรับในบางประเทศ แต่สำ�หรับ ประเทศไทย อาจจะยังไม่เป็นที่แพร่ห ลาย และถูกนำ�มาส่งเสริมอย่างจริงจัง โดยยังเป็น ในรูปแบบการทดลองหรือโครงการสาธิตเป็น ส่วนใหญ่ ถ้าจะแบ่งตามสัดส่วนการใช้เอทานอล ในเครือ่ งจุดระเบิดด้วยการอัดจากน้อยไปหามาก สามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้ [3-4]

Ethanol Use in Gasoline Engine At present, most of Thai people who use automobile and motorcycle are familiar with a gasohol because it reduces the import of crude oil and is environmental friendly. The gasohol is the motor fuel that is blended between gasoline

and ethanol with concentration at 99.5% (anhydrous ethanol) with different ratios called E10, E20 or E85 which E is stand for ethanol and the number is represent the proportion of ethanol. For example, E20 means ethanol 20% by volume and the rest is gasoline. Gasohol is normally used with gasoline spark ignition engine (using the spark plug). In general, E10 can be used with automobile and motorcycle that sold in the current market and no modification is required. New model of those vehicles available on the market can mostly use gasohol E20 as standard. There is flexible fuel vehicle (FFV) in the market which can use different type of gasohol, from pure gasoline (E0) to gasohol E85.

Ethanol Use in Compression-ignition Engine Ethanol can be used with the compressionignition engine which is not new concept to some countries, but in Thailand, it is new and been promoted mostly in forms of experiment and demonstration projects. The proportion of ethanol from low blend to high blend for the compression-ignition engine is classified in the following [3-4]: 23


การใช้เอทานอลในสัดส่วนทีน่ อ้ ย (Low Blend) การผสมเอทานอลเข้ากับน�้ำมันดีเซล มีชอื่ เรียกว่า ดีโซฮอล์ ท�ำได้โดยการผสมเอทานอล เป็นสารละลาย (Solution) โดยตรง แต่วิธีนี้ สามารถทดแทนน�้ำมันดีเซลในปริมาณที่น้อย เนือ่ งจากเชือ้ เพลิงสามารถเกิดการแยกชัน้ ได้ เมือ่ อุณหภูมสิ งิ่ แวดล้อมลดลงหรือเก็บไว้เป็นเวลานาน ดังนั้น การเพิ่มสัดส่วนการผสมเอทานอล จึงมี การน�ำสารอีมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier) ผสมลง ไปด้วย อย่างไรก็ตามทั้ง 2 วิธี ที่กล่าวข้างต้น สามารถทดแทนดีเซลได้สงู สุดไม่เกิน 25% เนือ่ งจาก เอทานอลไม่สามารถผสมหรือคงสภาพอยู่ใน น�้ำมันดีเซลได้ [5] การใช้ เ อทานอลในสั ด ส่ ว นที่ ม าก (High Blend) โดยปกติเอทานอลมีค่าซีเทน นัมเบอร์ที่ต�่ำ ซึ่งความสามารถในการจุดระเบิด ด้วยตัวเองมีค่าต�่ำ ดังนั้นจ�ำเป็นต้องมีตัวช่วย ในการจุดระเบิดเมือ่ มีการใช้เอทานอล เพือ่ ทดแทน ดีเซลในสัดส่วนที่มากขึ้น โดยสามารถสรุปได้ หลายวิธี ได้แก่ การฉีดเชือ้ เพลิงร่วม (Dual Fuel Injection) เป็นการฉีดเชือ้ เพลิงเอทานอลเข้าไปในห้องเผาไหม้ โดยตรง และจุดระเบิดด้วยน�้ำมันดีเซลที่ถูกฉีด มาก่อนหน้า เทคนิคนีส้ ามารถทดแทนน�ำ้ มันดีเซล ด้วยเอทานอลได้สงู ถึง 90% เนือ่ งจากน�ำ้ มันดีเซล ถูกใช้เพื่อช่วยในการจุดระเบิดเท่านั้น

24

นอกจากนี้ยังสามารถใช้เทคนิคฟูมิเกชั่น (Fumigation) ซึง่ เป็นวิธใี นการน�ำเอทานอลเข้าไป ในเครื่องยนต์ โดยการระเหยเอทานอลเข้าไป ทางท่อไอดีของเครือ่ งยนต์ ในขณะทีน่ ำ�้ มันดีเซล ยังคงถูกฉีดจากหัวฉีดเข้าในห้องเผาไหม้ วิธีนี้ สามารถทดแทนน�้ำมันดีเซลด้วยเอทานอลได้ ประมาณ 50% การใช้ประกายไฟช่วยในการจุดระเบิด (Spark Assisted Ignition) เป็นเทคนิคทีส่ ามารถ ใช้เอทานอลทดแทนน�้ำมันดีเซลได้ 100% วิธีนี้ ต้องติดตั้งอุปกรณ์ช่วยจุดระเบิด ได้แก่ หัวเผา หรือหัวเทียน โดยการจ่ายเชื้อเพลิงเข้าที่ห้อง เผาไหม้โดยตรงหรือเข้าที่ท่อร่วมไอดี โดยมีการ ติ ด ตั้ ง หั ว เที ย นบนฝาสู บ เพื่ อ ช่ ว ยจุ ด ระเบิ ด ในช่วงแรกของการเผาไหม้ จนอุณหภูมิห้อง เผาไหม้ ถึ ง จุ ด ที่ เ หมาะสมและไม่ ต ้ อ งใช้ ตัวช่วยจุดระเบิด Low Blend Diesohol is the fuel that ethanol as solution is directly mixed with the diesel which is low diesel replacement because fuel can be separated into layers when room temperature decreases or it has been kept for a long period of time. Thus increasing the proportion of mixing ethanol is required to add an emulsifier. Nevertheless, both approaches can substitute diesel up to 25% since higher ethanol cannot be mixed and stabilized in diesel [5]

High Blend Due to the low Cetane number of ethanol, ethanol has low ability of autoignition. Thus, to increases the ethanol blend, the ignition improvement is required by following approaches: Dual Fuel Injection is direct injection of ethanol into combustion chamber and ignited by pilot of diesel injection. This technique can substitute the diesel with the ethanol up to 90% because diesel is used for the ignition only. This is also fumigation technique which ethanol is evaporated in the intake manifold and diesel is directly injected to the combustion chamber. With this fumigation technique, diesel can be substituted by ethanol up to 50%. Spark Assisted Ignition can substitute 100% diesel but installation of spark assisted ignition e.g. glow plug or spark plug is required. Ethanol can be directly injected to the combustion chamber or in the intake manifold where installed spark plug on cylinder head is to assist ignition in the initial combustion process until the temperature in the combustion chamber is higher enough and the spark assisted ignition is no longer required.


การใช้สารเติมแต่ง เพือ่ ช่วยในการจุดระเบิด (Ignition Improving Additive) เป็นการเพิ่ม คุณภาพการจุดระเบิดของเอทานอลและสามารถ ใช้เอทานอลได้ถงึ 95% เรียกว่า เชือ้ เพลิงเอทานอล ED95 ในประเทศสวีเดน โดยเทคนิคนี้ใช้กับ เครื่ อ งยนต์ ข องรถประจำ�ทางและรถบรรทุ ก ขนาดใหญ่ ซึ่งมีเครื่องยนต์ที่ออกแบบมาเฉพาะ เพื่อใช้กับเชื้อเพลิงเอทานอล ED95

เอทานอล ED95 การใช้เอทานอล ED95 เกิดขึ้นจากการ พัฒนาโดย บริษัท Sekab ประเทศสวีเดน ซึ่ง เป็นเชือ้ เพลิงทีเ่ กิดจากการผสมกันของเอทานอล ที่มีความบริสุทธิ์ 95% (Hydrous Ethanol) ในสัดส่วน 95% โดยปริมาตรและสารเติมแต่ง ประกอบด้วย สารช่วยจุดระเบิด สารหล่อลื่น และสารป้องกันการกัดกร่อน อีก 5% โดยปริมาตร การนำ�เอทานอลมาใช้ทดแทนดีเซล 100% ใน เครื่องยนต์จุดระเบิดด้วยการอัดเริ่มมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2527 [6] โดยทางองค์การขนส่งมวลชน กรุงสต๊อกโฮล์ม (Stockholm Public Transport, SL) ร่วมกับบริษัท สแกนเนีย และ Sekab

ในประเทศสวีเดน สำ�หรับคำ�ว่า ED มาจากภาษา สวีเดนว่า Etanoldrivmedel for Tunga Fordon โดยเป็นภาษาอังกฤษสามารถแปลว่า Ethanol Dedicated for Heavy Duty Vehicle เอทานอล สำ�หรับเครือ่ งยนต์ขนาดใหญ่ ซึง่ ตัวเลขด้านหลัง หมายถึงสัดส่วนของเอทานอลที่ใช้ Ignition Improving Additive is to improve the ethanol’s ignition ability which is able to use the ethanol up to 95% called ethanol ED95 in Sweden. This technique is applied to use with engine of city bus and large truck which the specific engine is designed for the ethanol ED95.

Ethanol ED95 The use of ED95 has been developed by the Swedish company named, Sekab. Ethanol ED95 is formed by mixing between 95% of hydrous ethanol (ethanol with purity at 95%) and 5% of additives composed of ignition improver, lubricant and anti-corrosives. Through 100% substitution by ethanol using with the compression-ignition engine has been used since year 1984 by Stockholm Public Transport, SL and corporative with Scania and Sekab in Sweden. ED is abbreviation of Swedish phrase “Etanoldrivmedel for Tunga Fordon” or “Ethanol Dedicated for Heavy Duty Vehicle” in English and the following number refers to proportion of ethanol.

25


ตามที่กล่าวข้างต้น เอทานอล ED95 ไม่มีส่วนผสมของดีเซลเลยในขณะที่ประเทศ สวีเดนมีการส่งเสริมการใช้เอทานอลเพื่อเป็น พลังงานทดแทนน�้ำมันดีเซลอย่างจริงจัง เช่น มาตรการยกเลิกการใช้ดีเซลในรถสาธารณะที่ วิ่งผ่านกรุงสต๊อกโฮล์ม ปัจจุบันมีรถโดยสารที่ ใช้เอทานอลประมาณ 800 คัน นอกจากนี้ใน ช่วงปี พ.ศ.2549-2552 ทีผ่ า่ นมาหน่วยงานของรัฐ และเอกชนในประเทศสวีเดน ได้รเิ ริม่ ท�ำโครงการ BioEthanol For Sustainable Transport (BEST) ขึ้น เพื่อเป็นการสาธิตและส่งเสริมการใช้เอทา นอลในหลายๆ ประเทศในทวีปยุโรป รวมทั้ง ประเทศบราซิลและประเทศจีน ทั้งนี้ในช่วงปี พ.ศ. 2553-2554 ประเทศไทยได้มกี ารริเริม่ “โครงการ สาธิตการใช้รถโดยสารขนาดใหญ่ที่ใช้เอทานอล เป็นเชื้อเพลิง (Demonstration Project of Thailand’s First Ethanol Bus)” ด�ำเนินงานโดย หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง ภายใต้ การสนับสนุนของกองทุนเพือ่ ส่งเสริมการอนุรกั ษ์ พลังงาน ซึง่ เป็นการน�ำร่องในการส่งเสริมการใช้ เอทานอลในรถโดยสารขนาดใหญ่เพื่อทดแทน การใช้นำ�้ มันดีเซลอีกด้วยแสดงในรูปที่ 3

บทสรุปตอนที่ 1 ในบทความตอนที่ 1 นี้ ได้สรุปอย่างย่อ ถึงเทคโนโลยี เทคนิคและวิธกี าร การนำ�เอทานอล มาทดแทนการใช้เบนซิน ซึ่งเป็นที่แพร่หลายอยู่ แล้วรวมไปถึงความเป็นไปได้ในการนำ�มาใช้ทดแทน ดีเซล ทัง้ นีป้ ระเทศไทยของเรามีพฒั นาการการนำ� เอทานอลมาใช้ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง ทดแทนในภาค ขนส่งของประเทศไทยอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ ในบทความ ตอนที่ 2 จะนำ�เสนอถึงรายละเอียดของเทคโนโลยี ของเชือ้ เพลิงและเครือ่ งยนต์เอทานอล ED95 มา ทดแทนดีเซล เพือ่ ให้ทราบถึงความเป็นไปได้และ ศักยภาพของการนำ�เอทานอลมาประยุกต์ใช้ และประโยชน์ที่ประเทศไทยจะได้รับต่อไป As mention above ethanol ED95 is Dieselfree fuel. There is a strong promotion of ethanol to replace diesel in Sweden, for example, no permission for public diesel transport passing through Stockholm. Nowadays, there is around 800 ethanol buses. During period of 2006-2009, both Swedish government and private sectors originated the project called BioEthanol for Sustainable Transport (BEST) to demonstrate and promote the ethanol in many countries in Europe; including Brazil and China. For Thailand, there was a project called Demonstration Project of Thailand’s First Ethanol Bus between 2010-2011, operated by all related organization

of the government and private sectors and sponsored by Energy Conservation Promotion Fund to demonstrate the promotion of ethanol use in public city bus as shown in Figure 3.

The conclusion of part 1 This article part 1 has summarized in ethanol fuel technology, technique and approach of gasoline substitution which is used extensively, including the potential of diesel replacement. In Thailand, ethanol has been widely used as the substitute fuel in transportation sector. The part 2 of this article will present details of ethanol fuel and engine technology for substitution of diesel showing the potential and capability of ethanol ED95 use for benefits of Thailand.

Ethanol 26


เอกสารอ้างอิง 1. BioEthanol For Sustainable Transport (2010) Results and Recommendations from the European BEST Project ISBN 978-91-85125-40-1, Sweden 2. โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา โครงการกึง่ ธุรกิจการผลิตแก๊สโซฮอล์และดีโซฮอล์ จัดทำ�โดย งานประชาสัมพันธ์ ฝ่ายเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ http://kanchanapisek.or.th/ kp1/semiprofit/semiprofit.html ข้อมูล ณ 17 ก.พ. 2556 3. Ecklund, E., E., Bechtod, R., L., Timbario, T., J., and Mccallum, P., W. (1984). State-of-theArt Report on the Use of Alcohols in Diesel Engines. SAE Paper No. 840118. 4. อบ นิลผาย, ภูวดล แก้วคำ�จันทร์, อนุกลู บุญพิคำ�, สุรชัย บวรเศรษฐนันท์, พงศ์พนั ธ์ แก้วตาทิพย์, ยศพงษ์ ลออนวล ผลการประเมิน เบือ้ งต้นของอัตราความสิน้ เปลืองเชือ้ เพลิงของรถ โดยสารขนาดใหญ่ทใ่ี ช้เอทานอล ED95 เป็นเชื้อ เพลิงคันแรกในประเทศไทยการประชุมวิชาการ เครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่ ง ประเทศไทย ครั ้ งที ่ 26 ตุ ล าคม 2555 จังหวัดเชียงราย

5. Jackson, M., M., Corkwell, C., K., and Degroote C., C. (2003). “Study of Diesel and Ethanol Blends Stability” SAE paper No. 2003-013191. 6. Egeback K., E. (1993). “Experiences Form the Use of Ethanol for Heavy Duty Compression Ignition Engines”, SAE paper No. 931630.

Bibliography 1. BioEthanol for Sustainable Transport (2010) Results and Recommendations from the European BEST Project ISBN 978-91-85125-40-1, Sweden 2. The Royal Chitralada Projects, SemiProfit Project: the Ethanol and Diesohol Production, prepared by Public relations department, http://kanchanapisek.or.th/kp1/semiprofit/semiprofit.html , information as of February 17th, 2013 3. Ecklund, E., E., Bechtod, R., L., Timbario, T., J., and Mccallum, P., W. (1984). State-of-theArt Report on the Use of Alcohols in Diesel Engines. SAE Paper No. 840118. 4. Nilaphai, O., Bavornsethanan. S., Kaewtatip, P., and Laoonual, Y. (2012) Preliminary

Evaluation of Fuel Economy of the First ED95 Ethanol Bus in Thailand, The 26th Conference on Mechanical Engineering Network of Thailand (ME-NETT), Dusit Thani Hotel, Chiang Rai, Thailand, 24-27 October. (in Thai) 5. Jackson, M., M., Corkwell, C., K., and Degroote C., C. (2003). “Study of Diesel and Ethanol Blends Stability” SAE paper No. 2003-013191. 6. Egeback K., E. (1993). “Experiences Form the Use of Ethanol for Heavy Duty Compression Ignition Engines”, SAE paper No. 931630.

ED95 27


Techno focus

Reduce Pollution

of Gasolene’s Exaust Gas by using Electronics Air Cleaner การลดมลภาวะไอเสียเครื่องยนต์ก๊าซโซลีนโดยใช้เครื่องฟอกอากาศ อาทร ไทยเจริญ, อมรเทพ โทวราภา

ภาควิชาวิศวกรรมยานยนต์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม 38 ถนนเพชรเกษม เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ 10160 โทร 0-2457-0068, โทรสาร 0-2457-3982 E-mail: Artorn33 @ Hotmail.com

บทคัดย่อ

บทความนี้นำ�เสนอการนำ�หม้อพักไอเสีย มาทำ�การติดตั้งเครื่องปล่อยประจุไฟฟ้าแก่ไอ เสียทีผ่ า่ นหม้อพัก แล้วทำ�การวัดไอเสียทีอ่ อกจาก หม้อพักโดยเครื่องวิเคราะห์ก๊าซไอเสีย โดยมี การเปลี่ยนแปลงความเร็วรอบ การหมุนของ เครื่องยนต์ จากผลการทดสอบ ก๊าซ CO มี ปริมาณลดลงสูงสุด 26.22% ก๊าซ CO2 มีปริมาณ เพิ่มขึ้นสูงสุด 6.06% ก๊าซ O2 มีปริมาณลดลง สูงสุด 47.39% และก๊าซ HC มีค่าลดลงสูงสุด 39.66%

28

Abstract

Artorn Thaicharoen, Amornthep Tovarapa Department of Automotive Engineering

Facalty of Engineering, Siam University 38 Petkasam Road, Phasicharoen, Bangkok 10160 Tel. 0-2457-0068, Fax 0-2457-3982 E-mail: Artorn33 @ Hotmail.com.

This paper presents the use Electronics Air Cleaner fixed with muffler and release electron to exhaust gas and analyse the exaust gas by Gas-Analyser. There are some change the revolution of engine. The experiment shows of CO is maximum reduced 26.22%, CO2 is maximum increased 6.06%, O2 is maximum reduced 47.39 % and HC is maximum reduced 39.66%

1. บทน�ำ จากจำ�นวนรถยนต์ในปัจจุบนั มีจำ�นวนมาก โดยเฉพาะในเมือง เป็นผลให้เกิดมลภาวะทาง อากาศ จากไอเสียทีร่ ถยนต์ปล่อยออกมามีปริมาณ มาก ทำ�ให้ผู้ที่สูดอากาศเหล่านี้เข้าไป เป็นโรค เกีย่ วกับทางเดินหายใจ เป็นจำ�นวนมาก ในปัจจุบนั ได้มกี ารใช้คะตะไลติกคอนเวอรเตอร์ (Catalytic Converter) เพื่อช่วยลดมลภาวะทางอากาศ ได้ระดับหนึ่ง บทความนี้ เป็นการนำ�เสนอการทดลอง แนวทางใหม่ของการลดมลภาวะจากไอเสียของ รถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์ก๊าซโซลีน โดยใช้ระบบ การปล่อยประจุไฟฟ้า (เช่นเดียวกับการฟอก อากาศ) เข้าสู่ไอเสียที่ผ่านหม้อพัก แล้วทำ�การ วัดผลการเปลี่ยนแปลงปริมาณก๊าซแต่ละชนิด


2. อุปกรณ์การทดลอง การออกแบบและดั ด แปลงหม้ อ พั ก ได้นำ�หม้อพักรุน่ ทีเ่ ป็นแบบทางเดินย้อน เหมือนกัน 2 หม้อพัก โดยทำ�การผ่าเปิดเพื่อศึกษาทางเดิน การไหลของไอเสียที่ผ่านหม้อพัก 1 ใบ และได้ ทำ�การติดตั้งเข็มปล่อยประจุไฟฟ้าในตำ�แหน่ง ต่างๆ ในหม้อพักใบที่ 2 ซึ่งเป็นใบที่ใช้ในการ ทดลอง รวมทั้งติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสูง เพื่อ ปล่อยประจุไฟฟ้าในไอเสีย

ทางเขา ไอเสีย

ทางออก ไอเสีย

เข็มจายประจุไฟฟา Supply 12 V.

เครื่องฟอกอากาศ

3. การทดลอง 1) ท�ำการติดเครื่องยนต์ที่จะใช้ทดสอบเป็น เวลา 10 นาที โดยให้อุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นคงที่ ที่อุณหภูมิท�ำงานของเครื่องยนต์ 2) ท�ำการติดตั้งหม้อพัก ระบบไฟฟ้าเข้ากับ ปลายท่อไอเสีย ของเครื่องยนต์ก๊าซโซลีน 1500 CC. Mitsubishi Lancer 3) แยกท�ำการทดลองเป็น 2 ชุด ดังนี้

3.1 ไม่ปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าในหม้อพัก โดยเร่งเครือ่ งยนต์ 1000 รอบ/นาที ทำ�การ บันทึกค่าก๊าซไอเสีย (โดยการบันทึก 3 ครั้ง ใน ระยะเวลาห่างกัน 2 นาที) และนำ�ค่ามาเฉลี่ย ทำ�เช่นเดิม โดยเปลีย่ นแปลงรอบเครือ่ งยนต์เป็น 1500 รอบ/นาที 2000รอบ/นาที 2500รอบ/นาที 3000รอบ/นาที

3.2 ปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าหม้อพัก และ ท�ำซ�้ำในข้อ 3.1

Exhaust-gas Analyser ของ BOSCH รุ่น ETT 8.55 EU

29


4. ผลการทดลอง จากการทดลอง สามารถเขียนกราฟแสดงผลการทดลองได้ 4 กราฟ ตามประเภทของก๊าซไอเสีย โดยในแต่ละกราฟเป็นการเปรียบเทียบปริมาณก๊าซ ก่อนเปิดเครื่องฟอกอากาศและหลังเปิดเครื่องฟอกอากาศ

กราฟแสดงคาเปรียบเทียบกาซ CO

กราฟแสดงคาเปรียบเทียบกาซ O2 กอนและหลังใชหมอกรองไอเสียดวยระบบไฟฟา

คา CO (% vol)

0.7 0.6 0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 0

กอนใช หลังใช

0

1000 2000 3000 ความเร็วรอบ (rpm.)

คา O2 (% vol)

กอนและหลังใชหมอกรองไอเสียดวยระบบไฟฟา

4000

5 4 3 2 1 0

กอนใช หลังใช

0

30

กอนและหลังใชหมอกรองไอเสียดวยระบบไฟฟา

กอนใช หลังใช

1000 2000 3000 ความเร็วรอบ (rpm.)

4000

คา HC (ppm.)

คา CO2 (% vol)

กอนและหลังใชหมอกรองไอเสียดวยระบบไฟฟา

0

4000

กราฟแสดงคาเปรียบเทียบกาซ HC

กราฟแสดงคาเปรียบเทียบกาซ CO2 15 15 14 14 13 13 12

1000 2000 3000 ความเร็วรอบ (rpm.)

300 250 200 150 100 50 0

กอนใช หลังใช

0

1000 2000 3000 ความเร็วรอบ (rpm.)

4000


ถ้าวิเคราะห์จากกราฟ จะเห็นผลจากการเปลี่ยนแปลงความเร็ว รอบการหมุนของเครื่องยนต์ที่มีผลต่อความ สมบูรณ์ของการเผาไหม้อาทิเช่นก๊าซ CO2 ซึ่งที่ รอบเครื่ อ งสู ง มี ป ระมาณมากกว่ า ขณะรอบ เครื่องต�่ำ ก๊าซ HC ที่มีปริมาณลดลง เมื่อรอบ เครื่องยนต์สูงขึ้น

5. สรุป

จากที่ได้ทำ�การทดลองวัดค่าก๊าซไอเสีย ซึ่งได้ทำ�การเขียนกราฟเทียบกันระหว่างเปิด เครือ่ งฟอกอากาศ และไม่เปิดเครือ่ งฟอกอากาศ ทำ�การสรุปแยกตามประเภทก๊าซเป็นข้อ ดังนี้ 1) ก๊าซ CO ในช่วงความเร็วรอบเครื่อง 1000 รอบ/นาที ค่าก๊าซ CO ทีไ่ ม่ได้รบั ประจุไฟฟ้า มีคา่ น้อยกว่า แต่หลังจากรอบเครือ่ งยนต์สงู กว่า 1500 รอบ/นาทีจนถึง 3000 รอบ/นาที ค่า ปริมาณก๊าซ CO ที่ผ่านการรับประจุไฟฟ้ามีค่า น้อยกว่า โดยมีคา่ เฉลีย่ ความแตกต่างสูงสุด 0.151% Vol ที่รอบเครื่องยนต์ 1500 รอบ/นาที โดยก๊าซ CO มีปริมาณลดลงสูงสุด 26.22% 2) ก๊าซ CO2 ในช่วงความเร็วรอบเครือ่ งยนต์ 1000 - 1500 รอบ/นาที ค่า CO2 จากการผ่าน การรับประจุไฟฟ้ามีค่า น้อยกว่า แต่ที่ความเร็ว ของเครื่องยนต์สูงกว่า 2000 รอบ/นาที ค่า CO2 ที่ผ่านการรับประจุไฟฟ้าจะมีค่าน้อยกว่าไอเสีย ทีไ่ ม่ผา่ นการรับประจุไฟฟ้า โดยก๊าซ CO2 มีปริมาณ เพิ่มขึ้นสูงสุด 6.06% 3) ก๊าซ O2 ในช่วงความเร็วรอบเครือ่ งยนต์ 1000 - 1500 รอบ/นาที ค่า O2 จากการผ่าน การรับประจุไฟฟ้ามีคา่ มากกว่า แต่ทค่ี วามเร็วรอบ

เครื่องยนต์สูงกว่า 2000 รอบ/นาที ค่าก๊าซ O2 ที่ผ่านการรับประจุไฟฟ้ามีค่าน้อยกว่า โดยก๊าซ O2 มีปริมาณลดลงสูงสุด 47.39% 4) ก๊าซ HC จะมีความแตกต่าง หลังรอบ เครื่องยนต์สูงกว่า 1500 รอบ/นาที โดย HC ที่ ผ่านเครื่องฟอกจะมีค่าน้อยกว่าโดยมีความแตก ต่างสูงสุด 71 PPM. ที่รอบเครื่องยนต์ 3000 รอบ/นาที โดยก๊าซ HC มีคา่ ลดลงสูงสุด 39.66% จากผลดังกล่าว ถ้านำ�มาเขียน แนวโน้ม การเปลี่ยนแปลงปริมาณก๊าซแต่ละชนิดหลัง ไอเสีย ได้ผ่านเครื่องฟอกอากาศเขียนได้ดังนี้ CO ลดลง CO2 เพิ่มขึ้น O2 ลดลง HC ลดลง แต่ ผ ลดั ง กล่ า วมี ค วามแตกต่ า งกั น ในขณะที่ รอบเครื่องยนต์ต่ำ�กว่า 1500 รอบ/นาที ซึ่งค่า CO2 ลดลง แต่ O2 เพิ่มขึ้น

เอกสารอ้างอิง [1] พูลพร แสงบางปลา, ไอเสียจากเครือ่ งยนต์ และการควบคุม [2] นิตยา มหาผล, กฏหมายควบคุมมลพิษ ทางอากาศ, ชุดวิชากฏหมายสิ่งแวดล้อม สาขา วิชานิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2528 [3] จำ�ลอง อ้นสะอาด, เครือ่ งฟอกอากาศ, กรุงเทพมหานคร, 2536 [4] วิจิตร จงวิศาล, มลภาวะทางอากาศ และมาตรฐาน, สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย ญี่ปุ่น), 2525 [5] ก้องเกียรติ ณ สีมา, ทฤษฎีและการ ใช้งานไทม์เมอร์ไอซี 555, กรุงเทพฯ, 2528 31


Train the Trainer

TWI

the Grafted on Development to Enhance Technique of Coaching TWI JI พัฒนาการที่ต่อยอด เสริมสร้างเทคนิดการสอนงาน

โดย เสกพรสวรรค์ บุญเพ็ชร วิทยากร อิสระ/ SP TRAINING ที่ปรึกษาด้านการพัฒนาธุรกิจและทรัพยากรมนุษย์ บริษัทมาลัยเพชร

By Mr. Sekpornsawan Boonphet Freelance Engineer/SP Training Business Development and Human Resource Consultant, Malaiphet Co., Ltd.

“TWI JI” เป็นชื่อย่อที่คุ้นเคยของผู้ที่เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร Training Within Industry for supervisor job instruction ซึ่งเป็นหนึ่งใน หลักสูตรการพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมยานยนต์ ที่ด�ำเนินงานภายใต้ โครงการ Automotive Human Resource Development Project (AHRDP) ของสถาบันยานยนต์ นั่นเอง Training Within Industry for supervisor job instruction, or “TWI JI”, is one of syllabuses provided by Thailand Automotive Institute (TAI)’ s Automotive Human Resource Development Project (AHRDP) for automotive industry

32


JI,

“อย่าพึ่งความจ�ำ ให้ยึดถือคู่มือ ”

เริ่มต้นจากการเข้ารับการฝึกอบรมผู้สอน หลักสูตร TWI JI ในโครงการ ดังกล่าว ครั้งแรก ผู้เขียนรู้สึกแปลกใจมากและตั้งค�ำถามในใจไว้ หลายข้อ เป็นต้นว่า ท�ำไมต้องเรียนหลายวัน? ท�ำไมต้องมีการทดสอบกันอีกหลายๆ ครัง้ ในระยะ เวลา 4 ปี และที่ส�ำคัญในการเรียนนั้น อาจารย์ ผู้สอนเป็นชาวญี่ปุ่น ชื่ออาจารย์ เคอิชิ โฮริกาว่า (KEISHI HORIKAWA) ใช้วิธีการสอนแบบที่เรียกว่า เปิดต�ำราสอนไปทีละหน้า ซึ่งในความรู้สึกของ ผูเ้ ขียนเวลาตอนนัน้ อดคิดไม่ได้วา่ “ท�ำไมต้องมา อ่านหนังสือให้ฟังทีละหน้า อ่านเองก็ได้” แต่ทว่า เมือ่ เรียนจบหลักสูตรครบถ้วนแล้วนัน้ ผูเ้ ขียน ก็ได้ รับค�ำตอบอย่างครบถ้วนในทุกค�ำถาม ทุกข้อสงสัย จากอาจารย์ผสู้ อน และ ค�ำตอบ คือ สาเหตุทตี่ อ้ ง เรียนหลายวัน เพราะต้องให้เวลากับการฝึกฝน ทักษะในการสอน สาเหตุที่ต้องมีการทดสอบด้วย การสอนจริงหลายๆ ครั้ง เพราะต้องการเห็น พัฒนาการที่แท้จริงของการสอนให้ได้เหนือกว่า มาตรฐานของญี่ปุ่น เนื่องจากเป็นโครงการความ ร่วมมือระหว่างประเทศ หากไม่มีการฝึกฝน ด้วยการทดสอบปฏิบัติจริงให้ได้ผลดีแล้วนั้น อาจส่งผลให้มผี ไู้ ม่ผา่ นการทดสอบด้วย และสุดท้าย ที่ต้องสอนกันไปทีละหน้าเพราะอาจารย์ต้องการ ให้ลกู ศิษย์ยดึ ถือคติวา่ “อย่าพึง่ ความจ�ำ ให้ยดึ ถือ คู่มือ”

ด้วยค�ำตอบของอาจารย์ทั้ง 3 ข้อนี้ เมื่อ ถึงคราวที่ผมต้องเป็นผู้สอนให้กับผู้เข้ารับการฝึก อบรม แม้ว่าจะต้องเคร่งครัดโอนอ่อนไม่ได้ใน บางเรื่อง แต่ก็ยังมีบางเรื่องที่ยืดหยุ่นได้บ้าง เพื่อ ให้คงความเป็นต้นฉบับอย่างแท้จริง It was started when I first attended the TWI JI. During taking this course, I was doubt and surprised with several things; for instance, days for a course, many requiring exames withing 4 years and instructor’s teaching technique. I was tought by Mr. Keishi Horikawa, a Janpanese instructure who would read page by page to his students. However, after finishing the course, I knew

reasons of these unusual things from him. Several days for taking this class is essential becauese we need time for practicing. Many realistic tests are to see the development of coaching into higher level of Japan’s standard. Without those tests, paticipant may not pass the course. As Mr. Keishi wants to remind his students that “Do not remember, Do follow instruction, his teaching technique by reading page by page seems to be practical. According to Mr. Keishi’s reasons, I, as the instructor for this course, now, follow his principle; rigid in almost but flexible in others to maintain his module. 33


แก่นของ TWI JI เริม่ ต้นโดยการแนะนำ�ตัว โดยบอกชื่อ - สกุล หน่วยงาน หน้าที่การงาน ภูมิลำ�เนา จุดเด่นของภูมิลำ�เนา และงานอดิเรก พร้ อ มทั้ ง ให้ ก ล่ า วถึ ง การที่ อ งค์ ก รที่ ใ ห้ ค วาม สำ�คั ญ กั บ ผลผลิ ต หรื อ การผลิ ต สิ น ค้ า ออก จำ�หน่ายให้กับลูกค้าโดยคำ�นึงถึงคุณภาพ และ การควบคุมต้นทุนต่างๆ เพื่อสร้างผลกำ�ไร ซึ่ง เป็นสิ่งที่มีความจำ�เป็นสำ�หรับหัวหน้างานและ ถ้าขาดสิ่งนี้ไป องค์กรก็ไม่สามารถอยู่ได้ส่งผล ให้หั ว หน้า และพนั ก งานทั้ งหมดก็จะอยู่ไม่ได้ เช่นกัน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความคุ้นเคย และเพื่อ เป็นแบบอย่างที่สามารถอ้างถึงได้ภายในเนื้อหา ของการดำ�เนินการฝึกอบรมในโอกาสต่อๆ ไป จากนั้น จึงเป็นการกล่าวถึงปัญหาที่เกิดขึ้น โดยทัว่ ๆ ไปภายในองค์กร หรือภายในหน่วยงาน ซึ่งหากว่า เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน จะ สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ เหล่านั้นได้ ด้วยวิธี การสอนงานที่ดี และหัวหน้าที่จะสามารถแก้ไข หรือจัดการกับปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้ดีนั้น ต้องประกอบด้วย 2 ความรู้ และ 3 ทักษะ โดย 2 ความรู้ ได้แก่ 1.มีความรู้เกี่ยวกับงาน 2.มีความรู้เกี่ยวกับความรับผิดชอบในหน้าที่ และ 3 ทักษะ ได้แก่ 1.ทักษะในการพัฒนาและ ปรับปรุงงาน 2.ทักษะในการปฏิบตั ติ อ่ คน 3.ทักษะ ในการสอนงาน ซึง่ จำ�เป็นอย่างยิง่ สำ�หรับหัวหน้างาน วิธกี ารสอนงาน ทีส่ ามารถพบเห็นได้ทว่ั ไป คือ การสอนงานแบบการพูดหรืออธิบายให้ผเู้ ข้า รับการฝึกอบรมฟังเพียงอย่างเดียว การสอน แบบนีอ้ าจจะสัมฤทธิผ์ ลได้ หากว่าผูเ้ รียนมีสมาธิ ที่ดีในการรับฟัง และผู้สอนมีความสามารถที่ดี ในการสอน แต่กม็ ขี อ้ จำ�กัดอยูม่ ากทีท่ ำ�ให้การสอน รูปแบบนี้ ไม่ประสบความสำ�เร็จเท่าที่ควร และ 34

ยั ง มี ก ารสอนอี ก วิ ธี ห นึ่ ง ที่ พ บเห็ น ได้ เ สมอคื อ การสอนงาน ในรูปแบบการทำ�ให้ดเู พียงอย่างเดียว ซึง่ อาจจะประสบความสำ�เร็จได้ แต่ตอ้ งไม่ลมื ว่า การที่จะเป็นหัวหน้าที่ดีนั้น สิ่งสำ�คัญที่จะต้อง คำ�นึงถึง คือ “หากลูกศิษย์/ลูกน้อง หรือผู้ที่รับ การถ่ายทอด การสอนจากเราด้วยวิธปี ฏิบตั ใิ ห้ดู แล้วทำ�ไม่ได้ ก็เปรียบเสมือนว่า เราไม่ได้สอน” เช่นกัน ดังนัน้ หัวใจของการสอนงานทีด่ ี คือ การ ท�ำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้งานได้อย่างรวดเร็ว สามารถน�ำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย และด้วยความระมัดระวัง การสอนงานที่ถูกต้องตามหลักการของ TWI JI คือ การสอนงานที่ แบ่งเป็น 4 ขั้นตอน ได้แก่ การเตรียมตัว การอธิบาย การฝึกปฏิบัติ และการมอบหมายงาน จะขาดสิ่งหนึ่งสิ่งใดไม่ ได้โดยเด็ดขาด เพราะล้วนแต่เกีย่ วข้อง สนับสนุน ซึ่งกันและกัน นอกจากนัน้ เนือ้ ความในการสอนยังต้อง แบ่งเป็นข้อๆ ตามล�ำดับขั้น เพื่อให้ง่ายต่อ การสอน รวมทั้งง่ายต่อการจดจ�ำ ทั้งนี้ วิธี การทีห่ วั หน้าสอน ต้องถูกต้อง ง่ายต่อการปฏิบตั ิ และปลอดภัยเมื่อน�ำไปใช้ในงานด้วย The content of TWI JI is started from introducing yourself: First name, Last name, Job title, Domicile, Distinctive of your domicile and hobby. Followed by explained how the company focus on quality of its product and cost control in order to generate profit which is important to the supervisor, without this, the company would not last. So as the supervisor and all employee. The purpose of this process is to build familiarity

and reference in the main point of further trainings. Ending with telling problems within organization. Problems can be solved within a day, if there is pleasant coaching and the supervisor with ability to handle those problems which consists of 2 types of knowledge (1. Job knowledge and 2. Knowledge of job responsibilities) and 3 skills (1. Development skill, Interpersonal relationships skill and 3. Coaching skill). These all are required for being a supervisor. In generally, the basic coaching is explain trainees how to do. This approach will be success if trainees concentrate what the instructor tells and instructor must also has capacity. However, it is limited and not always accomplished. On the other hand, coaching by only showing how to do without practicing is not efficient as well because trainees, somehow, would not be able to do it, which is useless. The core of good coaching is having trainee to learn how to perform his job promptly with safety and cautiously. The concept of TWI JI for good coaching has 4 steps: Preparation, Explaination, Training and Job Assignment. They all need to be done because they support one another. Moreover, contents for coaching have to be arranged and grouped for providing instruction and remember easily. The right, incomplicated practice and harmless when trainee apply with his job are qualification of successful coaching, delivered by the lecturer


การสอนงานที่ดีคือ “การทำ�ให้ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ได้อย่าง รวดเร็ว นำ�ไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย และด้วยความระมัดระวัง” อย่างไรก็ตาม การทีจ่ ะสอนในเรือ่ งเดียวกัน ให้ถกู ต้องเหมือนกัน นอกจากจะต้องมีการเตรียม การสอน และการจดบันทึกแบบแยกขั้นตอน การปฏิ บั ติ ง านแล้ ว ยั ง ต้ อ งมี ก ารเตรี ย มพื้ น ที่ ในการสอนให้เหมาะสม โดยอาจจ�ำลองเสมือน เป็นสิ่งที่ผู้เรียนจะต้องพบในการท�ำงานจริงเป็น ประจ�ำด้วย ทั้งนี้ หมายความรวมถึงการที่ต้อง มีเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ตา่ งๆ ให้พร้อมก่อนการสอน และห้ามน�ำอุปกรณ์ดัดแปลงมาใช้ในการสอน โดยเด็ดขาด ทุกเรื่องราวและข้อปฏิบัติ ดังกล่าวมานี้ ล้วนเกี่ยวข้องกันทั้งสิ้น เพื่อให้การสอนงานของ หัวหน้างานประสบความส�ำเร็จ เป็นหัวหน้างาน งานทีด่ ี สร้างผลผลิตทีด่ มี คี ณุ ภาพ และสามารถ ควบคุมต้นทุนได้ ไม่ใช่สิ่งที่ยากเกินไปส�ำหรับ หัวหน้างานที่เข้ามาฝึกอบรม สิ่งส�ำคัญคือ ต้อง มีการฝึกฝนบ่อยๆ จนเกิดเป็นทักษะความช�ำนาญ ซึ่งเมื่อเกิดทักษะแล้ว หัวหน้างานก็จะสามารถ น�ำเอาออกมาใช้ตลอดเวลาที่ต้องการได้โดย อัตโนมัติ สำ�หรับประสบการณ์ของผู้เขียนเอง เมื่อ ได้รับการแนะนำ�ในเรื่องของเทคนิคการสอน (Teaching Teachnique) ทำ�ให้เข้าใจได้ว่า นอกจากวิธกี ารสอนทีด่ แี ล้ว เรายังต้องมีแนวทาง ในการสอน การใช้ถอ้ ยคำ� รวมถึงท่าทางการยืน การเดิน หรือแม้กระทัง่ การใช้ไมโครโฟน ซึง่ ล้วน เป็นส่วนประกอบสำ�คัญ ที่จะส่งผลเพื่อให้เกิด ความราบรืน่ ในการสอนงาน ไม่นา่ เบือ่ และเมือ่ นำ� 2 สิ่งนี้มารวมกัน ก็จะสามารถสร้างความ สำ�เร็จให้กบั การฝึกอบรมตามวัตถุประสงค์ได้ไม่ ยากเลย นอกจากนั้น ผู้เขียนยังได้รับค�ำแนะน�ำ ในหลักสูตรการเป็นผู้สอนงานของรายวิชา TWI JR โดย Thai Master trainner ด้วย กล่าวได้ว่า จากพื้นฐานความเข้าใจในวิชา TWI JI และ Teaching Teachnique ท�ำให้ผู้เขียนสามารถ น�ำไปใช้ในการเป็นผู้ฝึกอบรมให้กับบริษัทชั้นน�ำ ทัว่ ไป ได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะบริษทั ทีม่ ผี ถู้ อื หุน้ เป็นชาวญี่ปุ่น จนเป็นที่ยอมรับในอุตสาหกรรม เพราะเป็นไปตามแบบแผนที่ใช้ในประเทศญี่ปุ่น เรียกว่าเป็นพัฒนาการทีต่ อ่ ยอดมาจากการเข้ารับ การฝึกอบรมหลักสูตร “TWI JI” นั่นเอง และ

ที่ยิ่งไปกว่านั้น การที่ผู้เขียนได้มีโอกาสเข้ารับ การฝึกอบรมอย่างต่อเนือ่ ง ในหลักสูตร Trainner TWI JM ซึ่งเป็นเรื่องของการพัฒนาและการ ปรับปรุง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของ Continues Improvement หรือ Kaizen ที่มุ่งเน้นเรื่องของ การจัดระบบกระบวนการผลิตให้สามารถผลิต สินค้าได้อย่างต่อเนือ่ ง บนพืน้ ฐาน ความถูกต้อง รวดเร็ว ปลอดภัย และง่าย โดยมีหลักส�ำคัญ ของเนือ้ หา แก่น คือ หัวหน้าต้องรูใ้ นกระบวนการ ของงานนั้นอย่างถ่องแท้ เพื่อการน�ำไปปรับปรุง โดยยึดหลัก การรวม การยกเลิก การจัดล�ำดับ ใหม่ และการท�ำให้เกิดความสะดวก

บทสรุป

การสอนงานที่ดีคือ “การท�ำให้ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว น�ำไปปฏิบัติได้ อย่างถูกต้อง ปลอดภัย และด้วยความระมัด ระวัง” และสิ่งหนึ่งที่ต้องค�ำนึงถึงอยู่เสมอ จะ ลืมเสียไม่ได้ คือ ไม่ใช่ “รู้” เพียงอย่างเดียว แต่ ต้อง “เข้าใจ” ด้วย ไม่ว่าจะเป็นลักษณะงาน รูปแบบใดๆ ก็ตาม เพราะการเริ่มต้นที่ได้รับ การสอนที่ดี จนเกิดการเรียนจนรู้และเข้าใจ อย่างแท้จริง จะสามารถน�ำไปต่อยอดได้อย่าง หลากหลาย รวมทั้งสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับชีวิต และประสบผลส�ำเร็จในการท�ำงานได้ไม่ยากนัด โดยทั้งหมดนี้ล้วนมาจากการเรียนรู้ และเข้าใจ ใน Training Within Industry for supervisor job instruction JOB INSTRUCTION หรือที่เราเรียก ขานกันว่า TWI JI นั่นเอง Nevertheless, for efficient coaching needs preparation and write down the process of operation as well as simulation of the classroom same as the real working area; including, tools and equipment before hand. These are all required for coaching, as well. Remarkly, do not use those altered tools and equpiment for teaching. All I mention above are coherence. It is not too hard for supervisor to be a good one with abilities to provide successful coaching, distribute fine productivity and control cost efficiently. The regular practicing is the point that the supervisor must do to gain expertise which is a skill that he can use or apply with his

jobs automatically anytime as needed. From my experience, after obtaining the teaching techniuqe, I realize that I must have not only good teaching, but also decent approaching. The word you speak, the way you walk or even the way you grasp microphone are all major parts that effect to your teaching if it is smooth or bored. Together with the combining of good teaching and decent approaching, the accomplishment is not out of your reach. I also was suggested to attend the training for the instructor of subjects in TWI JR by Thai Master Trainner. Having knowledge from taking TWI JI and Teaching technique, I have implied them with training programs in many leading companies; especially, the company with Japanese as a shareholder, and been accepped because they are based on Japan’s module. This is grafted on development of TWI JI. In addition, I had a chance to take Trainner TWI JM, the development and improvement course. In this course, it concentrates in Continues Improvement or Kaizen, which focuss on setting up the continuous production system based on accuracy, speed, safety and simple. The supervisor must know the whole process of the job, clearly in order to improve job performance by taking a stand on combination, cancelation, rearrangement and expediency. This is the core subtance of this course.

The conclusion

The best practice of coaching is ability to have the trainee to learn faster and perform the job right with safety and carefullness. Another thing to be reminded is in any kinds of job, you have to know and understand as well because obtaining the good coaching at the beginning will assist you to learn/know and understand, truly and you can expand this capability to build yourown value added and accomplishment in your carreer. Above of all, this is the result of learning/knowing and understanding in Training Within Industry for supervisor job instruction JOB INSTRUCTION or TWI JI. 35


Testing Standards

The Testing of Inner tube for Motorcycle as defined by TIS 683-2530 การทดสอบยางในรถจักรยานยนต์ ตาม มอก.683-2530 เรียบเรียงโดย จักรกฤษ รุ่งเรือง วิศวกรแผนกทดสอบ สถาบันยานยนต์

ยาง

คือวัสดุพอลิเมอร์ ที่ประกอบด้วย ไฮโดรเจนและ คาร์บอน เป็น วัสดุทมี่ คี วามยืดหยุน่ สูง มีตน้ ก�ำเนิดจากธรรมชาติ มีลกั ษณะเป็นของเหลวสีขาว คล้ายน�ำ้ นม ทีอ่ อก มาต้นยาง มีสมบัติเป็นคอลลอยด์ อนุภาคเล็ก มีตัวกลางเป็นน�้ำ อยู่ในสภาพของเหลวเรียกว่า น�ำ้ ยาง ยางทีเ่ กิดจากพืชนีเ้ รียกว่า ยางธรรมชาติ แต่ ใ นขณะเดี ย วกั น มนุ ษ ย์ ส ามารถสร้ า งยาง สังเคราะห์ได้จากปิโตรเลียม

36

By Jukkrit Rungruang Testing Center Engineer, Thailand Automotive Institute (TAI)

ยางสังเคราะห์ ได้มีการผลิตมา ตั้งแต่ ค.ศ. 1940 เนื่องจากเกิดสภาวะการขาดแคลน ยางธรรมชาติที่ใช้ในการผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ และปัญหาในการขนส่งจากแหล่งผลิตในช่วง สงครามโลกครั้งที่ 2 ปั จ จุ บั น ได้ มี ก ารพั ฒ นาการผลิ ต ยาง สังเคราะห์เพื่อให้ได้ยางที่มีคุณสมบัติตามความ ต้องการในการใช้งานทีส่ ภาวะต่างๆ เช่น ทีส่ ภาวะ ทนต่อน�ำ้ มัน ทนความร้อน ทนความเย็น เป็นต้น Rubber is polymer that consists of Hydrogen and Carbon. This material is high flexibility, which is spontaneous generation. The milk-liked white liquid exudes from the rubber

tree is colloid; a particle with water based (dispersion medium), or generally called latex. The Rubber from tree is called Natural rubber and Synthetic rubber is formed by petroleum. The synthetic rubber has been produced since 1940 because there was natural rubber shortage from highly demand for weapon and armament production as well as inconvenient transportation during the WWII. Nowadays, Synthetic rubber production has been developed to use in different kinds of requirement and condition; i.e, Oil, Heat or Cool resistant.


ยางรถยนต์ แ ละยางรถจั ก รยานยนต์ เป็นผลิตผลมาจากยาง ทั้งจากยางธรรมชาติ และยางสังเคราะห์ ที่ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นในปี พ.ศ. 2382 โดย ชาร์ลส์ กูดเยียร์ ชาวอเมริกัน ซึง่ ค้นพบว่า เนือ้ ยางเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถ ทีจ่ ะทนทานต่อสภาพดินฟ้าอากาศได้ เขาจึงได้ ทดลองหาวิธีการต่างๆ จนพบว่าการนำ�ยางดิบ ผสมกับกำ�มะถันและตะกัว่ แล้วลนด้วยไฟ ทำ�ให้ ยางมีความทนทานต่อสภาพดินฟ้าอากาศที่เพิ่ม มากขึ้น สำ�หรับ Automotive Navigator เล่มนี้ เราขอนำ�ท่ า นมาร่ ว มกั น เรี ย นรู้ เ รื่ อ งราวของ มาตรฐานยางในรถจักรยานยนต์ ทีถ่ อื ว่าเป็นส่วน สำ�คัญส่วนหนึ่งของรถจักรยานยนต์ เพราะรถ จักรยานยนต์ จะสามารถขับเคลือ่ นไปถึงทีห่ มาย ได้ดว้ ยดีหรือไม่ คุณภาพของยางในรถจักรยานยนต์ มีส่วนในการขับเคลื่อนนั้นๆ ด้วยอย่างแน่นอน การกำ�หนดมาตรฐานยางในรถจักรยานยนต์ จึงเป็นไปเพื่อควบคุมให้มีการทดสอบสมรรถนะ เพื่อให้ได้ยางที่ผลิตออกมา มีคุณภาพดี และ เหมาะสมในการใช้งาน สำ�นกั งานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม จึงกำ�หนดให้มี มอก.683-2530

เพื่อรองรับการทดสอบยางในรถจักรยานยนต์ โดยในการทดสอบหลักจะมีรายการทดสอบ ดังนี้ 1. การทดสอบลักษณะทั่วไป ก�ำหนด ให้ตรวจสอบลักษณะทั่วไปและสภาพตัวอย่าง โดยการตรวจพิ นิ จ ยางในรถจั ก รยานยนต์ โดยจะต้องมีขนาดสม�่ำเสมอกันตลอดเส้นและ ปราศจากข้อบกพร่องที่อาจเป็นอันตรายต่อการ ใช้งาน เช่น รอยแตก สิง่ แปลกปลอมทีส่ งั เกตได้ และอื่นๆ เช่น หัวจุ๊บไม่มีสนิม สามารถขันและ คลายปลายเกลียวได้สะดวกโดยให้ตรวจสอบ ยางในทุกเส้น 2. การทดสอบการใช้งานร่วมกัน โดย การใช้ ชุ ด เครื่ อ งมื อ ถอดประกอบยางรถ จักรยานยนต์ทำ�การประกอบยางในเข้ากับยาง นอกรถจักรยานยนต์และวงล้อรถจักรยานยนต์ ที่ มี ข นาดเดี ย วกั น และมี มิ ติ ถู ก ต้ อ งตาม มาตรฐานเข้าด้วยกันโดยที่ยางในต้องไม่ตึงหรือ หย่อนเกินไป และต้องไม่ให้เกิดรอยพับของยางใน 3. เครือ่ งหมายและฉลาก ให้ตรวจสอบ เครือ่ งหมายและฉลากโดยการตรวจพินจิ ยางใน ทุกเส้น และที่หีบห่อหรือภาชนะบรรจุยางใน ทุกหน่วย อย่างน้อยต้องมีเลข อักษร หรือ เครื่องหมาย แจ้งรายละเอียด ต่อไปนี้ ให้เห็น ได้ง่าย ชัดเจน และถาวร (1) ชื่อขนาด (2) รหัสรุ่นที่ท�ำ (3) ชื่อผู้ท�ำหรือโรงงานที่ท�ำ หรือ เครื่องหมายการค้า (4) ประเทศที่ท�ำ ในกรณี ที่ ใ ช้ ภ าษาต่ า งประเทศต้ อ งมี ความหมายตรงกับภาษาไทยที่กำ�หนดไว้ข้าง ต้นผู้ทำ� ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่เป็นไปตาม มาตรฐานนี้จะแสดงเครื่องหมายมาตรฐานกับ ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้นได้ ต่อเมื่อได้รับใบ อนุ ญ าตจากคณะกรรมการมาตรฐานผลิ ต อุตสาหกรรมแล้ว Both automotive and motorcycle tires are produced from natural and synthetic rubbers, which were invented by the American named Charles Goodyear in 1839. He realized that only pure rubber cannot tolerate weather condition so he did experiments. At last, he found the way to make it stabilized and last longer than before by blending among Rubber latex, Sulfur and Lead together and singing them. For this issue of Automotive Navigator Magazine, we would like to introduce you to know more about the standard of inner tube using for motorcycle which is one of major parts of motorcycle. Whether riding motorcycle to

the destination safely, it is depended on the quality of tire, significantly. Determination the standard of tire for motorcycle is to control the capacity in order to produce quality and right tire for each type of ride. Thai Industrial Standards Institute (TISI) realizes and allocates the TIS 683-2530 for implementation with the test of inner tube for motorcycle. There are 4 major tests as following as: 1. General properties test: It is checking the inner tube samples. The inner tube shall be uniformly balanced in both shape and thickness, and be free from harmful defects such as cracks, visible foreign objects, etc. The valve shall be free from rust and easy to tighten and loosen. 2. Compatibility test: By assembling the inner tube, tire and rim with the same designation and dimension, the inner tube must not too tense or lax to extent its form without any folds. 3. Marking and Labeling: To check and collate trademark and label on all inner tube; including all packages or containers that keep all inner tubes. At least, they must have number, alphabet, letter or mark which identifies the following details, obviously, clearly and permanently. (1) Name, Size and Designation (2) Model number or Manufacturing code (3) Name of Manufacturer or Trademark (4) Country of Manufacturing In case using foreign language, it must have the same meaning of Thai’s as above. Manufacturers, whose products are passed the standard, can put the TISI marks on each certified product after receiving certification and permission from Industrial Product Standards Council.

37


Inner Tube Joint Sample for Tensile strength & Elongation Sample for Tensile strength of joint

Picture: Cross section image of samples for Tensile strength & Elongation and tensile strength of joint

4. การทดสอบสมบัติทางกล มีรายการหลัก 4 รายการ คือ 4.1 ความต้านแรงดึง ความยืด และความต้านแรงดึงของรอยต่อ 4.2 ความต้านแรงดึงภายหลังการบ่มเร่ง 4.3 ความยืดถาวร 4.4 ความต้านแรงยึดเหนีย่ วของหัวจุบ๊ กับยาง

Picture: Tire thickness gauges

4. Mechanical properties test: There are 4 main items 4.1 Tensile strength & Elongation and tensile strength of joint 4.2 Strength after heat aging 4.3 Permanent elongation 4.4 Bonding force between tube and valve

Picture: Tested sample for tensile strength of joint 38

Picture: Size of sample for Tensile strength & Elongation and tensile strength of joint (Specimen Dumbbell)


Table of Mechanical properties for inner tube

No. 1 2 3 4 5 6

Properties Tensile strength in Mega Pascal shall be at least % of Elongation shall be at least Tensile strength of joint in Mega Pascal at least % of Permanent elongation shall be less than % of Strength after heat aging decrease at least Newton of Bonding force between tube and valve at least

Picture: Dumbbell-shape of tested sample (Specimen Dumbbell) for Permanent elongation

Regulated Standard 11.77 500 6.86 25 10 500

Methodology of Testing Item 8.2 Item 8.3 Item 8.4 ISO 652

นอกจากนั้น หัวจุ๊บยางในถือว่า เป็นชิ้น ส่วนส�ำคัญอย่างหนึ่งที่ช่วยเสริมความแข็งแรง ของยางในโดยมีแผ่นยางซึง่ ท�ำ หน้าทีเ่ ป็นฐานรอง หัวจุบ๊ ติดแน่นกับยางใน แบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ 1. หัวจุ๊บก้านเปลือย 2. หัวจุ๊บก้านหุ้มยาง Additionally, the valve of inner tube is significant element that increases strength of its by having rubber made into a ring-shaped tube with a valve reinforced by a rubber plate that acts as its base, which is firmly fixed to the inner tube. There are 2 types of these: 1. Rubber base valve 2. Rubber covered valve

รูปการจับยึดของชิ้นทดสอบความยืดถาวร Picture: Dumbbell - JIG Fixture Valve

Ring

Inner Tube

หนวยเปนมิลลิเมตร / Unit: Millimeter Picture: Preparing tested sample for bounding force of valve

39


ดังนั้น มาตรฐานจึงก�ำหนดให้มีการทดสอบในจุดอื่นๆ ที่ส�ำคัญ เช่น การทดสอบการรั่วซึมของหัวจุ๊บ การทดสอบปลายลูกศรของหัวจุ๊บ และการ ทดสอบการรั่วซึมของยางใน อีกด้วย Thus, standardization has determined to test others major areas, as well such as the following tests: the Air leakage of valve, arrow of valve and Air leakage of inner rubber tube.

Picture: Tools for the Air Leakage of valve Test

Picture: Tools for the Air Leakage of inner tube Test

Cover Cover Rod

Rod

Arrow

Arrow

Nut Ring Inner tube

Inner tube

Picture: Rubber base valve

40

Picture: Rubber covered valve


Way to Success

Adaptation of

Thai SMEs in the era of globalization การปรับตัวของ SMEs ไทย ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ โดย ชนุดล ชูเรืองสกุล ผู้ช�ำนาญการ แผนกเทคโนโลยีการผลิต สถาบันยานยนต์

สวัสดีครับ พบกันอีกเช่นเคยกับ Way to success ส� ำ หรั บ Automotive Navigator Magazine ฉบับนี้ ขอน�ำท่านมาร่วมเปิดใจกับ SMEs ไทยทีถ่ อื ว่าเป็นคนเก่งและแกร่งในระดับสากล กับแนวคิด การปรับตัว SMEs ไทยภายใต้กระแส โลกาภิวัตน์ คุณกมล ชุตพิ งศ์นาวิน กรรมการผูจ้ ดั การ บริษัท เค เอ็ม เอฟ จ�ำกัด ผู้ประกอบการผลิต ชิ้นส่วนยานยนต์ ที่มีประสบการณ์ด้านการผลิต ชิ้นส่วนเครื่องจักรและชิ้นส่วนยานยนต์ ในกลุ่ม 1 OEM = Original Equipment Manufacturer

By Mr. Chanudol Churuangsakul Production Technology Specialist Thailand Automotive Institute

OEM1 (Original equipment manufacturer) กล่าวได้วา่ เป็น SMEs ตัวจริง เสียงจริงทีม่ ากด้วย ความสามารถ ประสบการณ์ วิสัยทัศน์ที่ล�้ำหน้า และความกล้าคิดกล้าท�ำ ด้วยการลงมือปฏิบตั เิ อง อย่างเป็นรูปธรรมตลอด 6 ปีที่ผ่านมา Hello all, as usual with the Way to success for Automotive Navigator Magazine. In this issue, I would like you to see as the aspect of Thai SMEs, who are smart and tough in international level, with the concept of “Adaptation of Thai SMEs in the era of globalization”

Mr. Kamon Chutipongnavin, the President of KMF Co., Ltd., auto part manufacturer, the organization that has expertise in OEM manufacturing of machine and automotive. Mr. Chutipongnavin, is also known as the real SMEs man by his ability, long experience, foreseeability, adventurous, and prefer to take his own action enthusiastically for throughout pass 6 years

41


บริษัท เค เอ็ม เอ็ฟ จำ�กัด ก่อตั้งขึ้น เมือ่ ปี พ.ศ. 2543 ด้วยทุนจดทะเบียน 12 ล้านบาท เป็นบริษัท SMEs ของคนไทย 100% ปัจจุบัน สามารถผลิตชิน้ ส่วนเครือ่ งจักรและชิน้ ส่วนยานยนต์ ที่มีความละเอียด เที่ยงตรงสูง ด้วยเครื่อง CNC มีลกู ค้าหลักทีส่ ำ�คัญ ได้แก่ บริษทั อีซซู ุ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำ�กัด และบริษัท อิเมอร์ชัน อิเล็กทริค (ประเทศไทย) จำ�กัด เป็นต้น มี โรงงานและสำ�นักงานตัง้ อยูท่ ่ี เลขที่ 5/107 หมูท่ ่ี 1 ตำ�บลห้วยกะปิ อำ�เภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี มีพนักงานประมาณ 50 คน ปัจจุบันคุณกมล เป็นผู้เขียนโปรแกรม LabVIEW เพื่อใช้ในการ ควบคุมคุณภาพและการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ ชิ้นส่วนไฟฟ้าและเครื่องจักรกล ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ รวมทั้งเป็นวิทยากรบรรยาย พิเศษใน หลายหน่วยงาน เช่น โครงการพัฒนา ผู้ประกอบการ ธุรกิจอุตสาหกรรม (ค.พ.อ.) จั ด โดยกรมส่ งเสริ ม อุ ต สาหกรรม กระทรวง อุตสาหกรรม หัวข้อ “เถ้าแก่ เอส เอ็ม อี กับ นวัตกรรม” และ หัวข้อ “ยุทธศาสตร์ เอส เอ็ม อี” จัดโดย ธนาคารกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) เป็น ประจำ�ทุกปี รวมทั้งเป็นวิทยากรบรรยายพิเศษ ของบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

และบรรยายให้กับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ด้ า นการผลิ ต ให้ กั บ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญีป่ นุ่ นอกจากนีย้ งั ดำ�รง ตำ�แหน่งเป็น ผู้ประสานงานผู้แทนการค้าไทยญี่ปุ่น ประจำ�สำ�นักงานผู้แทนการค้าไทย-ญี่ปุ่น (ฮิโรชิมา) และ ที่ปรึกษาด้านเทคนิคไทย-ญี่ปุ่น สถาบันไทย-เยอรมัน อีกด้วย ปัจจุบัน คุณกมล ชุติพงศ์นาวิน เป็น วิทยากรประจ�ำให้กบั สถาบันยานยนต์ ในโครงการ AMAS (Automotive Manufacturing Automation System) ภายใต้ความร่วมมือของ EU Switch โดย ได้รบั ความร่วมมือด้านระบบการสนับสนุนการผลิต LRP (Loss Reduction Process) จากบริษทั อีซูซุ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึง่ เป็นโครงการ ยกระดับขีดความสามารถด้านการผลิตชิน้ ส่วน ยานยนต์ในประเทศไทย จ�ำนวน 100 โรงงาน ภายในเวลา 3 ปี (2555-2558) KMF Co., Ltd. was established on year 2000 with the 12 million THB2 of capital registration. It Is 100% Thai Owner Company that is able to produce the complicated machine and auto parts with accuracy by CNC. Major clients are Isuzu (Thailand) Co., Ltd., Mitsubishi Motors (Thailand) Co., Ltd. and Emerson Electric Co., Ltd.

It is located at 5/107 Moo 1, Huai Khapi, Chonburi with approximately 50 employees. Mr. Kamon is the programmer of LabVIEW for quality control and auto, electric and machine parts manufacturing both for domestic and international; including guest speaker for several organizations such as the training for Development of the Model C.P.A., organized by Department of Industrial Promotion, Ministry of Industry (DIP), seminars of “SME with Innovation” and “SME Strategies” arranged yearly by Bangkok Bank PCL, Industrial Finance Corporation of Thailand (IFCT) and Manufacturing lecture to Undergraduate at Thai-Nichi Institute of Technology (TNI). He is also the Thailand-Japan Trade Representative at Office of Thailand-Japan Trade Representative (Hiroshima) and Thailand-Japan technical consultant at Thai-German Institute (TGI). At present Mr. Kamon is the lecturer at Thailand Automotive Institute (TAI) in Automotive Manufacturing Automation System (AMAS) under the cooperation of EU Switch and Isuzu Motors (Thailand) Co., Ltd., providing Loss Reduction Process: LRP3

2 THB = Thai Baht 3 Loss Reduction Process (LRP) = is the project that enhances ability of 100 plants for Thailand auto part manufacturing in 3 years (2012-2015)

42


จึงเป็นโอกาสดี ส�ำหรับผูป้ ระกอบการผลิต ชิ้นส่วนยานยนต์และผู้สนใจทั่วไป ที่ต้องการ เรียนรูแ้ นวคิดใหม่ๆ แบบแนวปฏิบตั ใิ นการสร้าง ระบบประกันคุณภาพ 100 % หรือ Zero Defect (ZD) ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องที่น่าท้าทายเป็นอย่างยิ่ง เพราะในช่วงเวลาที่อุตสาหกรรมยานยนต์ก�ำลัง เผชิญกับปัญหามากมาย ด้านคุณภาพ ต้นทุน การผลิต หรือแม้กระทั่งปัญหาเรื่องคน ที่ส่งผล ให้ผู้ผลิตรถยนต์แทบทุกค่าย ต้องมีการเรียกคืน รถยนต์ที่จ�ำหน่ายให้ลูกค้าน�ำไปใช้แล้ว เพื่อมา ท�ำการแก้ไขอยู่บ่อยครั้ง ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมามากมาย เรามาดูกันว่า คุณกมลรับมือ กับปัญหาต่างๆ เหล่านี้ได้อย่างไร This is a good opportunity for auto part manufacturer and publics to learn new concepts of practicing to setting up 100% quality control system or zero defect (ZD), which is challenged; especial y, in the period that automotive industry facing with several problems: Quality, higher of Production cost and labor shortage. As the results, almost automobile manufacturers have to often recall vehicles to get them repaired and cause them many problems. Now, let see how Mr. Kamon would handle these problems.

WS : ขอขอบคุณ เปิดโอกาสให้กับทีมงาน Way to success จาก Automotive Navigator Magazine สถาบันยานยนต์ เข้ามารับความรู้ เพื่อนำ�ไปเผยแพร่แนวคิดที่ดี ให้กับเพื่อนร่วม อุตสาหกรรม ได้มโี อกาสเรียนรูเ้ รือ่ งราว ตัวอย่าง การปฏิบตั ทิ ด่ี ี และสามารถนำ�ไปปรับปรุงตนเอง ได้ในอนาคต คำ�ถามแรกทีอ่ ยากจะเรียนถาม คือ ปัจจุบัน บริษัท KMF จำ�กัด มีกระบวนการ การผลิ ต หลั ก อะไรบ้ า งและชิ้ น ส่ ว นที่ ผ ลิ ต เป็นชิ้นส่วนกลุ่มผลิตภัณฑ์อะไรบ้างครับ คุณกมล : ปัจจุบนั บริษทั ฯ มีกระบวนการผลิต หลักส่วนใหญ่เป็นกลุม่ งาน machining และอืน่ ๆ อีกไม่มาก ชิ้นส่วนที่รับจ้างผลิต จะเป็นกลุ่ม อุตสาหกรรมยานยนต์ ชิ้นส่วนเครื่องจักรและ ชิน้ ส่วน Compressor ในระบบเครือ่ งท�ำความเย็น ในบ้านและรถยนต์ ทีต่ อ้ งมีความ Precision สูงๆ เป็นหลัก WS : ชิน้ ส่วนฯ ทีผ่ ลิตแล้ว ส่งให้กบั ใครบ้างพอ จะบอกได้ไหมครับ

WS : Thank you for being here and giving us this opportunity to retrieve knowledge and deliver good concepts to friends in the industry so they will able to implement them with their jobs. The 1st question, we would like to ask you are “Now, What is the core production process of KMF? And what kind of product does KMF produce?” KC : Today, most of the KMF’s production process is the machining group and some of others. Made to order products are auto part, machine part and compressor part of cooling systems for home used and automobile which require high precision. WS : For those finished parts; if possible, could you tell us where will these shipments delivered to?

43


คุณกมล : ชิ้นส่วนยานยนต์ที่บริษัทฯ ผลิต หลักๆ จะส่งให้แก่ ISUZU (Motor) และ Mitsubishi (Motor) แต่ถ้าเป็นชิ้นส่วนเครื่องจักรบางส่วน จะส่งไปที่ประเทศญี่ปุ่นและยุโรป KC : Most of products will be sent out to Isuzu (Motor) and Mitsubishi (Motor). Some of machine parts will be sent to countries in Europe and Japan. WS : บริษทั ฯ มีพนักงานโดยรวมจ�ำนวนเท่าไร? และระดับการศึกษาส่วนใหญ่เป็นระดับไหนกัน บ้างครับ? คุณกมล : ประมาณ 50 คน แต่ก่อนอื่น ต้อง ขอบอกไว้กอ่ นว่า พนักงานบริษทั ฯ ผมส่วนใหญ่ มีตั้งแต่อ่านหนังสือไม่ออก ไปจนถึง ม.3 แต่ พวกเขาทำ�งานให้ผมได้ดีมาก นั่นเป็นเพราะเรา สร้างระบบการทำ�งานที่ไม่ซับซ้อนให้กับพวกเขา สำ�หรับผมขอเพียงสอนวิธกี ารใช้เครือ่ ง เขาจำ�ได้ และทำ�งานตามทีเ่ ราบอกได้ เท่านีก้ เ็ พียงพอแล้ว เพราะเราพยายามสร้างระบบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กับเขาให้สามารถใช้งานได้งา่ ย และเขาสามารถ โต้ ต อบกั บ เครื่ อ งจั ก รขณะทำ�งานได้ ด้ ว ย เครื่องหมายชี้นำ� (Visual Control) แบบง่ายๆ แสดงผ่านหน้าจอ Computer เรียนรู้ เพื่อเตือน การทำ�งานแต่ละขั้นตอน WS: How many people in your workforce? And what is the average of their education level? KC: Now, there are approximately 50 employees. Most of them are il iterate to junior high graduated, but they all work for me very well, as the consequence of providing the uncomplicated working system. I teach them how to operate machines. They 44

learn and do what I taught and asked them. That is enough. I try to set up the simple system for them that they can interact during the operation by using the visual control shown on the computer screen; therefore, they can follow step by step, easily. WS : อยากให้ชว่ ยเล่าถึงเครือ่ งมือทีค่ ณุ กมลสร้าง ขึน้ มา ว่าท�ำขึน้ เพือ่ วัตถุประสงค์อะไร ให้ทำ� หน้าที่ อย่างไร และช่วยอะไรได้บ้าง คุณกมล : ย้อนกลับไปเมื่อประมาณ 6 ปี ก่อน หน้านี้ ผมมีปัญหาเรื่องของการควบคุมคุณภาพ มาโดยตลอดแก้ปัญหายากมาก ของเสียหลุดไป ที่ลูกค้าบ่อย ต้องส่งพนักงานไป Recheck ที่ ลูกค้า และต้องใช้พนักงาน QC เป็นจ�ำนวนมาก ท�ำให้มตี น้ ทุนสูงมาก ผมจึงต้องมองหาเครือ่ งมือ ที่จะเข้ามาช่วยแก้ปัญหาดังกล่าว ซึ่งจริงๆ ผม คิดมานานแล้ว ผมเริม่ ต้นด้วยการศึกษา Program Computer ต่างๆ และทดลองลงมือท�ำด้วย ตัวเอง เรือ่ ยมา จนได้มา 1 ระบบ เรียกว่าระบบ IQA Kit (Intelligence Quality assurance Kit) มีองค์ ประกอบอยู่ 3 ส่วน คือ 1) ชุด Computer 2) Program Computer ซึง่ ปัจจุบนั เราใช้โปรแกรม LabView เป็นหลักในการเขียนเป็นระบบปฏิบตั กิ าร และ 3) ชุดเครื่องมือวัด ระบบนี้ มีการพัฒนา ต่อยอดรวมกันระหว่าง KMF สถาบันเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ่น และสถาบันยานยนต์ ปัจจุบันเริ่มมี การใช้มากขึ้นในกลุ่มคนที่รู้จัก โดยมีสถาบัน ยานยนต์เป็นศูนย์กลาง WS : Could you tell me about your invention? What is the purpose? How does it work? And what is benefit?

KC : 6 years ago, I had problems with the quality control. It was hard to solve them. The defect products were sent to customers and I had to send my staff for rechecking and used a lot of QC which caused me a fortune. Thus, I sought the tool to fix these problems. Actually, I had thought about it for a while. I started to study computer programs and tried to do so many times until I found out the system, called, Intelligence Quality Assurance Kit (IQA Kit). It consists of 3 parts: 1). Computer set 2). Computer programs (Lately, I use LabView as the core to write system) and 3). Measurement tools kit. This system has been developed from corporation of TNI and TAI. Nowadays, it has been used widespread with TAI as the center. ระบบที่ว่านี้ เป็นเครื่องมือเชิงสารสนเทศ ตัวหนึง่ ทีค่ อยกลัน่ กรองค่าต่างๆ เรือ่ งของคุณภาพ ให้อยู่ในค่าควบคุม ซึ่งผมเองได้มอบอุปกรณ์ ดังกล่าว เพือ่ เป็นสือ่ การสอนไว้ทสี่ ถาบันยานยนต์ ส�ำนักงานกล้วยน�้ำไท 1 ชุด และจากความ สามารถของระบบดังกล่าว ท�ำให้ในปัจจุบันไม่ ว่าผมจะอยู่ส่วนไหนของโลกใบนี้ ผมก็สามารถ ทราบสถานการณ์ การผลิตของผมได้ตลอดเวลา ด้วยระบบ Social network This system is an IT tool that gradually screens out values of quality and control them in the range. I gave a set of this equipment to TAI as a teaching tool. From above abilities of this system, I can check the status of my production from anywhere through social network.


WS : ถือว่าเป็นความโชคดีของสถาบันฯ และ ผู้ผลิตชิ้นส่วนท่านอื่นๆ ที่คุณกมลเปิดโอกาสให้ กับการสัมภาษณ์ของเราทัง้ ๆ ทีบ่ ริษทั ฯ ของท่าน มีงานค่อนข้างเยอะมาก แทบจะไม่มีเวลาว่าง แต่ ก็ เ ห็ น ท่ า นไปช่ ว ยงานเพื่ อ สั ง คมมากมาย เมื่อเทียบกับท่านอื่นๆ ท่านทำ�ได้อย่างไร คุณกมล : โดยปกติผมมีโอกาสได้รับเชิญไป บรรยายบ่อยครั้ง เช่น กระทรวงอุตสาหกรรม และธนาคารกรุงเทพ โดยท่านอาจารย์โฆษิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รวมถึงองค์กรที่ไม่แสวงหากำ�ไร อีกมากมายอยู่แล้ว นอกจากนั้น ในกลุ่มเพื่อนๆ น้องๆ ที่มาขอความช่วยเหลือ ผมก็จะให้ความ ช่วยเหลือบ่อยครั้งเท่าที่จะสามารถเอื้ออำ�นวยได้ รวมถึงสถาบันยานยนต์ด้วย แต่ถามว่า ผมเอา เวลาจากทีไ่ หน ผมก็มเี วลาเท่าคุณทุกคน เพียงแต่ ว่าผมเอง เริ่มนำ�ระบบสารสนเทศ เข้ามาช่วย ในเรื่องของการควบคุมบริหารจัดการการผลิต มากขึน้ ทำ�ให้เราไม่ตอ้ งไปดูแลทีห่ น้างานมากนัก ปัจจุบัน ผมดูทุกอย่างในโรงงานผมผ่านมือถือ ผ่าน Tablet ที่ผมพกติดตัว ผมอยู่ตรงไหนผมก็ สามารถ รู้ได้ว่า กระบวนการผลิตไหน ชิ้นส่วน ไหน มีปัญหา หรือไม่ ได้หรือไม่ได้ ตามจำ�นวน ที่ต้องการ และไม่ได้เพราะอะไร หรือแม้แต่ พนักงานคนไหนทำ�งานคนไหนอู้งาน WS: This is fortunate for TAI and other auto part manufacturers that you give us the chance for this interview because you are busy and have tight schedule. We always realize that even you

rarely have time; you still do so many social works. How do you manage your time? KC: Usually, I have been invited as a guest speaker for Ministry of Industry (MOI), Mr. Kosit Panpiemras; on behalf of Bangkok Bank PLC., many non-profit organizations and my senior and junior friends. I accept and help them; including TAI, every time I am available. I have time same as you all do. I only just use IT system to manage and control more in the production, so I do not have to spend much time in the front line. I monitor everything at my plant via cellular phone or tablet carry around. I can check if there is any production process or part goes wrong, what the cause is or even who works and who is not. WS : พนักงานทุกคนไม่เครียดหรือครับ ถ้าหาก เขารู้ว่าเราเก็บพฤติกรรมของแต่ละคนอย่าง ละเอียด คุณกมล : โดยหลักการบริหาร เรือ่ งบางอย่างเรา ให้เขารูไ้ ม่ได้ มันจะมีผลต่อการท�ำงาน ความหมาย ของผมคือ จะมีการแยก Mode การท�ำงานที่ ชัดเจนโดย Computer อยูแ่ ล้วว่าระดับไหนดูได้ ระดับไหนดูไม่ได้ แต่ถามว่าถ้าเขารูจ้ ริงๆ ก็นา่ จะ เป็นประโยชน์กบั เขาเสียอีก เพราะจะเป็นเครือ่ งมือ ที่ช่วยให้เขาอยู่ในระเบียบวินัย ซึ่งทุกคนจะต้อง ปฏิบัติเหมือนๆ กัน

WS : Do your employees feel stress from your means, if they know? KC : In the principle of management, I cannot disclose something to them; otherwise, it will affect to my job. Computer clearly classifies levels of monitoring. However, if they accidently knew, it would be benefits to them because it is tool that brings them back to the track of principle which everyone has to do. WS : ในสถานะของผู้บริหารองค์กร คุณกมล คิดว่าการทำ�ธุรกิจในปัจจุบัน มันยากกว่าสมัย ก่อนหรือไม่ และควรเตรียมตัวอย่างไร ให้ทัน กับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา คุณกมล : จริงๆ แล้วมันเป็นเรื่องปกติของ การทำ�ธุรกิจ ปัญหา ก็คือ เรื่องธรรมดาที่เรา ประสบอยู่ ไม่ใช่เรื่องเกินความคาดหมายแล้ว เพียงแต่ว่า เราจะรู้เท่าทันและมีการเตรียมการ รองรับกับสถานการณ์ได้มากน้อยเพียงไร ขึ้น อยู่กับสิ่งที่เกิดขึ้น แต่สำ�หรับเรา ได้เตรียมการ ไว้ล่วงหน้า มาแล้วไม่น้อยกว่า 6 ปี ที่ผมลงมา ทำ�เองจนกระทั่งได้สิ่งที่คุณเห็นอยู่หน้างานใน วันนี้ แม้วา่ ช่วงทีผ่ า่ นมา บริษทั เค เอ็มเอฟ จำ�กัด มีปญั หา ด้านการควบคุมคุณภาพเหมือนกับบริษทั ทั่วไปเช่นเดียวกัน WS: As the management of the organization, do you think doing business today is harder than in the past? How could we prepare and ready for fluctuating? 45


KC: It is typical to face problem when you do a business. It is depended on can we see it through wisely and how well the readiness we prepared. I have prepared for more than 6 years. I have done it myself until I get what you see today. In the past, KMF also faced the problem of quality control same as others WS : เท่าที่คุณกมลเล่ามาทั้งหมด ถือว่า เป็น นักนวัตกรรมคนหนึง่ ไม่ทราบว่า คุณกมลมีหลัก ปรัชญาส่วนตัวที่ใช้ในการบริหารงานองค์กร อย่างไรบ้างครับ คุณกมล : หลัก 3T : Think - Technology - Trade อันทีจ่ ริงเรือ่ งนี้ ผมได้เคยให้คำ� แนะน�ำกับสถาบัน ยานยนต์ไปแล้วครั้งหนึ่ง ผ่านผู้จัดการแผนก เทคโนโลยีการผลิต ประมาณต้นปี 2554 โดย เริ่มที่ T ตัวที่ 1 : Think คิดเชิงสร้างสรรค์ (เชิงบวก) จากโรงงาน Machining ธรรมดา ที่ ใครๆ ก็มีได้ ทำ�ได้ แต่ผมกล้าฝันที่จะสร้าง โรงงาน Machining ที่มีระบบประกันคุณภาพ 100% หรือ Zero Defect (ZD) สำ�หรับตัวชิ้นงาน ทุกชิ้น ที่ผ่านออกมาจากเครื่องจักรทุกเครื่อง และจากทุ ก ขั้ น ตอนของการผลิ ต ของบริ ษั ท 46

KMF จำ�กัด เพื่อเป้าหมายในการส่งมอบความ พึงพอใจสูงสุดแก่ลูกค้า T ตัวที่ 2 : Technology (เทคโนโลยี) ที่มาจากการลงมือปฏิบัติ ซึ่งเป็นทั้งการเรียนรู้ สร้างสม และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่ง สามารถแปลงจากความฝันให้กลายเป็นความจริง สิ่งที่เป็นประจักษ์พยานที่เปี่ยมด้วยคุณค่า และ แฝงด้วยความภาคภูมใิ จ คือ ชุดประกันคุณภาพ อัจฉริยะ (Intelligent Quality Assurance Kit : IQA Kit) ทีผ่ ม ได้ทำ�การออกแบบ และพัฒนาขึน้ จนปัจจุบัน KMF - IQA Kit สามารถทำ�หน้าที่ได้ ครอบคลุมมากกว่าการตรวจจับและป้องกันไม่ ให้ชน้ิ งานทีผ่ ดิ ปกติ หลุดรอดและผ่านไปถึงลูกค้า ทีว่ งการอุตสาหกรรมการผลิตเรียกกันว่า อุปกรณ์ “Poka Yoke” โดยมีเป้าหมายที่ท้าทายกว่าเดิม คือ ต้องการให้ KMF - IQA Kit มีความสามารถ ในการตรวจจับแนวโน้มการเปลีย่ นแปลงเงือ่ นไข การผลิต ทีอ่ าจเกินขอบเขตการควบคุมทีก่ ำ�หนดไว้ และสามารถแก้ไขก่อนที่จะส่งผล กระทบต่อ คุณภาพชิ้นงานซึ่งกำ�ลังอยู่ในกระบวนการผลิต

T ตัวที่ 3 : Trade เป็นการแลกเปลีย่ น สินค้า ความรู้ หรือคุณค่าอื่นๆ ที่มาจาก T ตัว ที่ 1 และ 2 “คนทั่วไปส่วนใหญ่ ยิ่งพากเพียร เรียนรู้มาก ก็ยิ่งจะเก่งขึ้น ส�ำหรับคนเก่งแล้ว หาก (เขา) ยิ่งให้ (เขา) ก็จะยิ่งแกร่ง และแข่งได้ ทั่วโลก” KMF ณ วันนี้ ไม่เพียงมีความมั่นใจ อย่า งเต็ม เปี่ยมพร้อมที่จะแลกเปลี่ย นสิ น ค้ า หรือผลประโยชน์ในเชิงธุรกิจกับลูกค้าในทุก ระดับเท่านัน้ แต่ยงั ยินดีและพร้อมทีจ่ ะเปิดกว้าง ส�ำหรับทุกภาคส่วน โดยเฉพาะเพื่อนๆ SMEs ด้วยกัน ในการทีจ่ ะมาแลกเปลีย่ นข้อมูล ข่าวสาร ประสบการณ์ การเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อสร้างสรรค์ สิง่ ทีด่ กี ว่า ทีแ่ กร่งกว่าให้แก่อตุ สาหกรรมยานยนต์ ไทยในภาพรวม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากสิ่งนั้น เป็นการด�ำเนินการเพือ่ การพัฒนาธุรกิจ SMEs ไทย ให้สามารถก้าวสู่เป้าหมายหลัก 3 ประการ คือ 1) คุณภาพทีด่ ยี งิ่ ขึน้ 2) ประสิทธิภาพหรือต้นทุน ที่แข่งขันได้ และ 3) บริการที่รวดเร็ว ถูกใจนี่ คือหลักคิดประจ�ำตัวของผม WS: Throughout this interview, we can say that Mr. Kamon is one of the inventors. What is philosophy you imply and manage your organization? And how?


KC: The 3Ts:- Think, Technology and Trade, which I gave this advice to TAI via Production Technology Manage in the beginning of year 2011. Started with The 1st T: Think - Creativity (positive thinking). From small machining factory, I dream to have the 100% quality guarantee or Zero Defect (ZD) factory of all parts produced from machines and all production processes of KMF to delivery customers’ satisfactory. The 2nd T: Technology - Technology from practicing, which is learning, gathering data and development, continuously and finally, turns your dream come true. The Intelligent Quality Assurance Kit (IQA Kit), my proudly invention, is the kit that I have designed and developed until it, also known as KMF - IQA Kit,

has ability to detect the defected product and protect it from delivering to customer, a.k.a “Poka Yoke”4 , Mistake proofing is a quality management concept to prevent human errors from occurring in the production line and now, it is challenged by ability to detect the potential of changing in producing condition, which may not be controlled, and fix that before it damages to products in production process The 3rd T : Trade - Exchanging in Goods, Knowledge, other valuables come from 1st T and 2nd T. In general, the more you learn the smarter you are as same as the smart people; the more they give, the more they receive. Nowadays, KMF is not only willing to exchange products or business gains with any levels of customer, but also pleased to share with other

sectors; especial y, among SMEs in forms of information, news, experience or co-learning in order to create better and stronger ways for Thailand automotive industry as the whole; particularly, if those are able to develop Thai SME and support it to reach these following goals: 1). Better quality 2). Efficiency/Competitive cost and 3). Fast service and satisfaction guarantee. These are my golden rules. WS : คุณกมลคิดว่า การเปิดประชาคมอาเซียน (ASEAN Economics Community: AEC) ในอีก 2 ปีข้างหน้า จะมีผลกระทบต่อองค์กรบ้างหรือ ไม่ครับ

4 “Poka Yoke” Mistake proofing. is a quality management concept to prevent human errors from occurring in the production line

47


คุณกมล : ถ้าองค์กรมีการเตรียมการแบบของผม มัน่ ใจได้เลยว่า ไม่มผี ลกระทบ แถมได้ประโยชน์ อีกต่างหาก เพราะมีแต่คนจะมาหาคุณด้วยซ�ำ้ ไป WS: Do you think entering AEC in the next couple years would affect to any organization? KC: If there is well prepared, I am confident that there is no any effect. On the other hand, the organization will get benefits from opening larger market WS : เป็นที่กล่าวขานกันทั่วไป ถึงปัญหาของ การขึ้นค่าแรง 300 บาท คุณกมล คิดว่า มีผล กระทบต่อการบริหารองค์กรมากน้อยเพียงใด คุณกมล : อันทีจ่ ริงเรือ่ งนี้ ผมเตรียมการล่วงหน้า มาแล้ว 2 ปี ตอนนี้ ผม breakeven point เฉลีย่ อยู่ที่ ประมาณ 500 บาท เมื่อเทียบกับสถานที่ ตั้งปัจจุบัน แต่ถ้ามากกว่า 500 บาท/ คน/ วัน อาจจ�ำเป็นต้องเปลี่ยนพิกัดที่ตั้งโรงงานใหม่ WS: There is common dispute over the increasing of 300 THB wage rate. Do you think it will be the obstacle to organization management? KC: Actually, I had prepared for it since 2 years ago and now I reach the breakeven point with average at 500 THB when compared with current condition. If it was more than 500 THB/ Day/ Person, I would adjust for new coordinate. WS : คุณกมล ได้ชอ่ื ว่า เป็นผูป้ ระกอบการ SMEs ทีป่ ระสบผลสำ�เร็จอย่างสูง คนหนึง่ เมือ่ เทียบกับ กลุม่ เดียวกัน มีอะไรจะฝากบอกไปยังเพือ่ นๆ SMEs อื่นๆ เพื่อจะได้ช่วยกัน พัฒนาไปด้วยกันบ้าง หรือไม่ครับ คุณกมล : ก็อย่างที่อธิบายไปก่อนหน้านี้ ครับ ต้องคิด แล้วก็ท�ำเพราะเราคือ ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) ไม่ ใ ช่ นัก ลงทุน (Investor) เพราะฉะนั้น ต้องพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา พยายามน�ำสิง่ ใหม่ๆ เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกให้ กับทีมงาน ท�ำอย่างไรให้พนักงานของเราท�ำงาน ง่ายขึ้น เพื่อให้ควบคุมคุณภาพได้ง่าย และ บริหารได้ไม่ยาก ตัวอย่างระบบ IQA kit ใน โรงงานของผม จะมุ่งเน้นเรื่องของการควบคุม คุณภาพและวิธีการท�ำงานที่ง่าย เพื่อลดปัญหา การสร้างบุคลากรทีซ่ บั ซ้อน โดยเน้นให้พนักงาน เพียงเปิดเครื่องจักรได้และท�ำงานกับมันอย่างมี ความสุข ตาม Visual Control ที่ก�ำหนด หาก พนักงานบางคนขาด คนท�ำงานไม่พอก็ยงั สามารถ น� ำ พนั ก งานรั ก ษาความปลอดภั ย มาช่ ว ยได้ เพราะเราออกแบบระบบการผลิตง่าย ทุกคนท�ำได้ เหล่านี้เป็นต้น และที่ส�ำคัญ ในการเลือกที่จะน�ำ สิ่งใหม่ๆ ไปใช้งานในโรงงาน เราต้องเรียนรู้สิ่ง นั้นๆ ด้วย ไม่ใช่ให้ลูกน้องท�ำไป โดยที่เจ้าของ เองไม่ลงไปดูแล ลูกน้องขอการสนับสนุนมา ก็ ไม่ได้รบั การตอบรับเพราะตัวเจ้าของเองไม่รเู้ รือ่ ง 48

ท�ำให้ผทู้ รี่ บั ผิดชอบหน้างานเสียก�ำลังใจ เสียเวลา และเสียโอกาสในการพัฒนา สุดท้ายไม่ได้อะไรเลย WS: You are accepted as a one of highly successful SMEs, compared within the same group. Do you have any suggestion to our SME’ family or support one another? KC: As I mentioned before. You have to think and take an action because we are entrepreneur, not investor. Thus, we need to update and seek for approach that gives us convenience, simple, controllable and functional of operation. These are to eliminate the creation of multiple-complex skilled human resources and focus on simple tasks such as turn on the machine and work happily as defined by visual control. If someone absent, you can ask a security guard to cover his part because our simple production system, anyone can do. Above of all, you are the key player. If there is new technique/thing used in the plant, you have to learn along with your employees, as well, because you have to be ready for assisting them, once they are stuck with problems. To let employees handle by themselves, without your attention, it may cause them feel derelict, spiritless, wasted time and loss opportunity to learn. Finally, everything you invested is worthless. ดังนั้น ในเชิงบริหารการพัฒนาองค์กร ต้องมีงบประมาณที่กันไว้เป็นการเฉพาะอยู่แล้ว อย่างน้อย 3-5% ของก�ำไร เพื่อเป็นค่าตอบแทน ให้กับผู้รู้ในด้านต่างๆ ต้องไม่ลืมว่า เราไม่ สามารถท�ำงานคนเดียวได้ อาจารย์ที่ปรึกษาที่ เข้ามาช่วยเขาก็มีค่าใช้จ่าย บางสิ่งบางอย่างที่ เราได้รับมา เมื่อเห็นว่ามีประโยชน์ก็ควรลงทุน บ้างเป็นกรณีไป As a consequence, in terms of developing organization management, you have to prepare a budget for this circumstance at least 3%-5% of total profit as the remuneration to individual who is specialist in each field. You have to realize that you cannot work alone. Sometimes, you need to invest in something worth; for example, you get benefit from using the consultant’s advice so you have to pay him for the advice he gave you.

บทสรุป จากบทสัมภาษณ์ นี้ สิ่งที่ท่านได้ร่วมรับรู้ ไปพร้อมๆ กันกับเรา คือ แนวคิด แนวทางในการ ปรับตัวของ SMEs ไทยภายใต้กระแสโลกาภิวตั น์ที่ ประสบความส�ำเร็จและสร้างความแข็งแกร่งให้กบั SMEs ไทย เราจึงหวังว่าท่านหรือผูป้ ระกอบการใน อุตสาหกรรมผลิตชิน้ ส่วนยานยนต์อนื่ ๆ จะได้รบั ประโยชน์จากตัวอย่างนี้ นีไ้ ม่มากก็นอ้ ย และหาก ผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมผลิตชิน้ ส่วนยานยนต์ ท่านใด สนใจการยกระดับองค์การแบบก้าวกระโดด ดังเช่นบริษัท เค เอ็ม เอ็ฟ จ�ำกัด นี้ บ ้ า ง ก็ สามารถ ติดต่อ ขอค�ำปรึกษาแนะได้ที่สถาบัน ยานยนต์ แผนกเทคโนโลยีการผลิต ส�ำนักงาน กล้วยน�้ำไท เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 0 2712 2414 ต่อ 6502 โทรสาร 0 2712 2415 Email: chanudol@thaiauto. or.th เรายินดีต้อนรับทุกท่านครับ

Conclusion From this interview, I believe that we are acknowledged is the concept in adapting of Thailand SME with innovation, which is accomplished and strengthen to Thailand SMEs. We all hope that you or operators in auto part manufacturers will receive benefits more or less. For anyone from auto part manufacturer who is interested to having huge step forwards as KMF, please contact following information: Thailand Automotive Institute (TAI) Production Technology Department Kluaynamthai Office, Klongtoey, Bangkok 10110. Tel: (+66) 0-2712-2414 Ext. 6502 Fax: (+66) 0-2712-2415 Email: chanudol@thaiauto.or.th You are all very welcome.


Auto Discuss

The Impact Evaluation of Eurozone Crisis and Cancellation the Generalized System of Preferences (GSP) of EU to Thai Automotive Exported Product การประเมินผลกระทบจากวิกฤติหนีส้ าธารณะและเศรษฐกิจสหภาพยุโรปและการยกเลิกสิทธิพเิ ศษ ทางภาษีศุลกากรทั่วไป (GSP) ของสหภาพยุโรปต่อการส่งออกสินค้ายานยนต์ของไทย

โดย ฐิติภัทร ดอกไม้เทศ ผู้ช�ำนาญการพัฒนาอุตสาหกรรม สถาบันยานยนต์

By Thitipat Dokmaithet

Industrial Development Specialist Thailand Automotive Institute

1. บทน�ำ วิกฤติหนี้สาธารณะและเศรษฐกิจยุโรป เป็นปัญหาเชิงโครงสร้างที่มีสาเหตุมาจากการ รวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจของยุโรป ในปี ค.ศ. 1999 โดยปัญหาดังกล่าวบ่มเพาะมาตลอดช่วง 10 ปี จนกระทัง่ ปี ค.ศ. 2010 เมือ่ รัฐบาลกรีซ ไอร์แลนด์ และโปรตุเกส มีแนวโน้มไม่สามารถชำ�ระคืนหนี้ ส่งผลให้อันดับความน่าเชื่อถือลดลง และทำ�ให้ นักลงทุนขาดความเชือ่ มัน่ ทีจ่ ะลงทุนในพันธบัตร รัฐบาลของประเทศเหล่านี้ จนต้องขอรับความ ช่วยเหลือจากสมาชิกกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป และกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) แต่

อย่างไรก็ตาม สถานการณ์วิกฤติหนี้ยุโรปกลับ ไม่ดขี น้ึ และเพิม่ ความรุนแรงมากขึน้ ในช่วงปลายปี ค.ศ. 2011 ทำ�ให้เศรษฐกิจยุโรปมีความเสีย่ งเข้าสู่ ภาวะถดถอยในปี ค.ศ. 2012 ส่งผลให้รัฐบาล ต้องดำ�เนินมาตรการเข้มงวดทางด้านการคลัง เพื่อเรียกความเชื่อมั่นนักลงทุนกลับคืนมา

1. Introduction Eurozone crisis (EU crisis) and public debt are caused by united economy of each country member for European Union (EU). Since 1999, the problem had been buildup throughout these 10 years. Until year 2010, signs of insolvency

appeared from Governments of Greece, Ireland and Portugal. As a result, their credit rates had been downgraded. Then, investor was less interested to buy their Treasury bonds.Thus, International Monetary Fund (IMF) and other member countries rendered assistance. Nevertheless, the crisis had kept going and increasing, severely during the end of year 2011, which might cause EU’s economy went to recession stage. As a result, Government decided to use austerity measures, seriously in the following year (2012) to retrieve the confidence of investor. 49


Picture 1 Total Export Value of Thai Automotive Product as of Year 2007 - 2012

Total Export Value (Unit: Million USD)

35,000 30,000 25,000

Worldwide, 22%

Growth Rate

-28% EU27, -2%

0

18,265

9,206 1,565

1,531

2007

2008

ASEAN

11,663 762

Oceania

2009

Middle East

-4%

35%

-6%

4% 23,784

17,621

16,230

15,000

5,000

72%

-50%

20,000

10,000

57%

1,283

1,311

1,235

2010

2011

EU27

Others

2012

Source: Based on Global Trade Atlas

อย่ า งไรก็ ต าม ช่ ว งต้ น ปี ค.ศ. 2012 สถานการณ์เศรษฐกิจของสหภาพยุโรปยังอยู่ ในสภาวะทีไ่ ม่สามารถไว้วางใจได้ โดยเฉพาะความ กังวลเรื่องการแก้ปัญหาหนี้สาธารณะของกรีซ ซึง่ ยังไม่มคี วามชัดเจนว่าปัญหาในกรีซจะลุกลาม กลายเป็นปัญหาวิกฤติหนีใ้ นยุโรปหรือไม่ จนกระทัง่ เมื่อกรีซจัดตั้งรัฐบาลใหม่ได้ในเดือนมิถุนายน 2012 รวมทั้งการประชุมสุดยอดผู้น�ำของยุโรป ช่วงปลายเดือนมิถุนายน 2012 ที่ท�ำให้ได้ขอ้ สรุป ทีจ่ ะช่วยคลายความกังวลไปได้บางส่วน กระทัง่ เมือ่ ต้นปี ค.ศ. 2013 ธนาคารกลาง ยุโรปแถลงนโยบายชัดเจนว่า จะช่วยทุกประเทศ ที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจ ท�ำให้หลายประเทศ คลายความกังวล ส่งผลให้เศรษฐกิจภายในเริ่ม ฟืน้ ตัว เห็นได้จากอัตราดอกเบีย้ พันธบัตรรัฐบาล ทีล่ ดลง รวมถึงตลาดหุน้ ในประเทศเยอรมนี อิตาลี กรีซ ทีฟ่ น้ื ตัว แต่อย่างไรก็ตาม แม้ธนาคารกลาง จะจัดการกับปัญหาสภาพคล่องได้ แต่ยงั ไม่สามารถ จัดการกับปัญหาการว่างงานได้ รวมถึงปัญหาใหม่ ของไซปรัสทีเ่ พิง่ เกิดขึน้ จะส่งผลให้เศรษฐกิจยุโรป จะยังคงซบเซาต่อไป ซึง่ จะกระทบไปยังประเทศ ที่พึ่งพาการส่งออกไปยังยุโรปเป็นตลาดหลักใน ที่สุด

ส�ำหรับการส่งออกสินค้ายานยนต์1 ของ ประเทศ ไทยในช่วง 5 ปีทผี่ า่ นมา (ค.ศ. 2007-2011) พบว่า ประเทศไทยส่งออกสินค้ายานยนต์ไป ประเทศในกลุ่มอาเซียนมากที่สุด เฉลี่ยร้อยละ 30 รองลงมาคือโอเชียเนียและตะวันออกกลาง ร้อยละ 18 และ 11 ตามล�ำดับ ในขณะทีก่ ารส่งออก ไปสหภาพยุโรป2 มีสัดส่วนร้อยละ 8 Notwithstanding, the situation of EU crisis at the beginning of year 2012 was not reliable because there were concerns to public-debt crisis solving of Greece, which might expand and turn out to be Euro crisis. These concerns were partial diminished after forming up the new Greece government on June 2012 as well as meeting among leaders from member countries in EURO Summit. At the beginning of Year 2013, European Central Bank (ECB) made an announcement clearly to assist all members by the bailout program. This extricated some concerns of several members; as a result, their local economies have started to be recovered as shown on decreasing interest rate of their governments’ Treasury bond. Furthermore, stock markets of Germany, Italy and Greece have been better. Although ECB is able to increase liquidity, unemployment rate and

new issue has occurred in Cyprus, recently are burden to EU’s economy and effect to export market of major trade partner countries, as well. Throughout the past 5 years (2007-2011), Thailand has exported automotive product1 to ASEAN at average 30%, the highest rate, followed by Oceania and Middle East at 18% and 11%, respectively. Meanwhile, exporting to EU2 market is 8%.

1 Automotive product consists of Bus (HS 8702), Passenger car (HS 8703), Truck < 5 Ton (HS 870421 and 870431), Truck > 5 Ton (HS 870422, 870423 and 870432), Other types of truck (HS 870410 and 870490), Special Purpose Vehicle (HS 8705), Auto parts (HS 8708), Motorcycle (HS 8711), Motorcycle parts (HS 871410) and Trailer (HS 8716) 2 European Union (EU) comprises 27 sovereign member states

50


ในด้านอัตราการเติบโต พบว่า การส่งออก ไปสหภาพยุโรปมีอตั ราลดลง ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 2007 เป็นต้นมา โดยลดลงมากที่สุดในปี ค.ศ. 2009 ร้อยละ 50 ในขณะที่อัตราการเติบโตของมูลค่า ส่งออกของไทยไปทัว่ โลก ลดลง ร้อยละ 28 เนือ่ งจาก วิกฤติเศรษฐกิจตกต�่ำทั่วโลก จากวิกฤติการเงิน สหรัฐอเมริกา (Hamburger crisis) และส�ำหรับ การส่งออกในปี ค.ศ. 2012 พบว่า มูลค่าการส่งออก ของไทยไปภูมภิ าคต่างๆ มีอตั ราการเติบโตไม่ตำ�่ กว่าร้อยละ 30 กล่าวคือ อัตราการเติบโตการส่ง ออกไปอาเซียน โอเชียเนีย และตะวันออกกลาง มีคา่ ร้อยละ 33 49 และ 36 ตามล�ำดับ ในขณะที่ การส่งออกไปสหภาพยุโรปเพิม่ ขึน้ เพียงร้อยละ 4 เท่านัน้ ซึง่ เป็นการส่งสัญญาณว่า วิกฤติหนีส้ าธารณะ และเศรษฐกิจยุโรปก�ำลังส่งผลกระทบทางลบ ต่อการส่งออกสินค้ายานยนต์ของไทย ในขณะที่ สภาวะเศรษฐกิจทั่วโลกที่ก�ำลังฟื้นตัว (แสดง ดังภาพที่ 1) นอกจากนี้ รัฐสภายุโรป (EU Parliament) ลงมติผ่านร่างหลักเกณฑ์การให้สิทธิ์พิเศษทาง ภาษีศุลกากรทั่วไป (Generalized system of preferences: GSP) ฉบับใหม่ เมือ่ วันที่ 13 มิถนุ ายน 2012 โดยมีการเปลีย่ นแปลงทีส่ ำ� คัญ คือ จากเดิม ที่ เ คยยกเลิ ก การให้ สิ ท ธิ์ เ ฉพาะประเทศที่ มี รายได้สูง (High income) เท่านั้น เป็นยกเลิก การให้สิทธิ์ GSP แก่ประเทศที่มีรายได้ระดับ ปานกลางค่อนข้างสูง (Upper-middle income) ขึ้นไป และขยายเพดานส่วนแบ่งการน�ำเข้าที่ใช้ เป็นเกณฑ์ระงับสิทธิ์ GSP รายสินค้า จากเดิม ระงับสิทธิ์เมื่อสินค้านั้น มีส่วนแบ่งการน�ำเข้า เฉลี่ย 3 ปีติดต่อกันเกินร้อยละ 15 (ร้อยละ 12.5 ส�ำหรับสิง่ ทอและเครือ่ งนุง่ ห่ม) ของมูลค่าน�ำเข้า นั้นตามสิทธิ์ GSP ทั้งหมด เป็นร้อยละ 17.5 (ร้อยละ 14.5 ส�ำหรับสิง่ ทอและเครือ่ งนุง่ ห่ม) เพือ่ ให้ประเทศพัฒนาน้อยที่ได้รับสิทธิ์ สามารถใช้ ประโยชน์จาก GSP ได้เต็มที่ ทัง้ นี้ ปัจจุบนั สหภาพยุโรปยังไม่ได้ประกาศ รายชื่อประเทศที่จะได้รับหรือถูกตัดสิทธิ์ GSP ภายใต้ ห ลั ก เกณฑ์ ใ หม่ อ ย่ า งเป็ น ทางการ เนื่ อ งจากหลั ก เกณฑ์ ดั ง กล่ า วยั ง ต้ อ งผ่ า น กระบวนการให้ความเห็นชอบจากคณะมนตรี

แห่งสหภาพยุโรป (Council of the European Union) ก่อนจะรับรองและประกาศใช้อย่างเป็น ทางการ ซึ่งคาดว่าจะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2014 มีการประเมินว่า เมือ่ สหภาพยุโรปประกาศ ใช้รา่ งนโยบายดังกล่าวอย่างเป็นทางการ จะส่งผล ให้ประเทศไทยไม่ไ ด้รับ สิท ธิ์ GSP อีกต่อไป เนื่องจากรายได้เฉลี่ยของไทยเปลี่ยนจากกลุ่ม รายได้ปานกลางค่อนข้างต�่ำ (Lower-middle income) มาเป็นกลุม่ รายได้ปานกลางค่อนข้างสูง ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2010 ประกอบกับการปรับค่าจ้าง ขัน้ ต�ำ่ ในปี ค.ศ. 2012 ส่งผลให้ระดับรายได้เฉลีย่ ของไทยสูงขึ้น ระดับรายได้ของไทยจึงไม่น่าจะ ลดลงมาอยูท่ รี่ ะดับรายได้ปานกลางค่อนข้างต�ำ่ อีก ซึ่งอาจท�ำให้ไทยถูกตัดสิทธิ์ GSP ตามเงื่อนไข ประเทศทีม่ รี ะดับรายได้ปานกลางค่อนข้างสูง 3 ปี ติดต่อกันค่อนข้างแน่นอน เมือ่ ร่าง GSP ฉบับใหม่ มีผลบังคับใช้ ด้วยเหตุนี้ จึงต้องติดตามสถานการณ์ การส่งออกสินค้ายานยนต์ของไทยไปสหภาพยุโรป เพื่อประเมินผลกระทบเบื้องต้นที่จะเกิดขึ้นกับ การส่งออกสินค้ายานยนต์ของไทย ส�ำหรับเป็น ข้อมูลแก่ภาครัฐเพื่อก�ำหนดนโยบายที่เกี่ยวข้อง ได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งเพื่อเป็นข้อมูลแก่ภาค เอกชนส�ำหรับประกอบการตัดสินใจทางธุรกิจ และปรับตัวให้ทันกับสถานการณ์

2. สถานการณ์การจ�ำหน่าย ยานยนต์ของสหภาพยุโรป 2.1 การจดทะเบียนรถใหม่ของ สหภาพยุโรป จากข้อมูลปริมาณการจดทะเบียนรถใหม่ (รถยนต์และรถจักรยานยนต์) ของสหภาพยุโรป พบว่า ปริมาณการจดทะเบียนรถยนต์นั่งมีมาก ที่สุด ร้อยละ 79 รองลงมาคือ รถจักรยานยนต์ ร้อยละ 8 และรถบรรทุกขนาดเล็ก (ไม่เกิน 3.5 ตัน) ร้อยละ 9 ทั้งนี้ ปริมาณการจดทะเบียนรถใหม่ ในสหภาพยุโรปเริ่มลดลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี ค.ศ. 2008 และมีอัตราการเติบโตต�่ำที่สุดในปี ค.ศ. 2009 โดยลดลงร้อยละ 8 จากนั้น ปริมาณ จดทะเบียนค่อนข้างทรงตัวที่ 15.3 ล้านคัน และ ส�ำปรับปี ค.ศ. 2012 สหภาพยุโรปมีปริมาณการ จดทะเบียนรถยนต์ 13.9 ล้า นคัน และรถ จักรยานยนต์ 1.3 ล้านคัน โดยมีอตั ราการเติบโต ลดลงจากปีก่อนหน้า ร้อยละ 8.2 และ 13.7 ตามล�ำดับ (แสดงดังภาพที่ 2) Thai automotive product export to EU market has been declined since year 2007. The highest reducing rate was in year 2009 at 50%. While, total export value of Thailand was downed to 28% because of the worldwide economy and Hamburger crises. In year 2012, total export value of Thailand throughout the

world was increase at least 30%: To ASEAN = 33%, Oceania = 49% and Middle East, = 36%, respectively. On the other hand, exporting to EU was increased only 4%. This indicated the negative impact to Thai automotive product export from public debt and EU crisis during recovery of world economy (as shown in Picture 1). Furthermore, EU Parliament voted and passed the new draft Generalized System of Preferences: (GSP) on June 13th, 2012. There are major changes in the new GSP. It will not apply only High income country, as before, but also Upper-middle income country; including, product that has imported for 3 years in the row and has value over 17.5%; 14.5% for textile and clothes (previously 15% and 12.5% for textile and clothes), of import value as all stated in GSP in order to support less developed countries to utilize the benefit of GSP. Until now, EU has not announced a list of valid country; officially, for this new GSP because the rule is needed to be considered by Council of the European Union before certifying and declaring, official y. The expected starting date will be January 1st, 2014. It has been foreseen that once EU make this announcement, officially, Thailand will be repealed GSP because revenue per head of Thai has been upgraded from Lower-middle income to Upper-middle income country since 2010 as well as increasing minimum wage policy in year 2012. It is likely that Thailand as an Upper-middle income country for 3 consecutive years to lose this privilege after validity of this new GSP. Thus, monitoring Thais automotive product export to EU market is needed in order to evaluate initial impact. This will be information for the government to retrieve and determine appropriated policy as well as private sector can use it as reference for business decision making or enhance business.

Current State of Automotive Sale in EU New Automotive Registration in EU Based on EU’s record of new automotive registration (automobile and motorcycle) shows that Passenger car is the highest number of vehicle registration at 79%, followed by Motorcycle at 8% and Truck (<3.5 Ton) at 9%. The new registration has been declined continuously since 2008 and the lowest growth is in year 2009 only at 8%. Then, the new registration has been steady at 15.3 million units. For year 2012, there is total new car registration 13.9 million units and 1.3 million units of motorcycle which is less than previous years’ 8.2% and 13.7%, orderly (as shown in Picture 2) 51


Picture 2 Total Number and Growth Rate of New Registered Vehicle in EU

Total Number of Registered Vehicle (Unit: Thousand)

20,000 18,000 17,393 16,000 14,000 12,000 10,000 8,000 6,000 4,000 2,033 2,000 0 2005

18,130 5%

Growth Rate

10%

18,520

17,070

2%

15,932

5%

15,302

15,279

13,963

-1% 7%

-8%

-5%

-9%

0% -5% -10%

2,224

2,272

2,289

1,973

1,707

1,493

1,288

2006

2007

2008

2009

2010

2011

2012

Passenger Car

Commercial Car

Motorcycle

Total Growth rate

-15% -20%

Source: Based on the data from ACEA (European Automobile Manufacturers Association) and ACEM (Association des Constructeurs Europensde Motorcycles)

Picture 3 Total Import Value of Automotive Product by EU

Total Import Value (Unit: Million USD)

600,000 500,000

523,731

522,785

400,000 300,000 200,000

458,776 365,958

394,060

0.34

0.30

0.25

0.30

0.27

2007

2008

2009

2010

2011

EU

Others

100,000 0

Thailand’s Proportion

Source: Based on Global Trade Atlas

2.2 การน�ำเข้าสินค้ายานยนต์ของ สหภาพยุโรป ปี ค.ศ. 2007 - 2008 สหภาพยุโรปมีมลู ค่า การน�ำเข้าสินค้ายานยนต์ประมาณ 5.2 แสนล้าน เหรียญสหรัฐ แล้วจึงลดลงอย่างเห็นได้ชดั เจนใน ปี ค.ศ. 2009 มีมูลค่าน�ำเข้าเหลือ 3.6 แสนล้าน เหรียญสหรัฐแล้วจึงค่อยๆ ฟืน้ ตัวในปี ค.ศ. 2010 และ 2011 ด้วยมูลค่าน�ำเข้า 3.9 และ 4.6 แสนล้าน เหรียญสหรัฐ ตามล�ำดับและล่าสุด ในปี ค.ศ. 2012 สหภาพยุโรปมีมูลค่าน�ำเข้าสินค้ายานยนต์ 4.0 แสนล้านเหรียญสหรัฐ เติบโตลดลง ร้อยละ 12 จากปีค.ศ. 2011 (แสดงดังภาพที่ 3) 52

Importing Automotive Product by EU During years 2007-2008, EU had total import value of automotive product at 0.52 million US dollar and dropped down to 0.36 million US dollar in year 2009. Then, it was gradually bounced back in 2010 and 2011 with value at 0.39 million US dollar and 0.46 million US dollar. Last year EU’s total import value of automotive product was 0.4 million US dollar or 12% less than growth rate in 2011 (as shown in Picture 3).

Proportion of Import (%) 1.0 0.9 0.8 403,086 0.7 0.6 0.5 0.4 0.27 0.3 0.2 0.1 0.0 2012


Picture 4 The Market Sources of EU’s Import Automotive Product by Proportion

EU 82.6%

South Korea 1.9% Turkey 2.6% China 1.1% Japan 3.4% India 0.5% Thailand Others 0.3% 7.2% Taiwan 0.2% ASEAN (Excluded Thailand) 0.1%

Others

Source: Based on Global Trade Atlas

Picture 5 Total Automotive Product Import Value of EU from Non-EU Member Total Import Value (Million USD)

30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

Japan

Turkey

South Korea china india 2007 2008 2009 2010 2011 2012

Thailand

Taiwan

Source: Based on Global Trade Atlas

ทั้งนี้ มูลค่าน�ำเข้าสินค้ายานยนต์ของ สหภาพยุโรปกว่าร้อยละ 83 เป็นการน�ำเข้าจาก ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปด้วยกันเอง และ อีกร้อยละ 2.6 เป็นการน�ำเข้าจากประเทศตุรกี ซึ่งถือเป็นฐานการผลิตยานยนต์ที่ส�ำคัญส�ำหรับ สหภาพยุโรป ส่วนที่เหลือประมาณร้อยละ 7 เป็นการน�ำเข้าจากประเทศผู้ผลิตยานยนต์ราย ส�ำคัญในทวีปเอเชีย อาทิ จากญี่ปุ่นร้อยละ 3.4 เกาหลีใต้รอ้ ยละ 1.9 จีนร้อยละ 1.1 อินเดียร้อยละ 0.5 ในขณะทีก่ ารน�ำเข้าจากประเทศ ไทยมีเพียง ร้อยละ 0.3 เท่านั้น (แสดงดังภาพที่ 4) สำ�หรั บ การนำ�เข้ า สิ น ค้ า ยานยนต์ ข อง สหภาพยุโรปจากแหล่งอืน่ ๆ ทีม่ ใิ ช่จากภายในภูมภิ าค

เดียวกัน พบว่า นำ�เข้าจากประเทศญี่ปุ่นมากที่สุด แต่ อ ย่ า งไรก็ ต ามมู ล ค่ า นำ�เข้ า มี แ นวโน้ ม ลดลง อย่างต่อเนือ่ งตัง้ แต่ ปี ค.ศ. 2009 เป็นต้นมาในขณะที่ มูลค่านำ�เข้าจากประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่อย่าง ประเทศจี น และอิ น เดี ย มี แ นวโน้ ม เติ บ โตอย่ า ง ต่อเนื่อง สำ�หรับมูลค่าการนำ�เข้าจากประเทศไทย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2010 เป็นต้นมา มีมูลค่าค่อนข้าง ทรงตัวที่ประมาณ 1.2 พันล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งมี ทิ ศ ทางคล้ า ยกั บ ประเทศผู้ ผ ลิ ต ยานยนต์ ที่ เ ป็ น ประเทศเศรษฐกิจเก่า คือ เกาหลีใต้และไต้หวัน (แสดงดังภาพที่ 5) Most of EU automotive product import is from member countries at 83%, 2.6% from Turkey, which is the major automotive

manufacturing based of EU, and the rest for 7% is from leading automotive manufacturers in Asia such as Japan (3.4%), South Korea (1.9%), China (1.1%), India (0.5%) and Thailand (0.3%), as shown in Picture 4 Other than non-EU member, most of automotive product is imported from Japan. Nevertheless, its import value seems to be lessening continuously since 2009. Meanwhile, import value from newborn economy country as China and India are growing progressively. The import value from Thailand since 2010 is worth steady at 1.2 billion US dollar, which has similar tendency of strong automotive maker country as South Korea and Taiwan (as shown in Picture 5). 53


Picture 6 Total Export Value of Thai Automotive Product to EU Total Export Value (Million USD)

1,800 1,600 1,400 1,200 1,000 800 600 400 200 0

1,565

1,531 1,311

1,235

1,283

Others Passenger car Motorcycle parts Auto parts Motorcycle Truck < 5 Ton

762

2007

2008

2009

2010

2011

2012

Remark(s): Other Automotive referred to Bus, Truck > 5 Tone, Other Types of Truck, Special Purpose Vehicle and Trailer

3. สถานการณ์การส่งออกสินค้า ยานยนต์ของไทยไปสหภาพยุโรป ในปี ค.ศ. 2012 ประเทศไทยส่งออกสินค้า ยานยนต์ไปสหภาพยุโรปมีมลู ค่า 1,283 ล้านเหรียญ สหรัฐ โดยส่งออกรถบรรทุกขนาดไม่เกิน 5 ตัน (ซึง่ ก็คอื รถกระบะขนาด 1 ตัน) มากทีส่ ดุ ร้อยละ 44 รองลงมาคือ ชิ้นส่วนรถยนต์ร้อยละ 27 รถจักรยานยนต์รอ้ ยละ 21 ชิน้ ส่วนรถจักรยานยนต์ ร้อยละ 5 และรถยนต์นงั่ ร้อยละ 3 (แสดงดังภาพที่ 6) อย่ า งไรก็ ต ามแม้ ว่ า มู ล ค่ า การส่ ง ออก รถบรรทุกขนาดไม่เกิน 5 ตัน จะมีสัดส่วนมาก ที่สุด แต่มีมูลค่าการส่งออกลดลงอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งสัดส่วนดังกล่าวมีแนวโน้มลดลง และถูก แทนที่โดยมูลค่าการส่งออกชิ้นส่วนรถยนต์และ รถจักรยานยนต์ ในขณะทีส่ ดั ส่วนมูลค่าการส่งออก ชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์และรถยนต์นั่งค่อนข้าง คงที่ (แสดงดังตารางที่ 1) นอกจากนี้ ยังพบว่า ในช่วง 5 ปีทผี่ า่ นมา (ค.ศ. 2007 - 2011) การส่งออกรถจักรยานยนต์ มีอัตราการพึ่งพิงตลาดสหภาพยุโรป3 มากที่สุด โดยมีคา่ เฉลีย่ ร้อยละ 29 รองลงมาคือ รถบรรทุก ขนาดไม่เกิน 5 ตันร้อยละ 15 และรถพ่วงร้อยละ 13 ซึ่งมีค่ามากกว่าค่าเฉลี่ยของอัตราการพึ่งพิง ตลาดสหภาพยุโรปของสินค้ารวมทุกประเภทที่ ร้อยละ 12 (แสดงดังตารางที่ 2)

กรณีรถจักรยานยนต์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2009 เป็นต้นมา มูลค่า การส่ ง ออกมี อั ต ราเติ บ โตอย่ า งต่ อ เนื่ อ งแต่ มี อัตราการเติบโตไม่มากนักเมื่อเปรียบเทียบกับ การส่งออกไปยังประเทศอืน่ ๆ โดยในปี ค.ศ. 2012 ประเทศไทยส่งออกรถจักรยานยนต์ไปสหภาพ ยุโรปมีมลู ค่า 275 ล้านเหรียญสหรัฐ เติบโตร้อยละ 17 เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันกับปีก่อน

กรณีรถบรรทุกขนาดไม่เกิน 5 ตัน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2009 เป็นต้นมา อัตราการ เติบโตของมูลค่าส่งออกไปสหภาพยุโรปสอดมี ทิศทางสอดคล้องกับการส่งออกไปประเทศอื่นๆ ยกเว้นในปีล่าสุด ค.ศ.2012 ที่การส่งออกไป ประเทศอื่นๆ เติบโตร้อยละ 116 ในขณะที่ การส่งออกไปสหภาพยุโรปลดลงร้อยละ 11 โดยมี มูลค่าส่งออก 559 ล้านเหรียญสหรัฐ

CurrentState of Thai Automotive Product Export to EU

Last year (2012), total number of Thai automotive product export to EU was 1,283 Million US Dollar. Truck (<5 Ton: or 1Ton pick-up truck)) was the highest export to EU at 44% follow by auto parts at 27%, motorcycle at 21%, motorcycle parts at 5% and passenger car at 3%. (as shown Picture 6)

Although, Truck < 5 ton has taken the largest proportion of total Thai automotive product export value, constantly, the export value has been declined, consistently. It seems that the proportion will go down and be replaced by export value of automotive parts (auto and motorcycle), which their proportions are quite stable (as shown in Table 1). Moreover, during the past 5 years (2007-2011), motorcycle export had mostly depended on EU3 market at the average rate 29% followed by Truck < 5 Ton at 15% and Trailer at 13%. All had higher rate than the average dependency Ratio6 of all types of product at 12% (as shown in Table 2).

Motorcycle

Beginning at 2009, export value has been increased, continuously, but low growth rate compared to exporting to other countries. In 2012, Thailand exported motorcycle to EU by value of 275 million US dollar, 17% growth rate from the same period of last year.

Truck < 5 Ton

Since 2009, the growth rate of export to the EU is corresponding export to other countries; except in year 2012. Growth rate of exporting to non-EU is up to 116%, while to EU reduced 11% with value of 559 million US dollar.

3 อัตราการพึ่งพิง คำ�นวณจากมูลค่าการส่งออกสินค้าประเภทหนึ่งๆ ไปสหภาพยุโรปเปรียบเทียบกับการส่งออกสินค้านั้นไปทุกประเทศทั่วโลก 3 Dependency ration: is calculated by export value of a product sent to EU compared with the export value of the same product sent to worldwide

54


กรณีรถพ่วง

กรณีชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์

แม้ว่าการส่งออกรถพ่วงไปสหภาพยุโรป จะมีมูลค่าไม่มาก แต่มีอัตราการพึ่งพิงตลาด สหภาพยุโรปสูง แสดงให้เห็นว่าสหภาพยุโรป เป็ น ตลาดที่ ส� ำ คั ญ โดยตั้ ง แต่ ป ี ค.ศ. 2010 เป็นต้นมา มีอตั ราการพึง่ พิงเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ พบว่าส่วนใหญ่เป็นการส่งออกชิน้ ส่วนส�ำหรับ รถพ่วงไปยังประเทศเนเธอร์แลนด์อย่างไรก็ดี ในปี ค.ศ. 2012 อัตราการพึง่ พิงลดลงเป็นร้อยละ 12 รวมทั้งอัตราการเติบโตของการส่งออกไป สหภาพยุ โ รปลดลงมากถึงร้อ ยละ 49 และมี มูลค่าส่งออก 3 ล้านเหรียญสหรัฐ

ในปี ค.ศ. 2008 - 2010 อัตราการเติบโต ของมูลค่าการส่งออก มีทศิ ทางเดียวกับการส่งออก ไปประเทศอืน่ ๆ แต่ในปี ค.ศ. 2011 - 2012 กลับมี ทิศทางตรงกันข้าม โดยในปี ค.ศ. 2012 ประเทศไทย ส่งออกชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ไปสหภาพยุโรป มีมูลค่า 63 ล้านเหรียญสหรัฐ เติบโตร้อยละ 16 เมือ่ เปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันกับปีกอ่ น ในขณะ ที่การส่งออกไปประเทศอื่นๆ มีอัตราการเติบโต ลดลงร้อยละ 14

Trailer

Even though export value of trailer is not much as others, it has high dependency ratio of EU market which indicates the

significant of this market. From 2010 this ratio has been built up, consistently. Majority of its export is part for trailer in Netherland. However in year 2012, the dependency ratio went down 12%; including export growth rate to EU market, dramatic drop down 49% with export value 3 million US dollar.

Motorcycle parts

During 2008-2010, export growth rate was consistent to exporting to other countries. Then, 2011-2012, the growth rate changed into opposite direction. Export value to EU market was 63 million US dollar; rising 16%, yet growth rate of export to other countries decreased 14%.

Table 1 Total Export Value of Thai Automotive Product to EU (Unit: Million USD)

2007

1. Bus 2. Passenger car 3. Truck < 5 Ton 4. Truck > 5 Ton 5. Other types of truck 6. Special Purpose Vehicle 7. Auto parts 8. Motorcycle 9. Motorcycle parts 10. Trailer

0.04 (0%) 97 (6%) 1,016 (65%) 0.03 (0%) 6.38 (0%) 0.29 (0%) 285 (18%) 98 (6%) 58 (4%) 2.43 (0%)

2008

0.21 (0%) 80 (5%) 926 (61%) 0.03 (0%) 1.08 (0%) 0.19 (0%) 265 (17%) 192 (13%) 61 (4%) 1.63 (0%)

2009

0.18 (0%) 39 (5%) 339 (45%) 0.25 (0%) 0.03 (0%) 0.00 (0%) 170 (22%) 158 (21%) 51 (7%) 1.29 (0%)

2010

0.01 (0%) 39 (3%) 723 (55%) 0.05 (0%) 0.09 (0%) 0.03 (0%) 265 (20%) 222 (17%) 56 (4%) 4.22 (0%)

2011

0.30 (0%) 9 (1%) 625 (51%) 0.00 (0%) 0.02 (0%) 0.71 (0%) 303 (25%) 234 (19%) 54 (4%) 6.60 (1%)

Remark(s): Figure in bracket referred to the proportion value of total export to all types of automotive product export to EU by year

55

2012

0.64 (0%) 41 (3%) 559 (44%) 0.00 (0%) 0.01 (0%) 0.00 (0%) 340 (27%) 274 (21%) 63 (5%) 3.39 (0%)


Table 2 Dependency Ratio of Each Automotive Product to EU market

All types of product

1. Bus 2. Passenger car 3. Truck < 5 Ton 4. Truck > 5 Ton 5. Other types of truck 6. Special Purpose Vehicle 7. Auto parts 8. Motorcycle 9. Motorcycle parts 10. Trailer

2007

13.7 0.6 2.4 22.4 0.4 17.3 2.3 7.8 24.4 11.3 14.3

2008

12.9 0.9 1.5 17.1 0.2 2.8 1.1 6.4 29.0 10.9 7.9

2009

11.6 0.7 1.0 9.8 2.2 0.1 0.0 5.7 27.9 11.6 7.2

2010

10.9 0.0 0.6 12.5 0.4 0.2 0.2 6.4 34.9 10.4 16.9

2011

10.6 0.6 0.2 12.1 0.0 0.0 4.2 6.7 28.8 8.1 21.2

Avg. 5 yr. 11.9 0.6 1.1 14.8 0.6 4.1 1.6 6.6 29.0 10.5 13.5

Source: Based on Global Trade Atlas

4. ผลกระทบจากวิกฤติหนี้ สาธารณะและเศรษฐกิจสหภาพ ยุโรปและการยกเลิกสิทธิพิเศษทาง ภาษีศุลกากรทั่วไป (GSP) ของ สหภาพยุโรปต่อการส่งออกสินค้า ยานยนต์ของไทย 4.1 ประเมินผลกระทบต่อการส่งออก สินค้ายานยนต์ของไทย จากวิกฤติหนีส้ าธารณะ และเศรษฐกิจสหภาพยุโรป การพิ จ ารณาผลกระทบของวิ ก ฤติ ห นี้ สาธารณะและเศรษฐกิจสหภาพยุโรปต่อการส่งออก สินค้ายานยนต์ของไทย ควรจะพิจารณาจาก สัดส่วนการพึง่ พิงตลาดยุโรปรายประเทศเทียบกับ ค่าเฉลี่ย เนื่องจาก หากการส่งออกสินค้าใดมี สั ด ส่ ว นการพึ่ ง พิ ง ตลาดประเทศในยุ โ รปสู ง ย่ อ มได้ รั บ ผลกระทบโดยตรงหากเศรษฐกิ จ ประเทศนัน้ เข้าสูภ่ าวะหดตัว โดยเฉพาะหากเป็น ประเทศที่มีแนวโน้มว่าจะเกิดวิกฤติเศรษฐกิจใน ประเทศ จากการมีอตั ราส่วนหนีส้ าธารณะต่อ GDP ในระดับสูง อันได้แก่ โปรตุเกส อิตาลี ไอร์แลนด์ กรีซ และ สเปน (กลุ่มประเทศ PIIGS) แต่อย่างไรก็ตาม เมือ่ พิจารณาการส่งออก สิ น ค้ า ยานยนต์ จ ากไทยไปประเทศสมาชิ ก สหภาพยุโรปเป็นรายประเทศและรายสินค้า (แสดงดังตารางที่ 3) พบว่า ทุกประเทศมีอัตรา การพึ่งพิงต�่ำกว่าค่าเฉลี่ย ยกเว้นการส่งออกรถ จักรยานยนต์ขนาด 501-800 ซีซี ไปประเทศ อั ง กฤษ ที่ มี อั ต ราการพึ่ งพิงสูงถึงร้อ ยละ 40

ทัง้ นี้ เนือ่ งจากการส่งออกรถจักรยานยนต์ขนาด 501-800 ซีซี เป็นการส่งออกจากบริษัทผู้ผลิต รถจักรยานยนต์สัญชาติอังกฤษ (ยี่ห้อ Triumph) ทีต่ งั้ โรงงานในประเทศไทย กลับไปยังประเทศแม่ (อังกฤษ) เพื่อจัดจ�ำหน่ายต่อไป จึงท�ำให้อัตรา การพึง่ พิงตลาดประเทศอังกฤษมีสงู ส่วนการส่งออก สินค้ายานยนต์ประเภทอื่นๆ พบว่าประเทศที่มี อัตราการพึ่งพิงสูง อาทิ เบลเยี่ยม ฝรั่งเศส และเนเธอร์แลนด์ เป็นประเทศทีม่ ที า่ เรือพาณิชย์ ขนาดใหญ่4 ซึ่งเป็นจุดน�ำเข้าเพื่อส่งต่อไปยัง ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปประเทศอื่นๆ มิได้ เพื่อการจ�ำหน่ายในประเทศตัวเองเท่านั้น ซึ่ง ด้วยเหตุผลทั้งสองประการ จึงท�ำให้ไม่สามารถ พิจารณาผลกระทบของวิกฤติหนี้สาธารณะและ เศรษฐกิจสหภาพยุโรปต่อการส่งอออกสินค้า ยานยนต์ ข องไทยโดยใช้ อั ต ราการพึ่ ง พิ ง ราย ประเทศและรายสินค้าได้ ดังนั้น การประเมินผลกระทบจากวิกฤติ หนี้ ส าธารณะและเศรษฐกิ จ สหภาพยุ โ รปต่ อ การส่งอออกสินค้ายานยนต์ของไทยจะพิจารณา รวมทุกประเทศ รวมทั้งจะพิจารณาควบคู่ไปกับ ผลกระทบจากการยกเลิกสิทธิพิเศษทางภาษี ศุลกากรทั่วไป (GSP) ของสหภาพยุโรปในหัวข้อ ถัดไป

Impact from Public Debt, Euro Crisis and Cancellation of GSP to Thai Automotive Product Export

4 เบลเยี่ยมมีท่าเรือ Antwep ฝรั่งเศสมีท่าเรือ Le Harve และเนเธอร์แลนด์มีท่าเรือ Rotterdam 4 Antwep port in Belgium, Le Harve in France and Rotterdam in Netherland

56

Evaluation Impact to Thai Automotive Product Export from Public Debt and Euro Crisis The evaluation should consider from proportion of dependency ratio in each EU member country to average rate because product with high dependency ratio to EU market will be affected directly if economy of that country is shrinking; especially, country with high potential of having nation’s economy crisis based on high proportion of public debt to GDP: Portugal, Italy, Iceland, Greece and Spain (PIIGS). Nevertheless, evaluating Thai automotive product export to EU by each member country and product type (as shown in Table 3) revealed that every member country has less dependency ratio than an average; excepting, motorcycle export (501-800 cc.) to England. Those exports are from Triumph, English motorcycle maker, in Thailand, which assemble and send back to England for distribution. It is noticeable for countries with high dependency ratio such as Belgium, France and Netherland, that they all have large ports located in their countries4. These ports are transit points to distribute cargo to other member countries. Thus, some products are not for consuming locally. According to these 2 reasons, Dependency ration of each country and product is not applicable for the evaluation impact to Thai automotive product export from Public debt and Euro crisis. Therefore, the evaluation should consider all countries and effect from GSP cancellation, as well.


Picture 7 Total Export Value and Growth Rate of Thai Automotive Product to EU by Product Type

Truck < 5 Ton

Motorcycle Total Export Value (Million USD)

120%

1,400 EU 96%

1,200 1,000 800

100% 80%

Others 55% 40%

600

40% 50% 17%

400

-13%

200 0

Total Export Value (Million USD)

Growt Rate

1%

6%

10,000 8,000

60% 40%

6,000

20%

4,000

0%

-18%

12,000

-20%

98 193 159 222 234 275 -40%

2007 2008 2009 2010 2011 2012 Others EU

2,000 0

140% 113% 116% 120% 100% 80% 62% 60% Others 28% 40% 20% EU -31% -10% -11% 0% -9% -20% -14% -40% -63% -60% 1,016 927 340 723 626 559 -80% 2007 2008 2009 2010 2011 2012 Others EU

Trailer

Motorcycle parts

Total Export Value (Million USD)

35

Growt Rate

250%

227%

200%

30 25

150%

20 15

100%

-13% 24% 19% 0%

10 EU -33%

5 0

56%

Others 31%

2

-21% 2

1

-49% 4

Growt Rate

7

3

2007 2008 2009 2010 2011 2012 Others EU

0% -50% -100%

Total Export Value (Million USD)

800

23%

700

0%

EU 5%

300

-16%

-3%

200 100 0

-10% -14%

59

20% 10%

8%

500 400

30%

27% 16%

Others 10%

600

Growt Rate

-22% 52 56

62

54

63

2007 2008 2009 2010 2011 2012 EU

Others

Source: Based on Global Trade Atlas

57

-20% -30%


Table 3 Dependency Ratio of Thailand to EU Market by Type of Product and Country Dependency Ratio Country

Truck < 5 Ton

Motorcycle (CC.) 50-250

251-500

501-800

Motorcycle parts

Trailer

1. Austria

0.48

0.18

n.a.

n.a.

0.00

0.00

2. Belgium

0.76

2.25

0.03

1.84

0.10

0.09

3. Bulgaria

0.06

0.01

n.a.

n.a.

0.00

0.00

4. Cyprus

0.34

0.01

n.a.

0.00

0.00

0.01

5. Czech Rep.

0.13

0.00

n.a.

n.a.

0.00

0.00

6. Denmark

0.19

0.04

n.a.

0.00

0.00

0.60

7. Estonia

0.02

0.01

n.a.

n.a.

n.a.

n.a.

8. Finland

0.47

0.21

n.a.

0.00

0.01

0.51

9. France

1.86

1.20

0.70

5.71

0.04

0.14

10. Germany

1.85

0.09

7.91

0.01

0.15

1.91

11. Greece

1.56

4.22

0.00

0.03

0.14

0.01

12. Hungary

0.34

0.04

n.a.

n.a.

0.00

0.00

13. Iceland

0.18

0.04

n.a.

0.00

n.a.

0.37

14. Italy

2.35

1.23

n.a.

0.00

1.90

0.03

15. Latvia

0.09

0.01

n.a.

n.a.

0.00

n.a.

16. Lithuania

0.06

n.a.

n.a.

n.a.

0.00

n.a.

17. Luxemburg

n.a.

n.a.

n.a.

n.a.

n.a.

n.a.

18. Malta

0.01

0.01

n.a.

n.a.

n.a.

0.02

19. Netherland

0.15

9.59

3.17

6.32

0.28

8.73

20. Poland

0.51

0.00

n.a.

n.a.

0.00

0.03

21. Portugal

0.82

0.01

0.16

n.a.

0.00

0.02

22. Romania

0.22

0.01

n.a.

n.a.

n.a.

n.a.

23. Slovakia

0.01

n.a.

n.a.

n.a.

n.a.

0.00

24. Slovenia

0.08

0.02

n.a.

n.a.

0.00

0.00

25. Spain

1.08

1.43

0.04

0.00

0.41

0.03

26. Sweden

0.96

0.09

0.48

0.00

0.00

0.07

27. UK

4.19

1.92

0.60

40.31

7.43

1.00

Source: Based on Global Trade Atlas Remark(s) n.a. means No Export product from Thailand

58


Table 5 The Effect Evaluation of EU’s GSP Cancellation to the Export of Thai Automotive Product Type

1. Bus 2. Passenger car 3. Truck < 5 Ton 4. Truck > 5 Ton 5. Other types of truck 6. Special purpose vehicle 7. Auto parts 8. Motorcycle <50 CC. 9. Motorcycle50-250 CC. 10. Motorcycle251-500 CC. 11. Motorcycle501-800 CC. 12. Motorcycle> 800 CC. 13. Other types of motorcycle 14. Motorcycle parts 15. Trailer

Depend. Ratio Avg. 5 yr.

0.6 1.1 14.8 0.6 4.1 1.6 6.6 0.4 22.5 13.9 54.2 5.6 6.6 10.5 13.5

Tax Rate MFN

GSP

Result of Evaluation

16.0 10.0 22.0 22.0 10.0 3.7 4.5 8.0 8.0 6.0 6.0 6.0 6.0 3.7 2.7

11.2 6.5 15.4 15.4 6.5 0.0 0.0 4.5 4.5 2.5 2.5 2.5 2.5 0.0 0.0

Low Low Severe Low Low Low Low Low Monitor Monitor Monitor Low Low Low Monitor

Source: Based on Global Trade Atlas and Export Help Desk, External Trade European Commission as well as the calculation by author 4.2 ประเมินผลกระทบต่อการส่งออก สินค้ายานยนต์ของไทย จากการยกเลิกสิทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรทั่วไป (GSP) ของ สหภาพยุโรป การประเมินผลกระทบจากการยกเลิก สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรทั่วไป (GSP) ของ สหภาพยุ โ รปต่ อ การส่ ง ออกสิ น ค้ า ยานยนต์ ของไทย จะพิจารณาเป็นรายสินค้า จากปัจจัย สองประการคือ สัดส่วนการพึ่งพิงตลาดยุโรป เทียบกับค่าเฉลี่ย5 และส่วนต่างอัตราภาษีระดับ ปกติ (MFN Rate) กับอัตราภาษี GSP หรือแต้ม ต่อทางภาษีทไี่ ด้รบั จากสิทธิ์ GSP โดยเปรียบเทียบ กั บ อั ต ราที่ ส หภาพยุ โ รปลดภาษี น� ำ เข้ า ให้ กั บ สินค้าอ่อนไหว ร้อยละ 3.5 ซึ่งมีหลักเกณฑ์การ ประเมินผลกระทบคือ (1) กลุม่ สินค้าทีค่ าดว่าจะได้รบั ผลกระทบ ต�่ ำ คื อ ประเทศที่ มี สัดส่ว นการพึ่งพิงตลาด สหภาพยุโรป ต�ำ่ (ไม่เกินร้อยละ 11.9) และ/หรือ มีแต้มต่อทางภาษีต�่ำ (ไม่เกินร้อยละ 3.5) (2) กลุม่ สินค้าทีต่ อ้ งจับตามอง คือ ประเทศ ที่ มี สั ด ส่ ว นการพึ่ ง พิ ง ตลาดสหภาพยุ โ รปสู ง

(มากกว่าร้อยละ 11.9) แต่มีแต้มต่อทางภาษีต�่ำ (ไม่เกินร้อยละ 3.5) (3) กลุม่ สินค้าทีค่ าดว่าจะได้รบั ผลกระทบ รุนแรง คือ ประเทศที่มีสัดส่วนการพึ่งพิงตลาด สหภาพยุโรปสูง (มากกว่าร้อยละ 11.9) และมี แต้มต่อทางภาษีสูง (มากกว่าร้อยละ 3.5) การประเมินผลกระทบ พบว่าสินค้าทีค่ าดว่า จะได้รับผลกระทบรุนแรง เพราะเป็นสินค้าที่ พึ่งพิงตลาดสหภาพยุโรปในระดับสูง และอัตรา ภาษีที่ได้รับสิทธิ์ GSP กับอัตราภาษีปกติแตก ต่างกันมาก คือ รถบรรทุกขนาดไม่เกิน 5 ตัน ในขณะที่สินค้าที่อยู่ในกลุ่มที่ต้องจับตามอง ได้แก่ รถจักรยานยนต์ 50-250 ซีซี รถจักรยานยนต์ 251-500 ซีซี รถจักรยานยนต์ 501-800 ซีซี และ รถพ่วง ส่วนสินค้าอืน่ ๆ อยูใ่ นกลุม่ ทีค่ าดว่าจะได้รบั ผลกระทบต�่ำ (แสดงดังตารางที่ 5 และภาพที่ 8) 4.2 Evaluation Impact to Thai Automotive Product Export from GSP Cancellation by EU Evaluation impact to Thai automotive product export from GSP cancellation by EU is

considered by each product from 2 factors: 1. Proportion of dependency ratio to average rate5 and 2. Difference of MFN Rate and handicap from GSP’s tax rate and compared to 3.5% EU’s reduction tax rate for sensitive product. Here are rules of evaluation: (1) Low impact product: Country that has low rate of dependency ratio (≤11.9%) and/ or low handicap on tax (≤ 3.5%) (2) Closed monitor product: Country with high rate of dependency ratio (>11.9%) but has lower handicap on tax (≤ 3.5%) (3) High impact product: Country with high rate of dependency ratio (>11.9%) but has lower handicap on tax (≤ 3.5%) Evaluation of impact finds that product within High impact product will obtain a lot of impact because it mostly depends on EU market, and there is much difference between privilege from GSP and normal tax rate; i.e., 5-Ton truck. Meanwhile, closed monitor product as motorcycle 50-250 cc, 251-500 cc, 501-800 cc and trailer as well as Low impact product wil take lower impact (as shown in Table 5 and Picture 8)

5 ในปี ค.ศ. 2007-2011 ประเทศไทยส่งออกสินค้ารวมทุกประเภทไปสหภาพยุโรปเฉลี่ยร้อยละ 11.9 ของมูลค่าการส่งออกสินค้าไปทั่วโลก 5 During year 2007-2011, All Thai export product to EU are 11.9% on average of total export value to worldwide

59


Picture 8 The Effect Evaluation of EU’s GSP Cancellation to the Export of Thai Automotive Product

8 7

Advantage of Tax

6 5 4 3 2 1 0

Low

Severe Truck < 5 Ton

Truck > 5 Ton

posetypes le Auto parts Motorcycle parts r u P l ia Specicle Other otorcyc 50-250 CC.* Veh of M > 800 CC.* 251-500 CC.* Passenger car Trailer or Semi-Trailer < 50 CC.* Other types of truck Bus

Low

501-800 CC.*

Monitor

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 55 Dependency Ratio Remark(s): * referred to motorcycle Source: Based on Table 4’s data

5. บทสรุปและข้อเสนอแนะ การติ ด ตามสถานการณ์ ก ารส่ ง ออก สินค้ายานยนต์จากประเทศไทยไปสหภาพยุโรป ในช่วงวิกฤติหนี้สาธารณะและเศรษฐกิจของ สหภาพยุโรปรวมถึงการประเมินผลกระทบเบือ้ งต้น หากไทยถูกตัดสิทธิ์ GSP จากสหภาพยุโรป พบว่า สินค้าที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบรุนแรง คือ รถบรรทุกขนาดไม่เกิน 5 ตัน ในขณะที่สินค้าที่ อยูใ่ นกลุม่ ทีต่ อ้ งจับตามอง ได้แก่ รถจักรยานยนต์ 50-250 ซี ซี รถจั ก รยานยนต์ 251-500 ซีซี รถจักรยานยนต์ 501-800 ซีซี และรถพ่วง แม้ว่าการประเมินผลกระทบจะระบุว่า การส่งออกรถบรรทุกขนาดไม่เกิน 5 ตัน (ซึง่ ก็คอื รถกระบะขนาด 1 ตัน) จากไทยอาจจะได้รับ ผลกระทบรุนแรง แต่อย่างไรก็ดี มีเพียงไม่กี่ ประเทศทีเ่ ป็นผูผ้ ลิตรถกระบะขนาด 1 ตัน อีกทัง้ ประเทศไทยก็เป็นผู้ผลิตรถกระบะขนาด 1 ตัน อันดับหนึ่งของโลก ท�ำให้ผลกระทบที่คาดว่าจะ รุนแรง บรรเทาลงได้ ส่วนกรณีรถจักรยานยนต์นนั้ ผู้ประกอบการต้องแสวงหาสิทธิพิเศษทางการ ค้าอื่นๆ ที่จะท�ำให้ต้นทุนลดลง เช่น การจัดตั้ง เขตปลอดอากร (Free zone) เป็นต้น แต่ทั้งนี้ ด้วยสภาวะเศรษฐกิจของยุโรปที่มีแนวโน้มว่าจะ ซบเซาไปอีกระยะหนึง่ ดังนัน้ ผูป้ ระกอบการต้อง แสวงหาตลาดอืน่ ทดแทนตลาดสหภาพยุโรปด้วย

60

Summary and Recommendation

The monitoring circumstance of Thailand’s automotive product export to EU market during public debt and EU crisis as well as impact from GSP cancellation reveals that 5 Ton truck, High impact product, will be highly impacted. Whereas, motorcycle 50250 cc, 251-500 cc, 501-800 cc and trailer will take less impacted Although, from evaluation states that 5 Ton truck (aka 1 Ton Pick-up) from Thailand will be affected, severely, there are only a

few countries produce this type of truck. Additionally, Thailand is the major manufacturer of 1 Ton Pick-up in the world. As a result, the degree of impact will be lessening. For motorcycle, operator needs to seek for other privileges on trade to reduce cost; for example, Free Zone establishment. Nonetheless, operator should consider other markets to compensate EU market that is expected to be stagnated for a period of time.




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.