สินค้ามาแEรMง HOT IT
รถกวาดพื้นระบบขับเคลื่อนด้วยมือ Hand Push Type Model T70
บริษัท จักรวัฒน์ นวการ จำ�กัด
173-173/1 พระรามที่ 2 ซอย 27 ถนนพระราม 2 แขวงบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพฯ 10150 Tel.: 02-870-0007-9, 02-870-0252-3 Fax: 02–428–1126
E-mail: vanida@jkbrushes.com, umpai@jkbrushes.com Line ID: jkbrushes
CONTENTS
Business Movement
คุณทวีพงษ์ วิชัยดิษฐ ผู้อำ�นวยการองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท. [Designated Areas for Sustainable Tourism Administration (Public Organization) : DASTA]
16
MAR– APR 2019
p. 24 p. 34 p. 36 p. 38 p. 46 p. 48
Special Report Cover Story อพท. กับวิสัยทัศน์ การท่องเที่ยว “อันยั่งยืน”
เทรนด์ในอนาคตของธุรกิจอาหาร GE ก้าวสู่ตลาดบำ�รุงรักษาเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้า
p. 50 p. 52
Special Feature
PR News
PM 2.5 ไททา ส่งเสริมเกษตร GAP ใช้สารเคมีปลอดภัย แข่งขันในตลาดโลก Machine Learning รับมือฤดูมรสุม บ๊อช ขึ้นแท่นผู้น�ำ IoT แห่งยุค Cashless society ยานยนต์ไฟฟ้า (EV) ทางออกปัญหา PM 2.5 งานสถาปนิก ’62 “กรีน อยู่ ดี : Living Green” Smart Watch ตรวจจับและแจ้งเตือนภัยก๊าซพิษ 5 แก็ดเจ็ตและเทคโนโลยีที่จะมาแน่ในปี 2019
Factory Update
Columnist
Regulars
88 93
5 ทิปเด็ด ปั้น SME ให้เปรี้ยงในปี 2019 อุตสาหกรรมภาคการผลิตของไทยมีแนวโน้มเติบโต DEPA สร้างกำ�ลังคนพันธุ์ดิจิทัล รองรับ EEC และ Thailand 4.0 เขตนวัตกรรม ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi) นิทรรศการภาพถ่าย 3Krung x Sony Alpha University Camp ฟิลิปปินส์บุกเมืองนวัตกรรมอาหาร
EXPLORING PURCHASING SECRETS WITH AJARN CHEOCHARN
6
Thailand Industrial Today
p. 56 p. 58 p. 60 p. 64 p. 68 p. 70 p. 72 p. 74 p. 76
p. 78
TYRO LIT (THAILAND) COMPANY LIMITED เราคือผูผ้ ลิตหินเจียร ใบตัดไฟเบอร์ ใบตัดรางรถไฟ ใบตัดเพชร ใบเจียรเพชร กระบอกเจาะเพชร ทุกขนาด ด้วยคุณภาพสินค้าทีแ่ ข็งแรง ทนทาน ปลอดภัย ตามมาตรฐานสากลและ
ได้รบั การรับรอง ISO9001, ISO14001
ผลิตโดยกลุม่ บริษทั ทีโรลิท ในเครือสวารอฟสกี้ กรุป๊ จากประเทศออสเตรีย
บ.ทีโรลิท โอลิมปัส จำ�กัด 372 หมู่ 2 (ซ.แพรกษา 11) ถ.แพรกษา ต.แพรกษา อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ 10280 บ.ทีโรลิท ไทย ไดมอนด์ จำ�กัด 64/55 หมู่ 4 นิคมอุตสาหกรรมอีสเทิรน์ ซีบอร์ด ต.ปลวกแดง อ.ปลวกแดง จ.ระยอง 21140
หินเจียร (Grinding Wheel)
ใบตัด (Cutting Wheel)
หินไฟหรือหินลับคม (Bench Grinding Wheel)
ใบตัดเพชร (Diamond Wheel)
กระบอกเจาะเพชร (Core Drill)
บริษทั ทีโรลิท (ประเทศไทย) จำ�กัด จัดจำ�หน่ายสินค้าคุณภาพภายใต้แบรนด์สนิ ค้าดังนี้ ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่ม : 372 หมู่ 2 (ซ.แพรกษา 11) ถ.แพรกษา ต.แพรกษา อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ 10280
Tel.: 02-021-8388 Fax: 02-703-6676 LINE ID: aui0138 E-mail: Aukrapol.chaichot@tyrolit.com www.TYROLIT.com
103 สวั ส ดี เ ดื อ นมี น าคม–เมษายน คาบเกี่ ย วสองเดื อ นที่ จ ะเกิ ด เหตุ ก ารณ์ สำ � คั ญ ๆ ในบ้ า นเมื อ ง เป็นที่แน่นอนแล้วว่าทางกกต.กำ�หนดวันเลือกตั้งอย่างเป็นทางการ ในวันที่ 24 มีนาคม 2562 และ ก่อนจะเลือกตั้งก็จะมีเงื่อนเวลาในการกำ�หนด ส.ว. ว่าเป็นเมื่อไหร่ การเมืองกลับมาคึกคักอีกครั้ง สิ่งที่อยากจะเห็นคือหลังวันที่ 24 หน้าตานักการเมืองและนายกรัฐมนตรีคนใหม่ของเราๆ ท่านๆ จะเป็นอย่างไร กลับมาเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับภาคอุตสาหกรรม จะเห็นธุรกิจในภาคการส่งออกเริม่ ส่งสัญญาณไม่ดอี นั เนือ่ ง มาจากค่าเงินบาทที่ผันผวนในช่วงที่ผ่านมา ไหนจะปัจจัยแวดล้อมเรื่องสงครามการค้าของประเทศ มหาอำ�นาจทางเศรษฐกิจ ราคาน้�ำ มันในตลาดโลกและอืน่ ๆ ทำ�ให้ผสู้ ง่ ออกของไทยเองค่อนข้างจะต้อง ทำ�การบ้านอย่างหนักในปีนี้ แต่ในอีกแง่ก็ถือเป็นโอกาสให้ผู้ประกอบการต่างเตรียมพร้อมกับสิ่งที่ไม่ แน่นอนที่อาจเกิดได้ทุกเมื่อจะได้ไม่ประมาทจนเกินไป และสุดท้ายก่อนจากกันในเล่มนี้จะเห็นว่าเรากำ�ลังเข้าสู่เดือนเมษายนซึ่งมีเทศกาลที่สำ�คัญคือ เทศกาล “สงกรานต์” เหมือนกับเพิ่งอวยพรปีใหม่สากลไปหมาดๆ มาเล่มนี้ก็จะเข้าสู่ปีใหม่ไทยอีกครั้ง สิ่งที่อยากฝากคือเรื่องการเดินทางช่วงเทศกาล ซึ่งต้องใช้เวลาบนถนนมากกว่าช่วงปกติมาก ร่างกาย ผู้ขับต้องพร้อม หมายความคือต้องพักผ่อนให้เพียงพอ ไม่ดื่มสุราขณะขับขี่และที่สำ�คัญคือต้อง ไม่ประมาท แล้วพบกันใหม่ในเล่มหน้า สวัสดี ”ปีใหม่ไทย” ครับ ณัฏฐ์ อรุณรัศมี บรรณาธิการบริหาร
กองบรรณาธิการ MANAGING DIRECTOR DAMRI NAMPHAYA
EXECUTIVE EDITOR / PUBLISHER Nat Arunratsamee
NEWS EDITOR
EKKASIT CHAINGAM
REPORTER TBP REPORTER CONTRIBUTING WRITER
CHEOCHARN RATANAMAHATANA SUCHART SAWASDIYANONT
TRANSLATOR
PIYAWADEE NANTAPAN
GRAPHIC DESIGNER ARTIKON RUNGRUENG
PHOTOGRAPHER TIT STUDIO ADVERTISING MANAGER ARINYA PIENVANICH
MARKETING MANAGER ARINYA PIENVANICH
ลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการค้า
ด้วยเครือ่ งหมายการค้าต่าง ๆ ทีป่ รากฏในนิตยสารมีจ�ำ นวนมาก ทางนิตยสารไม่มพ ี นื้ ทีจ่ �ำ นวนมากพอทีจ่ ะประกาศ ความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ได้อย่างครบถ้วน ทางนิตยสารจึงขอประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์เฉพาะส่วนที่มีการ กล่าวอ้างถึงในบทความ หากลิขสิทธิด์ งั กล่าวเป็นทีร่ จู้ กั กันดีโดยทัว่ ไปแล้ว ทางนิตยสารขออนุญาตไม่กล่าวซ้�ำ ทัง้ นี้ เพื่อให้การนำ�เสนอบทความนั้นมีความกระชับ น่าอ่านยิ่งขึ้น
TBP PUBLICATION CO., LTD.
บริษทั ที.บี.พี. พับลิชเคชัน่ จำ�กัด 3300/111 22nd Floor (Zone B), Elephant Tower, Phaholyothin Rd., Jompon, Chatujak Bangkok 10900 Tel. 66 (0) 2838-9999 ext. 8407, 1301 Fax. 66 (0) 2760-8880 E-mail : thailandindustrialtoday@gmail.com http://www.facebook.com/titmagazine
คำ�ประกาศเรื่องลิขสิทธิ์
ทางนิตยสารยินดีพิจารณาบทความที่น่าสนใจเกี่ยวกับอุตสาหกรรมต่าง ๆ ทั้ง 39 กลุ่ม โดยบทความนั้นต้องไม่ ละเมิดลิขสิทธิ์ผู้อื่น ไม่ว่ากรณีใดๆ หากเกิดกรณีการละเมิดลิขสิทธิ์ขึ้น ทางนิตยสารจะไม่รับผิดชอบต่อความผิด แต่อย่างใด โดยผู้เขียนบทความนั้นต้องเป็นผู้รับผิดชอบแต่ผู้เดียว ตลอดจนข้อคิดเห็นใน ทุกบทความที่ปรากฏใน นิตยสารเล่มนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผูเ้ ขียนนัน้ ๆ ไม่จ�ำ เป็นต้องเป็นความคิดเห็นของนิตยสารหรือทางบริษทั ทีไอที พลัส มีเดีย จำ�กัด แต่อย่างใด
แยกสี : S.S. Graphic Limited Partnership พิมพ์ : บริษัท สุพรีมพริ้นท์ จำ�กัด Color Separation : S.S. Graphic Limited Partnership Printing : Supreme Print Co., Ltd.
การสมัครเป็นสมาชิก
กรอกรายละเอียดในหน้าสมัครสมาชิกฉบับล่าสุด จากนั้นส่งกลับมาที่บริษัทตามที่อยู่ ที่ระบุ หรือส่งทางโทรสาร หมายเลข 0-2967-9999 Ext. 1823
MAR– APR 2019
การส่งบทความหรือข้อความประชาสัมพันธ์
ท่านสามารถส่งต้นฉบับที่จัดอยู่ในรูปแบบของไฟล์ Microsoft Word โดยบันทึกส่งเฉพาะข้อความเท่านั้น สำ�หรับรูป ประกอบให้แนบส่งมาต่างหาก ทางนิตยสารรับเฉพาะสกุล JPEG, TIF, AI หรือ EPS ทีค่ วามละเอียดประมาณ 300 dpi เป็นอย่างน้อย หรือเป็นไฟล์ภาพที่ resolution สูง รายละเอียดอื่นๆ สอบถามโดยตรงได้ที่ บรรณาธิการบริหาร โทรศัพท์ 02 967-9999 ต่อ 8407 หรืออีเมล tit_magart01@hotmail.com, thailandindustrialtoday@gmail.com
12
Thailand Industrial Today
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
www.thailandindustrialtoday.com
นิตยสารสำ�หรับผู้น�ำ ในแวดวงธุรกิจ
อุตสาหกรรม
ก้าวทันทิศทาง... ธุรกิจอุตสาหกรรม
COVER STORY Designated Areas for Sustainable Tourism Administration เรื่อง สุชาติ สวัสดิยานนท์ ภาพ เอกสิทธ์ ใจงาม
อพท. กับวิสัยทัศน์ท่องเที่ยว
“อันยั่งยืน” l
คุณทวีพงษ์ วิชัยดิษฐ ผู้อำ�นวยการองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท. [Designated Areas for Sustainable Tourism Administration (Public Organization) :DASTA]
หลายคนอาจจะยังไม่ทราบว่า มีองค์การมหาชนทีท่ �ำ งานด้านการท่องเทีย่ วเฉพาะถิน่ เฉพาะภาค และ มีจุดขายที่เน้นความยั่งยืนถาวร เพื่อให้เกิดบูรณาการอย่างต่อเนื่อง ความสำ�คัญขององค์กรแห่งนี้ มีส่วนเข้าไปพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการพัฒนา ในหลายต่อหลายพื้นที่พิเศษในห้วงเวลาที่ผา่ นมา และบัดนี้ องค์กรแห่งนัน้ กำ�ลังจะเปล่งศักยภาพสูงสุด ตามพันธกิจ 4 ปี เพือ่ ไปสูเ่ ป้าหมายที่วางไว้
MAR– APR 2019
อพท.กับงานใหญ่ที่รออยู่ข้างหน้า
นายทวีพงษ์ วิชัยดิษฐ ผู้อำ�นวยการองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท. [Designated Areas for Sustainable Tourism Administration (Public Organization) :DASTA] แจงถึงทิศทางดำ�เนินการในช่วงต่อไปว่า เพื่อเป็นการสร้างสำ�นึกในการรับรู้ว่าด้วย “การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน” ให้กว้างขวางออกไปให้มาก ที่สุด สู่ความยั่งยืนอย่างไม่รู้จุดจบ จึงได้มีการกำ�หนดให้มีการสร้างแบรนด์ “CBT Thailand” โดย ให้มรี ะยะเวลาทำ�งาน 5 ปี คือในปี 2562-2566 แบ่งการทำ�งานออกเป็น 3 ระยะคือ
16
Thailand Industrial Today
l ระยะสั้น ปี 2562 มุ่งพัฒนาและสร้าง ตราสัญลักษณ์ CBT Thailand l ระยะกลางปี 2563-2564 สร้าง Sub brand และทำ�การสื่อสารอย่างสม่�ำ เสมอด้วย การนำ�เสนอคุณค่าการท่องเทีย่ วผ่านปัจจัยแห่ง ความสำ�เร็จของชุมชน ผ่านช่องทางสือ่ Social Media พัฒนาฐานข้อมูลบน Online Platform l ระยะยาว ปี 2565-2566 จะเป็นช่วงของ การขยายฐานการรับรู้แบรนด์ CBT Thailand ที่ พ ร้ อ มจะเติ บ โตอย่ า งมี เ ป้ า หมายใหญ่ คื อ การรวบรวมผลงานและความสำ�เร็จของชุมชน นำ � ไปสู่ ก ารเสนอสิ น ค้ า การท่ อ งเที่ ย วในวิ ถี ชุมชนผ่านกิจกรรม CBT Thailand โดยทาง อพท.จะเน้นหนักในการจัดทำ�แผน ขับเคลื่อนระยะ 4 ปี (2562-2565) ภายใต้ วิสัยทัศน์ การไปสู่องค์กรแห่งความเป็นเลิศ ด้ า นการพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วอย่ า งยั่ ง ยื น เพือ่ สร้างชุมชนแห่งความสุข ทัง้ นี้ เพือ่ เชือ่ มโยง ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และนโยบายรัฐบาล ที่มุ่งเน้นสร้างความสามารถในการแข่งขันและ การสร้างโอกาสความเสมอภาคกันทางสังคม โดยเฉพาะด้านการกระจายรายได้และลดความ เหลื่อมล้ำ�ทางสังคม ประกอบด้วย 1. บริหารการพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษสูค่ วามเป็น พื้นที่ต้นแบบการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 2. พัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืนโดยชุมชนที่ได้มาตรฐาน 3. บูรณาการ ประสาน และส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของทุกภาคีในการจัดการการท่องเทีย่ ว 4. ขั บ เคลื่ อ นสู่ อ งค์ ก รที่ เ ป็ น เลิ ศ ในการ บริหารจัดการการท่องเที่ยว
ทวีพงษ์กล่าวว่า ในประเด็นดังกล่าวนี้ อพท. จะเน้นการดำ�เนินงานภายใต้ 2 รูปแบบหลักๆ คือ รูปแบบแรกคือ เน้นเชิงพืน้ ที่ เพือ่ ให้เกิดการ ขยายผลต้นแบบพืน้ ทีพ่ เิ ศษของ อพท.ในพืน้ ทีอ่ น่ื โดยการจัดทำ�แผนพัฒนาพืน้ ทีแ่ ละการประกาศ พื้นที่พิเศษ ขยายผลการดำ�เนินงานไปในพื้นที่ เชื่อมโยงการท่องเที่ยว พร้อมการขับเคลื่อน แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน อาทิ ผลักดันพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ให้เป็นต้นแบบของการพัฒนาการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน ผ่านการเล่าเรื่อง (story telling) เพื่ อสร้ างมู ล ค่ าต่ อไป, การพั ฒนาตามแนว Thailand Riviera (หัวหิน-ชะอำ�) เพชรบุรี และ ประจวบคีรีขันธ์โดยการดำ�เนินการจัดทำ�แผน และประกาศพื้ น ที่ พิ เ ศษเพื่ อ การท่ อ งเที่ ย ว อย่างยั่งยืนหัวหิน-ชะอำ�การพัฒนาเครือข่าย ลำ � น้ำ � คลองดำ � เนิ น สะดวก จั ง หวั ด ราชบุ รี , การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้, การพัฒนาเส้นทางสีเ่ หลีย่ ม วัฒนธรรมล้านช้าง (ไทย-ลาว) ขยายผลการ ดำ�เนินงานสู่ One ASEAN Destination) การ พัฒนาพืน้ ทีใ่ นเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) โดยเป็นหน่วยงานหลักในการจัดทำ� แผนบูรณาการการท่องเทีย่ วในพืน้ ทีเ่ ขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก เป็นต้น ส่วนรูปแบบที่ 2 คือ เน้นการบริหารจัดการ เพือ่ เดินหน้าสนับสนุนการพัฒนาการท่องเทีย่ ว อย่างยัง่ ยืนอย่างเป็นรูปธรรม เช่น การขับเคลือ่ น แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน (community-based tourism : CBT) ในรูปแบบ CBT story telling และเตรียมแผนงานบูรณา การขับเคลือ่ นการท่องเทีย่ วโดยชุมชน การนำ�ร่อง
Thailand Industrial Today
การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สร้ า งสรรค์ ก ารท่ อ งเที่ ย ว ทางน้ำ� การท่องเที่ยวเชิงอาหาร การพัฒนา เมืองและชุมชน อันจะนำ�ไปสู่การเป็นเมือง ท่องเที่ยวสร้างสรรค์ (creative cities) รวมถึง การท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม ในฐานะหน่วยงาน ประสานงานและบูรณาการ หน่วยงานและภาคี ที่เกี่ยวข้องพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การบริหารจัดการมรดกวัฒนธรรมทีจ่ บั ต้องได้ (tangible cultural heritage) และมรดก วัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (intangible cultural heritage) ในพื้นที่พิเศษ และการพัฒนาและ ขยายผลองค์ความรูด้ า้ นการบริหารจัดการการ
MAR– APR 2019
17
อพท. กับวิสัยทัศน์ท่องเที่ยว “อันยั่งยืน”
Designated Areas for Sustainable Tourism Administration
MAR– APR 2019
ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของ อพท. บูรณาการ ความร่วมมือร่วมกับหน่วยงานทั้งในประเทศ และระดับนานาชาติ เป็นต้น “เราจะเน้นการท่องเทีย่ วเชิงสร้างสรรค์ และ มุ่งใช้การท่องเที่ยวช่วยกระจายรายได้และลด ความเหลื่ อ มล้ำ � โดยเพิ่ ม บทบาทให้ ชุ ม ชน สามารถบริหารจัดการแหล่งท่องเทีย่ วของตัวเอง ดูแลเศรษฐกิจชุมชน ส่งเสริมการขาย รวมถึงดูแล ความปลอดภัยในพื้นที่ ฯลฯ เพื่อให้เกิดการ ท่องเทีย่ วทีย่ ง่ั ยืน ได้มาตรฐานเทียบชัน้ มาตรฐาน
สากล” ปัจจุบันพื้นที่ดำ�เนินงานของ อพท. ตามมติคณะรัฐมนตรีมีทั้งสิ้น 6 แห่ง คือ พื้นที่ พิเศษหมู่เกาะช้างและพื้นที่เชื่อมโยง, พื้นที่ พิ เ ศษเมื อ งพั ท ยาและพื้ น ที่ เ ชื่ อ มโยง, พื้ น ที่ พิเศษอุทยานประวัตศิ าสตร์สโุ ขทัย-ศรีสชั นาลัยกำ�แพงเพชร, พืน้ ทีพ่ เิ ศษเลย, พืน้ ทีพ่ เิ ศษเมือง เก่าน่าน และพื้นที่พิเศษเมืองโบราณอู่ทอง”
สร้างเสริม IT รองรับยุค 5.0
ในยุค 5.0 เทคโนโลยีสารสนเทศถือว่าเป็น พระเอกในทุกเรื่อง อพท.เห็นความสำ�คัญจุดนี้ เช่ น กั น การพั ฒ นาด้ า นเทคโนโลยี ข องทาง อพท.นั้น จะมีการปรับปรุง Application จะมี ในส่วนของพัทยา ชายฝัง่ ทะเลตะวันออก ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ที่จะสื่อสารระหว่าง เจ้าของแหล่งท่องเทีย่ วและนักท่องเทีย่ วอีกด้วย และจะมีการพัฒนาในส่วนของเกมส์สามมิติ เป็ นเรื่ องนิ ยายพื้ นบ้ านของไทย ปลาบู่ ทอง เพื่ อ ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วสามารถเข้ า ถึ ง ได้ อ ย่ า ง ง่ า ยดาย แพลทฟอร์ ม ที่ กำ � ลั ง พั ฒ นาอยู่ นี้ นอกเหนือจาก 4 จังหวัดภาคตะวันออกแล้ว 18
Thailand Industrial Today
จะมี ก ารพั ฒ นาแพลทฟอร์ ม ให้ ไ ปใช้ ไ ด้ ที่ จังหวัดเลย และข้ามไปใช้ที่ลาว หลวงพระบาง ไชยบุรี นอกจากนั้นที่เลย ยังมีการพัฒนา VR หรือ Virtual Reality เป็นการจำ�ลองภาพสาม มิติ ในระบบ 5G ทีส่ วนท่องเทีย่ วของจังหวัดเลย และจะมีการพัฒนาด้านอื่นที่เพิ่มเติม นอกจากนัน้ แผนงานและภารกิจของ อพท. ในปี 2562 ยังเดินหน้าสร้างความร่วมมือใน ภาคเครือข่ายพัฒนาศักยภาพ และกิจกรรมให้ กับชุมชนและพื้นที่อย่างต่อเนื่อง เช่น การนำ� เกณฑ์ ก ารท่ อ งเที่ ย วอย่ า งยั่ ง ยื น โลก หรื อ GSTC ไปถ่ า ยทอดให้ กั บ ชุ ม ชน การขยาย ภาคีเครือข่ายกับหน่วยงานระดับสากล กับ “องค์การยูเนสโก” ที่เพิ่งลงนามในบันทึกข้อ ตกลงความร่วมมือ ร่วมกันกับการพัฒนามรดก ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม และเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ในมิติการทำ�งานด้านสังคม เพื่อขยายพื้นที่พัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อผู้คน ทั้ ง โลก นอกจากนั้ น ยั ง เป็ น ไปเพื่ อ มิ ติ ด้ า น สิง่ แวดล้อมเพือ่ ขยายผลโครงการโรงแรมทีเ่ ป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Hotel)
อพท. กับวิสัยทัศน์ท่องเที่ยว “อันยั่งยืน”
พันธกิจ 4 ปี เสริมสร้างเป้าหมาย
เป้าหมายมีรายได้ เพิ่มขึ้น 20%
ในปี 2562 อพท.ตั้งเป้ายกระดับชีวิตของ ชุมชนใน อพท. โดยชุมชนในพื้นที่ ผ่านเกณฑ์ การประเมินร้อยละ 85 อพท. กับ 40 ชุมชนที่ต้องการพัฒนาใน ปีนี้ ไปสูก่ ารมี 80 ชุมชนในปีตอ่ ไป เพือ่ ให้ผา่ น เกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในระดับสากล ทีม่ มี าตรฐานของ GSTC กันอยู่ โดยทาง อพท.
19
Thailand Industrial Today
พยายามพัฒนาให้ CT Thailand เป็น Brand ที่ได้รับการรับรองจากต่างประเทศ ซึ่งหากจะ นำ�ไปใช้ในต่างประเทศ แล้วก็สามารถใช้ได้ ทันที แต่อย่างไรก็ตาม การเดินหน้าพัฒนา ชุมชนเพื่อการท่องเที่ยวที่ทำ�อยู่ จะต้องอยู่บน พื้นฐานที่ให้แต่ละชุมชนมีภูมิคุ้มกันที่จะทำ�ให้ การพัฒนาและเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะเกิดขึน้ ตามมา
MAR– APR 2019
ผู้อ�ำ นวยการ อพท. กล่าวเสริมด้วยว่า เพื่อ ให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติในการ เพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขัน อพท. จึงได้จัดทำ�แผนดำ�เนินการหรือพันธกิจตาม แผนระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาวดังกล่าว ข้างต้นคือ 1. พัฒนาพืน้ ทีต่ น้ แบบเพือ่ สร้างการท่องเทีย่ ว ที่ยั่งยืน จำ�นวน 6 แห่งในพื้นที่พิเศษ ได้แก่ ชุมชนนาเกลือ ชุมชนเกาะหมาก ชุมชนเมืองเก่า ชุ ม ชนในเวี ย ง และชุ ม ชนอู่ ท อง เพื่ อ จั ด ทำ � แผนพั ฒ นาพื้ น ที่ พิ เ ศษพระนครศรี อ ยุ ธ ยา และ Thailand Riviera ในพื้นที่ชะอำ� หัวหิน นอกจากนั้น ยังมีการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยว เชือ่ มโยง “สีเ่ หลีย่ มวัฒนธรรมล้านช้าง” ในเส้นทาง จังหวัดเลย-แขวงไชยบูลี แขวงหลวงพระบาง–น่าน เส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเชื่อมโยงกับ ประเทศเพือ่ นบ้านไทยลือ้ (ไทย-ลาว-จีน) เส้น ทางจังหวัดน่าน-เมืองเงิน-เมืองสิบสองปันนา พัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวพิเศษภาคตะวันออก และพื้นที่พิเศษ คุ้งบางกะเจ้า สมุทรปราการ 2. พัฒนาการบริหารจัดการท่องเที่ยวโดย ชุมชน ที่ได้มาตรฐาน CBT Thailand จำ�นวน 40 ชุมชน 3. ส่งเสริมการท่องเทีย่ วสร้างสรรค์ เศรษฐกิจ ชุมชน ภายใต้แนวคิด “เมืองสร้างสรรค์” (Creative City) ในพื้ น ที่ พิ เ ศษสุ โ ขทั ย –ศรี สั ช นาลั ย – กำ�แพงเพชร
Designated Areas for Sustainable Tourism Administration ไม่ไปเปลี่ยนวิถีชีวิต วัฒนธรรมประเพณีของ แต่ละท้องถิน่ นัน้ อันเป็นเอกลักษณ์ส�ำ คัญของ แหล่งท่องเทีย่ วชุมชนแต่ละแห่ง สิง่ ทีส่ �ำ คัญอีก ประการคือ ความพยายามที่จะดึงการมีส่วน ร่วมของประชาชนทั้งหมดเข้ามาให้เป็นหนึ่ง เพื่อสานต่องานด้านต่างๆ
อัตราเติบโตเห็นชัด ถึงความเปลี่ยนแปลง
MAR– APR 2019
ผลการประเมินรายได้ชมุ ชน จาก 14 ชุมชน ต้นแบบ เปรียบเทียบอัตราการเติบโตของปี 2561 กับ 2560 มี 3 อันดับแรกที่เติบโตสูง ดังต่อไปนี้ 1. ชุมชนปลาบ่า จ.เลย 61 ครัวเรือน มีรายได้ เสริมจากปีงบประมาณ 2560 จำ�นวน 18,574 บาท รายได้รวม 69,863 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.14 2. ชุมชนบ้านโคก อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี 32 ครั ว เรื อ น มี ร ายได้ เ สริ ม จากปี ง บประมาณ 2560 จำ � นวน 8,763 บาท รายได้ ร วม 31,374 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.84 3. ชุมชนบ้านดง 22 ครัวเรือน มีรายได้เสริม จากปีงบประมาณ 2560 จำ�นวน 26,327 บาท รายได้รวม 58,520 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.80 การเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญประการหนึ่งคือ การดำ�เนินการประกาศพระราชกฤษฎีกาใหม่ ทีจ่ ะทำ�ให้ อพป. ไปขึน้ ตรงกับ กระทรวงท่องเทีย่ ว และกีฬา แทนทีจ่ ะเป็นสำ�นักนายกรัฐมนตรี เช่น ในปัจจุบนั ซึง่ ผอ. อพท. กล่าวว่า การปรับเปลีย่ น ในครัง้ นี้ น่าจะส่งผลดีกบั องค์การมหาชนแห่งนี้ เพราะจะช่วยทำ�ให้ มีการทำ�งานร่วมกันกับ กระทรวงการท่ อ งเที่ ย วที่ ดู แ ลและกำ � กั บ การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทยอยูด่ ว้ ย โดย อพท. จะเป็นเสมือนองค์กรพัฒนาสินค้า และบริการ เพื่อส่งต่อไปให้กับ ททท. อันเป็นหน่วยงานที่ จะส่งเสริมให้เกิดการขับเคลือ่ นต่อไป การสานงาน
ต่ อ กั บ ทางกระทรวงการท่ อ งเที่ ย วและกี ฬ า หากจะต้องไปอยูใ่ ต้รม่ ชายคาเดียวกัน ไม่นา่ จะ เกิดปัญหาแต่อย่างใด เพียงแต่ตอ้ งปรับวิถกี าร ทำ�งานจากสำ�นักนายกฯ มาทีก่ ระทรวงท่องเทีย่ ว เท่านั้น การจัดระบบ การทำ�งาน ก็จะคล่องตัว กรมการท่องเที่ยวก็จะเป็นฝ่ายตรวจสอบดูแล ขณะที่ ททท. จะเป็นฝ่ายส่งเสริม ในขณะที่ อพท. จะเป็ น ฝ่ า ยพั ฒ นาท่ อ งเที่ ย วในชุ ม ใน ชุมชนต่างๆ เหมือนฝ่ายผลิตนัน่ เอง การซ้�ำ ซ้อน ในอดีตทีเ่ คยเกิดขึน้ ก็จะหมดไป โดยการทำ�งาน ร่วมกันกับภาคเอกชน ก็มีอยู่ตลอดมา เช่นใน ส่วนของคุง้ บางกระเจ้าก็จะมีทางกลุม่ เซ็นทรัล และทางกลุ่ม ปตท. และมีภาคเอกชนแห่งอืน่ ๆ อีก มีพน้ื ทีอ่ กี หลายทีท่ ตี่ อ้ งดำ�เนินการเช่น อีสาน ใต้ ที่จะเชื่อมไปยังสปป.ลาว กัมพูชา
ประกาศศักดิ์ศรี อพท. บนเวที GSTC
ในช่วงเดือนมีนาคมที่จ ะมาถึง จะมีการ ประชุมครัง้ สำ�คัญ ระดับประวัตศิ าสตร์ คือการ ประชุม GSTC ของ เอเชีย แปซิฟิก ครั้งแรกใน ไทย จัดทีเ่ ชียงใหม่ ระหว่างวันที่ 28 กุมภาพันธ์ ถึง 2 มีนาคม มีผเู้ ข้าร่วม 200-300 คน ตอนนี้ ทาง อพท.ได้มกี ารขยายความร่วมมือไปยัง 19 มหาวิทยาลัยเพื่อขยายเครือข่ายออกไป การร่วมมือกับประเทศใกล้เคียง มีการร่วมมือ กับกระทรวงท่องเทีย่ วสปป.ลาว มีการยกระดับ จาก CP Thailand มาเป็น CP Lanchang ซึง่ ต่อไปก็จะมี อีกหลายประเทศทัง้ พม่า มาเลเซีย เวียดนาม กัมพูชาขยายวงกว้างออกไป เพื่อให้ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวของอาเซียน ของโลก มีความยั่งยืน ในการประชุม GSTC เอเชีย แปซิฟิก ที่จะ จัดขึ้นเร็วๆ นี้นั้น ทางอพท. จะมีการสื่อให้ คนในวงการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนให้ทราบว่า
20
Thailand Industrial Today
จะมีการพัฒนาด้านนีข้ องไทยอย่างไร ให้ทราบ ถึงการดำ�เนินการรักษา ฟื้นฟู การมีส่วนร่วม ของคนในวงการท่องเทีย่ วควรจะเป็นเช่นไร สิง่ ทีค่ าดหวังจากงานนีค้ อื ภาพลักษณ์ของไทยใน เวทีท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนจากทั่วโลกจะดียิ่งขึ้น ต่างชาติที่ไม่เคยรู้จักว่า ไทยมีการดำ�เนินการ ด้ า นนี้ ก็ จ ะได้ ป ระสานงานกั น ต่ อ ไปอย่ า ง ต่อเนื่อง และหน่วยงานภาครัฐของไทยที่จะมี โอกาสทำ � งานร่ ว มกั น เห็ น ภาพลั ก ษณ์ ข อง อพท.มากขึ้น ในปัจจุบัน ทางอพท. ยังไม่ได้มีการกำ�หนด เป็น KPI ว่า จะต้องมีการส่งเสริมให้นกั ท่องเทีย่ ว ไทยและต่างชาติมากน้อยเพียงใด องค์กรของ อพท. พัฒนาสินค้าท่องเทีย่ วให้ ททท.รับลูกไป ส่งเสริมทำ�โปรโมชั่นกันต่อไป เพื่อให้มีการ ทำ�งานอย่างต่อเนือ่ ง การพิจารณา Sub brand ว่าจะเป็นอย่างไรต้องใช้เวลาอีกสักระยะ อพท. มีงบประมาณ 420 ล้าน เป็นเงินเดือนเสีย 120 ล้ า น ส่ ว นใหญ่ เ ราจะเป็ น การอบรม บุคลากรเสียมากกว่า การดำ�เนินการจะอยู่ที่ พื้นที่ปฏิบัติเสียเป็นส่วนใหญ่ “เวที GSTC มีเรื่องสำ�คัญที่ต้องกล่าวถึง อย่างแน่นอน คือ ในภาวะทีเ่ ทคโนโลยีสารสนเทศ ได้มา “ป่วน” โลกหรือยุค Disruptive IT เช่นนี้ จะมีการประเมินว่า อีก 5 ปีจะมีการเปลีย่ นแปลง อย่างไร พฤติกรรมของนักท่องเทีย่ ว คนทีเ่ กีย่ วข้อง กับการท่องเทีย่ ว ก็เปลีย่ นแปลงไป สิง่ ทีจ่ ะต้อง มีการประเมินต่อไปคือ e-pocket และ e money เกิดขึน้ คนจะตกงานมากขึน้ จีนจะมีบทบาทใน ภูมภิ าคนีม้ ากยิง่ ขึน้ คนทีต่ กงานในเมืองหลวง ก็ควรจะไปทำ�งานภาคท่องเทีย่ วในชุมชน รูง้ าน วัฒนธรรม ประเพณี ทีย่ งั พร้อมให้คนไปทำ�งาน อี ก มาก หาศิ ล ปิ น หรื อ คนเก่ ง กู รู ใ นแต่ ล ะ ภูมิภาค ในแต่ละท้องถิ่นมาให้ความรู้กับคน ที่ ก ลั บ มาจากเมื อ งหลวงเพื่อ งานในท้ อ งถิ่น หรือชุมชนดัง้ เดิมของตนทำ� ไปอยูก่ บั ครอบครัว ทำ�ให้มีความอบอุ่น หรือการหวนคืนกลับสู่ มาตุภูมิเพื่อสร้างสังคมของครอบครัว" ผอ.อพท. ได้กล่าวด้วยว่า ปัญหาในการ ดำ�เนินการของ อพท.ทีม่ อี ยูค่ อื ชุมชนทีเ่ ข้าร่วม ยังไม่เข้มแข็งเท่าทีค่ วรจะเป็นความเป็นปึกแผ่น ในการนำ�เสนอความต้องการ หรือลงมือปฏิบตั ิ เพื่อให้รุกไปข้างหน้าได้นั้น ยังไม่เป็นดังที่หวัง และข้ อ สำ � คั ญ คื อ ความคิ ด สร้ า งสรรค์ จ าก ประชาชนท้องถิน่ ยังไม่มากอย่างทีจ่ ะเป็น ในขณะ ทีย่ ังขาดแรงขับเคลือ่ นกลไกที่จะดำ�เนินการให้ ทุกอย่าเดินหน้าไปตามเป้าหมายที่ได้วางไว้
อพท. กับวิสัยทัศน์ท่องเที่ยว “อันยั่งยืน”
ย้ายสังกัดสู่ กระทรวงการท่องเที่ยว เพื่อความชัดเจน
นายทวีพงษ์ กล่าวเพิ่มเติมด้วยว่า เพื่อให้ สามารถดำ�เนินการตามแผนขับเคลื่อน 4 ปี และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ทาง อพท. ได้ดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขพระราชกฤษฎีกา จัดตัง้ องค์กร คาดว่าจะเสร็จสมบูรณ์ในเร็วๆ นี้ จากนัน้ จะดำ�เนินการปรับโครงสร้างองค์กรใหม่ เพื่ อ ปรั บ บทบาทภารกิ จ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบายรัฐบาลตามมติคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ 24 กรกฎาคม 2560 กรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 25602564) แผนพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560-2564) Sustainable Development Goals หรื อ SDGs แผน ยุ ท ธศาสตร์ ก ารท่ อ งเที่ ย วในเขตพั ฒ นาการ ท่องเทีย่ ว รวมทัง้ การได้รบั มอบหมายจากคณะ รั ฐ มนตรี ใ ห้ ร่ ว มดำ � เนิ น งานในเขตพั ฒ นา การท่องเทีย่ ว เพือ่ ให้สามารถขับเคลือ่ นภารกิจ
ในการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่าง ยั่ ง ยื น และพั ฒ นาขี ด ความสามารถด้ า นการ ท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นด้านความ ยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมวัฒนธรรม และวิถีชีวิต ชุมชนท้องถิ่นซึ่งเมื่อแก้ไขพระราชกฤษฎีกา จัดตัง้ องค์กร อพท.จะขยายพืน้ ทีก่ ารดำ�เนินงาน ครอบคลุม 9 เขตพัฒนาการท่องเทีย่ ว (คลัสเตอร์) โดยคลัสเตอร์ทจ่ี ะเพิม่ เข้ามา คือ คุง้ บางกระเจ้า, อารยธรรมอีสานใต้, ชายฝัง่ ทะเลตะวันตก และ อันดามันและหมู่เกาะทะเลใต้
Thailand Industrial Today
MAR– APR 2019
21
อพท. องค์กรจัดการพืน้ ทีพ่ เิ ศษ ว่าด้วยพันธกิจ ท่องเทีย่ ว ทีต่ อ้ งรังสรรค์ให้เกิดความถาวร และ ยั่งยืนนี้ มีภารกิจที่ต้องขับเคลื่อนอีกมากมาย กั บ บทบาทใหม่ ที่ ต้ อ งไปอยู่ ใ ต้ ช ายคาใหม่ กับกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา จะเป็น บทพิสูจน์อันสำ�คัญว่า ไม่ว่าจะอยู่ในสภาวะ การทำ � งานเช่ น ใด หากมี เ ป้ า หมายที่ แ น่ ชั ด ความมุ่ ง มั่ น ที่ เ ต็ ม ร้ อ ยเสี ย แล้ ว อย่ า งไรเสี ย ภารกิจก็จะต้องสำ�เร็จลงจนได้
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
Tel. : 66 (0) 2838 9999
Business Movement
SME 2019
ทิปเด็ด
ปั้น SME ให้เปรี้ยง ในปี 2019
MAR– APR 2019
ทุกวันนี้ การจะมีธุรกิจเป็นของตัวเองได้กลายเป็นเรื่องง่ายกว่าในยุคไหนๆ เพราะ แรงสนับสนุนและโอกาสทีม่ อี ยูใ่ นทุกทิศ นับตัง้ แต่เทคโนโลยีใหม่ๆ ไปจนถึงมาตรการสนับสนุน จากภาครัฐอีกมากมาย ที่เข้ามาเติมพลังให้ธุรกิจ SME สามารถลุกมาท้าชนกับแบรนด์ ใหญ่ได้แบบไม่ต้องกลัวใครหน้าไหน แต่ถา้ มองจากอีกด้าน SME ในยุคนีก้ ม็ เี ครือ่ งมือให้เลือกใช้มากมายเหลือเกิน จนหลายคน อาจจะสับสนว่าทางเลือกไหนคือคำ�ตอบที่เข้าเป้าที่สุดสำ�หรับตัวเอง ปีใหม่นี้ เราเลยมี ทิ ป เด็ ด ๆ จากไมโครซอฟท์ แ ละพั น ธมิ ต รมาช่ ว ยชี้ ท างให้ ธุร กิ จ ของคุ ณ ออกตั ว และ เดินหน้าได้ปังกว่าใครในปี 2019
24
Thailand Industrial Today
าะ น ด์
น มี ละ
5 ทิปเด็ด ปั้น SME ให้เปรี้ยงในปี 2019
อยากออกตัวดี ดีดตัวแรง ต้องมี Tool เด็ด
สำ�หรับใครที่กำ�ลังเตรียมตัวบอกลาชีวิต มนุษย์เงินเดือนมาเริ่มต้นธุรกิจใหม่ หรือลอง สัมผัสวิถชี วี ติ ฟรีแลนซ์ดสู กั ครัง้ เราก็ขอเชียร์ให้ มีของดีเป็นพืน้ ฐาน เริม่ จากของใช้ท�ำ งานอย่าง คอมส่วนตัวหรือของพนักงานที่เดี๋ยวนี้มีทาง เลือกหลากหลาย จากแล็ปท็อปทีด่ ธู รรมดาแต่ บางเบาพกสบาย ไปจนถึ ง เครื่ อ งทู อิ น วั น ที่ แปลงร่ า งเปนแท็ บ เล็ ต ได้ ต ามใจชอบอย่ า ง Surface Go ส่วนการเลือกใช้ซอฟต์แวร์แท้ ก็จะช่วยให้คุณหมดกังวลด้วยความปลอดภัย จากไวรัสสารพัดชนิด แถมยังได้ลูกเล่นใหม่ๆ มาใช้เรื่อยๆ อีกต่างหาก ของดีครบแล้ว จะดีกว่านี้ก็ต้องมีหัวดีด้วย แต่เดี๋ยวก่อน อย่าเพิ่งรีบไปเรียนต่อกัน! เดี๋ยว นี้ เ ราสามารถเรี ย นรู้ ค วามสามารถใหม่ ๆ ได้เพียบจากหน้าจอ แค่เลือกหนังสือดีๆ สั ก เล่ ม จาก Ookbee มาอ่ า นในวั น ว่ า ง เข้าคอร์สเรียนออนไลน์สำ�หรับคนทำ�งานจาก ฝีมือคนไทยกับ SkillLane หรือโกอินเตอร์ไป ลองคอร์สของ LinkedIn Learning ก็ได้ทั้งนั้น ทำ�งานคล่อง แชร์ไฟล์ง่าย ประชุมลื่น ต้อง Office 365 พูดถึง “โปรแกรมทำ�งาน” คงไม่พ้นต้อง นึกถึงบัดดีร้ ใู้ จของคนทำ�งานอย่าง Word-ExcelPowerPoint แต่รมู้ ยั้ ว่าเดีย๋ วนีโ้ ปรแกรม Office เค้าไปไกลขนาดไหนแล้ว จากเดิมที่ขายกล่อง ราคาเป็นหมืน่ ตอนนีจ้ า่ ยแค่เดือนละไม่ถงึ ร้อย ก็ได้ใช้ของแท้สบายๆ กับ Office 365 ที่มา พร้อมกับทีเ่ ก็บข้อมูลบนคลาวด์ 1TB ใหญ่จนลืม คำ�ว่าเต็ม แถมจัดประชุมทีมได้ง่ายสุดกับตัว เลือกทั้ง Skype และ Microsoft Teams แค่ นั้นยังไม่พอ Office ยุคนี้ไม่ได้มานั่งเฉยๆ ให้ เราพิมพ์งานใส่ แต่ถึงขนาดมีฟังก์ชัน AI ในตัว ทีช่ ว่ ยให้ท�ำ งานง่ายเหมือนมีผชู้ ว่ ยส่วนตัว เรียกว่า เป็น “Everyday AI” ให้เรียกใช้กันได้ทุกวัน (และทั้งวัน) เลยทีเดียว แค่นั้นยังไม่พออีก ขอกระซิบบอกอีกต่อว่า ทั้ง HRTable และ EazyBiz ที่พูดถึงไปข้างบน มีแพ็กเกจขายคูร่ ายเดือนกับ Office 365 ด้วยนะ คุ้มกว่านี้ ไม่มีอีกแล้ว
25
Thailand Industrial Today
MAR– APR 2019
เซย์โนกับกระดาษ ไปผงาดบนคลาวด์
เคยมั้ย? กับการนั่งหัวปั่นคำ�นวณเงินเดือน จนแทบไม่ทนั จ่าย จะเช็กวันมาสายหรือดูวนั ลา
SME 2019
ไม่แพงอย่างที่คิด กับราคาเริ่มต้นต่อเดือนใน หลักร้อย แบบที่ซื้อกาแฟสองแก้วยังแพงกว่า! และแน่นอนว่าจะเอาระบบขึน้ คลาวด์ทงั้ ที ก็นา่ จะต้องยกหน้าร้านขึ้นตามไปด้วยแบบง่ายๆ สบายๆ กับ BentoWeb บริการอีคอมเมิร์ซ แบบครบวงจรที่มีครบทั้งระบบหน้าบ้านและ หลังบ้าน รองรับลูกค้าได้ทั้งทางหน้าจอมือถือ พีซี หรือผ่านเพจเฟซบุ๊ค
MAR– APR 2019
รู้ลึก โตเร็ว ด้วย Big Data และ AI สองเรื่องใหญ่ที่ไม่ไกลเกินเอื้อม
ก็ ลำ � บากค้ น เอกสารแทบตาย หรื อ สำ � หรั บ สายฟรีแลนซ์ กว่าจะมานั่งทำ�ใบเสนอราคา ไล่รับเช็ก ออกใบเสร็จ ก็หมดไปแล้วไม่รู้กี่วัน ถึ ง เวลาตั ด ปั ญ หาพวกนี้ ใ ห้ ห มดไปด้ ว ยสอง บริการคลาวด์ทร่ี บั รองว่าจะทำ�ให้ชวี ติ คุณง่ายขึน้ ทั้ง HRTable โปรแกรมบริหารงานบุคคลบน คลาวด์ที่คล่องตัวกว่า หมดความวุ่นวายกับ กองเอกสารล้นตู้ทะลุแฟ้ม ใช้งานได้ทั้งฝั่ง HR
และพนักงาน แถมยังตอบทุกโจทย์ตั้งแต่การ คำ�นวณเงินเดือนและออกสลิปแบบอัตโนมัติ เช็กวันลามาสายได้ง่ายๆ หรือจะล้ำ�ขนาดใช้ พิกัด GPS ระบุเวลาเข้า-ออกงานก็ยังได้ ส่วน EazyBiz ตอบโจทย์ทงั้ SME และฟรีแลนซ์ดว้ ย ฟังก์ชนั การออกเอกสารสารพัดได้งา่ ยๆ ตัง้ แต่ ใบเสนอราคายาวไปจนถึงใบส่งของและใบเสร็จ ทัง้ หมดนีอ้ าจจะฟังดูอลังการ แต่ขอบอกเลยว่า 26
Thailand Industrial Today
เห็นพาดหัวมาเป็น Big Data กับ AI อาจ จะทำ�ให้เจ้าของกิจการบางคนเมินหนีไปแล้ว เพราะเข้าใจว่าต้องลงทุนมหาศาล แต่ทจ่ี ริงแล้ว ธุรกิจ SME ยุคใหม่สามารถนำ�สองเทคโนโลยี สำ�คัญนีม้ าใช้งานได้แบบไม่ตอ้ งถังแตก แถมยัง ไม่ต้องไปลงทุนจ้างโปรแกรมเมอร์เองกับมือ ด้วยซ้ำ� ธุรกิจเจ้าไหนทีข่ ายของออนไลน์ผา่ นโซเชียล มีเดีย พลาดไม่ได้กับระบบ social listening ฝีมอื คนไทยอย่าง InsightEra ทีจ่ ะช่วยเจาะลึก ข้อมูลปริมาณมหาศาลเพื่อค้นหาทิศทางการ ตลาดรูปแบบใหม่ๆ ที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้
5 ทิปเด็ด ปั้น SME ให้เปรี้ยงในปี 2019
เป๊ะกว่า แถมยังไม่ต้องกลัวว่าลูกค้าจะเยอะ จนตอบไม่ทัน ขอแค่ยืมมือ AI อย่างเจ้าแช ทบอท CUBIKA จาก Digital Dialogue ที่ ออกแบบมาให้ ช่ ว ยตอบคำ � ถามของลู ก ค้ า แบบอัตโนมัตอิ ย่างรวดเร็วทันใจ และยังสร้าง เองได้โดยไม่ต้องเขียนโค้ด ส่วนใครที่อยากต่อยอดธุรกิจให้ล้ำ�ไปอีก ขั้ น ก็ ส ามารถดึ ง AI มาช่ ว ยเล็ ง เป้ า หา ลูกค้าใหม่ ยกระดับการบริการลูกค้าด้วย Dynamics 365 โซลูชั่นคลาวด์ที่ตอบทุก
โจทย์ของทุกธุรกิจ จัดการได้ทั้งระบบการเงิน ซัพพลายเชน บริการลูกค้า งานขาย และระบบ งานวันต่อวันให้ไหลลื่นสุดๆ
ขายเก่งไม่พอ ต้องทัง้ ซือ้ เก่ง-ส่งเก่งด้วย
SME สมัยนีม้ คี แู่ ข่งรอบตัว ถ้าอยากประสบ ความสำ�เร็จให้เหนือกว่าใคร ก็ตอ้ งทำ�ตัวให้เก่ง รอบด้านด้วย นอกจากการสร้างยอดขายแล้ว การจัดซื้อสินค้าหรือวัตถุดิบและการหาช่อง ทางขยายธุรกิจสูต่ ลาดใหม่ๆ ก็ส�ำ คัญไม่แพ้กนั
Thailand Industrial Today
MAR– APR 2019
27
SME รายไหนทีส่ นใจขยายเครือข่าย ไม่วา่ เพือ่ ซื้ อ หรื อ ขาย สามารถเข้ า ร่ ว มแพลตฟอร์ ม T-GoodTech ของกระทรวงอุตสาหกรรม เพือ่ เปิดโอกาสในการจับคูก่ บั ธุรกิจทัง้ ไทยและเทศ ต่อยอดกิจการได้แบบพุ่งพรวดแน่นอน ซื้อได้ ขายได้ ต่อไปต้องส่งได้ ถ้าไปรษณีย์ ปกติยังเร็วไม่ทันใจลูกค้า คงต้องหันไปหาทาง เลือกใหม่ๆ อย่าง GrabExpress หรือ Skootar ทีพ่ ร้อมตอบโจทย์ตงั้ แต่สง่ ข้าวยันวิง่ เอกสารได้ อย่างรวดเร็วและคุ้มค่า ขนของดีมาให้ขนาดนีแ้ ล้ว ถ้าสนใจหยิบตัว ไหนไปลองใช้ ติดสปีดให้ธรุ กิจวิง่ ฉิวตัง้ แต่ตน้ ปี ล่ะก็ ลองสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้จากผู้ให้ บริการแต่ละราย หรือเช็กข้อมูลบริการสำ�หรับ SME จากไมโครซอฟท์ได้ที่ : https://bit.ly/2CZlnMs พร้อมติดตามความ เคลื่อนไหวล่าสุดของไมโครซอฟท์ในไทยได้ที่ https://news.microsoft.com/th-th/
The Digistart IS is an intelligent soft starter. 7.5 to 800kW 200V, 400V, 575V, 690V
AC & DC Drives,Servos and Drive System AC & DC Drives,Servos and Drive System EMERSON (THAILAND) LTD. Tel : 02 962 2092-9 Fax : 02 962 2090-1 Email : info.ctt@emerson.com www.controltechniques.com TM
www.controltechniques.com
Industrial Automation
CONSIDER IT SOLVED™ Network Power • Process Management • Climate Technologies • Storage Solutions • Industrial Automation • Motor Technologies • Appliance Solution • Professional Tools
Advertising
Thailand Industrial Today
MAR– APR 2019
31
Advertising
บริษัท แม่กลองเคมีคอล จำ�กัด จำ�หน่าย ส่ง-ปลีก เคมีภณ ั ฑ์
สำ�หรับอุตสาหกรรมทัว่ ไป และห้องแล็บกว่า 1,000 ชนิด อาทิ รมดำ�โลหะ ทองเหลือง ทองแดง เหล็ก สแตนเลส ดีบุก รมทองเหลืองให้เขียว หรือดูเก่า ชุบทองเหลืองเหมือนใหม่ หรือขัดให้เป็นสีเงิน ล้างรอยอ๊อกอาร์กอน รอยด่างดำ�สแตนเลส เผาแต่งสีพลอย อ๊อกรอยแตกร้าว ล้างพลอย
สารใช้ทำ�นํ้ายาฟาวเทนของโรงพิมพ์ กาวผง นํ้ายาซักผ้าใช้กับเครื่อง ราคาย่อมเยา ยาย้อมผม ย้อมง่าย ดำ�ใน 2 นาที ทนนับสัปดาห์ เราอาสาจัดหาเคมีภัณฑ์ให้ทา่ นทุกประเภท ให้คำ�แนะนำ�ปัญหาเคมีตา่ งๆ แบบกันเอง-ฟรี
MAR– APR 2019
880-880/1 ตลาดน้อย ถนนเจริญกรุง เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ 10100
Tel.: 0-2234-2648, 0-2237-5085, 0-2639-0016 Fax: 0-2639-0016 E-mail: maeklongchemical@gmail.com 32
Thailand Industrial Today
Business Movement
Fourth Industrial Revolution
อุตสาหกรรม
ภาคการผลิตของไทย
มีแนวโน้มเติบโตถึง 5 หมื่นล้านดอลลาร์ (หรือ 1.6 ล้านล้าน บาท) จากการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4
MAR– APR 2019
ซิสโก้ และ บ. เอ.ที. เคียร์เน่ (A.T. Kearney) เปิดเผยผลการศึกษา ล่าสุดชี้ว่าอุตสาหกรรมภาคการผลิตของไทยคาดการณ์ว่าจะเติบโตถึง 5 หมื่นล้านดอลลาร์ (หรือ 1.6 ล้านล้านบาท) ในทศวรรษหน้า จากการปรั บ ใช้ เ ทคโนโลยี ยุ ค ปฏิ วั ติ อุ ต สาหกรรมครั้ ง ที่ 4 (Fourth Industrial Revolution หรือ 4IR) รายงานการศึกษาดังกล่าว มีชอื่ ว่า “เร่งการ ปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 ในอาเซียน: แผน ปฏิ บั ติ ก ารสำ � หรั บ อุ ต สาหกรรมการผลิ ต (Accelerating 4IR in ASEAN: An Action Plan for Manufacturers)” ระบุวา่ การเติบโตดังกล่าว เป็นผลมาจากผลผลิตที่มีมูลค่าสูงถึง 3.5-4 หมืน่ ล้านดอลลาร์ (หรือ 1-1.3 ล้านล้านบาท) และ การขยายช่องทางรายได้อื่นๆด้วยไลน์สินค้า ใหม่ๆ และการปรับปรุงคุณภาพสินค้า โดย ทั้งหมดนี้จะเกิดขึ้นได้หากภาคการผลิตปรับใช้ เทคโนโลยี 4IR การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 มีจุดเด่นที่ ระบบอีโคซิสเต็มส์อัจฉริยะที่เชื่อมต่อบุคลากร และเครือ่ งจักรเข้าด้วยกัน โดยอาศัย 5 เทคโนโลยี หลักทีไ่ ด้รบั การใช้งานอย่างแพร่หลายในห่วงโซ่ มูลค่าด้านการผลิต เทคโนโลยีทวี่ า่ นีไ้ ด้แก่ IoT, AI, ระบบการพิมพ์ 3 มิติ, เทคโนโลยีหุ่นยนต์ ขั้นสูง และอุปกรณ์สวมใส่ อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ภาคการผลิตในอาเซียน (สมาคมประชาชาติ
แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้) รวมถึงประเทศไทย ยังคงอยู่ในช่วงเริ่มต้นของการพัฒนาสู่ระบบ ดิจทิ ลั โดยมีรปู แบบการดำ�เนินงานทีย่ งั ล้าสมัย และการปรับใช้เทคโนโลยี 4IR ยังมีความช้า และไม่ต่อเนื่อง จาก 5 สาเหตุหลักดังต่อไปนี้: แรงงานยังมีราคาถูก: ค่าจ้างแรงงานใน โรงงานของประเทศต่างๆ ในอาเซียน (ยกเว้น สิงคโปร์)ยังคงอยูใ่ นระดับต่� ำ และเป็นอุปสรรค ต่อการปรับใช้เทคโนโลยี 4IR แม้กระทั่งใน บริษทั ระดับโลกหลายบริษทั ทีม่ กี ารดำ�เนินงาน ในภูมิภาคนี้ ยังไม่มคี วามต้องการของลูกค้าในตอนนี:้ ความต้ อ งการของลู ก ค้ า ในปั จ จุ บั น ยั ง ไม่ ไ ด้ สร้ า งแรงผลั ก ดั น ให้ แ ก่ ผู้ ผ ลิ ต ในการสร้ า ง กระบวนการผลิตที่คล่องตัวและไร้รอยต่อ ไม่สามารถเข้าถึงผู้เชี่ยวชาญที่มีความ ชำ�นาญ: การเข้าถึงบุคลากรที่เชี่ยวชาญและ มีทกั ษะยังคงเป็นปัญหาท้าทายทีส่ �ำ คัญสำ�หรับ ภาคการผลิต เพราะบุคลากรเหล่านั้นมีค่าจ้าง ที่สูงเกินไปสำ�หรับผู้ผลิตหลายราย 34
Thailand Industrial Today
อีโคซิสเต็มส์ของซัพพลายเออร์มีความ ซับซ้อนและแยกออกเป็นส่วนๆ: ภาคการผลิต มักไม่แน่ใจเกี่ยวกับการดำ�เนินการในสภาพ แวดล้อมของซัพพลายเออร์ 4IR ที่มีความซับ ซ้อนและเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง เป้าหมายทางธุรกิจเป็นแบบระยะสั้น และไม่ชัดเจน: การจัดซื้อและติดตั้งเทคโนโลยี ใหม่อาจมีค่าใช้จ่ายที่สูงมาก จึงเป็นเรื่องยากที่ ภาคการผลิ ต จะสามารถระบุ เ ป้ า หมายทาง ธุรกิจที่เหมาะสม นาย นาวีน เมนอน ประธานประจำ�ภูมภิ าค อาเซียนของซิสโก้ กล่าวว่า “อุตสาหกรรมภาค การผลิตเป็นอุตสาหกรรมหลักในการขับเคลือ่ น การเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ของกลุ่ ม ประเทศ อาเซี ย นซึ่ ง มี มู ล ค่ า ประมาณ 6.7 แสนล้ า น เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ หรื อ ร้ อ ยละ 21 ของจี ดี พี ปีงบประมาณ 2561 ของภูมภิ าค อุตสาหกรรม การผลิตเป็นทีร่ กู้ นั ดีวา่ มีผลกระทบสูงสุด โดยมี การคาดการณ์ว่าทุกหนึ่งดอลลาร์ที่ใช้ในภาค การผลิตนัน้ จะมีการเพิม่ มูลค่าอีก 1.81 ดอลลาร์
แนวโน้มการเติบโตของอุตสาหกรรมภาคการผลิต
คุณนาวีน เมนอน
เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจสำ�หรับการจ้างพนักงาน และการจ้างงานที่เพิ่มขึ้นอีก 4 งาน ดังนั้นการ เร่งปรับใช้เทคโนโลยี 4IR จะช่วยให้ภูมิภาค อาเซียนรักษาความได้เปรียบในการแข่งขันซึ่ง ปัจจุบันขึ้นอยู่กับกับค่าแรงที่ค่อนข้างต่ำ� และ ทำ�ให้ภาคธุรกิจนี้ยังคงเติบโต และเป็นแรงขับ เคลื่อนสำ�คัญในการเติบโตทางเศรษฐกิจ” นาย วัตสัน ถิรภัทรพงศ์ กรรมการผูจ้ ดั การ ประจำ�ประเทศไทยและอินโดจีนของซิสโก้ กล่าวว่า “เป็นทีแ่ น่นอนว่าภาคการผลิตของไทย จำ�เป็นต้องปรับใช้เทคโนโลยี 4IR แต่ความ ท้าทายที่สำ�คัญก็คือ จะต้องค้นหาแนวทางที่ เหมาะสมเพือ่ เร่งการปรับใช้เทคโนโลยีดงั กล่าว โดยมี 3 ประเด็นหลักที่ควรพิจารณา ได้แก่ โอกาสระยะสั้นทางด้าน 4IR ที่จะช่วยเพิ่ม มูลค่าสูงสุดให้กบั บริษทั , ผูผ้ ลิตสามารถปรับใช้ โซลู ชั่ น อย่ า งยั่ ง ยื น และเหมาะสมได้ อ ย่ า งไร และจะสามารถจัดการกับปัญหาการดำ�เนิน งานที่หยุดชะงักเพื่อรักษาความต่อเนื่องของ ธุรกิจได้อย่างไร”
รายงานฉบับนี้แนะนำ�แผนปฏิบัติการ 6 ข้อ ที่ จ ะรองรั บ การพั ฒ นาด้ า น 4IR สำ � หรั บ ภาคการผลิตของไทย:
คุณวัตสัน ถิรภัทรพงศ์
สร้ า ง Partner Ecosystem: เลื อ ก กลยุทธ์ความร่วมมือทีเ่ หมาะสมและสอดคล้อง กับวิสัยทัศน์ระยะยาว สร้างโครงสร้างพื้นฐานที่ปรับขนาดได้ อย่างยืดหยุน่ : ควรมุง่ เน้น 4 ด้านทีส่ �ำ คัญ ได้แก่ โครงสร้างพื้นฐานการเชื่อมต่อที่มีเสถียรภาพ และปรับขนาดได้อย่างยืดหยุ่น, ระบบรักษา ความปลอดภั ย ทางไซเบอร์ แ บบอั จ ฉริ ย ะ, แพลตฟอร์ม IoT แบบอเนกประสงค์ และระบบ วางแผนด้านทรัพยากรและการผลิตแบบครบ วงจร รองรับการปรับเปลีย่ นอย่างยัง่ ยืน: ปรับ ใช้ เ ครื่ อ งมื อ ที่ ช่ ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพ กลยุ ท ธ์ ที่ เหมาะสมสำ � หรั บ การเปลี่ ย นผ่ า นสู่ ดิ จิ ทั ล รวมถึงความสามารถทีเ่ ฉพาะเจาะจง ดัชนีชวี้ ดั และการปรับเปลี่ยนกระบวนการโดยมุ่งเน้น การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง รายงานฉบับนี้เน้นย้ำ�ว่าภาครัฐมีบทบาท สำ � คั ญ ในการขั บ เคลื่ อ นการเติ บ โตของ อุตสาหกรรมการผลิต อย่างไรก็ดี ประเทศส่วน ใหญ่ ใ นอาเซี ย นเพิ่ ง อยู่ ใ นช่ ว งเริ่ ม ต้ น ของ กระบวนการเปลี่ ย นผ่ า นสู่ ดิ จิ ทั ล ในภาค การผลิต กลยุทธ์ระดับชาติในประเทศเหล่านี้ รวมถึงประเทศไทย มักมุ่งเน้นการเสริมสร้าง ขีดความสามารถของบุคลากร และการสร้าง อีโคซิสเต็มส์ที่แข็งแกร่งเพื่อส่งเสริมการลงทุน
35
Thailand Industrial Today
อย่างไรก็ตามมีการสนับสนุนที่จำ�กัดสำ�หรับ การปรับใช้เทคโนโลยี 4IR ในอุตสาหกรรมภาค การผลิ ต เพราะส่ ว นใหญ่ ภ าคการผลิ ต ครอบคลุมหลากหลายอุตสาหกรรม ซึง่ ไม่เพียง แต่การพัฒนาด้านเทคโนโลยีที่มากขึ้น ยังต้อง ให้ความสำ�คัญกับการทำ�งานร่วมกันระหว่าง บริ ษั ท ต่ า งๆ และภาครั ฐ ให้ ม ากขึ้ น โดย ครอบคลุมทัว่ ภูมภิ าคผ่านการค้าและการลงทุน นาย นิโคไล ดอบเบอร์สไตน์ พาร์ทเนอร์ ของบริษทั เอ ที เคียร์เน่ กล่าวว่า “อุตสาหกรรม การผลิตของไทยมีโอกาสที่ดีมากในการเป็น ผู้นำ�การพัฒนาระบบการผลิตโดยดิจิทัล และ ก้าวสู่เวทีระดับโลกด้วยการปรับใช้เทคโนโลยี 4IR อย่างไรก็ดี ภาคการผลิตจำ�เป็นต้องใช้ แนวทางที่มุ่งเน้นสองทาง กล่าวคือ แนวทาง ระยะสั้ น ที่ มุ่ ง เน้ น การแก้ ไ ขปั ญ หาท้ า ทายที่ เฉพาะเจาะจง และรับมือกับโอกาสด้วยการ ปรั บ ใช้ โ ซลู ชั่ น แบบเฉพาะจุ ด ส่ ว นแนวทาง ระยะกลางและระยะยาว จะต้องสร้างความ สามารถด้านการผลิตที่ก้าวล้ำ�และยั่งยืนผ่าน ความร่วมมือกับพันธมิตร และโครงสร้างพื้น ฐานที่ปรับขนาดได้อย่างยืดหยุ่น ซึ่งจะช่วยให้ ผู้ผลิตสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และ สานต่อวิสัยทัศน์ระยะยาวเพื่อบรรลุเป้าหมาย สูงสุด”
MAR– APR 2019
มุง่ เน้นปัญหาสำ�คัญ: ระบุปญ ั หาเร่งด่วน ที่จะต้องแก้ไข ระบุการใช้เทคโนโลยีทเี่ หมาะสม: ไม่ตนื่ เต้นไปกับเทคโนโลยีใหม่ๆ โซลูชั่นที่ไม่เหมาะ สม และฟุม่ เฟือยเกินความจำ�เป็น แต่ให้ศกึ ษา วิธีการแก้ไขปัญหาและกรณีการใช้งาน 4IR ที่จะสามารถเป็นส่วนหนึ่งของโซลูชั่น ดำ�เนินโครงการนำ�ร่องโดยอาศัยการ ทำ�งานร่วมกัน: พัฒนาโซลูชั่นร่วมกับบริษัท เทคโนโลยี และทดสอบและเรียนรู้เกี่ยวกับ โครงการนำ�ร่อง โดยอาศัยการกำ�กับดูแลที่ เหมาะกับเป้าหมาย
คุณนิโคไล
Business Movement
depa Digital Scholarship Fund
“ดีปา้ ” สร้างกำ�ลังคนพันธุด์ จิ ทิ ลั
MAR– APR 2019
หวังรองรับ EEC และ Thailand 4.0
นโยบาย Thailand 4.0 กลไกหนึ่งที่ส�ำ คัญ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต (new engine of growth) คื อ การพั ฒ นา 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย ซึ่งประกอบด้วยการ ต่อยอด 5 อุตสาหกรรมเดิมทีม่ ศี กั ยภาพ (First S-Curve) ประกอบด้วย อุตสาหกรรมยานยนต์ สมัยใหม่อตุ สาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อจั ฉริยะ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการ ท่องเทีย่ วเชิงสุขภาพ อุตสาหกรรมการเกษตร และเทคโนโลยีชวี ภาพ และอุตสาหกรรมการ แปรรูปอาหาร และการเติม 5 อุตสาหกรรม อนาคต (New S-Curve) ประกอบด้ ว ย อุตสาหกรรมหุน่ ยนต์และเครือ่ งจักรอัตโนมัติ อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ อุตสาหกรรม เชือ้ เพลิงชีวภาพและเคมีชวี ภาพ อุตสาหกรรม ดิจิทัล และอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร รวมถึ ง รั ฐ บาลยั ง วางนโยบายการพั ฒ นา ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เพือ่ ผลักดันกลุม่ อุตสาหกรรมเป้าหมายดังกล่าว ในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ซึง่ ปัจจัยสำ�คัญทีส่ ดุ ประการหนึง่ ของการเติบโต 36
Thailand Industrial Today
เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล
การลงทุนอันใกล้ ไม่วา่ จะเป็นพืน้ ทีด่ จิ ทิ ลั พาร์ค (Digital Park) หรือพืน้ ทีน่ วัตกรรม (Innovation Park) โดยเป็นการให้ทุนในการพัฒนาทักษะ ความรู้ ค วามสามารถด้ า นเทคโนโลยี แ ละ นวัตกรรมดิจิทัลในสาขาที่ขาดแคลน นำ�ร่อง ใน 5 สาขาสำ�คัญ ประกอบด้วย 1. การเขียนโปรแกรมระดับสูง 2. เทคโนโลยีหนุ่ ยนต์ (Robotics) 3. เมคคาทรอนิกส์ (Mechatronics) 4. การวิเคราะห์ขอ้ มูลระดับสูง (Data Analytics) 5. เทคโนโลยีปอ้ งกันด้านความปลอดภัย (Advanced Security) ซึง่ มาตรการดังกล่าว ดีปา้ จะให้การส่งเสริม และสนับสนุนสูงสุดไม่เกิน 1,000,000 บาท ต่อราย ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการเข้ารับ การอบรมหรือค่าใช้จ่ายในการยกระดับทักษะ ความรู้ด้านดิจิทัลตาม หลักสูตรหรือโครงการ ที่ได้รับ ความเห็นชอบจากดีป้า และเป็นค่า ตอบแทนหรือค่าจ้างในการปฏิบตั งิ านในสถาน ประกอบการที่มีข้อตกลงร่วมกันกับผู้ที่ได้รับ การส่งเสริมและสนับสนุน โดยคิดเป็นสัดส่วน ไม่เกินร้อยละ 60 และเจ้าของสถานประกอบ การจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายส่วนที่ เหลือร้อยละ 40 ทั้งนี้ มาตรการดังกล่าวได้รับ การตอบรับเป็นอย่างดีจากสถาบันการศึกษา และภาคอุ ต สาหกรรมทั้ ง ในประเทศและ ต่างประเทศ ได้แก่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี 37
Thailand Industrial Today
พระจอมเกล้ า ธนบุ รี มหาวิ ท ยาลั ย เกษตร วิทยาเขตศรีราชา Keio University (Japan) Mitsubishi Electric (Japan) Mitsubishi Electric (Thailand) เป็ น ต้ น ท่ า นที่ ส นใจ สามารถสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ทฝี่ า่ ย ส่งเสริมอุตสาหกรรมดิจิทัล สำ�นักงานส่งเสริม เศรษฐกิจดิจิทัล โทร. 02 141 7100-1 หรือ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.depa.or.th
ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์
MAR– APR 2019
ของอุตสาหกรรมเป้าหมายดังกล่าว คือ การ พัฒนากำ�ลังคนด้านดิจิทัล ที่มีความรู้ความ สามารถเพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการของ อุตสาหกรรมเป้าหมาย (S-Curve) และสนับสนุน แผนปฏิบัติการการพัฒนาบุคลากร การศึกษา การวิจยั และเทคโนโลยี (พ.ศ. 2560 – 2564) หนึง่ ในแผนงานย่อยภายใต้แผนการพัฒนาพืน้ ที่ ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) จากการศึ ก ษาของสำ � นั ก งานส่ ง เสริ ม เศรษฐกิจดิจทิ ลั (ดีปา้ ) ร่วมกับสถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย (TDRI) พบว่า ในปี 2560 ประเทศไทยมีความต้องการกำ�ลังคน ด้านดิจิทัลเพิ่มขึ้นประมาณ 14,000 คน และ มีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี ทั้งนี้ ถึงแม้จะมีจำ�นวนผู้ จบการศึกษาในสาขาด้านดิจทิ ลั หรือเทคโนโลยี สารสนเทศ จำ�นวนปีละ 20,000 คน แต่ปญ ั หา หลักด้านกำ�ลังคนดิจิทัลของประเทศไทย คือ มีบณ ั ฑิตทีจ่ บการศึกษาจำ�นวนมาก แต่ขาดแคลน กำ�ลังคนที่มีคุณภาพ เนื่องจากบัณฑิตที่จบมา ไม่สามารถทำ�งานได้จริง ประเทศไทยจึงต้อง เร่งพัฒนากำ�ลังคนด้านดิจิทัลที่มีคุณภาพและ สามารถทำ�งานได้จริง เพื่อตอบสนองความ ต้องการของภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ดีป้า โดย ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ผู้อำ�นวยการ จึงได้ริเริ่มและผลักดันให้เกิด มาตรการช่วยเหลือหรือการอุดหนุนการให้ทุน ศึ ก ษาด้ า นเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมดิ จิ ทั ล (depa Digital Scholarship Fund) ขึ้น เพื่อ กระตุน้ และเร่งรัดให้เกิดการสร้างระบบนิเวศน์ ในการพัฒนากำ�ลังคนด้านดิจิทัลเพื่อรองรับ อุตสาหกรรมเป้าหมาย รวมถึงการพัฒนาระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ซึ่งจะมี
Business Movement
Eastern Economic Corridor Development
MAR– APR 2019
เขตนวัตกรรม ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (EECi)
จากมติคณะรัฐมนตรี มีมติเห็นชอบหลักการ โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวัน ออก (Eastern Economic Corridor Development) เมือ่ วันที่ 28 มิถนุ ายน 2559 ให้เป็นเขตเศรษฐกิจชัน้ นำ�ของอาเซียน เพือ่ ส่งเสริม 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายให้เป็นกลไกขับเคลือ่ น เศรษฐกิจเพือ่ อนาคต (New Engine of Growth) โดยดำ�เนินการใน 3 จังหวัดภาคตะวันออก ได้ แ ก่ ชลบุ รี ระยอง และฉะเชิ ง เทรา นั้ น กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเห็นว่า การส่งเสริมให้เกิดการวิจยั และพัฒนาทางด้าน เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมในพื้ น ที่ ร ะเบี ย ง เศรษฐกิ จ ตะวั น ออก จะเป็ น กลไกสำ � คั ญ ประการหนึ่งที่จะส่งเสริมให้ระเบียงเศรษฐกิจ ตะวั น ออกของไทยเป็ น ศู น ย์ ก ลางการค้ า การลงทุ น และกำ � ลั ง คนของประเทศและ ภูมภิ าค เนือ่ งจากการพัฒนากลุม่ อุตสาหกรรม เป้ า หมายนั้ น จำ � เป็ น ต้ อ งอาศั ย องค์ ค วามรู้ ความเชี่ ย วชาญทางด้ า นเทคโนโลยี แ ละ นวั ต กรรมขั้ น สู ง เพื่ อ ปรั บ เปลี่ ย นภาค อุตสาหกรรมไปสู่ประเทศไทย 4.0 และเพื่อ เชื่อมโยงระบบการค้าและการขนส่งสมัยใหม่ ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม จึงเสนอแนวทาง การยกระดับและพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจตะวัน ออกด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม (EECi : Eastern Economic Corridor of Innovation)
เพื่อสร้างพื้นที่นวัตกรรมใหม่ในเขตระเบียง เศรษฐกิ จ ภาคตะวั น ออก ที่ มี ร ะบบนิ เ วศ นวัตกรรมที่เหมาะสม ช่วยส่งเสริมให้เกิดการ ทำ�วิจัยพัฒนาและนวัตกรรมร่วมกันระหว่าง ภาครัฐ เอกชน มหาวิทยาลัย รวมถึงชุมชนใน พืน้ ที่ เพือ่ ช่วยยกระดับและพัฒนาอุตสาหกรรม เดิม รวมถึงสร้างให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ ทัง้ ใน พื้ น ที่ ร ะเบี ย งเศรษฐกิ จ ภาคตะวั น ออกและ ในพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ ทัว่ ประเทศ อันจะนำ�ไปสูก่ ารเป็น ประเทศแห่งนวัตกรรม ควบคู่กับการยกระดับ คุณภาพชีวติ ของประชาชนในพืน้ ทีด่ ว้ ยเทคโนโลยี
38
Thailand Industrial Today
และนวัตกรรม ตลอดจนนำ�ไปสู่การพัฒนาที่ ยั่งยืนต่อไปในอนาคต
วัตถุประสงค์หลักของ EECi ได้แก่
(1) การวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยมุ่ ง เน้ น การวิ จั ย เพื่ อ ต่ อ ยอดไปสู่ ก ารใช้ งานจริง (Translational Research) (2) ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กบั ภาคอุตสาหกรรม เพื่อพัฒนา 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายของ ประเทศ ด้วยการยกระดับอุตสาหกรรมเดิม
เขตนวัตกรรม ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi)
ศูนย์รวมห้องปฏิบตั กิ ารวิจยั ของรัฐและเอกชน (Concentration of Public & Private Laboratory) เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดการทำ�งานร่วมกัน เกิดการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ตลอดจนอุปกรณ์และ เครื่องมือต่างๆ สนามทดสอบและการพั ฒ นาสู่ ก ารผลิ ต ระดับอุตสาหกรรม (Scale-up, Testbeds & Living Lab, Green House, Field Demo) มุง่ เน้น ขยายศูนย์ปฏิบตั กิ าร ศูนย์วเิ คราะห์ทดสอบ รวม ถึงโรงงานต้นแบบและโรงงานสาธิตในพื้นที่ เพื่ อ ให้ ส ามารถรองรั บ การเติ บ โตของภาค อุตสาหกรรมได้ ยกระดับอุตสาหกรรมเดิม (Existing Industry Upgrade) โดยการถ่ายทอดเทคโนโลยีและ นวัตกรรมขั้นสูงไปสู่ภาคอุตสาหกรรมที่มีอยู่ ในพืน้ ที่ EEC และพืน้ ทีอ่ น่ื ๆ ทัว่ ประเทศ เพือ่ ยกระดับกระบวนการผลิตให้สามารถพัฒนาไปสู่ อุตสาหกรรม ซึง่ จะช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพในการ ผลิต รวมทั้งลดระยะเวลาและแรงงานลง พัฒนาให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ (New Industry Development) ทีเ่ ป็นอุตสาหกรรมทีใ่ ช้เทคโนโลยี และนวัตกรรมขัน้ สูง ตลอดจนส่งเสริมธุรกิจขนาด กลางและขนาดเล็ก (SMEs) ทางด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาค ตะวันออกและพื้นที่อื่นทั่วประเทศ ตลอดจน พั ฒ นากำ � ลั ง คนของอุ ต สาหกรรมและสร้ า ง ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อรองรับอุตสาหกรรมใหม่ในอนาคต กำ�หนดให้เป็นเขตผ่อนปรนกฏหมายและ กฏระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องกับการวิจยั พัฒนา และ นวัตกรรม (Sandboxes for Regulatory Adjustment) เพื่อให้เป็นสนามทดสอบ ผลิตภัณฑ์ อุปกรณ์ แพลตฟอร์ม และแอปพลิเคชันอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง สนั บ สนุ น วิ ส าหกิ จ เริ่ ม ต้ น และวิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่อม (Startups & SMEs 39
Thailand Industrial Today
MAR– APR 2019
และสร้างอุตสาหกรรมใหม่ สร้างความเข้มแข็ง ให้อุตสาหกรรมในพื้นที่ควบคู่ไปกับการสร้าง อุตสาหกรรมใหม่ทใ่ี ช้เทคโนโลยีขน้ั สูง ตลอดจน ส่งเสริมให้เกิดวิสาหกิจเริม่ ต้น (Startup) ทางด้าน เทคโนโลยีและนวัตกรรมสำ�หรับเป็นพื้นฐาน รองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมใหม่ ทั้ง อุตสาหกรรมในระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวัน ออกและอุตสาหกรรมอื่นๆ ทั่วประเทศ (3) เชือ่ มโยงเครือข่ายการวิจยั และพัฒนาทัง้ ใน ประเทศและต่ า งประเทศ เพื่ อ สร้ า งสั ง คม นวัตกรรมของประเทศ รองรับความต้องการใช้ เทคโนโลยี ขั้ น สู ง ในลั ก ษณะบู ร ณาการการ ทำ�งานร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาคเอกชน สถาบันการศึกษา/สถาบันวิจัย และหน่วยงาน ภาครัฐ ในลักษณะการทำ�งานร่วมแบบ Triple Helix และขยายผลต่อยอดไปสู่การมีส่วนร่วม ของประชาชนในชุมชน ในลักษณะการทำ�งาน ร่วมแบบ Quadruple Helix “เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก” หรือเรียกว่า EECi จะประกอบไปด้วยระบบนิเวศ นวัตกรรมที่สมบูรณ์ เป็นพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ที่ มีความเข้มข้นของงานวิจยั พัฒนา และนวัตกรรม ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารวิ จั ย ทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชน ห้องทดลองภาคสนาม (Living Lab) ศูนย์วเิ คราะห์ ทดสอบชัน้ นำ� โรงงานต้นแบบและโรงงานสาธิต ควบคูก่ บั การยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชาชน ในพื้ น ที่ ด้ ว ยเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม ดั ง มี องค์ประกอบของระบบนิเวศนวัตกรรมและ แนวทางการดำ�เนินงานหลักดังนี้ เป็ น แหล่ ง วิ จั ย และนวั ต กรรมที่ เ ข้ ม ข้ น (R & I Focus) เพือ่ นำ�ผลงานวิจยั และนวัตกรรม ที่ได้ไปตอบโจทย์ภาคอุตสาหกรรมทั้งในพื้นที่ EEC และทั่วประเทศ โดยเป็นการทำ�งานร่วม กันทัง้ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา/สถาบันวิจยั และภาครัฐ
Support) ด้ ว ยการบ่ ม เพาะผู้ป ระกอบการ เทคโนโลยีใหม่ การเร่งสร้างผู้ป ระกอบการ เทคโนโลยี รวมถึงการสนับสนุนระบบนิเวศที่ เอือ้ ต่อการเติบโตของธุรกิจใหม่ โดยเฉพาะการ จัดตั้งชุมชนนวัตกรรมที่สะดวก และเป็นศูนย์ รวมของเครือข่ายการลงทุนของนักลงทุน (Venture Capital & Angel Funding) ด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมทั้งในประเทศและต่างประเทศ สร้างชุมชนขนาดใหญ่ของนวัตกร (Large Community of Innovators) ด้วยการเชือ่ มโยง เครือข่ายนวัตกร นักคิดค้นเทคโนโลยี นักลงทุน ด้านนวัตกรรม ตลอดจนสนับสนุนให้เกิดความ ร่วมมือในการถ่ายทอดเทคโนโลยีและพัฒนา นวั ต กรรมระหว่ า งเครื อ ข่ า ยนวั ต กรภายใน ประเทศกับเครือข่ายต่างประเทศ พร้อมส่งเสริม ให้เกิดการลงทุนและพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมจากบริษทั และสถาบันวิจยั ระดับ โลกในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคุณภาพของ ประเทศ (Advance National Quality Infrastructure) เพือ่ การตรวจสอบและประเมิน ตามหลักการทางวิทยาศาสตร์ในการรับรอง คุณภาพของสินค้าและบริการ และคุ้มครอง ผู้บริโภคให้ปลอดภัย ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของคนในชุ ม ชน (Solution for Community) โดยการนำ�เทคโนโลยี และนวัตกรรมไปช่วยสนับสนุนในการทำ�งาน และการดำ�เนินชีวิต รวมทั้ง ช่วยในการรักษา สภาพแวดล้อมและบริหารจัดการทรัพยากร ของชุมชน แก้ปญ ั หาและให้ค�ำ ปรึกษาแก่ภาคอุตสาหกรรม (Solution for Industry) โดยการนำ�เทคโนโลยี และนวัตกรรมเข้าไปช่วยแก้ปัญหาให้กับภาค อุตสาหกรรม ช่วยยกระดับอุตสาหกรรมด้วย นวัตกรรม ช่วยยกระดับกระบวนการผลิตให้ สามารถพัฒนาไปสูอ่ ตุ สาหกรรม 4.0 ซึง่ จะเพิม่ ประสิทธิภาพในการผลิต รวมทั้งลดระยะเวลา และแรงงาน EEC ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ โดยมี EECi เป็นเขตนวัตกรรมขับเคลือ่ นให้พนื้ ที่ EEC เป็น พืน้ ทีต่ น้ แบบในการนำ�นวัตกรรมเข้าไปผลักให้ เกิดอุตสาหกรรมใหม่ทใี่ ช้เทคโนโลยีขนั้ สูง และ ปรั บ ฐานอุ ต สาหกรรมเดิ ม ในพื้ น ที่ ใ ห้ เ ป็ น อุตสาหกรรมที่มีฐานนวัตกรรมและอยู่ร่วมกับ ชุมชนได้อย่างยัง่ ยืน โดยมุง่ เน้น 6 อุตสาหกรรม เป้าหมาย ได้แก่
Eastern Economic Corridor Development
MAR– APR 2019
1. เกษตรสมัยใหม่และเทคโนโลยีชีวภาพ 2. เชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ 3. แบตเตอรีประสิทธิภาพสูงและ ขนส่งสมัยใหม่ 4. ระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์ และอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ 5. เทคโนโลยีการบินและอวกาศ 6. เครื่องมือทางการแพทย์ EECi มีพนื้ ทีใ่ นการพัฒนานวัตกรรม ตัง้ อยู่ ที่ วั ง จั น ทร์ วั ล เลย์ , ระยอง โดยมี วิ ส เทค มหาวิทยาลัยวิจัยอยู่ในพื้นที่ EECi ประกอบ ด้วย กลุ่มนวัตกรรมขนาดใหญ่ 3 กลุ่ม ได้แก่ ไบโอโพลิส อริโพลิส และ สเปซ อินโนโพลิส เพื่ อ ทำ � งานร่ ว มกั บ เครื อ ข่ า ยมหาวิ ท ยาลั ย หน่วยงานรัฐ เอกชน ชุมชนในพื้นที่และหน่วย งานพัฒนาเทคโนโลยีทั้งในและต่างประเทศ ร่วมพัฒนา EEC ผ่านการร่วมสร้างเทคโนโลยี และรังสรรค์นวัตกรรม ท่ามกลางสภาพแวดล้อม ของระบบนิเวศนวัตกรรมที่เอื้อให้คนในพื้นที่ ได้เกิดการร่วมพัฒนาเทคโนโลยี มีโครงสร้างพื้น ฐานที่พร้อมสำ�หรับการทำ�งานและการใช้ชีวิต อย่างลงตัว รองรับการทำ�วิจัยและพัฒนาต่อย อดไปสู่การใช้งานจริง โดยมีเครื่องมือที่พร้อม ในการขยายขนาด เช่น โรงงานต้นแบบ, โรงงาน สาธิต, พืน้ ทีท่ ดลองผลิต, สนามทดลอง, ศูนย์กลาง
การวิเคราะห์ทดสอบและการมาตรฐาน, และ ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทาง เอกชน ภาครัฐและ มหาวิ ท ยาลั ย ทั้ ง จากในและต่ า งประเทศ สามารถร่วมใช้บริการอาคารและโครงสร้างพืน้ ฐานด้านวิจยั หรือเช่าพืน้ ทีร่ ะยะยาวเพือ่ จัดตัง้ ศูนย์วจิ ยั และนวัตกรรมของบริษทั ได้ โดยมีสทิ ธิ ประโยชน์ BOI สูงสุด และมีการผ่อนปรนกฎ ระเบียบ สำ�หรับนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในพื้นที่ EECi เป็นหัวใจของการสร้างนวัตกรรมใน EEC มีสภาพแวดล้อมและกลไกทีท่ �ำ ให้เกิดการแลก เปลีย่ นความรู้ ผสานเทคโนโลยีเพือ่ เปลีย่ นผ่าน ไปสู่กระบวนการผลิตและบริการขั้นสูงสำ�หรับ ประเทศไทย 4.0 ARIPOLIS : เมื อ งนวั ต กรรมระบบอั ต โนมั ติ หุ่นยนต์ และอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ในอดีตประเทศไทยมีการละเลยการพัฒนา เทคโนโลยีทางด้านระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์ และระบบอิเล็กทรอนิกส์อจั ฉริยะมาโดยตลอด เนื่ อ งจากเป็ น เทคโนโลยี ขั้ น สู ง ที่ ต้ อ งใช้ อ งค์ ความรูม้ าก ขาดผูเ้ ชีย่ วชาญและไม่ได้สร้างตลาด แรงงานขนาดใหญ่ให้เป็นแหล่งงานของประชากร ในประเทศ แต่เมื่อประเทศไทยปรับเปลี่ยน ทิ ศ ทางของประเทศให้ เ ข้ า สู่ ร ะดั บ ของการ พัฒนาเศรษฐกิจสูงขึ้นในระดับประเทศพัฒนา แล้ว (Developed Country) ในขณะทีป่ ระชากร ในระดับการใช้แรงงานของไทยมีแนวโน้มลดลง อย่างต่อเนือ่ ง การเร่งพัฒนาเทคโนโลยีทางด้าน ระบบอัตโนมัติ หุน่ ยนต์ และระบบอิเล็กทรอนิกส์ 40
Thailand Industrial Today
อัจฉริยะ จึงมีความสำ�คัญอย่างยิ่งยวดต่อการ พัฒนาประเทศไทยไปสู่ “ประเทศไทย 4.0” ถ้ า ไม่ เ ร่ ง พั ฒ นาเทคโนโลยี เ หล่ า นี้ ซึ่ ง จะเป็ น เทคโนโลยี ฐ านที่ สำ � คั ญ ในการนำ � ไปใช้ ใ น กระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมอื่นๆ อย่าง เร่งด่วนแล้ว จะเป็นไปไม่ได้เลยที่จะผลักดัน ประเทศไทยให้เข้าสู่ “ประเทศไทย 4.0” ได้ สำ�เร็จ เพื่อสนับสนุนการผลักดันประเทศไทยไปสู่ ยุค 4.0 ได้ส�ำ เร็จอย่างเป็นรูปธรรม ARIPOLIS ภายใต้โครงการ EECi จึงได้กำ�หนดแผนการ ดำ�เนินการในการผลักดันสนับสนุนการพัฒนา อุตสาหกรรมเป้าหมายทัง้ 6 กลุม่ อุตสาหกรรม ผ่านการเตรียมความพร้อมโครงสร้างพื้นฐาน ทางด้ า นเทคโนโลยี ท างด้ า นระบบอั ต โนมั ติ หุ่ น ยนต์ และระบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ อั จ ฉริ ย ะ ดังต่อไปนี้ ในระยะแรกจะเน้นการพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อสนับสนุนกลุ่มอุตสาหกรรมเกษตรสมัย ใหม่ กลุม่ อุตสาหกรรมพลังงานชีวภาพและเคมี ชีวภาพ และเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม 4.0 เช่น “AI for Precision Agriculture” การ ออกแบบอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะและเซนเชอร์ เพื่อการเกษตร โรงเรือนอัจฉริยะและแพลนท์ แฟคทอรี Drones/UAVsในภาคเกษตร การออกแบบอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ “Smart Manufacturing technology (Industrial IoT Sensors, Advanced Industrial Robotics/ Smart Machine, Factory 4.0 Testbed/
เขตนวัตกรรม ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi) อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ ป ระเทศไทยและเขต อุ ต สาหกรรมซอฟท์ แ วร์ ป ระเทศไทยก่ อ น ในระหว่างทีร่ องานก่อสร้างในพืน้ ที่ EECi เพือ่ รองรับการทำ�วิจัยและนวัตกรรมแล้วเสร็จ BIOPOLIS : เมืองนวัตกรรมชีวภาพ มุ่งพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมถึง การจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการขยาย ผลงานวิจยั ไปสูก่ ารใช้ประโยชน์ (Translational research) รองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมาย ของประเทศทัง้ ในกลุม่ ต่อยอดอุตสาหกรรมเดิม และ อุตสาหกรรมแห่งอนาคต โดยในระยะแรก มีสาขาเทคโนโลยีเป้าหมาย (Strategic technology area) ประกอบด้ ว ย (1) นวั ต กรรมเกษตร (Innovative Agriculture) (2) การผลิตสารที่ ให้ประโยชน์เชิงหน้าที่ (Functional Ingredient) (3) เทคโนโลยีเคมีและชีวกระบวนการ (Chemical & Bioprocess Technology) เพื่อรองรับการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ของอุตสาหกรรมชีวภาพ กลุ่มเทคโนโลยีที่มุ่งเน้นใน BIOPOLIS Innovative Agriculture ทิศทางการเกษตรของประเทศไทยจะต้อง มุ่งสู่การเกษตรแบบที่เน้นการเพิ่มมูลค่าและ ความยัง่ ยืนด้วยการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม ตอบโจทย์ทั้งการเพิ่มผลผลิตให้เพียงพอกับ ความต้องการทีเ่ พิม่ ขึน้ สร้างดุลยภาพระหว่าง การเพิ่มปริมาณผลผลิตกับการใช้ทรัพยากร
ในระยะที่สามจะเน้นการพัฒนาเทคโนโลยี เพื่ อ สนั บ สนุ น กลุ่ ม อุ ต สาหกรรมเครื่ อ งมื อ แพทย์ เช่น การบูรณาการเทคโนโลยีเครื่องมือ แพทย์ การพั ฒ นาต้ น แบบเครื่ อ งมื อ แพทย์ การทดสอบเครื่ อ งมื อ แพทย์ ศู น ย์ บ ริ ก าร เชือ่ มโยง อย. ISO/CE Certifying Coordination แพลตฟอร์มและโครงสร้างพื้นฐาน แผนภาพแนวทางการจัดตั้ง ARIPOLIS ใน EECi โดยเชือ่ มโยงกับขีดความสามารถเดิมทีม่ ี อยู่แล้วทั้งภายในกระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลโนโลยีและในมหาวิทยาลัย โดยจะ เชือ่ มเชือ่ มต่อกับขีดความสามารถของพันธมิตร ต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ ทั้งนี้มีเป้าหมาย เพือ่ ส่งเสริมอุตสาหกรรมไทย 6 กลุม่ เป้าหมาย เป็นสำ�คัญ โดยเริม่ กิจกรรมทีท่ �ำ ได้ทนั ทีทพี่ นื้ ที่ 41
Thailand Industrial Today
ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผูอ้ �ำ นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
MAR– APR 2019
Sandbox/Living Lab, Learning Factory for Workforce Reskilling, Augmented/Virtual Reality for Industry)" ในระยะถัดไปจะเน้นการพัฒนาเทคโนโลยี เพื่ อ สนั บ สนุ น กลุ่ ม อุ ต สาหกรรมการผลิ ต แบตเตอรี่ประสิทธิภาพสูงและการขนส่งสมัย ใหม่ และกล่มอุตสาหกรรมการบินและอวกาศ เช่น Energy Storage/Smart Energy Living Lab การทดสอบแบตเตอรีขนาดใหญ่ ระบบ บริหารจัดการแบตเตอรี่ เทคโนโลยีการผลิต และประกอบแบตเตอรี่ การควบคุมยานยนต์ และการนำ�ทาง วิศวกรรมยานยนต์ไฟฟ้าอัตโนมัติ การทดสอบยานยนต์อัตโนมัติภายใต้สภาวะ เสมือนจริง AI for Autonomous Vehicle มาตรฐาน และกระบวนการทดสอบ AI for Aerospace & Aviation
MAR– APR 2019
Eastern Economic Corridor Development อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด ลดการปล่ อ ยก๊ า ซเรือ นกระจก และมีค วาม สามารถในการปรับตัวต่อการเปลีย่ นแปลงของ สภาพภูมิอากาศ โดยการปรับเปลี่ยนจากการ ทำ�เกษตรแบบดั้งเดิม (Traditional Farming) สูก่ ารเกษตรสมัยใหม่ (Modern Farming) ด้วยการ พัฒนาและใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้มข้น มากขึ้นตั้งแต่การปรับปรุงพันธุ์ การเพาะปลูก การเลี้ ย งสั ต ว์ การแปรรูป จนถึง การตลาด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และยกระดับ รายได้เกษตรกรให้สูงขึ้น การพัฒนานวัตกรรมเกษตรสนับสนุนการ ทำ�เกษตรสมัยใหม่ (Modern Farming) โดย จัดเตรียมโครงสร้างพืน้ ฐานสำ�คัญ ได้แก่ ระบบ high throughput phenotyping screening ในระดับโรงเรือนและระดับภาคสนาม เป็นระบบ ตรวจสอบการทำ�งานของพืชที่ตอบสนองต่อ สภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ซึ่งเป็นเงื่อนไข ความสำ�เร็จที่สำ�คัญของการร่นระยะเวลาของ การการปรับปรุงพันธุใ์ ห้ได้ลกั ษณะดีเด่นเร็วขึน้ ให้ทนั กับความต้องการของตลาดและเกษตรกร รวมทั้ ง การพั ฒ นาเทคโนโลยี เ กษตรแม่ น ยำ � ระบบ Plant factory เน้นการประยุกต์เพื่อ พัฒนาต้นแบบและการสาธิตเทคโนโลยีการ ผลิ ต พื ช มู ล ค่ า สู ง ในระบบโรงเรื อ นแบบปิ ด โดยศูนย์ฯ แห่งนี้ทำ�หน้าที่ปรับแต่งเทคโนโลยี ให้เหมาะสมกับชนิดพืชทีป่ ลูกของประเทศไทย และมีตน้ ทุนทีเ่ กษตรกรเข้าถึงได้ ต้นแบบสาธิต ระบบเพาะเลีย้ งสัตว์น�้ำ แบบปิดทีม่ กี ารควบคุม สภาวะแวดล้อมภายในระบบเลีย้ งให้เหมาะสม กับการเติบโตของสัตว์น้ำ�แต่ละชนิดในสภาพ ความหนาแน่นสูงและมีการหมุนเวียนน้ำ�ให้ สามารถนำ � กลั บ มาใช้ ใ หม่ รวมถึ ง ใช้ ใ นการ ทดสอบอาหาร วัคซีนและผลงานวิจยั ด้านสัตว์ น้ำ�ในระบบเพาะเลี้ยงระดับก่อนเชิงพาณิชย์ การจั ด ตั้ ง ศู น ย์ เ พื่ อ พั ฒ นาอุ ป กรณ์ ท างการ เกษตรอัจฉริยะ เช่น เซนเซอร์ควบคุมการให้น� ้ำ การให้ปุ๋ย อุปกรณ์ตรวจเช็คสภาพแปลงอย่าง แม่นยำ�เพื่อเป้าหมายเพิ่มประสิทธิภาพในการ ใช้ทรัพยากรและลดต้นทุนการผลิต นอกจากนี้ โครงสร้างพืน้ ฐานเหล่านีย้ งั ทำ�หน้าทีเ่ ป็นแหล่ง ในการบ่มเพาะสตาร์ทอัพทางด้านเทคโนโลยี การเกษตรสมัยใหม่เพื่อการสร้างและกระจาย เทคโนโลยีสมัยใหม่ไปสู่เกษตรกรในวงกว้าง และเป็นฐานผลักดันให้ประเทศก้าวสู่การเป็น ผูส้ ง่ ออกนวัตกรรมทางด้านการเกษตรสมัยใหม่ ตัวอย่างโครงสร้างพื้นฐานของศูนย์นวัตกรรม การเกษตร Plant Factory ผลิตพืชภายใต้สภาวะควบคุม
ภายใต้ศนู ย์ฯ จะมีการดำ�เนินงานทีส่ อดคล้อง กับ 5 ยุทธ์ศาสตร์และแผนการดำ�เนินงานย่อย ดังนี้ 1) ตัวอย่างโครงสร้างพื้นฐานสำ�คัญของศูนย์ฯ ทีจ่ ะช่วยสนับสนุนการทำ�เกษตรสมัยใหม่ ได้แก่ ระบบ Plant Factory สำ � หรั บ การผลิ ต พื ช สมุนไพร/พืชมูลค่าสูง ที่มีระบบการเตรียมต้น พันธุ์ การปลูก การเก็บเกี่ยวที่ครบวงจรและ ได้มาตรฐาน อีกทัง้ ยังมีบริการหลักของศูนย์ฯ ทีใ่ ห้บริการ แก่ เกษตรกร สถาบันวิจยั /มหาวิทยาลัยทัง้ ไทย และต่างชาติ รวมถึงกลุ่มบริษัท/Startups ที่ เน้นเทคโนโลยีการเกษตรใหม่ๆ ได้แก่ (1) การให้บริการวิจยั และทดลองผลิตในระดับ ขยายขนาด (2) พืน้ ที/่ ระบบสาธิตสำ�หรับเครือ ข่ายวิจัย หรือ ชุมชนวิจัย (ผลิต เก็บเกี่ยว และ ตลาด) (3) ให้บริการให้คำ�ปรึกษา/ฝึกอบรม ครบวงจรและแลกเปลีย่ นความรูท้ างเทคนิค โด ยศูนย์ฯ จะทำ�หน้าทีเ่ ป็นตัวกลางในการกำ�หนด โจทย์วจิ ยั ร่วมกัน เพือ่ ให้งานวิจยั ในระยะต่อไป ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ประโยชน์ได้ ทันทีเมื่อแล้วเสร็จ โดยมีผู้ใช้ประโยชน์ร่วมอยู่ ในเครือข่ายวิจัยตั้งแต่เริ่มต้น กลุ่มเป้าหมาย บริการและกลไกในการทำ�งานของ ศูนย์นวัตกรรมการเกษตร ทัง้ นี้ กลไกการทำ�งานของศูนย์ฯ นวัตกรรม แห่ ง นี้ ให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การเชื่ อ มโยงการ ทำ�งานอย่างใกล้ชิดระหว่างผู้พัฒนาและผู้ใช้
42
Thailand Industrial Today
เทคโนโลยี การทำ�งานในลักษณะเครือข่ายวิจยั ทัง้ กับสถาบันการศึกษา สถาบันวิจยั ทัง้ ในและ ต่างประเทศ รวมถึงเน้นการทำ�งานอย่างใกล้ ชิดกับ ARIPOLIS โดยเฉพาะในส่วนของการ พัฒนาอุปกรณ์ทางการเกษตรอัจฉริยะ (Agrielectronics) ดังแสดงให้เห็นถึงความเชือ่ มโยง การทำ�งานร่วมกันระหว่างศูนย์ฯ ที่ตั้งอยู่ใน EECi และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง Functional Ingredient ทิศการพัฒนามุง่ สูก่ ารสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ผลผลิ ต ทางการเกษตร รวมถึ ง ความหลาก หลายทางชีวภาพ โดยเปลีย่ นจากการผลิตและ จำ�หน่ายในรูปของสินค้าแปรรูปขั้นต้นไปสู่การ จำ�หน่ายเป็นสารประกอบเชิงหน้าที่ (Functional Ingredient) เพือ่ เป็นวัตถุดบิ ตัง้ ต้นของอุตสาหกรรม อาหาร อาหารสัตว์ เครื่องสำ�อาง และชีวเภสัช ภัณฑ์ ทั้งนี้การปรับเปลี่ยนดังกล่าวต้องอาศัย ฐานทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและ การลงทุนทางเทคโนโลยีที่เข้มข้นขึ้น เป้าหมายเพือ่ พัฒนานวัตกรรมสนับสนุน การผลิตสารประกอบเชิงหน้าทีด่ ว้ ยกระบวนการ ผลิตที่ได้มาตรฐานและมีข้อมูลวิทยาศาสตร์ รองรับผลิตภัณฑ์ โดยให้ความสำ�คัญกับการจัด เตรียมโครงสร้างพื้นฐานสำ�คัญ ได้แก่ ระบบ การผลิตระดับขยายขนาดสำ�หรับพืชและจุลนิ ทรีย์ ทีไ่ ด้มาตรฐาน GMP (Good Manufacturing Practice) จัดให้มีการห้องปฏิบัติการทดสอบ คุณสมบัตขิ องสารประกอบสำ�หรับการนำ�ไปใช้
เขตนวัตกรรม ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi) ประโยชน์ต่อที่หลากหลายทั้งในด้านอาหาร เสริมสุขภาพ เครื่องสำ�อาง เภสัชภัณฑ์ ที่ได้ มาตรฐานสากล รวมถึงมีการวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีเพื่อให้มีข้อมูลวิทยาศาสตร์รองรับ คุ ณ สมบั ติ พิ เ ศษของสารประกอบเชิ ง หน้ า ที่ แต่ละชนิด ตัวอย่างโครงสร้างพื้นฐาน ทัง้ นี้ กลไกการทำ�งานของศูนย์ฯ นวัตกรรม แห่ ง นี้ ให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การเชื่ อ มโยงการ ทำ�งานอย่างใกล้ชิดในลักษณะ Public Private and Partnership (PPP) กับภาคเอกชนทั้งผู้ ประกอบการรายใหญ่ และ SMEs การทำ�งาน เชื่อมโยงกับเครือข่ายวิจัยทั้งและต่างประเทศ รวมถึง Food Innopolis
43
Thailand Industrial Today
กั บ ฟาร์ ม โคนมจะสามารถติ ด ตามและเก็ บ ข้อมูล Real-time พฤติกรรมสัตว์แต่ละตัว และ สรุปปริมาณการบริโภคของสัตว์ทำ�ให้บริหาร จัดการระบบการให้อาหารและหญ้าได้อย่างมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมถึงสามารถคำ�นวณ ประสิทธิภาพของสัตว์แต่ละตัวในการเปลี่ยน อาหารเป็นเนื้อและนมได้อีกด้วย 1.2 การพัฒนาการเก็บเกีย่ วและบรรจุภณ ั ฑ์ อัจฉริยะ (Smart Harvest and Packaging) สำ�หรับการเพาะเลี้ยงกุ้ง/ปลา และโคนม การใช้เทคโนโลยีการเก็บเกีย่ วทีม่ ปี ระสิทธิภาพ สามารถลดการใช้แรงงานคน ช่วยเก็บรักษาให้ ผลผลิ ต ยั ง คงสดและใหม่ ส่ ว นบรรจุ ภั ณ ฑ์ อัจฉริยะผูผ้ ลิตสามารถบันทึกข้อมูลสำ�คัญต่างๆ เกี่ยวกับสินค้าลงไปช่วยในการเสริมสร้างภาพ ลักษณ์ของสินค้า ไม่วา่ จะเป็นรายละเอียดของ วัตถุดบิ ข้อมูลอายุการใช้งาน และการเก็บรักษา สารประกอบที่อาจก่อให้เกิดภูมิแพ้ วันหมด อายุ หรือข้อมูลอัพเดทอื่นๆ ที่สำ�คัญ รวมถึง ยังสามารถติดตามตรวจสอบสินค้าระหว่างการ ขนส่งไปจนถึงมือผูบ้ ริโภค นอกจากนีบ้ รรจุภณ ั ฑ์ และฉลากอัจฉริยะกลายเป็นเครื่องมือป้องกัน การปลอมแปลงสินค้า ปัญหาการปนเปื้อน สินค้า การขโมยสินค้า ทัง้ ยังเป็นตัวช่วยยืดอายุ สินค้า ให้กับธุรกิจอาหาร และบรรจุภัณฑ์ 1.3 การพัฒนาด้านหุน่ ยนต์เพือ่ การเก็บเกีย่ ว และบรรจุภัณฑ์อัจฉริยะสำ�หรับผลไม้ (Fruit Harvesting Robot and Smart Packaging) หุ่นยนต์เริ่มมีบทบาทสำ�คัญมากขึ้นสำ�หรับ การทดแทนแรงงาน ซึ่งสามารถช่วยในการ ควบคุมงบประมาณได้เป็นอย่างดี เพิ่มความ แม่นยำ�ของการทำ�งาน การเก็บเกี่ยวผลไม้โดย ใช้ หุ่ น ยนต์ จ ะสามารถแยกผลไม้ สุ ก และดิ บ จากนัน้ จึงคัดแยกผลไม้ตามคุณภาพและระดับ ความสุกบรรจุลงในบรรจุภณ ั ฑ์อจั ฉริยะ ดังนัน้ การพัฒนาด้านหุน่ ยนต์เพือ่ การเก็บเกีย่ วผลไม้ จึ ง ช่ ว ยทำ � งานทดแทนแรงงานมนุ ษ ย์ และ ส่งผ่านข้อมูลสำ�หรับตรวจสอบได้อย่างดีทเี ดียว 1.4 การพัฒนาโรงงานต้นแบบอัตโนมัติ (Automatic Pilot Plant) รวบรวมและส่งข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตของการเลี้ยงกุ้ง/ปลา โคนม และ ผลไม้ การควบคุมคุณภาพแบบระบบอัตโนมัตเิ พือ่ ประมวลข้อมูลทีไ่ ด้ การสร้างระบบทีม่ เี ซนเซอร์ ตรวจจับอย่างใกล้ชดิ และละเอียดในทุกขัน้ ตอน การผลิตอาหารถือเป็นสิ่งจำ�เป็น เพื่อเชื่อมต่อ ระหว่างเครื่องจักรต่างๆ และบริหารจัดการ การผลิตแบบ Real-time มีระบบเฝ้าติดตาม
MAR– APR 2019
Food Innopolis มุง่ นำ�วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มาผนวกกับการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร เพื่ อ ยกระดั บ อาหารของไทยให้ มี คุ ณ ภาพ มาตรฐานสากลด้านการตรวจสอบย้อนกลับ และเป็ น ที่ ย อมรั บ ของประเทศคู่ ค้ า เพื่ อ เพิ่ ม มู ล ค่ า ในระบบนวั ต กรรมอาหารอย่ า ง ครบวงจร และเพิ่ ม ขี ด ความสามารถใน การปรั บ ตั ว ของอุ ต สาหกรรมให้ เ ป็ น ดิ จิทัล (Digital Transformation) Food Innopolis มีแผนจัดตั้งห้องปฏิบัติ การในสภาวะจริง (Living Lab) บนพืน้ ฐานการ ประยุกต์ใช้ IoT เพือ่ สร้างสภาพแวดล้อมให้เอือ้ ต่อการนำ�เทคโนโลยี IoT มาแก้ไขปัญหาและ ส่ ง เสริ ม การพั ฒ นากระบวนการต่ า งๆ ใน ห่วงโซ่อุปทานอาหาร (Food Value Chain) อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการสาธิตการ พัฒนาฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และแอปพลิเคชั่น IoT และการสร้างระบบ Smart Manufacturing เพื่อให้ประกอบการไปต่อยอดงานธุรกิจหรือ อุ ต สาหกรรมอาหารได้ ทั้ ง นี้ การพั ฒ นา เทคโนโลยี IoT เพื่ อ การทวนสอบกลั บ ใน อุ ต สาหกรรมอาหาร 4.0 มี ก ารพั ฒ นา เทคโนโลยีเป้าหมายสำ�คัญ 2 ส่วน คือ (1) สนามทดลอง (Test Bed) และ (2) ศูนย์ปฏิบตั ิ การสั่ ง การและศู น ย์ ข้ อ มู ล (Intelligent Operating Command (IOC) and Data Centre) ทั้ ง นี้ แ ผนในระยะแรกจะพั ฒ นา เทคโนโลยี IoT เพื่อการทวนสอบกลับในผลไม้ โคนม และกุ้ง/ปลา
1. สนามทดลอง (Test Bed) สนามทดลองและสาธิตการใช้งาน IoT ใน ห่วงโซ่อุปทานอาหารถือเป็นสิ่งโครงสร้างพื้น ฐานสำ � คั ญ ที่ ช่ ว ยให้ มี ส ถานที่ ท ดสอบและ ทดลองใช้ IoT อย่างเป็นระบบและครบวงจร ตลอดทัง้ ห่วงโซ่อปุ ทานอาหารตัง้ แต่วตั ถุดบิ ไป จนถึงจุดการจัดวางเพือ่ ซือ้ -ขาย เพือ่ ให้สามารถ เข้าถึงข้อมูลในแต่ละขั้นตอนแบบ Real-Time การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างระบบ ต่ า งๆ ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งแม่ น ยำ � และรวดเร็ ว รวมถึงเพื่อประเมินปัญหาตลอดจนความน่า เชื่ อ ถื อ ของระบบ สำ � หรั บ สนามทดลองนี้ ครอบคลุ ม ทั้ ง 6 ขั้ น ตอนในห่ ว งโซ่ อุ ป ทาน อาหาร ได้แก่ การพัฒนาการเกษตรแม่นยำ� (Precision Farming) การพัฒนาการเก็บเกีย่ ว และบรรจุภณ ั ฑ์อจั ฉริยะ (Smart Harvest and Packaging) การพั ฒ นาโรงงานต้ น แบบ อัตโนมัติที่รวบรวมและส่งข้อมูล (Automatic Pilot Plant) การพัฒนาระบบขนส่งอัจฉริยะ (Smart Logistic) การพัฒนาต้นแบบคลังสินค้า และร้านขายปลีกอัจฉริยะ (Smart Warehouse and Retail) และการพัฒนาการรวมระบบและ การทดสอบการใช้งาน (System Integration and Demonstration) 1.1 การพัฒนาการเกษตรแม่นยำ� (Precision Farming) สำ�หรับการเพาะเลี้ยงกุ้ง/ปลา และ โคนม การทำ�เกษตรความแม่นยำ�สูง คือรูปแบบ การเกษตรที่นำ�เทคโนโลยี IoT เซ็นเซอร์ (IoT Sensor) ที่มีความแม่นยำ�สูงเข้ามาติดตั้งบน แปลงทดลอง เพื่อตรวจวัด ควบคุม และเก็บ ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ปั จ จั ย ต่ อ การเจริ ญ เติ บ โต เช่ น อุณหภูมิ แสงแดด แรงลม ปริมาณ นํ้าฝน สาร อาหาร ความชืน้ ในอากาศ พร้อมนำ�ข้อมูลทีไ่ ด้ มาพัฒนาต่อยอดเป็นองค์ความรู้ใหม่ในการ วางแผนให้พร้อมรับมือ และแก้ไขปัญหาที่จะ เกิ ด ขึ้ น ได้ อ ย่ า งตรงจุ ด และทั น ท่ ว งที ทำ � ให้ สามารถคำ�นวณวันเก็บเกี่ยวผลผลิต อัตราผล ตอบแทนโดยประมาณ และเฝ้าระวังความเสีย่ ง ในการเกิดโรค อีกทัง้ เกิดการใช้ทรัพยากรอย่าง มีประสิทธิภาพสูงสุด การใช้เทคโนโลยีการเกษตรแม่นยำ�และ IoT Sensor ในการเลี้ ย งกุ้ ง หรื อ ปลาจะช่ ว ยให้ เกิ ด การพั ฒ นาซอฟท์ แ วร์ เ พื่ อ คาดการณ์ คุณภาพของน้ำ�ในบ่อเลี้ยงและสิ่งแวดล้อมที่ เป็ น อั น ตรายต่ อ กุ้ ง หรื อ ปลา เกษตรกรจึ ง สามารถจัดการแก้ไขได้ทันท่วงที ส่วนการใช้ เทคโนโลยีการเกษตรแม่นยำ�และ IoT Sensor
MAR– APR 2019
Eastern Economic Corridor Development สถานะของอุปกรณ์ต่างๆ จากระยะไกลใน โรงงาน เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำ�รุงและ ปฏิ บั ติ ก าร ช่ ว ยให้ ก ารผลิ ต มี ค วามแม่ น ยำ � ลดการสู ญ เสี ย และการบริ ห ารการผลิ ต มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นำ�ไปสู่การใช้ข้อมูล การผลิตมาพัฒนาสินค้าใหม่ หรือสร้างสินค้า ที่มีมูลค่าสูงขึ้น ทั้งนี้โรงงานต้นแบบอัตโนมัติ มีการเชื่อมโยงกับข้อมูลกับเครือข่ายอุทยาน วิ ท ยาศาสตร์ ใ นแต่ ล ะภู มิ ภ าค เพื่ อ ให้ เ กิ ด บูรณาการเครื่องมือและเข้าถึงข้อมูลในส่วน ภูมิภาคนี้ผ่านช่องทาง EECi 1.5 การพัฒนาระบบโลจิสติกส์อัจฉริยะ (Smart Logistic) สำ�หรับการขนส่งกุ้ง/ปลาที่ มี ชี วิ ต การพั ฒ นาระบบโลจิ ส ติ ก ส์ อั จ ฉริ ย ะ สามารถทำ�ให้วางแผนปฏิบัติและควบคุมการ ไหลและการจัดเก็บของสินค้าบริการและข้อมูล ทีเ่ กีย่ วข้องอย่างมีประสิทธิภาพ มีความรวดเร็ว ในการขนส่งอย่างถูกต้องแม่นยำ� สามารถแลก เปลีย่ นข้อมูลกันตลอดเวลา การติดตามวัตถุดบิ ได้ Real-time ส่งผลให้บริหารจัดการคลังสินค้าลด ระดับสินค้าคงคลัง เพิ่มอัตราการใช้ประโยชน์ จากปริมาตรในคลังสินค้า ลดค่าแรงงานใน การบริหารโลจิสติกส์ ช่วยเพิ่มความพึงพอใจ ในการให้บริการแก่ลูกค้า เป็นการเพิ่มความ สามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการ นอกจากนีร้ ะบบโลจิสติกส์อจั ฉริยะได้เชือ่ มโยง การทำ�งานร่วมกันระหว่างศูนย์ฯ ที่ตั้งอยู่ใน EECi ในส่วนกับเทคโนโลยีการสื่อสารระหว่าง ยานยนต์กบั สิง่ อืน่ (Connected Vehicle Technology) การสือ่ สารสิง่ ของจากในรถบรรทุกเข้าสูอ่ นิ เตอร์เน็ต เพื่อพัฒนาการประยุกต์ใช้เทคโนโลยียานยนต์ ยุคหน้าทีไ่ ร้คนขับเข้ากับระบบโลจิสติกส์อจั ฉริยะนี้ 1.6 การพัฒนาต้นแบบคลังสินค้าและร้าน ขายปลีกอัจฉริยะ (Smart Warehouse and Retail) คลั ง สิ น ค้ า อั จ ฉริ ย ะช่ ว ยให้ ส ามารถ ควบคุมการเคลือ่ นย้ายจัดเก็บสินค้าภายในคลัง สินค้ามีประสิทธิภาพสูงทีส่ ดุ โดยจัดเก็บสินค้า คงคลังให้น้อยลง และให้มีอัตราการหมุนเวียน สินค้าสูง ช่วยลดมีความสลับซับซ้อนยุ่งยาก และมีโอกาสทีจ่ ะผิดพลาดได้สงู จากการบริหาร จัดการคลังสินค้าแบบเดิมๆ ช่วยเพิม่ ความเชือ่ ถือด้านความปลอดภัยในบุคลากรและสินทรัพย์ นำ�มาซึง่ ความตอบสนองต่อความต้องการของ ลูกค้าได้รวดเร็ว และถูกต้องแม่นยำ�มากขึ้น ร้านขายปลีกอัจฉริยะเป็นร้านค้าปลีกที่ ช่วยทดลองขายสินค้าทีไ่ ด้ โดยมีการใช้เทคโนโลยี สมัยใหม่ในการบริหารจัดการ stock สินค้า การชำ�ระเงิน สามารถตอบโจทย์ความต้องการ
ของผู้บริโภคโดยทำ�การปรับเปลี่ยนวิธีการขาย ในรูปแบบใหม่ ทำ�ให้เลือกซือ้ ของได้สะดวกและ รวดเร็วมากยิง่ ขึน้ โดยไม่ตอ้ งต่อคิว ไม่ตอ้ งจ่าย เงิ น กั บ พนั ก งาน การใช้ เ ทคโนโลยี ร้ า นค้ า อัจฉริยะเข้ามาช่วยสามารถสร้างความพึงพอใจ ในการบริการได้มากยิง่ ขึน้ ลูกค้าสามารถตรวจ สอบย้อนกลับไปยังกระบวนการผลิตสินค้าทุก ชนิดได้ เช่น การติดตัง้ เซ็นเซอร์ตเู้ ย็นทีส่ ามารถ เปิดประตูอัตโนมัติเมื่อลูกค้ายืนอยู่หน้าตู้ และ ปิดประตูอัตโนมัติเมื่อหยิบสินค้าเสร็จ ในส่วน การจัดการสินค้าบนชั้นและคลังสินค้าทำ�ได้ แบบ Real-time ทำ � ให้ มี สิ น ค้ า และการให้ บริการที่ครบถ้วนสม่ำ�เสมอ สามารถประเมิน และตั ด สิ น ใจบริ ห ารจั ด การสต็ อ คสิ น ค้ า ให้ สอดคล้องกับฤดูและเทศกาล รวมถึงประเมิน ยอดขายแต่ละผลิตภัณฑ์ได้ง่ายมากขึ้น อีกทั้ง ยังมีการเก็บข้อมูลพฤติกรรมของลูกค้าเพื่อนำ� ไปเป็นข้อมูลในพัฒนาสินค้าต่อไป 1.7 การพั ฒ นาการรวมระบบและการ ทดสอบการใช้งาน (System Integration and Demonstration) System Integration เป็น ส่วนสำ�คัญในเลือกอุปกรณ์หลัก ออกแบบ ติดตัง้ ระบบเขียนโปรแกรมและจัดขัน้ ตอนการทำ�งาน ของระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์เพื่อให้ระบบ ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพแท้จริง รวมถึงมีการ ทดสอบการใช้งานแก้ไขการใช้งานได้
ข้อมูล และมนุษย์ ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ ทีร่ วดเร็วและมีความถูกต้องแม่นยำ�สูง ช่วยวิเคราะห์ เทรนด์การซือ้ ขาย พฤติกรรมผูบ้ ริโภค และอืน่ ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งอี ก มากมาย สามารถปรั บ ปรุ ง กระบวนการผลิตได้อย่างทันที ศูนย์ข้อมูล เป็นฐานข้อมูลที่สนับสนุนการ บริหารจัดเก็บข้อมูลทัง้ หลายทีไ่ ด้จากเทคโนโลยี ทีช่ ว่ ยให้สรรพสิง่ รับรูข้ อ้ มูลในบริบททีเ่ กีย่ วข้อง เช่น เซนเซอร์ และข้อมูลจากเทคโนโลยีที่ช่วย ให้สรรพสิ่งมีความสามารถในการสื่อสาร ทั้งนี้ ข้อมูลที่ได้อาจจะอยู่ในรูปแบบของภาพที่ได้ จากดาวเทียม เมื่อต้องเผชิญหน้ากับข้อมูล จำ�นวนมหาศาล และมีรูปแบบที่หลายหลายที่ ได้มาจาก Testbed ศูนย์ขอ้ มูลจึงต้องการพืน้ ที่ การจัดเก็บข้อมูล (Data Storage) ที่มากพอ มีความปลอดภัยสูง (Block chain) ระบบ Private Cloud ซึ่งช่วยบริหารจัดการข้อมูลได้ ง่ายและมีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมถึงการคัด กรองข้อมูลที่มีคุณค่าหรือมีประโยชน์กับการ ทำ�งานต้องอาศัยคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง High Performance Computing (HPC) สำ � หรั บ ปั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ เข้ า มาช่ ว ยทำ � การ ประมวลผล สมการทางคณิตศาสตร์ที่มีความ ซับซ้อน เพื่อให้ได้โมเดลสำ�หรับการบริหาร จั ด การหรื อ การวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ที่ ร วดเร็ ว แม่นยำ�ขึ้น
2. ศูนย์ควบคุมสัง่ การและศูนย์ขอ้ มูล (Intelligent Operating Command (IOC) and Data Center) ศูนย์ควบคุมสัง่ การ ทำ�หน้าทีก่ ารประมวลผล วิเคราะห์ขอ้ มูลขนาดใหญ่ (Big Data) กลัน่ กรอง และคัดเลือกข้อมูลที่มีความสำ�คัญที่เก็บรักษา ไว้ในศูนย์ข้อมูล เพื่อช่วยในการบริหารจัดการ testbed โดยให้ IoT ประมวลผลข้อมูลในบริบท ของตน การทำ � งานของศู น ย์ ค วบคุ ม สั่ ง การ จำ � เป็ น ต้ อ งอาศั ย การทำ � งานของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ทเี่ ชือ่ มการทำ�งาน (Middleware) ระหว่าง application และ network อีกทั้ง ช่วยส่งข้อมูลที่ต้องการ privacy protection และสร้ า งความเสถี ย รภาพ ให้ ร ะบบพร้ อ ม รองรับข้อมูลตลอดเวลา นอกจากนีก้ ารทำ�งาน ของศู น ย์ ค วบคุ ม สั่ ง การยั ง อาศั ย ปั ญ ญา ประดิษฐ์ Artificial Intelligence (AI) ที่พัฒนา จากเทคนิคการประมวลผลแบบ Machine Learning หรือ Deep Learning เพื่อการเรียน รูส้ ร้างระบบการทำ�งานแบบอัตโนมัตกิ ารเชือ่ ม ต่อสือ่ สารและทำ�งานร่วมกันระหว่างเครือ่ งจักร
SPACE INNOPOLIS SPACE INNOPOLIS มุง่ พัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรมแบบครบวงจร รวมถึงการใช้ ประโยชน์ต่อเนื่องจากเทคโนโลยีด้านการบิน และอวกาศ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้าน เทคโนโลยีอุตสาหกรรมการบิน และอวกาศ มีความสำ�คัญอย่างมาก ต่อการพัฒนาวิจัย อุตสาหกรรมอนาคต (New S-curve) เนือ่ งจาก ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตด้านอุตสาหกรรม เทคโนโลยีปานกลาง แต่ขาดการพัฒนาวิจัย อุตสาหกรรมด้านอุตสาหกรรมการบิน และ อวกาศ ทีใ่ ช้เทคโนโลยีสงู กว่า และใช้เงินลงทุน ค่อนข้างมาก การจัดตั้ง SPACE INNOPOLIS เป็นการ ต่ อ ยอดจากการใช้ เ ทคโนโลยี อ วกาศของ ประเทศไทยทีม่ กี ารพัฒนาแล้วประกอบไปด้วย 2 ส่วนหลัก คือ การวิจยั ทีเ่ ห็นผลได้ในระยะสัน้ (Quickwin) เป็นการต่อยอดจากเทคโนโลยีที่พัฒนาเกือบ จะสมบูรณ์แล้ว ได้แก่ การวิจัยการใช้ข้อมูล ตำ�แหน่งจากดาวเทียมระบุตำ�แหน่ง GNSS
44
Thailand Industrial Today
เขตนวัตกรรม ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi) มาใช้ประกอบการทำ�การเกษตรความแม่นยำ�สูง และงานก่อสร้างความแม่นยำ�สูง และการวิจัย ใช้งานแบบ Dual-use กับทางทหาร การพัฒนา ระบบจัดการการจราจรทางอากาศ การสร้าง แผนที่ เ ส้ น ทางความละเอี ย ดสู ง สำ � หรั บ การ ขนส่งสมัยใหม่ รวมถึงการเฝ้าติดตาม ตรวจสอบ วัตถุอวกาศ ดังนั้น การวิจัยแบบ Quickwin จะเป็นการพัฒนาที่สามารถทำ�ได้ทันทีโดยไม่ ต้องรอโครงสร้างพืน้ ฐาน EECi ให้เสร็จทัง้ ระบบ และสามารถเห็นผลเป็นรูปธรรมได้ใน 2-5 ปี การวิจัยแนวหน้า (Frontier) เพื่อเป็น ผู้นำ�เทคโนโลยีเฉพาะทางการบินและอวกาศ ที่ทำ�ให้ประเทศไทยมีเทคโนโลยีการบินและ อ ว ก า ศ ขั้ น ก้ า ว ห น้ า โ ด ย ที่ ไ ม่ เ ค ย มี ใ น ประเทศไทยมาก่อนแต่เป็นสิ่งที่จำ�เป็นต่อการ พัฒนาของโลกในอนาคต โดยมุ่งเน้นการวิจัย และพั ฒ นาเทคโนโลยี สำ � หรั บ อุ ต สาหกรรม อวกาศสมัยใหม่ ได้แก่ แพลตฟอร์มอากาศยาน ไร้คนขับเพดานบินสูง เพือ่ ใช้ทดแทนดาวเทียม และการวิจยั และพัฒนาระบบนำ�ส่ง รองรับการ ส่งดาวเทียมน้ำ�หนักเบาเข้าสู่วงโคจร โดยทั้งสองส่วนจะตั้งอยู่ภายในพื้นที่ EECi รองรับการถ่ายทอดแบ่งปันเทคโนโลยี และ ทีมพัฒนา ร่วมกับหน่วยวิจยั อืน่ ในพืน้ ที่ รวมไปถึง การทำ�งานร่วมกับหน่วยงานเอกชนทีเ่ ชีย่ วชาญ เทคโนโลยีเฉพาะด้านที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้ทำ�การ
หารือ เพื่อหาแนวทางการพัฒนาโดยสังเขป กับตัวแทนของหน่วยงานเอกชน และหน่วยงาน ของรัฐ ในระดับประเทศ และนานาชาติ นอกจากโครงสร้างพืน้ ฐานด้านการวิจยั ของ SPACE INNOPOLIS ในพืน้ ที่ EECi แล้วยังมี ความร่ ว มมื อ กั บ ARIPOLIS เพื่ อ ที่ จ ะเป็ น ตัวกลางเชื่อมโยงอุตสาหกรรมการบิน และ อวกาศ แบบองค์รวม เทคโนโลยีเพือ่ อุตสาหกรรม การบิน และอวกาศ เทคโนโลยีเพือ่ การอุตสาหกรรมการบินและอวกาศ จะเห็นได้วา่ ในห่วงโซ่คณ ุ ค่าของอุตสาหกรรม การบินและอวกาศต้องการองค์ประกอบหลาย ส่วนทีจ่ �ำ เป็นต้องเชือ่ มโยงกับองค์ประกอบอืน่ ๆ เข้าด้วยกันโดยจะเกิดเป็นองค์ความรูเ้ ทคโนโลยี การบินและอวกาศทั้งระบบขึ้นที่ EECi และ สามารถต่อยอดเชื่อมโยงเข้ากับอุตสาหกรรม อื่ น ๆ ได้ ด้ ว ย โดยสามารถเชื่ อ มโยงกั บ โครงสร้างพืน้ ฐานอืน่ ๆ ทีไ่ ด้วางแผนในการร่วม มือส่งเสริมนวัตกรรมอุตสาหกรรมการบินและ อวกาศ เช่น โครงสร้างพืน้ ฐานศูนย์ทดสอบ ประกอบ ดาวเทียม และการทดสอบอากาศยานมาตรฐาน นานาชาติ ของสำ � นั ก งานพั ฒนาเทคโนโลยี อวกาศและภูมิสารสนเทศ (สทอภ.) ตั้งอยู่ที่ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี
โครงการนิคมอากาศยาน (Aerotropolis) บริเวณท่าอากาศยานอู่ตะเภา จ.ระยอง เพื่อ รองรับการซ่ อ มบำ � รุ ง อากาศยาน และผลิ ต ชิ้นส่วนอากาศยาน โครงการสร้างศูนย์การเรียนด้านธุรกิจ การบินของสถาบันการบินพลเรือน กทม. และ เพื่อพัฒนาบุคลากรด้านการบินรวมทั้งตลาด นักบินในแก่ประเทศ โครงการสร้างศูนย์การเรียนด้านการบิน และอวกาศ ในมหาวิทยาลัยชัน้ นำ�ของประเทศ การพัฒนาเทคโนโลยีสำ�หรับอุตสาหกรรม การบินและอวกาศของ SPACE INNOPOLIS และโครงสร้างพืน้ ฐานตามทีไ่ ด้กล่าวมา จะช่วย ให้สามารถพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม การบิน และอวกาศแบบครบวงจร ตั้งแต่การ วิจัยขั้นต้น การทดสอบโมเดลจำ�ลอง การใช้ งานสภาพแวดล้อมเสมือน ไปจนถึงการผลิต เพื่อใช้งานเชิงอุตสาหกรรม โดยสามารถมีการ พั ฒ นาได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งในทุ ก ภาคส่ ว น ช่วยเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน และผลักดันให้เป็นหนึ่งในประเทศแนวหน้า ด้ า นเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมการบิ น และ อวกาศ
Focus Industry อุตสาหกรรมเกษตรสมัยใหม่และเทคโนโลยีชีวภาพ (Modern Agriculture and Biotechnology) อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ (Biofuels and Bio-chemicals) อุตสาหกรรมแบตเตอรี่ประสิทธิภาพสูงและขนส่งสมัยใหม่ (High Performance Battery and Modern Transports) อุตสาหกรรมระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ และอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (Automation, Robotics, and Intelligent Electronics) อุตสาหกรรมการบินและอวกาศ (Aviation and Space) อุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์ (Medical Device) สถานที่ตั้งของ EECi เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ Eastern Economic Corridor of Innovation (EECi) “ระบบนิเวศนวัตกรรมชั้นนำ� ระดับโลก” เป็นโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่และสมบูรณ์ รองรับการทำ�วิจัยและพัฒนา ต่อยอดไปสู่การใช้งานจริง เพื่อขับเคลื่อนประเทศไทยไปสู่ อุตสาหกรรมใหม่ด้วยนวัตกรรม EECi ตัง้ อยูท่ ว่ี งั จันทร์วลั เลย์ จังหวัดระยอง บนทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 344 (บ้านบึง – แกลง) ภาคตะวันออกของประเทศไทย กว่า 3,500 ไร่ ดำ�เนินการโดย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มอบหมายให้ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์แบะเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เป็นเจ้าภาพหลัก
Thailand Industrial Today
MAR– APR 2019
45
Business Movement โซนี่ไทย จับมือศูนย์อบรมถ่ายภาพสามกรุง
โซนี่ไทย จับมือศูนย์อบรมถ่ายภาพสามกรุง
MAR– APR 2019
เปิดนิทรรศการภาพถ่าย 3Krung x Sony Alpha University Camp โชว์ผลงานภาพถ่ายจากฝีมือนิสิตนักศึกษารุ่นใหม่ หวังสร้างเวทีต้นแบบสร้างแรงบันดาลใจสู่นักถ่ายภาพต่อไป บริษัท โซนี่ ไทย จำ�กัด จับมือ ศูนย์อบรม ถ่ายภาพสามกรุง เปิดนิทรรศการภาพถ่าย 3Krung x Sony Alpha University Camp 2018 (โครงการสามกรุง และโซนี่ อัลฟ่า ยูนเิ วอร์ซติ ี้ แคมป์ 2018) นำ�ผลงานภาพถ่าย จากนิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา และอาจารย์ ที่ ป รึ ก ษา จาก 14 มหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมในโครงการมา จัดแสดง พร้อมมอบรางวัลให้แก่ผู้ชนะการ แข่ ง ขั น จากการประกวดถ่ า ยภาพในแต่ ล ะ ประเภท มุ่งหวังให้เป็นเวทีแสดงศักยภาพของ เยาวชนไทยให้ เ ป็ น ที่ รู้ จั ก ในวงกว้ า ง ทั้ ง ยั ง ส่งเสริมและสร้างแรงบันดาลใจให้แก่นกั ถ่ายภาพ รวมถึ ง ผู้ ที่ ส นใจในการถ่ า ยภาพได้ ใ ช้ เ ป็ น แนวทางสร้ า งสรรค์ ผ ลงานและแลกเปลี่ ย น ความรู้ทางด้านการถ่ายภาพ โดยนิทรรศการ แสดงผลงานนิสิต นักศึกษา และอาจารย์ที่ ปรึกษาที่เข้าร่วมโครงการ "3Krung x Sony Alpha University Camp 2018" ณ หอศิลป วั ฒ นธรรมแห่ ง กรุ ง เทพมหานคร ปทุ ม วั น กรุงเทพฯ มร. มาซากิ มัทซูมาเอะ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั โซนี่ ไทย จำ�กัด เปิดเผยว่า “ตลอดระยะ เวลา 5 เดือนของกิจกรรมเวิร์คช็อปสุดเข้มข้น ผลงานกว่า 60 ภาพที่จัดแสดงอยู่ในวันนี้ ได้ พิสูจน์ให้เห็นว่านักศึกษา และคณาจารย์จาก สถาบันการศึกษา 14 แห่งทั่วประเทศที่ได้ เข้าร่วมโครงการ 3Krung x Sony Alpha University Camp 2018 ได้แสดงออกถึง ศักยภาพ และความคิดสร้างสรรค์อันโดดเด่น ด้านการถ่ายภาพได้อย่างน่าชืน่ ชม นับเป็นการ ตอกย้ำ � ถึ ง วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก ของโครงการนี้ ทีจ่ ดั ทำ�ขึน้ เพือ่ เปิดโอกาสให้แก่เยาวชนซึง่ กำ�ลัง
ศึกษาอยูใ่ นระดับอุดมศึกษาทีส่ นใจ ด้านการ ถ่ายภาพ ได้เรียนรูพ้ ร้อมเปิดรับประสบการณ์ ใหม่ ได้ มี โ อกาสในการจั ด แสดงผลงานที่ ถ่ายทอดผ่านความคิดสร้างสรรค์ และแรง บันดาลใจของตนเอง พร้อมพัฒนาศักยภาพ และความพร้อมเพื่อก้าวสู่ช่างภาพมืออาชีพ ต่อไป” ตลอดระยะเวลา 5 เดือนของกิจกรรม ผู้เข้า ร่วมกิจกรรมได้มีโอกาสเรียนรู้ ฝึกฝนฝีมือ ด้านการถ่ายภาพอย่างเข้มข้นจากช่างภาพมือ อาชีพผู้ทรงคุณวุฒิในหลากหลายสาขา และ ผู้ที่ผ่านเข้ารอบสุดท้ายจะต้องส่งผลงานเข้า ประกวดในขัน้ ตอนสุดท้าย เพือ่ เฟ้นหาผูช้ นะ การแข่งขันจากการประกวดถ่ายภาพใน 3 ประเภท โดยจะได้รบั การพิจารณาตัดสินจาก คณะกรรมการผูท้ รงคุณวุฒติ ามหลักเกณฑ์ที่ กำ�หนด ไว้เป็นที่เรียบร้อย โดยมีรายละเอียด ดังนี้
46
Thailand Industrial Today
ประเภท Street Photo
รางวัลชนะเลิศได้แก่ พัทธ์ วีระวัฒน์ จาก มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ได้รับรางวัลเป็นกล้อง Sony A7 II Kit มูลค่า 43,990 บาท พร้อม หนังสือภาพ The Base of Siam, รางวัลรอง ชนะเลิศอันดับที่ 1 ได้แก่ สุกฤษฎิ์ ปัจจันตดุ สิต จากมหาวิทยาลัยรังสิต ได้รับกล้อง Sony RX100 IV มูลค่า 26,990 บาท พร้อมหนังสือ ภาพ Muang Krung Muang Thep และรางวัล รองชนะเลิศอันดับที่ 2 คือ ณัฐพล มาซา จาก มหาวิทยาลัยรังสิต ได้รับหูฟัง SONY Extra Bass มูลค่า 5,490 บาท พร้อมหนังสือภาพ Sukho+Tai และรางวัลชมเชย มีจำ�นวน 3 รางวัล ได้แก่ ศิวภูมิ ยามาซากิ จากมหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ, ณัฐชัช วชิรวราการ จากมหาวิทยาลัย ศิ ล ปากร และภาณุ พ งศ์ นิ ธิ กิ ต ติ กุ ล จาก มหาวิ ท ยาลั ย ศรี ป ทุ ม จะได้ รั บ หนั ง สื อ ร.๙ ในหลวงในดวงใจ
3Krung x Sony Alpha University Camp
ประเภท Landscape & Travel
รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ จิรวัฒน์ ตันประเสิรฐ จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับรางวัลเป็น กล้ อ งถ่ า ยภาพ SONY A7 II Kit มู ล ค่ า 43,990 บาท พร้อมหนังสือภาพ The Base of Siam, รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 คือ สุกฤษฎิ์ ปัจจันตดุสิต มหาวิทยาลัยรังสิต ได้รับกล้อง SONY A6300 Kit มูลค่า 31,990 บาท พร้อม หนังสือภาพ Muang Krung Muang Thep และรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 คือ ศิวภูมิ ยามาซากิ จากมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ได้รับ ลำ�โพง SONY Extra Bass มูลค่า 5,490 บาท พร้อมหนังสือภาพ Sukho+Tai และรางวัล ชมเชย มีจ�ำ นวน 3 รางวัล ได้แก่ สุพชิ ชา สระแก้ว จากมหาวิทยาลัยกรุงเทพ, พัทธ์ วีระวัฒน์ จาก มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และนภสินธุ์ คงสมจิตต์ จากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหารลาดกระบัง จะได้รบั หนังสือ ร.๙ ในหลวง ในดวงใจ
ประเภท Creative
47
Thailand Industrial Today
รอบ Final Workshop ซึ่งจากภาพผลงานของ นิสิตนักศึกษาที่ผ่านเข้ารอบ Final Workshop จะเห็ น ได้ ถึ ง ศั ก ยภาพที่ ซ่ อ นอยู่ ภ ายในว่ า มี ค วามสามารถในการนำ � เสนอความคิ ด สร้างสรรค์ผา่ นภาพถ่ายได้อย่างดีเยีย่ ม และเรา เชื่อว่าหากนิสิตนักศึกษาได้รับการส่งเสริมที่ดี จะเติบโตขึ้นเป็นบุคลากร รวมถึงช่วยส่งเสริม วงการถ่ายภาพให้แข็งแกร่งได้ต่อไป” ทางด้ า น นายบุ ณ ฐไชย ไชยวิ รุ ณ เจริ ญ ผู้ อำ � นวยการศู น ย์ อ บรมถ่ า ยภาพสามกรุ ง ได้ ก ล่ า วถึ ง ความร่ ว มมื อ กั บ โซนี่ ใ นครั้ ง นี้ ว่ า "สามกรุงรู้สึกยินดีอย่างยิ่งที่ได้ร่วมเป็นส่วน หนึ่งในโครงการนี้ เพราะจะช่วยให้เกิดการ พัฒนาและร่วมกันส่งเสริมนักถ่ายภาพรุ่นใหม่ ที่มีใจรักในการถ่ายภาพได้มีพื้นที่แสดงออก ความคิ ด สร้ า งสรรค์ แ ละพั ฒ นาทั ก ษะการ ถ่ายภาพ เพือ่ ประยุกต์ใช้ในการทำ�งานและก้าว สูค่ วามเป็นมืออาชีพต่อไป ซึง่ ตลอดระยะเวลา 5 เดือนของการดำ�เนินโครงการ ทางศูนย์ฯ ได้ เข้าไปให้ความรู้ และแนะนำ�การถ่ายภาพให้กบั นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาก่ อ นนำ � เสนอผลงานเข้ า สู่ กระบวนการคั ด เลื อ กเพื่ อ เป็ น ตั ว แทนใน สถาบันการศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม เราได้เห็น ความสนใจ และผลงานของน้ อ งๆ รุ่ น ใหม่ ซึง่ นับว่ามีคณ ุ ภาพมาก รวมถึงสะท้อนความคิด สร้างสรรค์และศักยภาพในการถ่ายภาพอย่าง มาก ผมเชื่อว่าหากเยาวชนกลุ่มนี้ได้รับการ สนับสนุนกิจกรรมดีๆ แบบนี้อย่างต่อเนื่อง จะสามารถช่วยให้เติบโตขึ้นมาเป็นบุคลากร สำ�คัญในวงการถ่ายภาพได้อย่างแน่นอน"
MAR– APR 2019
รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ ศิริน ม่วงมัน จาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับรางวัลเป็นกล้อง Sony A7 II Kit มูลค่า 43,990 บาท พร้อมหนังสือ ภาพ The Base of Siam, รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 1 คือ ธีรศิลป์ สุดดี จากสถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้รับ กล้อง Sony RX0 มูลค่า 24,990 บาท พร้อม หนังสือภาพ Muang Krung Muang Thep และรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 คือ ณัชริดา ยาทองไชย จากมหาวิทยาลัยบูรพา ได้รับหูฟัง SONY Extra Bass มูลค่า 5,490 บาท พร้อม หนังสือภาพ Sukho+Tai และรางวัลชมเชย มีจ�ำ นวน 3 รางวัล ได้แก่ ภาณุพงศ์ นิธกิ ติ ติกลุ จากมหาวิทยาลัยศรีปทุม, สุธาสินี คงเจียมศิริ จากมหาวิ ท ยาลั ย อั ส สั ม ชั ญ และพริ ม รตา ศิรพิ งษ์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จะได้รบั หนังสือ ร.๙ ในหลวงในดวงใจ สำ�หรับผูช้ นะการประกวดภาพถ่ายในแต่ละ ประเภท นอกจากจะได้รบั ผลิตภัณฑ์จากโซนีแ่ ล้ว ยังจะได้รับถ้วยรางวัลเกียรติยศ และผลงาน ภาพถ่ายของผูเ้ ข้าร่วมโครงการทัง้ หมด จะได้รบั การจัดแสดงในนิทรรศการภาพถ่าย 3Krung x Sony Alpha University Camp 2018 ซึง่ ได้จดั แสดงขึน้ ทีห่ อศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ปทุมวัน กรุงเทพฯ วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2562 ที่ผ่านมาอีกด้วย
นางสาวลีลนา เพียรพิรยิ ะ ผูจ้ ดั การแผนกการ ตลาดผลิตภัณฑ์ดจิ ติ อลอิมเมจจิง้ บ. โซนี่ ไทย จ.ก. ได้กล่าวเสริมว่า “โครงการนีเ้ ป็นโครงการทีโ่ ซนี่ ตัง้ ใจเป็นอย่างยิง่ เพราะโซนีต่ ระหนักเป็นอย่าง ดีว่าการก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำ�ของธุรกิจกล้องทั้ง ตลาดไทยและตลาดโลก ล้วนมาพร้อมกับความ รับผิดชอบหลากหลายด้านพร้อมๆ กัน โซนี่จึง มุ่งมั่นร่วมพัฒนาอุตสาหกรรมการถ่ายภาพใน ทุกๆ ระดับ ไม่วา่ จะเป็นการสนับสนุนโครงการ ในระดับ มืออาชีพ การกระตุ้นตลาดรวมถึง พัฒนาการถ่ายภาพผ่านกิจกรรมมากมายแก่ ลูกค้าทุกๆกลุม่ และครัง้ นีเ้ ป็นการมุง่ สร้างสรรค์ นักถ่ายภาพรุ่นใหม่ ที่อนาคตจะเป็นทีมชาติ หรือกำ�ลังสำ�คัญให้แก่วงการถ่ายภาพไทยใน อนาคต โดยโซนีไ่ ด้เตรียมกล้อง Sony Full Frame Mirrorless กล้องมาตรฐานใหม่ของการถ่าย ภาพ ที่จะมีส่วนช่วยในการพัฒนาผลงานของ น้องๆ และเหล่าคณาจารย์ระหว่างการเข้าค่าย รวมถึงสัมผัสประสบการณ์การใช้งานจริง Sony Full Frame Mirrorless แบบเต็มที่ ทัง้ Sony A9 กล้องที่สุดของเทคโนโลยี ด้ า นความเร็ ว 20 frame ต่อวินาที กล้อง A7RM3 Series ความ ละเอียดสูง 42 ล้าน ที่ทลายข้อจำ�กัดของการ ถ่ายภาพ และเป็นกล้องระดับโปรทีไ่ ด้รบั ความ ไว้วางใจที่สุด พร้อม G Master Lens line up ทีเ่ พียบพร้อม ไว้ให้นอ้ งๆ นักศึกษาทุกคนทีไ่ ด้ เข้าร่วมโครงได้แสดงพลังความคิดสร้างสรรค์ ผ่ า นภาพถ่ า ยโดยไร้ ข้ อ จำ � กั ด ในเรื่ อ งของ ประสิทธิภาพของอุปกรณ์กล้องถ่ายภาพตลอด ช่วงที่จัดกิจกรรม ตั้งแต่ Road Show และ
Business Movement ฟิลิปปินส์บุกเมืองนวัตกรรมอาหาร
ฟิลิปปินส์บุกเมืองนวัตกรรมอาหาร
MAR– APR 2019
ทึ่งเครือข่ายแน่นปึกอนาคตสดใส ปักหมุดร่วมวิจัยเน้นอาหารฟังก์ชั่น และข้าว เตรียมบินร่วมมือเร็วๆ นี้ เลขา สวทน.ชี้ ไทยพร้อมเป็น เกตเวย์ จับคู่ธุรกิจสองแผ่นดิน Mr. Paul Ernest de Leon และผูแ้ ทนจาก กระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แ ห่ ง สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ พร้อมด้วย Dr. Cecilia Acuin ผูเ้ ชีย่ วชาญการวิจยั จากสถาบันวิจยั ข้าว ได้ เ ดิ น ทางเข้ า พบเพื่ อ หารื อ กั บ ดร.กิติพงค์ พร้อมวงศ์ เลขาธิการสำ�นักงานคณะกรรมการ นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม แห่งชาติ (สวทน.) ที่โครงการเมืองนวัตกรรม อาหาร หรือ ฟูด้ อินโนโพลิส ที่ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี ดร.กิตพิ งค์ กล่าวว่า การเดินทางมาของคณะฯ ในครั้งนี้ สืบเนื่องจากเมื่อเดือนตุลาคม 2561 ตนได้เดินทางไปยังเมืองเซบู สาธารณรัฐฟิลปิ ปินส์ เพื่ อ เข้ า ประชุ ม รั ฐ มนตรี อ าเซี ย นว่ า ด้ ว ย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีครัง้ ที่ 10 ซึง่ ในการ ประชุมดังกล่าวมีการหารือในระดับทวิภาคี ระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของไทย กับรัฐมนตรีวทิ ยาศาสตร์
48
Thailand Industrial Today
FOODINNOPOLIS
และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐฟิลปิ ปินส์ จนนำ�ไป สู่ ก ารลงนามความร่ ว มมื อ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ นักวิจัยของทั้งสองประเทศได้ทำ�งานร่วมกัน โดยประเด็นทีฟ่ ลิ ปิ ปินส์สนใจเป็นเรือ่ งหลักคือ อาหารฟังก์ชั่น จึงได้ส่งผู้แทนมาศึกษาดูงาน เมืองนวัตกรรมอาหาร เพื่อการแลกเปลี่ยน ข้อมูล และความร่วมมือด้านการวิจัยพัฒนา และนวั ต กรรม ที่ แ ต่ ล ะฝ่ า ยสนใจร่ ว มมื อ ระหว่างกัน ตลอดจนนำ�เสนอว่าฟิลิปปินส์มี อะไรทีพ่ อจะทำ�ความร่วมมือแลกเปลีย่ นกันได้ “วันนี้ได้หารือกันในเรื่องประเด็นการวิจัยที่ สนใจดำ�เนินการร่วมกันในอนาคต โดยเฉพาะ เรือ่ งอาหารฟังก์ชนั่ ต่างๆ รวมถึงการศึกษาวิจยั พัฒนาเพือ่ หาสารออกฤทธิส์ �ำ คัญในพืชท้องถิน่ รวมทัง้ พืชสมุนไพร โดยฟิลปิ ปินส์มองว่าเครือข่าย ของเมืองนวัตกรรมอาหารมีความพร้อมทัง้ องค์
Thailand Industrial Today
MAR– APR 2019
49
ความรู้ นักวิจัย ตลอดจนเครื่องมือที่ทันสมัย ที่พร้อมสำ�หรับการวิจัยและพัฒนาในด้านนี้ นอกจากนี้ยังสนใจการวิจัย และการพัฒนา ผลิตภัณฑ์นวัตกรรมจากข้าว มุง่ เน้นการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ทม่ี คี ณ ุ ค่าทางโภชนาการสูง การสร้าง ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์อาหาร และ ความมั่นคงทางด้านอาหารด้วย ซึ่งในขณะนี้ สถาบั น วิ จั ย ข้ า วได้ เ ข้ า มาตั้ ง สำ � นั ก งานใน ประเทศไทยเมื่อปลายปีที่ผ่านมา จึงมีความ สะดวกในการทำ � งานร่ ว มกั น ในอนาคต นอกจากนี้ ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ยั ง สนใจเครื อ ข่ า ยที่ เข้ ม แข็ ง ของเมื อ งนวั ต กรรมอาหาร ได้ แ ก่ มหาวิทยาลัย หน่วยงานวิจัย ตลอดจนภาค เอกชน ที่มีผลิตภัณฑ์ที่ใกล้ออกสู่ตลาดเพื่อ ทำ�งานร่วมกันในอนาคต” เลขาฯ สวทน. กล่าว ดร.กิติพงค์ กล่าวด้วยว่า ในส่วนของฟู้ดอิน โนโพลิสนั้น ยินดีให้ความร่วมมือช่วยในการ ประสานงาน เพื่อให้นักวิจัย และผู้เชี่ยวชาญ ของทั้งสองประเทศได้มีโอกาสประชุมหารือ และหาแนวทางในการวิจยั พัฒนาร่วมกันต่อไป ภายใต้ ก ารลงนามความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย และสาธารณรั ฐ ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ นอกจากนี้ เ มื อ ง นวัตกรรมอาหารยังมีแพลตฟอร์มพร้อมที่จะ พัฒนาผู้ประกอบการทั้งจากประเทศไทยและ ฟิลิปปินส์ และประเทศไทยก็พร้อมที่จะเป็น gate way เพือ่ การจับคูธ่ รุ กิจของทัง้ สองประเทศ ทั้งในรูปของจีทูจีและจีทูบี
Special Report
เทรนด์ในอนาคตของธุรกิจอาหาร
Food
Trend
เทรนด์ในอนาคต ของธุรกิจอาหาร
MAR– APR 2019
“อาหาร” ยังคงเป็นหนึ่งในธุรกิจของ ผูป้ ระกอบการ SME ด้วยการเป็น 1 ในปัจจัย 4 ที่มนุษย์ต้องกินทุกวัน จึงไม่แปลกที่หากใคร จะเลือกทำ�อาชีพค้าขาย ธุรกิจอาหารจะเป็น ตัวเลือกอันดับต้นๆ ทีผ่ คู้ นอยากเข้าลงทุนเสมอ อย่างไรก็ตาม เทรนด์ธุรกิจอาหารจะมีการ เปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลา ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั พฤติกรรม ของคนส่วนใหญ่ในช่วงเวลานั้นว่าเป็นอย่างไร หากผูป้ ระกอบการ SME รูถ้ งึ เทรนด์ในอนาคต ของธุรกิจอาหารได้ก่อน ก็จะมีเวลาปรับตัว ประยุกต์ให้เข้ากับธุรกิจที่ท�ำ อยู่ โดยข้อมูลจากกระทรวงพาณิชย์ พบว่าในปี 2562 นีเ้ ทรนด์ธรุ กิจอาหารทีม่ าแรงมี 4 ประเภท ด้วยกัน จะมีอะไรกันบ้างนัน้ มาดูกนั เลย
50
Thailand Industrial Today
เทรนด์ในอนาคตของธุรกิจอาหาร
1. อาหารทีเ่ ป็นมิตรกับลำ�ไส้
ในช่ ว งนี้เ ราจะเห็ น ข่ า วเกี่ย วกั บ อาหารที่ รั บประทานเข้ าไปแล้วส่ง ผลกระทบต่อ ร่างกาย มากมาย เรื่องเหล่านี้ท่ีเกิดขึ้นทำ�ให้ทุกคนต้องหันมา ใส่ใจในเรื่องสุขภาพของตัวเอง โดยเฉพาะการตระหนักถึง การเลือกรับประทานอาหาร เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดโรคต่างๆ ไม่วา่ จะเป็น โรคเบาหวาน โรคออทิสติก โรคซึมเศร้า และโรคอ้วน ดังนั้น มีการคาดการณ์ว่าอาหารที่รับประทานแล้วมีผลดี ต่อลำ�ไส้จะได้รบั ความนิยมจากผูบ้ ริโภคอย่างแน่นอน สำ�หรับ อาหารในกลุม่ ดังกล่าวนี้ เช่น มิโซะ กิมจิ และโยเกิรต์ ทีค่ วร ใช้โอกาสทำ�การตลาด และส่งเสริมการขายมากยิง่ ขึน้
Food 3. อาหารมังสวิรตั ิ
2. อาหารทะเลเพือ่ สุขภาพ
เป็นทีท่ ราบกันดีวา่ เทรนด์การรักสุขภาพยังคงได้รบั ความนิยม อย่างต่อเนื่อง อีกทั้งคนส่วนใหญ่มีความเชื่อว่าอาหารทะเล คือ อาหารที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ ประกอบกับนวัตกรรมการผลิต จึงทำ�ให้อาหารทะเลพัฒนา ก้าวหน้าไปจากเดิมมาก โดยเฉพาะ ปลา สาหร่าย และหอย จึงจะได้รบั ความสนใจจากผูบ้ ริโภคเป็นพิเศษ
Food Trend
Trend
อีกด้านหนึง่ ของธุรกิจอาหารทีน่ า่ สนใจ คือ มีคนจำ�นวนหนึง่ ไม่นยิ มรับประทานเนือ้ สัตว์ แต่จะกินอาหารประเภทมังสวิรตั แิ ทน เช่น เมนูผกั เพือ่ สุขภาพ ซึง่ มีการนำ�เอานวัตกรรมเข้ามาช่วยในการปลูก เพื่อ ดึ ง ดู ด ผู้บ ริ โ ภค และมี ก ารคาดการณ์ ว่า เมนู ผัก ยั ง จะคงได้ รับ ความนิยมไปอีกหลายปี
4. ขนมหวานจากเอเชีย
ผูบ้ ริโภคในแถบซีกโลกตะวันตกทีช่ อบความหวานกันมาสนใจ ขนมหวานเอเชียมากขึน้ เพราะว่าใช้น�ำ้ ตาลปริมาณน้อย รวมถึง ใช้สารความหวานที่มาจากธรรมชาติ อย่างน้ำ�ผึ้ง หรือหญ้าหวาน จึงถือได้วา่ เป็นโอกาสอันดีทเ่ี อเชียจะเข้ามาชิงส่วนแบ่งทางการตลาด ในประเทศตะวันตกมากขึน้
Thailand Industrial Today
MAR– APR 2019
51
Special Report
GE ก้าวสู่ตลาดบำ�รุงรักษาเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าฯ
เรือ่ ง : เอกสิทธ์ ใจงาม
GE ก้าวสู่ตลาด
บำ�รุงรักษาเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าฯ
MAR– APR 2019
ล่าสุด GC ได้ต่อสัญญาด้วยแล้วอีกถึง 10 ปี จีอี พาวเวอร์ ผูน้ �ำ ระดับโลกด้านการจัดหา อุ ป กรณ์ โซลู ชั่ น และบริ ก ารต่ า งๆ ให้ กั บ ทุ ก ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องด้ านพลังงาน ตั้งแต่ การผลิตไปจนถึงการบริโภคพลังงาน แถลงข่าว ล่าสุดถึงการได้รับความไว้วางใจจากบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) (GC) ในการเป็นผู้ดูแลและบำ�รุงรักษาเครื่อง กำ�เนิดไฟฟ้าต่อไปอีก 10 ปี โดยสัญญาจะ ครอบคลุมการให้บริการ การดูแล และบำ�รุง รักษาเครือ่ งกำ�เนิดไฟฟ้าแบบกังหันก๊าซรุน่ GE Frame 6B และรุ่น GE Frame 5 ที่ติดตั้ง อยู่ในพื้นที่ โรงโอเลฟินส์ หน่วยที่ 1 ของ GC ในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง โดย GC เป็นลูกค้ารายแรกในประเทศไทย ที่ ติ ด ตั้ ง ซอฟต์ แ วร์ ด้ า นการบริ ห ารจั ด การ ประสิทธิภาพเครือ่ งกำ�เนิดไฟฟ้าแบบกังหันก๊าซ (GE’s Predix* Asset Performance 52
Thailand Industrial Today
GE’s Predix* Asset Performance Management
จำ�นวนทั้งสิ้น 29 เครื่อง โดย GE ได้ร่วมงานกับ กลุ่ม ปตท. ที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด มาตั้งแต่ปี 2532 เป็นสัญญาแบบ Multi-Year Agreement (MYA) กับ GC ฉบับแรก ซึ่งเริ่มมา ตั้งแต่ปี 2552 และเมื่อขยายเวลาไปอีก 10 ปี MYA นี้จะสิ้นสุด ณ ปี 2575 เทคโนโลยี GE’s Predix* Asset Performance Management ของ GE จะช่วยให้ GC สามารถลดค่าใช้จา่ ยด้านการปฏิบตั กิ ารและยังทำ�ให้เครือ่ งกำ�เนิดไฟฟ้าแบบกังหันก๊าซมีประสิทธิภาพ ในการผลิตที่สูงขึ้น ซึ่งเป็นผลจากการขยายเวลาการตรวจสอบระบบ จากเดิมที่ดำ�เนินการทุก 3 ปี
53
Thailand Industrial Today
MAR– APR 2019
Management) ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ง ในการนำ � เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ด้านพลังงานที่ทันสมัย (Total Plant and Digital Solutions) ของ GE มาปรับใช้ ดร.คงกระพัน อินทรแจ้ง ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีข้ันต้น GC กล่าวในงานร่วมซ็นสัญญาครั้งนี้ว่า GC ใน ฐานะเป็นบริษัทชั้นนำ�ในธุรกิจเคมีภัณฑ์ของ ประเทศไทย และเป็นแกนนำ�ในธุรกิจเคมีภณ ั ฑ์ ของกลุม่ ปตท. GC มีความมุง่ มัน่ ในการพัฒนา นวั ต กรรมที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มด้ ว ย เทคโนโลยีระดับแนวหน้า พร้อมทั้งการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ และสร้างให้เกิดเคมีภัณฑ์ที่เข้าถึง ทุกความสุข (Chemistry for Better Living) ให้กับลูกค้า คู่ค้า และพันธมิตรต่างๆ GC มี ความสัมพันธ์ทางธุรกิจทีย่ าวนานกับ GE และ มองเห็ น ประโยชน์ ใ นเทคโนโลยี แ ละการให้ บริการของ GE จึงได้ต่อสัญญาการให้บริการ เพิ่มเป็นระยะเวลา 10 ปี เพื่อขยายขอบเขต การดำ�เนินงานรวมถึงการนำ�เทคโนโลยีดิจิทัล ที่ทันสมัยมาใช้ในโรงไฟฟ้าของบริษัทฯ ทีผ่ า่ นมาบริษทั ในกลุม่ ปตท. มีการใช้เครือ่ ง กำ � เนิ ด ไฟฟ้ า แบบกั ง หั น ก๊ า ซของ GE เป็ น
GE ก้าวสู่ตลาดบำ�รุงรักษาเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าฯ
MAR– APR 2019
ของ GE ซึ่งอนาคต ก็คาดว่า เมื่อถึงระยะเวลา ที่เครื่องจักรได้เดินเครื่องไประยะหนึ่ง ก็หวัง เป็นอย่างยิง่ ว่า จะได้ตอ่ สัญญาเพือ่ ร่วมให้บริการ เป็นผู้ดูแล บำ�รุงเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าแบบกังหัน ก๊าซอย่างที่ทาง GC ได้ให้ความไว้วางใจต่อไป เรามั่นใจในเทคโนโลยีและระบบดิจิทัลของเรา จะช่ ว ยให้ ลู ก ค้ า นอกจากได้ ค วามมั่ น ใจว่ า ด้วยเทคโนโลยีของ GE จะทำ�ให้ระบบของลูกค้า ไม่มีการหยุดชะงักในช่วงการดูแลรักษาระบบ และเมือ่ ได้รบั การดูแลอย่างเป็นระบบก็จะช่วย ให้ลูกค้าได้ลดต้นทุนกว่า 15 เปอร์เซ็นต์ด้วย สำ�หรับข้อสงสัยถึงสภาพตลาดที่เจ้าอื่นๆ จะเข้ามาแข่งขันด้านบริการนี้ นายดาเรนกล่าวว่า เนื่องจากระบบทั้งหมดที่ลูกค้าหลายเจ้าได้ใช้ เครื่ อ งกำ � เนิ ด กระแสไฟฟ้ า แบบกั ง หั น ก๊ า ซ แม้จะยังไม่ได้เซ็นสัญญาในการดูแลบำ�รุงต่อ เหมือนอย่าง GC ในวันนี้ แต่การจะไปเริ่มใหม่ กับเจ้าใหม่ที่ไม่ใช่เจ้าของเทคโนโลยีในเครื่อง จักรนั้นๆ ก็ถือเป็นการลงทุนเวลาที่มากและ อาจรวมไปถึ ง การลงทุ น ด้ า ยฮาร์ ด แวร์ แ ละ ซอฟต์แวร์เพิ่มขึ้นด้วย เพราะเจ้าใหม่ก็ต้องใช้ เวลาศึกษาเทคโนโลยีของ GE อีกทอดหนึ่ง ทว่า หากใช้บริการของเจ้าเดิมที่แต่ละเจ้าได้ เลื อ ก GE ไปก่ อ นหน้ า นั้ น เรื่ อ งที่ ก ล่ า วมา ทั้งหมด ก็จะหมดไป เพราะ GE มีเทคโนโลยี ทัง้ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ทไี่ ด้พฒ ั นามาอย่าง ต่ อ เนื่ อ ง มาสนั บ สนุ น ลู ก ค้ า ตรงนี้ ไม่ เ พี ย ง ลูกค้าจะได้บริการดูแลรักษาแล้ว ลูกค้าก็ยังได้ เทคโนโลยีใหม่ๆ จาก GE ที่จะทำ�ให้เกิดการ ลดต้นทุนมากขึ้นด้วย” “GE มั่นใจว่า เราจะสามารถรักษาฐาน ลูกค้าเดิมของเราไว้ได้ทงั้ หมดครับ” นายดาเรน กล่าวทิ้งท้าย ปรับเป็นการดำ�เนินการทุก 4 ปี อีกทั้งยังเพิ่ม ความเชื่อถือได้ของระบบผลิตไฟฟ้าและเพิ่ม ประสิทธิภาพให้กบั โรงไฟฟ้าของ GC ทีจ่ งั หวัด ระยอง นอกจากนี้ การติดตัง้ ซอฟต์แวร์ดงั กล่าว ถือเป็นเครือ่ งมือวิเคราะห์ชนั้ สูง ช่วยให้สามารถ เปลีย่ นให้เป็นข้อมูลทีม่ ปี ระโยชน์ตอ่ การปฏิบตั ิ งานเชิงลึก ด้าน นายดาเรน การ์วดู (Darren Garwood, Region General Manager-Asia Pacific, GE Power) ให้สัมภาษณ์หลังเซ็นสัญญาว่า “ความเชือ่ ถือได้และประสิทธิภาพของการผลิต กระแสไฟฟ้าเป็นองค์ประกอบสำ�คัญในการ ดำ�เนินงานของโรงไฟฟ้า แพลตฟอร์ม Total
Plant and Digital Solutions ของ GE มอบ ระบบดิจิทัลและการให้บริการด้านการพัฒนา โรงไฟฟ้าอย่างเต็มรูปแบบ ซึ่งจะช่วยให้ GC เพิ่มความมั่นคงในการผลิตกระแสไฟฟ้าใน โรงไฟฟ้ า ของตน และเป้ า หมายสู ง สุ ด คื อ การสามารถสนับสนุนเป้าหมายของประเทศไทย ทีต่ อ้ งการลดต้นทุนการผลิตไฟฟ้า ความสัมพันธ์ ทางธุรกิจอันยาวนานพร้อมทั้งความร่วมมือ ทีด่ รี ะหว่าง GE และ GC ทำ�ให้ GC ขยายระยะ เวลาสัญญา MYA กับ GE ต่อไปอีก 10 ปี... …ซึ่งนอกจาก GC แล้ว ทาง GE ยังมีลูกค้า ทีเ่ ป็นกลุม่ บริษทั ชัน้ ในประเทศไทยอีกหลายเจ้า ที่ใช้เครื่องกำ�เนิดกระแสไฟฟ้าแบบกังหันก๊าซ 54
Thailand Industrial Today
SPECIAL FEATURE
Special Feature
PM 2.5
By Chutinun Sanguanprasit (Liu)
PM 2.5 ทำ�ไมฝุ่นพิษขนาดเล็ก ถึงสร้างปัญหาใหญ่ให้สงั คมไทย?
ฝุ่นพิษ PM 2.5 เกิดจากอะไร ?
MAR– APR 2019
อ.วิ ษ ณุ อรรถานิ ช รองศาสตราจารย์ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เคยทำ�งานวิจัย ทีว่ า่ ฝุน่ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพคนไทยอย่างไร และส่ ง ผลกระทบเป็ น มู ล ค่ า ทางเศรษฐกิ จ เท่ า ใดบ้ า ง เล่ า ให้ ฟั ง ว่ า ฝุ่ น PM 2.5 คื อ ฝุ่นละอองที่ขนาดเล็กว่า 2.5 ไมครอนมอง ไม่เห็นด้วยตาเปล่า
ฝุ่น PM 2.5 เกิดจาก
1. การเผาไหม้ เ ครื่ อ งจั ก ร เครื่ อ งยนต์ ทั้ ง รถยนต์ใหม่และเก่า สังเกตได้วา่ ฝุน่ จะเพิม่ ขึน้ สูงสุดหลัง 1 ทุ่มที่คนเริ่มขับรถกลับบ้านไป จนถึงช่วง 11 โมงเช้า 2. ฤดูกาลหนาวหรืออากาศที่เย็นและแห้ง ส่งผลให้ฝนุ่ ไม่ลอยขึน้ ทีส่ งู สังเกตได้วา่ ตอนเช้า หรืออากาศเย็นๆ ฝุน่ จะเยอะกว่าปกติ โดยฝุน่
56
Thailand Industrial Today
จะเยอะในช่วงเดือน ธ.ค.-ก.พ. นอกจากนี้ถ้า อากาศตายหรือลมไม่พัด เช่น กรุงเทพฯ ที่มี สิง่ ก่อสร้าง ตึกสูงเยอะ ยิง่ ไม่มลี มฝุน่ เลยไม่พดั ไปไหน จากข้อมูลขององค์กรอนามัยโลก (WHO) บอกว่า ถ้าค่าเฉลี่ยทั้งปีมีฝุ่น PM 2.5 เกิน 25 ไมโครกรั ม ต่ อ ลู ก บาศก์ เ มตร ถื อ ว่ า อันตรายแล้ว ขณะที่ของประเทศไทยมองต่าง ออกไป โดยกำ�หนดไว้วา ่ ถ้าค่าเฉลีย่ ทัง้ ปีมฝี นุ่ 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตรถึงจะเป็น อันตรายกับชีวิตคน “ตอนนี้ผมไม่แน่ใจว่าตัวเลขฝุ่น PM 2.5 อยู่ที่เท่าไรเป๊ะๆ แต่ของไทยทั้งปีน่าจะไม่เกิน 100 ไมโครกรัม ซึง่ ก็ถอื ว่าอันตรายแล้ว แต่คน ยั ง ไม่ ค่ อ ยตระหนั ก เท่ า ไร เพราะเป็ น ฝุ่ น ที่ ขนาดเล็กมากมองไม่เห็นด้วยตาเปล่าเหมือน ฝุ่นขนาดใหญ่ แต่ที่จริงฝุ่น PM 2.5 มีผลกระ ทบต่อสุขภาพคนในระยะยาว เป็นสาเหตุเกิด ได้หลายโรค เช่น ภูมิแพ้ ไปจนถึงมะเร็ง”
ฝุ่นพิษขนาดเล็ก
ทำ�ไมฝุน่ PM 2.5 กระทบสุขภาพคนไทย ตีมลู ค่าเป็นหลักหมื่นล้านบาท
จากงานวิจยั ทีผ่ มเคยทำ�เมือ่ 2 ปีกอ่ นเกีย่ วกับ ผลกระทบของฝุ่น PM10 น่าจะปรับใช้กับ ความเสียหายต่อสุขภาพคนไทยได้ คือ เมือ่ ฝุน่ PM10 เกินค่ามาตรฐานความปลอดภัย ทุกๆ 1 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตรจะสร้างความ เสียหายให้คนกรุงเทพ 18,420 ล้านบาท ดังนัน้ ฝุน่ ขนาดเล็ก PM2.5 ยิง่ ส่งผลกระทบ ต่ อ สุ ข ภาพคนไทยได้ ม ากกว่ า แต่ ปั จ จุ บั น ข้อมูลฝุ่น PM2.5 ยังมีน้อยมาก โดยเฉพาะ ของไทยเริ่มเก็บข้อมูลไม่เกิน 2 ปี (ที่สามารถ ทำ�วิจัยฝุ่น PM10 ได้เพราะไทยจัดเก็บข้อมูล มานานกว่า 10 ปี)
“ความเสียหายทีเ่ กิดกับคนไทย มีหลายอย่าง ทัง้ เรือ่ งสุขภาพ โดยเฉพาะค่ารักษาพยาบาล และสิ่งแวดล้อมรอบตัว”
“ไม่เห็นโลงศพ ไม่หลัง่ น้�ำ ตา” รัฐฯ ต้องรับมือ กับฝุน่ PM2.5 อย่างไร?
จากทีห่ ลายคนถามว่าการฉีดน้�ำ จะช่วยลด ฝุน่ ได้ไหม วิษณุ ตอบว่า ฉีดน้�ำ ช่วยลดฝุน่ คลุง้ ได้ แต่ส�ำ หรับฝุน่ PM2.5 รดน้�ำ ก็ชว่ ยไม่ได้ จากข่าว ที่ ว่ า จะทำ � ฝนหลวงอาจจะช่ ว ยได้ เ ล็ ก น้ อ ย แต่ฤดูหนาวก้อนเมฆน้อยก็ท�ำ ฝนหลวงได้ยาก
ฉีดนา้ํ ก็ไม่ได้ท�ำ ให้ฝนุ่ PM2.5 ลดลง เราจะป้องกันตัวอย่างไร?
สรุป : ปัญหาของกรุงเทพฯ ฝุ่นพิษปัจจัยหลัก
1. หาเครื่องป้องกัน ใช้มาสก์ปิดจมูกที่ สามารถกันฝุน่ ขนาดเล็ก PM2.5 ได้ ซือ้ ใช้แล้ว ก็ต้องเปลี่ยนอันใหม่ตามอายุการใช้งาน 2. ใช้แอพพลิเคชัน่ ทีต่ รวจค่ามลพิษ ฝุน่ พิษ ต่างๆ เช่น AQI กรมควบคุมมลพิษ ฯลฯ
57
Thailand Industrial Today
มาจาก จำ � นวนรถที่ เ กิ น พื้ น ที่ บ นท้ อ งถนน ทั้งปัญหารถติด และอีกสารพัด ถ้ารัฐบาลจะ แก้ไขต้องเริ่มที่การเข้มงวดมาตรการต่างๆ เช่น ตรวจสอบรถที่ปล่อยควันดำ� ฯลฯ ที่มา : https://brandinside.asia/pm2-5pollution-big-problem-thailand/
MAR– APR 2019
มาตรการระยะสัน้ ทีภ่ าครับควรทำ� อย่างแรก คือ การสร้างความตระหนักรู้ ทัง้ รัฐบาล ประชาชน ภาคเอกชน ผู้บริหาร ต้องรู้ว่าฝุ่น PM2.5 อันตรายกับชีวติ และสุขภาพของคนมาก อย่าง ทุกวันนี้คนยังไม่ใส่หน้ากาก เพราะยังไม่เห็น อันตรายมาก ด้านภาครัฐ ควรออกมาตรการตรวจสอบ สภาพเครื่องยนต์ให้เข้มงวดขึ้น รถที่มีควันดำ� ต้องไม่ปล่อยให้ขับบนถนน สถานที่ก่อสร้าง ต่างๆ ต้องมีการปกคลุม การบำ�บัดเพื่อไม่ให้ เกิดมลพิษ “ทุกวันนี้มาตรการต่างๆ ของภาค รัฐถือว่าดีแล้ว แต่ต้องเข้มงวด และบังคับใช้ จริ ง ๆ อย่ า งกฎที่ ห้ า มสถานที่ ก่ อ สร้ า งใน กรุงเทพทำ�งานหลัง 6 โมงเย็น สังเกตได้ว่า หลายที่ก็ยังเปิดให้ทำ�งานต่อ” ด้านมาตรการระยะยาว รัฐต้องยกระดับ มาตรฐานเครื่องยนต์ขึ้นอีก (ก่อนหน้านี้ขยับ ขึ้นจากยูโร 2 เป็น ยูโร 4 แล้วแต่ยังไม่พอกับ สถานการณ์ ฝุ่ น พิ ษ ในปั จ จุ บั น ) แต่ เ รื่ อ งนี้ ละเอียดอ่อนมากเพราะจะกลาบเป็นต้นทุน ของผู้ ป ระกอบการเพิ่ ม ขึ้ น รั ฐ ต้ อ งออก มาตรการเยียวยาเพื่อสนับสนุนให้ผู้ประกอบ การพัฒนา
“ถ้าประชาชนจะได้ประโยชน์จากฝุ่นพิษ น้อยลง คุณภาพชีวิตก็ดีขึ้น รัฐบาลจะเสียเงิน น้อยลงด้านอื่นและ เอาเงินส่วนนั้นมาจ่ายให้ กับคนที่เสียประโยชน์อย่างผู้ประกอบการ ซึ่ง ก็อาจจะเป็นผลดีกับภาพรวม”
Special Feature
TAITA
ไททา แนะพรรคการเมือง MAR– APR 2019
ชูนโยบายเกษตร GAP ใช้สารเคมีปลอดภัย แข่งขันในตลาดโลก
สมาคมฯ นวัตกรรมเพื่อการเกษตรไทย หรื อ ไททา แนะพรรคการเมือ งไทย หยุด นโยบายประชานิ ย ม ควรชู น โยบายหลั ก เร่งสนับสนุนภาคเกษตรกรรม เน้นการเกษตร มาตรฐาน GAP ใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย พร้ อ มรุ ก ตลาดต่ า งประเทศ นำ � รายได้ เ ข้ า ประเทศอย่างยั่งยืน ดร. วรณิกา นาควัชระ ผูอ้ �ำ นวยการบริหาร สมาคมฯ นวัตกรรมเพือ่ การเกษตรไทย หรือ ไททา เปิดเผยว่า รายได้จากภาคเกษตรคิดเป็น ร้อยละ 10 ของ GDP โดยมีพืชเศรษฐกิจ นำ�รายได้เข้าประเทศมากมายหลายชนิด อาทิ
ข้าว มันสำ�ปะหลัง ข้าวโพด ยางพารา ทุเรียน มังคุด แต่ปจั จุบนั ยังขาดการบริหารจัดการทีด่ ี ขาดการส่งเสริมอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่ต้นน้ำ� จนถึ ง ปลายน้ำ � ทำ � ให้ ป ระเทศไทยสู ญ เสี ย โอกาสในหลายด้าน และไม่สามารถเติบโตได้ ตามที่ควรจะเป็น ภาครัฐบาลได้พยายามส่งเสริมให้ ประเทศไทย เป็นครัวของโลก แต่ ไททา กลับมองว่า ประเทศไทย จะต้องเป็นจุดศูนย์กลางของอาหารโลกที่มี คุณภาพและพัฒนาให้เป็นแบรนด์ของประเทศ ในอนาคต ทัง้ นี้ การบรรลุสเู่ ป้าหมายดังกล่าว จำ�เป็นต้องพัฒนาตั้งแต่จุดเริ่มต้น เกษตรกร
58
Thailand Industrial Today
ดร. วรณิกา นาควัชระ : ผูอ้ �ำ นวยการบริหาร สมาคมฯ นวัตกรรมเพือ่ การเกษตรไทย
เกษตรไทยใช้สารเคมีปลอดภัย
3) ราคากลางสินค้าเกษตร ปัจจุบนั ภาครัฐ มีการกำ�หนดราคากลางสินค้าในหลายประเภท จึงอยากพิจารณาราคากลางสินค้าเกษตรบ้าง ตามความเหมาะสม เพื่อ ผลประโยชน์ ต่ อ เกษตรกรและผู้บริโภค “ปั ญ หาหลั ก ของภาคเกษตรไทย คื อ ยังหลงประเด็นกับการจัดการปัญหาที่ไม่ตรง จุด เรียกได้วา่ เป็นการแก้ปญ ั หาด้วยการสร้าง ปัญหาใหม่ อาทิ การระดมสมองเพือ่ แก้ปญ ั หา เกษตรกรระดั บ ประเทศ ควรให้ ผู้ มี ค วามรู้ ประสบการณ์ กลับให้หน่วยงานอืน่ ทีข่ าดความรู้ ข้อเท็จจริง และข้อมูลวิทยาศาสตร์มาตัดสิน หรือ การสร้างโอกาสในการแข่งขันสินค้าเกษตร ควรพัฒนาเกษตรมาตรฐาน GAP ใช้สารเคมี
59
Thailand Industrial Today
อย่างปลอดภัย ซึ่งเป็นแนวทางปฏิบัติได้รับ การยอมรับทั่วโลก ให้ความรู้เกษตรกรในการ เพาะปลูกทุกขั้นตอนให้มีความปลอดภัย โดย ใช้สารเคมีอย่างเหมาะสม ถูกต้อง ตามสภาพ แวดล้อมของแต่ละคน หากใครไม่ต้องการใช้ สารเคมีก็มีแนวทางแนะนำ� หากใครต้องการ ใช้ ส ารเคมี ก็ มี วิ ธี ก ารควบคุ ม เหมื อ นการ ทำ�งานของแต่ละคน บางคนขับรถ บางคนนั่ง รถเมล์ บางคนนั่ ง รถไฟฟ้ า บางคนเดิ น ไป ทำ�งาน ภาครัฐไม่สามารถบังคับให้ทุกคนนั่ง รถไฟฟ้ า เพี ย งอย่ า งเดี ย วได้ เพราะสภาพ แวดล้อมแต่ละคนต่างกัน ดังนั้น การกำ�หนด แนวทางจึงเป็นสิง่ สำ�คัญทีส่ ดุ สำ�หรับประเทศไทย วันนี้” ดร. วรณิกา กล่าวสรุป
MAR– APR 2019
ปัจจัยการผลิต ระบบการเพาะปลูก การส่งเสริม และสนับสนุน จนถึงการตลาดและจัดจำ�หน่าย ปัจจุบนั ประเทศไทยกำ�ลังอยูใ่ นช่วงการเปลีย่ น แปลงทางการเมือง เตรียมพร้อมสูก่ ารเลือกตัง้ ครัง้ ใหม่ จึงอยากให้พรรคการเมืองต่างๆ หยุด นโยบายประชานิยม เพ้อฝัน หันมาพิจารณา แนวทางทีเ่ ป็นจริงและก่อประโยชน์ตอ่ บ้านเมือง โดยเฉพาะนโยบายภาคการเกษตร อันเป็น รายได้หลักของประเทศ ไททา ขอเสนอ 3 นโยบายหลักด้านการเกษตร ที่อยากให้พรรคการเมืองนำ�ไปชูเป็นนโยบาย พรรค ได้แก่ 1) เกษตรกรสร้างชาติ เป็นการส่งเสริม ความรู้ให้เกษตรกรอย่าง เป็นระบบ ประสาน ร่วมกับภาคเอกชน อุตสาหกรรม และรัฐ เพื่อ ให้เกิดการปฏิบตั ไิ ด้จริง รวมทัง้ เชิญนักวิชาการ และผู้เชี่ยวชาญด้านการเกษตรในสาขาต่างๆ ทีม่ ปี ระสบการณ์ เข้ามาพัฒนาภาคการเกษตร ไม่ใช่ให้ผู้ที่ไม่มีความรู้และประสบการณ์มา บริหารหรือจัดการภาคเกษตร 2) เกษตรมาตรฐาน GAP ใช้ ส ารเคมี ปลอดภัย ส่งเสริมความรูก้ ารเกษตรมาตรฐาน GAP ซึง่ เป็นแนวทางปฏิบตั ทิ ไี่ ด้รบั การยอมรับ จากทัว่ โลก ในหลายประเทศใช้มาตรฐานนีใ้ น การกีดกันสินค้าจากไทย ปัจจุบัน ภาครัฐให้ เกษตรกรใช้ ม าตรฐาน GAP โดยสมั ค รใจ ควรกำ�หนดให้เป็นมาตรฐานหลักที่ทุกภาค เกษตรต้องปฏิบัติ
Special Feature
Machine Learning
ขับเคลื่อน ฝ่าพายุมรสุม ด้วยดาต้า
Machine Learning
MAR– APR 2019
เน็ ต แอพ แนะ 3 แนวทางด้ า นการวิ เ คราะห์ แ ละ Machine Learning เพื่อเตรียมพร้อม ประเทศไทย ต่อการรับมือช่วงฤดูมรสุม เมือ่ วันที่ 26 ธันวาคม 2547 สึนามิครัง้ ใหญ่ ที่ส่งผลกระทบต่อทั่วทั้งภูมิภาค ได้คร่าชีวิต ผูค้ นไปกว่า 250,000 คนภายในวันเดียว และ มีประชากรกว่า 1.7 ล้านคนทั่วทั้งภูมิภาคที่ ต้องกลายเป็นบุคคลไร้บา้ น เมือ่ ปี 2557-2558 ที่ผ่านมา ประเทศมาเลเซียได้รับผลกระทบ ครั้งใหญ่อีกครั้งจากภัยพิบัติน้ำ�ท่วม โดยมี 12 รัฐ ที่ได้รับความเสียหาย เป็นจำ�นวนเงิน กว่า 1.5 พันล้านริงกิต รวมถึงผู้อพยพกว่า 200,000 คนที่ต้องเผชิญกับภาวะวิกฤตใน ครั้งนี้ สำ�หรับประเทศไทย เหตุการณ์สึนามิ ในปี 2547 ได้พรากผูค้ นไปกว่า 10,000 ราย จาก 6 จังหวัดตามแนวชายฝั่งทะเลอันดามัน ทางตอนใต้ของประเทศไทย ทั้งนี้ สำ�นักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติระบุว่า เหตุการณ์ภัยพิบัติในครั้งนี้ ส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อภาคเศรษฐกิจ ของประเทศไทยราว 35,000 ล้านบาท ทัง้ สองเหตุการณ์ดงั กล่าว เกิดขึน้ ในช่วงฤดู มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (พฤศจิกายนถึง มีนาคม) แม้ว่าจะเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็น ประจำ � ทุ ก ปี ทั้ ง ในประเทศไทยและเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้ แต่สภาพอากาศที่รุนแรง ซึ่ ง เกิ ด จากการเปลี่ ย นแปลงของสภาพภู มิ
อากาศ ก่อให้เกิดฤดูมรสุมทีส่ ง่ ผลกระทบร้าย แรงต่ อ ทั้ ง ภาคเศรษฐกิ จ และผู้ ค นจำ � นวน มหาศาลในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ดังนัน้ รัฐบาลควรมีการวางแผนและเตรียม ความพร้อมอย่างไร เพือ่ รับมือต่อภัยพิบตั แิ ละ ลดผลกระทบทางการเงินและเศรษฐกิจ และ ทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ เพือ่ ความปลอดภัยของประชาชน แนวทางการรับมือทีส่ �ำ คัญ คือ การพยากรณ์ สภาพภูมอิ ากาศทีม่ ปี ระสิทธิภาพและแม่นยำ� มากขึ้น เน็ตแอพ ขอเสนอ 3 แนวทางหลัก ดังนี้:
1) ยกระดับ Machine Learning มาใช้ในการพยากรณ์อากาศ
เครื่องวัดสภาพอากาศคือหัวใจสำ�คัญใน การคาดการณ์และพยากรณ์ที่แม่นยำ� ซูเปอร์ คอมพิวเตอร์ได้มีบทบาทสำ�คัญในการพัฒนา ออกแบบรูปแบบการพยากรณ์มาตั้งแต่ในยุค 1950s จนกระทั่งวันนี้ รูปแบบการพยากรณ์ สภาพอากาศยังคงเป็นหลักสำ�คัญในการสร้าง ข้อมูลใหม่ โดยอ้างอิงจากข้อมูลในอดีต และ พัฒนาการวิเคราะห์ในอนาคตให้มีความถูก ต้องแม่นยำ�มากขึ้น ปัจจุบัน Machine Learning (ML) ถูกนำ� มาใช้เพื่อการคาดการณ์พยากรณ์ที่แม่นยำ� 60
Thailand Industrial Today
มากขึ้น และลดปริมาณการใช้งานที่มากเกิน ไปของรูปแบบการพยากรณ์สภาพอากาศแบบ เดิ ม ที่ มี ตั ว แปรสั บ สนวุ่ น วาย และเสี่ ย งต่ อ ความไม่เสถียร สำ�นักงานบริหารภาคพืน้ ทะเล และบรรยากาศ แห่งสหรัฐอเมริกา (National Oceanic and Atmospheric Administration – NOAA) ได้ นำ� Machine Learning และเทคนิคต่างๆ ของ AI ประกอบกับความเข้าใจทางกายภาพ ของสิ่งแวดล้อม เพื่อใช้ในการปรับปรุงการ พยากรณ์มากขึน้ จึงสามารถเพิม่ ประสิทธิภาพ ความแม่นยำ�ในการพยากรณ์สภาพอากาศทีม่ ี ผลกระทบรุนแรงต่างๆ เช่น พายุฝนฟ้าคะนอง รุนแรง, พายุทอร์นาโด และพายุเฮอริเคน ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีการพัฒนา รู ป แบบการพยากรณ์ ส ภาพอากาศให้ นั ก วิ ท ยาศาสตร์ ส ามารถคำ � นวณได้ ว่ า ช่ ว ง เริม่ ต้นฤดูมรสุมจะมาช้ากว่าปกติได้ถงึ 15 วัน ในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา ทั้งยังช่วยให้มี ความรู้และความเข้าใจเพิ่มเติมเกี่ยวกับช่วง เวลาที่จะเกิดขึ้นของสภาพอากาศที่รุนแรง ในช่วงฤดูมรสุม เช่น ประเทศทีใ่ กล้เส้นศูนย์สตู ร อย่างมาเลเซีย และสิงคโปร์ ที่ประสบปัญหา ฝนตกและภัยแล้งในรอบ 10 ปี ในขณะที่
ขับเคลื่อนฝ่าพายุมรสุมด้วยดาต้า
Thailand Industrial Today
MAR– APR 2019
61
Machine Learning
ประเทศอื่นๆ ในตอนเหนือ เช่น ฟิลิปปินส์ และไทย จะมีโอกาสประสบปัญหาในรอบ 30 ปี ความแม่นยำ�และความเสถียรทีเ่ พิม่ มากขึน้ ของ Machine Learning จะช่วยให้หน่วยงาน รัฐบาลในประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เตรียมความพร้อมรับมือกับภัยพิบัติร่วมกัน ได้ดีมากยิ่งขึ้น และยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ในการลงทุ น ด้ า นโครงสร้ า งพื้ น ฐานและ เทคโนโลยีเพื่อลดความเสี่ยงอีกด้วย
MAR– APR 2019
2) เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการใช้ ข้ อ มู ล จำ � นวน มหาศาล เพื่อข้อมูลเชิงลึกที่รวดเร็วยิ่งขึ้น แบบเรียลไทม์
ขอบเขตของข้อมูลทีเ่ กีย่ วกับสภาพอากาศ มี อ ยู่ เ ป็ น จำ � นวนมาก ปั จ จุ บั น มี ด าวเที ย ม มากกว่ า หนึ่ ง พั น ดวงในอวกาศที่ ใ ห้ ข้ อ มู ล มากมายเกีย่ วกับรูปแบบของเมฆ ลม อุณหภูมิ และอื่นๆ อีกมากมาย ดาวเทียมเหล่านี้เป็น เพียงส่วนเล็กๆ ของการผลิตข้อมูลที่เกิดขึ้น เท่านัน้ ยังมีสถานีรายงานสภาพอากาศทีม่ อี ยู่ ทั่วโลกที่เป็นของรัฐบาลและเอกชนอีกหลาย ร้อยพันสถานี ที่รวบรวมข้อมูลแบบเรียลไทม์ อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ความต้องการด้านโครงสร้าง พื้นฐานก็มีเพิ่มมากขึ้น เพื่อการขนส่ง จัดการ และจัดเก็บข้อมูล ที่ต้องอาศัยการคำ�นวณที่มี พลั ง ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง สำ � หรั บ กระบวนการ ดังกล่าว ข้อมูลมหาศาลเหล่านี้สามารถเพิ่ม ประสิทธิภาพในการอัปเดตแบบเรียลไทม์ หรือ ปรับปรุงระบบเตือนภัยล่วงหน้า ซึง่ จะสามารถ ช่วยให้หลายๆ ประเทศลดค่าใช้จา่ ยจำ�นวนมาก รวมถึงประหยัดเวลาได้ดีเยี่ยมอีกด้วย ในปีที่ผ่านมา กรมอุตุนิยมวิทยาอินเดีย (The Indian Meteorological Department: IMD) สามารถพัฒนาการพยากรณ์ของฤดู มรสุม จาก 15 วันล่วงหน้า เป็น 3 เดือนล่วง หน้า จากการนำ�รูปแบบการพยากรณ์สภาพ อากาศมาใช้ประกอบกับการวิเคราะห์ข้อมูล แบบเรี ย ลไทม์ ช่ ว ยให้ เ กษตรกรในอิ น เดี ย มีเวลามากเพียงพอสำ�หรับการหว่านเมล็ดพันธุ์ และวางแผนหาช่องทางทรัพยากรชลประทาน อื่นๆ นอกจากนี้ ยังสามารถช่วยให้เจ้าหน้าที่ เทศบาลวางแผนการแพร่กระจายของน้ำ� เพือ่ กั ก เก็ บ สำ � หรั บ การใช้ ง านในครั ว เรื อ นและ อุตสาหกรรมในช่วงฤดูที่ลำ�บากอีกด้วย จากข้อมูลเหล่านี้ ศูนย์อตุ นุ ยิ มวิทยาเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรเริ่ ม ใช้ เทคโนโลยี แ ละโซลู ชั่ น ที่ จ ะช่ ว ย
ให้การประมวลผลข้อมูลด้านสภาพอากาศมี ความรวดเร็วยิง่ ขึน้ ก่อนทีน่ �้ำ ท่วมและพายุจาก มรสุมจะเกิดขึ้น นอกจากนี้ การวิเคราะห์ข้อมูลบิ๊กดาต้า ก็เป็นส่วนสำ� คัญในแผนงานระดับ ประเทศ ทั้งมาเลเซีย อินโดนีเซีย และไทย โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ในโครงการของรัฐบาลและอุตสาหกรรม ต่างๆ จึงไม่ใช่เรื่องยากที่จะนำ�เอาหลักการ และการเรี ย นรู้ เ ดี ย วกั น นี้ ม าปรั บ ใช้ กั บ การ พยากรณ์อากาศในอนาคต ทั้งนี้ กรมอุตุนิยมวิทยาแห่งประเทศไทย ได้ มี ก ารลงทุ น ด้ า นเทคโนโลยี ที่ ส ามารถ พยากรณ์อากาศได้รวดเร็วขึน้ ถึง 7 วันล่วงหน้า ทั้งโดยรายเดือนและรายปี รวมทั้งมีการวาง กลยุ ท ธ์ แ ละจั ด ทำ � แผนแม่ บ ทป้ อ งกั น และ บรรเทาภัยจากคลื่นสึนามิ เพื่อปกป้องดูแล ประชาชนจากภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติในอนาคต ได้ดียิ่งขึ้นอีกด้วย จากเหตุการณ์พายุปาบึกในช่วงต้นเดือน มกราคมที่ ผ่ า นมา กรมอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาแห่ ง ประเทศไทยได้รับข้อมูลเกี่ยวกับพายุปาบึกที่ กำ�ลังจะมาถึง และมีการเตรียมความพร้อม รับมือล่วงหน้าเพื่อป้องกันความเสี่ยงจากภัย อันตราย ด้วยการตั้งศูนย์ดาต้าเซ็นเตอร์และ การใช้งานแอพพลิเคชั่น WMApp ที่มีความ แม่นยำ�และละเอียดสูง การติดตามและการ คาดการณ์ผลพยากรณ์อากาศจึงประสบผล สำ�เร็จเป็นอย่างมาก แอพพลิเคชั่น WMApp 62
Thailand Industrial Today
ได้นำ�อัลกอริทึม AMP มาใช้ในการพยากรณ์ ซึ่ ง ถื อ เป็ น อั ล กอริ ทึ ม แรกของโลกที่ มี ค วาม ถูกต้องแม่นยำ�ทีส่ ดุ ข้อมูลดาต้าจากดาวเทียม และอั ล กอริ ทึ ม AMP ส่ ง ผลให้ WMApp สามารถคาดการณ์พยากรณ์อากาศได้อย่าง ละเอียดและแม่นยำ� ทั้งการระบุต�ำ แหน่งและ เวลาทีห่ ยดน้�ำ ฟ้าจะตก ควบคูก่ บั ผลพยากรณ์ พายุหมุน (Cyclone) ได้ล่วงหน้า 5.5 วัน ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จากเหตุการณ์ภยั พิบตั สิ นึ ามิทไี่ ม่มกี ารคาด การณ์และวางแผนตั้งรับอย่างมีประสิทธิภาพ หน่ ว ยงานต่ า งๆ จึ ง มี แ ผนการตั้ ง รั บ ที่ มี ความพร้อมต่อเหตุการณ์พายุปาบึกมากขึ้น ด้ ว ยเทคโนโลยี ใ นการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ที่ มี ประสิทธิภาพดังกล่าว หน่วยงาน และภาครัฐ สามารถเตื อ นภั ย ประชาชนได้ ล่ ว งหน้ า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ ตามแนวชายฝัง่ ทะเลทางภาคใต้ของประเทศไทย เพื่ อ เตรี ย มพร้ อ มในการอพยพได้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น จากการรายงานของกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยพบว่าประชาชน 34,089 รายได้ รั บ ความช่ ว ยเหลื อ ในการอพยพจากพายุ ปาบึก รวมถึงศูนย์ประสานงานสำ�หรับเหตุ ฉุกเฉินทีไ่ ด้จดั เตรียมทีพ่ กั และความปลอดภัย สำ�หรับผู้อพยพกว่า 500 คนในพื้นที่ที่ได้รับ ผลกระทบ ด้วยข้อได้เปรียบจากเทคโนโลยี ด้านข้อมูลดาต้า การรวบรวมข้อมูลดาต้า และ การวิเคราะห์อย่างละเอียดแม่นยำ� ส่งผลให้
ขับเคลื่อนฝ่าพายุมรสุมด้วยดาต้า
Machine Learning ภาครัฐสามารถวางแผนล่วงหน้าเพื่อป้องกัน ความเสี ย หายทางสั ง คมและเศรษฐกิ จ สภาการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ระบุวา่ ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติครัง้ นีไ้ ม่ได้กอ่ ให้ เกิดความเสียหายทีร่ นุ แรงต่อภาคการท่องเทีย่ ว ทางกระทรวงพลังงานก็มีการประกาศว่าการ ผลิตปิโตรเลียมของอ่าวไทยไม่ได้รบั ความเสีย หายที่เป็นอันตรายเช่นกัน และยังคงดำ�เนิน การผลิตก๊าซและไฟฟ้าได้อย่างราบรืน่ จึงอาจ กล่าวได้วา่ ความเสียหายต่างๆ อาจเลวร้ายขึน้ หากปราศจากนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีและ การวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ดาต้ า ที่ แ ม่ น ยำ � และมี ประสิทธิภาพ
3) การแก้ปัญหาที่สำ�คัญทางภูมิศาสตร์
63
Thailand Industrial Today
หลายพันล้านดอลล่าร์ในด้านการพยากรณ์ อากาศเป็นประจำ�ทุกปี ดังนั้น จึงไม่มีภาค เศรษฐกิ จ ใดที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากสภาพ อากาศ ทั้งทางตรงและทางอ้อม แหล่ ง ข้ อ มู ล ทางด้ า นสภาพอากาศที่ มี ประสิ ท ธิ ภ าพจะยั ง คงเพิ่ ม ปริ ม าณมากขึ้ น ในระยะยาว ประกอบกับความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีดา้ นการวิเคราะห์ AI และ Machine Learning ที่สามารถช่วยให้หน่วยงานภาครัฐ และบริษัทต่างๆ นำ�ข้อมูลเหล่านี้มาใช้ได้ดี ยิ่งขึ้น เน็ ต แอพรู้ สึ ก ตื่ น เต้ น และเป็ น เกี ย รติ อย่างมากที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนา อย่างต่อเนื่องในครั้งนี้ เน็ตแอพ ออลแฟลช FAS โซลูชั่น สามารถช่วยให้องค์กรต่างๆ สามารถเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพที่ จำ � เป็ น ต่ อ การ เพิ่มความเร็วในการแสดงข้อมูลแบบเสมือน จริงสำ�หรับนักพยากรณ์อากาศทั่วโลก และ นี่เป็นสิ่งที่เน็ตแอพ ภูมิใจที่จะนำ�เสนอและ มีส่วนร่วมต่อภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในช่วงเข้าสู่ฤดูมรสุมในปีพ.ศ. 2561 และ ต่อเนื่องในปีต่อๆ ไป
MAR– APR 2019
นอกเหนือจากการจัดการกับผลกระทบที่ เกิดขึ้นในฤดูมรสุมแล้ว เทคโนโลยีทางด้าน ข้อมูลก็สามารถนำ�มาใช้แก้ปญ ั หาทีส่ �ำ คัญทาง ภูมิศาสตร์ได้อีกด้วย ภาพจากดาวเทียมและ ภาพเรดาร์ การสำ�รวจพื้นผิว รวมไปถึงการ วัดความกดอากาศ ความเร็วลม การตกตะกอน อุณหภูมิ และความชื้น ล้วนแล้วแต่ประมวล เป็นผลลัพธ์ที่แสดงให้เห็นถึงความเสียหาย
ทางสภาพอากาศในระยะยาว ทีส่ ามารถนำ�มา ใช้เพือ่ การแจ้งนโยบายและการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานได้อีกด้วย ผลกระทบที่สำ�คัญมากประการหนึ่งของ สึนามิในปี 2547 คือการเซาะและกัดกร่อน ของชายฝั่งในประเทศแถบเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหาย เพิ่มเติมในอนาคต วิศวกรรมชายฝั่งสามารถ ใช้ขอ้ มูลสภาพอากาศทางคลืน่ ลมไปวิเคราะห์ เพื่อรักษาระบบนิเวศทางทะเล และป้องกัน ชายทะเลจากการถูกกัดเซาะ ด้วยข้อมูลสถิติ ทีส่ ามารถคาดการณ์ลกั ษณะของคลืน่ ลม หรือ ผลกระทบจากอุทกพลศาสตร์ ด้วยประการนี้ วิศวกรสามารถระบุต�ำ แหน่ง การก่อสร้างเขื่อนและกำ�แพงกันคลื่น การขุด ทรายและหินออกไป หรือย้ายไปยังตำ�แหน่ง อืน่ นอกจากนีย้ งั สามารถสร้างเนินทรายเทียม เพื่ อ รั ก ษาและป้ อ งกั น ชายฝั่ ง ทะเลที่ ถู ก กั ด เซาะ ทั้งยังอนุรักษ์ชายหาดอันสวยงามของ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อการท่องเที่ยว และอื่นๆอีกมากมาย รัฐบาลและภาคเอกชนในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ได้มีการจัดสรรการลงทุน
Special Feature
BOSCH
บ๊อช สยายปีก
ขึน้ แท่นผูน้ �ำ IoT แห่งยุค
MAR– APR 2019
ผลักดันโซลูชั่นส์แห่งการเชื่อมต่อด้านเทคโนโลยี การขับเคลื่อนและที่อยู่อาศัยแห่งอนาคต เทคโนโลยี IoT กำ�ลังเปลี่ยนแปลงโลก มากขึ้นทุกขณะ ดังที่ปรากฏให้เห็นได้ชัดเจน ทีง่ านแสดงนวัตกรรมและสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2019 (2019 Consumer Electronics Show: CES) ซึ่งจัดขึ้นที่นครลาสเวกัส โดย บ๊อชได้จัดแสดงเทคโนโลยีต่างๆ ของบริษัทฯ ที่นำ�มาใช้ได้จริงในปัจจุบัน เริ่มตั้งแต่แนวคิด การออกแบบยานพาหนะขนส่งสาธารณะที่ ทำ�ให้เทคโนโลยีการขับเคลื่อนเกิดขึ้นได้จริง ไปจนถึ ง ตู้ เ ย็ นที่มีร ะบบเชื่อ มต่อ อัจฉริย ะที่ สามารถให้คำ�แนะนำ�เกี่ยวกับการจัดเก็บและ สำ�รองอาหารในตูเ้ ย็นได้ และแม้กระทัง่ เครือ่ ง ตัดหญ้าอัจฉริยะทีส่ ามารถเรียนรูแ้ ละพัฒนาการ ทำ�งานจากการใช้งานจริงได้ แสดงให้เห็นถึง ความตระการตาของโซลูชั่นส์จากบ๊อช ซึ่งถูก นำ�มาจัดแสดงทีง่ านแสดงสินค้าอิเลคทรอนิกส์ สำ�หรับผู้บริโภคที่ใหญ่ที่สุดในโลกครั้งนี้ “บ๊อชมองเห็นโอกาสและความเป็นไปได้ ของเทคโนโลยี IoT มาตั้งแต่ช่วงเริ่มต้น เราจึง ได้วางแนวทางการพัฒนาโลกแห่งการเชือ่ มต่อ อย่างจริงจังมาเกือบหนึ่งทศวรรษแล้ว”
ดร. มาร์คัส เฮย์น หนึ่งในคณะกรรมการ บริหารของบ๊อช กล่าว “ปัจจุบนั เราเป็นบริษทั ชั้นนำ�ในด้าน IoT โดยเราเสริมสร้างความ เชีย่ วชาญด้านซอฟต์แวร์และ IoT มาอย่างเป็น ขั้นเป็นตอน” การที่บ๊อชมีระบบคลาวด์ IoT เป็นของตัวเอง ช่วยให้บริษทั ฯ สามารถพัฒนา โครงการต่ า งๆ มากกว่ า 270 โครงการ ที่ครอบคลุมทั้งด้านเทคโนโลยีการขับเคลื่อน สมาร์ ท โฮม สมาร์ ท ซิ ตี้ และเกษตรกรรม ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ จำ � นวนของเซ็ น เซอร์ แ ละ อุปกรณ์ต่างๆ ที่สามารถเชื่อมต่อกับระบบ Bosch IoT Suite ที่เพิ่มขึ้นราวร้อยละ 40 มาตั้งแต่ปีที่ผ่านมา โดยถึงตอนนี้มีจำ�นวน เซ็นเซอร์ที่บ๊อชผลิตรวมราว 8.5 ล้านชิ้น หนึ่งในปัจจัยสำ�คัญที่ช่วยสร้างการเติบโต และโอกาสทางธุ ร กิ จ ใหม่ ๆ ด้ า น IoT คื อ เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์หรือเอไอ ซึ่งบ๊อช ส่งเสริมการพัฒนาด้านนี้อย่างจริงจัง “เราจะ ปลดล็อกศักยภาพของเทคโนโลยี IoT ได้อย่าง เต็มทีก่ ต็ อ่ เมือ่ ได้เชือ่ มโยงมันเข้ากับเทคโนโลยี เอไอ จึงต้องมีการพัฒนาโครงการด้าน IoT 64
Thailand Industrial Today
และเอไอควบคู่กันไป” มร. เฮย์น กล่าว ซึ่งเขา มีความเห็นว่าเทคโนโลยีทงั้ สองนีต้ า่ งเกือ้ หนุน ซึ่งกันและกัน “เทคโนโลยี IoT ต้องการเชาวน์ ปัญญา การใช้อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อกันได้ในการ รวบรวมข้อมูล จะเป็นแรงผลักดันสำ�คัญใน การพัฒนาเทคโนโลยีเอไอ ในขณะเดียวกัน เทคโนโลยีเอไอเท่านัน้ ทีส่ ามารถทำ�ให้อปุ กรณ์ ที่เชื่อมต่อกันได้มีเชาวน์ปัญญา จนสามารถ เรียนรูท้ จี่ ะคิดวิเคราะห์หาข้อสรุปและประมวล ผลต่างๆ ได้ดว้ ยตัวเอง เหนือสิง่ อืน่ ใด เรามุง่ มัน่ ที่จะเสริมสร้างชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนใน แต่ละวันให้ดียิ่งขึ้น มีเวลามากขึ้น มีความ ปลอดภัยมากขึ้น รวมทั้งมีประสิทธิภาพและ ความสะดวกสบายยิ่งขึ้น” นอกจากนี้ มร. เฮย์น ยังยกตัวอย่างเครื่อง ตรวจจับควันระบบวิดโี อ โดยใช้ระบบวิเคราะห์ ภาพแบบอั จ ฉริ ย ะ และกล้ อ งรั ก ษาความ ปลอดภัยชนิดต่างๆ ทีช่ ว่ ยให้สามารถตรวจจับ กองไฟภายในเวลาไม่กี่วินาที ซึ่งไวกว่าที่ตัว เซ็นเซอร์ของระบบจะสามารถตรวจจับความ ร้อนและควันไฟได้เสียอีก ระบบนี้ทำ�ให้พบ กองไฟได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว กว่ า ระบบเดิ ม มาก จึงช่วยเพิ่มเวลาที่จะปกป้อง และรักษาชีวิต ของผู้คน
ขึ้นแท่นผู้นำ� IoT แห่งยุค
ปัจจัยที่สองในการกรุยทางความสำ�เร็จสู่ยุค IoT คือการเป็นพันธมิตร โดยบ๊อชร่วมงานกับ ทั้งผู้เล่นหน้าเดิมและหน้าใหม่ เมื่อเร็วๆ นี้ บ๊ อชได้ร่วมมือกับผู้ให้บริการด้านแพลตฟอร์ม สัญชาติแคนาดาชือ่ Mojio เพือ่ พัฒนาแพลตฟอร์ม IoT แบบบูรณาการเพื่อใช้กับยานยนต์ที่เชื่อม ต่อกันได้ขึ้นเป็นครั้งแรกของโลก ยกตัวอย่าง เช่น ในกรณีเกิดอุบัติเหตุ ระบบอัลกอริทึม ของบ๊อชจะระบุได้ว่าเกิดอุบัติเหตุขึ้นที่ไหน เมื่อใด และรุนแรงเพียงใด ข้อมูลจะส่งผ่าน บนระบบคลาวด์ของ Mojio ไปยังศูนย์บริการ เหตุฉุกเฉินของบ๊อชอย่างรวดเร็ว พร้อมกับ การโทรขอความช่วยเหลือฉุกเฉินไปยังศูนย์ ให้ความช่วยเหลือของท้องถิ่นโดยอัตโนมัติ และในขณะเดียวกัน ข้อความก็จะถูกส่งไปยัง ผู้รับที่มีการกำ�หนดตั้งค่าไว้ล่วงหน้า ไม่ว่า จะเป็นในรูปแบบของข้อความ หรือบนแอปฯ ของ Mojio “การร่วมมือกับ Mojio ทำ�ให้เรา สามารถเชือ่ มต่อยานยนต์ได้โดยตรงกับระบบ คลาวด์ ซึ่งช่วยให้ความช่วยเหลือต่างๆ ไปถึง จุดเกิดเหตุได้รวดเร็วกว่าเดิมมาก” มร. ไมค์ แมนซูเอตโต้ ประธานบริษทั บ๊อช ในอเมริ ก าเหนื อ กล่ า วที่ ง าน CES ทั้ ง นี้ นับตัง้ แต่กลางปีหน้า ผูข้ บั ยานยนต์ราว 1 ล้านราย
ในอเมริกาเหนือและยุโรป จะมีโอกาสได้ใช้ โซลูชน่ั เทคโนโลยี IoT สำ�หรับระบบฉุกเฉินแล้ว
เทคโนโลยี IoT รุด หน้า: บ๊อชสร้ างสรรค์ เทคโนโลยี ก ารขั บ เคลื่ อ นที่ เ ชื่ อ มต่ อ กั น แห่ ง อนาคต
บ๊อชได้พัฒนายานยนต์ขนส่งสาธารณะ ต้นแบบ และเปิดตัวครัง้ แรกในโลกทีง่ าน CES โดยยานยนต์รนุ่ นีผ้ สานด้วยโซลูชนั่ ส์ตา่ งๆ ทัง้ ด้านระบบอัตโนมัติ เทคโนโลยีแห่งการเชื่อม ต่อ และเทคโนโลยีขบั เคลือ่ นด้วยไฟฟ้าสำ�หรับ ยานยนต์ ซึ่งผู้เข้าชมงานจะมีโอกาสได้สัมผัส กับยานยนต์ขนส่งไร้คนขับเป็นครั้งแรก โดย คาดว่าจะพร้อมโลดแล่นในเมืองต่างๆ ทัว่ โลก เร็วๆ นี้ มร. เฮย์น กล่าวว่า “นับเป็นการสะท้อน วิสยั ทัศน์ดา้ นเทคโนโลยีการขับเคลือ่ นของเรา ทัง้ การปราศจากการปล่อยก๊าซพิษ การปลอด อุบตั เิ หตุ และความไร้กงั วลทีเ่ ป็นไปได้จริงๆ ” นอกจากบ๊อชจะเป็นผู้สร้างสรรค์อุปกรณ์ ส่วนประกอบและระบบต่างๆ ของเทคโนโลยี การขับเคลือ่ นสำ�หรับการขนส่งสาธารณะแล้ว บริษัทฯ ยังให้บริการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ เทคโนโลยีการขับเคลือ่ น อาทิ การจอง การแชร์รถ และแพลตฟอร์ ม ด้ า นระบบเชื่ อ มต่ อ ต่ างๆ
Thailand Industrial Today
MAR– APR 2019
65
รวมทั้งที่จอด และการบริการเติมแบตเตอรี่ อีกด้วย ซึ่งบ๊อชเชื่อว่าการบริการระบบเชื่อม ต่อเหล่านี้ มีความสำ�คัญต่อเทคโนโลยีการ ขับเคลื่อนสำ�หรับอนาคตอย่างมาก นอกจากนี้ ยังมีการคาดการณ์ปริมาณการ ซื้อขายในตลาดเกี่ยวกับบริการเหล่านี้อยู่ใน ระดับที่สูง โดยจากที่มีมูลค่า 4.7 หมื่นล้าน ยูโรในปี 2560 คาดว่าตัวเลขจะเพิ่มเป็น 14 หมื่นล้านยูโรภายในปี 2565 (ที่มา: ไพรซ์วอ เทอร์เฮาส์คูเปอส์ - PwC) และที่สำ�คัญ บ๊อช ตัง้ เป้าส่วนแบ่งในตลาดนี้ โดยมีเป้าหมายการ เติบโตของกลุ่มโซลูชั่นส์เหล่านี้ในอัตราเลข สองหลัก มร. เฮย์น กล่าวด้วยความมั่นใจว่า “ในอนาคต ยานยนต์บนถนนทุกคันจะต้องใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลของบ๊อช โดยเราจะรวบรวม เทคโนโลยีตา่ งๆ ไว้ดว้ ยกัน ภายใต้ระบบนิเวศ ของการเชือ่ มต่อทีท่ งั้ ชาญฉลาดและไร้รอยต่อ” หนึ่ ง ในอุ ป สรรคขั้ น สุ ด ท้ า ยในการนำ � เทคโนโลยีการขับเคลือ่ นด้านการขนส่งด้วยรถ สาธารณะมาสู่ ก ารใช้ ง านจริ ง คื อ ระบบ อัตโนมัติของยานยนต์ที่จะต้องอยู่ในสภาพ แวดล้ อ มของเมื อ งที่ ยุ่ ง เหยิ ง เพราะฉะนั้ น บ๊อชจึงเชื่อว่าการหาพันธมิตรคือคำ�ตอบที่ดี ทีส่ ดุ โดย ในช่วงครึง่ ปีหลังของปีนเ้ี มืองซาน โฮเซ่
BOSCH
ซึง่ อยูใ่ นพืน้ ทีซ่ ลิ คิ อน แวลลีย่ ข์ องแคลิฟอร์เนีย จะเป็นเมืองต้นแบบสำ�หรับการทดลองการ บริการใช้รถร่วมกันโดยใช้ระบบอัตโนมัติและ ไร้คนขับโดยสมบูรณ์ ซึง่ บ๊อชร่วมพัฒนาขึน้ กับ เดมเลอร์ (Daimler) โดยมีการลงนามความ ร่วมมือจากทั้ง 3 ฝ่ายเรียบร้อยแล้ว จากการ ผสานความร่วมมือในครั้งนี้ บ๊อชและเดมเลอ ร์ตงั้ เป้าแก้ไขปัญหาการจราจรในเมืองให้คล่อง ตัวมากขึ้น และเพิ่มความปลอดภัยบนถนน อีกทัง้ ยังวางรากฐานโครงสร้างทีส่ �ำ คัญสำ�หรับ การจราจรในอนาคต โดยเป้าหมายของทัง้ สอง ฝ่ายคือ การพัฒนาระบบขับขี่ให้เป็นการขับขี่ แบบไร้คนขับด้วยระบบอัตโนมัติที่สมบูรณ์ แบบ (ระบบขับขีอ่ ตั โนมัตติ ามมาตรฐาน SAE Level 4/5) ทีพ่ ร้อมจะเข้าสูก่ ระบวนการผลิต ภายในต้นทศวรรษหน้า
เทคโนโลยี IoT ในบ้าน: อุปกรณ์และเครื่องใช้ ในบ้านที่เชื่อมต่อกัน ช่วยให้ชีวิตของเจ้าของ บ้านสะดวกและง่ายดายขึ้นอย่างชัดเจน
MAR– APR 2019
ไม่เพียงแต่ผลิตภัณฑ์และการบริการทีเ่ ชือ่ มกัน บนท้องถนนซึง่ ทำ�ให้ชวี ติ ผูค้ นสะดวกสบายขึน้ เท่านั้นที่เป็นที่ต้องการ มร. เฮย์น กล่าวว่า “เรากำ�ลังพัฒนาแนวคิดในเรือ่ งบ้านทีเ่ ชือ่ มต่อกัน รวมถึงอุปกรณ์และเครื่องใช้ในบ้านที่สามารถ
คิดวิเคราะห์ได้เองโดยอัตโนมัติ และเข้าใจ ความต้องการของผูใ้ ช้งาน” ยกตัวอย่างเช่น ใน งาน CES บริษัทฯ ได้แสดงฟังก์ชั่นใหม่ล่าสุด สำ�หรับตู้เย็นระบบเว็บเบส (web-enabled) ที่สามารถจดจำ�ประเภทอาหาร และให้คำ� แนะนำ � ในการจั ด เก็ บ และสำ � รองอาหารใน ตู้ เ ย็ น ได้ โดยกล้ อ งที่ ติ ด ตั้ ง ภายในตู้ เ ย็ น จะ จดจำ�ชนิดของผักและผลไม้ราว 60 ชนิดโดย อัตโนมัติ และแนะนำ�ตำ�แหน่งการจัดเก็บที่ดี ที่สุดผ่านทางแอปฯ จึงช่วยให้การเก็บอาหาร เป็นไปอย่างถูกต้องและเหมาะสม สามารถ เก็บความสดไว้ได้นานขึ้น และลดการทิ้งของ เสียให้น้อยลง นอกจากนี้ บ๊อชยังได้คิดค้นโปรเจคเตอร์ PAI ที่สามารถฉายจอภาพอินเทอร์เฟซแบบ เสมือนจริงบนเคาน์เตอร์ครัว เซ็นเซอร์สามมิติ แบบบูรณาการจะจับการเคลื่อนไหวของมือ โดยผู้ใช้งานจะใช้มือสัมผัสที่จอภาพเพื่อออก คำ�สั่งทำ�งาน ผู้ใช้งานสามารถค้นหาสูตรทำ� อาหารทางออนไลน์ และแม้กระทั่งโทรศัพท์ ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตในระหว่างทำ�อาหาร หรื อ อบอาหารอยู่ โปรเจคเตอร์ PAI ถู ก ออกแบบมาสำ�หรับสภาพการใช้งานในครัว โดยเฉพาะ จึงมีความทนทาน ไม่ต้องระวัง เรื่ อ งการใช้ ง านเหมื อ นกั บ สมาร์ ท โฟนหรื อ
66
Thailand Industrial Today
แท็บเล็ต และแม้นิ้วมือจะเหนียวเหนอะหนะ ก็ยังคงสามารถสั่งการโปรเจคเตอร์นี้ได้อย่าง สมบูรณ์แบบ
ที่ประเทศจีนเป็นที่แรก ก่อนนำ�ออกสู่ตลาดใน สหรัฐอเมริกาต่อไป
ไม่เพียงเท่านัน้ บ๊อชยังเปิดตัว Indego S+ หุน่ ยนต์ตดั หญ้าซึง่ สามารถเชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ต ได้ในงาน CES นี้ด้วย โดยนับเป็นหนึ่งในหุ่น ยนต์ตัดหญ้ารุ่นแรกๆ ที่ใช้ระบบควบคุมด้วย เสียงโดย Amazon Alexa และยังเป็นหุน่ ยนต์ ตัดหญ้าเพียงรุ่นเดียวที่สามารถเชื่อมต่อการ พยากรณ์อากาศบนเว็บไซต์ เพื่อวิเคราะห์ว่า ควรตัดหญ้าครั้งต่อไปเมื่อใด นอกจากนี้ บ๊อช ได้ นำ � เทคโนโลยี เ อไอมาพั ฒ นาหุ่ น ยนต์ ใ ห้ สามารถจดจำ�สิง่ กีดขวางต่างๆ บนสนามหญ้า โดยการประเมินข้อมูลต่างๆ เช่น การทำ�งาน ของมอเตอร์ ความเร่ง ความเร็วของมอเตอร์ และทิศทาง มร. เฮย์น กล่าวว่า “เราใช้เทคโนโลยี เอไอมาช่วยให้การตัดหญ้าเป็นเรือ่ งทีง่ า่ ยและ สะดวกสบายมากขึ้น เป้าหมายคือการทำ�ให้ Idego สามารถปรับการทำ�งานให้เหมาะสม กับสภาพของหญ้าในสวน เพือ่ ให้งานตัดหญ้า ออกมาสมบูรณ์แบบและสวยงามทุกครั้ง”
ขึ้นแท่นผู้นำ� IoT แห่งยุค
เทคโนโลยี IoT #LikeABosch: บ๊อชเปิดตัว แคมเปญ IoT ระดับโลก
67
Thailand Industrial Today
MAR– APR 2019
ท้ายสุด บ๊อชใช้โอกาสนี้เปิดตัวแคมเปญ ใหม่ของบริษัทฯ ซึ่งเป็นแคมเปญภาพลักษณ์ IoT โดยหมัดเด็ดของแคมเปญ คือ การใช้คลิป วิดีโอเพลงแนวฮิปฮอปที่มีตัวเอกเป็นผู้ใช้งาน ทีเ่ ชีย่ วชาญด้าน IoT กล่าวได้วา่ บ๊อชกำ�ลังก้าว เข้ า สู่ อ าณาจั ก รใหม่ ข องธุ ร กิ จ ด้ ว ยการชู แคมเปญ “Like a Bosch” ที่สะท้อนแนวทาง และรูปแบบที่แตกต่างอย่างเห็นได้ชัดสำ�หรับ การเดินทางครัง้ ใหม่ของบริษทั ฯ ทีก่ อ่ ตัง้ ขึน้ ใน ปี 2429 ซึง่ ชิน้ งานพีอาร์ครัง้ นี้ ต่อยอดมาจาก ไวรัลคลิปวิดีโอและมีมยอดฮิตในธีม ‘like a boss’ ที่ มี ก ารแชร์ กั น อย่ า งแพร่ ห ลายบน อินเทอร์เน็ต ด้วยยอดวิวหลายสิบล้านครั้ง โดยตั ว วิ ดี โ อจะแสดงภาพผู้ ค นที่ ทำ � อะไร แผลงๆ หรื อ ผาดโผน เพื่อ เอาตัว รอดจาก สถานการณ์ที่คับขันได้อย่างมีชั้นเชิง แคมเปญภาพลักษณ์ IoT ของบ๊อช จะใช้ การเปลี่ ย นตั ว อั ก ษรเพี ยงบางตั ว เพื่อ เพิ่ ม ลูกเล่นดึงดูดความสนใจบนโลกอินเทอร์เน็ต โดยตัวเอกเป็นผู้ชายที่สามารถควบคุมและ จัดการทุกอย่างได้อย่างง่ายดาย ด้วยการใช้ โซลูชั่นส์ที่เชื่อมต่อกันของบ๊อช ซึ่งเพียงแค่ใช้ สมาร์ ท โฟน เขาก็ ส ามารถสั่ ง การรถยนต์ เครื่องตัดหญ้า และแม้กระทั่งเครื่องทำ�กาแฟ ได้อย่างเท่ สมาร์ท และคล่องแคล่วมัน่ ใจ เรียก ได้วา่ เขาสามารถจัดการทุกเรือ่ งได้อยูห่ มัดใน แบบ ‘like a Bosch’ เลยทีเดียว
Special Feature
Cashless Society
ที่มา ; https://www.theeleader.com/knowledge-update
Cashless Society จริงไหม ที่เราจะถูกแบ่งแยกหากยุคสังคม
By Piphat Phoemphan
MAR– APR 2019
ไร้เงินสดมาถึง แต่เรายังชอบใช้เงินสด Cashless society เป็นแนวคิดสังคม เศรษฐกิจทีป่ ราศจากเงินสด หรือเรียกง่ายๆ ว่า สังคมไร้เงินสด ซึ่งจะทำ�ให้ความสำ�คัญของ เงินสดในอนาคตนั้นลดน้อยลง จะถูกแทนที่โดยการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ และเครือข่ายของโทรศัพท์ในการทำ�ธุรกรรม ทางการเงินแทน โดยข้อดีที่สำ�คัญของแนวคิด นี้คือ การลดการใช้เงินสดและการเพิ่มการใช้ e-payment จะทำ�ให้เศรษฐกิจของประเทศ เติบโตอย่างรวดเร็วขึน้ และประโยชน์สว่ นหนึง่ ก็ทำ�ให้ผู้บริโภคเข้าถึงบริการของธนาคารได้ ง่ายขึ้น จะถอน โอน จ่าย ก็ไม่จ�ำ เป็นต้องเดิน ทางไปธนาคารอีกแล้ว รวมทั้งหลายธุรกิจก็ ชอบแนวคิด Cashless society เพราะทำ�ให้ พวกเขาประหยัดต้นทุนสำ�หรับจัดการสิง่ ต่างๆ ไปมากกว่าเดิม ทำ�ให้รปู แบบการใช้เงินเปลีย่ นไป อย่ า งสิ้ น เชิ ง แต่ ห ากใครยั ง ยึ ด แบบเดิ ม ล่ ะ “ก็ ฉั น ชอบไปธนาคาร” “ฉั น ชอบโอนเงิ น ที่ เคาน์เตอร์” “ฉันชอบจ่ายเป็นเงินสด” “แบบเก่า ยังปลอดภัยกว่า จะเปลี่ยนทำ�ไม”
แน่นอนว่าสิ่งเหล่านี้ไม่มีใครไปบังคับให้ คุณเปลี่ยนหรอก แม้แต่แบงค์ชาติเองก็ทำ�ไม่ ได้ เพราะนัน้ คือสิทธิข์ องตัวคุณเอง แล้วจะถูก แบ่งแยกอย่างไรล่ะ? ด้วยแนวคิดทางการตลาด และเพื่อการลดต้นทุนในองค์กร ธุรกิจต่างๆ จะพยายามใช้ประโยชน์จากแนวคิดนี้เพื่อให้ 68
Thailand Industrial Today
เกิดความคุม้ ค่ามากทีส่ ดุ นัน่ คือการลดต้นทุน ที่ไม่จำ�เป็นออกไป
เข้าถึงบริการช้าและเสียเวลานาน
เหนือ่ ยไหมต้องนัง่ รอคิวนานๆ เมือ่ ยุคของ Cashless society ผูบ้ ริโภคทีย่ งั นิยมฝาก ถอน
ยุคสังคมไร้เงินสด
โอน จ่าย ผ่านเคาน์เตอร์ธนาคารจะถูกบีบให้ รอนานมากขึ้น โดยธนาคารจะลดสาขาและ ลดพนั ก งาน ทำ � ให้ ต้ อ งต่ อ แถวเพื่ อ รอรั บ บริการกันนานขึ้น
ค่าธรรมเนียมถูกหรือไม่เสียเลย
ปั จ จุ บั น การโอนเงิ น ต่ า งธนาคารผ่ า น เคาน์เตอร์หรือ ATM ยังต้องเสียค่าธรรมเนียม เป็นปกติตงั้ แต่ 25 ไปจนถึง 50 บาทหรืออาจ จะเสียมากกว่าถ้ายิง่ โอนมาก แต่ถา้ ใช้บริการ Promtpay จะฟรีค่าธรรมเนียมจำ�นวนหรือ เสียตั่งแต่ 2 บาทไปจนถึง 10 บาทหากโอน มากกว่า 1 แสน แต่จุดสังเกตคือ คนที่โอน และคนที่รับจะต้องผูกบัญชีพร้อมเพย์เหมือน กัน ซึ่งหากไม่ผูกบัญชีพร้อมเพย์ ก็ต้องเสียค่า โอนปกติ แล้วคนที่ไม่ยินดีจะใช้ล่ะ จะโดน กดดันแค่ไหน
ทีผ่ า่ นมา ห้างชัน้ นำ�ต่างๆ พยายามแก้ปญ ั หา ด้วยการเพิม่ เคาน์เตอร์ส�ำ หรับจ่ายเงิน แต่ตน้ ทุน ก็เพิ่มมากขึ้นด้วย ทำ�ให้พวกเขาเริ่มจะสรรหา วิธที จ่ี ะทำ�ให้ลดต้นทุนในการจ่ายและรวดเร็วขึน้ นั่ น คื อ เคาน์ เ ตอร์ ไร้ เ งิ น สด (แสกนสิ น ค้ า และรูดบัตรเสร็จเป็นอันจบ) โดยอาจจะลด เคาน์เตอร์ที่จ่ายกับคนลงเรื่อยๆ มากสุดอาจ จะมีแค่ 2 เคาน์เตอร์ จาก 20 ก็เป็นได้
ไม่สามารถเข้าถึงโปรโมชั่นพิเศษ
ปัจจุบนั นัน้ เริม่ เห็นชัดมากกับข้อนี้ ด้วยบัตร เครดิตรายต่างๆ พยายามผูกการตลาดการ เข้ากับห้างสรรพสินค้าในหลายรูปแบบ ทัง้ การ รับเงินคืน, ได้ของแถม, ลดราคาสินค้า, ผ่อน 0% หรือแม้แต่การสะสมแต้มเพื่อแลกสินค้าสุด พิเศษ แล้วเงินสดล่ะ มีโปรอะไร…..เห็นแล้วมัน น่าน้อยใจ
เอาแค่ 4 เรื่องก่อน เพราะแค่นี้ก็ส่งผล กระทบต่อกลุม่ นีพ้ อสมควร ส่วนหนึง่ ก็เห็นใจ คนที่ไม่ชอบใช้ เพราะพวกเขาอาจจะกังวลใน ความไม่ปลอดภัย หลายครัง้ มีขา่ วการโดนแฮ็ก ผ่านบัญชีธนาคาร โดยเป็นการโอนเงินผ่าน แอพพลิเคชัน่ ออกไปจำ�นวนมาก ส่วนหนึง่ ของ ปัญหามาจาก User Error การเปิดเผยข้อมูล และให้ข้อมูลง่ายๆ กับคนหรือเว็บไซต์แปลก หน้า รวมทัง้ ความแข็งแรงของระบบทีท่ �ำ ขึน้ ได้ มีดพี อ แต่ปจั จุบนั Promtpay มีความแข็งแรง มากขึน้ เพราะสามารถแฮ็กได้ยากมาก หากเรา ไม่ปล่อยข้อมูลส่วนตัวให้หลุดออกไป สรุ ป แล้ ว คื อ คนที่ ไ ม่ คิ ด จะใช้ ก็ ไ ม่ มี ใ คร สามารถมาบังคับคุณได้
เคาน์เตอร์์จ่ายเงินกับคนจะน้อยลง
69
Thailand Industrial Today
MAR– APR 2019
ทุกต้นเดือน หลายคนจำ�เป็นต้องไปซือ้ ของ ทีห่ า้ งสรรพสินค้า ทัง้ ของกินของใช้ ลองนึกภาพ ว่าทุกคนแห่กันไปซื้อ แห่กันไปช๊อป บางคนก็ ซือ้ เหมือนปีนจี้ ะไม่มโี อกาสมาซือ้ อีกแล้ว แถว จะยาวขนาดไหน บางทีรอเวลาจ่ายเงินอาจจะ นานกว่าเดินช๊อปปิ้งก็เสียอีก
Special Feature
Electric vehicles : EV
นักวิจัย สกว.
ชี้ยานยนต์ไฟฟ้า (EV)
ทางออกปัญหา PM 2.5 เซฟเงินชาติหลายหมื่นล้านบาทต่อปี
MAR– APR 2019
ผศ.ดร.ภูรี สิรสุนทร จากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักวิจยั ของสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.)
การเผชิญหน้ากับปัญหาฝุน่ ละอองขนาดเล็ก (PM 2.5) ในหลายภูมิภาคของประเทศไทย โดยเฉพาะในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ทำ�ให้เกิดกระแสความตื่นตัวเกี่ยวกับปัญหา มลพิษทางอากาศในวงกว้าง ซึง่ หนึง่ ในตัวการ สำ�คัญที่ก่อให้เกิดฝุ่น PM 2.5 คือพาหนะ เครื่ อ งยนต์ ดี เ ซลที่ นิ ย มใช้ ใ นภาคคมนาคม ขนส่ง ทางออกหนึ่งเพื่อการแก้ปัญหานี้อย่าง ยั่ ง ยื น ซึ่ ง มี ก ารใช้ ง านแล้ ว ในหลายประเทศ ที่ ผู้ นำ � และประชาชนตระหนั ก ถึ ง ปั ญ หา สิ่งแวดล้อม คือ “ยานยนต์ไฟฟ้า (Electric vehicles : EV)” ผศ.ดร.ภูรี สิรสุนทร จากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักวิจยั ของสำ�นักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) ได้อธิบายถึง เรื่องนี้ว่า ยานยนต์ไฟฟ้าไม่ได้เป็นเรื่องใหม่ ของไทย เพราะรัฐบาลได้สนับสนุนการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานและส่งเสริมให้มีการใช้ยาน ยนต์ไฟฟ้าในประเทศ โดยได้วาง “แผนการขับ เคลือ่ นภารกิจด้านพลังงานเพือ่ ส่งเสริมการใช้ งานยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทยในระหว่าง ปี พ.ศ. 2559 – 2579” รวมถึงวาง “แผนทีน่ �ำ ทาง การส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทยระ หว่างปีพ.ศ. 2557–2562” เนื่องจากยานยนต์ไฟฟ้ามีความเป็นมิตร ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ไม่ ก่ อ ให้ เ กิ ด มลพิ ษ อย่ า ง ฝุน่ ละอองขนาดเล็ก PM 2.5 ประหยัดเชือ้ เพลิง
และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการใช้ ง านสู ง เช่ น มีอัตราเร่งในการออกตัวสูง (ไม่ต้องทดเกียร์) ไม่มีเสียงดังของเครื่องยนต์รบกวน นอกจาก นั้นยังประหยัดค่าใช้จ่ายในบางด้านลง เช่น ค่าซ่อมบำ�รุง และค่าเชื้อเพลิง ฯลฯ แม้จะมี ข้อด้อยที่ต้องคำ�นึงถึง เช่น การชาร์จพลังงาน
70
Thailand Industrial Today
1 ครั้ง (ประมาณ 4 ชั่วโมง) จะวิ่งได้ประมาณ 400 ก.ม. ทำ�ให้ไม่เหมาะแก่การใช้เดินทางไกล ไม่นับรวมด้านราคาขายในปัจจุบันที่ยังจัดว่า ค่อนข้างสูง แต่เมื่อวัดกันที่การเป็นมิตรต่อสิ่ง แวดล้อมในระยะยาวแล้วก็ยังถือว่ามีความ คุ้มค่า พิสูจน์ได้จากหลายประเทศที่ตระหนัก
ยานยนต์ไฟฟ้า
ถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและมลพิษทาง อากาศได้มกี ารเปลีย่ นมาใช้ยานยนต์ประเภทนี้ เป็นหลักหรือหันมาสนับสนุนการผลิตยาน ยนต์ ป ระเภทนี้ อย่างเป็นรูปธรรมแล้ ว เช่น นอร์ เ วย์ เยอรมั น ญี่ ปุ่ น อเมริ ก า และจี น เป็นต้น
สิ่งสำ�คัญคือจะทำ�อย่างไรให้ผู้ใช้รถตัดสินใจ เปลี่ ย นมาใช้ ย านยนต์ ไ ฟฟ้ า แทนยานยนต์ ประเภททีใ่ ช้เชือ้ เพลิง (เครือ่ งยนต์สนั ดาปภายใน (Internal combustion engine : ICE)) ซึ่งนิยมใช้ในปัจจุบัน
71
Thailand Industrial Today
สามารถแข่งขันกับรถสันดาปภายในที่นิยมใช้ ในปัจจุบนั ได้ นอกจากนัน้ ภาครัฐควรเป็นแกน นำ � ในการเปลี่ ย นยานยนต์ ใ นสั ง กั ด เป็ น ยานยนต์ไฟฟ้า รวมถึงขอความร่วมมือไปยัง ผู้ให้บริการรถโดยสารสาธารณะ เช่น รถเมล์ และรถแท็กซี่ ให้ใช้เช่นกันเพื่อสร้างความเชื่อ มั่ น เกี่ ย วกั บ ประสิ ท ธิ ภ าพที่ ดี ข องยานยนต์ ไฟฟ้า อีกสิ่งสำ�คัญที่ไม่ควรมองข้ามคือการ ประชาสั ม พั น ธ์ จ ากภาครั ฐ เพื่ อ สร้ า งความ ตระหนักรู้ถึงข้อดีของ EV ให้แก่ประชาชน ควบคู่กันไปด้วย” จากงานวิจยั มีการประเมินว่าหากประเทศไทย มีการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าตามอัตราการยอมรับ EV ที่ร้อยละ 60 ของเป้าหมาย 1.2 ล้านคัน ภายในปี พ.ศ.2579 พบว่ า ความต้ อ งการ น้�ำ มันเบนซิลจะลดลงโดยรวม 600 ล้านลิตร ดีเซลลดลงโดยรวม 313.9 ล้านลิตร LPG ลดลง 174.7 ล้านลิตร ในขณะทีค่ วามต้องการ ไฟฟ้าจะสูงขึ้นเฉลี่ย 2,994 GWh โดยต้นทุน เชือ้ เพลิงทีป่ ระหยัดได้คดิ เป็น 11,936 ล้านบาท ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้สงู ถึง 650,059 พัน kgCO2e และลดมูลค่าต้นทุนทางสังคม ได้ประมาณ 70,279 ล้านบาท ดังนัน้ แล้วหาก จะทำ�ให้เกิดผลนี้ได้ ความร่วมมือจากทุกฝ่าย ทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนเป็น เรื่องสำ�คัญ
MAR– APR 2019
เพื่ อ ให้ ไ ด้ ข้ อ มู ล ที่ ชี้ ชั ด ถึ ง แนวทางการ เปลี่ ย นแปลงความสนใจของผู้ ใ ช้ ย านยนต์ ผศ.ดร.ภูรี จึงทำ�วิจัยเชิงเศรษฐศาสตร์และได้ ข้ อ สรุ ป ว่ า “จากการทำ � งานวิ จั ย โครงการ ประเมิ น มาตรการส่ ง เสริ ม การใช้ ย านยนต์ ไฟฟ้ า ต่ อ การยอมรั บ ของผู้ บ ริ โ ภคและ ประสิ ท ธิ ภ าพการใช้ พ ลั ง งานในภาคขนส่ ง พบว่าในการที่จะให้ผู้บริโภคตัดสินใจเปลี่ยน มาใช้ยานยนต์ไฟฟ้านั้น จำ�เป็นต้องมีตัวชี้วัด เพื่ อ เปรี ย บเที ย บให้ เ ห็ น อย่ า งชั ด เจน โดย เฉพาะทั้ ง ‘ต้ น ทุ น รวมในการเป็ น เจ้ า ของ (Total cost of Ownership : TCO)’ ยานยนต์ หนึง่ คัน ไม่วา่ จะเป็นราคารถมือหนึง่ และราคา ขายต่อ ค่าเชื้อเพลิง ค่าบำ�รุงรักษา รวมถึง ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่จะตามมาจากการซื้อ เช่น
ดอกเบี้ย ประกัน และภาษี ซึ่งในปัจจุบันเมื่อ เปรียบเทียบต้นทุนทีผ่ ใู้ ช้ยานยนต์ตอ้ งจ่ายหรือ ‘ต้นทุนเอกชน’ แล้ว EV ยังมีความโดดเด่น จูงใจไม่มากพอที่จะทำ�ให้ผู้ซื้อเปลี่ยนมาซื้อ EV โดยเฉพาะเมื่ อ ยานยนต์ ใ นเซ็ ก เมนต์ เดียวกัน ยานยนต์ประเภทสันดาปภายในมี ราคารถถูกกว่า ในขณะที่ ‘ต้นทุนทางสังคม’ โดยเฉพาะต้นทุนที่เกิดจากมลพิษทางอากาศ การใช้ EV ไม่ก่อให้เกิดต้นทุนนี้เลย และมี ความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากกว่า” โดยผลจากการสำ�รวจยังพบว่าอัตราการ ยอมรับ EV อยู่ที่ร้อยละ 60 แสดงให้เห็นว่า ผู้ใช้รถยินดีที่จะเปลี่ยนมาใช้ยานยนต์ไฟฟ้า โดยปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจมี 3 ส่วน คือ ปัจจัยส่วนบุคคล การศึกษา และรายได้ ปัจจัยภายในเกีย่ วกับตัวรถ ราคา ค่ายรถ และ สมรรถนะของรถ สุดท้ายคือปัจจัยภายนอก บริการหลังการขาย เป็นต้น เพื่อให้ประเทศไทยประสบความสำ�เร็จใน การใช้ยานยนต์ไฟฟ้า ผศ.ดร.ภูรี เสนอแนะว่า “นอกจากโครงสร้างพื้นฐานและการลงทุนใน ประเทศที่รัฐบาลผลักดันแล้ว รัฐบาลควรใช้ มาตรการส่งเสริมทางการเงินเพือ่ ลดราคายาน ยนต์ไฟฟ้าและ TCO ลง เช่น การลดภาษี นำ�เข้า และการผลักดันให้เกิดอุตสาหกรรม การผลิ ต เกี่ ย วกั บ ยานยนต์ ไ ฟฟ้ า ภายใน ประเทศ เพื่อให้ราคารถประเภทนี้ต่ำ�ลงจน
Special Feature
Architect’19
สมาคมสถาปนิกสยามฯ จัดงานสถาปนิก’62
MAR– APR 2019
ภายใต้แนวคิด “กรีน อยู่ ดี : Living Green”
สมาคมสถาปนิกสยามฯ และบริษทั เอ็น.ซี.ซี. เอ็กซิบชิ น่ั ออกาไนเซอร์ จํากัด แถลงข่าวการ จัดงานสถาปนิก ’62 (Architect’19) “กรีน อยู่ ดี : Living Green” ซึ่งจะจัดระหว่างวันที่ 30 เมษายน–5 พฤษภาคม 2562 ณ ชาเลนเจอร์ฮอลล์ 1-3 ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี บนพืน้ ทีก่ ว่า 60,000 ตารางเมตร นายอัชชพล ดุสิตนานนท์ นายกสมาคม สถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ กล่าวว่า “งานสถาปนิก เป็นงานจัดแสดงสถาปัตยกรรม วัสดุและเทคโนโลยีการก่อสร้างทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ใน ภูมิภาคอาเซียน ริเริ่มโดย สมาคมสถาปนิก สยามฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 การจัดงานครั้งนี้ นับเป็นครั้งที่ 33 จุดประสงค์ของการจัดงาน เพือ่ แสดงศักยภาพ และนําเสนอผลงานความ ก้าวหน้าทางสถาปัตยกรรม สร้างความตระหนัก รู้ ถึ ง บทบาท วิ ช าชี พ สถาปนิ ก ที่ มี ต่ อ สั ง คม ผ่ า นนิ ท รรศการและกิ จ กรรมมากมายของ
สมาคมฯ จัดมาอย่างต่อเนือ่ ง กว่าสามทศวรรษ มีผู้ชมงานกว่า 4 แสนคนในปีที่ผ่านมา งานสถาปนิ ก นํ า เสนอวั ส ดุ ก่ อ สร้ า ง ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวเนื่องกับงานสถาปัตยกรรม การออกแบบตกแต่งภายใน และภูมสิ ถาปัตยกรรม นอกจากนี้ยังมีนิทรรศการและกิจกรรมที่น่า สนใจมากมาย การอบรมสัมมนา ระดับนานาชาติ ตลอดจนบริการต่างๆ ทีท่ างสมาคมสถาปนิก สยามฯ ได้เตรียมไว้ให้กบั สมาชิก และประชาชน ทั่วไป ในการจัดงานในแต่ละปี ทางสมาคมฯ ได้ กําหนดแนวคิด (concept) ทีแ่ ตกต่างกันออกไป เพื่ อ ต้ อ งการให้ ส ะท้ อ นถึ ง กระแสความ เปลี่ยนแปลงของโลกในขณะนั้น ซึ่งแนวคิดใน การจัดงานปีนคี้ อื “กรีน อยู่ ดี : Living Green” นําเสนอการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมทีเ่ ป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม และการออกแบบเพื่อวิถีชีวิต ที่ยั่งยืน 72
Thailand Industrial Today
ในงานแถลงข่าว ดร.อัจฉราวรรณ จุฑารัตน์ ประธานจัดงานสถาปนิก ’62 กล่าวถึงการจัดงาน ในปีนี้ว่า “ปัญหาความเปลี่ยนแปลงสภาพ อากาศ ภาวะโลกร้อน ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของคนทุกคนบนโลก เป็นปัญหาสําคัญทีค่ นในทุกสาขาอาชีพต้องให้ ความสําคัญร่วมหาทางออกอย่างเร่งด่วน โดย เฉพาะอย่างยิ่งวิชาชีพสถาปนิก ที่การทํางาน ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เมืองและชุมชน อย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ ตัง้ แต่ออกแบบ การเลือก ใช้วัสดุ วิธีการก่อสร้าง ฯลฯ งานสถาปนิก’62 “กรีน อยู่ ดี : Living Green” นําเสนอแนวคิดการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรม และงานออกแบบทีย่ ง่ั ยืน นวัตกรรมวัสดุกอ่ สร้าง ทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม และการนําภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิน่ มาผนวกกับเทคโนโลยี เพือ่ สร้างโซลูชน่ั ทีเ่ หมาะสมกับบริบทในปัจจุบนั ผ่านการจัดแสดง ในรูปแบบ นิทรรศการและกิจกรรมให้ความ รู้มากมาย นับเป็นครัง้ แรกของงานสถาปนิกทีจ่ ะสร้าง “ประสบการณ์สีเขียว” (Green Experience) ให้กบั ผูช้ ม ด้วยแนวคิดการออกแบบเพือ่ ความ ยัง่ ยืนในทุกรายละเอียด ตัง้ แต่การเลือกใช้วสั ดุ ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ในการก่ อ สร้ า ง นิทรรศการต่างๆ การออกแบบแสงภายใน พื้นที่การจัดแสดงที่เหมาะสมเพื่อลดการใช้
กรีน อยู่ ดี : Living Green
พลังงาน แนวคิดการลดขัน้ ตอนการใช้กระดาษ ในการทํางานระหว่างผูจ้ ดั งานและผูแ้ สดงงาน ระบบการจัดการกับขยะ ที่เกิดขึ้นภายในงาน และการนําวัสดุที่เกิดขึ้นจากการจัดงานไปใช้ ใหม่หลังจบงาน” งานสถาปนิก’62 มีพื้นที่กว่า 60,000 ตารางเมตร แบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลัก คือส่วน ผู้แสดงสินค้า ที่รวมแบรนด์ชั้นนําทั่วโลกกว่า 850 ราย และ ส่วนพื้นที่กิจกรรมของสมาคม สถาปนิกฯ ซึง่ ประกอบไปด้วยพืน้ ทีก่ จิ กรรมที่ น่าสนใจมากมาย อาทิ : l นิทรรศการ “Green Building Showcase” แนวคิดการออกแบบอาคารสีเขียวจากนักออก แบบชั้นนําของเอเชีย l นิทรรศการธีมงาน (Thematic Exhibitions) นิ ท รรศการ “ภู มิ ปั ญ ญาจาก 3 ภู มิ ภ าคสู่ ปัจจุบนั ” นําเสนอนวัตกรรมท้องถิน่ ทีอ่ าจเป็น คําตอบของการใช้ชีวิตที่ยั่งยืนในอนาคต l นิทรรศการ “Go Zero Waste ชีวติ ใหม่ ไร้ขยะ” l นิทรรศการ “Innovative Green Products” รวมวัสดุก่อสร้างที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม l นิทรรศการกิจกรรมประกวดงานออกแบบ ระดับนานาชาติ ASA International Design Competition 2019
เวทีสําคัญสําหรับสถาปนิกรุ่นใหม่ ชิงเงินรางวัลรวมกว่า 280,000 บาท โจทย์การ ออกแบบของปีนคี้ อื Uncanny Sustainability ค้นหาไอเดียการสร้างสรรค์งานออกแบบทีย่ งั่ ยืน และแตกต่างจากรูปแบบเดิมๆ งานนีเ้ ปิดโอกาสให้ผทู้ สี่ นใจทัว่ ไปจากทัว่ โลกร่วมส่งผลงาน ไม่ได้จาํ กัดแค่สถาปนิกเท่านัน้ นอกจากนี้ภายในงานยังมีกิจกรรมสันทนาการที่ให้ความเพลิดเพลินสำ�หรับประชาชนทั่วไป เวิร์กช็อปให้ความรู้ภาคปฏิบัติ, เวทีกลาง พื้นที่สาธารณะสําหรับพักผ่อน ให้ผู้ชมงานได้ สนุกสนานกับการแสดงและกิจกรรมน่าสนใจทีห่ มุนเวียนไปตลอดการจัดงาน “หมอบ้านอาษา” ที่ตอบปัญหาสารพัดเรื่องบ้าน และการออกแบบให้แก่ประชาชนทั่วไป อีกหนึ่งไฮไลต์ที่พลาดไม่ได้คือ “ASA Forum 2019” งานสัมมนาสถาปัตยกรรมระดับ นานาชาติ โดยปีนี้มีสถาปนิกและนักออกแบบที่มีชื่อเสียงมาร่วมบรรยายบนเวทีอย่างคับคั่ง อาทิ Atelier Ten สถาปนิกผูเ้ ชีย่ วชาญด้านเทคโนโลยีอาคารชัน้ สูงจากนิวยอร์ก, สถาปนิกจาก บริษัท Foster
l
งานสถาปนิก’62 “กรีน อยู่ ดี : Living Green” จัดขึ้นระหว่างวนั ที่ 30 เมษายน - 5 พฤษภาคม 2562 ณ ชาเลนเจอร์ฮอลล์ 1-3 ศูนย์แสดงสินค้า อิมแพ็ค เมืองทองธานี ลงทะเบียนเข้าชมงาน www.asa.or.th/architectexpo Facebook : ASAArchitectExposition รายละเอียดกิจกรรมประกวดออกแบบ ASA International Design Competition ดูเพิ่มเติมได้ที่ www.asacompetition.com
Thailand Industrial Today
MAR– APR 2019
73
Special Feature
Smart Watch
SMART WATCH นักวิจัยไทยคิดค้น
Smart Watch
MAR– APR 2019
ตรวจจับและแจ้งเตือนภัยก๊าซพิษคร่าชีวิตผู้คน ข่าวการเสียชีวิตจากการได้รับก๊าซพิษเข้า ร่างกายในปริมาณมากปรากฏให้เห็นเป็นระยะ เช่น การเสียชีวติ จากก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ที่เกิดจากการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ของรถยนต์ และการรัว่ ไหลของก๊าซแอมโมเนียจากโรงงาน ผลิตน้�ำ แข็ง ซึง่ จากรายงานขององค์การอนามัยโลก “มลพิษทางอากาศ” คร่าชีวิตผู้คนมากถึง 7 ล้านคนต่อปี (โดยเฉพาะก๊าซพิษ) จึงเป็นแรง กระตุ้นให้นักวิจัยไทยคิดค้นอุปกรณ์ตรวจจับ และแจ้งเตือนภัยจากก๊าซพิษอย่างแม่นยำ�และ รวดเร็วเท่าทันสถานการณ์ สะดวกพกพา และ พร้อมส่งต่องานวิจยั ให้ภาคธุรกิจนำ�ไปผลิตต่อ ในราคาที่สามารถจับต้องได้ ผศ.ดร.ชัชวาล วงศ์ชูสุข อาจารย์ภาควิชา ฟิสิกส์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ นั ก วิ จั ย สำ � นั ก งานกองทุ น สนับสนุนการวิจัย (สกว.) เผยผลงานวิจัย
“นาฬิกาแจ้งเตือนก๊าซพิษแบบออนไลน์ (loT Smart Watch)” นาฬิกาตรวจจับก๊าซพิษอันตราย ใกล้ตวั ประชาชน 3 ชนิด คือ คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) สาเหตุ จ ากการเผาไหม้ ไ ม่ ส มบู ร ณ์ (รถยนต์เก่า, โรงงานอุตสาหกรรม), ไนตรัส ออกไซด์ (N2O) สาเหตุจากการเผาไหม้สมบูรณ์ (รถยนต์, โรงงานอุตสาหกรรม) และแอมโมเนีย (NH3) สารทำ�ความเย็น (โรงงานผลิตน้ำ�แข็ง, โรงงานอุตสาหกรรม) โดยหลักสำ�คัญในการผลิตอุปกรณ์มี 3 ส่วน คือ “การออกแบบและผลิตเซ็นเซอร์ (Sensor) ขนาดเล็ก” เหมาะแก่การติดตั้งในอุปกรณ์ สะดวกพกพา, “การออกแบบและผลิตเซ็นเซอร์ ในราคาย่อมเยา” พร้อมแก่การส่งต่องานวิจยั แก่ภาคธุรกิจเพื่อนำ�ไปผลิตและจำ�หน่ายใน ราคาทีส่ ามารถจับต้องได้ และ “การออกแบบให้ สามารถแสดงผลข้อมูลทีน่ าฬิกาและส่งข้อมูล 74
Thailand Industrial Today
ไปยังแอปพลิเคชันได้ทนั ที (Real time)” เพือ่ ให้ ผูส้ วมใส่อปุ กรณ์สามารถหลบหนีจากภัยอันตราย ได้ทันท่วงที โดย ผศ.ดร.ชัชวาล ได้อธิบายถึง กลไกของผลงานต้ น แบบนาฬิ ก าแจ้ ง เตื อ น ก๊าซพิษแบบออนไลน์ (loT Smart Watch) ว่า “การทำ�งานของนาฬิกาชนิดนีจ้ ะใช้เซ็นเซอร์ (Sensor) ขนาดเล็กในการตรวจจับก๊าซพิษ โดยเซ็นเซอร์ชนิดนี้ผลิตโดยการพิมพ์น้ำ�หมึก นำ�ไฟฟ้าลงบนวัสดุ โดยน้ำ�หมึกแต่ละชนิดที่ ผลิ ต ขึ้ น จะมี ค่ า ความต้ า นทานจำ � เพาะกั บ ก๊าซพิษแต่ละชนิด ซึง่ สามารถวัดและประมวล ผลออกมาเป็ น ปริ ม าณก๊ า ซในหน่ ว ย ppm (ปริมาณก๊าซพิษ 1 โมเลกุลในอากาศ 1 ล้าน โมเลกุ ล ) ซึ่ ง ค่ า ที่ วั ด ออกมาได้ จ ะถู ก ส่ ง ไป แสดงผลแบบดิ จิ ทั ล เป็ น ตั ว เลขบนหน้ า จอ นาฬิกา และสามารถส่งเสียงเตือนที่อุปกรณ์ ได้ทนั ทีหากมีปริมาณมากเกินต่อความปลอดภัย ของผู้สวมใส่ (ปัจจุบัน นาฬิกาแต่ละเรือนมี เซ็นเซอร์ตรวจจับก๊าซพิษ 1 ชนิด)” นอกจากการแจ้งผลทันที (Real time) ทีต่ วั นาฬิกาแล้ว ผศ.ดร.ชัชวาล ยังได้ออกแบบ ให้สามารถติดตามข้อมูลได้ทางแอปพลิเคชัน (ปัจจุบนั มีเฉพาะในระบบ Android) เพือ่ ความ สะดวกในการติดตามข้อมูล โดย ผศ.ดร.ชัชวาล
ตรวจจับและแจ้งเตือนภัยก๊าซพิษ
SMART WATCH 75
Thailand Industrial Today
MAR– APR 2019
ได้อธิบายว่า “สิ่งที่นาฬิกาเรือนนี้สามารถ ประมวลผลและส่งข้อมูลไปยังแอปพลิเคชัน แก่ผทู้ ลี่ งทะเบียนไว้ คือ สถานะแบตเตอรีข่ อง นาฬิกา อุณหภูมิ ความชืน้ และปริมาณก๊าซพิษ โดยกำ�ลังอยู่ในขั้นตอนการพัฒนาให้สามารถ แสดงพิกัดของผู้สวมใส่ได้อีกด้วย (คาดว่าจะ แล้วเสร็จภายในปีนี้)” ปัจจุบัน “นาฬิกาแจ้งเตือนก๊าซพิษแบบ ออนไลน์ (loT Smart Watch)” ผลงานวิจัย โดยนักวิจยั ไทยพร้อมแล้วทีจ่ ะให้ภาคธุรกิจมา ลงทุนเพือ่ ขยายผลไปสูป่ ระชาชนทัว่ ไป เพือ่ ให้ มีอปุ กรณ์สะดวกพกพาในการตรวจวัดปริมาณ ก๊าซพิษเพือ่ ความปลอดภัย ในราคาทีส่ ามารถ จับต้องได้ โดย ผศ.ดร.ชัชวาล เผยว่าผลงานนี้ จะยังมีการพัฒนาต่อไป สำ�หรับตัวเซ็นเซอร์ได้ วางแผนที่ จ ะพั ฒนาให้ร องรับการตรวจจับ ก๊าซพิษชนิดอืน่ มากขึน้ เช่น ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (ก๊าซไข่เน่า) อุปกรณ์นาฬิกาจะมีการพัฒนา ให้รองรับการตรวจวัดค่าอืน่ ทีม่ ผี ลต่อร่างกาย มากขึ้น เช่น อัตราการเต้นของหัวใจ และยัง เล็งถึงการขยายผลไปสู่อุปกรณ์ชนิดอื่น เช่น โดรนตรวจจับก๊าซพิษ และอุปกรณ์ตรวจับก๊าซ พิษสำ�หรับติดตั้งในรถยนต์ เป็นต้น
Special Feature
5 Gadget
5
Gadget แก็ดเจ็ตและเทคโนโลยี ที่จะมาแน่ในปี 2019
ปี 2019 สิ่งที่น่าจับตามองคือ เทคโนโลยี และแก็ดเจ็ตต่างๆ ทีพ่ ฒ ั นาขึน้ เราจึงไม่พลาด รวม 5 แก็ดเจ็ตและเทคโนโลยีที่น่าสนใจ ซึ่ง คาดว่าจะเกิดขึ้นในปี 2019 มาฝาก ตามไป ดูกันว่าจะมีอะไรเจ๋งๆ กันบ้าง
MAR– APR 2019
01. สมาร์โฟนหน้าจอพับได้ ศึกแย่งชิงการเป็นเจ้าแรกที่ผลิต
สำ�หรับแก็ดเจ็ตและเทคโนโลยีแรก เราขอ เริ่มจาก ‘สมาร์ทโฟนหน้าจอพับได้’ ซึ่งช่วง ปลายปีที่ผ่านมามีกระแสข่าวเกี่ยวกับเรื่องนี้ มามากมาย โดยเฉพาะข่าวการแย่งชิงเป็นเจ้าแรก ของเทคโนโลยีนี้ ล่าสุด Samsung ได้เผยโฉม Galaxy F ว่าทีส่ มาร์ทโฟนหน้าจอพับได้เครือ่ ง แรกของโลก ในงาน Samsung Developer Conference (SDC) เมือ่ ช่วงเดือนพฤศจิกายน 2018 พร้อมสเปคคร่าวๆ อย่างหน้าจอ Infinity
Flex Display ขนาด 7.8 นิว้ เมือ่ พับแล้วจะเหลือ หน้าจอเพียง 4 นิ้ว พร้อมด้วยระบบปฏิบัติ การ Android ที่พัฒนาขึ้นเป็นพิเศษร่วมกับ Google เป็นต้น ส่ ว นแบรนด์ อื่ น ๆ นั้ น ก็ มี ก ระแสข่ า วถึ ง สมาร์ทโฟนหน้าจอพับได้เช่นกัน ไม่ว่าจะเป็น Huawei ทีม่ ขี า่ วว่าสามารถพัฒนาสมาร์ทโฟน หน้าจอพับได้ พร้อมการรองรับ 5G ได้แล้ว หรือ LG ที่เตรียมเปิดตัวสมาร์ทโฟนหน้าจอ พับได้ในงาน CES 2019 นี้
02. เทคโนโลยี 5G อาจเริ่ม ทดลองให้ใช้เร็วๆ นี้
สำ�หรับคลืน่ ความถีใ่ หม่นใี้ นประเทศไทยได้ ร่างเงือ่ นไขและข้อกำ�หนดเป็นที่ เรียบร้อยแล้ว ดังนัน้ อีกไม่นานเกินรอคงได้ทดลองใช้ 5G แต่ ก่อนจะได้ลองใช้งาน มาทำ�ความรู้จักก่อนว่า 76
Thailand Industrial Today
5G คืออะไร 5G คือคลืน่ ความถีใ่ หม่ทมี่ คี วาม สามารถในการส่งปริมาณข้อมูลทีม่ ากกว่า 4G หากเปรียบเทียบง่ายๆ คงเป็นถนนที่มีการ ขยายใหญ่ขนึ้ ทำ�ให้สามารถส่งข้อมูลได้ไหวขึน้ และมากขึ้นนั่นเอง โดยมีการคาดการณ์ว่า เทคโนโลยี 5G จะมีความเร็วกว่า 4G สูงสุด ถึง 1000 เท่าและยังไม่จ�ำ กัดเพียงแค่สมาร์ทโฟน แต่รวมถึงอุปกรณ์อื่นๆ ด้วย อาทิ แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์โน้ตบุค๊ ฯลฯ โดยล่าสุด TrueMove H เป็นเจ้าแรกในประเทศไทยที่เตรียมสาธิต เทคโนโลยีนี้ พร้อมนำ�เข้าอุปกรณ์ที่รองรับ เทคโนโลยี 5G นั่นเอง ดังนัน้ ในปี 2019 เราจะเห็นการทดลองใช้ เทคโนโลยี 5G กันมากขึ้น และไม่เพียงแต่ใน ประเทศไทย แต่หมายรวมถึงทัว่ โลก อย่างการ แสดงโดรนในพิธเี กิดโอลิมปิคฤดูหนาวทีเ่ กาหลีใต้ ที่ใช้เทคโนโลยี 5G เช่นกัน
แก็ดเจ็ตและเทคโนโลยีในปี 2019
03. Chatbot จะมีบทบาทใกล้ตัวมากขึ้น
สำ�หรับเทคโนโลยี Chatbot นี้ ไม่ได้เกิดขึน้ ครั้งแรก แต่เกิดมาในช่วงระยะเวลาหนึ่งแล้ว โดยเฉพาะในวงการธุรกิจต่างๆ ทีใ่ ช้ Chatbot เป็นผู้ช่วยในการตอบโต้กับผู้บริโภค เห็นได้ ชัดเจนใน Message ของ Facebook หรือ Line Official ทีม่ กั มีขอ้ ความตอบโต้อตั โนมัตนิ นั่ เอง โดยในปีนี้ Chatbot ยังคงได้รับความนิยม และมีท่าทีว่าจะมากขึ้นในปี 2019 อีกด้วย เพียงแต่สง่ิ ทีเ่ พิม่ เติมขึน้ มาคือ Chatbot จะเข้ามา มีบทบาทในชีวติ ประจำ�วันมากขึน้ ซึง่ Chatbot จะเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งกับอุปกรณ์ภายในบ้าน ทีใ่ ห้เราสามารถสัง่ งานด้วยเสียงผ่าน Chatbot ทีอ่ ยูใ่ นบ้าน ดังนัน้ ในปีนเ้ี ราอาจได้เห็นอุปกรณ์ ล้�ำ สมัยภายในบ้านทีม่ าพร้อมโปรแกรม Chatbot ให้เราสั่งงานได้ง่ายขึ้น อาจจะไม่ได้มีเกลื่อน แต่อย่างน้อยคงมีตัวอย่างให้เห็นกันบ้าง และ แน่นอนว่าในปีนี้ Smart Home ก็เป็นอีกหนึ่ง Gadgets ที่คาดว่ามาแรงเช่นกัน
ปีที่ผ่านมาจะเห็นเทคโนโลยีนี้เข้มข้นมากใน สมาร์ทโฟน หมวดกล้องถ่ายรูป ที่พัฒนาให้มี AI ระบุสิ่งที่จะถ่าย ซึ่งทำ�ให้ได้ภาพที่สวยงาม มากขึ้นนั่นเอง แต่จริงๆ แล้วเทคโนโลยี AI ยังแทรกแซงเข้าไปในอุปกรณ์อนื่ ๆ อีกมากมาย อย่างทีม่ คี นกล่าวถึงกันมากคือ ปัญญาประดิษฐ์ อย่าง AI จะเข้ามาทำ�งานในบางตำ�แหน่งแทน มนุษย์ ขณะเดียวกันองค์กรใหญ่ๆ หลายๆ องค์กรก็เริม่ นำ�เทคโนโลยี AI เข้ามาช่วยวิเคราะห์ ข้ อ มู ล ทางสถิ ติ ซึ่ ง ทำ � ให้ อ งค์ ก รมี ข้ อ มู ล ที่ มี ประสิทธิภาพมากขึ้น หรือที่จับต้องได้อย่าง ฮาร์ดแวร์ที่ถูกพัฒนาให้โดดเด่นด้าน AI อย่าง ชิปประมวลผล AI ที่ Samsung, Huawei หรือ Apple พัฒนาขึ้น เป็นต้น ดังนัน้ ในปี 2019 นี้ เราจะเห็นเทคโนโลยี AI เข้ามีบทบาทในชีวติ ประจำ�วันมากขึน้ แต่จริงๆ 05. AI ต้องมา! สำ�หรับเทคโนโลยีสุดท้ายที่กำ�ลังมาแรง แล้ ว เทคโนโลยี น้ี ก็ เ ริ่ ม เข้ า มามี บ ทบาทแล้ ว ในช่วงปีที่ผ่านมาและคาดว่าจะมีการพัฒนา เพียงแต่เราอาจยังไม่รู้เท่านั้นเอง ขึ้นเรื่อยๆ ในปีนี้คือ เทคโนโลยี AI ซึ่งในช่วง Drone Taxi รับส่งผูโ้ ดยสารจริงๆ ในปี 2019 นี้ ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างประเทศสิงคโปร์ กับ Volocopter บริษทั ผูผ้ ลิตอากาศยานไร้คนขับ สัญชาติเยอรมันนั่นเอง สำ�หรับ Drone Taxi เป็นเทคโนโลยีทเ่ี กิดเป็นความคิดมาหลายปีกอ่ น และบริษัทหลายรายก็ได้พัฒนาเรื่อยๆ จน กระทั่ง Drone Taxi ยานพาหนะไร้คนขับก็ เกิดขึ้นจริง แน่นอนว่าประโยชน์ของ Drone Taxi คือ การรับส่งผูโ้ ดยสารด้วยความรวดเร็ว โดยเฉพาะ ประเทศที่ มี ส ภาพการจราจรติ ด ขั ด มากๆ การเดินทางทางอากาศจึงเป็นทางออกที่ช่วย ให้เราเดินทางถึงทีห่ มายได้รวดเร็วขึน้ แน่นอน ว่าค่าเดินทางแต่ละครัง้ ย่อมไม่ธรรมดา
04. Drone Taxi ยานพาหนะไร้คนขับ
77
Thailand Industrial Today
MAR– APR 2019
เป็นอีกหนึง่ เทคโนโลยีและแก็ดเจ็ตชิน้ ใหญ่ ที่น่าจับตา เพียงแต่ Drone Taxi ยานพาหนะ ไร้คนขับนี้ ประเทศไทยเราคงยังไม่สามารถจับ ต้องในปีนี้ (และอาจจะหลายปีขา้ งหน้า) อย่าง แน่นอน แต่ก็เป็นเทคโนโลยีที่น่าสนใจและจะ เกิดในโลกอย่างแน่นอน ข่าวล่าสุด รายงานว่า สิงคโปร์จะเป็นประเทศ แรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่จะทดสอบ
Columnist :
EXPLORING PURCHASING SECRETS WITH AJARN CHEOCHARN
หลักสูตรอบรม เดือน มีนาคม 2562 บริษัท อัลฟ่า แมเนจเมนท์ คอนซัลแตนท์ จำ�กัด โทรศัพท์ : 0-2539-1624-6 โทรสาร : 0-2539-1623 E-mail : amc.purchasing@gmail.com ID Line : @amcthailand www.AMCthailand.com No. 1 2 3 4 5 6 7 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18
MAR– APR 2019
19
มีนาคม
หลักสูตร
พฤหัสบดี 7 PCR-03 : ความรู้เบื้องต้นในการวางแผนความต้องการพัสดู (MRP) สำ�หรับนักจัดซื้อ PCR-03 : Basics of MRP (Materials Requirements Planning) for Purchasers ศุกร์ 8 PCR-12 : หลักเกณฑ์ส�ำ คัญในกระบวนการจัดซื้อ PCR-12 : Fundamental of Purchasing Process เสาร์ 9 PPS-06 : พื้นฐานการสรรหาผู้ขาย ผู้ให้บริการ PPS-06 : Basic in Strategic Sourcing Process จันทร์ 11 PCR-05 : การบริหารจัดการซัพพลายเออร์ และประเมินผลงาน PCR-05 : Managing Vendors and Value Added Assessment จันทร์ 11 PAP-02 : ATIGA จัดซื้อสินค้าใน ASEAN ด้วยสิทธิพิเศษอัตราภาษีร้อยละศูนย์ PAP-02 : ATIGA : ASEAN Trade in Goods Agreement อังคาร 12 PCR-08 : เทคนิคการเจรจาต่อรองในงานจัดซื้อ PCR-08 : Purchasing Negotiations Techniques ศุกร์ 15 PCR-07 : วิธีวัดผลงานจัดซื้อ และการทำ�รายงานจัดซื้อ PCR-07 : Purchasing Performance Measurement / Reporting / KPI Setting ศุกร์ 15 PSP-03 : การพัฒนายุทธศาสตร์งานจัดซื้อจัดหาเพื่อสร้างกำ�ไรให้แก่องค์กร PSP-03 : Developing Supply Strategies to Contribute Profit เสาร์ 16 PPS-01 : การต่อรองราคาสำ�หรับงานก่อสร้าง / งานวิศวกรรม PPS-01 : Price Negotiation for Construction / Engineering work จันทร์ 18, PAP-01 : เจาะลึก Incoterms และ Payment Terms สำ�หรับการจัดซื้อ และการตลาดต่างประเทศ อังคาร 19 PAP-01 : Incoterms and Payment Terms for Oversea Purchasing (2 วัน) พุธ 20 PCR-10 : ทำ�งานจัดซื้ออย่างมืออาชีพ ในการประหยัดต้นทุน PCR-10 : Professional Purchasing Role in Cost Saving พุธ 20 PCS-03 : ความรู้ที่ส�ำ คัญในการนำ�เข้าส่งออก PCS-03 : Important Knowledge for Import - Export ศุกร์ 22 PKC-02 : ยุทธศาสตร์การบริหารงานจัดซื้อเชิงรุก PKC-02 : Proactive Purchasing Strategy เสาร์ 23 PPS-07 : การวางแผนกลยุทธ์งานจัดซื้อ และการวัดผลแบบก้าวกระโดด PPS-07 : Exponential Strategic Procurement and KPIs จันทร์ 25, PSP-KJ-01 : สิ่งควรรู้ส�ำ หรับเจ้าหน้าที่จัดซื้อระดับต้นและกลาง (2 วัน) อังคาร 26 PSP-KJ-01 : The Standards of Purchasing Techniques พุธ 27 PSP-02 : เจาะลึกการทำ�สัญญาจัดซือ้ ว่าจ้าง PSP-02 : Purchasing & Procurement Contracts พุธ 27 PCS-01 : เตรียมความพร้อมเพือ่ จะทำ�งานจัดซือ้ สินค้าจากต่างประเทศ PCS-01 : How to prepare yourself to be an overseas buyer พฤหัสบดี 28 PNP-04 : การบริหารความเสีย่ งในฝ่ายจัดซือ้ PNP-04 : RISK Management in Procurement ศุกร์ 29 PCR-09 : การจัดซือ้ และบริหาร MRO & Office Supplies อย่างมีประสิทธิภาพ PCR-09 : Managing the Purchasing of MRO & Office Supplies Effectively) เสาร์ 30 PCT-01 : ยุทธศาสตร์ใหม่ในการบริหารงานจัดซือ้ และการจัดการซัพพลายเออร์อย่างมือโปร PCT-01 : Modern Strategies in Purchasing & Supplier Management Professionally
78
Thailand Industrial Today
รุน่ ที่
อาจารย์
ราคา/ท่าน
โรงแรม
17
อ.เชี่ยวชาญ
3900
43
อ.เชี่ยวชาญ
3900
5
อ.ปัลลพ
3900
112
อ.เชี่ยวชาญ
3900
14
อ.อาวุธ
3900
138
อ.เชี่ยวชาญ
3900
138
อ.เชี่ยวชาญ
3900
52
อ.สุชาติ
3900
41
อ.ปัลลพ
3900
53
อ.อาวุธ
7800
58
อ.เชี่ยวชาญ
3900
19
อ.จันทรา
3900
34
อ.กมลทิพย์
3900
4
อ.ปัลลพ
3900
116
7800
90
อ.กิตติกร อ.สุชาติ อ.สุชาติ
3900
50
อ.จันทรา
3900
15
อ.ณิศรามิล
4900
42
อ.เชีย่ วชาญ
3900
25
อ.จรูญโรจน์
3900
จัสมิน สุขุมวิท 23 จัสมิน สุขุมวิท 23 จัสมิน สุขุมวิท 23 จัสมิน สุขุมวิท 23 จัสมิน สุขุมวิท 23 จัสมิน สุขุมวิท 23 จัสมิน สุขุมวิท 23 จัสมิน สุขุมวิท 23 จัสมิน สุขุมวิท 23 จัสมิน สุขุมวิท 23 จัสมิน สุขุมวิท 23 จัสมิน สุขุมวิท 23 จัสมิน สุขุมวิท 23 จัสมิน สุขุมวิท 23 จัสมิน สุขุมวิท 23 จัสมิน สุขมุ วิท 23 จัสมิน สุขมุ วิท 23 AVANI เพชรบุรตี ดั ใหม่ จัสมิน สุขมุ วิท 23 จัสมิน สุขมุ วิท 23
EXPLORING PURCHASING SECRETS WITH AJARN CHEOCHARN
หลักสูตรอบรม เดือน เมษายน 2562 บริษัท อัลฟ่า แมเนจเมนท์ คอนซัลแตนท์ จำ�กัด โทรศัพท์ : 0-2539-1624-6 โทรสาร : 0-2539-1623 E-mail : amc.purchasing@gmail.com ID Line : @amcthailand www.AMCthailand.com No.
เมษายน
1
พุธ 10
หลักสูตร PCR-08 : เทคนิคการเจรจาต่อรองในงานจัดซือ้
รุน่ ที่
อาจารย์
ราคา/ท่าน
โรงแรม
139
อ.เชีย่ วชาญ
3900
จัสมิน
PCR-08 : Purchasing Negotiations Techniques 2
ศุกร์ 19
สุขมุ วิท 23
PCR-04 : วิธวี เิ คราะห์ตน้ ทุน และราคาขายของซัพพลายเออร์
119
อ.เชีย่ วชาญ
3900
PCR-04 : Price - Cost Analysis 3
ศุกร์ 19
สุขมุ วิท 23
PAP-04 : มาตราฐานการจัดเตรียมตรวจสอบเอกสาร นำ�เข้า/ส่งออก และ L/C
14
อ.อาวุธ
3900
PAP-04 : Standard for Preparation and Checking of EXIM Documents 4
เสาร์ 20
PPS-02 : การจัดซือ้ อะไหล่ และการจ้างงานซ่อมบำ�รุง
จันทร์ 22
32
อ.ปัลลพ
3900
อังคาร 23
PCR-06 : การบริหารงานจัดซือ้ และการจัดการสต็อกเพือ่ ลดต้นทุน
106
อ.เชีย่ วชาญ
3900
อังคาร 23
PCR-14 : ทะลุทะลวงปัญหาในงานจัดซือ้
2
อ.เชีย่ วชาญ
3900
พุธ 24
PAP-05 : ข้อตกลงและเงือ่ นไขในการบริหารการจัดซือ้ และการขายสินค้าระหว่างประเทศ
14
อ.อาวุธ
3900
PCS-02 : หลักเกณฑ์ส�ำ คัญในการนำ�เข้า-ส่งออก
47
อ.จันทรา
3900
พฤหัสบดี 25 PNP-06 : การจัดซือ้ จัดหาเชิงกลยุทธ์ เสาร์ 27
12
อ.ณิศรามิล
4900
จันทร์ 29
AVANI เพชรบุรตี ดั ใหม่
PPS-09 : กระบวนการจัดซือ้ สมัยใหม่ สูค่ วามเป็นเลิศ
4
อ.ปัลลพ
3900
PPS-09 : Best Practice for Modern Purchasing 11
จัสมิน สุขมุ วิท 23
PNP-06 : Strategic Procurement 10
จัสมิน สุขมุ วิท 23
PCS-02 : Fundamental in Import - Export 9
จัสมิน สุขมุ วิท 23
PAP-05 : Terms and Conditions for International Purchasing & Sales Management) 8
จัสมิน สุขมุ วิท 23
PCR-14 : Penetrating Hurdles in Purchasing 7
จัสมิน สุขมุ วิท 23
PCR-06 : Purchasing & Inventory Management for Cost Saving 6
จัสมิน สุขมุ วิท 23
PPS-02 : Purchasing in Spare Part and Maintenance Service 5
จัสมิน
จัสมิน สุขมุ วิท 23
PKC-01 : การใช้ KPI เพือ่ บริหารงานจัดซือ้ เชิงกลยุทธ์
43
PKC-01 : KPI for Strategic Purchasing
อ.กมลทิพย์
3900
จัสมิน สุขมุ วิท 23
อาจารย์ เชี่ยวชาญ รัตนามหัทธนะ / Cheocharn Ratanamahatana, * C.P.M., A.P.P., MCIPS • ประธานกรรมการ สถาบันฝึกอบรมวิชาชีพจัดซื้อฯ AMC • ผู้ก่อตั้งและได้รับเลือกให้เป็นนายกสมาคมคนแรก (พ.ศ.2531-2550) ของสมาคมบริหารงานจัดซื้อและซัพพลายเชนแห่งประเทศไทย
Thailand Industrial Today
MAR– APR 2019
79
EXPLORING PURCHASING SECRETS WITH AJARN CHEOCHARN
General Terms & Conditions of Purchase
MAR– APR 2019
ข้อตกลงและเงื่อนไขทั่วไปในการสั่งซื้อ ผมไม่นยิ มการทำ�ธุรกิจแบบหัวหมอ แบบจ้อง จะขึน้ ศาลฟ้องร้องเอาเรือ่ งเอาราวกันหรือปรับ ค่าเสียหายกัน แต่การทำ�ธุรกิจมีเรื่องเงินและ ผลประโยชน์เข้ามาเกี่ยวข้อง หากคู่ค้าฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่งผิดสัญญาหรือละเมิดข้อตกลงและ ทำ � ให้ อี ก ฝ่ า ยเสี ย หายหรื อ ขาดผลประโยชน์ ฝ่ายละเมิดก็ควรต้องรับผิดชดใช้ การทำ�ข้อ ตกลงหรือสัญญาผูกมัดให้ชดั เจนแจ่มแจ้งตัง้ แต่ แรกนั้ น ก็ มี เ จตนาเพื่อ จะลดข้อ ขัดแย้ง หรือ ความเข้าใจผิด ซึ่งจะช่วยให้ทั้งสองฝ่ายไม่ต้อง นำ�คดีขึ้นไปให้ศาลเป็นผู้ตัดสินโดยไม่จำ�เป็น เสียทั้งเวลา เสียทั้งเงิน และเสียความรู้สึก กระบวนการหนึ่ง ที่สำ�คัญมากในการทำ� ธุรกิจทุกชนิดก็คอื การสัง่ ซือ้ การสัง่ ซือ้ ทีร่ อบคอบ จึ ง ต้ อ งมี ข้ อ ตกลงและเงื่ อ นไขกำ � หนดไว้ ใ ห้ ชัดเจน หากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งกระทำ�การใดหรือ ละเว้นไม่กระทำ�การใดอันทำ�ให้เกิดความเสียหาย แก่อีกฝ่ายก็จะต้องรับผิดชดใช้ความเสียหายที่ เกิดขึ้นตามข้อตกลงและเงื่อนไขที่ระบุไว้นั้น
ต่อไปนี้คือข้อตกลงและเงื่อนไข 14 ข้อที่ ฝ่ายจัดซื้อนิยมใช้ ซึ่งจะแนบไปกับเอกสารการ สั่ ง ซื้ อ ทุ ก ครั้ ง หากท่ า นผู้ อ่ า นเห็ น ว่ า เป็ น ประโยชน์กข็ อเชิญนำ�ไปปรับใช้กบั กระบวนการ จัดซื้อของท่านได้นะครับ
ข้อตกลงและเงื่อนไขในการจัดซื้อ
• ใบสั่งซื้อฉบับนี้เป็นสัญญาที่ทำ�ขึ้นโดย ความเข้าใจตรงกันโดยตลอด ระหว่างผูซ้ อื้ และ ผู้ขายซึ่งถือเป็นข้อตกลงที่สมบูรณ์ ข้อตกลง อื่นใดที่มีอยู่ก่อนนี้ซึ่งขัดต่อข้อตกลงเงื่อนไข และใบสั่งซื้อนี้ ไม่ว่าจะได้กระทำ�ไว้โดยลาย ลักษณ์อกั ษรหรือโดยคำ�พูดก็ตาม ให้ยกเลิกทัง้ สิ้น เว้นเสียแต่จะได้รับความยินยอมเป็นลาย ลักษณ์อักษรในเรื่องนั้นๆ เป็นกรณีไป อีกทั้ง หากมีขอ้ ตกลงหรือเงือ่ นไขอืน่ ใดทีผ่ ขู้ ายจัดทำ�ให้ ซึ่งขัดต่อเงื่อนไขฉบับนี้ก็ให้ยกเลิกเช่นกัน • ผูข้ ายจะต้องลงลายมือชือ่ ในใบตอบรับ (สำ�เนาฉบับที่ 2 – Acknowledgement copy) และส่งคืนให้ผซู้ อื้ โดยพลัน และให้ถอื ว่าสัญญา
80
Thailand Industrial Today
ระหว่างผูซ้ อ้ื และผูข้ ายเป็นอันเกิดขึน้ แล้ว การที่ ผู้ขายได้ส่งของตามรายการที่สั่งซื้อให้บางส่วน หรือให้ทงั้ หมดแม้จะมิได้ลงนามตอบรับก็ถอื ว่า ผูข้ ายยอมรับและผูกพันตนตามเงือ่ นไขในใบสัง่ ซื้อนี้แล้วเช่นกัน • ผูข้ ายจะไม่มอบหมายหรือโอนความรับ ผิดชอบต่อใบสัง่ ซือ้ นีห้ รือบางส่วนของใบสัง่ ซือ้ นีไ้ ปให้ผอู้ นื่ ก่อนจะได้รบั ความยินยอมจากผูซ้ อื้ เป็นลายลักษณ์อักษร และแม้ว่า จะได้รับการ ยินยอมเช่นว่าก็ตาม ผู้ขายก็ยังคงไม่พ้นจาก ภาระความรับผิดหรือผูกพันตามเงื่อนไขนี้ • หากผู้ ข ายไม่ ป ฏิ บั ติ ต ามเงื่ อ นไขของ ใบสัง่ ซือ้ นีไ้ ม่วา่ โดยเหตุใด หรือผูข้ ายถูกศาลสัง่ ให้เป็นบุคคลล้มละลายหรือเป็นบุคคลที่มีหนี้ สินล้นพ้นตัว หรือได้รบั คำ�สัง่ ศาลให้เป็นบุคคล ที่ไม่สามารถชำ�ระหนี้ได้ ผู้ซื้อมีสิทธิ์จะยกเลิก การสัง่ ซือ้ ทัง้ หมดหรือบางส่วนก็ได้ โดยไม่จ�ำ เป็น ต้องบอกกล่าวและไม่ต้องรับผิดชอบใดๆ • ผูข้ ายจะต้องรับผิดชอบในความเสียหาย และค่าใช้จ่ายที่ผู้ซื้อต้องเสียไป อันเกิดจาก
EXPLORING PURCHASING SECRETS WITH AJARN CHEOCHARN
ความล่าช้าของผู้ขายในการส่งมอบพัสดุหรือ บริ ก ารหรื อ แบบพิ ม พ์ ห รื อ เอกสารอื่ น ใดที่ เกี่ยวข้อง • ผูข้ ายยืนยันว่าราคาของพัสดุหรือบริการ ตามใบสั่งซื้อนี้ ไม่มีส่งิ ใดที่ขัดต่อกฎหมายหรือ คำ�สัง่ ของทางราชการเกีย่ วกับการควบคุมราคา ที่ประกาศใช้บังคับอยู่ • การจัดส่งพัสดุและบริการตามใบสัง่ ซือ้ นี้ ผูข้ ายจะกระทำ�ให้สอดคล้องกับกฎระเบียบของ ราชการอันเกีย่ วข้องทัง้ หลาย เป็นต้นว่า การขนส่ง ตูค้ อนเทนเน่อร์ ความปลอดภัย การเคลือ่ นย้าย การจัดเก็บ • หากมีการทยอยส่ง ผู้ขายจะต้องจัดทำ� อินวอยซ์แยกให้แต่ละครั้ง ผู้ขายจะไม่คิดค่าใช้ จ่ายอันเกิดจากการบรรจุหบี ห่อ ลังบรรจุ ค่ารถ ค่าเสียเวลา และค่าจัดเก็บ นอกเสียจากจะได้ ระบุไว้แล้วในใบสั่งซื้อนี้ ข้อตกลงและเงื่อนไข การจัดส่งทีร่ ะบุไว้นน้ั ให้ตคี วามตาม INCOTERMS 2010 เว้นแต่จะระบุเป็นอย่างอื่น • การรับหรือชำ�ระราคาซึง่ พัสดุหรือบริการ ที่ ผู้ ข ายส่ ง มอบนั้ น มิ ไ ด้ ห มายความว่ า ผู้ ซื้ อ ยอมรั บ ในความถู ก ต้ อ งแล้ ว แต่ ป ระการใด จนกว่าผู้ซื้อจะได้ตรวจรับและตรวจสอบตาม วิธขี องผูซ้ อื้ เสียก่อน ผูซ้ อื้ ทรงสิทธิใ์ นการส่งคืน พัสดุหรือบริการทีไ่ ม่เป็นไปตามข้อกำ�หนดโดย จะแจ้งให้ผู้ขายทราบล่วงหน้าภายใน 14 วัน นับจากวันรับมอบเป็นลายลักษณ์อักษร ผู้ขาย จะรับผิดชอบบรรดาค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการ ส่งคืน เป็นต้นว่าค่าขนส่ง ค่ากำ�จัดทิ้ง หากมี กรณีของความบกพร่องที่ซ่อนอยู่ภายใน ผู้ซื้อ มีสิทธิ์จะบอกปฏิเสธการรับได้ภายใน 30 วัน นั บ แต่ วั น ที่ ไ ด้ เ ห็ น ความชำ � รุ ด บกพร่ อ งนั้ น การเก็ บ รั ก ษาของชำ � รุ ด บกพร่ อ งไว้ เ พื่ อ รอ คำ�แนะนำ�จากผูข้ ายนัน้ ผูข้ ายจะเป็นผูร้ บั ผิดชอบ
ความเสียหายและค่าใช้จ่ายเอง หากผู้ซื้อมิได้ รับคำ�แนะนำ�จากผูข้ ายภายใน 15 วันนับแต่วนั ที่บอกปฏิเสธ ผู้ซื้อจะทำ�การส่งของคืนให้แก่ ผู้ขาย และห้ามผู้ขายส่งของมาทดแทนให้ใหม่ โดยมิได้รับคำ�ยินยอมจากผู้ซื้อเป็นลายลักษณ์ อักษร ผู้ขายจะชดใช้มูลค่าของที่ส่งคืนกลับไป นอกจากนัน้ ในกรณีทผี่ ขู้ ายส่งของให้เกินกว่าที่ สั่งซื้อไป ผู้ซื้อมีสิทธิ์ปฏิเสธและส่งของคืนกลับ ไปโดยผู้ขายจะต้องออกค่าใช้จ่ายในการส่งคืน • ผูข้ ายจะรับผิดชอบค่าใช้จา่ ยอันเกิดจาก การติดตามทวงของที่ส่งล่าช้า ผู้ซื้อทรงสิทธิ์ที่ จะเข้าไปติดตามทวงของในสถานที่ของผู้ขาย หรือของผู้รับช่วงงานไป ในกรณีของเครื่องมือ หรื อ เครื่ อ งจั ก รที่ ผ ลิ ต จำ � หน่ า ยให้ แ ก่ ผู้ ซื้ อ เป็นการเฉพาะ ผูซ้ อื้ มีสทิ ธิจ์ ะตรวจและทดสอบ การใช้งานก่อนส่งมอบได้
Thailand Industrial Today
MAR– APR 2019
81
• ผูข้ ายรับรองว่าพัสดุทขี่ ายให้แก่ผซู้ อื้ นัน้ มิได้เป็นการละเมิดสิทธิบัตรผู้ใด และการที่ ผู้ซื้อจะนำ�ไปใช้หรือไปขายก็จะไม่ถูกเรียกค่า เสียหายจากการละเมิดสิทธิบัตรจากผู้ใด ทั้งนี้ ผูข้ ายไม่รบั ประกันครอบคลุมไปถึงการนำ�พัสดุ ดังกล่าวไปใช้รว่ มกับพัสดุหรือกระบวนการอืน่ ผู้ขายรับประกันว่าพัสดุที่ผลิตหรือประกอบให้ นั้นมีคุณภาพตรงตามข้อกำ�หนดที่ระบุไว้ใน ใบสั่งซื้อนี้และปราศจากข้อบกพร่องใดๆ จาก การออกแบบ จากการผลิต และจากเนือ้ พัสดุเอง ในกรณีทเี่ ป็นการผลิตหรือประกอบให้เป็นการ เฉพาะสำ�หรับผู้ซื้อ ผู้ขายตกลงรับประกันใน การออกแบบ การผลิต และเนื้อพัสดุให้เป็น เวลา 1 ปีนับจากวันส่งมอบ
EXPLORING PURCHASING SECRETS WITH AJARN CHEOCHARN
• หากผู้ขายจำ�เป็นต้องเข้าไปในสถานที่ ของผูซ้ อื้ เพือ่ ส่งมอบหรือติดตัง้ พัสดุหรือบริการ ผู้ขายรวมทั้งตัวแทนของผู้ขายจะต้องปฏิบัติ ตามกฎความปลอดภัยของผูซ้ อ้ื หากเกิดอุบตั เิ หตุ บาดเจ็บ เสียชีวติ ทรัพย์สนิ เสียหาย หรือความ เสียหายอื่นใดต่อผู้ขาย ต่อตัวแทนของผู้ขาย ต่อพนักงานลูกจ้างของผู้ขายหรือของตัวแทน อั น เกี่ ย วเนื่ อ งจากการส่ ง มอบหรื อ ติ ด ตั้ ง นี้ ผูข้ ายจะไม่เอาผิดและไม่เรียกร้องใดๆ ต่อผูซ้ อื้ ทั้งสิ้น • ผูข้ ายสัญญาจะปกปิดข่าวสาร แบบพิมพ์ ข้อกำ�หนด ข้อมูล และพัสดุทจ่ี ดั ทำ�หรือประกอบ ให้ผู้ซื้อไว้ โดยจะไม่เปิดเผยแก่ผู้ใด จะจัดทำ� จัดการ เคลื่อนย้าย โดยระมัดระวัง และหากมี สิ่งใดมิได้ใช้หรือเหลือก็จะส่งคืนกลับให้ผู้ซื้อ เมื่ อ ผู้ ซื้ อ แจ้ ง ให้ ท ราบ นอกจากนั้ น ผู้ ข ายให้ สัญญาว่าจะไม่ถ่ายรูปหรือทำ�สำ�เนาของพัสดุ ทั้งหลายดังกล่าวไม่ว่าบางส่วนหรือทั้งหมด ก็ตาม
• เหตุสดุ วิสยั คือ อัคคีภยั อุบตั ภิ ยั ปัญหา แรงงาน กฎหมาย ข้อบังคับ คำ�สั่งของทาง ราชการ ไม่วา่ จากในหรือนอกประเทศ สงคราม (ไม่ว่าจะมีการประกาศหรือไม่ก็ตาม) ผลจาก สงคราม สภาวะการณ์ใดที่อยู่นอกเหนือการ ควบคุ ม ของคู่ สั ญ ญานี้ หากคู่ สั ญ ญาฝ่ า ยใด ก็ตามที่ถูกผลกระทบจากเหตุสุดวิสัยดังกล่าว จะต้องรีบแจ้งให้อกี ฝ่ายทราบโดยละเอียด หาก เกิดเหตุสดุ วิสยั แก่ฝา่ ยผูข้ ายอันมีผลให้ผขู้ ายไม่ สามารถผลิตหรือส่งมอบพัสดุหรือบริการได้ ผู้ ขายจะพยายามทุ ก วิ ถี ท างโดยสุ จ ริ ต ใจที่ จ ะ มอบหมายหรื อ ส่ ง ต่ อ งานไปยั ง แหล่ ง อื่ น ให้ ดำ�เนินการแทน หรือผลิตเองในสัดส่วนทีต่ �่ำ ลง อันเกิดจากผลกระทบของเหตุสุดวิสัย จำ�นวน ของพัสดุหรือบริการทีจ่ ะส่งมอบน้อยลงนัน้ ต้อง เป็ น สั ด ส่ ว นที่ เ หมาะสมเมื่ อ เที ย บเป็ น (ก) เปอร์เซ็นต์ของยอดการผลิตรวมของผู้ขายที่ เหลืออยู่ หรือ (ข) เปอร์เซ็นต์ยอดขายรวมของ ผู้ขายที่เหลืออยู่ ในกรณีที่เกิดเหตุสุดวิสัยแก่ ฝ่ายผู้ซื้อและส่งผลกระทบต่อการใช้พัสดุหรือ บริ ก ารของผู้ ซื้ อ ฝ่ า ยผู้ ซื้ อ อาจพิ จ ารณาลด จำ�นวนพัสดุหรือบริการลงได้ แต่เงื่อนไขในข้อ นีม้ ไิ ด้เป็นการตัดสิทธิข์ องผูซ้ อื้ ในการจะใช้สทิ ธิ์ ยกเลิกการสั่งซื้อตามข้อ 4 ก่อนจะจบบทความฉบับนี้ ผมขอเรียนให้ ทุกท่านทราบว่า หากท่านต้องการอ่านบทความ เรือ่ งอืน่ ในแวดวงการบริหารงานจัดซือ้ การเจรจา ต่อรอง การบริหารจัดการสต๊อก ซึง่ ผมได้เขียน ไว้ก่อนหน้านี้ ท่านสามารถเข้าไปค้นคว้าได้ฟรี
www.AMCthailand.com
MAR– APR 2019
อาจารย์ เชี่ยวชาญ รัตนามหัทธนะ / Cheocharn Ratanamahatana, * C.P.M., A.P.P., MCIPS • ประธานกรรมการ สถาบันฝึกอบรมวิชาชีพจัดซื้อฯ AMC • ผู้ก่อตั้งและได้รับเลือกให้เป็นนายกสมาคมคนแรก (พ.ศ.2531-2550) ของสมาคมบริหารงานจัดซื้อและซัพพลายเชนแห่งประเทศไทย
82
Thailand Industrial Today
นะครั บ ที่ “เรียนรู้เคล็ดลับจัดซื้อกับอาจารย์ เชีย่ วชาญ” ในเว็บไซต์ www.AMCthailand.com ไม่ตอ้ งใช้รหัสและไม่ตอ้ งเป็นสมาชิก เข้าไปอ่าน ไปค้นคว้าหรือดาวน์โหลดได้ฟรีครับ และท่าน ใดที่ต้องการจะแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือ ให้ ข้ อ เสนอแนะ หรื อ สอบถามปั ญ หาใดๆ ในวงการจัดซือ้ จัดหา เจรจาต่อรอง การบริหาร สต๊ อ ก สามารถติ ด ต่ อ กั บ ผมได้ โ ดยตรงที่ โทรศัพท์ 08 1628 7855 หรือทางอีเมลที่ cheocharn@hotmail.com หรือติดต่อกับผม ทางไลน์ก็ได้ครับที่ Line ID: cheocharn
PR NEWS
PR News หจก.สุมิ ออร์คิด : SUMI ORCHID LTD., PART. หจก. สุมิ ออร์คิด เป็นผู้นำ�เข้า อุปกรณ์ลม นิวเมติกส์ ไฮดรอลิค และผูผ้ ลิต/ซ่อม กระบอกลม/กระบอกไฮดรอลิค ชุดเพาเวอร์ยนู ติ และงานระบบออโตเมชัน่ ทัง้ ระบบ รวมทัง้ เป็น ตัวแทนแบรนด์ตา่ งๆ เช่น smc ckd parker festo shako airtac mac camozzi ypc mindman niscon kuroda taiyo burkert norgren kitz ncd yuken vickers unid nitto pneumax
527/12 ถนนวงศ์สว่าง แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800 Tel.: 029122346-9, 0818116943 Fax: 029132670, 025561181
E-mail: pichet-19@hotmail.com www.sumi-orchid.com : sumiorchid : สุมิ ออร์คดิ
SINGER ร่วมมือ เอไอเอส ปล่อยหมัดเด็ด รุกตลาดซิมมือถือทั่วประเทศ ใครว่าซื้อซิมมือถือต้องไปที่ร้านขายมือถือเท่านั้น ตอนนี้ SINGER เจ้ า แห่ ง ตลาดสิ น เชื่อ เงิ น ผ่ อ นที่มีเ ครื อ ข่ า ยครอบคลุ ม ตลาดทั่ว ประเทศ จับมือเอไอเอส รุกตลาดซิมและอินเทอร์เน็ตบ้านไฟเบอร์เครือข่ายสัญญาณ เอไอเอส ซึง่ เป็นการต่อยอดจากการประกาศ Exclusive Partnership ระหว่าง JMART หรือ บมจ.เจมาร์ท ในฐานะบริษัทแม่ กับ เอไอเอส หรือ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ ด้านบอสใหญ่ซงิ เกอร์ “กิตติพงศ์ กนกวิไลรัตน์” ส่งซิก ในอนาคตยังเตรียม ปล่อยหมัดเด็ดร่วมกันอีก ในการหาลูกค้าใหม่เครือข่ายเอไอเอส เดินหน้าเจาะ กลุ่มลูกค้าเป้าหมายผ่านตัวแทนขายของซิงเกอร์ท่วั ประเทศ ประเดิมแล้วที่ จ.สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต และสตูล สเปเชีย่ ลดีลของยักษ์ใหญ่ ในวงการขนาดนี้ บอกได้ค�ำ เดียวว่าไม่ธรรมดาแน่นอน...
ยิปรอคคว้ารางวัลองค์กรต้นแบบ “Happy Workplace นวัตกรรมนำ�สุขยุคดิจตอล” จากสำ�นักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
MAR– APR 2019
บริษทั ไทยผลิตภัณฑ์ยบิ ซัม่ จำ�กัด (มหาชน) นำ�โดย อภิรกั ษ์ ชัยศิรพิ าณิชย์ ผูจ้ ดั การโรงงานไทยผลิตภัณฑ์ยบิ ซัม่ สาขาแหลมฉบัง เป็นผูแ้ ทนขึน้ รับรางวัล “Happy Workplace นวัตกรรมนำ�สุขยุคดิจตอล” จาก ไพโรจน์ มีทวี นายกสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย ประธานคณะทำ�งานโครงการเสริมสร้าง การเป็นองค์กรสุขภาวะในอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์ ซึง่ พิธมี อบรางวัล จัดขึน้ ทีอ่ าคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.)
88
Thailand Industrial Today
PR News เฟดเอ็กซ์มุ่งสร้างโอกาสทางอาชีพให้เยาวชนไทย ผ่านกิจกรรม FedEx Career Camp
นางสาวจีนา่ แกลวิน กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เฟดเอ็กซ์ เอ็กซ์เพรส ประเทศไทย (แถวที่ 3 ที่ 8 จากขวา) นางสาวไฮดี้ กาลแล็นท ผูอ้ �ำ นวยการ (แถวที่ 3 ที่ 7 จากขวา) และ นายโจเซฟ วิลลัน (แถวที่ 3 ที่ 6 จากขวา) ผูบ้ ริหารฝ่ายชุมชนสัมพันธ์ หอการค้าอเมริกนั ในประเทศไทย ร่วมเป็นเจ้าภาพ จัดงาน FedEx Career Camp ในปีนี้ มีนกั ศึกษากว่า 40 คนจากหลากหลายมหาวิทยาลัยทัว่ ประเทศ เข้าร่วมกิจกรรม เพือ่ เรียนรูท้ กั ษะการทำ�งาน เตรียมความพร้อมก่อนก้าว เข้าสู่โลกแห่งการทำ�งาน ตลอดระยะเวลาของการอบรม นักศึกษาได้มีโอกาสเรียนรู้วิธีการเขียนจดหมายสมัครงานแบบมืออาชีพจากพนักงานของ เฟดเอ็กซ์ นอกจากนีย้ งั ได้เข้าร่วมการสัมภาษณ์จ�ำ ลองซึง่ มีพนักงานจากแผนกทรัพยากรบุคคลของเฟดเอ็กซ์และองค์กรอืน่ ๆ ทีเ่ ป็นสมาชิกหอการค้า อเมริกันในประเทศไทยเข้าร่วมทดสอบอีกด้วย
อุตสาหกรรมดิจิทัลคึกคัก ดีป้า ปลื้มคณะอนุกรรมการเขตส่งเสริมอุตสาหกรรม และนวัตกรรมดิจิทัล ทีม่ สี �ำ นักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั และสำ�นักงานเพือ่ การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก (สำ�นักงาน EEC) เป็นฝ่ายเลขานุการ ร่วมชงขยายกิจการส่งเสริม การลงทุนในพืน้ ที่ EECd 23 รายการ และให้พนื้ ทีอ่ ทุ ยานรังสรรค์นวัตกรรมของจิสด้า เป็นส่วนหนึง่ ของดิจทิ ลั พาร์ค พร้อมขยายเวลาการส่งเสริมสิทธิและประโยชน์การลงทุน สำ�หรับเขตส่งเสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล ออกไปเป็นระยะเวลา 5 ปี
ไบโอฟาร์ม ห่วงใยชุมชนมอบตูย้ าพร้อมเติมยาและเวชภัณฑ์ แก่ศูนย์บริการสาธารณสุขและชุมชนในเขตเทศบาลเมือง สมุทรปราการ ในโครงการ “45 ปี ไบโอฟาร์ม เพื่อชุมชน เติมยาเติมความห่วงใย” ภก.ปริญญา เปาทอง ผูอ้ �ำ นวยการฝ่ายประสานงานองค์กร (คนทีส่ าม ซ้ายมือ) และตัวแทนพนักงาน บริษทั ไบโอฟาร์ม เคมิคลั ส์ จำ�กัด จัดกิจกรรม เพือ่ สังคมต่อเนือ่ งในโครงการ “45 ปี ไบโอฟาร์ม เพือ่ ชุมชน เติมยาเติมความ ห่วงใย” โดยส่งมอบตูย้ าพร้อมเติมยาและเวชภัณฑ์แก่ศนู ย์บริการสาธารณสุข และชุมชนในเขตเทศบาลเมืองสมุทรปราการ โดยมีนายวิมล มงคลเจริญ ปลัดเทศบาลนครสมุทรปราการ ปฏิบตั หิ น้าทีน่ ายกเทศมนตรีนครสมุทรปราการ (คนทีส่ ามขวามือ) และ นางพรเพ็ญ กลิ่นกำ�ธรกุล รองปลัดเทศบาลนคร สมุทรปราการ ปฏิบตั ริ าชการแทนปลัดเทศบาลนครสมุทรปราการ (คนทีส่ องขวามือ) เป็นตัวแทนรับมอบและส่งต่อตูย้ า ยาและเวชภัณฑ์แก่ชมุ ชน ในเขตเทศบาลเมืองสมุทรปราการ เมื่อเร็วๆ นี้
Thailand Industrial Today
MAR– APR 2019
89
PR News ดาว ประเทศไทยประกาศผลรางวัล DOW-CST สนองนโยบายการศึกษาภาครัฐ พัฒนาครู-เยาวชนไทย เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ สู่การคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ นวัตกรรม กลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย ร่วมกับ สมาคมเคมีแห่งประเทศไทย ในพระอุปถัมภ์ของศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี และองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ จัดการประกาศผลรางวัล “การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ด้วยเทคนิค ปฏิบัติการเคมีแบบย่อส่วน (DOW-CST AWARD) ประจำ�ปี พ.ศ. 2561 ภายใต้ โ ครงการห้ อ งเรี ย นเคมี ด าว” พร้ อ มมอบรางวั ล รวมมู ล ค่ า กว่ า 200,000 บาท แก่ครูและนักเรียนผูช้ นะการประกวดในระดับชัน้ มัธยมศึกษา ตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยผูท้ ชี่ นะเลิศรางวัลยอดเยีย่ มจะได้เข้ารับพระราชทานโล่เกียรติยศจากศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ในการประชุมวิชาการนานาชาติ Pure and Applied Chemistry International Conference (PACCON 2019) ซึ่งจะจัดขึ้นที่ไบเทคบางนา ในเดือนกุมภาพันธ์นี้
ซีพีแรม จัดกิจกรรมยกระดับสู่ความยั่งยืนทางอาหาร คุณชัญญรัช พีราวัชร พร้อมด้วยพนักงานจิตสาธารณะบริษทั ซีพแี รม จำ�กัด จัดกิจกรรม CPRAM FOOD STATION เป็นกิจกรรมทีน่ �ำ บล็อกเกอร์ และ ผูโ้ ชคดีจากเพจ Facebook CPRAM ร่วมกิจกรรมการสร้างสรรค์เมนูอาหาร สุดพิเศษจากผลิตภัณฑ์คุณภาพซีพีแรม ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวได้เสริมสร้าง ความรูค้ วามเข้าใจในเชิงพฤติกรรมในการตระหนักถึงเรือ่ งลดความสูญเปล่า ของอาหาร หรือ Food Waste เพือ่ ยกระดับสูค่ วามยัง่ ยืนทางอาหาร ซึ่งเป็น หนึ่งในแนวทาง 3S ของซีพีแรม พร้อมยังได้ร่วมส่งมอบความเป็นอยู่ที่ดีให้ ทุกคน ผ่านกิจกรรมต่างๆ ณ โรงเรียนบ้านลำ�ทองหลาง จังหวัดนครราชสีมา
KGI ร่วม ททท. พาน้อง “เทีย่ วตามฝัน ครัง้ หนึง่ ในชีวติ ”
MAR– APR 2019
ดร.จอ้ื –หง หลิน กรรมการอำ�นวยการ บริษทั หลักทรัพย์ เคจีไอ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) พร้อมด้วยคณะผู้บริหารและพนักงาน ถ่ายภาพเป็นที่ระลึก ในโอกาสที่ บ ริ ษั ท ฯ มอบทริ ป สุ ด พิ เ ศษให้ กั บ ตั ว แทนเด็ ก จากสมาคม สงเคราะห์เด็กกำ�พร้าแห่งประเทศไทย โดยพาเที่ยวชมเรือหลวงสิมิลัน อีกทั้งน้องๆ จากสมาคมฯ ยังได้ร่วมส่งกำ�ลังใจให้ผู้ประสบภัยจากพายุ ปาบึกผ่านทางเรือหลวงจักรีนฤเบศร ซึ่งอยู่ระหว่างเตรียมความพร้อม หากต้องออกปฏิบัติการ ณ ท่าเรือจุกเสม็ด อำ�เภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ผ่านโครงการ “เที่ยวตามฝัน ครั้งหนึ่งในชีวิต” ซึ่งกิจกรรมดังกล่าว KGI ร่วม ดำ�เนินการกับการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.)
90
Thailand Industrial Today
PR News True4U พาคอนเทนต์ไทยบุกตลาดโลก ศรีอโยธยาผงาด ในเวที Asian Television Awards True4U เดินหน้ารุกตลาดคอนเทนต์คุณภาพ ต่อยอดแนวทางใช้ คอนเทนต์ นำ้ � ดี ดึ ง กลุ่ ม ผู้ ช มที่ ต้ อ งการรั บ ชมคอนเทนต์ คุ ณ ภาพสู ง หลังภาพยนตร์ซีรีส์ “ศรีอโยธยา” เดินสายกวาดรางวัลมากที่สุดในวงการ โทรทัศน์ไทยตลอดทั้งปี ล่าสุดทำ�ผลงานโดดเด่นเข้าตากรรมการต่างชาติ ได้เข้าชิง 5 รางวัลจากงาน เอเชียน เทเลวิชน่ั อวอร์ด ครัง้ ที่ 23 ซึง่ จัดขึน้ ที่ ประเทศมาเลเซีย ในวันที่ 11-12 มกราคม 2562 ที่ผา่ นมา ตอกย้ำ�ผู้นำ� ตลาดคอนเทนต์ในไทย นายอภิชาติ์ หงษ์หริ ญ ั เรือง กรรมการผูจ้ ดั การ ทรูโฟร์ยู ช่อง 24 กล่าวว่า “True4U รู้สึกเป็นเกียรติและภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่งที่ ภาพยนตร์ซีรีส์ “ศรีอโยธยา” จากประเทศไทยโดดเด่นในเวที เอเชียน เทเลวิชั่น อวอร์ด ครั้งที่ 23 โดยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงถึง 5 รางวัล ทำ�ให้มีผู้ประกอบการ ต่างชาติตอบรับซื้อลิขสิทธิ์เป็นจำ�นวนมาก ทั้งจากผู้ซื้อลิขสิทธิ์รายเดิม ซึ่งเคยซื้อคอนเทนต์ของ True4U ไปเผยแพร่และประสบความสำ�เร็จด้าน ความนิยมในประเทศนัน้ ๆ มาแล้ว และยังมีผซู้ อื้ รายใหม่จากฝัง่ ตะวันตกให้ความสนใจซือ้ ลิขสิทธิภ์ าพยนตร์ซรี สี เ์ รือ่ งดังกล่าวไปฉายในภูมภิ าคของ ตนอีกด้วย นับเป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมบันเทิงไทยตามแนวเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และยุทธ์ศาสตร์ดา้ นการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอีกทางหนึง่ ”
ซินเจนทา ประกาศแผนความยั่งยืนธุรกิจปี 62 สอดรับ องค์การสหประชาชาติ มุ่งสร้างอาหารปลอดภัย ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซินเจนทา ตอกย้ำ�จุดยืนตามแนวคิดองค์การสหประชาชาติ เดินหน้า ส่งเสริมเกษตรกรผลิตอาหารปลอดภัยป้อนประชากรโลก ควบคูก่ บั การดูแล รักษาโลก พร้อมทั้งประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการ สร้างอุดมการณ์เดียวกัน นางสาววัชรีภรณ์ พันธุภ์ มู พิ ฤกษ์ หมอพืชและผูอ้ �ำ นวยการฝ่ายความ ยัง่ ยืนธุรกิจ ประเทศไทย บริษทั ซินเจนทา ครอป โปรเทคชัน่ จำ�กัด หรือ ซินเจนทา บริษทั ชัน้ นำ�นวัตกรรมวิทยาศาสตร์ดา้ นเกษตรและอาหาร เปิดเผยว่า ในปี 2562 บริษทั ฯ วางแนวทางการดำ�เนินธุรกิจให้เกิดความยัง่ ยืน ด้วยการนำ�องค์ความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์การเกษตร และเทคโนโลยีการอารักขาพืช ส่งเสริมและสนับสนุนให้กบั ภาคการเกษตร เพือ่ ให้เกษตรกรมีการใช้ผลิตภัณฑ์อย่างถูกต้อง เหมาะสม เพิม่ ผลผลิต ลดต้นทุน และช่วยรักษาสภาพ แวดล้อมต่างๆ ให้ดขี น้ึ อาทิ คุณภาพดินและน้�ำ รวมถึงความหลากหลายทางชีวภาพ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้เดินหน้าขับเคลือ่ นแผนการเติบโต เชิงบวก (The Good Growth Plan) ทีไ่ ด้ด�ำ เนินงานไปในปีทผ่ี า่ นมา นำ�มาใช้ในการดำ�เนินธุรกิจเพือ่ ให้เกิดความยัง่ ยืนในปีนอ้ี กี ด้วย
ก.คมนาคม เยีย่ มชมโครงการยานยนต์สมัยใหม่ ฝีมอื คนไทย นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคม พร้อม นายธีระพงษ์ รอดประเสริฐ ผูช้ ว่ ยรัฐมนตรี นำ�ทีมกรมขนส่งทางบก และ กรมเจ้าท่า รวมถึงกองบังคับการตำ�รวจท่องเทีย่ วภาค 3 เข้าเยีย่ มชมโครงการ ยานยนต์สมัยใหม่ของบริษัท สกุลฏ์ซี อินโนเวชั่น จำ�กัด ในกลุ่มบริษัท โชคนำ�ชัย ในการผลิตรถโดยสารอลูมเิ นียม และเรืออลูมเิ นียมรุน่ ใหม่ ฝีมอื คนไทย พร้อมเยีย่ มชมศักยภาพการผลิตด้านต่างๆ ทีช่ ว่ ยยกระดับคุณภาพ และความปลอดภัยทางด้านการคมนาคมไทย และการท่องเที่ยว โดยมี นายนำ�ชัย สกุลฎ์โชคนำ�ชัย ประธานกลุม่ บริษทั โชคนำ�ชัย ให้การต้อนรับ เมือ่ เร็วๆ นี้
Thailand Industrial Today
MAR– APR 2019
91
PR News ภูมิสยามฯ รับโล่ท�ำ คุณประโยชน์
นางสาวปารมี สุวรรณพหู เจ้าหน้าทีอ่ าวุโส ฝ่ายทรัพยากรบุคคล ตัวแทน จากบริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำ�กัด ผู้ผลิตและจัดจำ�หน่ายเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. เทคโนโลยีการผลิตจากประเทศเยอรมัน เข้ารับโล่ประกาศเกียรติคุณจาก พ.ต.อ.ธานินทร์ ฉัตรเจริญพร ผกก. สภ.ลำ�ลูกกา ในโอกาสร่วมส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสังคม ทำ�คุณประโยชน์เพื่อ ส่วนรวม และสนับสนุนงบประมาณส่วนหนึ่งสร้างห้องปฏิบัติการสายตรวจ สถานีต�ำ รวจภูธรลำ�ลูกกา ถือเป็นการดำ�เนินธุรกิจด้วยความใส่ใจ รับผิดชอบ ต่อชุมชนและสังคมอย่างต่อเนื่อง ณ สถานีตำ�รวจภูธรลำ�ลูกกา อำ�เภอ ลำ�ลูกกา จังหวัดปทุมธานี นางสาวปารมี สุวรรณพหู เจ้าหน้าที่อาวุโส ฝ่ายทรัพยากรบุคคล ตัวแทนจากบริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำ�กัด ผู้ผลิต และจัดจำ�หน่ายเสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. เทคโนโลยีการผลิตจากประเทศเยอรมัน เข้ารับโล่ประกาศเกียรติคุณจาก พ.ต.อ.ธานินทร์ ฉัตรเจริญพร ผกก.สภ.ลำ�ลูกกา ในโอกาสร่วมส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสังคม ทำ�คุณประโยชน์เพื่อส่วนรวม และสนับสนุนงบประมาณส่วนหนึ่งสร้าง ห้องปฏิบัติการสายตรวจสถานีตำ�รวจภูธรลำ�ลูกกา ถือเป็นการดำ�เนินธุรกิจด้วยความใส่ใจ รับผิดชอบต่อชุมชนและสังคมอย่างต่อเนื่อง ณ สถานี ตำ�รวจภูธรลำ�ลูกกา อำ�เภอลำ�ลูกกา จังหวัดปทุมธานี
“เลเท็กซ์ ซิสเทมส์” เปิดบ้านต้อนรับ ก.ล.ต. และ ตลท. ตามแผน IPO ปีนี้ นายวรเทพ วงศาสุทธิกลุ (แถวหน้า ที่ 12 จากซ้าย) ประธานกรรมการ บริษัท เลเท็กซ์ ซิสเทมส์ จำ�กัด (มหาชน) หรือ LS ร่วมกับนางปทุมพร ตรีวศิ วเวทย์ (แถวหน้า ที่ 15 จากซ้าย) กรรมการผูจ้ ดั การ และคณะกรรม การบริษัทฯ พร้อมด้วย นางสาวพัชพร สรรคบุรานุรักษ์ (แถวหน้า ที่ 13 จากซ้าย) กรรมการผู้จัดการ ฝ่ายวาณิชธนกิจ บริษัท หลักทรัพย์เคจีไอ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) (KGI) ในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินและ ผู้จัดการการจัดจำ�หน่ายและร่วมรับประกันการจำ�หน่ายหุ้นสามัญเพิ่มทุน ให้การต้อนรับคณะผูบ้ ริหารจากสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ (สำ�นักงาน ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ในโอกาสเข้าเยี่ยมชมกิจการ ณ สำ�นักงานใหญ่บริษัทฯ อำ�เภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ตามแผนการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนเป็น ครั้ ง แรก (IPO) จำ � นวน 132,432,288 หุ้ น มู ล ค่ า ที่ ต ราไว้ (พาร์ ) หุ้ น ละ 0.50 บาท และจะขอเข้ า จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ เอ็ม เอ ไอ (mai) ในปีนี้
ฟูจิตสึ (ประเทศไทย) ประกาศแต่งตั้ง กรรมการผู้จัดการคนใหม่
MAR– APR 2019
บริษทั ฟูจติ สึ (ประเทศไทย) จำ�กัด ผูน้ �ำ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ที่พร้อมนำ�เสนอผลิตภัณฑ์โซลูชั่นและการให้บริการทางด้าน เทคโนโลยีอย่างครบถ้วน รวมไปถึงโซลูชั่นคลาวด์ ซอฟต์แวร์ การบริหาร จัดการโครงสร้างทางด้านไอที การจัดวางระบบที่ปรึกษาทางด้านไอที คอมพิวเตอร์ เซิร์ฟเวอร์และสแกนเนอร์ ประกาศแต่งตั้ง นาย โทชิโร มิอุระ เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการผู้จัดการคนใหม่ บริษัท ฟูจิตสึ (ประเทศไทย) จำ�กัด มีผลเป็นทางการ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2562 เป็นต้นมา
92
Thailand Industrial Today
FACTORY UPDATE
Factory
Update
รายชื่อโรงงานที่ได้รับอนุญาตประกอบกิจการ
มีนาคม-เมษายน 2562
ชื่อโรงงาน
ผู้ประกอบการ
ประกอบกิจการ
จังหวัด
ไปรษณีย์
ผลิตอาหารเสริม
ปทุมธานี
12110
บริษัท เอกสิน การ์เด้นโฮม จำ�กัด
บริษัท เอกสิน การ์เด้นโฮม จำ�กัด
บริษัท สาลี่อุตสาหกรรม จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สาลี่อุตสาหกรรม จำ�กัด (มหาชน)
ผลิตชิน้ ส่วนพลาสติก และแม่พมิ พ์ โลหะสำ�หรับงานพลาสติก
ปทุมธานี
12120
บริษัท ไอรอนเทค จำ�กัด
บริษัท ไอรอนเทค จำ�กัด
ผลิ ต เครื่ อ งเรื อ นหรื อ เครื่ อ ง ตกแต่งภายในอาคารจากโลหะ และคอนกรี ต เช่ น โต๊ ะ เหล็ ก ตูเ้ หล็ก โต๊ะคอนกรีต ฯลฯ
ปทุมธานี
12150
บริษัท นิชชิน อีเลคทริค (ประเทศไทย) จำ�กัด
บริษัท นิชชิน อีเลคทริค (ประเทศไทย) จำ�กัด
ผ ลิ ต อุ ป ก ร ณ์ ห รื อ ชิ้ น ส่ ว น เครือ่ งยนต์ เครือ่ งจักร เครือ่ งไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์
ปทุมธานี
12120
บริษัท โคโค่ 1965 จำ�กัด
บริษัท โคโค่ 1965 จำ�กัด
ทำ�ไอศกรีม
ประจวบคีรีขันธ์
77110
085-7222708
บริษัท ที.แอล.ซีเอนจิเนียร์ จำ�กัด
บริษัท ที.แอล.ซีเอนจิเนียร์ จำ�กัด
ผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ค อนกรี ต เช่ น เสาเข็ม คานสะพาน รางระบายน้�ำ
ประจวบคีรีขันธ์
77130
0867690943
บริษัท คิว–วันคอร์ปอเรชั่น จำ�กัด
บริษัท คิว–วันคอร์ปอเรชั่น จำ�กัด
ผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ
ประจวบคีรีขันธ์
77130
0867690943
บริษัท สหนคร304 จำ�กัด
บริษัท สหนคร304 จำ�กัด
ปราจีนบุรี
25110
08 6783 0835
13170
035-387841
นำ�วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ได้แก่ เถ้า ลอยที่ไม่เป็นของเสียอันตราย มาผลิ ต เป็ น อิ ฐ มวลเบา อิ ฐ บล็อก ผนังมวลเบา และใช้เป็น วัสดุแทนซีเมนต์ในงานคอนกรีต
บริษัท คุ้งรุ้ย อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด บริษทั คุง้ รุย้ อินเตอร์เนชัน่ แนล จำ�กัด ตัดเย็บเครื่องนุ่งห่ม เช่น ผ้าห่ม พระนครศรีอยุธยา ปลอกหมอน ผ้าปูเตียง เครือ่ งนอน ผ้าม่าน
MAR– APR 2019
โทรศัพท์
บริษัท เกสรา อุตสาหกรรม จำ�กัด
บริษัท เกสรา อุตสาหกรรม จำ�กัด
ผลิตกล่องกระดาษ
พระนครศรีอยุธยา
13220
บริษัท แอมาริช อินเตอร์แพค จำ�กัด
บริษัท แอมาริช อินเตอร์แพค จำ�กัด ทำ�กล่องกระดาษ ลังกระดาษ พระนครศรีอยุธยา และปัม๊ ขึน้ รูปพลาสติกและโฟม
13210
บริษัท เนเจอร์ไลน์ พลัส จำ�กัด
บริษัท เนเจอร์ไลน์ พลัส จำ�กัด
ผลิตผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรือ พระนครศรีอยุธยา การทำ�เครื่องสำ�อางหรือเครื่อง ปรุ ง แต่ ง ร่ า งกายหรื อ การทำ � ยาสีฟันหรือการทำ�เครื่องดื่มที่ ไม่มีแอลกอฮอร์
13170
บริษัท โลหะไทยสเตนเลส จำ�กัด
บริษัท โลหะไทยสเตนเลส จำ�กัด
กลึง เจาะ คว้าน กัด ไส เจียน พระนครศรีอยุธยา หรือเชื่อมโลหะทั่วไป
13130
ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด นงคราญเชียงม่วนพืชผล
ห้างหุ้นส่วนผู้จัดการ นงคราญเชียงม่วนพืชผล
อบพืชหรือเมล็ดพืช
พะเยา
56160
089-8359859
บี-ควิก สาขาท็อปส์ พะเยา
บริษัท บี-ควิก จำ�กัด
ศูนย์บริการซ่อมแซมรถยนต์
พะเยา
56000
02-0291000
-
นางสมใจ รามคล้าย
ขุดตักดินสำ�หรับใช้ ในการก่อสร้าง
พัทลุง
93190
0828332159
-
นายปรีชา เรนเรือง
ทำ�วงกบประตู-หน้าต่าง บานประตู-หน้าต่าง เครือ่ งเรือน เครือ่ งใช้ และเฟอร์นเิ จอร์จากไม้
พัทลุง
93000
0854746974
บริษัท ออโรร่า เชอร์รี่ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด
บริษัท ออโรร่า เชอร์รี่ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด
สกัดน้ำ�มันปาล์ม
พิษณุโลก
65120
บริษัท ออโรร่า เชอร์รี่ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด
บริษัท ออโรร่า เชอร์รี่ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด
สกัดน้ำ�มันปาล์ม
พิษณุโลก
65120
081-8153685
บริษัท อำ�นาจพลาสติก จำ�กัด
บริษัท อำ�นาจพลาสติก จำ�กัด
บด ย่อย ล้างพลาสติก
พิษณุโลก
65160
087-9209984
94
Thailand Industrial Today
Factory Update
ชื่อโรงงาน ธานินทร์ผ้าใบ -
ผู้ประกอบการ นายอรัญ บูรณบุรีเดช
ประกอบกิจการ
จังหวัด
ไปรษณีย์
โทรศัพท์
เพชรบูรณ์
67110
0896408360
แพร่
54130
สับไม้(เศษวัสดุเหลือใช้)
แพร่
54140
ทำ�เครือ่ งใช้ เครือ่ งใช้ในครัวเรือน และเครือ่ งเรือน จากไม้
แพร่
54130
ทำ�เครื่องเรือนหรือเครื่อง ตกแต่งภายในอาคารจากไม้ และวัสดุอื่นๆ
ภูเก็ต
83110
091 820 7749
ทำ�กันสาดผ้าใบพลาสติก และเต้นผ้าใบพลาสติก
ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด เอเชีย 99 การค้า สับไม้(เศษวัสดุเหลือใช้)
วิสาหกิจชุมชนพัฒนาทรัพยากรฯ
วิสาหกิจชุมชนพัฒนาทรัพยากรฯ
ชรินทร์เฟอร์นิเจอร์
นายชรินทร์ ไกรราช
บริษัท เจนท์ เดคอร์ จำ�กัด
บริษัท เจนท์ เดคอร์ จำ�กัด
ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด ภูเก็ต บิ้วอิน
ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด ภูเก็ต บิ้วอิน
ทำ�เครื่องเรือนหรือเครื่อง ตกแต่งภายในอาคารจากไม้และ วัสดุอื่นๆ
ภูเก็ต
83110
064 026 4275
บริษัท ฮอนด้ามะลิวัลย์ จำ�กัด
บริษัท ฮอนด้ามะลิวัลย์ จำ�กัด
ซ่อมรถยนต์
ภูเก็ต
83000
076 605999
นายวิชัย ยิ้มย่อง
นายวิชัย ยิ้มย่อง
มหาสารคาม
44110
087-3233804
มุกดาหาร
49130
098 213 8820
มุกดาหาร
49000
0864695935
มุกดาหาร
49000
042 674 009
บริษัท เอส.เอ็ม.ที โฟรเซ่นฟู้ด จำ�กัด เทคนิคยางยนต์
ซ่อมแซมรถสำ�หรับการเกษตร เช่น รถเกี่ยวข้าว รถไถนา
บริษัท เอส.เอ็ม.ที โฟรเซ่นฟู้ด จำ�กัด ห้องเย็น นางอรปภา จรรยาวดี
ซ่อมรถยนต์ เช่น เปลี่ยนยาง ถ่วงล้อ
บริษัท มุกดาหารเพชรยานยนต์ จำ�กัด บริษทั มุกดาหารเพชรยานยนต์ จำ�กัด ซ่อมรถยนต์ และ ส่วนประกอบรถยนต์ บริษัท ไทยเพ็ททอยส์ จำ�กัด
บริษัท ไทยเพ็ททอยส์ จำ�กัด
ทำ�ผลิตภัณฑ์อาหารสำ�เร็จรูป จากหนังสัตว์ เช่น ขนมขัดฟัน สุนัข
ร้อยเอ็ด
45130
093-4794350
วิสาหกิจชุมชน กลุ่มส่งเสริมอาชีพบ้านเหม้า
วิสาหกิจชุมชน กลุ่มส่งเสริมอาชีพบ้านเหม้า
ทำ�ครีมผงจากข้าวหอมมะลิ
ร้อยเอ็ด
45130
062-5604770
บริษัท พนมไพร โพลีแพค แอนด์ ซัพพลาย จำ�กัด
บริษัท พนมไพร โพลีแพค แอนด์ ซัพพลาย จำ�กัด
บดและหลอมพลาสติกเก่า เพื่อทำ�เม็ดพลาสติกใหม่
ร้อยเอ็ด
45140
นายวิชิต เอื้อศิริ
นายวิชิต เอื้อศิริ
ขุดร่อนและคัดขนาดทราย
ระยอง
21120
บริษัท ภูสินธารา จำ�กัด
บริษัท ภูสินธารา จำ�กัด
ล้างและคัดขนาดทราย
ระยอง
21120
บริษัท เจียฟู่ พลาสติก (ไทยแลนด์) จำ�กัด
บริษัท เจียฟู่ พลาสติก (ไทยแลนด์) จำ�กัด
ทำ�เม็ดพลาสติกเกรดบี, ล้าง, บด หรือย่อยพลาสติก
ระยอง
21150
ระยอง
21120
ผลิตอาหารหรือเครื่องดื่มจาก ผัก พืช หรือผลไม้และบรรจุใน ภาชนะที่ผนึกและอากาศเข้าไม่ ได้ เช่น วุน้ มะพร้าว น้�ำ มะพร้าว พร้อมดื่ม
ราชบุรี
70160
081-8866515
นางสาวกษมาพร ภาช่างประดิษฐ์ คัดแยกวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็น ของเสียอันตราย
ราชบุรี
70000
08 5600 5410
ลพบุรี
15130
บริษัท กัลฟ์ เอ็นแอลแอล 2 จำ�กัด
บริษัท ดำ�เนิน ฟรุ๊ต จำ�กัด
บริษัท ไทย นาโน ทรัส จำ�กัด
บริษัท กัลฟ์ เอ็นแอลแอล 2 จำ�กัด ผลิตกระแสไฟฟ้าโดยใช้ก๊าซ ธรรมเป็นเชื้อเพลิง กำ�ลังการ ผลิต 137 เมกะวัตต์ ผลิตไอน้�ำ และ ผลิตน้�ำ เย็น บริษัท ดำ�เนิน ฟรุ๊ต จำ�กัด
บริษัท ไทย นาโน ทรัส จำ�กัด
95
Thailand Industrial Today
MAR– APR 2019
ผลิตผลิตภัณฑ์โลหะสำ�หรับใช้ หรือติดตั้งในการก่อสร้างหรือ การทำ�ส่วนประกอบสำ�หรับใช้ ในการก่อสร้าง
Factory Update
ชื่อโรงงาน บริษัท อินดัสเตียล อินสทรูเมนท์ จำ�กัด
บริษัท อินดัสเตียล อินสทรูเมนท์ จำ�กัด
พัฒนนิธิโภคิน
ว่าที่ ร้อยตรี ศิริวัฒน์ ตะบุตร
บริษัท ไอเคไอ เฟอร์เนส คอมโพเน้นท์ จำ�กัด
บริษัท ไอเคไอ เฟอร์เนส คอมโพเน้นท์ จำ�กัด
ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด สุขเสรี เอส ไอ ซี
MAR– APR 2019
ผู้ประกอบการ
ประกอบกิจการ
จังหวัด
ไปรษณีย์
ทำ�ลังไม้ หีบห่อไม้แปรรูป
ลพบุรี
15120
ปอกหัวพืชหรือทำ�หัวพืชให้เป็น เส้น แว่นหรือแท่ง บดเมล็ดพืช และเก็บรักษาลำ�เลียงพืชเมล็ด พืชทุกชนิด ในโกดัง
ลำ�ปาง
52000
0898501874
ทำ�ชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ ของผลิตภัณฑ์โลหะ
ลำ�ปาง
52130
0815689395
ลำ�พูน
51110
ลำ�พูน
51170
บรรจุข้าวสารอินทรีย์
ศรีสะเกษ
33160
ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด สุขเสรี เอส ไอ ซี ผลิตน้ำ�แข็งหลอด และน้ำ�แข็งซอง
สุขสวัสดิ์เฟอร์นิเจอร์
นายทักษิณ สุขสวัสดิ์
วิสาหกิจชุมชนศูนย์ข้าวชุมชน บ้านอุ่มแสง
วิสาหกิจชุมชน ศูนย์ข้าวชุมชน บ้านอุ่มแสง
วิวัฒน์ฟาร์ม
นายวีระพัด เหง้าโพธิ์
บด พืช เมล็ดพืช กากพืช เพื่อ ผสมเป็นอาหารสำ�เร็จรูปสำ�หรับ เลี้ยงสัตว์
ศรีสะเกษ
33110
บริษัท ธงชัยอุตสาหกรรม (2015) จำ�กัด
บริษัท ธงชัยอุตสาหกรรม (2015) จำ�กัด
ผลิต ประกอบ ตูแ้ ช่น�้ำ แข็ง ตูเ้ ย็น และเครื่องทำ�ความเย็น
ศรีสะเกษ
33120
โรงสีข้าวรุ่งเรืองพืชผล
นายเอกภพ พิสูตรสอน
โรงสีข้าว
สกลนคร
47180
เสริมศิริ
นางบุษบา บุพศิริ
ผลิตคอนกรีตผสมเสร็จและ ผลิตภัณฑ์คอนกรีต เช่น ท่อ เสา และแผ่นพื้นคอนกรีต
สกลนคร
47170
นายนวนจันทร์ มะหัตกุล
นายนวนจันทร์ มะหัตกุล
ผลิตเสาคอนกรีต ท่อคอนกรีต
สกลนคร
47210
0985923260
บริษัท 888 อิมปอร์ต เอ็กปอร์ต จำ�กัด
บริษัท 888 อิมปอร์ต เอ็กปอร์ต จำ�กัด
บริการสถานที่เก็บรักษาสินค้า แช่แข็งหรือแช่เย็น
สงขลา
90000
074336566
-
นายด้นล่าซิ หัดยี
ขุดตักดินทราย และคัดร่อน แยก กรวดทราย เพื่อใช้ในการ ก่อสร้าง
สงขลา
90130
089-9757724
บริษัท ทุ่งลุง อุตสาหกรรม จำ�กัด
บริษัท ทุ่งลุง อุตสาหกรรม จำ�กัด
ทำ�ผลิตภัณฑ์ยางจากยาง ธรรมชาติ ผลิตและประกอบ เครื่องนอนยางพารา
สงขลา
90230
บริษัท ยูไนเต็ด เพาเวอร์ ออฟ เอเซีย จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท ยูไนเต็ด เพาเวอร์ ออฟ เอเซีย จำ�กัด (มหาชน)
ผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงาน แสงอาทิ ต ย์ แ บบติ ด ตั้ ง บนพื้ น ดินขนาด 5 เมกะวัตต์
สงขลา
90270
บริษัท ทริค เลเซอร์ จำ�กัด
บริษัท ทริค เลเซอร์ จำ�กัด
ตัด พับ โลหะทั่วไป
สมุทรปราการ
10290
บริษัท ทิพย์โฮลดิ้ง จำ�กัด
บริษัท ทิพย์โฮลดิ้ง จำ�กัด
ผลิ ต เครื่ อ งดื่ ม รั ง นกสำ � เร็ จ รู ป และรังนกแห้ง
สมุทรปราการ
10540
02-1708888
บริษัท จี บิลเลียน จำ�กัด
บริษัท จี บิลเลียน จำ�กัด
ผลิตบรรจุภัณฑ์จ ากพลาสติก เช่น ขวด รวมถึงฝาปิดภาชนะ หรือจุก ฝา และที่ปิดอื่นๆ
สมุทรปราการ
10560
095-918-0508
บริษัท ปีเตอร์สัน 1990 จำ�กัด
บริษัท ปีเตอร์สัน 1990 จำ�กัด
ทำ�ประตูหน้าต่างอลูมิเนียม
สมุทรปราการ
10290
02-461-1982
บริษัท เจเนอรัล สปริง เซ็นเตอร์ จำ�กัด
บริษัท เจเนอรัล สปริง เซ็นเตอร์ จำ�กัด
ผลิตชิ้นส่วนสปริง
สมุทรปราการ
10540
02-1746286-91
บริษัท ซิก้า อินโนเวชั่น จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท ซิก้า อินโนเวชั่น จำ�กัด (มหาชน)
กลึง ตัด พับ เชือ่ ม เจียร ขึน้ รูป โลหะ เพือ่ ให้ในอุตสาหกรรมต่างๆ
สมุทรปราการ
10290
สมุทรปราการ
10540
บริษัท เค ไลน์คอนเทนเนอร์เซอร์วิส (ประเทศไทย) จำ�กัด
ผลิตและซ่อมแซมเครื่องเรือน
โทรศัพท์
บริษัท เค ไลน์คอนเทนเนอร์เซอร์วิส ห้องเย็นเพื่อเก็บรักษาสินค้า (ประเทศไทย) จำ�กัด
96
Thailand Industrial Today
0862298088
02-31272909-17
Factory Update
ชื่อโรงงาน
จังหวัด
ไปรษณีย์
โทรศัพท์
ซ่อมและพ่นสีรถยนต์
สมุทรปราการ
10270
02-232-2895
นายพิเชฐ รัตนประสิทธิ์
คัดแยกวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ ไม่เป็นของเสียอันตราย
สมุทรปราการ
10540
0 2759 6891
นางกัญญา ประยูรพัฒน์
นางกัญญา ประยูรพัฒน์
นำ�เศษผักและเศษผลไม้มาผ่าน กรรมวิธีการผลิต เพื่อผลิตสาร สกัด เช่น เศษมังคุด เศษแครอท เศษขิง เศษมะขาม เศษขมิ้น
สมุทรปราการ
10540
08 9500 2128
บริษัท อัมพรฟูดส์ (2016) จำ�กัด
บริษัท อัมพรฟูดส์ (2016) จำ�กัด
ทำ�อาหารและเครื่องดื่มจากผัก พืช หรือผลไม้ และบรรจุใน ภาชนะทีผ่ นึกและอากาศเข้าไม่ได้
สมุทรสงคราม
75000
082-3554135
บริษัท อีซูซุสงวนไทยมอเตอร์ เซลส์ จำ�กัด
บริษัท อีซูซุสงวนไทยมอเตอร์ เซลส์ จำ�กัด
ซ่อมรถยนต์
สมุทรสงคราม
75110
034-751111
บริษัท ไทย พินนะเคิ้ล เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด
บริษัท ไทย พินนะเคิ้ล เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด
ผลิต ประกอบ เครือ่ งสูบน้�ำ และ อุปกรณ์รักษาสิ่งแวดล้อม
สมุทรสาคร
74110
02-4095680
บริษัท พี เอ็น ที นิตติ้ง จำ�กัด
บริษัท พี เอ็น ที นิตติ้ง จำ�กัด
ทอผ้า
สมุทรสาคร
74110
ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด อุตสาหกรรม บางกอกไฟเบอร์กลาส
ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด อุตสาหกรรม บางกอกไฟเบอร์กลาส
ผลิตถังไฟเบอร์กลาส,เรือไฟ เบอร์กลาส และงานไฟเบอร์กลาส ทุกชนิด
สมุทรสาคร
74000
บริษัท พระราม 3 กรุ๊ป ฮอนด้า ออโตโมบิล จำ�กัด
บริษัท ฮุยเนง หงเชง อินดัสทรี จำ�กัด
ผู้ประกอบการ บริษัท พระราม 3 กรุ๊ป ฮอนด้า ออโตโมบิล จำ�กัด
ประกอบกิจการ
บริษัท ฮุยเนง หงเชง อินดัสทรี จำ�กัด แปรรูปกระดาษ เช่น กระดาษ สมุทรสาคร คราฟท์ ถุงกระดาษ และกล่อง กระดาษ
บริษัท จีเทค (ประเทศไทย) จำ�กัด
บริษัท จีเทค (ประเทศไทย) จำ�กัด
ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด เคลียร์อัพ
ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด เคลียร์อัพ
บริษัท เฮง ลี่ ไท้ ลาเท็กซ์ จำ�กัด
บริษัท เฮง ลี่ ไท้ ลาเท็กซ์ จำ�กัด
บริษัท วายเค ไทย จินู่อินพาร์ท จำ�กัด บริษทั วายเค ไทย จินอู่ นิ พาร์ท จำ�กัด
ผสมสารเคมีส�ำ หรับ อุตสาหกรรมชุบโลหะ
034-852299
74000
สมุทรสาคร
74000
ผลิต ผสม แบ่งบรรจุ ทินเนอร์ สมุทรสาคร โซลเว้นท์ สี และเคมีภัณฑ์ที่ใช้ ในโรงงานอุตสาหกรรม
74000
ผลิต หมอน เสื้อชั้นใน (ผลิตภัณฑ์จากยางพารา)
สมุทรสาคร
74110
ผลิตชิ้นส่วนอะไหล่ยางล้วน ยางติดเหล็ก บู๊ชยางต่างๆ ของรถยนต์
สมุทรสาคร
74000
034-410238
บริษัท ไทยเลิศอุตสาหกรรม จำ�กัด
บริษัท ไทยเลิศอุตสาหกรรม จำ�กัด ผลิตภัณฑ์งานพลาสติก เช่น ท่อน้ำ�หยด
สมุทรสาคร
74130
บริษัท เอ็ม.เอส.จี เมทัล ไวร์ จำ�กัด
บริษัท เอ็ม.เอส.จี เมทัล ไวร์ จำ�กัด ผลิตสายรัดพลาสติก,เครือ่ งมือ. ชิ้นส่วนที่ทำ�จากพลาสติก
สมุทรสาคร
74000
034-494181
ผลิตชิ้นส่วนประกอบเครื่องมือ สมุทรสาคร ทางการเกษตร ผลิตและประกอบ เครือ่ งมือทางการเกษตร เช่น เครือ่ ง ตัดหญ้า เครื่องพ่นยาฆ่าแมลง เป็นต้น
74000
034-852491
ผลิ ต ชิ้ น ส่ ว นพลาสติ ก สำ � หรั บ เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า และผลิ ต ภั ณ ฑ์ อิเล็กทรอนิกส์ทุกชนิด
สมุทรสาคร
74000
สมุทรสาคร
74110
บริษัท มิตซูยาม่า (ประเทศไทย) จำ�กัด
บริษัท มิตซูยาม่า (ประเทศไทย) จำ�กัด
บริษัท พรอมท์ ซินเซียร์ จำ�กัด
บริษัท พรอมท์ ซินเซียร์ จำ�กัด
บริษัท ฟอร์เวิร์ด แพคเกจจิ้ง จำ�กัด
บริษัท ฟอร์เวิร์ด แพคเกจจิ้ง จำ�กัด ผลิต ผลิตภัณฑ์พลาสติก เช่น ขวดน้ำ�ดื่ม
034-450583
97
Thailand Industrial Today
MAR– APR 2019
ที่มา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม
หากต้องการรับนิตยสารแจกฟรี กรุณาแนบรายละเอียดและส่งมาที่
E-mail : thailandindustrialtoday@gmail.com
ชื่อ-สกุล : ....................................................................................................................................................................................................... ตำ�แหน่ง : ........................................................................................................................................................................................................ ประเภทอุตสาหกรรม : ................................................................................................................................................................................... บริษัท : ........................................................................................................................................................................................................... ที่อยู่ : ............................................................................................................................................................................................................. โทรศัพท์ : ....................................................................................................................................................................................................... แฟกซ์ : ........................................................................................................................................................................................................... อีเมล : ............................................................................................................................................................................................................
98
Thailand Industrial Today
May 2014