รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๕๗ “บุคคลยอมมีสิทธิไดรับขอมูล คำชี้แจง และเหตุผล จากหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น กอนการอนุญาต หรือการดำเนินโครงการ...” มาตรา ๕๙ “บุคคลยอมมีสทิ ธิเสนอเรือ่ งราวรองทุกขและ ไดรบั แจงผลการพิจารณาภายในเวลาอันรวดเร็ว”
บอกกล า วเล า เรื่ อ ง ปจจุบันกระแสการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ที่ เ กิ ด ขึ้ น อย า งรวดเร็ ว ซึ่ ง เป น ป จ จั ย ที่ มี ผ ลต อ ประชาชนทั้ ง สิ้ น จากสถิ ติ การร อ งเรี ย นที่ ผ า นมา พบว า ประชาชนร อ งเรี ย นผ า นศู น ย บ ริ ก ารประชาชน สำนั ก งานปลั ด สำนั ก นายกรั ฐ มนตรี เพิ่ ม มากขึ้ น ซึ่ ง การร อ งเรี ย นเป นดั ช นี บงชี้ชีวิตความเปนอยูของประชาชนที่สำคัญประการหนึ่ง ศูนยบริการประชาชน สำนั ก งานปลั ด สำนั ก นายกรั ฐ มนตรี ในฐานะเป น ศู น ย รั บ เรื่ อ งราวร อ งทุ ก ข ของรัฐบาล จึงมีความมุงมั่นในการพัฒนาขีดสมรรถนะขององคกร โดยการนำ แนวทางการพั ฒ นาคุ ณ ภาพการบริ ห ารจั ด การภาครั ฐ เข า มาดำเนิ น การ เพื่ อ ให ส ามารถรองรั บ การดำเนิ น การแก ไ ขป ญ หาเรื่ อ งร อ งเรี ย นได อ ย า ง มีประสิทธิภาพ ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ไดดำเนินภารกิจ สำคัญภายใตโครงการศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาลและโครงการดำเนินการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน และจากการปฏิ บั ติ ง านที่ ผ า นมา ผลการดำเนิ น งานของศู น ย บ ริ ก ารประชาชนได รั บ การยอมรั บ ถึ ง ผลสำเร็ จ และเปนประโยชนอยางยิ่งตอประชาชน รายงานประจำป พ.ศ. ๒๕๕๒ ฉบั บ นี้ ได ร วบรวมสรุ ป ผลการดำเนิ นงานที่ ส ำคั ญ ในรอบป ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ที่ผานมาเพื่อใหสาธารณชนไดทราบถึงภารกิจและการดำเนินงานของศูนยบริการประชาชน สำนักงาน ปลั ด สำนั ก นายกรั ฐ มนตรี อั น เป นการส ง เสริ ม และเป ด โอกาสให ป ระชาชนเข า มามี ส ว นร ว มในการปฏิ บั ติ ร าชการ ของสวนราชการอยางเปนรูปธรรม
(นายอำนวย โชติสกุล) ผูอำนวยการศูนยบริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๒
สารบั ญ สวนที่ ๑ ขอมูลทั่วไป
๑. อำนาจหนาที่ วิสัยทัศน ๒. พันธกิจ โครงสรางสวนราชการ ๓. อัตรากำลัง ๔. ภาพบุคลากร (ผูบริหาร และเจาหนาที่)
สวนที่ ๒ ชองทางการใหบริการ
๑. แผนภาพแสดงชองทางการรองทุกข ๒. สถานที่ตั้งศูนยบริการประชาชน ๓. กระบวนการสรางคุณคาประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒
สวนที่ ๓ สรุปผลการดำเนินงานของศูนยบริการประชาชน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒
๑. ภารกิจโครงการศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล ๒. ภารกิจตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรับฟงความคิดเห็น ของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘ ๓. ภารกิจตามนโยบายที่ไดรับมอบหมาย
สวนที่ ๔ สถิติเรื่องรองทุกขของปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒
๑. แผนภูมิแสดงสถิติการใชบริการการรองทุกขของประชาชน จำแนกตามชองทางการรองทุกข ๑๑๑๑ (๔ ชองทาง) ๒. ตารางแสดงจำนวนเรื่องรองทุกข จำแนกตามประเภทเรื่อง โดยเรียงลำดับจากประเภทเรื่องหลักที่มีการรองทุกขมากที่สุด ๓. ตารางแสดงจำนวนเรื่องรองทุกขและผลการดำเนินการ จำแนกตามรายกระทรวงที่ไดรับการประสานงาน โดยเรียงลำดับจากกระทรวงทีไ่ ดรบั การประสาน เพือ่ รับทราบและพิจารณาดำเนินการ แกไขปญหาเรื่องราวรองทุกขใหแกประชาชนมากที่สุด ๔. ตารางแสดงจำนวนเรื่องรองทุกขและผลการดำเนินการของหนวยงาน ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี จำแนกตามหนวยงานที่ไดรับการประสานงาน โดยเรียงลำดับจากหนวยงานทีไ่ ดรบั การประสาน เพือ่ รับทราบและพิจารณาดำเนินการ แกไขปญหาเรื่องราวรองทุกขใหแกประชาชนมากที่สุด ๕. ตารางแสดงจำนวนเรื่องราวรองทุกขและผลการดำเนินการ จำแนกตามจังหวัดที่ไดรับการประสานงาน โดยเรียงตามลำดับเขตตรวจราชการ มติคณะรัฐมนตรีและนโยบายนายกรัฐมนตรีที่เกี่ยวของ • มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ ๒๕๕๒ • นโยบายนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๕๒ ประมวลภาพกิจกรรมในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒
๒ ๓ ๓ ๔ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๒๖ ๕๑ ๖๙ ๗๘ ๗๙ ๘๑
๘๔
๘๖ ๙๐ ๙๒
สวนที่ ๑ ขอมูลทั�วไป
๑ ๒
พันธกิจ โครงสรางสวนราชการ
๓ ๔
อำนาจหนาที่ วิสัยทัศน
อัตรากำลัง
ภาพบุคลากร (ผูบริหาร และเจาหนาที่)
สวนที่ ๑ - ขอมูลทั่วไป
ศูนยบริการประชาชนเปนสวนราชการระดับสำนัก เดิมสังกัดสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ภายหลังจากการปรับปรุงโครงสรางระบบราชการ ไดโอนกิจการบริหาร และอำนาจหนาที่มาสังกัด สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ตามพระราชกฤษฎีกา โอนกิจการบริหารและอำนาจหนาที่ ของสวนราชการตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ ลงวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๔๕ ศู น ย บ ริ ก ารประชาชนได ใ ห ค วามสำคั ญ กั บ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพการบริ ห ารจั ด การ ภาครัฐ โดยปรับโครงสราง กระบวนการและเทคโนโลยี ใหมีความเหมาะสม สอดคลองกับ หลั ก เกณฑ แ ละวิ ธี ก ารบริ ห ารกิ จ การบ า นเมื อ งที่ ดี เพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพการให บ ริ ก าร ให ส นองตอบความต อ งการของประชาชนผู รั บ บริ ก ารและผู มี ส ว นได ส ว นเสี ย แต ล ะกลุ ม ไดอยางเหมาะสมกับสถานการณปจจุบัน
อำนาจหนาที่
ศูนยบริการประชาชนมีอำนาจหนาที่ตามกฎหมาย ดังนี้ ๑. ดำเนินการเกีย่ วกับการรองทุกข รองเรียนขอความเปนธรรม และการขอความชวยเหลือ ที่มีผูยื่นคำรองตอนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รวมทั้งปญหาความเดือดรอนของประชาชน ๒. ใหคำแนะนำเกี่ยวกับกฎหมายและการดำเนินคดีแกประชาชนที่มาขอความชวยเหลือ และขอคำแนะนำจากนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ๓. ประสานงานเพื่อแกไขปญหาและอำนวยความสะดวกแกมวลชนที่มาพบหรือชุมนุม รองเรียนตอนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ๔. ตรวจสอบเรื่องรองเรียนในพื้นที่เพื่อแกไขปญหาสำคัญที่เปนกรณีเรงดวน ๕. ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของหรือ ที่ไดรับมอบหมาย
วิสัยทัศน เปนองคกรกลางในการรับเรื่องราวรองทุกขของ รัฐบาล และเปนศูนยกลางแกไขปญหาความเดือดรอน ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล เพื่ อ ประโยชน สุ ข และตอบสนองการมี ส ว นร ว มของ ประชาชนในการบริหารงานภาครัฐ
๒
พันธกิจ
๑. พัฒนาชองทางการรองทุกขในทุกชองทางใหเปนศูนยรบั เรือ่ งราวรองทุกขของรัฐบาล ๒. พัฒนาระบบเครือขายใหเปนศูนยประสานเรงรัดติดตามและประเมินผลการแกไข ปญหาความเดือดรอนของประชาชน ๓. เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลการแกไขปญหาความเดือดรอน โดยยึดประชาชน เปนศูนยกลาง ๔. พัฒนากระบวนการแกไขปญหาความเดือดรอนของประชาชนอยางเปนระบบ
โครงสรางสวนราชการ
ศู น ย บ ริ ก ารประชาชนเป น หนวยงานในสังกัดสำนักงานปลัด สำนั ก นายกรั ฐ มนตรี มี ก ารแบ ง โครงสร า งอย า งเป น ทางการเป น ๓ สวน และ ๑ ฝาย ดังนี้
LU;S$*T;=GS6LU;S$;TD$ES2C;7Eÿ J[;D <Eþ$TE=ER-T-;
L I;<Eþ$TE=ER-T-; p ¥L<-« p«¦
L I;<Eþ$TE=ER-T-; q ¥L<- q«¦
L I;=ERLT;CIG-; `GR=ER_CV;>G ¥L==«¦
? TD<EþMTE*T;9SĥIc= ¥?<9«¦
อัตรากำลัง ศู น ย บ ริ ก ารประชาชน มี อั ต รากำลั ง ทั้ ง สิ้ น ๑๑๓ อั ต รา ประกอบด ว ย ข า ราชการ ๕๑ อัตรา พนักงานราชการ ๓๑ อัตรา และลูกจางโครงการ ๓๑ อัตรา ตำแหนง จำนวน รอยละ นักวิเคราะหนโยบายและแผน ๓๐ ๒๖.๕๕ นิติกร ๒๘ ๒๔.๗๘ เจาพนักงานธุรการ ๑๐ ๘.๘๕ นักจัดการงานทั่วไป ๑ ๐.๘๘ นักวิชาการคอมพิวเตอร ๑ ๐.๘๘ เจาหนาที่ธุรการ ๓ ๒.๖๕ พนักงานบันทึกขอมูล ๗ ๖.๑๙ เจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและแผน ๓๑ ๒๗.๔๓ เจาหนาที่ระบบขอมูลเทคโนโลยีสารสนเทศ ๒ ๑.๗๙ รวม ๑๑๓ ๑๐๐.๐๐
๓
สวนที่ ๑ - ขอมูลทั่วไป
ผูบริหาร
๔
๒
๑
๓
๑. นายอำนวย โชติสกุล ผูอำนวยการศูนยบริการประชาชน
๒. นางอัจจิมา จันทรสุวานิชย ผูอำนวยการสวนประสานมวลชน และประเมินผล
๓. นายทศพร สุวรรณาภิรมย ผูอำนวยการสวนบริการประชาชน ๒
๔. นายสมเจตน โรจนพัฒนากุล ผูอำนวยการสวนบริการประชาชน ๑
๔
นางสาวลักขณา ศรีผุดผอง
(หมู)
นายฆองชัย เกียรติกติ ติสรณ
(ฆอง)
นายสุขสวัสดิ์ สุวรรณวงศ
(หยิก)
รอยเอกทวิช ศุภวรรณ
(วิช)
นายสมพงษ ไวถนอมสัตว
(บัง)
นางมาลินี ภาวิไล
(ออ)
นางศิริพร อุดมโชคชัย
(ติ๋ว)
นายวิสุทธิ์ ฉัตรานุฉัตร
(โย)
นายพันศักดิ์ เจริญ
(อาง)
นายอิทธิพล ชางกลึงดี
(อิท)
นางสาวสายชล กำเนิดบง
(แขก)
นางสาวฐิติรัตน สุวรรณราช
(รัตน)
นางศรีสำอาง หวังดี
(แขก)
นายศราวุฒิ ถนอมรอด
(วุธ)
นางสาวสมใจ บุญทวีกุล
(เง็ก)
นางจุฑามาศ ศิริชัยสุทธิกร
(บุม)
นางอัจฉรา แสงภัทรเนตร
(ออย)
นางสาวเพ็ญจันทร เมนะเนตร
(เพ็ญ)
นายทองสุข ภานุรังกุล
(หิน)
นางสาวทิพสุคนธ นีระพจน
(จิ๋ม)
นางกุลธิดา มาแจง
(เอ)
นางสาวผลทิพณ สรางสวน
(ทิพณ)
๕
สวนที่ ๑ - ขอมูลทั่วไป
นายคณิสร เมืองเนาว
(กบ)
นางสาวอัญชนา สาเรือง
(ออย)
นายกิตติพงษ เดชาภิวุฒิ
(ทอป)
นางวรานันท นิวาศานนท ชูปาน
(แอน)
นายยศสันธ เรืองสรรงามศิริ
(โอต)
นายอุกฤษฏ ภักดีวานิช
(ชาย)
นางสาววรรณรักษ ภูรักษ
(แมว)
นายขจรศักดิ์ นาคชัง
(ขจร)
นายวิวัฒน วิธีเจริญ
(หนุม)
นายรังสรรค ตั้งใจงาม
(ใหม)
นางวิมลรัตน ศรีเพ็ญ
(จุก)
๖
นายกฤต สิงหเหลือง
(เตย)
นายปตพิ งศ เลิศพิสทุ ธิโ์ สภณ
(หลิน)
นายสาธิต สุทธิเสริม
(หนึ่ง)
นางสาวมีนา เหลาหะเกียรติ
(มีนา)
นางสาวสุวีรยา ทองพิทักษ
(ออย)
นางสาวนอมจิตร ทิพยมณี
(ตุม)
นางสาวศิรนิ ทร อินทโสตถิ
(ตุก)
นายสมเจตน ทับมา
(เจส)
นายธวัชชัย เชาวลิต
(มิม)
นางสาวรวีวรรณ บุญศิรธิ รรมชัย
(ปุก)
นายสุภิญญา ตาดี
(พิน)
นางสาวนฎาพรรณ ภิโสรมย
(เดีย)
นายสารีหัน อิหม่ำเหม
(สา)
นางสาวนงนุช สายัณห
(มอน)
นางสาววราภรณ หินออน
(เหมียว)
นางสาววิไลกุล นิยมพงษ
(กระจิบ)
นางสุภาภรณ กลิ่นขจร
(เจี๊ยบ)
นายสมชาย พันธุสกุล
(ตี๋)
นายธนศักดิ์ ผิวดำ
(เหลิม)
นางสาวอรชิสา นิพากรเมธ
(อู)
นางสาวสมลวรรณ หมายถิน่ กลาง
(ไหม)
นางชนาวลัย นิยมผล
(เอะ)
นายขจร ปอมคำ
(โอ)
นางสาวรสริน กองเกิดสุข
(รส)
นายนิคม ขำเถื่อน
(อน)
นายนิติธร ชุปาน
(แจ็ค)
นางสาวอรนุช ปลืม้ โตะสะอาด
(จี๊ด)
นายรตนพล เมฆบริสุทธิ์
(เบิรด)
นางสาวรชฎ วริทรัญชิดา
(นก)
นางสาวอรัญญา วันเตะ
(หญิง)
นางสาวพรรณี พูลบางยุง
(ปุย)
นางสาวเกษร ผึ่งผาย
(ติ๊ก)
นายธีระวัฒน ทองพีรพันธุ
(อุย)
๗
สวนที่ ๑ - ขอมูลทั่วไป
นางประนอม กลิ่นหอม
(โพ)
นางสาวจิตติมา แรงเพียร
(ดาว)
นายพงษศักดิ์ พวงทรัพย
(ปก)
นางสาวรัตนาภรณ หรือมอญ
(แกว)
วาที่ รต.หญิงดวงนภา อัฐนาค
(ปุก)
นางสาวกฤษฎาพร ทองรักษ
(นก)
นางสาวพรพรรณ เบญจภัทรากุล
(เล็ก)
นายณัฐพงษ สินพิทักษ
(วิรัช)
นางสาวทุติยาภรณ เจริญผล
(บี)
นายธนา สรรพอุดม
(นา)
นายรังสรรค สดสายทอง
(แปะ)
๘
นายเฉลิมรัฐ แจงชัด
(ตน)
นางสาวสุทัตตา สุทัศนกุล
(แน็ต)
นางสาวมนัสชนก นัดดาพรหม
(นก)
นางสาวลมุล วรไวย
(มล)
นางสาวกรกนก เล็กเจริญ
(กก)
นายมานพ หรั่งสีสุทธิ์
(วิช)
นางสาวมนัฐดา หนชัย
(นัฐ)
นางสาวนุชรี มุงหมาย
(แปง)
นางสาวรัตติยา สุทธิสติพล
(เอ)
นางสาววิรดา อินทปญญ
(ตาล)
นางสาวจรรยามาลย ภูลมัย
(เปล)
นายวิรัช คำใส
(วิรัช)
นางสาวอักครนุช จำนงคจนี ารักส
(กุกไก)
นางสาวศุภลักษณ ทองเดช
(ปท)
นายพิชิต บุญจารุพัฒน
(เอก)
นางสาวกรรณิกา รัตนะ
(กัน)
นายมาโนชย จันมา
(หนุม)
นางสาวปยะวรรณ ประประโคน
(ปก)
นางสาวนงคเยาว จวบศรี
(เยาว)
นางสาวสุพัตรา พลการ
(กุง)
นางสาวธัญลักษณ กิจบุญชู
(ตุกตา)
นายเทอดศักดิ์ บัวทอง
(โจ)
นายวัชเรนทร คำเครื่อง
(บอย)
นางสาววราภรณ เกษคำ
(บุม)
นางสาวยุวดี แกวรัฐ
(เปล)
นางสาวชนันธร หมื่นสา
(เก)
นางสาวนันทนภัส จาดสดี
(ดา)
๙
สวนที่ ๒ ชองทางการใหบร�การ
๑
แผนภาพแสดงชองทางการรองทุกข
๒ ๓
สถานที่ตั้งศูนยบริการประชาชน
กระบวนการสรางคุณคาประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒
สวนที่ ๒ - ชองทางการใหบริการ ๑๒
แผนภาพแสดงชองทางการรองทุกข
สถานที่ตั้งศูนยบริการประชาชน สถานที่ตั้งบริเวณทำเนียบรัฐบาล
LR@T;CS)IT;ES*LEE'
สถานที่ตั้งศูนยบริการประชาชน ภายในทำเนียบรัฐบาล 8;;ET-6U_;V;
+Z6<Eþ$TE=ER-T-;
7X$ L=;« J<-« ¥-SĦ;q¦
=ER7[ LG'«
LR@T;OE9SD
$O*9S@BT'9Wg p
=ER7[ L=;«
8;;@ĊK5ZaG$
8;;G[$MGI*
=ER7[ +=E«
7X$c9D'[ A T =ER7[_% T
===«
$@« =ER7[OO$
8;;;'E=2C
LR@T;-CSDCEZ_-K2
'GO*_=EC=ER-T
๑๓
สวนที่ ๒ - ชองทางการใหบริการ ๑๔
กระบวนการสรางคุณคา ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ในป ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ศู น ย บ ริ ก ารประชาชนได วิ เคราะห ก ระบวนการ ในภาพรวมทั้งหมดตามเกณฑ ก ารพั ฒ นาคุ ณ ภาพการบริ ห ารจั ด การภาครั ฐ (PMQA) หมวด ๖ การจัดการกระบวนการ และไดกระบวนการสรางคุณคาทั้งสิ้น ๘ กระบวนการ ประกอบดวย
15
p IS;9U$TE
G*9R_<WD;_EāgO*`GR $TECO<MCTD*T;
p IS;9U$TE
t
%SĦ;7O;9Wg
7EI+LO<% OC[G % O_9f++Eþ*_$WgDI$S< _EāgO*E O*_EÿD;
p IS;9U$TE
+;9«ES<*T; _EāgO*E O*_EÿD; O T; ¬ <S;9X$_EāgO*E O*_EÿD; `GR_GYO$ETD$TE b;ER<<Q
ª L *_EāgO*bM L I; ¬ ? TD ¬ _+ TM; T9Wg 9WgES<>V6-O< ª $E5W9WgcC LTCTE8 @Ċ+TE5TCO<MCTD *T;c6 +R_L;O >O«J<-« @Ċ+TE5T CO<MCTD
`>;>S*`L6*%SĦ;7O;`GRERDR_IGT$TE`$ c%= MTbM $S<=ER-T-;9WgL *_EāgO*E O*_EÿD;9T*c=EK5WD $E5W=$7V LEZ= w %SĦ;7O; p +Z6<Eþ$TE EICERDR_IGT=ERCT5 w ª x IS;9U$TE ¬ _EāgO*
>[E O *L *_EāOg *E O*_EÿD; 9W_g = ;M;S*LYOES<+T$ 7[ =5« pppp _EÿD; ;EC« EO* ;EC« EC7«;E« OY;g e
s
r
q
'S6`D$_EāgO* ª O T;_EāgO* ª ' ;MT_EāgO*_6VC b;ER<<Q ª 'S6`D$_EāgO*7TC =ER_B9%O*_EāgO* `GR'ITC.S<. O;
p
%SĦ;7O;9Wg
%SĦ;7O;9Wg
%SĦ;7O;9Wg
%SĦ;7O;9Wg
p« $ER<I;$TE · $TE6U_;V;$TE`$ c%= MTbM $S<=ER-T-;9WgL *_EāgO*E O*_EÿD;9T*c=EK5WD $E5W=$7V ERDR_IGT6U_;V;$TE w ª x IS;9U$TE
7 O
16 t IS;9U$TE
>[ <S*'S<<S -T @Ċ+TE5TG*;TC
>[ <S*'S<<S -T @Ċ+TE5TG*;TC p IS;9U$TE
L *M; ID*T;9Wg_$WgDI% O*@Ċ+TE5T9T* a9EJS@9 ¬ a9ELTE ¬ Ôèå Íòõ÷äï ¬ èªðäìï `GR<S;9X$$TE6U_;V;$TEb;ER<<Q
v
%SĦ;7O;9Wg
u IS;9U$TE
L *M; ID*T;9Wg_$WgDI% O* @Ċ+TE5T
`+ *bM >[ E O*9ET< $TE6U_;V;$TE_<YhO*7 ;
`+ *bM >[ E O*9ET< $TE6U_;V;$TE_<YhO*7 ;
w
%SĦ;7O;9Wg
`>;>S*`L6*%SĦ;7O;`GRERDR_IGT$TE`$ c%= MTbM $S<=ER-T-;9WgL *_EāgO*E O*_EÿD;9T*c=EK5WD $E5W=$7V LEZ= w %SĦ;7O; p +Z6<Eþ$TE EICERDR_IGT=ERCT5 w ª x IS;9U$TE ¬ _EāgO*
s IS;9U$TE
ª @Ċ+TE5T_EāgO*E O*_EÿD; ª 9UM;S*LYOL *_EāOg *bM M; ID*T;9W_g $WDg I% O* ª 9UM;S*LYO7O<>[ E O* ª _L;O>[ <S*'S<<S -TG*;TC
ª @Ċ+TE5T_EāgO*E O*_EÿD; ª 9UM;S*LYO7O<>[ E O* ª _L;O>[ <S*'S<<S -TG*;TC
u
%SĦ;7O;9Wg
p« $ER<I;$TE · $TE6U_;V;$TE`$ c%= MTbM $S<=ER-T-;9WgL *_EāgO*E O*_EÿD;9T*c=EK5WD $E5W=$7V ERDR_IGT6U_;V;$TE w ª x IS;9U$TE ¥7 O¦
ส่วนที่ ๒ - ช่องทางการให้บริการ
17
p IS;9U$TE
p IS;9U$TE
p IS;9U$TE
`+ *bM =ER-T-;9WgE O*_EÿD;9ET< $TE6U_;V;$TE_<YhO*7 ;`GR <S;9X$$TE6U_;V;$TEb;ER<<Q
L *M; ID*T;9Wg_$WgDI% O*@Ċ+TE5T> T;MEāO ES<9ET<`G I`7 $E5W > T;9T*a9EJS@9 ¬ a9ELTE ¬ Ôèå Íòõ÷äï ¬ èªðäìï `GR<S;9X$$TE6U_;V;$TEb;ER<<Q
r
%SĦ;7O;9Wg
L **T;bM MSIM; T7EI+
`>;>S*`L6*%SĦ;7O;`GRERDR_IGT$TE6U_;V;$TE`$ c%= MTbM $S<=ER-T-;9WgL *_EāgO*E O*_EÿD;9T*c=EK5WD OV_Gf$9EO;V$L $E5W=$7V ¥cC b- _IGTb;$TE7EI+LO<% O_9f++Eþ*CT$`GRcC .S<. O;¦ LEZ= r %SĦ;7O; p +Z6<Eþ$TE EICERDR_IGT=ERCT5 r«ox IS;9U$TE ¬ _EāgO*
>[ E O*L *_EāgO*E O*_EÿD; 9T*ER<<OV_Gf$9EO;V$L > T;_Iğ<c.7 ¬ èªðäìï
7EI+LO<% OC[G % O_9f++Eþ*_$WgDI$S< _EāgO*E O*_EÿD; @Ċ+TE5T_EāgO*`GR M; ID*T;9Wg_$WgDI% O*
q
_% TL[ ER<<Q _@čĎOES<*T; O T; ¬ <S;9X$% OC[G _EāgO*E O*_EÿD;`GR _GYO$ETD$TEb;ER<<Q
p
%SĦ;7O;9Wg
%SĦ;7O;9Wg
q« $ER<I;*T; · $TE6U_;V;$TE`$ c%= MTbM $S<=ER-T-;9WgL *_EāgO*E O*_EÿD;9T*OV_Gf$9EO;V$L $E5W=$7V ¥cC b- _IGTb;$TE7EI+LO<% O_9f++Eþ*CT$`GRcC .S<. O;¦ ERDR_IGT6U_;V;$TE r«ox IS;9U$TE
18 o«tr IS;9U$TE
`+ *bM =ER-T-;9ET< $TE6U_;V;$TE _<YhO*7 ;
_+ TM; T9WgES<LTD LO<8TCETDGR_OWD6 `GR<S;9X$% OC[G b;ER<<Q
ª 7EI+LO<% OC[G % O_9f++Eþ* ª @Ċ+TE5T`;I9T* $TE`$ = MT ª @Ċ+TE5TM; ID*T; 9Wg_$WgDI% O*
=ERLT;M; ID*T; 9Wg_$WgDI% O*@Ċ+TE5T - ID_MGYO9T* a9EJS@9 ¬ a9ELTE ¬ Ôèå Íòõ÷äï ¬ e-mail `GR<S;9X$ $TE6U_;V;$TE b;ER<<Q
s
r
q
L **T;bM MSIM; T7EI+
`>;>S*`L6*%SĦ;7O;`GRERDR_IGT$TE6U_;V;$TE`$ c%= MTbM $S<=ER-T-;9WgE O*_EÿD;9T*a9EJS@9 LTD6 I;9U_;WD<ES2<TG prvu $E5W=$7V ¥cC b- _IGTb;$TE7EI+LO<% O_9f++Eþ*CT$`GRcC .S<. O;¦ LEZ= s %SĦ;7O; p +Z6<Eþ$TE EICERDR_IGT=ERCT5 o«tr IS;9U$TE ¬ _EāgO*
>[E O *E O*_EÿD;> T;LTD6 I; 9U_;WD<ES2<TG prvu
p
%SĦ;7O;9Wg
%SĦ;7O;9Wg
%SĦ;7O;9Wg
%SĦ;7O;9Wg
r« $ER<I;$TE · $TE6U_;V;$TE`$ c%= MTbM $S<=ER-T-;9WgL *_EāgO*E O*_EÿD;9T*a9EJS@9 LTD6 I;9U_;WD<ES2<TG prvu $E5W=$7V ¥cC b- _IGTb;$TE7EI+LO<% O_9f++Eþ*CT$`GRcC .S<. O;¦ ERDR_IGT6U_;V;$TE o«tr IS;9U$TE
ส่วนที่ ๒ - ช่องทางการให้บริการ
19
q -SĥIaC*
`+ *bM =ER-T-;9ET< $TE6U_;V;$TE _<YhO*7 ;
_+ TM; T9WgES<LTD LO<8TCETDGR_OWD6 `GR<S;9X$% OC[G b;ER<<Q
ª 7EI+LO<% OC[G % O_9f++Eþ* ª @Ċ+TE5T`;I9T* $TE`$ = MT ª @Ċ+TE5TM; ID*T; 9Wg_$WgDI% O*
=ERLT;M; ID*T; 9Wg_$WgDI% O*@Ċ+TE5T MEāOES<9ET< `G I`7 $E5W9T* a9EJS@9 ¬ a9ELTE ¬ Ôèå Íòõ÷äï ¬ e-mail `GR<S;9X$ $TE6U_;V;$TE b;ER<<Q
s
r
q
L **T;bM MSIM; T7EI+
`>;>S*`L6*%SĦ;7O;`GRERDR_IGT$TE6U_;V;$TE`$ c%= MTbM $S<=ER-T-;9WgE O*_EÿD;9T*LTD6 I;%O*ES2<TG pppp $E5W=$7V ¥cC b- _IGTb;$TE7EI+LO<% O_9f++Eþ*CT$`GRcC .S<. O;¦ LEZ= r %SĦ;7O; p +Z6<Eþ$TE EICERDR_IGT=ERCT5 q -SĥIaC* ¬ _EāgO*
=ER-T-;E O*_EÿD; > T;LTD6 I;%O*ES2<TG pppp
p
%SĦ;7O;9Wg
%SĦ;7O;9Wg
%SĦ;7O;9Wg
%SĦ;7O;9Wg
s« $ER<I;*T; · $TE6U_;V;$TE`$ c%= MTbM $S<=ER-T-;9WgE O*_EÿD;9T*LTD6 I;%O*ES2<TG pppp $E5W=$7V ¥cC b- _IGTb;$TE7EI+LO<% O_9f++Eþ*CT$`GRcC .S<. O;¦ ERDR_IGT6U_;V;$TE q -SĥIaC*
20 7EI+LO<% OC[G % O_9f++Eþ*_$WgDI$S< _EāgO*E O*_EÿD; @Ċ+TE5T_EāgO*`GR M; ID*T;9Wg_$WgDI% O*
_% TL[ ER<<Q _@čĎO<S;9X$% OC[G _EāgO*E O*_EÿD;`GR _GYO$ETD$TE b;ER<<Q
p -SĥIaC*
p -SĥIaC*
r
_+ TM; T9WgbM $TE7 O;ES< ¬ ES<`GRO T;'UE O*
q
p IS;9U$TE
`+ *bM >[ E O*9ET<$TE6U_;V;$TE_<YhO*7 ; `GR<S;9X$$TE6U_;V;$TEb;ER<<Q
=ERLT;L *M; ID*T;9Wg_$WgDI% O*@Ċ+TE5T MEāOES<9ET<`G I`7 $E5W9T*a9EJS@9 ¬ a9ELTE ¬ Ôèå Íòõ÷äï ¬ èªðäìï `GR<S;9X$$TE6U_;V;$TEb;ER<<Q
s
%SĦ;7O;9Wg
L **T;bM MSIM; T7EI+
`>;>S*`L6*%S;Ħ 7O;`GRERDR_IGT$TE6U_;V;$TE`$ c%= MTbM $<S =ER-T-;9W_g 6V;9T*CTE O*_EÿD;9W+g 6Z <Eþ$TE=ER-T-; pppp 9U_;WD<ES2<TG $E5W=$7V ¥cC b- _IGTb;$TE7EI+LO<% O_9f++Eþ*CT$`GRcC .<S . O;¦ `GR=ERLT;L *M; ID*T;9T*a9EJS@9 ¬ a9ELTE ¬Ôèå Íòõ÷äï ¬ èªðäìï LEZ= s %S;Ħ 7O; p +Z6<Eþ$TE EICERDR_IGT=ERCT5 p«rw IS;9U$TE ¬ _EāOg *
>[ E O*_6V;9T*CT E O*_EÿD;9Wg+Z6<Eþ$TE =ER-T-; pppp 9U_;WD<ES2<TG
p
%SĦ;7O;9Wg
%SĦ;7O;9Wg
%SĦ;7O;9Wg
t« $ER<I;*T; · $TE6U_;V;$TE`$ c%= MTbM $S<=ER-T-;9Wg_6V;9T*CTE O*_EÿD;9Wg+Z6<Eþ$TE=ER-T-; pppp 9U_;WD<ES2<TG $E5W=$7V ¥cC b- _IGTb;$TE7EI+LO<% O_9f++Eþ*CT$`GRcC .S<. O;¦ `GR=ERLT;L *M; ID*T;9T*a9EJS@9 ¬ a9ELTE ¬Ôèå Íòõ÷äï ¬ èªðäìï ERDR_IGT6U_;V;$TE p«rw IS;9U$TE
ส่วนที่ ๒ - ช่องทางการให้บริการ
21
$E5WCW'ITC=ERL*' +RDYg;M;S*LYO MEāO_+E+T$S<? TD$TE_CYO* _+ TM; T9Wg+R=ERLT;? TD$TE_CYO* bM 9ET<% O_9f++Eþ*_= ;_<YhO*7 ;
_+ TM; T9Wg6U_;V;$TE_+E+T$S<$GZ C MEāO`$;;U `GR ¬ MEāO+S6bM CW$TE_+E+T ERMI T*M; ID*T;9Wg_$WgDI% O*$S< 7SI`9;$GZ CMEāO`$;;U
s
%SĦ;7O;9Wg
t
;U_EāgO*E O*_EÿD;_% TL[ ER<< $TE+S6$TE_EāgO*ETIE O*9Z$% `GR ETD*T;$TE6U_;V;$TEbM >[ <EþMTE9ET<
%SĦ;7O;9Wg
`>;>S*`L6*%S;Ħ 7O;`GRERDR_IGT$TE6U_;V;$TE`$ c%= MTbM $<S $GZC CIG-;9WCg T-ZC;ZCE O*_EÿD;9W9g U_;WD<ES2<TG ERDR_IGT$TE6U_;V;$TE%Ā;h OD[$ <S $GZC LEZ= t %S;Ħ 7O; p +Z6<Eþ$TE
=ERLT;*T;$TE% TI $S<LTD% TI
r
7EI+LO<% O_9f++Eþ* +T$M; ID*T; 9Wg_$WgDI% O* @E OC9SĦ*OU;ID$TE $TE`$ c%= MT
q
=ERLT;*T;$S< `$;;U$GZ C _@čĎOES<9ET< % OC[G= MT % OE O*_EÿD;
p
%SĦ;7O;9Wg
%SĦ;7O;9Wg
%SĦ;7O;9Wg
u« $ER<I;*T; · $TE6U_;V;$TE`$ c%= MTbM $S<$GZ CCIG-;9WgCT-ZC;ZCE O*_EÿD;9Wg9U_;WD<ES2<TG ERDR_IGT$TE6U_;V;$TE%Āh;OD[ $S<$GZ CCIG-;
22 7EI+LO<% OC[G % O_9f++Eþ*_$WgDI$S< _EāgO*E O*_EÿD;
p IS;9U$TE
p IS;9U$TE
ª 9UM;S*LYO_L;O >[ <S*'S<<S -T @Ċ+TE5TLSĥ*$TE ª 9UM;S*LYO =ERLT;M; ID*T; `GR`+ *>[ E O* ª _L;O>[< *S 'S<<S -T G*;TC
ª Iþ_'ETRM _EāgO*E O*_EÿD; ª JX$KT$0MCTD¬ C7V'EC«9W_g $WDg I% O* ª LEZ==ER_6f;_EāgO*¬ `;I9T*¬;aD<TD ª =ERLT;M; ID*T; ¬ >[ E O*9Wg_$WgDI% O* ª =ERLT;>[ E O* ¬ %O% OC[G_@ĊĎC_7VC
v IS;9U$TE
s
r
qo IS;9U$TE
%SĦ;7O;9Wg
%SĦ;7O;9Wg
r IS;9U$TE
>[ <S*'S<<S -T @Ċ+TE5TLSĥ*$TE G*;TC
t
%SĦ;7O;9Wg
v IS;9U$TE
_7EÿDC$TEG*@čď;9Wg `GR$TE+S6=ER-ZC E IC$S<M; ID*T; 7 O 9Wg_$WgDI% O* 9SĦ*+T$L I;$GT* `GR+S*MIS6
u
%SĦ;7O;9Wg
`>;>S*`L6*%SĦ;7O;`GRERDR_IGT$TE6U_;V;$TE`$ c%= MTbM $S<=ER-T-;$E5W_EāgO*E O*_EÿD;9Wg7 O*7EI+LO<% O_9f++Eþ*b;@čď;9Wg cC LTCTE8$UM;6CT7E2T;ERDR_IGT$TE6U_;V;$TEc6 LEZ= pq %SĦ;7O; p +Z6<Eþ$TE =ERCT5$TEERDR_IGT6U_;V;$TE vo IS;9U$TE ¬ _EāgO*
_EāgO*E O*_EÿD; 9Wg7 O*7EI+LO< % O_9f++Eþ*b;@čď;9Wg
q
$TEES<*T; _EāgO*E O*_EÿD; O T; ¬ <S;9X$ _EāgO*E O*_EÿD; b;ER<<Q
p
%SĦ;7O;9Wg
%SĦ;7O;9Wg
v« $ER<I;*T; · $TE6U_;V;$TE`$ c%= MTbM $S<=ER-T-;$E5W_EāgO*E O*_EÿD;9Wg7 O*7EI+LO<% O_9f++Eþ*b;@čď;9Wg cC LTCTE8$UM;6CT7E2T;ERDR_IGT$TE6U_;V;$TEc6
ส่วนที่ ๒ - ช่องทางการให้บริการ
аєТаєУ
LEZ=>G$TE7EI+LO< % O_9f++E√Њ*`GR $TE=ER-ZC @E OC9Sƒ¶* _L;O<9I√Њ_'ETRM `GR `;I9T*$TE6U_;V;$TE _@ƒНƒОO`$ c%= ¬ЙMT _@ƒНƒОO=ER$O< $TE@ƒК+TE5TI√Њ;V+,SD LSƒ•*$TE%O* >[ <S*'S<<S¬Й-T
v IS;9U$TE
t IS;9U$TE
po IS;9U$TE
>[ <E√ЊMTEER6S<L[* I√Њ;V+,SDLSƒ•*$TE
po
x
t IS;9U$TE
+S69UM;S*LYO _L;O>[ <S*'S<<S¬Й-T `+ *<S¬Й-T ;EC¬ЂbM M; ID*T;9W_g $WDg I% O* 6U_;V;$TE `GR`+ *>[ E O*9ET< $TE6U_;V;$TE
%SĦ;7O;9Wg
%SĦ;7O;9Wg
r IS;9U$TE
>[ <S*'S<<S¬Й-T @ƒК+TE5TG*;TC
pp
%SĦ;7O;9Wg
p IS;9U$TE
`+ *>[ E O*9ET< $TE6U_;V;$TE
L *M; ID*T; 9Wg_$WgDI% O* 6U_;V;$TE
pq
%SĦ;7O;9Wg
`>;>S*`L6*%Sƒ¶;7O;`GRERDR_IGT$TE6U_;V;$TE`$ c%= ¬ЙMTbM $S<=ER-T-;$E5W_EƒБgO*E O*_E√њD;9Wg7 O*7EI+LO<% O_9f++E√Њ*b;@ƒНƒП;9Wg cC LTCTE8$UM;6CT7E2T;ERDR_IGT$TE6U_;V;$TEc6 LEZ= pq %Sƒ¶;7O; p +Z6<E√Њ$TE =ERCT5$TEERDR_IGT6U_;V;$TE vo IS;9U$TE ¬ђ _EƒБgO*
w
G*@ƒН;ƒП 9W_g @ƒНOƒО 7EI+LO< % O_9f++E√Њ*`GR ES<Aƒ†*'ITC'V6_Mf; %O*=ER-T-; >[ CWL I;c6 L I;_LWD EIC9Sƒ¶*+S6=ER-ZC E IC$S<M; ID*T; 9Wg_$WgDI% O* _@ƒНƒОO@ƒК+TE5TMT `;I9T*`$ c%= ¬ЙMT
v
%SĦ;7O;9Wg
%SĦ;7O;9Wg
v¬Ђ $ER<I;*T; ¬Ј $TE6U_;V;$TE`$ c%= ¬ЙMTbM $S<=ER-T-;$E5W_EƒБgO*E O*_E√њD;9Wg7 O*7EI+LO<% O_9f++E√Њ*b;@ƒНƒП;9Wg cC LTCTE8$UM;6CT7E2T;ERDR_IGT$TE6U_;V;$TEc6 ¬•7 O¬¶
๒๔
r IS;9U$TE
ES<M;S*LYO %O'U=EĀ$KTMTEāO ¬ 'U`;R;U+T$M; ID*T; %O*ES2
p
%SĦ;7O;9Wg
p IS;9U$TE
`>;>S*`L6*%SĦ;7O;`GRERDR_IGT$TEbM 'U=EĀ$KT¬'U`;R;U_$WgDI$S<ER_<WD<LU;S$;TD$ES2C;7Eÿ I T6 ID$TEES<AĠ*'ITC'V6_Mf;%O*=ER-T-; @«J« qtsw LEZ= t %SĦ;7O; EICERDR_IGT=ERCT5 pt IS;9U$TE ¬ *T;
r IS;9U$TE
+S69UM;S*LYO7O<% O MTEāO¬'U`;R;U _L;O>[ <S*'S<<S -T @Ċ+TE5T
p« LY<' ;% OC[Ga'E*$TE%O*ES2 ¬ %O% OC[G_@ĊĎC_7VC+T$M; ID*T;%O*ES2 q« JX$KT Iþ_'ETRM `GRLEZ==ER_6f; % OMTEāO ¬ 'U`;R;U r« @Ċ+TE5T7O<% OMTEāO¬'U`;R;U
v IS;9U$TE
s
r
q
>[ <S*'S<<S -T @Ċ+TE5TG*;TC
%SĦ;7O;9Wg
%SĦ;7O;9Wg
%SĦ;7O;9Wg
w« $ER<I;*T; · $TEbM 'U=EĀ$KT¬'U`;R;U_$WgDI$S<ER_<WD<LU;S$;TD$ES2C;7Eÿ I T6 ID$TEES<AĠ*'ITC'V6_Mf;%O*=ER-T-; @«J« qtsw ERDR_IGT6U_;V;$TE pt IS;9U$TE
p IS;9U$TE
L **T;M; ID*T;
t
%SĦ;7O;9Wg
สวนที่ ๒ - ชองทางการใหบริการ
สวนที่ ๓
สรุปผลการดำเนินงานของศูนยบร�การประชาชน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒
๑
ภารกิจโครงการศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล
๒
ภารกิจตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘
๓
ภารกิจตามนโยบายที่ไดรับมอบหมาย
สวนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนยบริการประชาชน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ๒๖
สรุปผลการดำเนินงานของศูนยบริการประชาชน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ในป ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ศู น ย บ ริ ก ารประชาชนได ด ำเนิ นการในภารกิ จ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ นโยบายของรั ฐ บาล มติ ค ณะรั ฐ มนตรี และภารกิ จ สำคั ญ ด า นต า ง ๆ ประกอบดวย
๑
ภารกิจโครงการศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล
มีเปาหมาย ดังนี้ (๑) บริหารจัดการดูแลระบบการจัดการเรื่องราวรองทุกขและบำรุงรักษาระบบ (๒) การพัฒนาบุคลากรเพื่อเสริมสรางศักยภาพเครือขายในการปฏิบัติงาน (๓) จัดฝกอบรมเพื่อเสริมสรางศักยภาพเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานเรื่องรองเรียน (๔) การเป ด โอกาสให ป ระชาชนเข า มามี ส ว นร ว มในการแสดงความคิ ด เห็ น และ รวมติดตามตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ (๕) การประสานมวลชนและองคกรประชาชน (๖) การตรวจสอบขอเท็จจริงในพื้นที่และติดตามผลการแกไขปญหาเรื่องรองเรียน สรุปผลการดำเนินการในภารกิจดังกลาวได ดังนี้ ๑.๑ บริ ห ารจั ด การดู แ ลระบบการจั ด การเรื่ อ งราวร อ งทุ ก ข แ ละบำรุ ง รั ก ษาระบบ ทำการขยายการเชื่ อ มโยงระบบการจั ด การเรื่ อ งราวร อ งทุ ก ข โดยติ ด ตั้ ง ระบบเครื อ ข า ย และอุ ป กรณ ผ า นเครื อ ข า ยสื่ อ สารข อ มู ล เชื่ อ มโยงหน ว ยงานภาครั ฐ (Government Information Network : GIN) จำนวน ๑๐ หนวยงาน
๑.๒ การพั ฒ นาบุ ค ลากรเพื่ อ เสริ ม สร า ง ศักยภาพเครือขายในการปฏิบตั งิ าน โดยมีวตั ถุประสงค เพื่ อ การสานต อ แนวคิ ด เรื่ อ งการสร า งเครื อ ข า ย ผู ป ฏิ บั ติ ง านเรื่ อ งราวร อ งทุ ก ข ที่ ไ ด เ กิ ด ขึ้ น แล ว ในปที่ผานมา รวมทัง้ เพือ่ พัฒนากระบวนการปฏิบตั งิ าน ระหวางเครือขายใหมีประสิทธิภาพสูงสุดและตอเนื่อง ในการพั ฒ นาเครื อ ข า ยการทำงานรวมกันระหวาง สวนราชการและหนวยงานของรัฐ โดยการจัดอบรม จำนวน ๒ ครั้ง ณ จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดชลบุรี โดยมีผเู ขารับการอบรมประกอบดวยผูแ ทนหนวยงาน ราชการส ว นกลางและสวนภูมิภาคจากทั่วประเทศ รวมประมาณ ๕๐๐ คน
๒๗
สวนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนยบริการประชาชน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ๒๘
ภาพบรรยากาศการสัมมนา Contact Point จังหวัดเพชรบุรี ระหวางวันที่ ๒๘ - ๓๐ มกราคม ๒๕๕๒
ภาพบรรยากาศการสัมมนา Contact Point จังหวัดชลบุรี ระหวางวันที่ ๒๓ - ๒๖ กันยายน ๒๕๕๒
๒๙
สวนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนยบริการประชาชน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ๓๐
๑.๓ จัดฝกอบรมเพื่อเสริมสรางศักยภาพเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานเรื่องรองเรียน ซึ่ ง ประกอบด ว ย ศู น ย บ ริ ก ารประชาชน และศู น ย บ ริ ก ารข อ มู ล ภาครั ฐ เพื่ อ ประชาชน (Government Contact Center ๑๑๑๑) เพื่อพัฒนาและสงเสริมการเรียนรู พัฒนา ทักษะ เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน และปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนในการปฏิบัติงานอันจะ เกิดประโยชนแกหนวยงานภาครัฐและสรางความพึงพอใจแกประชาชน จำนวน ๕ หลักสูตร หลั ก สู ต รที่ ๑ “กลยุ ท ธ ก ารบริ ห ารคนแบบดั้ ง เดิ ม สู ก ารบริ ห ารคนที่ ทั น สมั ย ” โดย นายธนวัฒน กอสุวรรณ วันพฤหัสบดีที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ณ โรงแรมเรดิสนั พระรามเกา กทม.
หลักสูตรที่ ๒ “หลักกฎหมายเพื่ อ สร า งความยุ ติ ธ รรม” โดย อาจารยวนั ชัย สอนศิริ วันเสารที่ ๒๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ณ โรงแรมปรินซพาเลซ มหานาค กทม.
๓๑
สวนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนยบริการประชาชน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ๓๒
หลั ก สู ต รที่ ๓ “ระบบจั ด การความรู (Knowledge Management) ภายในองคกร” โดย ดร.นภัสค หาญพรชัย วันเสารที่ ๒๑ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๒ ณ โรงแรมเรดิสัน พระรามเกา กทม.
หลักสูตรที่ ๔ “การพัฒนาบุคลากรสูค วามเปนเลิศ” โดย ดร.นฤมล โชติเวช วันศุกรที่ ๒๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ณ โรงแรมรอยัลปริ๊นเซส หลานหลวง กทม.
๓๓
สวนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนยบริการประชาชน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ๓๔
หลักสูตรที่ ๕ “การบริหารการจัดการความขัดแยงอยางไดผลและสรางสรรค” โดย ศาสตราจารย นายแพทยวันชัย วัฒนศัพท วันเสารที่ ๑๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๒ ณ โรงแรมเรดิสัน พระรามเกา กทม.
กิจกรรม KM ของศูนย์บริการประชาชน
สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม - กันยายน ๒๕๕๒
35
ส่วนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ 36
๑.๔ การเปิ ด โอกาสให้ ป ระชาชน เข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในการแสดงความคิ ด เห็ น และร่ ว มติ ด ตามตรวจสอบผลการปฏิ บั ติ ราชการ โดยจัดสัมมนารับฟังความคิดเห็น ของประชาชน : กรณี ไ ด้ รั บ ผลกระทบจาก
การสร้ า งเขื่ อ นลำปะทาว และฝายราษี ไ ศล
ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชน เข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในการแก้ ไ ขปั ญ หาผู้ ไ ด้ รั บ
ผลกระทบจากกรณี โ ครงการก่ อ สร้ า งเขื่ อ น และส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนเข้ า มามี ส่ ว นร่ ว ม
ในการแสดงความคิ ด เห็ น กำหนดแนวทาง การแก้ ไ ขปั ญ หา เพื่ อ นำข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ าก
ความต้องการของภาคประชาชนมากำหนด แนวทางการแก้ ไ ขปั ญ หา การสั ม มนาฯ
ดังกล่าว ได้จัดขึ้น จำนวน ๒ ครั้ง ณ จังหวัด กาญจนบุ รี แ ละจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ มี ผู้ เ ข้ า ร่ ว ม สัมมนา ประกอบด้วย ผู้แทนภาคประชาชน ประชาชนที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากโครงการ ก่อสร้างเขื่อนในพื้นที่ ๓ จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัด สุ ริ น ทร์ หน่ ว ยงานภาครั ฐ และนั ก วิ ช าการ
จากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ จำนวน ๑๕๐ คน
ลงพื้นที่ จังหวัดสุรินทร์
37
38
ส่วนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒
สัมมนารับฟังความคิดเห็นภาคประชาชน จังหวัดสุรินทร์
สัมมนารับฟังความคิดเห็นภาคราชการ จังหวัดกาญจนบุรี
39
ส่วนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒
๑.๕ การประสานมวลชนและองค์กรประชาชน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ศู น ย์ บ ริ ก ารประชาชนได้ ป ระสานการดำเนิ น งาน
ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ปัญหาของกลุ่มมวลชนและองค์กรประชาชนได้รับการ แก้ไขในหลายกรณี เช่น ๑. กลุม่ สมัชชาคนจน จำนวนประมาณ ๗๐ คน ขอความช่วยเหลือด้านที่ดินในการประกอบอาชีพ
ซึ่งศูนย์บริการประชาชนได้ประสานให้กลุ่มเข้าร่วม ประชุมกับนายกรัฐมนตรี ที่ประชุมได้มีมติแต่งตั้ง คณะกรรมการเพื่ อ ดำเนิ น การแก้ ไ ขปั ญ หาและ กำหนดให้มีการประชุมเพื่อพิจารณาปัญหาเร่งด่วน ๑๖ เรื่อง โดยได้เชิญหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง กับปัญหาด้านต่าง ๆ เข้าประชุมร่วมกับตัวแทน กลุ่ ม สมั ช ชาเพื่ อ ให้ เ กิ ด ผลสั ม ฤทธิ์ ใ นการ
แก้ไขปัญหา ๒. กลุ่ ม สมาคมชาวไร่ อ้ อ ยแห่ ง ประเทศไทย จำนวนประมาณ ๕๐๐ คน ขอทราบความคืบหน้า
การแก้ ไ ขปั ญ หาราคาอ้ อ ยขั้ น สุ ด ท้ า ยที่ เ กษตรกร
จ ะ ไ ด้ รั บ ใ น ฤ ดู ก า ร ผ ลิ ต ปี ๒ ๕ ๕ ๐ / ๒ ๕ ๕ ๑
ซึ่ ง ศู น ย์ บ ริ ก า ร ป ร ะ ช า ช น ไ ด้ เ จ ร จ า กั บ ก ลุ่ ม ฯ
และประสานรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝา่ ยการเมือง (นายสุ ธ รรม ลิ้ ม สุ ว รรณเกษม) เป็ น ผู้ รั บ หนั ง สื อ
ไปดำเนินการโดยตรง ๓. กลุ่มสมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย จำนวนประมาณ ๓๐๐ คน นำโดย
นายกเทศมนตรีเมืองลำพูน ในฐานะนายกสมาคมสันนิบาตฯ ขอให้ทบทวนการพิจารณา จัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ซึ่งศูนย์บริการประชาชนได้รับการประสานจากรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง (นายสุ ธ รรม ลิ้ ม สุ ว รรณเกษม) ให้ ป ระสานกั บ กลุ่ ม ฯ จั ด ตั ว แทนเข้ า พบนายกรั ฐ มนตรี
ณ อาคารสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
40
๔. กลุ่ ม ผู้ ร่ ว มพั ฒ นาชาติ ไ ทยในพื้ น ที่
๑๙ จั ง หวั ด ภาคอี ส านและภาคกลางจำนวน ประมาณ ๔๐๐ คน ขอให้เร่งรัดการจ่ายเงิน
ค่ า ชดเชยที่ ดิ น ที่ อ ยู่ อ าศั ย และเงิ น ทุ น เพื่ อ ประกอบอาชี พ ซึ่ ง ศู น ย์ บ ริ ก ารประชาชน
ได้เจรจากับกลุ่มฯ และประสานผู้ช่วยรัฐมนตรี ประจำสำนั ก นายกรั ฐ มนตรี (นายจิ ต ติ ชั ย แสงทอง) กั บ รองเลขาธิ ก ารนายกรั ฐ มนตรี ฝ่ายการเมือง (นายวรรณธรรม กาญจนสุวรรณ) เป็นผูเ้ จรจากับกลุม่ ฯ และรับหนังสือไว้ดำเนินการ ต่อไป ๕. กลุ่ ม ผู้ ป ระกอบการบ้ า นเอื้ อ อาทร จำนวนประมาณ ๓๐ คน ขอให้ ช่ ว ยเหลื อ
ผู้ร่วมดำเนินโครงการบ้านเอื้ออาทรของรัฐบาล ซึ่ ง ศู น ย์ บ ริ ก ารประชาชนได้ เ จรจากั บ กลุ่ ม ฯ
และประสานหั วหน้า สำนักงานรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ (นายเลิศปัญญา บูรณบัณฑิต) เป็นผูร้ บั หนังสือ ไว้ดำเนินการต่อไป
๖. กลุ่ ม เครื อ ข่ า ยสมาพั น ธ์ เ กษตรกร จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ จำนวนประมาณ ๒๐ คน
ขอให้ แ ก้ ไ ขปั ญ หาการขาดแคลนน้ ำ เพื่ อ การเกษตรกั บ ระบบน้ ำ ประปาและขอให้
เร่ ง รั ด โครงการสร้ า งอุ โ มงค์ ผั น น้ ำ จาก
เขื่ อ นแม่ งั ด สมบู ร ณ์ พ ลมายั ง เขื่ อ นแม่ ก วง
อุดมธารา ซึ่งศูนย์บริการประชาชนได้เจรจากับ กลุ่มฯ และประสานรัฐมนตรีว่าการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์เป็นผู้รับหนังสือไว้โดยตรง ณ บริเวณสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
41
ส่วนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒
๗. กลุ่ ม ชาวนาไทย จำนวนประมาณ
๒ ๐ ๐ ค น ข อ ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ เ กี่ ย ว กั บ
การประกันราคาข้าว ซึ่งศูนย์บริการประชาชน ได้เจรจากับกลุม่ ฯ และประสานรองนายกรัฐมนตรี (นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ) เป็นผูร้ บั หนังสือไว้โดยตรง ณ บริเวณสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
๘. กลุ่มคัดค้านการก่อสร้างโรงถลุงเหล็ก บางสะพาน จั ง หวั ด ประจวบคี รี ขั น ธ์ จำนวน ประมาณ ๑,๐๐๐ คน คั ด ค้ า นการวิ นิ จ ฉั ย รายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)
โครงการก่อสร้างโรงถลุงเหล็ก อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งศูนย์บริการประชาชน
ได้ เ จรจากั บ กลุ่ ม ฯ และประสานปลั ด สำนั ก
นายกรั ฐ มนตรี รั บ หนั ง สื อ ไว้ โ ดยตรงและ
มอบให้สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร
ของราชการดำเนินการต่อไป
๙. ประธานเครือข่ายพ่อแม่เยาวชนเพื่อการปฏิรูปการศึกษา เสนอการปรับเปลี่ยน ระบบการสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัย ที่ใช้ระบบแอดมิชชั่น ซึ่งศูนย์บริการประชาชนได้เจรจา รั บ หนั ง สื อ และประสานสำนั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษารั บ ทราบเป็ น ข้ อ มู ล
ประกอบการพิจารณา
42
๑๐. กลุ่ ม สหภาพแรงงาน รั ฐ วิ ส าหกิ จ องค์ ก ารขนส่ ง มวลชน กรุงเทพ จำนวนประมาณ ๑,๐๐๐ คน ขอให้ ยุ ติ ก ารพิจารณาข้อเสนอของ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรณีให้ แปรรูปและยุบเลิกองค์การขนส่งมวลชน
กรุ ง เทพ (ขสมก.) ซึ่ ง ศู น ย์ บ ริ ก าร ประชาชนได้เจรจากับกลุม่ ฯ และประสาน รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงคมนาคม (นายประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ) เป็นผูร้ บั หนังสือไว้ดำเนินการต่อไป
๑๑. กลุ่มมูลนิธิเพื่อนหญิงและเครือข่าย จำนวนประมาณ ๕๐ คน ขอให้เร่งรัดจัด ประชุมคณะกรรมการนโยบายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แห่งชาติ เพื่อพิจารณามาตรการควบคุม เหล้าปัน่ และร้านเหล้ารอบสถานศึกษาและแก้ไขปัญหาผลกระทบกับเด็กและเยาวชน เพื่อมอบ เป็นของขวัญในวันเยาวชนแห่งชาติ ซึ่งศูนย์บริการประชาชนได้เจรจาและรับหนังสือจากกลุ่มฯ และนำเรี ย นรองนายกรัฐมนตรี (พลตรี สนัน่ ขจรประศาสน์) รับทราบกับประสานสำนักงาน
คณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์พิจารณาต่อไป
43
ส่วนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ 44
๑.๖ การตรวจสอบข้อเท็จจริงในพืน้ ทีแ่ ละติดตามผลการแก้ไขปัญหาเรือ่ งร้องเรียน ศูนย์บริการประชาชนให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนของประชาชน จึงได้จัดให้มีโครงการติดตามผลการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนและตรวจสอบข้อเท็จจริง
ในพื้นที่ เพื่อรับทราบปัญหาที่แท้จริงของประชาชน และเป็นการสร้างเครือข่ายในการแก้ไข ปัญหาเรื่องร้องเรียน เพื่อให้หน่วยงานและผู้รับผิดชอบสามารถดำเนินการแก้ไขปัญหา
ของประชาชนร่วมกันให้บรรลุเป้าหมายได้ดียิ่งขึ้น ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ศูนย์บริการประชาชนได้ดำเนินการติดตามตรวจสอบ ข้อเท็จจริงและเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเรื่องราวร้องทุกข์ ในพื้นที่ทุกภูมิภาคของประเทศ จำนวน ๖๑ ครั้ง เช่น
พื้นที่จังหวัดเชียงราย ติดตามผลการดำเนินงานโครงการขุดลอก ลำห้วยปูแกง หมู่ที่ ๑๖ ตำบลป่าอ้อดอนชัย อำเภอเมืองเชียงราย จากการรั บ ฟั ง ข้ อ มู ล และตรวจสอบ
ข้ อ เท็ จ จริ ง จากผู้ แ ทนหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง
ในพื้ น ที่ สรุ ป ได้ ว่ า โครงการดำเนิ น การ
เสร็ จ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว และประชาชนในพื้ น ที่ มี
น้ำอุปโภคบริโภค และประกอบอาชีพการเกษตร ได้ตลอดปี นอกจากนีโ้ ครงการดังกล่าวยังสามารถ แก้ไขปัญหาภัยแล้งและน้ำท่วมได้
พื้นที่จังหวัดสกลนคร ราษฎรขอให้ ท างราชการแก้ ไ ขปั ญ หา การประกอบอาชี พ ทำนาของราษฎรที่ มี ที่ น า
ในบริเวณหมูท่ ี่ ๑๐ ตำบลไฮหย่อง อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร ๒ ประเด็น คือ ปัญหาดินเค็ม และปัญหาน้ำท่วมที่นา จากการตรวจสอบข้อเท็จจริงและรับฟัง ข้อมูลจากผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ รวมทัง้ ผูร้ อ้ งแล้ว สรุปได้วา่ ขณะนีป้ ญ ั หาดินเค็ม กรมทรัพยากรธรณีได้เข้าไปดำเนินการแก้ไข ปั ญ หาตามโครงการพั ฒ นาพื้ น ที่ ดิ น เค็ ม ใน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในบริเวณดังกล่าวแล้ว
ส่วนปัญหาน้ำท่วมทีน่ า องค์การบริหารส่วนตำบล
ไฮหย่องได้เสนอโครงการขุดลอกหนองบักด่อน
เพือ่ ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่น เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว ผ่านทางจังหวัดสกลนครแล้ว พื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด ราษฎรขอให้ ท างราชการออกหนั ง สื อ รั บ รองที่ ดิ น ทำกิ น ในที่ ส าธารณประโยชน์
พื้นที่บ้านหนองฮาง หมู่ที่ ๖ ตำบลหนองขาม อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด จากการตรวจสอบข้อเท็จจริงและรับฟัง
ข้ อ เท็ จ จริ ง จากผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งแล้ ว สรุ ป ได้ ว่ า ปั จ จุ บั น ส่ ว นราชการอยู่ ร ะหว่ า งการออก หนังสือสำคัญสำหรับที่หลวง (น.ส.ล.) โดยได้ รั บ การสนั บ สนุ น งบประมาณการรั ง วั ด เพื่ อ ออก น.ส.ล. จากองค์การบริหารส่วนตำบล หนองขาม
45
ส่วนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ 46
พื้นที่จังหวัดนนทบุรี กรณี ร าษฎรจั ง หวั ด นนทบุ รี ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากแรงสั่ น สะเทื อ นและเสี ย ง
จากการประกอบกิจการโรงงานซักผ้า ในพืน้ ทีต่ ำบลไทรน้อย อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี จากการตรวจสอบข้ อ เท็ จ จริ ง และรั บ ฟั ง ข้ อ มู ล จากผู้ ร้ อ งกั บ ผู้ แ ทนหน่ ว ยงาน
ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง สรุ ป ได้ ว่ า สำนั ก งานอุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด นนทบุ รี ได้ แ ก้ ไ ขปั ญ หาโดยให้
ผู้ประกอบการปรับปรุงระบบโครงสร้างของโรงงานให้ได้มาตรฐาน ส่วนปัญหาเสียงดัง
ได้มีการตรวจวัดแล้ว อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ทั้งนี้ ศูนย์บริการประชาชนได้กำชับให้เจ้าหน้าที่ สำนั ก งานอุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด นนทบุ รี ก ำกั บ ดู แ ลการประกอบกิ จ การของโรงงาน
อย่างใกล้ชิดต่อไป
พื้นที่จังหวัดตาก กรณีราษฎรจังหวัดตากขอให้พิจารณา ปรับปรุงซ่อมแซมถนนสายอุม้ ผาง - ตำบลแม่จนั เนื่ อ งจากมี ส ภาพชำรุ ด เป็ น หลุ ม เป็ น บ่ อ
ทำให้ราษฎรไม่ได้รับความสะดวกในการสัญจร จากการตรวจสอบข้อเท็จจริง เจ้าหน้าที่ มี ค วามเห็ น ร่ ว มกั น ว่ า ควรก่ อ สร้ า งถนนใหม่ ตลอดทัง้ สาย โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณ การก่อสร้างจากกรมทางหลวงเพือ่ ก่อสร้างใหม่ หรือปรับปรุงซ่อมแซมถนนใน ๒ ช่วงที่ชำรุด เสี ย หายอย่ า งมากให้ ดี ขึ้ น ก่ อ นเพื่ อ บรรเทา ปั ญ หาความเดื อ ดร้ อ นของราษฎร ปั จ จุ บั น
กรมทางหลวงได้ เ ข้ า ไปซ่ อ มแซมบำรุ ง รั ก ษา
ส่วนที่ชำรุดเสียหายแล้ว
47
ส่วนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ 48
พื้นที่จังหวัดเพชรบุรี กรณีราษฎรจังหวัดเพชรบุรี ขอให้ตรวจสอบ โรงงานผลิตน้ำมันพืช เนื่องจากส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ทำให้ประชาชนได้รับความเดือดร้อนและมีผลกระทบ ต่อระบบทางเดินหายใจและมีอาการคันที่ผิวหนัง จากการตรวจสอบข้อเท็จจริง พบว่าปัญหา
กลิ่ น เหม็ น เกิ ด จากวั ต ถุ ดิ บ ที่ ใ ช้ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง
ในการผลิตที่ในช่วงฝนตกจะเกิดความชื้น ทำให้เกิด กลิ่นเหม็นแต่เป็นกลิ่นจากวัตถุดิบธรรมชาติจึงไม่มี อั น ตรายต่ อ สุ ข ภาพของประชาชน ทางผู้ ป ระกอบ กิจการได้แก้ไขโดยการก่อสร้างโรงเรือนระบบปิด แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า เ ฉ พ า ะ ห น้ า โ ด ย ก า ร ใ ช้ ผ้ า ใ บ
คลุ ม บริ เ วณที่ เ ก็ บ วั ต ถุ ดิ บ ซึ่ ง สามารถลดปั ญ หา
ได้ระดับหนึ่ง ส่วนปัญหาควันดำที่เกิดจากความชื้น ของเชื้ อ เพลิ ง และระบบหม้ อ ต้ ม น้ ำ Boiler ชำรุ ด ปัจจุบันได้ซ่อมแซมแล้ว
พื้นที่จังหวัดสุรินทร์ ราษฎรจังหวัดสุรินทร์ขอให้ส่วนราชการ
ติ ด ตั้ ง ระบบการสู บ น้ ำ ด้ ว ยเครื่ อ งสู บ น้ ำ
พลั ง งานไฟฟ้ า ขนาดใหญ่ ในพื้ น ที่ ห มู่ ที่ ๔
บ้ านละหุ่ง ตำบลนาบัว อำเภอเมืองสุ ริ นทร์
เพื่อนำน้ำจากแหล่งน้ำในเขตป่าสงวนแห่งชาติ
ป่ า เขาสวายไปกั ก เก็ บ ไว้ ที่ ห นองน้ ำ สาธารณะ
ที่ ตั้ ง อยู่ ใ กล้ เ คี ย งกั บ บริ เ วณพื้ น ที่ เ พาะปลู ก
ข้าวโพดของเกษตรกรเพื่อนำน้ำไปใช้ประโยชน์
ต่อไป เจ้ า หน้ า ที่ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งได้ ใ ห้ ข้ อ มู ล ว่ า
การติดตั้งระบบไฟฟ้าและเครื่องสูบน้ำพลังงาน
ไฟฟ้าขนาดใหญ่ ต้องใช้งบประมาณจำนวนมาก
แต่ ห ากการดำเนิ น โครงการเป็ น ผลสำเร็ จ
ก็ จ ะเป็ น ประโยชน์ ต่ อ ราษฎรในพื้ น ที่ คิ ด เป็ น
พื้นที่ทำประโยชน์ทางการเกษตรจำนวนเนื้อที่
ประมาณ ๒๐๐ - ๓๐๐ ไร่ ศูนย์บริการประชาชน
จึ ง ได้ ใ ห้ ข้ อ แนะนำต่ อ ราษฎรว่ า “เห็ น ควร
นำประเด็ น ปั ญ หานี้ เ สนอต่ อ คณะกรรมการ
หมู่ บ้ า นเพื่ อ นำเสนอต่ อ สภาองค์ ก ารบริ ห าร
ส่ ว นตำบล รวมทั้ ง ส่ ว นราชการที่ เ กี่ ย วข้ อ ง
จัดสรรงบประมาณต่อไป”
49
ส่วนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ 50
พื้นที่จังหวัดตราด ราษฎรจังหวัดตราดขอให้ระงับการก่อสร้าง อ่ า งเก็ บ น้ ำ เขาระกำตามโครงการคลองส่ ง น้ ำ
ในพื้ น ที่ ห มู่ ที่ ๔ หมู่ ที่ ๕ และหมู่ ที่ ๖ ตำบล
หนองโสน อำเภอเมื อ งตราด จั ง หวั ด ตราด เนื่องจากราษฎรเกรงว่าเมื่อน้ำล้นทางระบายน้ำ แล้ ว น้ ำ จะท่ ว มพื้ น ที่ ส องข้ า งและทำให้ ร าษฎร
สูญเสียที่ดินทำกินไปบางส่วน จากการตรวจสอบข้อเท็จจริงในเบื้องต้น ได้ รั บ แจ้ ง จากหั ว หน้ า ฝ่ า ยจั ด สรรน้ ำ ฯ ว่ า โครงการดั ง กล่ า วดำเนิ น การไปแล้ ว ๗๐ %
เมื่อดำเนินการสำเร็จจะช่วยแก้ไขปัญหาน้ำท่วม พื้ น ที่ อ ำเภอเมื อ งตราดได้ สำหรั บ การแก้ ไ ข ปั ญ หาดั ง กล่ า วทางจั ง หวั ด ได้ ใ ห้ น ายอำเภอ
เมืองตราดชี้แจง ทำความเข้าใจเหตุผลความ
จำเป็นกับประชาชนเพื่อให้โครงการสามารถ ดำเนินการต่อไปได้
๑.๗ การประชาสั ม พั น ธ์ ช่ อ งทางการรั บ เรื่ อ งร้ อ งเรี ย นและผลการดำเนิ น การ แก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนของประชาชน โดยประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์วารสาร ประชาสัมพันธ์ศูนย์บริการประชาชน (PSC Info.) และรายงานประจำปีของศูนย์บริการ ประชาชน
51
ส่วนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ 52
๑.๘ การศึ ก ษาวิ เ คราะห์ ภ าพรวมของปั ญ หาความเดื อ ดร้ อ นของประชาชน เพื่ อ นำไปสู่ ก ารแก้ ไ ขปั ญ หาในระดั บ นโยบาย โดยศึ ก ษาวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล เรื่ อ งร้ อ งเรี ย น
จากประชาชนในภาพรวมเสนอผู้ บ ริ ห ารระดั บ นโยบาย โดยสรุ ป ผลการดำเนิ น การ
เรื่องร้องเรียนจากประชาชนเป็นรายไตรมาสของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ กราบเรียน นายกรั ฐ มนตรี และเสนอคณะรั ฐ มนตรี รั บ ทราบ โดยคณะรั ฐ มนตรี มี ม ติ ม อบหมายให้
ทุกกระทรวงดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง
๒
ภารกิจตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘
๒.๑ ปรับปรุงและดำเนินการหลักสูตรพัฒนาการมีสว่ นร่วมของประชาชน สำนักงานปลัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยศูนย์บริการประชาชน ร่วมกับสถาบันพระปกเกล้า เพื่อปรับปรุงและ ดำเนินการหลักสูตรพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้าง ความรู้ความเข้าใจและทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชน ทั้งยังเป็นการสร้าง เครือข่ายการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนภายในหน่วยงานของรัฐ เพื่อให้การทำงาน เชื่อมโยงกันได้อย่างเป็นรูปธรรม จำนวน ๘ รุ่น ประกอบด้วย หลักสูตรผู้บริหาร จำนวน ๒ รุ่น และหลักสูตรผู้ปฏิบัติงาน จำนวน ๖ รุ่น หลักสูตรผู้บริหารรุ่นที่ ๑
หลักสูตรผู้ปฏิบัติงานรุ่นที่ ๑
53
54
ส่วนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒
หลักสูตรผู้ปฏิบัติงานรุ่นที่ ๒
๒.๒ เผยแพร ป ระชาสั ม พั น ธ แ ละสร า งความรู ค วามเข า ใจ ผานสื่อสิ่งพิมพและสื่อประชาสัมพันธตาง ๆ
๕๕
๕๖
สวนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนยบริการประชาชน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒
๕๗
สวนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนยบริการประชาชน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ๕๘
๒.๓ จัดประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารเพือ่ พัฒนากลไกการมีสว นรวมของประชาชนในการดำเนินการ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘ เพื่อเสริมสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับหลักการ แนวคิด เทคนิค และวิธีการการมีสวนรวมของ ประชาชนตามระเบี ย บสำนั ก นายกรั ฐ มนตรี ว า ด ว ยการรั บ ฟ ง ความคิ ด เห็ น ของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘ รวมทัง้ เปนเวทีแลกเปลีย่ นเรียนรู ประสบการณและระดมความคิดเห็นในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วของ ซึ่งมีความสำคัญตอการพัฒนากระบวนการและกลไกการมีสวนรวมของประชาชนในการบริหารงาน ภาครัฐ โดยมีผูเขารวมประชุมจำนวนทั้งสิ้น ๑,๕๕๐ คน ประกอบดวย ขาราชการ และเจาหนาทีจ่ าก หนวยงานภาครัฐ ทัว่ ทุกภูมภิ าคของประเทศ จำนวน ๖ ครัง้ ไดแก จังหวัดเชียงใหม จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดขอนแกน จังหวัดสุราษฎรธานี จังหวัดระยอง และจังหวัดสงขลา จังหวัดเชียงใหม
จังหวัดกาญจนบุรี
๕๙
๖๐
สวนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนยบริการประชาชน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒
จังหวัดขอนแกน
จังหวัดสุราษฎรธานี
๖๑
๖๒
สวนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนยบริการประชาชน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒
จังหวัดระยอง
๒.๔ พั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง ระบบฐานข้ อ มู ล อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เพื่ อ การเผยแพร่
ข้อมูลโครงการของรัฐและประกาศข้อมูลเกี่ยวกับการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ตามระเบี ย บสำนั ก นายกรั ฐ มนตรี ว่ า ด้ ว ยการรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘ ศูนย์บริการประชาชนได้จ้าง บริษัท ซีดีจี ซิสเต็มส์ จำกัด เป็นที่ปรึกษา
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงระบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และเว็บไซต์การรับฟังความคิดเห็น ของประชาชนโดยมีการจัดฝึกอบรมการใช้งานเว็บไซต์เพื่อการบันทึกและนำเสนอข้อมูล โครงการหรื อ กิ จ กรรมที่ ป ระสงค์ เ ผยแพร่ แ ก่ ป ระชาชนและข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การรั บ ฟั ง
ความคิดเห็นของประชาชนตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็น ของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘ จำนวน ๘ ครั้ง ได้แก่ จังหวัดเพชรบุรี ชลบุรี สงขลา ภูเก็ต อุดรธานี อุบลราชธานี เชียงใหม่ และพิษณุโลก ภาพการจัดอบรม ณ จังหวัดเพชรบุรี
63
64
ส่วนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒
ภาพการจัดอบรม ณ จังหวัดสงขลา
ภาพการจัดอบรม ณ จังหวัดอุบลราชธานี
65
66
ส่วนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒
ภาพการจัดอบรม ณ จังหวัดพิษณุโลก
๒.๕ กำกั บ ดู แ ล ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ช่ ว ยเหลื อ และแนะนำหน่ ว ยงานของรั ฐ ในการดำเนิ น การตามระเบี ย บสำนั ก นายกรั ฐ มนตรี ว่ า ด้ ว ยการรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘ ศูนย์บริการประชาชนได้ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการบริหาร กิ จ การบ้ า นเมื อ งที่ ดี จั ด โครงการศึ ก ษาวิ จั ย เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง ระเบี ย บฯ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และสภาพความเป็นจริงของ สังคมปัจจุบัน โดยมีการศึกษาดูงานเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับกระบวนการ
การมีส่วนร่วมของประชาชนที่มีการจัดประชาพิจารณ์ตามระเบียบฯ เพื่อให้หน่วยงานของรัฐ สามารถดำเนินการได้อย่างจริงจังต่อไป โดยมีการจัดประชุมสัมมนาเพื่อระดมความคิดเห็น จำนวน ๕ ครั้ ง ได้ แ ก่ จั ง หวั ด สระบุ รี จั ง หวั ด ลำปาง จั ง หวั ด ขอนแก่ น จั ง หวั ด สงขลา
และกรุ ง เทพมหานคร และมี ก ารศึ ก ษาดู ง านจำนวน ๒ ครั้ ง ได้ แ ก่ โ ครงการก่ อ สร้ า ง
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ ๒ จังหวัดสมุทรปราการ และโครงการก่อสร้างท่าเทียบเรือ และสถานีรับ - จ่ายก๊าซธรรมชาติเหลว ณ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง ภาพบรรยากาศการดูงาน ณ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง
67
68
ส่วนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒
ภาพบรรยากาศการดูงาน ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จังหวัดสมุทรปราการ
๒.๖ ดูแลระบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และระบบการกำกับดูแลหน่วยงานของรัฐ เพื่อการเผยแพร่ข้อมูลโครงการของรัฐและประกาศข้อมูลเกี่ยวกับการรับฟังความคิดเห็น ของประชาชน
อดีต
ก่อนปัจ
จุบัน
ัน
ุบ ปัจจ
69
ส่วนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนย์บริการประชาชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ 70
๓
ภารกิจตามนโยบายที่ได้รับมอบหมาย
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ศูนย์บริการ ประชาชน ได้รบั มอบหมายภารกิจด้านนโยบาย ดังนี้ - ฝ่ายเลขานุการจัดการประชุมเพื่อแก้ไข ปั ญ หาตามข้ อ เรี ย กร้ อ งของกลุ่ ม สมั ช ชาคนจน (สคจ.) - ฝ่ า ยเลขานุ ก ารคณะอนุ ก รรมการ
รับฟังความคิดเห็น ข้อเท็จจริง และศึกษาวิเคราะห์ ประมวลข้อมูล เหตุการณ์ความไม่สงบจากการชุมนุม ทางการเมือง เมือ่ วันที่ ๑๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๒ และเหตุการณ์ที่เกี่ยวเนื่อง - ฝ่ า ยเลขานุ ก ารคณะกรรมการแก้ ไ ข ปัญหาของกลุ่มเครือข่ายชุมชนเพื่อการปฏิรูป ชุมชนและการเมือง (คปสม.) - ฝ่ายเลขานุการ (คณะอนุกรรมการ
แก้ไขปัญหาฯ คปสม.) กรณีปัญหาในพื้นที่ จังหวัดภูเก็ต - ฝ่ายเลขานุการ (คณะอนุกรรมการ แก้ไขปัญหาฯ คปสม.) กรณีปัญหาในพื้นที่ จังหวัดพังงา - ฝ่ายเลขานุการ (คณะอนุกรรมการ แก้ไขปัญหาฯ คปสม.) กรณีปญ ั หาผลกระทบ จากการประกอบกิจการเหมืองแร่ - ฝ่ า ยเลขานุ ก ารแก้ ไ ขปั ญ หาของ เครือข่ายปฏิรปู ทีด่ นิ แห่งประเทศไทย (คปท.)
ศบช.เปดหองรับแขก ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ไดมีสวนราชการตาง ๆ ใหความสนใจเขามาศึกษา ดูงานเกี่ยวกับการดำเนินการเรื่องราวรองทุกขของศูนยรับเรื่องราวรองทุกขของรัฐบาล ณ ศูนยบริการประชาชน จำนวน ๗ แหง ประกอบดวย กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุ ติ ธ รรม สำนั ก งานปลั ด กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม ศูนยดำรงธรรมจังหวัดแพร กรมชลประทาน นักบริหารรุนใหม ก.พ.ร. และกรมปองกัน และบรรเทาสาธารณภัย กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ
๗๑
๗๒
สวนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนยบริการประชาชน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ กรมชลประทาน
กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
๗๓
๗๔
สวนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนยบริการประชาชน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ กระทรวงทรัพยฯ
จังหวัดแพร
๗๕
๗๖
สวนที่ ๓ - สรุปผลการดำเนินงานของศูนยบริการประชาชน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ นักบริหารรุนใหม ก.พ.ร.
สวนที่ ๔ สถิติเร�่องรองเร�ยน
สวนที่ ๔ - สถิติเรื่องรองเรียนของปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒
ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ประชาชนไดรอ งทุกข ถึงนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ผานชองทางตาง ๆ สรุปประเด็นสำคัญได ดังนี้ ๑. แผนภูมิแสดงสถิติการใชบริการการรองทุกขของประชาชน จำแนกตามชองทาง การรองทุกข ๑๑๑๑ (๔ ชองทาง)
pqo©oqw'ESĦ* E ODGR ws«qu LTD6 I;%O*ES2<TG a9E« pppp
pq©xuw 'ESĦ* E ODGR x«po v©vws 'ESĦ* E ODGR t«su
psq©stp 'ESĦ*
_Iğ<c.7 ¥úúú«®®®®«êò«÷ë¦ 7[ =5« pppp ¬ c=EK5WD ¬ a9ELTE +Z6<Eþ$TE=ER-T-;
p©uvp 'ESĦ* E ODGR p«pv
จากแผนภูมแิ สดงสถิตกิ ารใชบริการการรองทุกขดงั กลาวขางตนพบวา ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ประชาชนใชบริการการรองทุกขผานชองทางตาง ๆ รวมทั้งสิ้น ๑๔๒,๔๕๑ ครั้ง โดยผ า นทางสายด ว นของรั ฐ บาล ๑๑๑๑ มากที่ สุ ด รองลงมา คื อ ช อ งทางเว็ บ ไซต (www.1111.go.th) และชองทางตู ปณ. ๑๑๑๑ / ไปรษณีย / โทรสาร ตามลำดับ
๗๘
๒. ตารางแสดงจำนวนเรื่ อ งราวร้ อ งทุ ก ข์ จำแนกตามประเภทเรื่ อ งโดยเรี ย งลำดั บ จากประเภทเรื่องหลักที่มีการร้องทุกข์มากที่สุด จำนวน ลำดับ ร้อยละ ประเภทเรื่องหลัก ประเภทเรื่องรอง (เรื่อง) ที่ ๑.
๒.
๓.
สังคมและสวัสดิการ
สาธารณูปโภค สังคมเสื่อมโทรม การพนัน สวัสดิการสงเคราะห์ ปัญหาแรงงาน สาธารณสุข จัดระเบียบสังคม การศึกษา ปัญหาที่ดิน ปัญหาที่อยู่อาศัย ประกันสังคม สถานภาพของบุคคล ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม สิทธิมนุษยชน หลักประกันสุขภาพ การกีฬา รวม การเมือง - การปกครอง กล่าวโทษหรือร้องเรียนเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ การเมือง นโยบายของรัฐบาล การใช้อำนาจของหน่วยงานของรัฐ ปัญหาความมั่นคง รวม เศรษฐกิจ ปัญหาหนี้สิน การเกษตร การค้า รายได้ การคลัง
๑๘,๖๐๐ ๘,๗๙๙ ๓,๖๒๙ ๓,๒๖๘ ๒,๖๔๗ ๒,๕๙๗ ๒,๐๘๕ ๑,๙๗๔ ๑,๔๔๔ ๑,๑๕๑ ๙๔๒ ๔๓๓ ๔๐๙ ๓๒๔ ๑๗๙ ๕๑ ๔๘,๕๓๒ ๑๗,๙๘๙ ๑๐,๒๒๗ ๗,๓๑๐ ๒,๕๗๘ ๘๓๐ ๓๘,๙๓๔ ๒,๘๗๕ ๑,๘๙๒ ๑,๗๗๖ ๑,๑๗๒ ๘๓๕
๑๗.๙๑ ๘.๔๗ ๓.๔๙ ๓.๑๕ ๒.๕๕ ๒.๕๐ ๒.๐๑ ๑.๙๐ ๑.๓๙ ๑.๑๑ ๐.๙๑ ๐.๔๒ ๐.๓๙ ๐.๓๑ ๐.๑๗ ๐.๐๕ ๔๖.๗๒ ๑๗.๓๒ ๙.๘๕ ๗.๐๔ ๒.๔๘ ๐.๘๐ ๓๗.๔๘ ๒.๗๗ ๑.๘๒ ๑.๗๑ ๑.๑๓ ๐.๘๐
79
ส่วนที่ ๔ - สถิติเรื่องร้องเรียนของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒
ลำดับ ที่
ประเภทเรื่องหลัก
๔.
๕.
๖.
ประเภทเรื่องรอง การเงิน การลงทุน ราคาพลังงาน อุตสาหกรรม
รวม ทรัพยากรธรรมชาติ ปัญหาในพื้นที่ป่า และสิ่งแวดล้อม ปัญหาของเสีย ปัญหาน้ำผิวดิน คุณภาพอากาศและเสียง สัตว์ป่าและพืชป่า คุณภาพน้ำ นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรณี ทรัพยากรชายฝั่งทะเล ปัญหาน้ำบาดาล รวม กฎหมาย การกระทำความผิดอาญา การบังคับตามกฎหมาย การเสนอและตรากฎหมาย การใช้สิทธิหรือข้อพิพาทระหว่าง เอกชน รวม อื่นๆ รวม รวมทั้งสิ้น
จำนวน (เรื่อง)
ร้อยละ
๗๙๒ ๗๐๓ ๖๓๙ ๑๑๓ ๑๐,๗๙๗ ๕๙๕ ๕๗๒ ๕๖๔ ๔๑๓ ๒๖๔ ๒๑๗ ๑๑๒
๐.๗๖ ๐.๖๘ ๐.๖๒ ๐.๑๑ ๑๐.๓๙ ๐.๕๗ ๐.๕๕ ๐.๕๔ ๐.๔๐ ๐.๒๕ ๐.๒๑ ๐.๑๑
๔๑ ๒๗ ๑๗ ๒,๘๒๒ ๑,๑๕๗ ๖๑๑ ๕๐๙ ๓๐๓
๐.๐๔ ๐.๐๓ ๐.๐๒ ๒.๗๒ ๑.๑๑ ๐.๕๙ ๐.๔๙ ๐.๒๙
๒,๕๘๐ ๒.๔๘ ๒๑๓ ๐.๒๑ ๑๐๓,๘๗๘ ๑๐๐.๐๐
จากตารางแสดงจำนวนเรื่องราวร้องทุกข์ข้างต้นพบว่า ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ประชาชนร้องทุกข์ในประเภทเรื่องต่างๆ รวมทั้งสิ้น ๑๐๓,๘๗๘ เรื่อง โดยร้องทุกข์ในประเภท เรื่องหลักด้านสังคมและสวัสดิการมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านการเมือง - การปกครอง และด้านเศรษฐกิจ ตามลำดับ ในการนี้ ประเภทเรื่ อ งรองที่ ป ระชาชนร้ อ งทุ ก ข์ ม ากที่ สุ ด ได้ แ ก่ สาธารณู ป โภค รองลงมา คือ กล่าวโทษหรือร้องเรียนเจ้าหน้าที่ของรัฐ และการเมือง ตามลำดับ
80
๓. ตารางแสดงจำนวนเรือ่ งราวร้องทุกข์และผลการดำเนินการ จำแนกตามรายกระทรวง ที่ได้รับการประสานงาน โดยเรียงลำดับจากกระทรวงที่ได้รับการประสานงาน เพื่อรับทราบและ พิจารณาดำเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องราวร้องทุกข์ให้แก่ประชาชนมากที่สุด
กระทรวง
วัตถุประสงค์ของการประสานงาน เพื่อทราบ เพื่อพิจารณา จำนวน ดำเนินการ รอผลการ รวม ร้อยละ จนได้ข้อยุติ พิจารณา จำนวน จำนวน (เรื่อง) ร้อยละ ร้อยละ (เรื่อง) (เรื่อง) จำนวน จำนวน ร้อยละ ร้อยละ (เรื่อง) (เรื่อง)
๑. กระทรวงการคลัง
๔,๕๖๘ ๑๕.๐๒ ๑,๖๔๓ ๓๕.๙๗ ๒,๙๒๕ ๖๔.๐๓ ๑,๐๙๑ ๓๗.๓๐ ๑,๘๓๔ ๖๒.๗๐
๒. กระทรวงแรงงาน
๓,๐๐๓ ๙.๘๗ ๑,๘๕๖ ๖๑.๘๐ ๑,๑๔๗ ๓๘.๒๐ ๗๓๑ ๖๓.๗๓
๔๑๖ ๓๖.๒๗
๓. กระทรวงคมนาคม
๒,๕๘๕ ๘.๕๐ ๒,๑๑๑ ๘๑.๖๖ ๔๗๔ ๑๘.๓๔
๓๑๕ ๖๖.๔๖
๑๕๙ ๓๓.๕๔
๔. กระทรวงมหาดไทย
๒,๓๙๑ ๗.๘๖ ๑,๓๐๘ ๕๔.๗๑ ๑,๐๘๓ ๔๕.๒๙ ๕๗๙ ๕๓.๔๖
๕๐๔ ๔๖.๕๔
๕. กระทรวงศึกษาธิการ
๒,๑๐๑ ๖.๙๑ ๑,๕๓๒ ๗๒.๙๒
๕๖๙ ๒๗.๐๘
๑๙๐ ๓๓.๓๙ ๓๗๙ ๖๖.๖๑
๖. กระทรวงสาธารณสุข
๑,๔๖๙ ๔.๘๓ ๑,๒๑๑ ๘๒.๔๔ ๒๕๘ ๑๗.๕๖
๗๙ ๓๐.๖๒ ๑๗๙ ๖๙.๓๘
๗. กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์
๑,๐๘๔ ๓.๕๖ ๕๙๕ ๕๔.๘๙ ๔๘๙ ๔๕.๑๑
๒๐๘ ๔๒.๕๔
๒๘๑ ๕๗.๔๖
๘. กระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคง ของมนุษย์
๑,๐๓๔ ๓.๔๐ ๓๔๘ ๓๓.๖๖
๖๘๖ ๖๖.๓๔
๒๑๘ ๓๑.๗๘
๔๖๘ ๖๘.๒๒
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
ลำดับ ที่
๙. กระทรวงพาณิชย์
๘๑๓ ๒.๖๗
๑๐. สำนักนายกรัฐมนตรี
๖๒๖ ๒.๐๖ ๔๒๙ ๖๘.๕๓ ๑๙๗ ๓๑.๔๗
๖๐ ๓๐.๔๖ ๑๓๗ ๖๙.๕๔
๑๑. กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสาร
๕๙๕ ๑.๙๖
๔๘๖ ๘๑.๖๘
๑๐๙ ๑๘.๓๒
๕๖ ๕๑.๓๘
๕๓ ๔๘.๖๒
๑๒. กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
๔๕๕ ๑.๕๐ ๒๔๕ ๕๓.๘๕
๒๐๙ ๔๕.๙๓
๖๐ ๒๘.๗๑
๑๔๙ ๗๑.๒๙
๑๓. กระทรวงยุติธรรม
๓๓๑ ๑.๐๙
๑๘๑ ๕๔.๖๘
๑๕๐ ๔๕.๓๒
๓๖ ๒๔.๐๐
๑๑๔ ๗๖.๐๐
๑๔. กระทรวงกลาโหม
๒๖๖ ๐.๘๗ ๑๗๕ ๖๕.๗๙
๙๑ ๓๔.๒๑
๑๒ ๑๓.๑๙
๗๙ ๘๖.๘๑
๑๕. กระทรวงพลังงาน
๑๖๘ ๐.๕๕
๑๒๕ ๗๔.๔๐
๔๓ ๒๕.๖๐
๒๑ ๔๘.๘๔
๒๒ ๕๑.๑๖
๑๖. กระทรวงอุตสาหกรรม
๙๓ ๐.๓๑
๕๐ ๕๓.๗๖
๔๓ ๔๖.๒๔
๑๖ ๓๗.๒๑
๒๗ ๖๒.๗๙
๑๗. กระทรวง การต่างประเทศ
๙๐ ๐.๓๐
๔๘ ๕๓.๓๓
๔๒ ๔๖.๖๗
๑๔ ๓๓.๓๓
๒๘ ๖๖.๖๗
๑๘. กระทรวงวัฒนธรรม
๘๑ ๐.๒๗
๕๔ ๖๖.๖๗
๒๗ ๓๓.๓๓
๒๐ ๗๔.๐๗
๗ ๒๕.๙๓
๑๙. กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา
๗๙ ๐.๒๖
๔๗ ๕๙.๔๙
๓๒ ๔๐.๕๑
๘ ๒๕.๐๐
๒๔ ๗๕.๐๐
๘๑๓ ๑๐๐.๐๐
81
ส่วนที่ ๔ - สถิติเรื่องร้องเรียนของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ 82
ลำดับ ที่
กระทรวง
๒๐. กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ๒๑. หน่วยงานอื่นๆ
วัตถุประสงค์ของการประสานงาน เพื่อทราบ เพื่อพิจารณา จำนวน ดำเนินการ รอผลการ รวม ร้อยละ จนได้ข้อยุติ พิจารณา จำนวน จำนวน (เรื่อง) ร้อยละ ร้อยละ (เรื่อง) (เรื่อง) จำนวน จำนวน ร้อยละ ร้อยละ (เรื่อง) (เรื่อง) ๑๐ ๐.๐๓
๘ ๘๐.๐๐
๒ ๒๐.๐๐
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ๗,๖๘๖ ๒๕.๒๗ ๖,๓๘๒ ๘๓.๐๓ ๑,๓๐๔ ๑๖.๙๗
๑ ๕๐.๐๐
๑ ๕๐.๐๐
๔๕๑ ๓๔.๕๙ ๘๕๓ ๖๕.๔๑
สำนักงานคณะกรรมการ กิจการโทรคมนาคม แห่งชาติ
๕๒๔ ๑.๗๒ ๔๓๒ ๘๒.๔๔
๙๒ ๑๗.๕๖
๓๖ ๓๙.๑๓
๕๖ ๖๐.๘๗
สำนักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ
๑๑๗ ๐.๓๘
๘๑ ๖๙.๒๓
๓๖ ๓๐.๗๗
๖ ๑๖.๖๗
๓๐ ๘๓.๓๓
ธนาคารแห่งประเทศไทย
๑๑๓ ๐.๓๗
๔๕ ๓๙.๘๒
๖๘ ๖๐.๑๘
๒๕ ๓๖.๗๖
๔๓ ๖๓.๒๔
สำนักราชเลขาธิการ
๒๙ ๐.๑๐
๒๙ ๑๐๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
สำนักงานคณะ กรรมการการเลือกตั้ง
๒๗ ๐.๐๙
๒๕ ๙๒.๕๙
๒ ๗.๔๑
๐ ๐.๐๐
๒ ๑๐๐.๐๐
สำนักงานเลขาธิการ สภาผู้แทนราษฎร
๑๖ ๐.๐๕
๑๔ ๘๗.๕๐
๒ ๑๒.๕๐
๑ ๕๐.๐๐
๑ ๕๐.๐๐
สำนักงานคณะ กรรมการสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ
๑๒ ๐.๐๔
๑๒ ๑๐๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
ธนาคารพาณิชย์
จดทะเบียนในประเทศ
๑๒ ๐.๐๔
๓ ๒๕.๐๐
๙ ๗๕.๐๐
๕ ๕๕.๕๖
๔ ๔๔.๔๔
สำนักงานอัยการสูงสุด
๘ ๐.๐๓
๓ ๓๗.๕๐
๕ ๖๒.๕๐
๑ ๒๐.๐๐
๔ ๘๐.๐๐
สำนักงานผู้ตรวจการ แผ่นดินของรัฐสภา
๖ ๐.๐๒
๖ ๑๐๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
สำนักงานศาลยุติธรรม
๖ ๐.๐๒
๓ ๕๐.๐๐
๓ ๕๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๓ ๑๐๐.๐๐
สภากาชาดไทย
๕ ๐.๐๒
๕ ๑๐๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
สำนักงานการตรวจเงิน แผ่นดิน
๕ ๐.๐๒
๒ ๔๐.๐๐
๓ ๖๐.๐๐
๒ ๖๖.๖๗
๑ ๓๓.๓๓
สำนักงานทรัพย์สิน ส่วนพระมหากษัตริย์
๔ ๐.๐๑
๐ ๐.๐๐
๔ ๑๐๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๔ ๑๐๐.๐๐
มูลนิธิโรคไต แห่งประเทศไทย
๓ ๐.๐๑
๐ ๐.๐๐
๓ ๑๐๐.๐๐
๒ ๖๖.๖๗
๑ ๓๓.๓๓
ราชบัณฑิตยสถาน
๓ ๐.๐๑
๓ ๑๐๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
ลำดับ ที่
กระทรวง
วัตถุประสงค์ของการประสานงาน เพื่อทราบ เพื่อพิจารณา จำนวน ดำเนินการ รอผลการ รวม ร้อยละ จนได้ข้อยุติ พิจารณา จำนวน จำนวน (เรื่อง) ร้อยละ ร้อยละ (เรื่อง) (เรื่อง) จำนวน จำนวน ร้อยละ ร้อยละ (เรื่อง) (เรื่อง)
สำนักเลขาธิการวุฒสิ ภา
๓ ๐.๐๑
๓ ๑๐๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
สำนักงานศาลปกครอง
๒ ๐.๐๑
๑ ๕๐.๐๐
๑ ๕๐.๐๐
๑ ๑๐๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
สำนักงานคณะกรรมการ กำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์
๒ ๐.๐๑
๒ ๑๐๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
สำนักงานสภาที่ปรึกษา เศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ
๑ ๐.๐๐
๑ ๑๐๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
รวมทั้งสิ้น
๓๐,๔๒๕ ๑๐๐.๐๐ ๒๐,๓๑๗ ๖๖.๗๘ ๑๐,๑๐๘ ๓๓.๒๒ ๔,๒๔๕ ๔๒.๐๐ ๕,๘๖๓ ๕๘.๐๐
จากตารางแสดงจำนวนเรื่องราวร้องทุกข์ข้างต้นพบว่า ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ หน่ ว ยงานต่ า ง ๆ ได้ รั บ การประสานงานเรื่ อ งราวร้ อ งทุ ก ข์ ร วมทั้ ง สิ้ น ๓๐,๔๒๕ เรื่ อ ง โดยหน่ ว ยงานที่ ไ ด้ รั บ การประสานงานเพื่ อ รั บ ทราบและพิ จ ารณาดำเนิ น การแก้ ไ ขปั ญ หา เรื่องราวร้องทุกข์ให้แก่ประชาชนเรียงตามลำดับจากมากที่สุด ได้แก่ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ รองลงมา คือ กระทรวงการคลัง และกระทรวงแรงงาน ตามลำดับ
83
ส่วนที่ ๔ - สถิติเรื่องร้องเรียนของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ 84
๔. ตารางแสดงจำนวนเรื่องราวร้องทุกข์และผลการดำเนินการของหน่วยงานในสังกัด สำนั ก นายกรั ฐ มนตรี จำแนกตามหน่ ว ยงานที่ ไ ด้ รั บ การประสานงาน โดยเรี ย งลำดั บ จาก หน่วยงานที่ได้รับการประสานงานเพื่อรับทราบและพิจารณาดำเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องราว ร้องทุกข์ให้แก่ประชาชนมากที่สุด
ลำดับ ที่
กระทรวง
วัตถุประสงค์ของการประสานงาน เพื่อทราบ เพื่อพิจารณา จำนวน ดำเนินการ รอผลการ รวม ร้อยละ จนได้ข้อยุติ พิจารณา จำนวน จำนวน (เรื่อง) ร้อยละ ร้อยละ (เรื่อง) (เรื่อง) จำนวน จำนวน ร้อยละ ร้อยละ (เรื่อง) (เรื่อง)
๑. สำนักงานคณะกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภค
๒๖๓ ๔๒.๐๑
๑๔๓ ๕๔.๓๗
๑๒๐ ๔๕.๖๓
๒๕ ๒๐.๘๓
๙๕ ๗๙.๑๗
๒. สำนักงานคณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือน
๑๕๐ ๒๓.๙๖
๑๒๒ ๘๑.๓๓
๒๘ ๑๘.๖๗
๙ ๓๒.๑๔
๑๙ ๖๗.๘๖
๓. สำนักเลขาธิการ นายกรัฐมนตรี
๙๓ ๑๔.๘๖
๗๒ ๗๗.๔๒
๒๑ ๒๒.๕๘
๑๑ ๕๒.๓๘
๑๐ ๔๗.๖๒
๔. กรมประชาสัมพันธ์
๘๐ ๑๒.๗๘
๖๘ ๘๕.๐๐
๑๒ ๑๕.๐๐
๑๐ ๘๓.๓๓
๒ ๑๖.๖๗
๕. สำนักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี
๑๒ ๑.๙๒
๘ ๖๖.๖๗
๔ ๓๓.๓๓
๒ ๕๐.๐๐
๒ ๕๐.๐๐
๖. กองอำนวยการรักษา ความมั่นคงภายใน ราชอาณาจักร
๑๐ ๑.๖๐
๔ ๔๐.๐๐
๖ ๖๐.๐๐
๑ ๑๖.๖๗
๕ ๘๓.๓๓
๗. บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน)
๔ ๐.๖๔
๒ ๕๐.๐๐
๒ ๕๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๒ ๑๐๐.๐๐
๘. สำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ
๔ ๐.๖๔
๓ ๗๕.๐๐
๑ ๒๕.๐๐
๐ ๐.๐๐
๑ ๑๐๐.๐๐
๙. สำนักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา
๓ ๐.๔๘
๒ ๖๖.๖๗
๑ ๓๓.๓๓
๐ ๐.๐๐
๑ ๑๐๐.๐๐
๑๐. สำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการ
๒ ๐.๓๒
๒ ๑๐๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๑๑. สำนักงบประมาณ
๑ ๐.๑๖
๐ ๐.๐๐
๑ ๑๐๐.๐๐
๑ ๑๐๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๑๒. สำนักงานกองทุน หมู่บ้านและชุมชนเมือง แห่งชาติ
๑ ๐.๑๖
๑ ๑๐๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
ลำดับ ที่
กระทรวง
วัตถุประสงค์ของการประสานงาน เพื่อทราบ เพื่อพิจารณา จำนวน ดำเนินการ รอผลการ รวม ร้อยละ จนได้ข้อยุติ พิจารณา จำนวน จำนวน (เรื่อง) ร้อยละ ร้อยละ (เรื่อง) (เรื่อง) จำนวน จำนวน ร้อยละ ร้อยละ (เรื่อง) (เรื่อง)
๑๓. สำนักงานคณะกรรมการ ข้อมูลข่าวสาร ของราชการ
๑ ๐.๑๖
๑ ๑๐๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๑๔. สำนักงาน สภาความมัน่ คงแห่งชาติ
๑ ๐.๑๖
๑ ๑๐๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐ ๐.๐๐
๐
๑๕. องค์การบริหาร การพัฒนาพื้นที่พิเศษ เพื่อการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน
๑ ๐.๑๖
๐ ๐.๐๐
๑ ๑๐๐.๐๐
๑ ๑๐๐.๐๐
๐
รวมทั้งสิ้น
๖๒๖ ๑๐๐.๐๐ ๔๒๙ ๖๘.๕๓ ๑๙๗ ๓๑.๔๗
๖๐ ๓๐.๔๖ ๑๓๗ ๖๙.๕๔
จากตารางแสดงจำนวนเรื่ อ งราวร้ อ งทุ ก ข์ แ ละผลการดำเนิ น การข้ า งต้ น พบว่ า
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ สำนักนายกรัฐมนตรีมีจำนวนเรื่องราวร้องทุกข์รวมทั้งสิ้น
จำนวน ๖๒๖ เรื่ อ ง โดยเป็ น เรื่ อ งเพื่ อ พิ จ ารณา จำนวน ๑๙๗ เรื่ อ ง และอยู่ ร ะหว่ า ง การดำเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน ๑๓๗ เรื่อง ในการนี้ หน่วยงานที่ได้รับการประสานงานเพื่อรับทราบและพิจารณาดำเนินการแก้ไข ปั ญ หาเรื่ อ งราวร้ อ งทุ ก ข์ ใ ห้ แ ก่ ป ระชาชนเรี ย งตามลำดั บ จากมากที่ สุ ด ได้ แ ก่ สำนั ก งาน คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค รองลงมา คือ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน และสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ตามลำดับ
85
ส่วนที่ ๔ - สถิติเรื่องร้องเรียนของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒
๕. ตารางแสดงจำนวนเรื่องราวร้องทุกข์และผลการดำเนินการ จำแนกตามจังหวัด ที่ได้รับการประสานงานเพื่อรับทราบและพิจารณาดำเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องราวร้องทุกข์
ให้แก่ประชาชน โดยเรียงตามลำดับเขตตรวจราชการ
เขตตรวจ ราชการ
จังหวัด
เขตตรวจ นนทบุรี ราชการที่ ๑ ปทุมธานี
๙๗๔ ๔.๐๔ ๗๔๓ ๗๖.๒๘
๒๓๑ ๒๓.๗๒
๑๔๕ ๖๒.๗๗
๘๖ ๓๗.๒๓
๖๘๑ ๒.๘๒
๕๒๑ ๗๖.๕๑
๑๖๐ ๒๓.๔๙
๕๘ ๓๖.๒๕
๑๐๒ ๖๓.๗๕
สระบุรี
๓๒๙ ๑.๓๖
๒๑๘ ๖๖.๒๖
๑๑๑ ๓๓.๗๔
๕๖ ๕๐.๔๕
๕๕ ๔๙.๕๕
พระนครศรีอยุธยา
๓๒๑ ๑.๓๓ ๒๒๔ ๖๙.๗๘
๙๗ ๓๐.๒๒
๑๖ ๑๖.๔๙
๘๑ ๘๓.๕๑
รวม
๒,๓๐๕ ๙.๕๕ ๑,๗๐๖ ๗๔.๐๑
๕๙๙ ๒๕.๙๙ ๒๗๕ ๔๕.๙๑ ๓๒๔ ๕๔.๐๙
เขตตรวจ ลพบุรี ราชการที่ ๒ อ่างทอง
๒๐๕ ๐.๘๕
๑๑๐ ๕๓.๖๖
๙๕ ๔๖.๓๔
๖๑ ๖๔.๒๑
๓๔ ๓๕.๗๙
๑๒๑ ๐.๕๐
๖๘ ๕๖.๒๐
๕๓ ๔๓.๘๐
๔๒ ๗๙.๒๕
๑๑ ๒๐.๗๕
สิงห์บุรี
๑๑๒ ๐.๔๖
๖๒ ๕๕.๓๖
๕๐ ๔๔.๖๔
๓๒ ๖๔.๐๐
๑๘ ๓๖.๐๐
ชัยนาท
๘๙ ๐.๓๗
๕๑ ๕๗.๓๐
๓๘ ๔๒.๗๐
๒๔ ๖๓.๑๖
๑๔ ๓๖.๘๔
๕๒๗ ๒.๑๘
๒๙๑ ๕๕.๒๒
๒๓๖ ๔๔.๗๘
๑๕๙ ๖๗.๓๗
๗๗ ๓๒.๖๓
๙๔๙ ๓.๙๓ ๗๒๖ ๗๖.๕๐
๒๒๓ ๒๓.๕๐
๑๐๖ ๔๗.๕๓
๑๑๗ ๕๒.๔๗
รวม เขตตรวจ สมุทรปราการ ราชการที่ ๓ ฉะเชิงเทรา
๒๘๐ ๑.๑๖
๑๙๑ ๖๘.๒๑
๘๙ ๓๑.๗๙
๒๖ ๒๙.๒๑
๖๓ ๗๐.๗๙
สระแก้ว
๑๘๑ ๐.๗๕
๙๖ ๕๓.๐๔
๘๕ ๔๖.๙๖
๓๕ ๔๑.๑๘
๕๐ ๕๘.๘๒
ปราจีนบุรี
๑๗๗ ๐.๗๓
๑๐๔ ๕๘.๗๖
๗๓ ๔๑.๒๔
๓๙ ๕๓.๔๒
๓๔ ๔๖.๕๘
นครนายก
๑๑๑ ๐.๔๖
๖๘ ๖๑.๒๖
๔๓ ๓๘.๗๔
๒๒ ๕๑.๑๖
๒๑ ๔๘.๘๔
รวม เขตตรวจ นครปฐม ราชการที่ ๔ ราชบุรี
๑,๖๙๘ ๗.๐๔ ๑,๑๘๕ ๖๙.๗๙
๕๑๓ ๓๐.๒๑ ๒๒๘ ๔๔.๔๔ ๒๘๕ ๕๕.๕๖
๔๑๐ ๑.๗๐
๓๐๖ ๗๔.๖๓
๑๐๔ ๒๕.๓๗
๒๘ ๒๖.๙๒
๗๖ ๗๓.๐๘
๓๖๔ ๑.๕๑
๒๒๑ ๖๐.๗๑
๑๔๓ ๓๙.๒๙
๓๑ ๒๑.๖๘
๑๑๒ ๗๘.๓๒
กาญจนบุรี
๓๔๗ ๑.๔๔ ๒๓๗ ๖๘.๓๐
๑๑๐ ๓๑.๗๐
๔๖ ๔๑.๘๒
๖๔ ๕๘.๑๘
สุพรรณบุรี
๓๐๘ ๑.๒๘
๙๘ ๓๑.๘๒
๓๒ ๓๒.๖๕
๖๖ ๖๗.๓๕
๔๕๕ ๓๑.๘๔ ๑๓๗ ๓๐.๑๑
๓๑๘ ๖๙.๘๙
รวม
86
วัตถุประสงค์ของการประสานงาน เพื่อทราบ เพื่อพิจารณา จำนวน ดำเนินการ รอผลการ รวม ร้อยละ จนได้ข้อยุติ พิจารณา จำนวน จำนวน (เรื่อง) ร้อยละ ร้อยละ (เรื่อง) (เรื่อง) จำนวน จำนวน ร้อยละ ร้อยละ (เรื่อง) (เรื่อง)
๒๑๐ ๖๘.๑๘
๑,๔๒๙ ๕.๙๒ ๙๗๔ ๖๘.๑๖
เขตตรวจ ราชการ
จังหวัด
เขตตรวจ สมุทรสาคร ราชการที่ ๕ ประจวบคีรีขันธ์
วัตถุประสงค์ของการประสานงาน เพื่อทราบ เพื่อพิจารณา จำนวน ดำเนินการ รอผลการ รวม ร้อยละ จนได้ข้อยุติ พิจารณา จำนวน จำนวน (เรื่อง) ร้อยละ ร้อยละ (เรื่อง) (เรื่อง) จำนวน จำนวน ร้อยละ ร้อยละ (เรื่อง) (เรื่อง) ๓๘๙ ๑.๖๑ ๒๘๔ ๗๓.๐๑
๑๐๕ ๒๖.๙๙
๖๔ ๖๐.๙๕
๔๑ ๓๙.๐๕
๒๐๕ ๐.๘๕
๑๔๕ ๗๐.๗๓
๖๐ ๒๙.๒๗
๑๔ ๒๓.๓๓
๔๖ ๗๖.๖๗
๑๗๗ ๐.๗๓
๑๓๐ ๗๓.๔๕
๔๗ ๒๖.๕๕
๒๖ ๕๕.๓๒
๒๑ ๔๔.๖๘
๘๓ ๐.๓๔
๕๖ ๖๗.๔๗
๒๗ ๓๒.๕๓
๑๑ ๔๐.๗๔
๑๖ ๕๙.๒๖
๘๕๔ ๓.๕๔
๖๑๕ ๗๒.๐๑
๒๓๙ ๒๗.๙๙
๑๑๕ ๔๘.๑๒
๑๒๔ ๕๑.๘๘
๕๔๓ ๒.๒๕
๓๕๖ ๖๕.๕๖
๑๘๗ ๓๔.๔๔
๔๘ ๒๕.๖๗
๑๓๙ ๗๔.๓๓
๔๓๑ ๑.๗๙
๒๘๐ ๖๔.๙๗
๑๕๑ ๓๕.๐๓
๘๒ ๕๔.๓๐
๖๙ ๔๕.๗๐
ชุมพร
๑๘๑ ๐.๗๕
๑๐๗ ๕๙.๑๒
๗๔ ๔๐.๘๘
๔๓ ๕๘.๑๑
๓๑ ๔๑.๘๙
พัทลุง
๑๓๖ ๐.๕๖
๗๕ ๕๕.๑๕
๖๑ ๔๔.๘๕
๓๐ ๔๙.๑๘
๓๑ ๕๐.๘๒
เพชรบุรี สมุทรสงคราม รวม เขตตรวจ นครศรีธรรมราช ราชการที่ ๖ สุราษฎร์ธานี
รวม เขตตรวจ ภูเก็ต ราชการที่ ๗ กระบี่
๑,๒๙๑ ๕.๓๕
๘๑๘ ๖๓.๓๖ ๔๗๓ ๓๖.๖๔
๒๐๓ ๔๒.๙๒ ๒๗๐ ๕๗.๐๘
๒๑๗ ๐.๙๐
๑๖๖ ๗๖.๕๐
๕๑ ๒๓.๕๐
๑๗ ๓๓.๓๓
๓๔ ๖๖.๖๗
๑๙๗ ๐.๘๒
๑๓๒ ๖๗.๐๑
๖๕ ๓๒.๙๙
๑๔ ๒๑.๕๔
๕๑ ๗๘.๔๖
ตรัง
๑๔๒ ๐.๕๙
๘๙ ๖๒.๖๘
๕๓ ๓๗.๓๒
๓๒ ๖๐.๓๘
๒๑ ๓๙.๖๒
พังงา
๑๑๐ ๐.๔๖
๗๖ ๖๙.๐๙
๓๔ ๓๐.๙๑
๒๐ ๕๘.๘๒
๑๔ ๔๑.๑๘
ระนอง
๑๐๐ ๐.๔๑
๖๒ ๖๒.๐๐
๓๘ ๓๘.๐๐
๒๑ ๕๕.๒๖
๑๗ ๔๔.๗๔
๗๖๖ ๓.๑๗ ๕๒๕ ๖๘.๕๔
๒๔๑ ๓๑.๔๖
๑๐๔ ๔๓.๑๕ ๑๓๗ ๕๖.๘๕
๕๑๐ ๒.๑๑ ๓๕๘ ๗๐.๒๐
๑๕๒ ๒๙.๘๐
๑๐๔ ๖๘.๔๒
๔๘ ๓๑.๕๘
รวม เขตตรวจ สงขลา ราชการที่ ๘ นราธิวาส
๑๖๕ ๐.๖๘
๖๘ ๔๑.๒๑
๙๗ ๕๘.๗๙
๑๖ ๑๖.๔๙
๘๑ ๘๓.๕๑
๑๑๓ ๐.๔๗
๕๔ ๔๗.๗๙
๕๙ ๕๒.๒๑
๑๔ ๒๓.๗๓
๔๕ ๗๖.๒๗
ปัตตานี
๙๔ ๐.๓๙
๔๓ ๔๕.๗๔
๕๑ ๕๔.๒๖
๒๙ ๕๖.๘๖
๒๒ ๔๓.๑๔
สตูล
๘๓ ๐.๓๔
๕๓ ๖๓.๘๖
๓๐ ๓๖.๑๔
๑๓ ๔๓.๓๓
๑๗ ๕๖.๖๗
๙๖๕ ๔.๐๐ ๕๗๖ ๕๙.๖๙
๓๘๙ ๔๐.๓๑
๑๗๖ ๔๕.๒๔
๒๑๓ ๕๔.๗๖
๖๔๒ ๒.๖๖ ๔๘๓ ๗๕.๒๓
๑๕๙ ๒๔.๗๗
๕๗ ๓๕.๘๕
๑๐๒ ๖๔.๑๕
ยะลา
รวม เขตตรวจ ชลบุรี ราชการที่ ๙ ระยอง
๒๗๗ ๑.๑๕
๒๐๖ ๗๔.๓๗
๗๑ ๒๕.๖๓
๑๘ ๒๕.๓๕
๕๓ ๗๔.๖๕
จันทบุรี
๑๒๕ ๐.๕๒
๗๐ ๕๖.๐๐
๕๕ ๔๔.๐๐
๓๓ ๖๐.๐๐
๒๒ ๔๐.๐๐
ตราด
๖๑ ๐.๒๕
๓๓ ๕๔.๑๐
๒๘ ๔๕.๙๐
๙ ๓๒.๑๔
๑๙ ๖๗.๘๖
๑,๑๐๕ ๔.๕๘ ๗๙๒ ๗๑.๖๗
๓๑๓ ๒๘.๓๓
๑๑๗ ๓๗.๓๘
๑๙๖ ๖๒.๖๒
รวม
87
ส่วนที่ ๔ - สถิติเรื่องร้องเรียนของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒
เขตตรวจ ราชการ
จังหวัด
เขตตรวจ อุดรธานี ราชการที่ ๑๐ หนองคาย เลย หนองบัวลำภู รวม
๓๐๕ ๑.๒๖
๑๙๐ ๖๒.๓๐
๑๑๕ ๓๗.๗๐
๓๔ ๒๙.๕๗
๘๑ ๗๐.๔๓
๒๐๑ ๐.๘๓
๑๒๙ ๖๔.๑๘
๗๒ ๓๕.๘๒
๑๐ ๑๓.๘๙
๖๒ ๘๖.๑๑
๑๕๗ ๐.๖๕
๙๙ ๖๓.๐๖
๕๘ ๓๖.๙๔
๓๑ ๕๓.๔๕
๒๗ ๔๖.๕๕
๘๓ ๐.๓๔
๔๔ ๕๓.๐๑
๓๙ ๔๖.๙๙
๙ ๒๓.๐๘
๓๐ ๗๖.๙๒
๗๔๖ ๓.๐๙
๔๖๒ ๖๑.๙๓
๒๘๔ ๓๘.๐๗
๘๔ ๒๙.๕๘
๒๐๐ ๗๐.๔๒
เขตตรวจ สกลนคร ราชการที่ ๑๑ นครพนม
๑๖๓ ๐.๖๘
๙๐ ๕๕.๒๑
๗๓ ๔๔.๗๙
๓๘ ๕๒.๐๕
๓๕ ๔๗.๙๕
๑๐๕ ๐.๔๔
๔๔ ๔๑.๙๐
๖๑ ๕๘.๑๐
๑๔ ๒๒.๙๕
๔๗ ๗๗.๐๕
มุกดาหาร
๖๒ ๐.๒๖
๒๘ ๔๕.๑๖
๓๔ ๕๔.๘๔
๑๔ ๔๑.๑๘
๒๐ ๕๘.๘๒
รวม
๓๓๐ ๑.๓๗
๑๖๒ ๔๙.๐๙
๑๖๘ ๕๐.๙๑
๖๖ ๓๙.๒๙
๑๐๒ ๖๐.๗๑
๔๖๖ ๑.๙๓
๒๘๐ ๖๐.๐๙
๑๘๖ ๓๙.๙๑
๕๘ ๓๑.๑๘
๑๒๘ ๖๘.๘๒
๒๔๓ ๑.๐๑
๙๙ ๔๐.๗๔
๑๔๔ ๕๙.๒๖
๓๗ ๒๕.๖๙
๑๐๗ ๗๔.๓๑
มหาสารคาม
๑๘๘ ๐.๗๘
๑๐๖ ๕๖.๓๘
๘๒ ๔๓.๖๒
๔๑ ๕๐.๐๐
๔๑ ๕๐.๐๐
กาฬสินธุ์
๑๕๑ ๐.๖๓
๗๕ ๔๙.๖๗
๗๖ ๕๐.๓๓
๒๘ ๓๖.๘๔
๔๘ ๖๓.๑๖
๑,๐๔๘ ๔.๓๔
๕๖๐ ๕๓.๔๔
๔๘๘ ๔๖.๕๖
๓๒๓ ๑.๓๔
๑๖๒ ๕๐.๑๕
๑๖๑ ๔๙.๘๕
๓๕ ๒๑.๗๔
๑๒๖ ๗๘.๒๖
๒๕๕ ๑.๐๖
๑๒๙ ๕๐.๕๙
๑๒๖ ๔๙.๔๑
๓๑ ๒๔.๖๐
๙๕ ๗๕.๔๐
ยโสธร
๙๖ ๐.๔๐
๔๖ ๔๗.๙๒
๕๐ ๕๒.๐๘
๒๕ ๕๐.๐๐
๒๕ ๕๐.๐๐
อำนาจเจริญ
๙๒ ๐.๓๘
๕๓ ๕๗.๖๑
๓๙ ๔๒.๓๙
๗ ๑๗.๙๕
๓๒ ๘๒.๐๕
๗๖๖ ๓.๑๗
๓๙๐ ๕๐.๙๑
๓๗๖ ๔๙.๐๙
๙๘ ๒๖.๐๖ ๒๗๘ ๗๓.๙๔
๖๗๘ ๒.๘๑ ๔๓๓ ๖๓.๘๖
๒๔๕ ๓๖.๑๔
๖๔ ๒๖.๑๒
๑๘๑ ๗๓.๘๘
๓๒๔ ๑.๓๔
๑๕๙ ๔๙.๐๗
๑๖๕ ๕๐.๙๓
๗๕ ๔๕.๔๕
๙๐ ๕๔.๕๕
บุรีรัมย์
๒๗๓ ๑.๑๓
๑๔๐ ๕๑.๒๘
๑๓๓ ๔๘.๗๒
๒๐ ๑๕.๐๔
๑๑๓ ๘๔.๙๖
ชัยภูมิ
๒๒๙ ๐.๙๕
๑๒๘ ๕๕.๙๐
๑๐๑ ๔๔.๑๐
๑๙ ๑๘.๘๑
๘๒ ๘๑.๑๙
๑,๕๐๔ ๖.๒๓
๘๖๐ ๕๗.๑๘
๖๔๔ ๔๒.๘๒ ๑๗๘ ๒๗.๖๔
๔๖๖ ๗๒.๓๖
๑๙๗ ๔๐.๐๔
๙๗ ๔๙.๒๔
๑๐๐ ๕๐.๗๖
เขตตรวจ ขอนแก่น ราชการที่ ๑๒ ร้อยเอ็ด
รวม เขตตรวจ อุบลราชธานี ราชการที่ ๑๓ ศรีสะเกษ
รวม เขตตรวจ นครราชสีมา ราชการที่ ๑๔ สุรินทร์
รวม เขตตรวจ เชียงใหม่ ราชการที่ ๑๕ ลำปาง
๔๙๒ ๒.๐๔ ๒๙๕ ๕๙.๙๖
๑๖๔ ๓๓.๖๑ ๓๒๔ ๖๖.๓๙
๑๘๒ ๐.๗๕
๑๑๙ ๖๕.๓๘
๖๓ ๓๔.๖๒
๒๑ ๓๓.๓๓
๔๒ ๖๖.๖๗
๑๑๕ ๐.๔๘
๕๖ ๔๘.๗๐
๕๙ ๕๑.๓๐
๓๗ ๖๒.๗๑
๒๒ ๓๗.๒๙
แม่ฮ่องสอน
๕๙ ๐.๒๔
๓๔ ๕๗.๖๓
๒๕ ๔๒.๓๗
๑๗ ๖๘.๐๐
๘ ๓๒.๐๐
รวม
๘๔๘ ๓.๕๑
๕๐๔ ๕๙.๔๓
ลำพูน
88
วัตถุประสงค์ของการประสานงาน เพื่อทราบ เพื่อพิจารณา จำนวน ดำเนินการ รอผลการ รวม ร้อยละ จนได้ข้อยุติ พิจารณา จำนวน จำนวน (เรื่อง) ร้อยละ ร้อยละ (เรื่อง) (เรื่อง) จำนวน จำนวน ร้อยละ ร้อยละ (เรื่อง) (เรื่อง)
๓๔๔ ๔๐.๕๗ ๑๗๒ ๕๐.๐๐ ๑๗๒ ๕๐.๐๐
เขตตรวจ ราชการ
จังหวัด
เขตตรวจ เชียงราย ราชการที่ ๑๖ พะเยา
วัตถุประสงค์ของการประสานงาน เพื่อทราบ เพื่อพิจารณา จำนวน ดำเนินการ รอผลการ รวม ร้อยละ จนได้ข้อยุติ พิจารณา จำนวน จำนวน (เรื่อง) ร้อยละ ร้อยละ (เรื่อง) (เรื่อง) จำนวน จำนวน ร้อยละ ร้อยละ (เรื่อง) (เรื่อง) ๒๖๔ ๑.๐๙
๑๕๕ ๕๘.๗๑
๑๐๙ ๔๑.๒๙
๓๒ ๒๙.๓๖
๗๗ ๗๐.๖๔
๑๑๓ ๐.๔๗
๕๓ ๔๖.๙๐
๖๐ ๕๓.๑๐
๓๒ ๕๓.๓๓
๒๘ ๔๖.๖๗
แพร่
๙๙ ๐.๔๑
๔๖ ๔๖.๔๖
๕๓ ๕๓.๕๔
๑๕ ๒๘.๓๐
๓๘ ๗๑.๗๐
น่าน
๖๘ ๐.๒๘
๓๗ ๕๔.๔๑
๓๑ ๔๕.๕๙
๑๐ ๓๒.๒๖
๒๑ ๖๗.๗๔
รวม
๕๔๔ ๒.๒๕
๒๙๑ ๕๓.๔๙
๒๕๓ ๔๖.๕๑
๘๙ ๓๕.๑๘
๑๖๔ ๖๔.๘๒
เขตตรวจ พิษณุโลก ราชการที่ ๑๗ เพชรบูรณ์
๔๐๔ ๑.๖๗
๑๘๘ ๔๖.๕๓
๒๑๖ ๕๓.๔๗
๘๓ ๓๘.๔๓
๑๓๓ ๖๑.๕๗
๒๗๕ ๑.๑๔
๑๔๙ ๕๔.๑๘
๑๒๖ ๔๕.๘๒
๕๒ ๔๑.๒๗
๗๔ ๕๘.๗๓
ตาก
๑๔๐ ๐.๕๘
๙๕ ๖๗.๘๖
๔๕ ๓๒.๑๔
๘ ๑๗.๗๘
๓๗ ๘๒.๒๒
สุโขทัย
๑๒๕ ๐.๕๒
๖๙ ๕๕.๒๐
๕๖ ๔๔.๘๐
๒๔ ๔๒.๘๖
๓๒ ๕๗.๑๔
อุตรดิตถ์
๑๒๕ ๐.๕๒
๘๐ ๖๔.๐๐
๔๕ ๓๖.๐๐
๒๖ ๕๗.๗๘
๑๙ ๔๒.๒๒
๑,๐๖๙ ๔.๔๓
๕๘๑ ๕๔.๓๕
๔๘๘ ๔๕.๖๕
๔๙๒ ๒.๐๔
๓๑๖ ๖๔.๒๓
๑๗๖ ๓๕.๗๗
๕๗ ๓๒.๓๙
๑๑๙ ๖๗.๖๑
๒๔๑ ๑.๐๐
๑๖๔ ๖๘.๐๕
๗๗ ๓๑.๙๕
๑๘ ๒๓.๓๘
๕๙ ๗๖.๖๒
พิจิตร
๒๒๒ ๐.๙๒
๑๔๐ ๖๓.๐๖
๘๒ ๓๖.๙๔
๒๘ ๓๔.๑๕
๕๔ ๖๕.๘๕
อุทัยธานี
๑๒๑ ๐.๕๐
๗๑ ๕๘.๖๘
๕๐ ๔๑.๓๒
๑๙ ๓๘.๐๐
๓๑ ๖๒.๐๐
๑,๐๗๖ ๔.๔๖
๖๙๑ ๖๔.๒๒
๓๘๕ ๓๕.๗๘
๑๒๒ ๓๑.๖๙
๒๖๓ ๖๘.๓๑
เขตตรวจ กรุงเทพมหานคร ๕,๒๖๕ ๒๑.๘๑ ๔,๐๘๔ ๗๗.๕๗ ๑,๑๘๑ ๒๒.๔๓ ราชการ ส่วนกลาง
๔๖๕ ๓๙.๓๗
๗๑๖ ๖๐.๖๓
รวม เขตตรวจ นครสวรรค์ ราชการที่ ๑๘ กำแพงเพชร
รวม
รวมทั้งสิ้น
๑๙๓ ๓๙.๕๕ ๒๙๕ ๖๐.๔๕
๒๔,๑๓๖ ๑๐๐.๐๐ ๑๖,๐๖๗ ๖๖.๕๗ ๘,๐๖๙ ๓๓.๔๓ ๓,๑๔๕ ๓๘.๙๘ ๔,๙๒๔ ๖๑.๐๒
จากตารางแสดงจำนวนเรื่องราวร้องทุกข์ข้างต้นพบว่า ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ จังหวัดในความรับผิดชอบของเขตตรวจราชการที่ได้รับการประสานงานเรื่องราวร้องทุกข์ ให้ แ ก่ ป ระชาชนมี จ ำนวนรวมทั้ ง สิ้ น ๒๔,๑๓๖ เรื่ อ ง โดยเขตตรวจราชการที่ ไ ด้ รั บ การประสานงานเพื่ อ รั บ ทราบและพิ จ ารณาดำเนิ น การแก้ ไ ขปั ญ หาเรื่ อ งราวร้ อ งทุ ก ข์
ให้ แ ก่ ป ระชาชนมี จ ำนวนเรื่ อ งราวร้ อ งทุ ก ข์ ม ากที่ สุ ด ได้ แ ก่ เขตตรวจราชการส่ ว นกลาง รองลงมา คือ เขตตรวจราชการที่ ๑ และเขตตรวจราชการที่ ๓ ตามลำดับ ในการนี้ จังหวัดที่มีจำนวนเรื่องราวร้องทุกข์มากที่สุดได้แก่ กรุงเทพมหานคร รองลงมา คือ จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ ตามลำดับ
89
ส่วนที่ ๔ - สถิติเรื่องร้องเรียนของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒
มติคณะรัฐมนตรีและนโยบายนายกรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง • มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒ “เห็นชอบให้ภารกิจด้านการดำเนิ น การเรื่ อ งร้ อ งเรี ย นจากประชาชนให้ ไ ด้ ข้อยุติ เป็นตัวชี้วัดในคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณของทุกกระทรวงและทุกจังหวัด ในปีงบประมาณ พ .ศ. ๒๕๕๓ เป็นต้นไป” หลักการในการยุติเรื่อง การดำเนินการที่ถือเป็น “ข้อยุติ” ควรพิจารณาถึงการที่ข้อร้องเรียนจากประชาชน ดังกล่าว ได้รับการช่วยเหลือ ดูแล แก้ไขตามข้อเท็จจริงของสภาพปัญหาจากหน่วยงาน/ เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องแล้ว ดังนี้ ๑. เรือ่ งทีด่ ำเนินการแล้วได้ตามความประสงค์ของผูร้ อ้ งทัง้ หมด และได้แจ้งให้ผรู้ อ้ งทราบ เรื่องที่ดำเนินการแล้ว ได้ตามความประสงค์ของผู้ร้องบางส่วน (หน่วยงานเจ้าของเรื่อง ดำเนินการตามขอบเขตเต็มที่แล้ว) หรือได้บรรเทา เยียวยาปัญหาความเดือดร้อนของผู้ร้อง ตามความเหมาะสม และได้แจ้งให้ผู้ร้องทราบ ๒. เรือ่ งทีด่ ำเนินการแล้ว แต่ไม่ได้ตามความประสงค์ของผูร้ อ้ ง (เช่น พ้นวิสยั ดำเนินการ) และได้ชี้แจงทำความเข้าใจกับผู้ร้อง ๓. เรื่องที่ส่งต่อให้หน่วยงานอื่นเพื่อทราบ และได้แจ้งให้ผู้ร้องทราบหน่วยงานที่รับเรื่อง ดูแลต่อ ๔. เรื่องร้องเรียนที่ระงับการพิจารณา หรือรวมเรื่อง เช่น บัตรสนเท่ห์ เรื่องที่อยู่ใน กระบวนการทางศาล เรื่ อ งร้ อ งทุ ก ข์ ก ล่ า วโทษแต่ ไ ม่ มี ห ลั ก ฐาน และได้ แ จ้ ง ให้ ผู้ ร้ อ งทราบ ตามควรแก่กรณี ๕. เรือ่ งเสนอข้อคิดเห็นทีพ ่ น้ วิสยั ดำเนินการหรือเป็นกรณีทหี่ น่วยงานได้ดำเนินการอยูแ่ ล้ว ๖. กรณีที่เป็นการเสนอข้อคิดเห็นที่มีผลต่อส่วนรวม ให้หน่วยงานประมวลข้อมูลและ เสนอข้อคิดเห็นเชิงนโยบายต่อผู้บริหาร
90
• มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๒ รับทราบสรุปผลการดำเนิ น การเรื่ อ งร อ งเรี ย นจากประชาชนในช ว งไตรมาสที่ ๒ ของปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ และมอบหมายใหทุกกระทรวงติดตามผลการดำเนินการ เรื่องรองเรียนที่อยูในความรับผิดชอบอยางตอเนื่อง มอบหมายให ส ว นราชการที่ มี อ ำนาจหน า ที่ ใ นการดำเนิ น การแก ไ ขป ญ หา เรื่องรองเรียนทีม่ ผี ลกระทบตอสวนรวม กำหนดแนวทางดำเนินการใหประชาชนเขามามีสว นรวม ตามความเหมาะสมในการแกไขปญหาอยางเปนรูปธรรมตอไป มอบหมายใหหนวยงานทีม่ รี อ ยละของเรือ่ งทีย่ ตุ ติ ำ่ เรงรัดการดำเนินการเรือ่ งรองเรียน ใหมีผลเปนที่ยุติมากขึ้น • มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๒ รับทราบสรุปผลการดำเนิ น การเรื่ อ งร อ งเรี ย นจากประชาชนในช ว งไตรมาสที่ ๓ ของปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ และมอบหมายใหทุกกระทรวงติดตามผลการดำเนินการ เรื่องรองเรียนที่อยูในความรับผิดชอบอยางตอเนื่อง มอบหมายใหหนวยงานทีม่ รี อ ยละของเรือ่ งทีย่ ตุ ติ ำ่ เรงรัดการดำเนินการเรือ่ งรองเรียน ใหมีผลเปนที่ยุติมากขึ้น • นโยบายนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๕๒ นายกรัฐมนตรีไดสั่งการใหจังหวัด / หนวยงานที่มีรอยละของเรื่องยุติต่ำเรงรัดดวย”
“พวกเราขอสัญญาวา
จะอยูเคียงขางประชาชน รับใชประชาชน เพื่อความสุขของประชาชน”
๙๑
๙๒
ประมวลภาพกิจกรรมในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒
ประมวลภาพบรรยากาศการทำงาน
๙๓
๙๔
ประมวลภาพกิจกรรมในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒
ประมวลภาพการลงนามการปฏิบัติราชการ