ISBN
: ๙๗๘-๖๑๖-๗๑๔๕-๖๑-๗
จ�ำนวนพิมพ์ : ๑,๐๐๐ เล่ม จ�ำนวนหน้า : ๒๐๖ หน้า พิมพ์ครั้งที่ : ๑ จัดพิมพ์โดย : ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ส�ำนักงาน ก.พ.ร.) ๕๙/๑ ถนนพิษณุโลก แขวงจิตรลดา เขตดุสติ กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๓๕๖-๙๙๙๙ www.opdc.go.th พิมพ์ที่
: ส�ำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา สี่แยกซังฮี ้ ถนนสามเสน เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๒๔๓-๐๖๑๑ โทรสาร ๐-๒๒๔๓-๐๖๑๖
ลิขสิทธิ์โดย : ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ส�ำนักงาน ก.พ.ร.)
คำ�นำ� ระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้กำ� หนด ให้มคี ณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.) เพือ่ ท�ำหน้าที่ในการก�ำหนดนโยบาย แนวทาง และประเด็นหัวข้อในการตรวจสอบและประเมินผลในภาคราชการ และตามระเบียบดังกล่าว ค.ต.ป. ได้ก�ำหนด กลไกการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ซึง่ ประกอบด้วยคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำ กระทรวง จ�ำนวน ๒๐ คณะ คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (อ.ค.ต.ป.) เกี่ยวกับการ ก�ำหนดแนวทาง วิธีการ การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ๑ คณะ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง ๔ คณะ และ อ.ค.ต.ป. กลุม่ จังหวัด ๕ คณะ ทัง้ นีเ้ พือ่ ท�ำหน้าที่ในการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการตามแนวทางที่ ค.ต.ป. ก�ำหนด ด้วยเจตนารมณ์ที่ต้องการเสริมสร้างความเข้มแข็งของการก�ำกับดูแลและควบคุมตนเองที่ดี ของส่วนราชการ นอกจากนี้ ค.ต.ป. ยังได้แต่งตั้ง อ.ค.ต.ป. เฉพาะกิจ เกี่ยวกับการก�ำหนดแนวทาง วิธีการ การบูรณาการระบบการตรวจสอบและประเมินผลของหน่วยงานกลางที่อยู่ในก�ำกับของราชการฝ่ายบริหาร เพื่อท�ำหน้าที่ศึกษา วิเคราะห์ แนวทางการบูรณาการระบบการตรวจสอบและประเมินผลของหน่วยงานกลาง ที่อยู่ในก�ำกับของราชการฝ่ายบริหารด้วย ส�ำหรับการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ นี้ เป็นการจัดท�ำ รายงานสรุปผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการทัง้ ในรอบ ๖ เดือน และ ๑๒ เดือน ซึง่ ค.ต.ป. ได้กำ� หนด ประเด็นการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการเป็น ๒ ประเด็น เหมือนเช่นปีที่ผ่านมา คือ การสอบทาน กรณีปกติ ซึ่งครอบคลุมเรื่อง การตรวจราชการ การตรวจสอบภายใน การควบคุมภายในและการบริหาร ความเสี่ยง การปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการ รายงานการเงิน และการสอบทานกรณีพิเศษ ดังนัน้ เพือ่ ให้การด�ำเนินงานของภาครัฐได้รบั การตรวจสอบ และเป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้เกิดการก�ำกับ ดูแลและควบคุมตนเองที่ดีของส่วนราชการ ค.ต.ป. จึงได้มีข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงการด�ำเนินงาน ของส่วนราชการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะท�ำให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการบริหารงานราชการแผ่นดิน ต่อไป ค.ต.ป. หวังเป็นอย่างยิง่ ว่ารายงานฉบับนีจ้ ะเป็นประโยชน์ให้กบั ส่วนราชการในการมีระบบ การก�ำกับ ดูแลตนเองที่ดี และความส�ำเร็จที่ได้ในครั้งนี้เป็นผลมาจากความร่วมมือของหลายฝ่ายทั้งจากคณะกรรมการ ตรวจสอบและประเมินผลคณะต่ าง ๆ ในฐานะผู้สอบทาน ตลอดจนทีมงานสนับสนุนของฝ่ายเลขานุการ และการสนับสนุนข้อมูลการตรวจสอบของส่วนราชการและจังหวัด ค.ต.ป. จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้
คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พฤษภาคม ๒๕๕๕
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | iii
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ |
v
vi | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | vii
viii | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | ix
x
| คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | xi
xii | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | xiii
บทสรุปผู้บริหาร
บทสรุปผู้บริหาร คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.) มีเจตนารมณ์ ในการด�ำเนินงาน ที่ส�ำคัญเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งในการก�ำกับดูแลและควบคุมตนเองที่ดีของส่วนราชการ โดยกระบวนการ ในการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการจะสร้างความมั่นใจให้แก่สาธารณชนถึงผลการด�ำเนินงานของ ส่วนราชการทีเ่ ป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ค.ต.ป. ยังคงด�ำเนินงาน ภายใต้กรอบแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ซึง่ ก�ำหนดประเด็นการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการเป็น ๒ ประเด็น คือ การสอบทานกรณีปกติ ซึง่ ครอบคลุมเรือ่ งการตรวจราชการ การตรวจสอบภายใน (ทัง้ นี้ให้รวมถึงการสอบทานการปฏิบตั งิ านของหน่วยตรวจสอบภายในในการติดตามและตรวจสอบการประเมิน มาตรฐานการจัดซื้อโดยรัฐ) การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง การปฏิบัติราชการตามค�ำรับรอง การปฏิบัติราชการ รายงานการเงิน และการสอบทานกรณีพิเศษ ซึ่งเป็นโครงการส�ำคัญตามนโยบายรัฐบาล หรือโครงการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์กระทรวง ผลการสอบทานตามประเด็นการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการที่ก�ำหนด พบว่า จากรายงาน ข้อค้นพบของส่วนราชการและจังหวัดตามประเด็นการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการที่ก�ำหนดดังกล่าว ในภาพรวมพบว่า ส่วนราชการและจังหวัดมีการพัฒนาการด�ำเนินงานในประเด็นที่ได้สอบทานทั้ง ๕ ด้าน ดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง ดังนี้ การตรวจราชการ ส่วนราชการและจังหวัดได้ปฏิบัติตามระเบียบระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนด มีข้อค้นพบ และข้อเสนอแนะ ที่เป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินงานในระยะต่อไป โดยพบว่ากระทรวงการคลังได้มีการน�ำความคิดเห็นของ ภาคประชาชนประกอบการพิจารณาในการตรวจราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้น�ำประโยชน์จากข้อเสนอแนะมาสร้างการมีส่วนร่วมของ เครือข่ายในการท�ำงาน และกระทรวงวัฒนธรรมมีการจัดท�ำเครื่องมือในการประเมินผลโครงการตามแผนการ ตรวจราชการเพื่อน�ำไปปรับปรุงและพัฒนาโครงการต่อไป การตรวจสอบภายใน หน่วยตรวจสอบภายในของส่วนราชการและจังหวัดส่วนใหญ่มกี ารวิเคราะห์ความเสีย่ ง เพื่อใช้ในการวางแผนและรายงานผล พร้อมทั้งรวมทั้งติดตามผลการด�ำเนินงานตามข้อเสนอแนะมากขึ้น การควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ ง มีการจัดท�ำแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในครบถ้วน ตามภารกิจต่าง ๆ มากขึน้ พร้อมทัง้ ให้ความส�ำคัญกับการรายงานให้ผบู้ ริหารทราบเพือ่ การปรับปรุงการบริหาร ของหน่วยงาน การปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการ ส่วนราชการและจังหวัดส่วนใหญ่สามารถปฏิบัติ ตามข้อตกลงในค�ำรับรองการปฏิบัติราชการได้เป็นอย่างดี เนื่องจากมีการจัดท�ำค�ำรับรองการปฏิบัติราชการ อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้พบว่ากระทรวงการคลัง กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม และกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สามารถรายงานผลการด�ำเนินงาน ได้สอดคล้องกับนิยามและวัตถุประสงค์ของตัวชี้วัดมีความครบถ้วนสมบูรณ์เป็นปัจจุบัน รายงานการเงิน การจัดท�ำรายงานการเงินของส่วนราชการและจังหวัดตามระบบการบริหารการเงิน การคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) มีความถูกต้อง ครบถ้วนมากขึ้น และสามารถแก้ไขปัญหา ในปีที่ผ่านมาได้ในระดับหนึ่ง โดยรายงานการเงินของกระทรวงสาธารณสุขมีการวิเคราะห์สถานการณ์การเงิน ซึ่งท�ำให้ผู้บริหารใช้เป็นข้อมูลส�ำคัญในการบริหารการเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ พบว่ากระทรวง การคลังและกระทรวงศึกษาธิการมีผลการเบิกจ่ายในภาพรวมสูงกว่าเป้าหมายที่คณะรัฐมนตรีก�ำหนด รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | xvii
การสอบทานกรณีพิเศษ พบว่าการด�ำเนินงานในหลายโครงการสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ ส่วนราชการและจังหวัดในการด�ำเนินโครงการอื่น ๆ ได้ เช่น โครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษไทย - กัมพูชา มีการ จัดสร้างซุ้มประตูเมืองพรมแดนคลองลึก - ปอยเปต ด่านตรวจคนเข้าเมืองอรัญประเทศ ซึ่งเป็นซุ้มประตูเมือง แห่งแรกในตลาดการค้าชายแดนในประเทศไทยเพือ่ ให้เป็นเอกลักษณ์ของประเทศไทย และโครงการตามนโยบาย พลังงานและพลังงานทดแทนทีจ่ งั หวัดสระบุรี และจังหวัดตรังทีเ่ ป็นแบบอย่างทีด่ ีในเรือ่ งการใช้พลังงานทดแทน เพื่อลดค่าใช้จ่ายและลดภาวะโลกร้อน อย่างไรก็ดี ยังมีข้อค้นพบที่ส�ำคัญที่สมควรมีการปรับปรุงแก้ไข ดังนี้ การตรวจราชการ พบว่าหน่วยรับตรวจไม่นำ� ข้อเสนอแนะของผูต้ รวจราชการไปปฏิบตั เิ ท่าทีค่ วร รวมทัง้ โครงการในแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการยังไม่สะท้อนผลสัมฤทธิข์ องประเด็นนโยบายส�ำคัญของจังหวัด นอกจากนี้พบว่าในบางส่วนราชการให้ความส�ำคัญในการเร่งรัดติดตามและรายงานผลการด�ำเนินงานของ หน่วยรับตรวจตามข้อเสนอแนะของผูต้ รวจราชการตามรายงานการตรวจราชการไม่มากเท่าทีค่ วร เช่น กระทรวง มหาดไทย เป็นต้น การตรวจสอบภายใน พบว่ายังคงมีปัญหาด้านอัตราก�ำลังของผู้ตรวจสอบภายในโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในระดับจังหวัดที่ยังมีข้อจ�ำกัดในด้านทักษะ ความรู้ ความเข้าใจต่อการปฏิบัติงาน การควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง พบว่า ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานยังไม่ตระหนักถึงประโยชน์ ของระบบการควบคุมภายในเท่าที่ควร และมีการวางระบบควบคุมภายในตามระเบียบแต่การน�ำมาปฏิบัติ ยังไม่ได้รับการตอบสนองให้เป็นไปตามเป้าหมาย การปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการ พบว่าการรายงานข้อมูลยังไม่สมบูรณ์ ครบถ้วน เช่นบางตัวชีว้ ดั ไม่รายงานปัญหา/อุปสรรคต่าง ๆ รวมถึงข้อเสนอแนะเพือ่ การปรับปรุงงานในปีตอ่ ไป ในกระทรวง อุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงคมนาคม รวมทั้งส่วนราชการโดยเฉพาะ อย่างยิ่งจังหวัดยังมีข้อจ�ำกัดในการจัดเก็บและจัดท�ำระบบฐานข้อมูลเพื่อการด�ำเนินงานตามตัวชี้วัด รายงานการเงิน พบว่าเจ้าหน้าทีย่ งั มีขอ้ จ�ำกัดในความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับการจัดท�ำรายงานการเงิน ในระบบ GFMIS และการเบิกจ่ายงบประมาณของส่วนราชการส่วนใหญ่ยังคงต�่ำกว่าเป้าหมายที่คณะรัฐมนตรี ก�ำหนด การสอบทานกรณีพเิ ศษ พบว่าการด�ำเนินงานโครงการบางโครงการยังมีความล่าช้า โดยมีการรายงาน ในลักษณะของรายงานผลการด�ำเนินงานโดยไม่ได้รายงานผลสัมฤทธิข์ องโครงการ นอกจากนี้โครงการในระดับ จังหวัดยังไม่บูรณาการในภาพรวมทั้งระบบเท่าที่ควร ทั้งนี้โดยมีองค์ประกอบที่มีส่วนสนับสนุนต่อความส�ำเร็จได้แก่ บทบาทของผู้บริหารของส่วนราชการ และจังหวัดในการเป็นผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง การมีกลไกการบูรณาการภารกิจหรือโครงการของส่วนราชการ และจังหวัดที่มีประสิทธิภาพและเป็นระบบ การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการบริหารงานภาครัฐเพื่อให้ สามารถตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในพื้นที่ได้อย่างแท้จริง รวมทั้งการมีระบบฐานข้อมูลและ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตาม รายงานนี้ได้มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อมุ่งเน้นให้หน่วยงานภาครัฐให้ความส�ำคัญ กับการด�ำเนินงานตามระเบียบและกฎเกณฑ์ที่ก�ำหนดอย่างเคร่งครัด ในขณะเดียวกันก็ได้ให้การสนับสนุน ให้หน่วยงานภาครัฐมีการพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง และให้มีความคิดริเริ่มในการพัฒนาการบริหารจัดการให้มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการเป็นเครื่องมือ ที่ส�ำคัญในการก�ำกับดูแลตนเองที่ดีของหน่วยงานภาครัฐให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี รวมทั้งเพื่อผลักดันให้การด�ำเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์ที่ส�ำคัญของรัฐบาลสามารถบรรลุผลส�ำเร็จ ตามเป้าหมายที่ก�ำหนดได้อย่างแท้จริง xviii | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
สารบัญ
สารบัญ ค�ำน�ำ มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕ เรื่อง รายงานผลการตรวจสอบ และประเมินผลภาคราชการ และรายงานผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการ ตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการคณะต่างๆ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ บทสรุปผู้บริหาร
บทที่ ๑ บทน�ำ
หน้า iii v xv
๑ - ๑๒
๑.๑ ที่มา ๑.๒ คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ๑.๓ นโยบายและกลไกการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ๑.๔ แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
๓ ๓ ๕ ๘
บทที่ ๒ รายงานความก้าวหน้าการด�ำเนินงานตามมติคณะรัฐมนตรี และข้อเสนอแนะ ๑๓ - ๒๘ ของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการคณะต่าง ๆ บทที่ ๓ ผลการด�ำเนินงานตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖.
การตรวจราชการ การตรวจสอบภายใน รายงานการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง รายงานการปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการ รายงานการเงิน รายงานการสอบทานกรณีพิเศษ
บทที่ ๔ ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
๒๙ - ๑๑๔ ๓๒ ๔๑ ๕๓ ๖๔ ๗๕ ๘๔
๑๑๕ - ๑๓๒
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | xxi
สารบัญ ภาคผนวก
หน้า
ภาคผนวก ๑ ระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๕๐ และ พ.ศ. ๒๕๕๒
๑๓๓ - ๑๔๔
ภาคผนวก ๒ องค์ประกอบและอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการคณะต่าง ๆ
๑๔๕ - ๑๗๒
ภาคผนวก ๓ รายชื่อฝ่ายสนับสนุนคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลคณะต่าง ๆ
๑๗๓ - ๑๘๐
ภาคผนวก ๔ แผ่นบันทึกข้อมูลรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ คณะกรรมการตรวจสอบและ ประเมินผลภาคราชการ คณะต่าง ๆ
xxii | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
๑๘๑ - ๑๘๔
บทที่ ๑ บทนำ�
บทที่ ๑ บทนำ�
๑.๑ ที่มา ระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้ประกาศ ให้มผี ลบังคับใช้ตงั้ แต่วนั ที่ ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึง่ ระเบียบดังกล่าวมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้เกิดการบูรณาการ และเสริมสร้างความเข้มแข็งของการก�ำกับดูแลและควบคุมตนเองทีด่ ขี องส่วนราชการ อันจะน�ำไปสูก่ ารบรรลุผล ตามเจตนารมณ์ตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี รวมทั้งเสริมสร้างความน่าเชื่อถือและความมั่นใจ แก่สาธารณชนต่อการด�ำเนินการตามนโยบาย ยุทธศาสตร์ และผลงานของส่วนราชการว่าได้มีการตรวจสอบ และก�ำกับดูแลอย่างรอบคอบถึงประสิทธิผล ความคุ้มค่า ประสิทธิภาพ คุณภาพของการบริหารงาน ตลอดจน การยกระดับขีดสมรรถนะ การเรียนรู้และศักยภาพของการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยการจัดวางระบบการควบคุม ภายในของส่วนราชการที่เพียงพอเหมาะสม และมีกลไกก�ำกับดูแลที่น่าเชื่อถือ ระเบียบดังกล่าวจึงเป็นมิตแิ ห่งการพัฒนาการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการของประเทศไทย ที่ด�ำเนินการด้วยพันธมิตรร่วมจากทั้งหน่วยงานกลางภายใต้ก�ำกับของราชการฝ่ายบริหาร เพื่อประสาน ประโยชน์ด้านการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการในภาพรวมของประเทศ เป็นการเติมเต็มช่องว่างของ การด�ำเนินงานด้านการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ ด้วยองค์ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ของผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกจากหลากหลายภาคส่วนที่รวมพลังเพื่อผลักดันและขับเคลื่อน ระบบการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการให้บรรลุวัตถุประสงค์ และน�ำมาซึ่งประโยชน์ของประเทศชาติ ต่อไป
๑.๒ คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ และ แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้ก�ำหนดให้มี “คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ” เรียกโดยย่อว่า “ค.ต.ป.” โดยมีองค์ประกอบและอ�ำนาจหน้าที่ ดังนี้
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 3
องค์ประกอบของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.) ล�ำดับที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙
รายชื่อคณะกรรมการ รัฐมนตรีซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง ปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงมหาดไทย ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงบประมาณ เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ อธิบดีกรมบัญชีกลาง ศาสตราจารย์โกวิทย์ โปษยานนท์ ศาสตราจารย์เกียรติคุณเกษรี ณรงค์เดช ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประวิตร นิลสุวรรณากุล รองศาสตราจารย์ครรชิต มาลัยวงศ์ นายบุญญรักษ์ นิงสานนท์ ศาสตราจารย์ปกรณ์ อดุลพันธุ์ นายวัฒนา รัตนวิจิตร นายสารสิน วีระผล นายอรัญ ธรรมโน เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการที่เลขาธิการ คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการมอบหมาย
ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วย เลขานุการ
หมายเหตุ ล�ำดับที่ ๒ - ๘ , และ ๑๘ - ๑๙ เป็นกรรมการโดยต�ำแหน่ง ล�ำดับที่ ๙ - ๑๗ เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่มาจากการสรรหา ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๕๓
4 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
อ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (๑) วางนโยบาย แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลในภาคราชการ รวมถึงก�ำหนดประเด็นหัวข้อ การตรวจสอบและประเมินผล (๒) ให้ความเห็นชอบแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลตาม (๑) ของคณะอนุกรรมการตาม (๗) และหน่วยงานกลางที่มีภารกิจด้านการตรวจสอบและประเมินผล (๓) ส่งเสริม ผลักดัน สอบทาน และเสนอแนะมาตรการ เพือ่ ให้แต่ละส่วนราชการด�ำเนินการให้เป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการตามข้อ ๔ (ของระเบียบฯ) และหลักการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี (๔) จัดท�ำรายงานผลการปฏิบัติงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบ รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการ ตรวจสอบและประเมินผลต่อนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีอย่างน้อยปีละสองครั้ง และส่งส�ำเนารายงาน ดังกล่าวให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องด้วย (๕) ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตลอดจนมติคณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้อง และรายงานให้นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีทราบเป็นระยะ (๖) ประสานงานกับคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการในการประเมินผลการด�ำเนินงานตามค�ำรับรอง การปฏิบัติราชการ (๗) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติหน้าที่ตา่ ง ๆ ตามที่คณะกรรมการมอบหมาย (๘) ปฏิบัติการอื่นตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย (รายละเอียดองค์ประกอบและอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ตามภาคผนวก ๑)
๑.๓ นโยบายและกลไกการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ค.ต.ป. ได้ก�ำหนดนโยบาย และกลไกในการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ดังนี้
(๑) นโยบายการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ๑.๑ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้สว่ นราชการ โดยเฉพาะการส่งเสริมและกระตุน้ ให้สว่ นราชการ มีระบบการก�ำกับดูแลตนเองที่ดี ๑.๒ ผลั ก ดั น การบริ ห ารราชการให้ บ รรลุ เ ป้ า หมายของการบริ ห ารกิ จ การบ้ า นเมื อ งที่ ดี ตามนัยพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ๑.๓ ส่งเสริมการบูรณาการงานด้านการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ เช่น ก�ำหนด แนวทางการบูรณาการระบบข้อมูลด้านการตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล เป็นต้น ๑.๔ สร้างความน่าเชื่อถือและความมั่นใจแก่สาธารณชนต่อการด�ำเนินงานของส่วนราชการ
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 5
(๒) กลไกการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ ๑๓ (๗) ได้ก�ำหนดให้ ค.ต.ป. สามารถแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติหน้าที่ ต่าง ๆ ตามที่ ค.ต.ป. มอบหมายได้ และข้อ ๑๗ ได้ก�ำหนดให้แต่ละกระทรวงแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ และประเมินผลประจ�ำกระทรวง (ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง) ขึน้ เพือ่ ประโยชน์ในการก�ำกับดูแลตนเองทีด่ ดี ว้ ยการ ท�ำหน้าที่ตรวจสอบและประเมินผล ค.ต.ป. ในการประชุม ครั้งที่ ๓/๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๓ จึงได้มีมติแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการ รวม ๑๑ คณะ ขึ้นใหม่แทนคณะอนุกรรมการเดิมจ�ำนวน ๙ คณะซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งตั้งแต่ วันที่ ๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๓ เป็นต้นไป ดังนัน้ กลไกการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการของ ค.ต.ป. จึงมีดงั นี้ ๒.๑ คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการเกีย่ วกับการก�ำหนดแนวทาง วิธกี าร การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ จ�ำนวน ๑ คณะ ๒.๒ คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการเฉพาะกิจเกี่ยวกับการก�ำหนด แนวทาง วิธกี ารการบูรณาการระบบการตรวจสอบและประเมินผลของหน่วยงานกลางทีอ่ ยู่ในก�ำกับของราชการ ฝ่ายบริหาร จ�ำนวน ๑ คณะ ๒.๓ คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มกระทรวง (อ.ค.ต.ป. กลุ่ม กระทรวง) จ�ำนวน ๔ คณะ และคณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัด (อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด) จ�ำนวน ๕ คณะ ดังนี้ • อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง ๑. อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจ ๒. อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านสังคม ๓. อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านความมั่นคง และการต่างประเทศ ๔. อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านบริหารและส่วนราชการไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง
• อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด ๑. คณะที่ ๑ ๒. คณะที่ ๒ ๓. คณะที่ ๓ ๔. คณะที่ ๔ ๕. คณะที่ ๕ ๒.๔ คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวง (ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง) ในทุกกระทรวง รวม ๒๐ คณะ (รายละเอียดองค์ประกอบและอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการ คณะต่าง ๆ ตามภาคผนวก ๒) 6 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
แผนภาพ แสดงกลไกการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ตามระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ครม. รมต. ค.ต.ป. ประจำกระทรวง (๒๐ คณะ)
ค.ต.ป.
อ.ค.ต.ป. เกี่ยวกับการ กำหนดแนวทางฯ
อ.ค.ต.ป. กลุมกระทรวง (๔ คณะ)
อ.ค.ต.ป. เฉพาะกิจ เกี่ยวกับการ กำหนดแนวทาง วิธีการการ บูรณาการระบบ การตรวจสอบ และประเมินผลฯ
- ดานเศรษฐกิจ - ดานสังคม - ดานความมั่นคงและ การตางประเทศ - ดานบริหารและ สวนราชการไมสังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง
อ.ค.ต.ป. กลุมจังหวัด (๕ คณะ) - คณะที่ ๑ - คณะที่ ๒ - คณะที่ ๓ - คณะที่ ๔ - คณะที่ ๕
- สำนักนายกรัฐมนตรี - กระทรวงกลาโหม - กระทรวงการคลัง - กระทรวงการตางประเทศ - กระทรวงการทองเที่ยวฯ - กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ - กระทรวงเกษตรฯ - กระทรวงคมนาคม - กระทรวงทรัพยากรฯ - กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศฯ - กระทรวงพลังงาน - กระทรวงพาณิชย - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงยุติธรรม - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงวัฒนธรรม - กระทรวงวิทยาศาสตรฯ - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงสาธารณสุข - กระทรวงอุตสาหกรรม
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 7
๑.๔ แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ค.ต.ป. ในการประชุม ครั้งที่ ๔/๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๓ ได้พิจารณาก�ำหนด แนวทาง การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
๑. ประเด็นการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ๑) การสอบทานกรณีปกติ ๑.๑) การตรวจราชการ ๑.๒) การตรวจสอบภายใน ๑.๓) การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ๑.๔) การปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการ ๑.๕) รายงานการเงิน ๒) การสอบทานกรณีพิเศษ ๒.๑) ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงคัดเลือกโครงการ ดังนี้ • โครงการส�ำคัญตามนโยบายรัฐบาล หรือโครงการทีส่ อดคล้องกับยุทธศาสตร์กระทรวง อย่างน้อย ๑ โครงการ และ • โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็งอย่างน้อย ๑ โครงการ (ในกรณีที่ ส่วนราชการยังมีการด�ำเนินการตามโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง) ๒.๒) อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคัดเลือกโครงการ ดังนี้ • โครงการส�ำคัญตามนโยบายรัฐบาล อย่างน้อย ๑ โครงการ และ • โครงการภายใต้แผนปฏิบตั กิ ารไทยเข้มแข็งอย่างน้อย ๑ โครงการ (ในกรณีทจี่ งั หวัด ยังมีการด�ำเนินการตามโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง) การคัดเลือกโครงการตามข้อ ๒.๑) และ ๒.๒) เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการสอบทาน โครงการที่คัดเลือกควรมีลักษณะ ดังนี้ • เป็นโครงการที่มีลักษณะบูรณาการร่วมกัน กระจายลงพื้นที่ และส่งผลกระทบ ในวงกว้างต่อประชาชน • เป็นโครงการที่อยู่ระหว่างด�ำเนินการในปีที่สอบทาน • เป็นโครงการที่ได้รบั งบประมาณสูงในการด�ำเนินงานเมือ่ เทียบกับโครงการอืน่ หรือ โครงการที่มีลักษณะความเสี่ยงสูง
8 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
๒. ระยะเวลาการรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ๑) เพื่อให้การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการสามารถน�ำไปใช้เป็นเครื่องมือในการบริหาร ราชการแผ่นดิน อันจะช่วยแก้ไข อุปสรรคปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จากการด�ำเนินงานของส่วนราชการและจังหวัดได้ทนั ภายในปีงบประมาณ จึงได้กำ� หนดให้มกี ารรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการต่อนายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี ปีละ ๒ ครั้ง โดยให้ครอบคลุมตามประเด็นการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ดังนี้ • รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการระหว่างปี พร้อมทั้งรายงานผล การประเมินตนเองระหว่างปี (รอบ ๖ เดือน) • รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการประจ�ำปี พร้อมทั้งรายงานผล การประเมินตนเองประจ�ำปี (รอบ ๑๒ เดือน) ๒) ระยะเวลาการจัดส่งรายงาน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ โดยจัดส่งให้ ระหว่างปี ประจ�ำปี
(รอบ ๖ เดือน) (รอบ ๑๒ เดือน)
๒๙ เม.ย. ๒๕๕๔ ๓๐ ธ.ค. ๒๕๕๔ - ส่วนราชการ - ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง - ส่วนราชการไม่สงั กัดส�ำนักนายก - อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง รัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง ด้านบริหารและส่วนราชการ ไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง - จังหวัด - อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด ๒๕ พ.ค. ๒๕๕๔ ๓๑ ม.ค. ๒๕๕๕ - ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง - รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ๑ ชุด (ยกเว้นรายงาน - ปลัดกระทรวง ๑ ชุด (ส�ำเนา) การเงิน) - ค.ต.ป. ๒ ชุด (ส�ำเนา) พร้อมแผ่นบันทึกข้อมูล (CD) ๒๙ ก.พ. ๒๕๕๕ - ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง - รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ๑ ชุด (เฉพาะรายงาน - ปลัดกระทรวง ๑ ชุด (ส�ำเนา) ทางการเงิน) - ค.ต.ป. ๒ ชุด (ส�ำเนา) พร้อมแผ่นบันทึกข้อมูล (CD) ๒๐ มิ.ย. ๒๕๕๔ ๒๙ ก.พ. ๒๕๕๕ - อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด - ค.ต.ป. ๑ ชุด พร้อมแผ่นบันทึกข้อมูล (CD) ๓๐ มี.ค. ๒๕๕๕ - อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง - ค.ต.ป. ๑ ชุด พร้อมแผ่นบันทึกข้อมูล (CD) ๑๕ ก.ค. ๒๕๕๔ ๓๐ เม.ย. ๒๕๕๕ - ค.ต.ป. - คณะรัฐมนตรี
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 9
10 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
รายงาน ประจำป
รายงาน ระหวางป
กรณีจังหวัด
รายงาน ประจำป
รายงาน ระหวางป
กรณีสวนราชการ
๓๐ ธ.ค. ๕๔
๒๙ เม.ย. ๕๔
๓๐ ธ.ค. ๕๔
๒๙ เม.ย. ๕๔
อ.ค.ต.ป. กลุมจังหวัด
ค.ต.ป. ประจำกระทรวง
(ระหวางป) (ประจำป) รายงานผล ในภาพรวมของ กลุมจังหวัด
(ระหวางป) (ประจำป) รายงานผล การสอบทาน
รมต. (ตนฉบับ) ปลัด (สำเนา)
ระหวางป ๒๐ มิ.ย. ๕๔ ประจำป ๒๙ ก.พ. ๕๕
(ระหวางป) (ประจำป) รายงานผล ในภาพรวมของ กลุมกระทรวง
ประจำป ๓๑ ม.ค. ๕๕ (ยกเวนรายงานการเงิน) ประจำป ๒๙ ก.พ. ๕๕ (เฉพาะรายงานการเงิน)
ระหวางป ๒๕ พ.ค. ๕๔
ระหวางป ๒๐ มิ.ย. ๕๔ ประจำป ๓๐ มี.ค. ๕๕
ระหวางป ๑๕ ก.ค. ๕๔ ประจำป ๓๐ เม.ย. ๕๕
ค.ต.ป.
ครม. ระหวางป ๑๕ ก.ค. ๕๔ ประจำป ๓๐ เม.ย. ๕๕
อ.ค.ต.ป. กลุมกระทรวง
ค.ต.ป.
ครม.
แผนภาพแสดงระยะเวลาการจัดสงรายงานผลตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
๓. ขอบเขตของการจัดท�ำรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ๑) รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการระหว่างปี (รอบ ๖ เดือน) • เป็นการรายงานผลการด�ำเนินงานในลักษณะของการติดตามความก้าวหน้าในการด�ำเนินงาน ของรอบ ๖ เดือน เพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงที่ตรวจพบ ตลอดจนความเสี่ยง/ผลเสียหาย/ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจาก การปฏิบัติราชการของส่วนราชการและจังหวัด • การจัดท�ำรายงานผลฯ ระหว่างปีตามประเด็นการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ เป็นการรายงานผลการด�ำเนินงานของส่วนราชการและจังหวัดจากสิ่งที่ได้จากการสอบทานตามข้อมูล เอกสาร หลักฐานรายงานต่าง ๆ รวมทั้งเห็นควรให้มีการวิเคราะห์ความก้าวหน้าในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ/ จังหวัดในเชิงคุณภาพ โดยน�ำผลการสอบทานที่ได้จากรายงานผลการด�ำเนินงานในทุกประเด็นการสอบทาน เหล่านั้นมาประกอบการพิจารณาด้วย เพื่อค้นหามูลเหตุของอุปสรรคปัญหาของการปฏิบัติราชการที่เกิดขึ้น และเสนอแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขหรือการพัฒนาการด�ำเนินงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น อันจะส่งผลให้ การปฏิบัติราชการของส่วนราชการและจังหวัด เมื่อถึงสิ้นปีงบประมาณสามารถบรรลุผลตามเป้าหมายของ แผนปฏิบัติราชการที่ก�ำหนดไว้ ๒) รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการประจ�ำปี (รอบ ๑๒ เดือน) • เป็นการรายงานสรุปผลการสอบทานที่ได้จากผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการและ จังหวัดทีเ่ กิดขึน้ ตลอดทัง้ ปีงบประมาณ เพือ่ ให้ทราบข้อเท็จจริงทีต่ รวจพบว่าการปฏิบตั ริ าชการสามารถบรรลุผล ตามแผนปฏิบัติราชการที่ก�ำหนดไว้หรือไม่ • การจัดท�ำรายงานผลฯ ประจ�ำปีตามประเด็นการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ เป็นการรายงานผลการด�ำเนินงานของส่วนราชการและจังหวัดจากสิ่งที่ได้จากการสอบทานตามข้อมูล เอกสาร หลักฐานรายงานต่าง ๆ และเพือ่ เป็นการสนับสนุนการจัดท�ำรายงานตรวจสอบและประเมินผลของคณะกรรมการ/ คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการคณะต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น คณะกรรมการ/ คณะอนุกรรมการฯ ควรวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการด�ำเนินงานที่ได้กับค่าเป้าหมายที่ก�ำหนด รวมทั้งวิเคราะห์ ผลสัมฤทธิ์จากการด�ำเนินการด้วย
๔. ข้อมูลที่ใช้ประกอบการสอบทานตามแนวทางที่ก�ำหนด ๑) การสอบทานกรณีปกติ คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ คณะต่าง ๆ จะสอบทานจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานรายงานทีส่ ว่ นราชการและจังหวัดต้องด�ำเนินการตามระเบียบ กฎเกณฑ์ แนวทางทีห่ น่วยงานกลางต่าง ๆ เป็นผู้ก�ำหนด โดยการสอบทานระหว่างปีจะเน้นการสอบทานตามแผนงานที่ส่วนราชการและจังหวัดต้องจัดท�ำ ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ ในขณะที่การสอบทานประจ�ำปีจะเน้นการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานของ ส่วนราชการและจังหวัด ทั้งนี้ การสอบทานการปฏิบัติงานของหน่วยตรวจสอบภายในในการติดตามและตรวจสอบ การประเมินมาตรฐานการจัดซื้อโดยรัฐ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสอบทานการตรวจสอบภายในนั้น ให้สอบทาน กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม และระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ในส่วนที่เกี่ยวกับ การด�ำเนินงาน ดังนี้ รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 11
• การประกาศเชิญชวน • การจัดท�ำรายชื่อผู้ข้อรับ/ซื้อเอกสาร • การจัดท�ำรายชื่อผู้ยื่นเอกสาร • การประกาศรายชื่อผู้ไม่มีผลประโยชน์ร่วมกัน • การจัดท�ำรายชื่อผู้ฝ่ายการพิจารณาคุณสมบัติและเทคนิค • การประกาศผู้ชนะการเสนอราคา • การเปิดเผยข้อมูลสาระส�ำคัญในสัญญา ๒) การสอบทานกรณีพิเศษ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง และ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด จะสอบทานจากข้อมูล เอกสารหลักฐาน รายละเอียดของแผนงานโครงการ ตลอดจนความก้าวหน้าของผลการด�ำเนินโครงการ โดยจะประสานขอข้อมูล โดยตรงจากส่วนราชการและจังหวัดในแผนงาน/โครงการที่คัดเลือก ตลอดจนการเข้าตรวจติดตามในพื้นที่ เพื่อดูกระบวนการ การท�ำงานที่เกิดขึ้นจริง นอกจากข้อมูลที่ได้จากส่วนราชการที่รับผิดชอบแผนงาน/โครงการที่คัดเลือก และผลที่ได้ จากการตรวจติดตามในพืน้ ทีแ่ ล้ว การสอบทานโครงการภายใต้แผนปฏิบตั กิ ารไทยเข้มเเข็ง ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง และ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดยังสามารถตรวจเพิ่มเติมด้วยการประสานหรือร่วมตรวจติดตามโครงการภายใต้ แผนปฏิบตั กิ ารไทยเข้มเเข็งไปพร้อมกับผูต้ รวจสอบภายใน และผูต้ รวจราชการส�ำนักนายกรัฐมนตรีทรี่ บั ผิดชอบ โดยในการจัดท�ำรายงานในแต่ละครั้ง ค.ต.ป. ได้ก�ำหนดให้ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงรายงาน ผลการสอบทานของส่วนราชการในก�ำกับทั้งหมด และ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด ท�ำหน้าที่สรุปภาพรวมผลการ สอบทานของจังหวัดในกลุ่มจังหวัด ในขณะที่ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง ท�ำหน้าที่สรุปภาพรวมผลการสอบทาน ของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงในกลุ่มกระทรวง และท�ำหน้าที่ในการตรวจสอบและประเมินผลของส่วนราชการ ไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง ตามที่ ค.ต.ป. มอบหมาย ซึ่งเป็นการท�ำหน้าที่ในลักษณะเดียวกัน กับการท�ำหน้าที่ของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง
12 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
บทที่ ๒ รายงานความก้าวหน้าการดำ�เนินงาน ตามมติคณะรัฐมนตรี และข้อเสนอแนะของ คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการ คณะต่าง ๆ
บทที่ ๒
รายงานความก้าวหน้าการด�ำเนินงานตามมติคณะรัฐมนตรี และข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ คณะต่าง ๆ การด�ำเนินงานในปีทผี่ า่ นมา คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (อ.ค.ต.ป.) กลุม่ กระทรวงและกลุม่ จังหวัด และคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวง คณะต่าง ๆ ได้จดั ท�ำรายงาน ผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พร้อมทัง้ ให้ขอ้ สังเกตและข้อเสนอแนะเกีย่ วกับการด�ำเนินงานในด้าน ต่าง ๆ รวมทัง้ ข้อเสนอแนะด้านการตรวจสอบและประเมินผลทีเ่ กีย่ วข้องเสนอต่อรัฐมนตรี เจ้ากระทรวง หัวหน้าส่วน ราชการ และคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.) ทัง้ นี้ ค.ต.ป. ได้ประมวลเป็นรายงานผล การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พร้อมจัดท�ำข้อเสนอแนะเกีย่ วกับการตรวจสอบและประเมินผลเสนอต่อ คณะรัฐมนตรีพจิ ารณาและมีมติให้สว่ นราชการต่าง ๆ ด�ำเนินการในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องและได้นำ� ไปใช้เป็นแนวทาง ในการปรับปรุงและพัฒนาการด�ำเนินงานให้มปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลยิง่ ขึน้ ต่อไป ส�ำหรับรายงานประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ อ.ค.ต.ป. กลุม่ กระทรวง/กลุม่ จังหวัด และ ค.ต.ป. ประจ�ำ กระทรวง ได้มีการรายงานความก้าวหน้าที่ส่วนราชการได้ด�ำเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ มติคณะรัฐมนตรีเมือ่ วันที่ ๑๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เรือ่ งรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ รวมถึงการด�ำเนินงานตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมิน ผลภาคราชการ คณะต่าง ๆ สรุปในภาพรวมตามประเด็นต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
๑) การตรวจราชการ ประเด็นข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ ในปีงบประมาณที่ผ่านมา (พ.ศ. ๒๕๕๓)
สรุปความก้าวหน้าในการด�ำเนินงาน
กลไกการสนับสนุนการตรวจราชการ - ให้ความส�ำคัญและจัดการบริหารก�ำลัง คนให้เหมาะสมกับภารกิจของการตรวจราชการ โดยจัดท�ำแผนให้สอดคล้องกับอัตราก�ำลังทีม่ อี ยู่ ทั้งระยะสั้นและระยะยาว - เสริมสร้างความรูใ้ ห้กบั ผูช้ ว่ ยผูต้ รวจราชการ/ เจ้าหน้าที่สนับสนุนการตรวจราชการ โดยจัด ฝึกอบรมพัฒนาทักษะและความสามารถของ ทีมสนับสนุนผูต้ รวจราชการในการตรวจราชการ โดยให้ด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถ น�ำไปปฏิบัติได้อย่างมืออาชีพ ซึ่งจะเป็นก�ำลัง ส�ำคัญในการพัฒนาระบบการตรวจราชการ
- ส่วนราชการได้มีการจัดตั้งส�ำนักตรวจราชการ เพื่อ เป็นหน่วยงานที่ท�ำหน้าที่สนับสนุนการด�ำเนินงานด้าน การตรวจราชการให้เหมาะสมยิง่ ขึน้ เช่น กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศฯ และกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ (อยู่ระหว่างด�ำเนินการ) - ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี ได้ด�ำเนินการ ตามข้อเสนอแนะ โดยการจัดฝึกอบรมพัฒนาทักษะและ ความสามารถของทีมสนับสนุนผู้ตรวจราชการในการ ตรวจราชการ เพื่อให้สามารถน�ำไปปฏิบัติได้อย่างมือ อาชีพ และได้จัดสัมมนา/ฝึกอบรมเพื่อท�ำความเข้าใจ และให้ความรูเ้ กีย่ วกับการตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผูต้ รวจราชการ ให้กบั ผูต้ รวจราชการ ผูช้ ว่ ยผูต้ รวจราชการ และเจ้าหน้าที่สนับสนุนการตรวจราชการของส�ำนักนายก รัฐมนตรี และกระทรวงทีม่ ผี ตู้ รวจราชการทัง้ ๑๗ กระทรวง รวม ๖ ครั้ง ดังนี้
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 15
ประเด็นข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ ในปีงบประมาณที่ผ่านมา (พ.ศ. ๒๕๕๓)
สรุปความก้าวหน้าในการด�ำเนินงาน • การสัมมนาผู้ตรวจราชการตามหลักการบริหาร ราชการแบบมีสว่ นร่วม (PG-Participatory Governnance) เมื่อวันที่ ๒ - ๓ พฤษภาคม ๒๕๕๔ ณ โรงแรมเดอะซายน์ เมืองพัทยา จ.ชลบุรี • การฝึกอบรมผู้ช่วยผู้ตรวจราชการและเจ้าหน้าที่ สนับสนุนการตรวจราชการ จ�ำนวน ๕ ครั้ง
ระบบการตรวจราชการ - การตรวจราชการของกระทรวงและกรม ผูต้ รวจราชการควรมีการประชุมหารือ เพือ่ ก�ำหนด และวางแผนการตรวจราชการร่วมกัน ซึ่งจะ ท�ำให้สามารถประสานและบูรณาการในการตรวจ ติดตามแผนงาน/โครงการเรือ่ งเดียวกันหรือเรือ่ ง ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน หรือกรณีตรวจราชการ ตามนโยบาย/แผนงาน ตามแผนปฏิบัติราชการ ของกระทรวงได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น - ให้มีการน�ำผลการตรวจราชการที่พบมา ใช้ประกอบในการประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการ
- พบว่าส่วนราชการได้ให้ความส�ำคัญในการจัดท�ำ แผนการด�ำเนินงานในระยะต่าง ๆ พร้อมทัง้ ก�ำกับให้มกี าร ด�ำเนินงานตามแผน มีการบูรณาการการท�ำงานกับหน่วยงาน ในสังกัด และให้ความส�ำคัญในกระบวนการติดตามผล การด�ำเนินงานตามค�ำแนะน�ำของผู้ตรวจราชการเป็น ส�ำคัญ ซึ่งส่วนราชการที่ ได้รายงานในส่วนนี้ ไว้ ได้แก่ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงการต่าง ประเทศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงการพัฒนา สังคมฯ กระทรวงการท่องเที่ยวฯ กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติฯ และกระทรวงอุตสาหกรรม - นอกจากนี้ส่วนราชการต่าง ๆ ได้รายงานถึงการ ด�ำเนินกิจกรรมส่งเสริมการติดตามการด�ำเนินงานด้านการ ตรวจราชการ อาทิ เช่น • กระทรวงวัฒนธรรม ได้มกี ารพัฒนาจัดท�ำเครือ่ งมือ ในการประเมินผลโครงการ การส�ำรวจความ พึงพอใจกลุม่ เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์โครงการ และรายงานต่อผูบ้ ริหาร • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มีการสอบถาม ข้อมูลการด�ำเนินงานตามข้อเสนอแนะการ ตรวจราชการ ที่ไม่ชดั เจนเพิม่ เติมในการลงพืน้ ที่ และมอบหมายให้กลุม่ ติดตามและประเมินผล ติดตาม รวบรวมและสรุปข้อมูล ทุกเขตตรวจราชการ เป็นต้น • กระทรวงทรัพยากรฯ ได้เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับ การตรวจราชการต่าง ๆ เช่น แผน/ประเด็น/ก�ำหนดการ การตรวจราชการ รายงานผลการตรวจราชการ ปัญหา อุปสรรค พร้อมข้อเสนอแนะของผูต้ รวจราชการกระทรวงฯ ทางเว็บไซด์ของส�ำนักตรวจและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ส�ำหรับการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกระทรวง ต้องมีการ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศโดยส�ำนักนายกรัฐมนตรี
16 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ประเด็นข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ ในปีงบประมาณที่ผ่านมา (พ.ศ. ๒๕๕๓)
สรุปความก้าวหน้าในการด�ำเนินงาน
- การจั ด ท� ำ แผนการตรวจราชการแบบ บูรณาการเพือ่ มุง่ ผลสัมฤทธิต์ ามนโยบายรัฐบาล ให้ ถื อ ปฏิ บั ติ ต ามมติ ค ณะรั ฐ มนตรี เ มื่ อ วั น ที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๔ ซึ่งเห็นชอบตามความเห็น ของ ค.ต.ป. ที่เสนอให้มีการพัฒนาแนวทางการ ปฏิบัติงานของผู้ตรวจราชการเพื่อให้ระบบการ ตรวจราชการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น โดยให้ครอบคลุมประเด็นในการปรับปรุง แนวทางการคัดเลือกแผนงาน/โครงการของ กระทรวงทีจ่ ะบรรจุในแผนการตรวจราชการแบบ บูรณาการ การส่งเสริมให้เกิดกระบวนการการมี ส่วนร่วมของภาคเอกชนและภาคประชาชน และ การบูรณาการการปฏิบตั งิ านของผูต้ รวจราชการ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี ผู้ตรวจราชการกระทรวง - ข้อเสนอแนะของแผนงาน/โครงการตาม แผนการตรวจราชการแบบบูรณาการเพื่อมุ่งผล สัมฤทธิข์ องผูต้ รวจราชการกระทรวงควรมีความ ชัดเจน นอกจากนั้นควรมีการน�ำหลักวิชาการ ด้านการประเมินผลโครงการมาใช้เป็นเครือ่ งมือ ประกอบการตรวจราชการ
- อย่างไรก็ดี พบว่าบางกระทรวงมีการเปลี่ยนแปลง ผู้บริหาร และผู้ตรวจราชการ ซึ่งท�ำให้การด�ำเนินนโยบาย ด้านการตรวจราชการขาดความต่อเนื่อง และ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงไม่สามารถสอบทานแผนและผลได้ เช่น กระทรวงศึกษาธิการ - การด�ำเนินการจัดท�ำแผนการตรวจราชการแบบ บูรณาการ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ สามารถจัดท�ำได้แล้ว เสร็จในระยะเวลาทีร่ วดเร็วกว่าในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ ทั้งนี้ ได้มีการก�ำหนดแนวทางในการปรับปรุงแผนการ ตรวจราชการแบบบูรณาการ ซึ่งสรุปสาระส�ำคัญได้ ดังนี้ • เป็นการตรวจราชการโดยบูรณาการโครงการที่ เป็นประเด็นส�ำคัญจากแผนการตรวจราชการของผู้ตรวจ ราชการทุกกระทรวง มารวมไว้ในแผนการตรวจราชการ แบบบูรณาการ - เป็นการตรวจราชการที่เน้นการตรวจสอบมูลค่า หรือคุณค่าทีเ่ พิม่ ขึน้ จากการบูรณาการโครงการภายใต้แผน พัฒนาจังหวัดและกลุม่ จังหวัดบนพืน้ ฐานของความร่วมมือ จากทุกภาคส่วน และยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางโดยมุง่ เน้น การติดตามความส�ำเร็จของการด�ำเนินการ ในมิตเิ ชิงพืน้ ที่ (Area) ตามประเด็นยุทธศาสตร์สำ� คัญ ๑-๒ ล�ำดับแรกของ จังหวัดที่มุ่งความส�ำเร็จในประเด็นนโยบายส�ำคัญหลัก ๕ ประเด็น ได้แก่ การพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวติ การพัฒนา เศรษฐกิจสร้างสรรค์ การฟืน้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว การสนับสนุนหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง และการสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตร
๒) การตรวจสอบภายใน ประเด็นข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ ในปีงบประมาณที่ผ่านมา (พ.ศ. ๒๕๕๓) - ก�ำกับดูแลการปฏิบตั งิ านของส่วนราชการ ให้เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๓ โดยให้หัวหน้าส่วนราชการ ต้องก�ำกับดูแลการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบ ภายในให้เป็นไปตามบทบาทหน้าที่ และส่งเสริม สนับสนุนให้การปฏิบัติหน้าที่ของผู้ตรวจสอบ ภายในเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
สรุปความก้าวหน้าในการด�ำเนินงาน - กรมบัญชีกลางได้ประสานกับหน่วยงานกลาง ได้แก่ ส�ำนักงาน ก.พ.ร. และ ส�ำนักงาน ก.พ. เพื่อจัดโครงสร้าง ความก้าวหน้าและค่าตอบแทนในต�ำแหน่งผูต้ รวจสอบภายใน ให้เหมาะสม ซึ่งปัจจุบัน ก.พ. ได้มีมติให้ต�ำแหน่งหัวหน้า กลุม่ ตรวจสอบภายในมีความก้าวหน้าในสายงานถึงต�ำแหน่ง ประเภทวิชาการ ระดับเชีย่ วชาญ ทัง้ นี้ให้เป็นอ�ำนาจหน้าที่ ของกระทรวงในการพิจารณาก�ำหนดต�ำแหน่งดังกล่าว
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 17
ประเด็นข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ ในปีงบประมาณที่ผ่านมา (พ.ศ. ๒๕๕๓)
- ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจทางด้านตรวจ สอบภายใน โดยติดตามประเมินผลการปฏิบัติ งานของผูต้ รวจสอบภายในทีผ่ า่ นการอบรม เพือ่ พัฒนาหลักสูตรเนื้อหาวิชาที่เหมาะสม ให้แก่ผู้ ตรวจสอบภายในอย่างต่อเนื่อง
สรุปความก้าวหน้าในการด�ำเนินงาน - จากรายงานของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง พบว่า ส่วนราชการต่าง ๆ ได้ให้ความส�ำคัญในการสนับสนุนการ ด�ำเนินงานด้านการตรวจสอบภายใน และให้ความส�ำคัญ ในเรื่องการจัดท�ำแผนการตรวจสอบฯ และการวิเคราะห์ และประเมินความเสี่ยงทั้งในระดับหน่วยงานและกิจกรรม ที่เกี่ยวข้อง - นอกจากนีย้ งั พบประเด็นการสนับสนุนการตรวจสอบ ภายในประเด็ น อื่ น ๆ เช่ น ในหลายกรมในกระทรวง วัฒนธรรม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ และกระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศฯ ได้ให้ความส�ำคัญในเรือ่ งความอิสระ ในการตรวจสอบโดยให้ผู้ตรวจสอบภายในรายงานขึ้นตรง ต่อหัวหน้าส่วนราชการ กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวง พัฒนาสังคมฯ สนับสนุนโดยการจัดท�ำคูม่ อื การปฏิบตั งิ าน ด้านการตรวจสอบภายในกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ อยูร่ ะหว่าง การจัดตัง้ ส�ำนักตรวจสอบภายใน และกระทรวงอุตสาหกรรม จัดให้มกี ารเผยแพร่ขอ้ มูลการตรวจสอบภายใน ในเว็บไซต์ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติงาน - กรมบัญชีกลาง ในฐานะเจ้าภาพในการด�ำเนินงาน เกี่ยวกับการส่งเสริมความรู้ด้านการตรวจสอบภายในให้ กับส่วนราชการ ดังนี้ • จัดการอบรมเกีย่ วกับการตรวจสอบระบบ GFMIS และระบบข้อมูลสารสนเทศเพือ่ การวางแผนการตรวจสอบ ภายใน • ปรับปรุงแนวปฏิบัติการตรวจสอบภายใน เรื่อง การตรวจสอบระบบรับและน�ำส่งเงินรายได้แผ่นดิน และ การเบิกจ่ายโดยผ่านใบสั่งซื้อสั่งจ้างของระบบ GFMIS • จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร CGIA และ หลักสูตร Performance Audit และ IT Audit • จัดโครงการประกันคุณภาพผู้ตรวจสอบภายใน โดยมีการติดตามผลการอบรมของผู้ตรวจสอบภายในที่ เข้ารับการอบรม และผลการประเมินการติดตามยังไม่อยู่ ในเกณฑ์ดี ซึง่ กรมบัญชีกลางจะน�ำผลที่ได้มาพัฒนาต่อไป - ส่วนราชการต่าง ๆ ได้รายงานถึงการสนับสนุนใน การส่งเสริมให้ความรูแ้ ก่ผตู้ รวจสอบภายในโดยเข้าร่วมการ อบรมกับกรมบัญชีกลาง และจัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้ ต่าง ๆ ให้กับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องด้วย
18 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ประเด็นข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ ในปีงบประมาณที่ผ่านมา (พ.ศ. ๒๕๕๓) - พั ฒ นาระบบการตรวจสอบภายในโดย เฉพาะอย่างยิ่งในระดับจังหวัด เพื่อให้มีความ เข้มแข็งและให้ผู้ตรวจสอบภายในสามารถให้ ค�ำปรึกษาแนะน�ำให้แก่หัวหน้าส่วนราชการใน ระดับจังหวัดได้อย่างมีความเป็นมืออาชีพ
สรุปความก้าวหน้าในการด�ำเนินงาน - กรมบัญชีกลางได้ด�ำเนินการพัฒนาองค์ความรู้และ ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานให้แก่ผู้ตรวจสอบภายใน ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค (จังหวัด) และได้ประสาน เสนอให้สำ� นักงาน ก.พ. และส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ด�ำเนินการพัฒนาโครงสร้างของหน่วยตรวจสอบภายใน ในระดับจังหวัดให้มีความชัดเจนและเข้มแข็งยิ่งขึ้น - ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ได้ส่งเสริมการด�ำเนินงานด้าน ตรวจสอบภายในของส่วนราชการต่าง ๆ โดยส่งเสริมให้ ผูต้ รวจสอบภายในมีการพัฒนาความรูค้ วามสามารถอย่าง ต่อเนือ่ ง เพือ่ เพิม่ พูนความรูแ้ ละทักษะในเชิงวิชาชีพในการ ให้คำ� ปรึกษาแนะน�ำ ส�ำหรับระดับจังหวัดได้มกี ารประสาน ให้ผวู้ า่ ราชการจังหวัดเห็นความส�ำคัญและใช้ประโยชน์จาก ด้านการตรวจสอบภายในเพือ่ สร้างความเข้าใจในบทบาทและ หน้าทีข่ องผูต้ รวจสอบภายในระดับจังหวัด นอกจากนัน้ ยังได้ ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความก้าวหน้า ในสายวิชาชีพให้กับผู้ปฏิบัติงานด้านตรวจสอบภายใน
๓) การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ประเด็นข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ สรุปความก้าวหน้าในการด�ำเนินงาน ในปีงบประมาณที่ผ่านมา (พ.ศ. ๒๕๕๓) ก�ำกับดูแลการปฏิบัติงานของส่วนราชการ ให้เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี - เมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๒ โดยให้ - ส่วนราชการและจังหวัดต่าง ๆ ได้ให้ความส�ำคัญ หัวหน้าส่วนราชการและจังหวัดต้องก�ำหนดให้ ในการมอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบด้านการควบคุมภายใน มีผู้รับผิดชอบด้านการควบคุมภายในและการ ทั้ ง ในระดั บ กรม ส่ ว นราชการประจ� ำ จั ง หวั ด รวมทั้ ง บริหารความเสี่ยงที่ชัดเจน ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบจั ด ท� ำ ภาพรวมกระทรวงและจั ง หวั ด แล้ ว โดยส่วนใหญ่จะด�ำเนินงานในรูปของการตั้งคณะท�ำงาน ทีม่ ผี แู้ ทนหน่วยงานต่าง ๆ ร่วมเป็นคณะท�ำงานและมีฝา่ ย เลขานุการเป็นเจ้าภาพด�ำเนินการ - เมือ่ วันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๒ โดยให้หวั หน้า - หัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ได้ให้ความส�ำคัญและมี ส่วนราชการให้ความส�ำคัญและมีสว่ นร่วมในการ ส่วนร่วมในการด�ำเนินงานควบคุมภายใน โดยหลายส่วน จัดท�ำแผนการตรวจสอบและประเมินผลด้านต่าง ๆ ราชการมีผู้บริหารระดับสูงเป็นประธานคณะท�ำงานเรื่อง และการด�ำเนินการตามแผน พร้อมทัง้ การบริหาร การควบคุมภายในโดยมีส่วนร่วมตั้งแต่การจัดท�ำแผน ความเสี่ยงให้ครอบคลุมประเด็นยุทธศาสตร์ที่ จนถึงการติดตามการด�ำเนินงาน ส�ำคัญ รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 19
ประเด็นข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ ในปีงบประมาณที่ผ่านมา (พ.ศ. ๒๕๕๓) - เมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๓ โดยให้ หัวหน้าส่วนราชการก�ำหนดให้มกี ารจัดวางระบบ ควบคุมภายในทัง้ องค์กร ตลอดจนติดตามและให้ รายงานผลการด�ำเนินงานตามแผนการควบคุม ภายในส�ำหรับกิจกรรมการควบคุมทีก่ ำ� หนดเป็น ระยะ - เมื่อวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ผู้บริหาร หน่วยงานควรให้ความส�ำคัญกับการเสริมสร้าง ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการควบคุม ภายใน ทั้งผู้บริหารและผู้รับผิดชอบในแต่ละ ส่วนงานย่อยโดยเร่งรัดการด�ำเนินการจัดท�ำ กิจกรรมตามแผนการควบคุมภายใน
สรุปความก้าวหน้าในการด�ำเนินงาน - ส่วนราชการต่าง ๆ ได้รายงานถึงการให้ความส�ำคัญ ในกระบวนการติดตามการด�ำเนินกิจกรรมการติดตาม ประเมินผล และการจัดท�ำรายงานผลการปฏิบตั ติ ามระบบ การควบคุมภายใน ดังนี้ • การจัดประชุมร่วมระหว่างผูบ้ ริหารและคณะท�ำงาน เพื่อติดตามการด�ำเนินงาน • การประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารในการด� ำ เนิ น การ ควบคุมภายใน • การส่ ง เสริ ม อบรมให้ ค วามรู ้ กั บ เจ้ า หน้ า ที่ ที่ เกี่ยวข้อง • และการเผยแพร่ แ นวทางการประเมิ น ผลการ ควบคุมภายในผ่านช่องทางสื่อสารต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ ในการด�ำเนินการ - ค.ต.ป. ร่ ว มกั บ ส� ำ นั ก งาน ก.พ.ร. ได้ ส ่ ง เสริ ม สนับสนุนให้ก�ำหนดเรื่องการควบคุมภายในเป็นตัวชี้วัด บังคับในค�ำรับรองการปฏิบตั ริ าชการของส่วนราชการและ จังหวัดในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๔ ซึ่งจากผล การด�ำเนินงานพบว่า ส่วนราชการและจังหวัดส่วนใหญ่ มีผลการประเมินการด�ำเนินงานอยู่ในเกณฑ์ที่ดี มีการ รายงานผลการด�ำเนินงานตามแผนการปรับปรุงในรอบ ๖ เดือนทัง้ ระดับหน่วยรับตรวจและภาพรวมกระทรวง/จังหวัด และในการจัดท�ำรายงานตามระเบียบ คตง. ข้อ ๖
๔) การปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการ ประเด็นข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ ในปีงบประมาณที่ผ่านมา (พ.ศ. ๒๕๕๓) - ก�ำกับดูแลการปฏิบตั งิ านของส่วนราชการ ให้เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๓ โดยให้หัวหน้าส่วนราชการ และจังหวัดให้ความส�ำคัญกับการจัดท�ำแผน งาน/โครงการ พร้อมทัง้ ก�ำหนดตัวชีว้ ดั ทีม่ คี วาม เชื่อมโยง เพื่อให้สามารถบรรลุเป้าประสงค์ ตามแผนปฏิบัติราชการ
สรุปความก้าวหน้าในการด�ำเนินงาน - ส่วนราชการได้รายงานถึงให้ความส�ำคัญในการ จัดท�ำแผนโครงการต่าง ๆ และการให้ความส�ำคัญในการ ก�ำหนดตัวชี้วัดให้สะท้อนยุทธศาสตร์ที่ส�ำคัญ - กระทรวงวัฒนธรรมยังได้รายงานเพิ่มเติมว่าได้ มีให้ความส�ำคัญในการบูรณาการร่วมกันในบางตัวชี้วัด เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์ด้วย - จากรายงานของกระทรวงเกษตรฯ และกระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศฯ ยังพบอุปสรรคในการจัดท�ำแผนงาน และการก�ำหนดตัวชี้วัดให้เหมาะสมและเชื่อมโยงอยู่บ้าง ในการด�ำเนินงานตามตัวชีว้ ดั ระดับความส�ำเร็จของร้อยละเฉลีย่
20 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ประเด็นข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ ในปีงบประมาณที่ผ่านมา (พ.ศ. ๒๕๕๓)
- หั ว หน้ า ส่ ว นราชการควรมี ก ารก� ำ กั บ ติดตามความก้าวหน้าในการด�ำเนินงานของ หน่วยงาน รวมทั้งการเบิกจ่ายงบประมาณตาม แผนที่ก�ำหนด เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงาน ตลอดจนให้ความส�ำคัญในเรื่องการ บริหารความเสี่ยงในการจัดการปัญหาอุปสรรค และเรื่ อ งของปั จ จั ย แห่ ง ความส� ำ เร็ จ ในการ ด�ำเนินงานตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการ และการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้จัดเก็บ ข้อมูลการด�ำเนินงานตามค�ำรับรองการปฏิบัติ ราชการที่มีประสิทธิภาพ เป็นระบบ มีความต่อ เนื่องของข้อมูลและสามารถเปิดเผยข้อมูลผล การปฏิบัติราชการต่อสาธารณชนได้ นอกจากนี้ ควรทบทวนระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การรับส่งงานในหน้าทีร่ าชการ พ.ศ. ๒๕๒๔ ให้ เหมาะสมในการจัดส่งมอบงานกรณีข้าราชการ โยกย้ายเปลี่ยนแปลงต�ำแหน่ง
สรุปความก้าวหน้าในการด�ำเนินงาน ถ่วงน�ำ้ หนักในการด�ำเนินการตามแผน ราชการกระทรวงที่ มีเป้าหมายร่วมกัน ซึง่ ยังไม่มกี ารก�ำหนดกรอบด�ำเนินการ ชัดเจน ทั้งนี้ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ควรพิจารณาการปรับปรุง ตัวชีว้ ดั เพือ่ การด�ำเนินการต่อไป - จากผลการสอบทานของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง พบว่า ส่วนราชการต่าง ๆ ได้ให้ความส�ำคัญในกระบวนการ ติดตามตัวชี้วัด โดยได้ด�ำเนินการต่าง ๆ ดังนี้ • แต่งตั้งคณะท�ำงานก�ำกับ ติดตาม และด�ำเนิน การตัวชี้วัด และมีการมอบหมายเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบที่ ชัดเจน • มีการประชุมติดตามการด�ำเนินงานตามตัวชี้วัด เป็นรายไตรมาส • แต่งตั้งคณะกรรมการติดตาม/เร่งรัดการใช้จ่าย งบประมาณ/งบลงทุน นอกจากนีบ้ างส่วนราชการในกระทรวง เกษตรฯ รายงานว่า ได้กำ� หนดเรือ่ งการใช้จา่ ยงบประมาณ เป็นตัวชี้วัดรายบุคคลของผู้บริหารระดับสูง และระดับ ส�ำนัก/กองด้วย • มีการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ใน การจัดเก็บข้อมูลและด�ำเนินงานตามค�ำรับรองการปฏิบัติ ราชการ เช่น กระทรวงวัฒนธรรม • ประสานน�ำความเห็นและข้อเสนอแนะในการ ด�ำเนินการรอบ ๖ เดือนจากส�ำนักงาน ก.พ.ร. และที่ ปรึกษามาปรับปรุงการด�ำเนินการ • จัดกิจกรรมให้ผู้บริหารพบปะและตรวจเยี่ยมการ ด�ำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการด�ำเนินงาน ตัวชี้วัด - ส� ำ หรั บ ประเด็ น เรื่ อ งการทบทวนระเบี ย บส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี ว ่ า ด้ ว ยการรั บ ส่ ง งานในหน้ า ที่ ร าชการ พ.ศ. ๒๕๒๔ นั้ น ส� ำ นั ก กฎหมายและระเบี ย บกลาง ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี ชี้แจงว่าได้พิจารณา ตามข้อสังเกตของ ค.ต.ป. แล้วเห็นว่าระเบียบดังกล่าว มิได้มีข้อก�ำหนดที่เป็นอุปสรรคท�ำให้ขาดความต่อเนื่อง ในการขับเคลื่อนตัวชี้วัดของส่วนราชการแต่ประการใด ซึง่ ตามระเบียบฯ ข้อ ๓๒ ได้ก�ำหนดไว้สำ� หรับงานทีส่ ำ� คัญ ซึง่ ยังด�ำเนินการไม่แล้วเสร็จต้องท�ำหลักฐานการส่งมอบไว้ เป็นหนังสือ พร้อมทั้งมอบเรือ่ งราวและเอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง แก่ผรู้ บั ต�ำแหน่งแทนด้วย ปัญหาดังกล่าวจึงน่าจะเกิดจาก
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 21
ประเด็นข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ ในปีงบประมาณที่ผ่านมา (พ.ศ. ๒๕๕๓)
- ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานของจังหวัดควร ได้รับการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการก�ำกับ ดูแลและผลักดัน ติดตามการด�ำเนินงานตามตัวชี้ วัดในค�ำรับรองการปฏิบัติราชการอย่างต่อเนื่อง และเป็นระบบ เพื่อสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิด ขึน้ ได้ทนั เวลาและบรรลุเป้าหมายของจังหวัดได้
สรุปความก้าวหน้าในการด�ำเนินงาน การที่ส่วนราชการ ไม่ปฏิบัติตามระเบียบฯ อย่างไรก็ตาม การส่งมอบงานในหน้าที่ตามระเบียบฯ มีความหมาย ครอบคลุมถึงงานในหน้าที่และงานที่ ได้รับมอบหมาย ซึ่งยังด�ำเนินการไม่แล้วเสร็จในขณะที่พ้นจากต�ำแหน่ง ซึ่ ง รวมถึ ง งานเกี่ ย วกั บ การด� ำ เนิ น การตามค� ำ รั บ รอง การปฏิบตั ริ าชการด้วย ในการนี้ ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายก รัฐมนตรี จะพิจารณาศึกษารายละเอียดในเรื่องดังกล่าว อีกครั้งหนึง่ โดยจะแจ้งความก้าวหน้าในโอกาสต่อไป ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ได้มีการพัฒนาและสนับสนุนการ ด�ำเนินการตามตัวชี้วัดในค�ำรับรองการปฏิบัติราชการให้ แก่จงั หวัดต่าง ๆ อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ ในการก�ำกับดูแล ผลักดัน และติดตามผลการด�ำเนินงาน ตามตัวชี้วัดด้วยการชี้แจงกรอบการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการตามแนวทางการจัดท�ำค�ำรับรองการปฏิบตั ริ าชการ การแจ้งผลการตรวจสอบรายละเอียดตัวชีว้ ดั ทีจ่ งั หวัดส่งมา เพื่อสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน การจัดคลินิกให้ค�ำปรึกษา ในตัวชี้วัด “ระดับความส�ำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ” เป็นรายภาค รวมทัง้ การให้คำ� ปรึกษา ในการปฏิบัติราชการตาม ค�ำรับรองการปฏิบัติราชการ รอบ ๖ เดือน แก่จงั หวัดต่าง ๆ
๕) รายงานการเงิน ประเด็นข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ ในปีงบประมาณที่ผ่านมา (พ.ศ. ๒๕๕๓) ก�ำกับดูแลการปฏิบัติงานของส่วนราชการ ให้เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี - เมือ่ วันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๒ โดยให้หวั หน้า ส่วนราชการและจังหวัดก�ำกับดูแลผู้ปฏิบัติงาน ด้านการเงิน การบัญชีที่ผ่านการอบรมระบบ GFMIS ต้องปฏิบตั งิ านตามทีอ่ บรมมาเป็นระยะ เวลา ๒ ปี จะโยกย้ายเปลีย่ นแปลงได้ เมือ่ สามารถ ถ่ายทอดความรู้ให้กับบุคลากรเพื่อนร่วมงาน ที่จะได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่แทน
สรุปความก้าวหน้าในการด�ำเนินงาน
ในเรือ่ งของอัตราก�ำลังนัน้ มีหลายส่วนราชการได้รายงาน ว่าได้ด�ำเนินการให้เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี อาทิเช่น - กระทรวงวัฒนธรรมไม่มกี ารโยกย้ายเจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั ิ งานด้านบัญชี และส�ำหรับหน่วยงานในส่วนภูมภิ าคที่ไม่มี ต�ำแหน่งดังกล่าวก็จะด�ำเนินการจ้างเหมาบริการแทน - ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงพาณิชย์ที่มีหน่วย ปฏิบัติงานในภูมิภาค ได้แก่ ส�ำนักงานปลัดกระทรวง กรม พัฒนาธุรกิจการค้า และกรมการค้าภายใน ได้มกี ารพิจารณา จัดอัตราก�ำลังเพื่อปฏิบัติงานด้านการเงินการบัญชีและ การพัสดุให้กบั หน่วยงานในภูมภิ าคให้เพียงพอและเหมาะสม
22 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ประเด็นข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ ในปีงบประมาณที่ผ่านมา (พ.ศ. ๒๕๕๓)
- เมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๓ โดยให้ หัวหน้าส่วนราชการก�ำกับดูแลให้เจ้าหน้าที่ผู้ ปฏิบัติงานด้านบัญชีการเงินเร่งแก้ไขปรับปรุง รายการทางบัญชีที่มีข้อผิดพลาดคลาดเคลื่อน ให้ถูกต้อง - เมื่อวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๔ โดยให้ มีการปรับปรุงกระบวนการปรับปรุงบัญชีเพื่อ ให้การจัดท�ำรายงานการเงินตามระบบ GFMIS ให้แล้วเสร็จ ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ และให้หัวหน้าส่วนราชการต้องก�ำกับดูแลให้มี การปฏิบตั ติ ามแนวทางของกระทรวงการคลังใน การก�ำกับดูแลการเบิกจ่ายเงินในระบบ GFMIS อย่างเคร่งครัด และให้ความส�ำคัญกับการตรวจสอบ ความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลทางการ เงินก่อนการบันทึกข้อมูลเข้ าระบบ GFMIS โดยเฉพาะในส่ ว นของจั ง หวั ด ให้ ด� ำ เนิ น การ ตรวจสอบข้ อ มู ล ทางการเงิ น ก่ อ นที่ จ ะส่ ง ให้ ส�ำนักงานจังหวัดบันทึกรายการ เพื่อให้การจัด ท�ำรายงานการเงินมีความถูกต้อง ครบถ้วนและ ทันการณ์
สรุปความก้าวหน้าในการด�ำเนินงาน - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ รายงานว่า ส่วนราชการ ในสังกัด ได้แก่ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ได้มี การจัดท�ำบันทึกข้อตกลงกับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบว่าจะ ต้องท�ำงานให้หน่วยงานไม่น้อยกว่า ๒ ปี หากจะโอนย้าย ต้องมีบุคลากรมาแทน ส�ำหรับส่วนราชการอื่น ๆ ในสังกัด กระทรวง อยู่ระหว่างการด�ำเนินการ - กรมบัญชีกลางได้สนับสนุนส่วนราชการต่าง ๆ ให้มี การปรับปรุงกระบวนการปรับปรุงบัญชีเพื่อให้การจัดท�ำ รายงานการเงินตามระบบ GFMIS ให้แล้วเสร็จภายใน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ โดยได้กำ� หนดแผนในการด�ำเนินงาน ดังนี้ • ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้กำ� หนดแนวทางการ แก้ไขและปรับปรุงข้อผิดพลาดทางบัญชีในระบบ GFMIS และตั้งทีมงานตรวจงบทดลองของส่วนราชการระดับกรม ทุกแห่ง รวมทั้งมีมาตรการตรวจสอบหน่วยเบิกจ่ายใน ภูมภิ าคโดยมอบให้คลังจังหวัดเป็นผูต้ รวจ พร้อมทัง้ จัดท�ำ คู่มือการตรวจสอบบัญชีพร้อมตัวอย่างการบันทึกรายการ ไม่ถูกต้อง • ส�ำหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ จะได้จดั อบรม เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้จัดท�ำบัญชีภาครัฐในส่วนภูมิภาค โดยการก�ำหนดหลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านบัญชี และจัดให้มีการตรวจสอบความถูกต้องในแต่ละ รายการในระบบ GFMIS • ประสานส� ำ นั ก งาน ก.พ.ร. เพื่ อ ผลั ก ดั น ให้ มี การก�ำหนดตัวชี้วัด “การจัดท�ำรายงานการเงินที่ถูกต้อง ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน” - จากผลการติ ด ตามการด� ำ เนิ น งานของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง พบว่าส่วนราชการต่าง ๆ ได้ด�ำเนินการ แก้ไขข้อผิดพลาดคลาดเคลื่อนลดลงจากปีก่อน ๆ และได้ ถือปฏิบัติตามแนวทางของกระทรวงการคลังในการเบิก จ่ายเงินในระบบ GFMIS - ส่วนราชการระดับกรมในสังกัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ได้มกี ารจัดท�ำคูม่ อื การปฏิบตั งิ านในระบบ GFMIS ให้สอดคล้องกับลักษณะงานและภารกิจของหน่วยงาน และจัดท�ำคู่มือการแก้ไขข้อมูลในระบบด้วย
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 23
๖) การสอบทานกรณีพิเศษ ๖.๑) ประเด็นข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ประเด็นข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ สรุปความก้าวหน้าในการด�ำเนินงาน ในปีงบประมาณที่ผ่านมา (พ.ศ. ๒๕๕๓) - การด�ำเนินโครงการส่วนราชการควรก�ำหนด ส่วนราชการต่าง ๆ ได้ให้ความส�ำคัญในการปฏิบตั ติ าม ตั ว ชี้ วั ด ความส� ำ เร็ จ ของโครงการ ทั้ ง ในเชิ ง ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจสอบฯ คณะต่าง ๆ ผลผลิตและผลลัพธ์ ให้เหมาะสม เน้นคุณภาพ โดยมีการรายงานผลแยกตามรายโครงการ ดังมีรายชื่อ มากกว่าปริมาณ และควรเป็นตัวชี้วัดที่สะท้อน โครงการตามหัวข้อ ๕.๒ และรายละเอียดผลการด�ำเนินงาน ถึงประสิทธิภาพและคุณภาพของการด�ำเนิน ตามข้อเสนอแนะแต่ละโครงการแสดงไว้ในภาคผนวก ๓ งานอย่ า งแท้ จ ริ ง และหั ว หน้ า ส่ ว นราชการ ควรก�ำกับดูแลการด�ำเนินโครงการให้เป็นไป ตามแผน พร้อมทั้งน�ำข้อเสนอแนะการด�ำเนิน โครงการของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงไปปฏิบัติ ให้บังเกิดผล - โครงการไทยเข้มแข็งควรมีการก�ำหนด แผนปฏิบตั งิ านให้เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพ จริงในภาคสนาม และควรมีการปรับปรุงทบทวน แผนฯ อีกครั้งก่อนเริ่มด�ำเนินการจริง เพื่อให้ สามารถด�ำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็น ประโยชน์และคุ้มค่า รวมถึงต้องให้ความส�ำคัญ ต่อการเตรียมความพร้อมเรื่องการจัดซื้อจัด จ้างล่วงหน้าด้วย เพื่อให้สามารถเบิกจ่ายงบ ประมาณได้ทันตามแผน โครงการเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเพื่ อ ยกระดั บ ชุมชน - ควรส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เกี่ยวกับ - ส�ำนักงานเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับชุมชน แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงให้กับชุมชน/หมู่บ้าน (สพช.) ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี ได้รายงานว่า อย่างต่อเนื่อง โดยมีหน่วยงาน/เจ้าหน้าที่ของ ได้มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เกี่ยวกับ รัฐเข้าไปเป็นพี่เลี้ยงและก�ำกับดูแลอย่างใกล้ชิด แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงให้กับหมู่บ้าน/ชุมชน โดยได้ ด�ำเนินการด้านการประชาสัมพันธ์ผลการด�ำเนินโครงการ เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับชุมชน เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารโครงการให้ประชาชนในหมูบ่ า้ น/ชุมชนทัว่ ประเทศ ได้รับรู้เกิดการตื่นตัวและตระหนักถึงการพัฒนาหมู่บ้าน/ ชุมชนของตนเองให้เกิดความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน เป็น ประโยชน์โดยรวมต่อชุมชนใน ๔ ช่องทาง คือ • รายการ “เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับชุมชน” ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ช่อง ๑๑ 24 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ประเด็นข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ ในปีงบประมาณที่ผ่านมา (พ.ศ. ๒๕๕๓)
สรุปความก้าวหน้าในการด�ำเนินงาน
- การด�ำเนินโครงการควรเป็นแบบค่อยเป็น ค่อยไปตามความพร้อมของแต่ละหมูบ่ า้ น/ชุมชน เนือ่ งจากหมูบ่ า้ น/ชุมชนยังไม่สามารถคิด จัดท�ำและ บริหารโครงการให้สามารถด�ำเนินการได้อย่างยัง่ ยืน นอกจากนัน้ ในการพิจารณากรอบหลักเกณฑ์การ เสนอโครงการเพื่อขอรับการจัดสรรงบประมาณ ควรให้ความส�ำคัญกับจังหวัดในการอนุมัติ และ การยกเว้นการปฏิบัติตามระเบียบฯ ได้ตาม ความเหมาะสมกั บ ลั ก ษณะพื้ น ที่ ข องจั ง หวั ด และสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน
(NBT) ทุกวันเสาร์ เวลา ๑๕.๓๐ - ๑๖.๐๐ น. โดยน�ำผล งานของประชาชนในหมูบ่ า้ น/ชุมชน ที่ได้รบั การอนุมตั เิ งิน งบประมาณโครงการ ไปด�ำเนินโครงการแล้วประสบผล ส�ำเร็จสามารถพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนให้เกิดความเข้มแข็ง และพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นอย่างยั่งยืนและต่อเนื่อง เพื่อเป็นตัวอย่างเผยแพร่ให้หมู่บ้าน/ชุมชนอื่น ๆ ได้รับรู้ ถึงแนวคิดและวิธีการท�ำงาน • ด�ำเนินการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ “ผลการด�ำเนินงาน โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับชุมชน” จ�ำนวน ๕,๐๐๐ เล่ม เพือ่ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ขา่ วสาร กิจกรรม การด�ำเนินงาน และผลงานโครงการดีเด่น ประสบผลส�ำเร็จ • รายการวิทยุ “ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง” ทุกวันเสาร์ เวลา ๑๑.๐๐ น. - ๑๒.๐๐ น. ทางสถานีวิทยุกระจายเสียง แห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ • ทางคลื่นวิทยุเอฟเอ็ม ๙๒.๕๐ เมกะเฮิรตช์ และ เอเอ็ม ๘๙๑ เมกะเฮิรตช์ ออกอากาศเผยแพร่ทั่วประเทศ โดยเปิดโอกาสให้ชมุ ชนได้เข้ามามีสว่ นร่วมในรายการด้วย • จัดท�ำเว็ปไซต์ สพช. www.chumchon.go.th และ E-mail : Info@chumchon.go.th เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับโครงการ ผลการอนุมัติโครงการและงบประมาณ ให้แก่หมู่บ้าน/ชุมชน และมีกระดานสนทนาเพื่อรับฟัง ปัญหา ข้อเสนอแนะ และตอบปัญหาข้อข้องใจต่าง ๆ รวมทัง้ เรื่องร้องเรียน ทัง้ นี้โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพือ่ ยกระดับชุมชนเป็น โครงการตามนโยบายของรัฐบาล ที่อาจมีการปรับเปลี่ยน หน่วยงานรับผิดชอบโครงการเมือ่ มีการปรับเปลีย่ นรัฐบาล - คณะกรรมการบริหารโครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพือ่ ยกระดับชุมชน ในช่วงเวลาที่นายมีชัย วีระไวทยะ เป็น ประธาน ได้ปรับระบบการบริหารจัดการโครงการฯ ให้มี ความเหมาะสมยิ่งขึ้นเพื่อประโยชน์ของชุมชน สามารถ ตอบสนองความต้องการ และความพร้อมของหมู่บ้าน/ ชุ ม ชน เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของชุ ม ชนได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ โดยได้แก้ไขปรับปรุงระเบียบคณะกรรมการ บริหารโครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพือ่ ยกระดับชุมชนใหม่ ซึง่ ตามระเบียบคณะกรรมการบริหารโครงการ พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๗ ก�ำหนดว่า โครงการต้องสอดคล้องกับหลักปรัชญา
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 25
ประเด็นข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ ในปีงบประมาณที่ผ่านมา (พ.ศ. ๒๕๕๓)
สรุปความก้าวหน้าในการด�ำเนินงาน เศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมและกระบวนการ เรียนรูข้ องชุมชน มีความยัง่ ยืน มีผลวัดได้ และผลลัพธ์นนั้ ควรมีผลต่อเนื่องไม่สิ้นสุดในครั้งเดียว และต้องเข้าหลัก เกณฑ์ข้อหนึ่งข้อใด ดังนี้ ๑) เป็นโครงการทีเ่ ป็นรูปธรรมเกิดประโยชน์สำ� หรับ ผู้ด้อยโอกาสและผู้ยากจน โดยเฉพาะเด็ก เยาวชน สตรี และผู้สูงอายุ ๒) เป็นโครงการที่สนับสนุนและส่งเสริมการเพิ่ม ศักยภาพในการประกอบอาชีพ การเพิ่มรายได้และสร้าง โอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน ๓) เป็นโครงการทีส่ นับสนุนและส่งเสริม การคุม้ ครอง และรักษาป่า น�้ำ และดิน ๔) เป็นโครงการทีส่ นับสนุนและส่งเสริม การอนุรกั ษ์ และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ๕) เป็นโครงการเพือ่ ประโยชน์ของชุมชนตามทีค่ ณะ อนุกรรมการมีมติเห็นชอบ - ทัง้ นีต้ ามระเบียบคณะกรรมการบริหารโครงการเศรษฐกิจ พอเพียงเพือ่ ยกระดับชุมชนว่าด้วยแนวทางการด�ำเนินงาน ตามโครงการเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเพื่ อ ยกระดั บ ชุ ม ชน พ.ศ. ๒๕๕๒ ฉบับที่ ๒ ทีก่ ำ� หนดให้เด็กและเยาวชนทีม่ อี ายุ ตั้งแต่ ๑๕ ปีขึ้นไป มีสิทธิออกเสียงเสนอโครงการและ เป็นครัง้ แรกทีเ่ ด็กและเยาวชนมีสว่ นร่วมในการก�ำหนดการ ใช้งบประมาณแผ่นดิน โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๒ เป็นต้นมา - ระเบียบคณะกรรมการบริหารโครงการเศรษฐกิจ พอเพียงเพื่อยกระดับชุมชนว่าด้วยแนวทางการด�ำเนิน งานตามโครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๓ ฉบับที่ ๓ ได้แก้ไขอ�ำนาจหน้าที่ของคณะ อนุกรรมการที่เกี่ยวข้อง โดยให้อ�ำนาจคณะอนุกรรมการ กลั่นกรองโครงการระดับจังหวัด/กรุงเทพมหานคร ซึ่งมี ผู้ว่าราชการจังหวัด/ปลัดกรุงเทพมหานครเป็นประธาน สามารถเป็ น ผู ้ พิ จารณาอนุ มั ติ แ ละแก้ ไ ขเปลี่ ย นแปลง โครงการ และงบประมาณให้ แ ก่ ห มู ่ บ ้ า น/ชุ ม ชน ได้ตามความเหมาะสมกับ ลักษณะพื้นที่ของจังหวัด และ สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนเริ่มตั้งแต่วันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๓ เป็นต้นมา
26 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
๖.๒) ประเด็นข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ ในการสอบทานกรณีพิเศษ ของคณะกรรมการตรวจสอบ และประเมินผล คณะต่าง ๆ คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผล คณะต่าง ๆ ได้สอบทานกรณีพิเศษ พร้อมทั้ง ได้รายงานความก้าวหน้าของการด�ำเนินงานตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการฯ รอบ ๖ เดือนและ ๑๒ เดือน ของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยมีรายละเอียดความก้าวหน้าในการด�ำเนินงานของ แต่ละโครงการ ตามภาคผนวก ๔ ทั้งนี้มีรายชื่อโครงการ ดังนี้ โครงการที่มีการรายงานความก้าวหน้าการด�ำเนินงานในรอบ ๖ เดือนของ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ ๑) โครงการส่งเสริมและขยายผลการลดต้นทุนการผลิตข้าว (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) ๒) โครงการอ่างเก็บน�ำ้ ห้วยแม่ทอ้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดตาก (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) ๓) โครงการซ่อมแซมและปรับปรุงท่าเทียบเรือปากบารา (เดิม) จังหวัดสตูล เป็นท่าเรือท่องเที่ยวและอเนกประสงค์ (กระทรวงคมนาคม) ๔) โครงการถนนไร้ฝุ่น (กระทรวงคมนาคม) ๕) โครงการก่อสร้างทางหลวงหมายเลข ๒๑๗ สาย อ.พิบูลมังสาหาร - ช่องเม็ก ส่วนที่ ๒ (กระทรวงคมนาคม) ๖) โครงการพัฒนาโลจิสติกส์การค้าของกระทรวงพาณิชย์ (กระทรวงพาณิชย์) ๗) โครงการเมืองต้นแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ ด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ส�ำหรับเด็กและเยาวชน (โครงการภายใต้แผนปฏิบัติ การไทยเข้มแข็งของกระทรวงพาณิชย์) ๘) โครงการแก้ปัญหาการกัดเซาะและฟื้นฟูพื้นที่ชายฝั่งทะเล โดยการมีส่วนร่วม ของประชาชน (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม) ๙) โครงการจัดท�ำแนวทางการป้องกันและฟืน้ ฟูพนื้ ทีป่ ระสบภัยดินถล่ม (กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม) ๑๐) โครงการส�ำรวจและพัฒนาแหล่งน�้ำบาดาลเพื่อสนับสนุนน�้ำดื่มสะอาดให้ กับโรงเรียนทั่วประเทศ(โครงการตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง ๒๕๕๕) (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม) ๑๑) โครงการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานเพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพ (โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง-กระทรวงแรงงาน) ๑๒) โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ (กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ) ๑๓) โครงการพัฒนาระบบกระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อคุณภาพชีวิตและชุมชน ภายใต้โครงการศูนย์ ๓ วัย สานสายใยรักแห่งครอบครัว (โครงการภายใต้แผน ปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง-กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ) ๑๔) โครงการส่งเสริมสนับสนุนความเข้มแข็งชุมชน และท้องถิ่น ด�ำเนินกิจกรรม ฟื้นฟู อนุรักษ์ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม (กระทรวงวัฒนธรรม) ๑๕) โครงการอนุรักษ์และพัฒนาแหล่งอารยธรรมล้านนาสู่การเป็นมรดกโลก (โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง-กระทรวงวัฒนธรรม) ๑๖) ค่ า ใช้ จ ่ า ยในการด� ำ เนิ น งานสถาบั น การต่ า งประเทศเทวะวงศ์ ว โรปการ (กระทรวงการต่างประเทศ) ๑๗) โครงการปรับปรุงวังสราญรมย์ (กระทรวงการต่างประเทศ) รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 27
๑๘. โครงการสร้างผู้สอบบัญชีกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมือง (ส�ำนักงานกองทุน หมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สทบ.) ๑๙. โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับชุมชน (ส�ำนักงานเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อยกระดับชุมชน) โครงการที่มีการรายงานความก้าวหน้าการด�ำเนินงานในรอบ ๑๒ เดือนของ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ ๑) โครงการอ่างเก็บน�ำ้ ห้วยแม่ทอ้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดตาก (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) ๒) โครงการนิคมการเกษตร (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) ๓) โครงการสอบทานพิเศษต่าง ๆ ของกระทรวงพาณิชย์ (รายงานภาพรวมตาม ประเด็นข้อเสนอแนะ) ๔) โครงการพัฒนาสินค้าเทคโนโลยีเพื่อทดแทนการน�ำเข้าและเพิ่มศักยภาพใน การแข่งขัน (กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) ๕)โครงการปรับปรุงสิง่ ก่อสร้างด้านแหล่งน�ำ้ เพือ่ การถ่ายโอนให้กบั องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม) ๖) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพหน่วยงานในการป้องกันรักษาป่าและสภาพป่า (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม) ๗) โครงการติดตั้งหอเตือนภัย (กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) ๘) โครงการสร้างผู้สอบบัญชีกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง (ส�ำนักปลัดส�ำนัก นายกรัฐมนตรี) ๙) โครงการวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน (กระทรวงวัฒนธรรม) ๑๐) โครงการฟื ้ น ฟู บู ร ณะโบราณสถานจากเหตุ อุ ท กภั ย ฯ เขตพื้ น ที่ อุ ท ยาน ประวัติศาสตร์พิมาย (กระทรวงวัฒนธรรม) ๑๑) โครงการศึกษาและส�ำรวจออกแบบการพัฒนาพื้นที่ท่องเที่ยว Royal Coast กรณีท่าเรือท่องเที่ยว จังหวัดเพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ และศูนย์ส่งเสริมการ ด�ำน�้ำเชิงการท่องเที่ยวจังหวัดชุมพร (กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา) ๑๒) โครงการส่งเสริมการตลาดและเผยแพร่ภาพลักษณ์ของประเทศ (กระทรวงการ ท่องเที่ยวและกีฬา) ๑๓) โครงการส่งเสริมการมีบตั รประจ�ำตัวคนพิการ (กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์) ๑๔) โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยส�ำหรับ คนพิการ (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์) ๑๕) โครงการพัฒนาระบบกระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อคุณภาพชีวิตและชุมชน ภายใต้โครงการศูนย์ ๓ วัยสานสายใยรักแห่งครอบครัว (กระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์) ๑๖) โครงการเฉลิมฉลองความสัมพันธ์กบั ประเทศต่าง ๆ (กระทรวงการต่างประเทศ) ๑๗) โครงการเสริมสร้างองค์ความรู้ดา้ น creative economy กับองค์การระหว่าง ประเทศ (กระทรวงการต่างประเทศ) ๑๘) โครงการพัฒนาระบบบ�ำบัดรักษาแก้ไขฟืน้ ฟูผเู้ สพและผูต้ ดิ ยาเสพติดในระบบ บังคับบ�ำบัดและระบบต้องโทษ (กระทรวงยุติธรรม) ๑๙) โครงการเครือข่ายยุติธรรมชุมชน (กระทรวงยุติธรรม) 28 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
บทที่ ๓ ผลการดำ�เนินงานตรวจสอบ และประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
บทที่ ๓
ผลการดำ�เนินงานตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ในการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ค.ต.ป. ได้สอบทาน จากรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการของคณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการ (อ.ค.ต.ป.) กลุม่ กระทรวงและกลุม่ จังหวัด และคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวง คณะต่าง ๆ ซึ่งสามารถสรุปผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้ดังนี้ สรุปภาพรวม จากรายงานข้อค้นพบของส่วนราชการและจังหวัด ไม่พบสิ่งที่เป็นเหตุให้เชื่อว่า การตรวจราชการ การตรวจสอบภายใน การควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ ง การปฏิบตั ริ าชการตาม ค�ำรับรองการปฏิบตั ริ าชการ และรายงานการเงิน ในส่วนทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญไม่ได้ปฏิบตั ติ ามระเบียบ มาตรฐาน และคูม่ อื การด�ำเนินงานทีก่ ำ� หนด ทัง้ นี้ พบว่าส่วนราชการและจังหวัดมีการพัฒนาการด�ำเนินงานในประเด็นที่ได้ สอบทานทัง้ ๕ ด้าน ดังกล่าวอย่างต่อเนือ่ ง ดังนี้ การตรวจราชการ ส่วนราชการและจังหวัดได้ปฏิบัติตามระเบียบระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ตามหลักเกณฑ์ ทีก่ ำ� หนด มีขอ้ ค้นพบและข้อเสนอแนะทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ การด�ำเนินงานในระยะต่อไป โดยพบว่ากระทรวงการคลังได้มีการน�ำความคิดเห็นของภาคประชาชนประกอบ การพิจารณา ในการตรวจราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมได้นำ� ประโยชน์จากข้อเสนอแนะ มาสร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในการท�ำงานร่วมกันกับทุกภาคส่วนตั้งแต่ เริ่มต้นโครงการ และกระทรวงวัฒนธรรมมีการจัดท�ำเครื่องมือในการประเมินผล โครงการตามแผนการตรวจราชการเพื่อน�ำไปปรับปรุงและพัฒนาโครงการต่อไป ตรวจสอบภายใน หน่วยตรวจสอบภายในของส่วนราชการและจังหวัดส่วนใหญ่มีผลการ ประเมินตนเองของหน่วยงานอยู่ในระดับดีถงึ ดีมาก โดยมีการวิเคราะห์ความเสีย่ ง เพื่อใช้ในการวางแผนและรายงานผลการตรวจสอบพร้อมทั้งข้อสังเกตและ ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ปัญหาและแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง รวมทั้งติดตามผล การด� ำ เนิ น งานของหน่ ว ยรั บ ตรวจตามที่ มี ข ้ อ เสนอแนะมากขึ้ น นอกจากนี้ หน่วยตรวจสอบภายในของจังหวัดต่าง ๆ ได้ให้ความสนใจในการตรวจสอบด้าน การเงินและการปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ (Financial and Compliance Audit) รวมทัง้ การตรวจสอบด้านการด�ำเนินงานโครงการ (Performance Audit) มากกว่าทุกปี ทีผ่ า่ นมาอีกด้วย ควบคุมภายในและการ ส่วนราชการและจังหวัดมีการจัดท�ำแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน บริหารความเสีย่ ง ทั้งกระบวนงานและกิ จ กรรมของส่ ว นงานย่ อ ยในภารกิ จ หลั ก และภารกิ จ สนับสนุนของส่วนราชการและจังหวัด และมีการประเมินความเสีย่ งและจัดท�ำแผน เพือ่ หาวิธกี ารควบคุมทีเ่ หมาะสม รวมทัง้ มีการจัดท�ำรายงานบทวิเคราะห์ดา้ นการ ควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงให้ผู้บริหารทราบ รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 31
การปฏิบตั ริ าชการตามค�ำ ส่วนราชการและจังหวัดส่วนใหญ่สามารถปฏิบตั ติ ามข้อตกลงในค�ำรับรองการ รับรองการปฏิบตั ริ าชการ ปฏิบัติราชการได้เป็นอย่างดี เนื่องจากมีการจัดท�ำค�ำรับรองการปฏิบัติราชการ อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้พบว่ากระทรวงการคลัง กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารสามารถรายงานผลการด�ำเนินงานได้สอดคล้องกับนิยามและ วัตถุประสงค์ของตัวชี้วัด มีความครบถ้วนสมบูรณ์ เป็นปัจจุบัน และมีการใช้ ประโยชน์ นอกจากนี้กระทรวงแรงงานได้มีการจัดท�ำตัวชี้วัดในงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเตรียมการสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอีกด้วย รายงานการเงิน การจัดท�ำรายงานการเงินของส่วนราชการและจังหวัดตามระบบการบริหาร การเงินการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) มีความถูกต้อง ครบถ้วน มากขึน้ และสามารถแก้ไขปัญหาในปีทผี่ า่ นมาได้ในระดับหนึง่ โดยรายงานการเงิน ของกระทรวงสาธารณสุขมีการวิเคราะห์สถานการณ์การเงินซึ่งท�ำให้ผู้บริหาร ใช้เป็นข้อมูลส�ำคัญในการบริหารการเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ พบว่กระทรวงการคลังและกระทรวงศึกษาธิการมีผลการเบิกจ่ายในภาพรวมสูงกว่า เป้าหมายที่คณะรัฐมนตรีก�ำหนด การสอบทานกรณีพิเศษ การด�ำเนินงานโครงการสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ส่วนราชการและ จังหวัดในการด�ำเนินโครงการอืน่ ๆ เช่น โครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษไทย - กัมพูชา ในพื้นที่จังหวัดสระแก้ว จัดสร้างซุ้มประตูเมืองพรมแดนคลองลึก - ปอยเปต ด่านตรวจคนเข้าเมืองอรัญประเทศ ซึ่งเป็นซุ้มประตูเมืองแห่งแรกในตลาดการ ค้าชายแดนในประเทศไทยเพื่อให้เป็นเอกลักษณ์ของประเทศไทย และโครงการ ตามนโยบายพลังงานและพลังงานทดแทนในโครงการคัดแยกขยะของโรงเรียน วัดโคกกรุง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี และโครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำชุมชน โครงการ คลองล�ำขนุน ต�ำบลนาชุมเห็ด อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง ที่เป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่อง การใช้พลังงานทดแทนเพื่อลดค่าใช้จ่ายและลดภาวะโลกร้อน ส�ำหรับผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ แยกตาม รายด้านการสอบทาน ได้แก่ การตรวจราชการ การตรวจสอบภายใน การควบุคมภายในและการบริหาร ความเสี่ยง การปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการ รายงานการเงิน และการสอบทานกรณีพิเศษ มีสรุปผลดังนี้
๑. การตรวจราชการ ๑.๑ รายงานข้อค้นพบของส่วนราชการ
32 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ข้อค้นพบ ๑. สภาพทั่วไป ๑) โดยภาพรวมการด�ำเนินการการตรวจราชการ ของส่วนราชการ ในส่วนที่เป็นสาระส�ำคัญมีความ ก้าวหน้าและได้ปฏิบตั ติ ามระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ๒) โดยส่วนใหญ่รายงานการตรวจราชการของผูต้ รวจ ราชการกระทรวงมีความครบถ้วนสมบูรณ์ตามหลักเกณฑ์ ที่ก�ำหนดไว้ในระเบียบฯ รวมทั้งข้อมูลที่ใช้ประกอบ การตรวจราชการมีความเป็นปัจจุบันและน่าเชื่อถือ ข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการมีความสอดคล้องกับ ปัญหาอุปสรรคทีเ่ กิดขึน้ และเป็นประโยชน์ตอ่ การน�ำไป ปฏิบัติ ๒. ประเด็นปัญหา • บางส่วนราชการให้ความส�ำคัญในการเร่งรัด ติดตามและรายงานผลการด�ำเนินงานของหน่วยรับ ตรวจตามข้อเสนอแนะของผูต้ รวจราชการตามรายงาน การตรวจราชการไม่มากเท่าที่ควร • รายงานการตรวจราชการยังขาดข้อเสนอแนะ เพือ่ เพิม่ ขีดสมรรถนะของหน่วยรับตรวจเพือ่ การปรับปรุง พัฒนาให้เกิดการด�ำเนินการอย่างเป็นรูปธรรม
อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้าน ความมั่นคง บริหารและ เศรษฐกิจ สังคม และการ ส่วนราชการ ต่างประเทศ ไม่สังกัดฯ
๑.๑.๑ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานด้านการตรวจราชการของส่วนราชการในกลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ในภาพรวม คณะอนุกรรมการฯ ไม่พบสิง่ ทีเ่ ป็นเหตุให้เชือ่ ว่าการตรวจราชการ ของกระทรวงและกรมภายใต้สงั กัดกระทรวงต่าง ๆ ภายในกลุม่ กระทรวงด้านเศรษฐกิจ ในส่วนทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญ ไม่ได้ปฏิบัติตามระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน ๑. รายงานการตรวจราชการของผูต้ รวจราชการกระทรวงในกลุม่ เศรษฐกิจส่วนใหญ่มคี วามครบถ้วน สมบูรณ์ของรายงานตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ในระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ และสอดคล้องกับแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการด้านการสอบทานการตรวจ ราชการที่ ค.ต.ป. ก�ำหนด โดยข้อมูลที่ใช้ประกอบการตรวจราชการโดยรวมมีความเป็นปัจจุบัน และความ น่าเชื่อถือ ยกเว้นกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พบว่า หน่วยงานที่ได้รับข้อเสนอแนะไม่ได้ รายงานถึงกระบวนการติดตามเพื่อดูความก้าวหน้าของการด�ำเนินงานตามข้อเสนอแนะและรับทราบแนวทาง ปฏิบัติว่าหน่วยงานได้รับไปปฏิบัติจริง รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 33
๒. หน่วยรับตรวจของแต่ละกระทรวงส่วนใหญ่ได้นำ� ข้อเสนอแนะ/ของผูต้ รวจราชการกระทรวง ในสังกัดไปด�ำเนินการแล้ว เช่นกระทรวงการคลังได้มีการน�ำความคิดเห็นของภาคประชาชนมาใช้ประกอบ การพิจารณาในการตรวจราชการ และกระทรวงอื่น ๆ ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้น�ำข้อเสนอแนะในการสร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่าย ในการท�ำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ องค์การปกครองส่วนท้องถิน่ และภาคีการพัฒนาทุกภาคส่วนตัง้ แต่ เริ่มต้นโครงการ ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ควรให้ความส�ำคัญในการเร่งรัดติดตามและรายงานผลการด�ำเนินงานของหน่วยรับตรวจตาม ข้อเสนอแนะของผูต้ รวจราชการ ตลอดจนแนวทางการปรับปรุงการด�ำเนินงานตรวจราชการ เพือ่ ให้มปี ระสิทธิผล และประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ๒) ควรน�ำข้อสังเกต และแนะน�ำการด�ำเนินงานของแต่ละภารกิจ โครงการตามความเห็นของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง มาจัดท�ำเป็นบทสรุปส�ำหรับผู้บริหารให้ครบทุกกระทรวง เพื่อให้ผู้บริหารระดับสูง ในระดับกระทรวงและกรมได้ใช้ประโยชน์และง่ายต่อการก�ำกับติดตามประเมินผลการด�ำเนินงาน ๓) กระทรวงควรน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการภายในหน่วยงาน โดยเฉพาะอย่างยิง่ การจัดท�ำคลังข้อมูลเพือ่ รวบรวมข้อมูลและภารกิจของหน่วยงานให้เชือ่ มโยงกับฐานข้อมูลอืน่ เช่น ระบบ GFMIS ของกรมบัญชีกลาง เป็นต้น รวมถึงการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส�ำหรับการวิเคราะห์ ข้อมูล ประมวลผล และน�ำเสนอรายงานในรูปแบบที่เหมาะสม สะดวก ถูกต้อง แม่นย�ำในการใช้งาน เพื่อให้ รายงานผลการตรวจราชการมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น ๑.๑.๒ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านสังคม สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานด้านการตรวจราชการของส่วนราชการในกลุ่มกระทรวงด้านสังคม ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ในภาพรวม พบว่า ในส่วนที่เป็นสาระส�ำคัญการตรวจราชการมีความก้าวหน้าและ ได้ปฏิบัติตามระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน การจัดท�ำรายงานการตรวจราชการของผูต้ รวจราชการกระทรวง ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ พบว่า ทุกกระทรวงด้านสังคมมีการตรวจราชการโดยผู้ตรวจราชการประจ�ำกระทรวงที่มีความชัดเจน และ ครอบคลุมภารกิจของหน่วยรับตรวจของกระทรวงนั้น ๆ โดยมีแผนการตรวจที่เป็นระบบ มีการใช้แบบรายงาน การติดตามความก้าวหน้าของการด�ำเนินงาน และมีการรายงานปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านสังคม จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ผู้บริหารของกระทรวง ควรให้ความส�ำคัญกับการก�ำกับ ติดตามการประเมินผลการด�ำเนิน โครงการ และควรน�ำข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการในเชิงนโยบายไปสู่การปฏิบัติ ให้เกิดเป็นรูปธรรม ๒) ผู้ตรวจราชการกระทรวงควรใช้กลไกของระบบการตรวจราชการ ผลักดันการด�ำเนินงาน ตามแผนงาน/โครงการของส่วนราชการต่าง ๆ ในกระทรวงเดียวกันให้สามารถบูรณาการการท�ำงานร่วมกันได้ และควรน�ำปัญหา อุปสรรค ที่ได้จากการด�ำเนินงานแผนงาน/โครงการ และข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการ ไปใช้ในการปรับปรุงการด�ำเนินงาน ซึ่งจะท�ำให้การตรวจราชการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น 34 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
๓) ผู้ตรวจราชการกระทรวงและหน่วยงานผู้รับผิดชอบควรร่วมกันติดตามการด�ำเนินงาน โครงการของกระทรวงด้านสังคม เพือ่ วิเคราะห์หาสาเหตุ แนวทางการปรับปรุง การด�ำเนินงานให้มปี ระสิทธิภาพ และสร้างความพึงพอใจของประชาชนให้อยู่ในระดับสูง โดยค�ำนึงถึงการสนับสนุนทรัพยากร ในการด�ำเนินงาน โครงการ / กิจกรรมที่เหมาะสม รวมถึงส่งเสริมการด�ำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน ๔) การด�ำเนินงานโครงการต่าง ๆ ควรให้ความส�ำคัญกับการสร้างเครือข่ายทั้งภาครัฐ เอกชน ชุมชน และประชาชน ได้เข้ามามีสว่ นร่วมและมีบทบาทตามความเหมาะสมของสภาพพืน้ ที่ วัฒนธรรม ประเพณี ของแต่ละท้องถิ่น รวมทั้งควรให้การยกย่องเชิดชูเกียรติแก่ผู้ที่ช่วยเหลือ สนับสนุนงานของกระทรวงเพื่อสร้าง ขวัญ ก�ำลังใจให้กับเครือข่ายและสร้างแรงจูงใจให้บุคคลทั่วไปได้เข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น ๑.๑.๓ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านความมั่นคง และการต่างประเทศ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานด้านการตรวจราชการของส่วนราชการในกลุม่ กระทรวงด้านความมัน่ คงและ การต่างประเทศ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ในภาพรวมยกเว้นกระทรวงกลาโหม พบว่า ในส่วนที่เป็นสาระ ส�ำคัญการตรวจราชการมีความก้าวหน้าและได้ปฏิบตั ติ ามระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยภาพรวมของกระทรวงที่ส่งรายงานมีความครบถ้วน ครอบคลุมตามประเด็นการตรวจราชการ ข้อมูลมีความเป็นปัจจุบนั และน่าเชือ่ ถือ และข้อเสนอแนะโดยรวมมีความสอดคล้องกับปัญหาอุปสรรคทีเ่ กิดขึน้ และสามารถน�ำไปปฏิบัติได้ ทั้งนี้ หากส่วนราชการ หรือผู้รับผิดชอบน�ำข้อเสนอแนะจากผลการตรวจราชการ ไปปฏิบัติก็น่าจะช่วยแก้ปัญหา/อุปสรรคที่เกิดขึ้นได้ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน การจัดท�ำรายงานการตรวจราชการของผูต้ รวจราชการกระทรวง ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ พบว่า ทุกหน่วยงานทีจ่ ดั ส่งรายงานมีแผนการตรวจราชการและรายงานผลการตรวจราชการได้ตามแผนทีก่ ำ� หนด และมีการรายงานผลการตรวจราชการเพือ่ แสดงให้ทราบถึงปัญหา อุปสรรคในการด�ำเนินการของหน่วยรับตรวจ และข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการเพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคดังกล่าว แต่อย่างไรก็ตาม พบว่าหน่วยรับตรวจ ยังไม่ปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการเท่าที่ควร ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านความมั่นคงและการต่างประเทศ จึงเห็นควรให้ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง ควรติดตาม ตรวจสอบความก้าวหน้าของการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะการตรวจราชการ ทั้งระดับกระทรวงและระดับกรม รวมถึงการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงและแจ้ง กระทรวงทราบด้วย ๑.๑.๔ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านบริหาร และส่วนราชการไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง สภาพทั่วไป อ.ค.ต.ป. กลุม่ กระทรวงด้านบริหาร และส่วนราชการไม่สงั กัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือ ทบวง ได้สอบทานการตรวจราชการของส่วนราชการในกลุ่มกระทรวง แต่เนื่องจากส่วนราชการไม่สังกัดส�ำนัก นายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง ไม่มผี ตู้ รวจราชการ และไม่มขี อ้ ก�ำหนดให้รายงานการตรวจราชการ ตามนัย ระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ดังนั้นจึงไม่ได้จัดส่งรายงานผลการตรวจ ราชการ ส�ำหรับการสอบทานส่วนราชการสังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรีไม่พบสิง่ ทีเ่ ป็นเหตุให้เชือ่ ว่า ส่วนราชการไม่ได้ ปฏิบัติตามมาตรฐานการตรวจราชการตามระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 35
ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน การตรวจติดตามผลการด�ำเนินโครงการตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล ระบบการตรวจราชการ จะจัดให้มีการวางระบบตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผลการด�ำเนินงาน โดยมีข้อเสนอแนะหรือความเห็น ทั้งในเชิงนโยบายและการปฏิบัติ เพื่อการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องที่ไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล ซึง่ การให้ขอ้ เสนอแนะเพือ่ เพิม่ ขีดสมรรถนะของหน่วยรับตรวจให้มขี ดี สมรรถนะ ทัง้ ในด้านประสิทธิผลประสิทธิภาพคุณภาพการให้บริการและการพัฒนาองค์กร และระบบการก�ำกับดูแลตนเอง ท�ำให้ประชาชนไว้วางใจ เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าและประชาชนได้รับประโยชน์อย่างแท้จริง เป็นการให้ข้อเสนอ เพื่อการปรับปรุงพัฒนาให้เกิดการด�ำเนินการอย่างเป็นรูปธรรม และมีประสิทธิภาพมากที่สุดในระดับปฏิบัติ ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านบริหาร และส่วนราชการไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) รายงานการตรวจราชการควรเพิม่ เติมข้อเสนอแนะหรือความเห็นในการพัฒนาประสิทธิผล ความคุมคา ประสิทธิภาพ และคุณภาพของการบริหารงานซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น ๒) เห็นควรให้มกี ารบูรณาการการท�ำงานโดยขยายการมีสว่ นร่วมไปสูส่ ว่ นราชการอืน่ ๆ ในด้าน บุคลากร เครื่องมือ และทรัพยากรเข้ามาร่วมด�ำเนินงานโดยถือเป็นนโยบายจากส่วนกลาง รวมทั้งเพิ่มบทบาท หน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการด�ำเนินงาน เพื่อให้เกิดความโปร่งใสถูกต้อง และ รวดเร็ว ท�ำให้เกิดผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
๑.๒ รายงานข้อค้นพบของจังหวัด ข้อค้นพบ ๑. สภาพทั่วไป ๑) โดยรวมพบว่าการด�ำเนินการในส่วนที่เป็นสาระ ส�ำคัญมีความก้าวหน้าและได้มีการปฏิบัติตามระเบียบ ส�ำนักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ๒) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ แผนการตรวจ ราชการแบบบูรณาการฯ มีความครบถ้วนและครอบคลุม นโยบายส�ำคัญหลักของรัฐบาล มากยิ่งขึ้นกว่าปีที่ ผ่านมา ๓) แผนการตรวจราชการแบบบูรณาการฯ ในปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้ปรับปรุงแนวทางการ บูรณาการระหว่างโครงการส�ำคัญของรัฐบาลและประเด็น ส�ำคัญของผู้ตรวจราชการกระทรวงกับโครงการภายใต้ แผนพัฒนาจังหวัดและกลุม่ จังหวัด รวมทัง้ การบูรณาการ โครงการส�ำคัญเฉพาะพืน้ ที่ (Specific Area) เพือ่ แก้ไข ปัญหาเฉพาะร่วมกันในระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้าน ความมั่นคง บริหารและ เศรษฐกิจ สังคม และการ ส่วนราชการ ต่างประเทศ ไม่สังกัดฯ
36 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ข้อค้นพบ ๒. ประเด็นข้อสังเกต ๑) แผนการตรวจราชการแบบบูรณาการสามารถ ด�ำเนินการบูรณาการโครงการตามแผนพัฒนาจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด (Area) แต่ยังไม่สามารถบูรณาการกับ โครงการของกระทรวง (Function) และโครงการของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Local) ๒) รายงานการตรวจราชการแบบบูรณาการของ ผู ้ ต รวจราชการ ขาดการรายงานผลการประเมิ น ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคุม้ ค่าในการปฏิบตั ิ งานหรือการจัดท�ำภารกิจของหน่วยงานของรัฐออกมา ให้เห็นอย่างชัดเจน ๓) การวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง ในรายงาน การตรวจราชการฯ ยังไม่สมบูรณ์ ถูกต้อง ครบถ้วน ๔) การเสนอโครงการเข้าร่วมตามแผนการตรวจ ราชการแบบบูรณาการภายใต้ ๕ ประเด็นนโยบาย ส�ำคัญ ยังไม่มีความเชื่อมโยงกันในลักษณะกระบวน งานย่อย ภายใต้หลักการห่วงโซ่แห่งคุณค่าของประเด็น นโยบายส�ำคัญ ๕ กระบวนงานหลัก รวมถึงการบูรณา การโครงการภายใต้ห่วงโซ่แห่งคุณค่าของประเด็น ยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัด ยังไม่เกิดขึ้นอย่าง เป็นรูปธรรมชัดเจน
อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้าน ความมั่นคง บริหารและ เศรษฐกิจ สังคม และการ ส่วนราชการ ต่างประเทศ ไม่สังกัดฯ
สภาพทั่วไป รายงานความก้าวหน้าผลการสอบทานการตรวจราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ของกลุม่ จังหวัดคณะที่ ๑ - ๕ ได้พจิ ารณาจากแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการเพือ่ มุง่ ผลสัมฤทธิต์ ามนโยบายรัฐบาล และรายงานผลการด�ำเนินงานตามแผนการตรวจราชการดังกล่าวของผู้ตรวจราชการส�ำนักนายกรัฐมนตรี และ ผูต้ รวจราชการกระทรวงเป็นข้อมูลหลักในการสอบทาน โดยรวมพบว่าการด�ำเนินการในส่วนทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญมี ความก้าวหน้า และได้มีการปฏิบัติตามระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ และ มีข้อค้นพบโดยรวมดังนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ แผนการตรวจราชการแบบบูรณาการฯ ได้มีการปรับปรุงแนวทาง การบูรณาการระหว่างประเด็นส�ำคัญของผู้ตรวจราชการกระทรวงกับโครงการภายใต้แผนพัฒนาจังหวัดและ กลุ่มจังหวัด ระหว่างโครงการส�ำคัญของรัฐบาลกับโครงการภายใต้แผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด รวมทั้ง การบูรณาการโครงการส�ำคัญเฉพาะพื้นที่ (Specific Area) เพื่อแก้ไขปัญหาเฉพาะร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่ เกีย่ วข้อง เพือ่ มุง่ ไปสูค่ วามส�ำเร็จภายใต้นโยบายส�ำคัญหลัก ๕ ประเด็น ได้แก่ การพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวติ รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 37
การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว การสนับสนุนหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการสร้างมูลค่าเพิม่ สินค้าเกษตร จึงท�ำให้แผนการตรวจราชการ แบบบูรณาการฯ มีความครบถ้วนและครอบคลุมนโยบายส�ำคัญหลักของรัฐบาลมากยิ่งขึ้นกว่าปีที่ผา่ นมา ทั้งนี้ การจัดท�ำแผนดังกล่าวมีขนั้ ตอนการด�ำเนินงานทีเ่ ป็นระบบ ท�ำให้เกิดความชัดเจนในการปฏิบตั งิ านในระยะต่อไป ส�ำหรับการตรวจราชการแบบบูรณาการของผู้ตรวจราชการส�ำนักนายกรัฐมนตรีจะไม่ตรวจติดตาม แผนงาน/โครงการที่ซ�้ำซ้อนกับผู้ตรวจราชการกระทรวง แต่จะเน้นการบูรณาการโครงการในพื้นที่ระหว่าง โครงการของกระทรวง (Function) โครงการตามแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด (Area) และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (Local) ภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ส�ำคัญ ๒ ล�ำดับแรก โดยใช้ value Chain เป็นเครื่องมือ เพื่อเป็นการกระตุ้นเร่งรัดให้จังหวัด/กลุ่มจังหวัดให้สามารถจัดเตรียมยุทธศาสตร์ที่ส�ำคัญ ๑.๒.๑ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๑ อ.ค.ต.ป. กลุม่ จังหวัด คณะที่ ๑ ได้ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบตั ติ ามระเบียบส�ำนักนายก รัฐมนตรีวา่ ด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ของกลุม่ จังหวัด คณะที่ ๑ ซึง่ คณะอนุกรรมการฯ ไม่พบสิง่ ทีเ่ ป็น เหตุให้เชื่อได้วา่ การตรวจราชการแบบบูรณาการในส่วนที่เป็นสาระส�ำคัญ ไม่ได้ปฏิบัติตามระเบียบส�ำนักนายก รัฐมนตรีวา่ ด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน แผนการตรวจราชการแบบบูรณาการสามารถด�ำเนินการบูรณาการโครงการตามแผนพัฒนา จังหวัด/กลุ่มจังหวัด (Area) โดยใช้ value Chain เป็นเครื่องมือในการเชื่อมโยงโครงการตามแผนพัฒนาจังหวัด/ กลุม่ จังหวัด แต่ยงั ไม่สามารถบูรณาการกับโครงการของกระทรวง (Function) และโครงการขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ (Local) เนือ่ งจากข้อจ�ำกัดในเรือ่ งข้อมูลแผนงาน/โครงการ นอกจากนีใ้ นกระบวนการตรวจราชการของ ผูต้ รวจราชการกระทรวงได้วเิ คราะห์และก�ำหนดประเด็นความเสีย่ งของแผนงาน/ โครงการ และส่งให้หน่วยงาน เจ้าของโครงการประเมินความเสีย่ ง และหาวิธกี ารจัดการกับความเสีย่ งดังกล่าว ซึง่ ยังพบว่าการประเมินความเสีย่ ง และการก�ำหนดแนวทางจัดการกับความเสี่ยงของหน่วยรับตรวจและข้อเสนอแนะในการจัดการความเสี่ยงของ ผู้ตรวจราชการยังไม่สอดคล้องกัน ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๑ จึงเห็นควรให้มีการก�ำชับให้ส่วนราชการ และองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ปฏิบัติให้เป็นไปตามมาตรา ๒๙ แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและ กลุม่ จังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. ๒๕๕๑ รวมทัง้ จะต้องมีการอบรมสัมมนาเพือ่ ให้ความรูแ้ ละความเข้าใจเกีย่ วกับ Value Chain ให้กับจังหวัด/กลุ่มจังหวัด อย่างต่อเนื่อง ๑.๒.๒ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๒ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๒ ได้ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติตามระเบียบส�ำนัก นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ ซึง่ คณะอนุกรรมการฯ ไม่พบสิง่ ทีเ่ ป็นเหตุให้เชือ่ ได้ว่าการตรวจราชการแบบบูรณาการในส่วนทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญ ไม่ได้ปฏิบตั ติ ามระเบียบ ส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน รายงานการตรวจราชการแบบบูรณาการของผูต้ รวจราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ มีสาระส�ำคัญของการติดตามความก้าวหน้า ปัญหาและอุปสรรคของโครงการ การประเมินความเสี่ยงเชิง ยุทธศาสตร์ และข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการฯ แต่ยังไม่ครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ในระเบียบ 38 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ เนื่องจากยังไม่มีผลของการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและความคุ้มค่าในการปฏิบัติงานหรือการจัดท�ำภารกิจของหน่วยงานของรัฐให้เห็นอย่างชัดเจน นอกจากนี้รายงานการตรวจราชการฉบับนี้ไม่ได้จ�ำแนกองค์ประกอบตัวแปร ความเสี่ยงที่ใช้ในการประเมิน ท�ำให้ไม่สามารถสอบทานความถูกต้องของการประเมินค่าดัชนีความเสี่ยงที่ระบุไว้ในรายงานได้ รวมทัง้ การ ตรวจติดตามกรณีปัญหาเฉพาะพื้นที่ (Specific Area) มีการลงพื้นที่ตรวจติดตามเพียงครั้งเดียว หากมีปัจจัย ความเสี่ยงอื่น ๆ เกิดขึ้นมาในภายหลังก็จะไม่ได้รับการแก้ไขได้อย่างทันการณ์ ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๒ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) เพื่อให้รูปแบบการรายงานผลการตรวจราชการเป็นไปในแนวทางเดียวกัน ในการตรวจ ราชการทุกครั้ง ควรประเมินค่าดัชนีความเสี่ยงที่พบและรายงานระดับความเสี่ยงที่พบในรายงานด้วย ๒) ควรให้ความส�ำคัญกับการน�ำเสนอผลการประเมินความคุ้มค่าหรือมูลค่าเพิ่มของโครงการ ภายใต้ห่วงโซ่แห่งคุณค่าของประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่สอดคล้องกับ ๕ ประเด็นนโยบาย ส�ำคัญ ซึ่งประกอบด้วย นโยบายการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต นโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ นโยบายการ สร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตร นโยบายการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว และนโยบายการด�ำเนินการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๓) ควรเพิ่มความถี่ในการลงพื้นที่ตรวจติดตามผลการด�ำเนินการเพื่อติดตามความก้าวหน้า ในการด�ำเนินโครงการ และให้ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้อีกภายใต้สภาพการณ์ ที่เปลี่ยนแปลงไป ๑.๒.๓ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๓ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๓ ได้ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติตามระเบียบส�ำนัก นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ของกลุ่มจังหวัด ซึง่ คณะอนุกรรมการฯ ไม่พบสิ่งที่ เป็นเหตุให้เชื่อได้ว่าการตรวจราชการแบบบูรณาการในส่วนที่เป็นสาระส�ำคัญ ไม่ได้ปฏิบัติตามระเบียบส�ำนัก นายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน แผนการตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๔ มุง่ เน้นการบูรณาการร่วมกัน ระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม โดยให้ผู้ตรวจกระทรวงมุ่งเน้นการเจาะลึกกลุ่มแผนงาน/ โครงการในระดับกระทรวง กรม (Function) และระดับพืน้ ที่ (Area) และผูต้ รวจราชการส�ำนักนายกรัฐมนตรีมงุ่ เน้น โครงการทีเ่ ป็นโครงการตามแผนยุทธศาสตร์ของจังหวัด/ กลุม่ จังหวัดและบูรณาการโครงการของกระทรวง (Function) กับโครงการของพืน้ ที่ (Area) เข้าด้วยกัน ซึ่งรายงานผลการตรวจราชการ แบบบูรณาการฯ แสดงให้เห็นว่าข้อมูลที่ ผูต้ รวจราชการน�ำมาใช้ในการวิเคราะห์และประเมินผลความเสีย่ ง มีความถูกต้องแม่นย�ำ เป็นผลให้ผตู้ รวจราชการ สามารถน�ำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการให้ข้อเสนอแนะแก่หน่วยงานที่รับตรวจน�ำไปปฏิบัติเพื่อลดความเสี่ยงได้ ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๓ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรีควรจัดให้มีการฝึกอบรมผู้ช่วยผู้ตรวจอย่างต่อเนื่อง เพื่อเสริมสร้างความเชี่ยวชาญให้กับผู้ปฏิบัติงานทั้งในด้านของเทคนิคและวิธีการตรวจราชการ เพื่อให้เกิดการ เรียนรู้และเข้าใจในแนวทางการตรวจราชการอย่างชัดเจน
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 39
๒) ในกรณีของจังหวัดควรมีการประชุมชีแ้ จง อบรมเพือ่ สร้างความเข้าใจร่วมกันในกระบวนการ ในการวิเคราะห์และประเมินผลความเสี่ยง เพื่อให้จังหวัดได้สามารถมีส่วนร่วมและเป็นเจ้าของในการบริหาร ความเสี่ยงในระดับจังหวัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อให้ข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการกระทรวง และผู้ตรวจราชการส�ำนักนายกรัฐมนตรี สามารถน�ำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น รวมทั้งจัดให้มีกลไก การหารือ เพือ่ สร้างความเข้าใจและความมีสว่ นร่วมเป็นเจ้าของในข้อเสนอดังกล่าวกับหน่วยงานในระดับจังหวัด ซึ่งเป็นฝ่ายที่จะต้องน�ำข้อเสนอไปปฏิบัติให้บังเกิดผล ๑.๒.๔ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๔ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๔ ได้ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติตามระเบียบส�ำนัก นายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ของกลุม่ จังหวัด ซึง่ คณะอนุกรรมการฯ ไม่พบสิง่ ทีเ่ ป็นเหตุ ให้เชือ่ ได้วา่ การตรวจราชการแบบบูรณาการในส่วนทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญ ไม่ได้ปฏิบตั ติ ามระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน จ�ำนวนโครงการที่แต่ละกระทรวงส่งมาภายใต้ประเด็นนโยบายส�ำคัญ ๕ ประเด็น รวมทั้งสิ้น ๕๕ โครงการ มีบางประเด็นทีส่ ง่ โครงการมาบูรณาการน้อยเกินไป จึงมีผลท�ำให้การตรวจติดตามประเด็นนโยบาย ดังกล่าวไม่เกิดผลสัมฤทธิ์เท่าที่ควร ทั้งนี้การน�ำเสนอข้อมูลต่าง ๆ ในรายงานเมื่อพิจารณาจากการประเมิน ความเสี่ยงและการประเมินความคุ้มค่าแล้ว เห็นว่าข้อมูลที่น�ำเสนอมีความสอดคล้องและเป็นเหตุเป็นผลกัน มีการน�ำเสนอในรูปแบบตารางและแผนภาพ และท�ำให้สามารถเข้าใจได้งา่ ย นอกจากนี้พบว่าหน่วยงานระดับ พื้นที่ส่วนใหญ่สามารถจัดการความเสี่ยงของโครงการตามข้อเสนอแนะที่ผู้ตรวจราชการ ได้ให้ไว้ไปปฏิบัติได้ ครบถ้วนอย่างมีประสิทธิภาพ ท�ำให้คา่ ดัชนีความเสีย่ งในประเด็นต่าง ๆ ลดลงอยูใ่ นระดับยอมรับได้ หรืออย่างน้อย อยู่ในระดับเฝ้าระวัง อย่างไรก็ตามการปรับปรุงรูปแบบรายงานการตรวจราชการแบบบูรณาการ จึงท�ำให้ไม่มี ข้อมูลโครงการที่จะน�ำมาใส่ในแบบฟอร์มตามคู่มือสอบทานที่ ก.พ.ร. ก�ำหนดได้ ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๔ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ควรประมวลความเสี่ยงและข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการแต่ละกระทรวงจากการตรวจ ติดตามในแต่ละรอบในแต่ละโครงการ เป็นภาคผนวกของรายงานฯ ด้วย นอกจากนี้ ควรแสดงข้อมูลเชิงปริมาณ ให้เห็นว่า เมือ่ ลดความเสีย่ งเชิงยุทธศาสตร์ให้อยู่ในระดับทีย่ อมรับได้ จะส่งผลให้โครงการส�ำเร็จร้อยละเท่าไรจาก เป้าหมายที่ตั้งไว้ ซึ่งจะสะท้อนให้เห็นถึงความส�ำเร็จจากผลการตรวจราชการและผลส�ำเร็จของนโยบายรัฐบาล ที่แท้จริงด้วย ๒) เห็นควรทบทวนรูปแบบรายงานการตรวจราชการแบบบูรณาการในคู่มือการสอบทาน โดยตั้งคณะท�ำงานขึ้นเพื่อมาปรับปรุงงานดังกล่าวโดยเฉพาะ ๓) ควรเพิม่ จ�ำนวนโครงการในแต่ละประเด็นโยบายส�ำคัญ ๕ ประเด็นนโยบายทีผ่ ตู้ รวจราชการ กระทรวงเสนอไว้ในแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อให้การตรวจ บูรณาการจะเกิดผลสัมฤทธิ์มากขึ้น เป็นผลท�ำให้ประชาชนได้รับประโยชน์จากการตรวจราชการได้กว้างขวาง มากยิ่งขึ้น
40 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
๑.๒.๕ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๕ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๕ ได้ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติตามระเบียบส�ำนัก นายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ของกลุม่ จังหวัด ซึง่ คณะอนุกรรมการฯ ไม่พบสิง่ ทีเ่ ป็นเหตุ ให้เชือ่ ได้วา่ การตรวจราชการแบบบูรณาการในส่วนทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญ ไม่ได้ปฏิบตั ติ ามระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน การเสนอโครงการเข้ า ร่ ว มตามแผนการตรวจราชการแบบบู ร ณาการในแต่ ล ะประเด็ น นโยบายของผู้ตรวจราชการกระทรวงภายใต้ ๕ ประเด็นนโยบายส�ำคัญ พบว่ายังไม่มีความเชื่อมโยง กั น ในลั ก ษณะกระบวนงานย่ อ ยภายใต้ ห ลั ก การห่ ว งโซ่ แ ห่ ง คุ ณ ค่ า ของประเด็ น นโยบายส� ำ คั ญ ดั ง กล่ า ว ซึ่งถ้ามีการเชื่อมโยงกันก็จะส่งผลให้การจัดการความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลของโครงการเหล่านั้น เกิดผลสัมฤทธิ์ของโครงการทั้งกระบวนงานย่อยที่เชื่อมโยงกันไปสู่เป้าประสงค์ของประเด็นนโยบายส�ำคัญได้ นอกจากนี้ การบูรณาการโครงการภายใต้ห่วงโซ่แห่งคุณค่าของประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัด ยังคงไม่เกิดขึน้ อย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน แม้จะพบว่าในขัน้ ตอนของการท�ำแผนปฏิบตั ริ าชการประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ที่เสนอเป็นค�ำของบประมาณของบางจังหวัดแล้วก็ตาม ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๕ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการดังนี้ ๑) ควรพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นเครือ่ งมือในการตรวจราชการอย่างจริงจังในหลายด้าน เช่น การจัดท�ำตารางส�ำหรับเก็บข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ เพื่อติดตามความก้าวหน้าของแผนงานโครงการที่ตรวจ ติดตาม โดยอาจจัดท�ำขึ้นเพื่อทดลองใช้กับโครงการเรื่องใดเรื่องหนึ่งก่อนเป็นการน�ำร่องและพัฒนาเพิ่มขึ้นใน ปีต่อ ๆ ไป ๒) ควรให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการบันทึกผลการแก้ไขปัญหาเพื่อให้ผู้ตรวจราชการ ได้รับทราบผลการด�ำเนินงาน รวมทั้งเปิดช่องทางให้ที่ปรึกษาผู้ตรวจราชการภาคประชาชน แจ้งข้อมูลและ ข้อสังเกตต่าง ๆ เกีย่ วกับโครงการผ่านทางเว็บไซต์ ทัง้ นีเ้ พือ่ เกิดประโยชน์ตอ่ เจ้าหน้าทีท่ เี่ กีย่ วข้องและต่อผูต้ รวจ ราชการคนใหม่ในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ รวมทั้งหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีการจัดท�ำโครงการในลักษณะเดียวกัน สามารถน�ำประเด็นปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะไปปรับใช้ในการด�ำเนินโครงการอื่น ๆ ได้ดี
๒. การตรวจสอบภายใน คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มกระทรวง และคณะอนุกรรมการตรวจ สอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัด ได้ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรฐาน การตรวจ สอบภายในที่กรมบัญชีกลางก�ำหนด ส�ำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยอาศัยข้อมูลจากกฎบัตรการตรวจ สอบภายใน แผนและรายงานการตรวจสอบภายใน และแบบประเมินตนเองของหน่วยงานตรวจสอบภายในของ ส่วนราชการ (Self - Assessment) ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นข้อมูลหลักในการตรวจสอบควบคู่ กับมาตรฐานการตรวจสอบภายในตามแบบคู่มือการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 41
๒.๑ รายงานข้อค้นพบของส่วนราชการ ข้อค้นพบ ๑. สภาพทั่วไป • ส่วนใหญ่ไม่พบเหตุให้เชือ่ ว่ารายงานการสอบทาน ผลการด� ำ เนิ น งานด้ า นการตรวจสอบภายในของ ส่ ว นราชการไม่ ถู ก ต้ อ งตามที่ ค วรในสาระส� ำ คั ญ ตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในที่ ก� ำ หนดโดย กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง • อัตราก�ำลังผู้ตรวจสอบภายในไม่เพียงพอ และ มีการโยกย้ายสับเปลี่ยนต�ำแหน่ง ขาดการสอนงานหรือ ส่งมอบงาน ซึ่งส่งผลต่อความต่อเนื่องในการปฏิบัติงาน • ผู ้ ต รวจสอบภายในมี ข ้ อ จ� ำ กั ด เรื่ อ งความรู ้ ความสามารถในการปฏิ บั ติ ง านให้ ค รอบคลุ ม ในทุ ก ประเด็นของการตรวจสอบ ๒. ประเด็นข้อสังเกต ๑) การด�ำเนินการของผู้ตรวจสอบภายใน • การจัดท�ำกฎบัตร จัดท�ำแผนการตรวจสอบ และ การประเมินความเสี่ยง ไม่ครอบคลุมทุกหน่วยรับตรวจ และมีบางส่วนราชการที่ไม่สอดคล้องกับมาตรฐานการ ตรวจสอบภายใน • บางกระทรวงได้มีการบูรณาการงานตรวจสอบ ระหว่ า งกระทรวงและกรมโดยได้ ร ่ ว มกั น ตรวจสอบ โครงการส�ำคัญของส่วนราชการ ๒) รายงานการประเมินตนเอง • ผลการประเมินตนเองบางเรือ่ งขาดความน่าเชือ่ ถือ หรือไม่สอดคล้องกับข้อเท็จจริงที่ปฏิบัติ ๓) รายงานผลการตรวจสอบภายใน • ด้านการเงิน การบัญชี และการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ - ยังคงพบการปฏิบตั ทิ ี่ไม่เป็นไปตามกฎหมาย และระเบียบของทางราชการ เช่น การรับ-จ่ายเงิน การบันทึกรายการ - การบั น ทึ ก บั ญ ชี ยั ง ไม่ ค รบถ้ ว นสมบู ร ณ์ ไม่เป็นปัจจุบัน หรือไม่ถูกต้อง
อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้าน ความมั่นคง บริหารและ เศรษฐกิจ สังคม และการ ส่วนราชการ ต่างประเทศ ไม่สังกัดฯ
42 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ข้อค้นพบ • ด�ำเนินการตรวจสอบการจัดซือ้ จัดจ้างด้วยระบบ อิเล็คทรอนิกส์ (e-Auction) - บางหน่วยงานยังไม่ได้ด�ำเนินการตรวจสอบ e-Auction ในรอบระหว่างปี หรือรอบ ๑๒ เดือน ยกเว้น กระทรวงในกลุม่ ความมัน่ คงฯ ที่ได้ดำ� เนินการตรวจสอบ e-Auction (ถ้ามี) ในรอบ ๑๒ เดือน
อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้าน ความมั่นคง บริหารและ เศรษฐกิจ สังคม และการ ส่วนราชการ ต่างประเทศ ไม่สังกัดฯ
๒.๑.๑ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการตรวจสอบภายใน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งรับผิดชอบสอบทานกระทรวงในกลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจ จ�ำนวน ๙ กระทรวง ไม่พบสิ่งที่ เป็นเหตุให้เชื่อว่าการตรวจสอบภายในของกระทรวงต่าง ๆ ในกลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจในส่วนที่เป็นสาระ ส�ำคัญ ไม่ได้ปฏิบัติตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ โดยมีข้อค้นพบและข้อเสนอแนะ ดังนี้ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน จากการสอบทานการจัดท�ำรายงานการตรวจสอบภายในมีข้อค้นพบที่ส�ำคัญ ได้แก่ การปฏิบัติ งานของหน่วยงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการในกลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจเป็นไปตามกรอบแห่ง มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ โดยมีผลการประเมินตนเองของหน่วยงานอยู่ในระดับดีถึง ดีมาก การจัดท�ำแผนการตรวจสอบประจ�ำปีเป็นไปตามผลการประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ การปฏิบตั งิ านเป็นไปตามแผนการตรวจสอบทีก่ ำ� หนด และบางกระทรวงได้มกี ารบูรณาการงานตรวจสอบระหว่าง กระทรวงและกรมโดยได้ร่วมกันตรวจสอบโครงการส�ำคัญของส่วนราชการ ทัง้ นี้ จากการสอบทานการจัดท�ำรายงานการตรวจสอบภายในพบปัญหาเกี่ยวกับประสิทธิภาพ และความก้าวหน้าในสายงานตรวจสอบภายใน การเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการตรวจสอบ ด้านการตรวจสอบการด�ำเนินงาน และการตรวจสอบเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งการสนับสนุนและส่งเสริม งานตรวจสอบภายในในเรือ่ งอัตราก�ำลัง งบประมาณ และการมีสว่ นร่วมรับรูเ้ กีย่ วกับนโยบายและการด�ำเนินงาน ของส่วนราชการ ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจ จึงมีข้อเสนอแนะ ดังนี้ ๑) กระทรวงที่หน่วยงานในสังกัดมีผลการประเมินตนเองอยู่ในระดับดีถึงดีมาก เช่น กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ กระทรวงคมนาคม จึงควรพยายามรักษาระดับผลการประเมินและปรับปรุงพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถเป็นหน่วยงานต้นแบบด้านการตรวจสอบภายใน และเตรียมพร้อมส�ำหรับการประเมิน จากหน่วยงานภายนอก ๒) หน่วยงานกลางทีเ่ กีย่ วข้อง อาจจะพิจารณาทบทวนปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานตรวจสอบ ภายใน เพือ่ แก้ไขปัญหาข้อจ�ำกัดด้านอัตราก�ำลังของผูต้ รวจสอบภายใน และสร้างความเข้มแข็งให้กบั หน่วยงาน ตรวจสอบภายใน รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 43
๓. ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงควรได้นำ� เสนอปัญหา ข้อจ�ำกัด และข้อค้นพบของผูต้ รวจสอบภายใน ให้ผบู้ ริหารของส่วนราชการทัง้ ระดับกระทรวงและกรมได้รบั ทราบ เพือ่ จะได้แลกเปลีย่ นข้อมูลและความคิดเห็น ระหว่างกัน รวมทั้งติดตามความก้าวหน้าของการด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไขปัญหาดังกล่าว ๒.๑.๒ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านสังคม สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการตรวจสอบภายใน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งรับผิดชอบสอบทานกระทรวงในกลุ่มกระทรวงด้านสังคม จ�ำนวน ๖ กระทรวง ในภาพรวม ไม่ พบสิ่งที่เป็นเหตุให้เชื่อว่าการตรวจสอบภายในของกระทรวงต่าง ๆ ในกลุ่มกระทรวงด้านสังคมในส่วน ที่เป็น สาระส�ำคัญ ไม่ได้ปฏิบัติตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในของส่วนราชการที่ก�ำหนดโดยกรมบัญชีกลาง ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน ผลการตรวจสอบของหน่วยตรวจสอบภายในของกระทรวงด้านสังคมส่วนใหญ่เป็นไปตาม แผนการตรวจสอบทีก่ ำ� หนดไว้ ซึง่ มีผลการสอบทานการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานทัว่ ไปและมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน อยู่ในเกณฑ์ดีถึงดีมาก โดยมีการจัดท�ำกฎบัตรและเผยแพร่ให้เป็นที่ทราบทั่วกัน มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง ของงานเพื่อใช้ในการวางแผน มีการจัดท�ำรายงานผลการตรวจสอบเพื่อชี้ให้เห็นผลสัมฤทธิ์ ข้อผิดพลาด พร้อมทัง้ ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะแนวทางแก้ปญั หาและแนวทางปฏิบตั ทิ ถี่ กู ต้อง มีการจัดท�ำคูม่ อื การปฏิบตั งิ าน ด้านการเงิน การบัญชี การพัสดุ พร้อมเสนอแนะทางปฏิบตั ทิ ถี่ กู ต้อง และมีกฎระเบียบ ทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ ลดการปฏิบตั ิ ที่ผิดซ�้ำลง ส�ำหรับการจัดซื้อจัดจ้างด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) พบว่า หน่วยตรวจสอบภายใน ของหน่วยงานยังมีการตรวจสอบค่อนข้างน้อย และบางหน่วยงานยังไม่ได้ด�ำเนินการตรวจสอบ e-Auction ทั้งนี้ ยังพบว่ากระทรวงแรงงานยังคงมีข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงานด้านการเงิน การบัญชี การพัสดุและการจัดซื้อจัดจ้าง ซึ่งสาเหตุมาจากการโยกย้ายปรับเปลี่ยนผู้รับผิดชอบโดยขาดการสอนงานหรือ ส่งมอบงานอย่างเป็นระบบท�ำให้การปฏิบัติงานขาดความต่อเนื่องและเจ้าหน้าที่ขาดความรู้ ความเข้าใจ ในกฎ ระเบียบ แนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านสังคม จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ผูบ้ ริหารหน่วยงานควรให้คำ� ปรึกษา แนะน�ำ และติดตามผลการปฏิบตั งิ านและให้ความส�ำคัญ ต่อการตรวจสอบกิจกรรมทีเ่ ป็นภารกิจหลัก หรือนโยบายส�ำคัญของหน่วยงานให้มากขึน้ รวมทัง้ ควรมอบหมาย ผูร้ บั ผิดชอบหรือคณะกรรมการฯ ก�ำกับ ติดตาม เร่งรัดการด�ำเนินงานโครงการตามแผนปฏิบตั กิ ารไทยเข้มแข็ง ปี ๒๕๕๕ ให้เป็นไปตามแผนที่ก�ำหนด ๒) หน่วยงานควรพัฒนาความรูค้ วามสามารถของผูต้ รวจสอบภายใน โดยการจัดอบรมผูต้ รวจสอบ ภายในในเรือ่ งการตรวจสอบการปฏิบตั งิ านในระบบต่าง ๆ และเรือ่ งอืน่ ๆ ทีเ่ หมาะสม และจัดฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงานในส่วนภูมิภาคให้มีความรู้ด้านการเงินบัญชีและพัสดุ เพื่อให้เจ้าหน้าที่ด�ำเนินการได้อย่างถูกต้อง ตามระเบียบฯ นอกจากนี้ควรจัดท�ำคู่มือการปฏิบัติงานภายในหน่วยงานด้านการเงิน บัญชี พัสดุตามระเบียบ ข้อบังคับและมติคณะรัฐมนตรีและการจัดท�ำระบบควบคุมภายในทัว่ ทัง้ องค์กรเพือ่ ให้เจ้าหน้าที่ได้ใช้เป็นแนวทาง ในการปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่องเมื่อมีการโยกย้ายหรือสับเปลี่ยนต�ำแหน่ง ๓) หากพบการปฏิบัติงานที่บกพร่องด้านการเงิน การบัญชี การพัสดุ กลุ่มตรวจสอบภายใน ควรรายงานโดยตรงถึงเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการและหัวหน้าหน่วยงานให้ได้ทราบและระบุข้อปฏิบัติที่ถูกต้อง เพื่อป้องกันข้อบกพร่องในเรื่องเดิมอีก 44 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
๔) กลุ่มตรวจสอบภายในของส่วนราชการ ควรวางแผนยกระดับการตรวจสอบที่มากกว่า การตรวจสอบความถูกต้องตามระเบียบที่เกี่ยวข้อง แต่ให้ครอบคลุมการด�ำเนินงานให้มากขึ้น ทั้งนี้ ควรน�ำ ข้อสังเกตของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงไปแก้ไขปัญหาและบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อให้การปฏิบัติงาน เกิดประสิทธิผล และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ๕) เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการรับการประเมินระบบประกันคุณภาพงานตรวจสอบ ภายในภาครัฐ หน่วยงานตรวจสอบภายในควรศึกษาเกณฑ์การประเมินระบบการประกันคุณภาพงานตรวจสอบ ภายในภาครัฐที่กรมบัญชีกลางก�ำหนด เพื่อให้การรายงานผลเป็นไปตามเกณฑ์การประเมินดังกล่าว ๒.๑.๓ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านความมั่นคง และการต่างประเทศ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการตรวจสอบภายใน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึง่ รับผิดชอบสอบทานกระทรวงในกลุม่ กระทรวงด้านความมัน่ คงและการต่างประเทศ จ�ำนวนทัง้ สิน้ ๔ กระทรวง ไม่พบสิง่ ทีเ่ ป็นเหตุให้เชือ่ ว่าการตรวจสอบภายในของกระทรวงต่าง ๆ ในกลุม่ กระทรวงด้านความมัน่ คง และการต่างประเทศในส่วนที่เป็นสาระส�ำคัญ ไม่ได้ปฏิบัติตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ โดยมีข้อค้นพบและข้อเสนอแนะ ดังนี้ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน ในภาพรวมพบว่าหน่วยตรวจสอบภายในของส่วนราชการในสังกัดกลุม่ กระทรวงด้าน ความมัน่ คง และการต่างประเทศส่วนใหญ่มกี ารจัดท�ำกฎบัตร จัดท�ำแผนการตรวจสอบตามผลการประเมินความเสีย่ ง มีการ ก�ำหนดเรื่องที่ท�ำการตรวจสอบทั้งด้านการเงิน การบัญชี การปฏิบัติตามกฎระเบียบ และด้านการด�ำเนินงาน พร้อมทั้งได้ติดตามผลการด�ำเนินงานของหน่วยรับตรวจตามที่มีข้อเสนอแนะมากขึ้น มีการปฏิบัติงานปฏิบัติ งานที่เป็นไปตามกรอบแห่งมาตรฐานการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ อยู่ในระดับดี - ดีมาก นอกจากนี้ ยังพบปัญหาในการด�ำเนินงาน ได้แก่ การโยกย้ายของเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน การมีอตั ราก�ำลังในการปฏิบตั งิ านด้านการตรวจสอบไม่เพียงพอ เจ้าหน้าทีข่ าดความรู้ ความสามารถในด้านการ ตรวจสอบระบบบัญชี GFMIS และข้อตรวจพบส่วนใหญ่เป็นข้อบกพร่องทางบัญชี เป็นต้น ดังนัน้ อ.ค.ต.ป. กลุม่ กระทรวงด้านความมัน่ คง และการต่างประเทศ จึงเห็นควรให้มกี ารด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ส่วนราชการควรให้ความส�ำคัญและสนับสนุนอัตราก�ำลังด้านการตรวจสอบภายใน ในการ ปฏิบัติงานอย่างเพียงพอและเหมาะสม และก�ำกับ ดูแล ติดตามผลการปฏิบัติงานด้านการตรวจสอบภายใน อย่างจริงจัง โดยผลักดันให้หน่วยตรวจสอบภายในเข้าร่วมโครงการประเมินการประกันคุณภาพงานตรวจสอบ ภายในของส่วนราชการ ๒) เพื่ อ การพั ฒ นางานตรวจสอบภายในให้ เ ป็ น ไปในแนวทางเดี ย วกั น และทั น ต่ อ การ เปลี่ยนแปลงของความทันสมัยในเทคโนโลยีที่มีอย่างตลอดเวลา ควรส่งเสริมและพัฒนาความรู้ด้านการตรวจ สอบการบริหาร และการตรวจสอบสารสนเทศ ๓) ส่วนราชการควรให้ความส�ำคัญในการจัดการเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ การควบคุมและ การปฏิบัติงานในระบบสารสนเทศ รวมทั้งติดตามและประเมินผลระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งมีผลต่อระบบฐานข้อมูล รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 45
๔) ควรมีการเพิ่มค่าตอบแทนพิเศษให้กับบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านการตรวจสอบภายใน เพื่อเป็นการสร้างขวัญและก�ำลังใจให้กับบุคลากรดังกล่าว เนื่องจากต้องใช้ความรู้ ความเชี่ยวชาญที่เป็น สหวิทยาการและความละเอียดอ่อนในการปฏิบัติงานกับหน่วยรับตรวจ ๒.๑.๔ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านบริหาร และส่วนราชการไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการตรวจสอบภายในประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึง่ รับผิดชอบสอบทานกระทรวงในกลุม่ กระทรวงด้านบริหาร และส่วนราชการไม่สงั กัดส�ำนักนายก รัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง จ�ำนวน ๘ หน่วยงาน ไม่พบสิง่ ทีเ่ ป็นเหตุให้เชือ่ ว่าการตรวจสอบภายในของหน่วยงาน ต่าง ๆ ในส่วนที่เป็นสาระส�ำคัญไม่ได้ปฏิบัติตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน ส่วนราชการไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือ ทบวง ในภาพรวม พบว่าส่วนราชการไม่สงั กัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวงที่ไม่ได้จดั ส่ง ข้อมูลให้สอบทาน ได้แก่ ส�ำนักพระราชวังและส�ำนักราชเลขาธิการ อย่างไรก็ตามพบว่าผู้ตรวจสอบภายในของ ส่วนราชการมีการปฏิบตั งิ านเป็นไปตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในของส่วนราชการทีก่ รมบัญชีกลางก�ำหนด และมีการประเมินตนเองอยู่ในเกณฑ์ดี/ดีมาก โดยมีการวางแผนการตรวจสอบตามผลการประเมินความเสี่ยง และเสนอแผนให้ผบู้ ริหารหน่วยงานอนุมตั ิ รวมทัง้ มีการด�ำเนินการตามแผนและเสนอรายงานผลการตรวจสอบ ต่อผูบ้ ริหารหน่วยงานได้ครบถ้วน ส�ำหรับรายงานผลการตรวจสอบพบว่าส่วนราชการส่วนใหญ่ยงั คงปฏิบตั ติ าม กฎหมายและระเบียบของทางราชการไม่ครบถ้วนในด้านการเงิน การบัญชี และการพัสดุ และมีการด�ำเนินงาน ล่าช้ากว่าแผนการด�ำเนินงานที่โครงการก�ำหนด ส่วนราชการสังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี ในภาพรวมพบว่าผู้ตรวจสอบภายในกลุ่มกระทรวงด้านบริหาร มีการปฏิบัติงานเป็นไปตาม มาตรฐานการตรวจสอบภายในของส่วนราชการที่กรมบัญชีกลางก�ำหนด แต่การจัดท�ำกฎบัตรการตรวจ สอบภายในบางส่วนราชการจัดท�ำไม่สอดคล้องกับมาตรฐานที่ก�ำหนด โดยมีการประเมินตนเองอยู่ในเกณฑ์ ดี/ดีมาก แม้ว่าผลการประเมินตนเองบางเรื่องยังขาดความน่าเชื่อถือหรือไม่สอดคล้องกับข้อเท็จจริงที่ปฏิบัติ ก็ตาม ทั้งนี้ ผู้ตรวจสอบภายในมีการวางแผนการตรวจสอบตามผลการประเมินความเสี่ยงและเสนอแผนให้ ผูบ้ ริหารหน่วยงานอนุมตั ิ มีการด�ำเนินงานตามแผนและรายงานผลการตรวจสอต่อผูบ้ ริหารหน่วยงาน ซึง่ พบว่า ส่วนราชการส่วนใหญ่ยงั คงปฏิบตั ติ ามกฎหมายและระเบียบของทางราชการไม่ครบถ้วนในด้านการเงิน การบัญชี และการพัสดุ และมีการด�ำเนินงานล่าช้ากว่าแผนการด�ำเนินงานที่โครงการก�ำหนด ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านบริหาร และส่วนราชการไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ผู้บริหารหน่วยงานควรตระหนักถึงความส�ำคัญและก�ำกับดูแลการปฏิบัติงานให้ถูกต้องและ เป็นไปตามระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการน�ำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๕๑ และควรเร่งรัด ด�ำเนินการแก้ไขการจัดวางระบบควบคุมภายใน โดยใช้แบบประเมิน ปอ. ๑ และ ปอ. ๒ ในการติดตามผลให้ ครอบคลุมทุกกิจกรรม ๒) กรมบัญชีกลางควรพิจารณาปรับปรุงแบบประเมินตนเองของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ให้สอดคล้องกับระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ พ.ศ. ๒๕๕๑ 46 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
๒.๒ รายงานข้อค้นพบของจังหวัด ข้อค้นพบ ๑. สภาพทั่วไป ๑) เอกสารที่ได้รบั ยังมีการปฏิบตั ไิ ม่ถกู ต้อง ครบถ้วน ตามระเบียบที่ก�ำหนด ๒) เจ้าหน้าที่ขาดความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่ จ�ำเป็นต่อการปฏิบัติงาน ๒. ประเด็นข้อสังเกต ๑) รายงานการประเมินตนเอง • การด�ำเนินงานไม่เป็นอิสระเท่าที่ควร • หน่วยตรวจสอบภายในไม่ได้ปฏิบตั ติ ามระเบียบ อย่างครบถ้วน เช่น ไม่มกี ารประเมินโดยหน่วยงานภายนอก ๒) รายงานผลการตรวจสอบภายใน • ด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ - หน่วยรับตรวจบางหน่วยงานไม่สามารถปฏิบตั ิ ตามกฎระเบียบได้อย่างถูกต้อง • ด้านการเงิน การบัญชี - ขาดระบบการตรวจสอบและสอบทาน - เอกสารทางการเงินไม่ครบถ้วน - เจ้าหน้าทีข่ าดความรูค้ วามเข้าใจในกฎหมาย และระเบียบของทางราชการ - บุคลากรทางการเงินและบัญชีไม่เพียงพอ • ด้านการด�ำเนินงาน - ส่วนใหญ่การด�ำเนินโครงการไม่บรรลุผลตาม วัตถุประสงค์และการใช้ประโยชน์จากโครงการยังไม่คมุ้ ค่า - การด�ำเนินงานล่าช้ากว่าแผน • ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ - ระบบฐานข้อมูลจังหวัดมีข้อมูลไม่ครบถ้วน และไม่เป็นปัจจุบัน
อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๑ คณะที่ ๒ คณะที่ ๓ คณะที่ ๔ คณะที่ ๕
๒.๒.๑ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๑ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการตรวจสอบภายใน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งรับผิดชอบสอบทานจังหวัดในกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน ๑ และ ๒ กลุ่มจังหวัดภาคกลาง ตอนกลาง กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง ๒ และกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก จ�ำนวน ๒๑ จังหวัด ไม่พบสิ่งที่ เป็นเหตุให้เชื่อว่าการตรวจสอบภายในของจังหวัดต่าง ๆ ในส่วนที่เป็นสาระส�ำคัญไม่ได้ปฏิบัติตามมาตรฐาน การตรวจสอบภายในของส่วนราชการ รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 47
ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน การจัดท�ำรายงานการตรวจสอบภายในมีข้อค้นพบและข้อเสนอแนะในประเด็นที่ส�ำคัญดังนี้ ในภาพรวมพบว่าผูต้ รวจสอบภายในจังหวัดมีการปฏิบตั งิ านเป็นไปตามมาตรฐานการตรวจสอบ ภายในของส่วนราชการทีก่ รมบัญชีกลางก�ำหนด โดยเป็นผลมาจากกรมบัญชีกลางได้มกี ารจัดอบรมให้ความรูแ้ ก่ ผู้ตรวจสอบภายในและได้มีโครงการประเมินการประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายในและกระทรวงมหาดไทย ได้จดั อบรมให้ความรูแ้ ก่ผตู้ รวจสอบภายในโดยเฉพาะเรือ่ งการตรวจสอบเทคโนโลยีสารสนเทศ ท�ำให้ผตู้ รวจสอบ ภายในสามารถตรวจสอบเทคโนโลยีสารสนเทศได้ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ นอกจากนี้ พบว่าผู้ตรวจสอบภายในจังหวัดได้วางแผนการตรวจสอบตามผลการประเมิน ความเสี่ยงของจังหวัดและเสนอแผนให้ผู้ว่าราชการจังหวัดอนุมัติ รวมทั้งได้ด�ำเนินการตรวจสอบตามแผนการ ตรวจสอบและเสนอรายงานผลการตรวจสอบต่อผูว้ า่ ราชการจังหวัด ซึง่ พบว่าจังหวัดทีส่ ามารถตรวจสอบได้ครบ ถ้วนตามแผนการตรวจสอบมี ๑๘ จังหวัด คิดเป็นร้อยละ ๘๖ และตรวจสอบได้น้อยกว่าแผนการตรวจสอบมี ๓ จังหวัด คิดเป็นร้อยละ ๑๔ จากรายงานผลการตรวจสอบมีข้อค้นพบในด้านการเงิน การบัญชี และด้านการปฏิบัติงาน ตามข้อก�ำหนดพบว่าส่วนราชการประจ�ำจังหวัดส่วนใหญ่ยงั คงปฏิบตั ติ ามกฎหมายและระเบียบของทางราชการ ไม่ครบถ้วนเนื่องจากมีบุคลากรจ�ำกัดและมีความรู้ความเข้าใจในกฎหมายและระเบียบของทางราชการ ไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน ในการสอบทานด้านการด�ำเนินงานพบว่าการด�ำเนินงานล่าช้ากว่าแผนการ ด�ำเนินงานที่โครงการก�ำหนด เนื่องจากไม่มีการส�ำรวจพื้นที่ด�ำเนินโครงการก่อนจัดท�ำโครงการ รวมทั้งพื้นที่ ด�ำเนินการประสบอุทกภัย นอกจากนี้ ยังพบว่าผลผลิตจากการด�ำเนินโครงการไม่ได้ใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ ของโครงการ เนื่องจากไม่มีงบประมาณส�ำหรับการบริหารจัดการโครงการอย่างเพียงพอ ส�ำหรับการสอบทาน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่าส่วนราชการประจ�ำจังหวัดน�ำเข้าข้อมูลในระบบ POC ไม่ครบถ้วนและเป็น ปัจจุบัน เนื่องจากระบบฐานข้อมูลในระบบ POC มีความหลากหลายและซับซ้อนท�ำให้ยากต่อการบันทึกข้อมูล และโครงสร้างข้อมูลในระบบไม่สอดคล้องกับโครงสร้างข้อมูลของส่วนราชการ ส่งผลให้ผบู้ ริหารของจังหวัดและ ส่วนราชการประจ�ำจังหวัดไม่น�ำข้อมูลในระบบ POC ไปใช้ในการบริหารและการด�ำเนินงาน ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๑ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ผูต้ รวจสอบภายในจังหวัดควรวางแผนตรวจสอบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เนือ่ งจากปัจจุบนั ได้มีการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติงานของจังหวัดมากขึ้น ๒) ส่วนราชการประจ�ำจังหวัดควรส�ำรวจพื้นที่และประสานงานกับประชาชนในพื้นที่ ให้มี ส่วนร่วมก่อนการด�ำเนินโครงการเพือ่ มิให้เกิดอุปสรรคต่อการด�ำเนินโครงการ และหากต้องมีการด�ำเนินการต่อ เนื่องควรก�ำหนดงบประมาณเกี่ยวกับการบริหารจัดการโครงการ รวมทั้งก�ำหนดรูปแบบการบริหารรายได้และ ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานด้วย ๓) ผูว้ า่ ราชการจังหวัดควรก�ำกับดูแลให้ผตู้ รวจสอบภายในด�ำเนินการตรวจสอบให้ครบถ้วนตาม แผนการตรวจสอบที่ได้รับอนุมัติ และให้ส่วนราชการประจ�ำจังหวัดน�ำข้อมูลเข้าศูนย์ปฏิบัติการจังหวัด (POC) ให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบนั โดยก�ำหนดให้มกี ารตรวจสอบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในแผนการตรวจสอบด้วย นอกจากนี้ควรให้ส�ำนักงานจังหวัดติดตามปัญหาอุปสรรคจากการด�ำเนินการของ ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัด และ รองผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้ก�ำกับดูแลการด�ำเนินการของศูนย์ปฏิบัติการจังหวัด ๔) ส�ำนักงาน ก.พ. ควรหารือร่วมกับกรมบัญชีกลางเพือ่ แก้ไขปัญหาบุคลากรด้านการเงิน การบัญชี และการพัสดุของจังหวัด พร้อมทั้งก�ำหนดให้สายงานตรวจสอบภายในเป็นสายงานวิชาชีพเพื่อสร้างแรงจูงใจ ให้กับผู้ตรวจสอบภายใน 48 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
๕) กรมบัญชีกลางควรสนับสนุนให้ส�ำนักงานคลังจังหวัดจัดอบรมด้านการเงิน การบัญชี และ การพัสดุให้กับบุคลากรของส่วนราชการประจ�ำจังหวัดเป็นประจ�ำทุกปี และหากกฎหมายและระเบียบของทาง ราชการมีการเปลี่ยนแปลง ควรสื่อสารให้ส่วนราชการประจ�ำจังหวัดทราบในหลาย ๆ ช่องทาง ๖) กระทรวงมหาดไทยควรก�ำหนดให้ผู้ตรวจสอบภายในจังหวัดขึ้นตรงต่อผู้ว่าราชการจังหวัด โดยจัดสรรงบประมาณและอัตราก�ำลังเป็นการเฉพาะ ส่วนการแต่งตั้งโยกย้ายผู้ตรวจสอบภายในจังหวัด ส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยควรค�ำนึงถึงอัตราก�ำลังที่เหลืออยู่ในแต่ละจังหวัดให้มีอย่างน้อย ๒ ต�ำแหน่ง นอกจากนี้ควรปรับปรุงระบบฐานข้อมูลของศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดให้สามารถบันทึกข้อมูลได้อย่างสะดวกและ รวดเร็ว สามารถติดตามปัญหาอุปสรรคเป็นระยะเพื่อแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที ๒.๒.๒ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๒ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการตรวจสอบภายใน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ของ อ.ค.ต.ป. กลุม่ จังหวัดคณะที่ ๒ รับผิดชอบสอบทานจังหวัดในกลุม่ จังหวัดภาคเหนือตอนบน ๑ และ ๒ และกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ๑ จ�ำนวน ๑๓ จังหวัด ไม่พบสิ่งที่เป็นเหตุให้เชื่อว่าการตรวจสอบ ภายในของจังหวัดต่าง ๆ ในส่วนที่เป็นสาระส�ำคัญไม่ได้ปฏิบัติตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในของส่วน ราชการ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน การจัดท�ำรายงานการตรวจสอบภายในมีข้อค้นพบและข้อเสนอแนะในประเด็นที่ส�ำคัญดังนี้ ๑) ในภาพรวม พบว่ า จั ง หวั ด ต่ า ง ๆ ให้ ความสนใจในการตรวจสอบด้ า นการเงิ น และ การปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ (Financial and Compliance Audit) รวมทัง้ การตรวจสอบด้านการด�ำเนินงานโครงการ (Performance Audit) มากกว่าทุกปีที่ผ่านมา ทั้งนี้ ในปีพ.ศ. ๒๕๕๔ นี้ กระทรวงมหาดไทยได้มีค�ำสั่งให้ หน่วยตรวจสอบภายในจังหวัด ด�ำเนินการตรวจสอบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Audit) ศูนย์ปฏิบตั กิ ารจังหวัด ของส�ำนักงานจังหวัดด้วย ๒) จากการสอบทานรายงานการประเมินตนเอง พบว่าบางจังหวัดได้สะท้อนให้เห็นว่า ผูต้ รวจสอบ ภายในยังไม่มีความเป็นอิสระเท่าที่ควร และพบข้อจ�ำกัดด้านอัตราก�ำลัง เวลา งบประมาณ และความรู้ ความเชีย่ วชาญในการตรวจสอบระบบคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ พบว่าไม่มกี ารหารือเรือ่ งความเสีย่ งกับผูบ้ ริหาร รวมทั้งไม่มีการประเมินจากบุคคลภายนอกและไม่มีคณะกรรมการตรวจสอบ ๓) จากการสอบทานด้านการเงินและกฎระเบียบ ไม่พบประเด็นที่เป็นนัยส�ำคัญ อย่างไรก็ตาม การปฏิบัติที่ไม่เป็นไปตามระเบียบอาจมีผลท�ำให้เกิดความเสี่ยงต่อตัวผู้ปฏิบัติและผู้เกี่ยวข้อง รวมทั้งเกิด ผลเสียหายต่อราชการได้ ๔) จากการสอบทานด้านการด�ำเนินงาน พบว่าส่วนใหญ่เป็นโครงการตามแผนปฏิบัติการ ไทยเข้มแข็งและโครงการตามแผนพัฒนาจังหวัด ซึ่งสรุปผลที่ได้ส่วนใหญ่การด�ำเนินโครงการไม่สามารถบรรลุ ผลตามวัตถุประสงค์ การใช้ประโยชน์จากโครงการยังไม่คุ้มค่า ซึ่งสาเหตุหลักเกิดจากการขาดการศึกษาข้อมูล ให้รอบคอบ ไม่ค�ำนึงถึงสภาพข้อเท็จจริงของพื้นที่ รวมทั้งองค์ประกอบของโครงการที่จะท�ำให้บังเกิดผลส�ำเร็จ ๕) จากการสอบทานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่าศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดมีปัญหาข้อมูล ทีไ่ ม่ทนั สมัย โครงสร้างระบบเทคโนโลยีไม่สามารถเชือ่ มต่อข้อมูลกันได้ เจ้าหน้าทีย่ า้ ยบ่อยท�ำให้ขาดความต่อเนือ่ ง และขาดผูม้ คี วามรูด้ า้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 49
ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๒ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) หน่วยตรวจสอบภายในควรชี้แจงการปฏิบัติตามกฎระเบียบให้ผู้ปฏิบัติตระหนักถึงความ ส�ำคัญในการศึกษาระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง และรายงานผู้บริหารให้ก�ำชับเจ้าหน้าที่ให้มีการ ปฏิบัติตามระเบียบอย่างเคร่งครัด รวมทั้งควรจัดท�ำคู่มือแนะน�ำเพื่อสร้างความเข้าใจเพิ่มขึ้น ๒) กรณีที่เห็นว่าการด�ำเนินงานหากได้รับการแก้ไขหรือเพิ่มเติมอุปกรณ์จะท�ำให้ใช้ประโยชน์ ได้นนั้ สมควรทีผ่ ตู้ รวจสอบภายในจะน�ำเป็นประเด็นเร่งด่วนรายงานหรือหารือผูว้ า่ ราชการจังหวัดเพือ่ พิจารณา สั่งการต่อไป ส�ำหรับการตรวจสอบโครงการควรพิจารณาถึงการบรรลุวัตถุประสงค์เป้าหมายของโครงการเป็น หลักพร้อมทั้งมีข้อเสนอแนะที่จะแก้ไขปัญหาที่มีให้ชัดเจนเป็นรูปธรรม และควรสอบทานเรื่องการปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ โดยเฉพาะการจัดซื้อจัดจ้างด้วย ๓) ส�ำหรับการด�ำเนินงานโครงการของจังหวัดซึง่ ผลการตรวจสอบแผนงานโครงการไม่ประสบ ผลสัมฤทธิ์ โครงการใช้ประโยชน์ได้ไม่คมุ้ ค่าท�ำให้สญู เสียเงินงบประมาณแผ่นดินเป็นจ�ำนวนมาก ควรด�ำเนินการ ดังนี้ - การจัดท�ำแผนงาน/โครงการเพือ่ เสนอของบประมาณควรมีรายละเอียดโครงการประกอบ ด้วยเพือ่ ให้มกี ารศึกษาความเป็นไปได้อย่างน้อยเท่าทีเ่ ป็นไปได้กอ่ น โดยแสดงข้อมูลทีน่ า่ เชือ่ ถือ พร้อมทัง้ ส�ำรวจ ข้อเท็จจริงให้รอบคอบและปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันเสมอ - ควรขอความร่วมมือจากส่วนกลางในกรณีทกี่ ารออกแบบก่อสร้างอาจต้องใช้ความแข็งแรง เป็นพิเศษหรือเทคนิคเฉพาะทางเพื่อป้องกันการช�ำรุดเสียหายก่อนถึงเวลาอันควร - ควรระบุผรู้ บั ผิดชอบหลังโครงการเสร็จสิน้ แล้วเพือ่ ให้เกิดความต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นและผู้น�ำชุมชนที่ควรเข้ามามีส่วนร่วมด้วยแต่ต้น - ควรจั ด ให้ มี การติ ด ตามผลโครงการระหว่ า งด� ำ เนิ น การเพื่ อ การแก้ ไ ขได้ ทั น ท่ ว งที และโครงการต่าง ๆ ควรจะก�ำหนดตัวชี้วัดความส�ำเร็จในระดับผลลัพธ์เพื่อประโยชน์ในการติดตามผล ๔) กระทรวงมหาดไทยควรพัฒนาปรับปรุงศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดอย่างจริงจัง ทั้งเครื่องมือ อุปกรณ์ และมอบหมายก�ำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน รวมทั้งวางระบบการคัดสรรและการวิเคราะห์ข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ต่อการตัดสินใจให้ทันสมัยและเป็นจริงเชื่อถือได้ ทั้งนี้ศูนย์ปฏิบัติการประจ�ำจังหวัดควรจัดเก็บข้อมูล ทั้งที่เป็นข้อมูลพื้นฐานหรือข้อมูลกลางและข้อมูลเฉพาะของจังหวัด รวมทั้งสถิติต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการ เปรียบเทียบและใช้ในการคาดการณ์หรือการตัดสินใจในเรื่องส�ำคัญ ๆ ๒.๒.๓ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๓ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการตรวจสอบภายใน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ของ อ.ค.ต.ป. กลุม่ จังหวัดคณะที่ ๓ รับผิดชอบสอบทานจังหวัดในกลุม่ จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน ๑ ภาคกลางตอนล่าง ๑ และภาคเหนือตอนล่าง ๒ จ�ำนวน ๑๓ จังหวัด มีขอ้ ค้นพบและข้อเสนอแนะ ดังนี้ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน การจัดท�ำรายงานการตรวจสอบภายในมีข้อค้นพบและข้อเสนอแนะในประเด็นที่ส�ำคัญ ดังนี้ ๑) หน่วยตรวจสอบภายในทุกจังหวัดมีการรายงานผลการตรวจสอบด้านการเงิน การบัญชี และการปฏิบัติตามข้อระเบียบ โดยส่วนใหญ่พบว่าเป็นการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบของทางราชการ 50 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ซึง่ สาเหตุสว่ นใหญ่มาจากการไม่มเี จ้าหน้าทีด่ า้ นการเงิน การบัญชี และการพัสดุโดยเฉพาะและมีความรูไ้ ม่เพียงพอ รวมทั้งไม่ได้ให้ความส�ำคัญกับการปฏิบัติงานตามกฎหมายและระเบียบ นอกจากนี้หน่วยตรวจสอบภายใน ในหลายจังหวัดยังขาดทักษะและความเชี่ยวชาญการตรวจสอบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ๒) จากการสอบทานรายงานการประเมินตนเอง พบว่าการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ในภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ดี - ดีมาก (ยกเว้นจังหวัดเลยที่ไม่ได้สง่ รายงานการประเมินตนเอง) นอกจากการประกัน คุณภาพซึ่งหน่วยงานส่วนใหญ่ยังไม่มีการประเมินจากหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอก ๓) จากการสอบทานด้านการด�ำเนินงาน พบว่าการด�ำเนินโครงการไม่เป็นไปตามระเบียบ ราชการและวัตถุประสงค์ของโครงการ ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๓ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) หน่วยตรวจสอบภายในควรเร่งรัดการตรวจสอบให้เป็นไปตามแผนการตรวจสอบที่ได้รับ อนุมัติจากผู้วา่ ราชการจังหวัด ๒) หัวหน้าส่วนราชการประจ�ำจังหวัดควรให้ความส�ำคัญกับการปฏิบัติงานให้เป็นไปตาม กฎหมายและระเบียบของทางราชการในด้านการเงิน การบัญชี การพัสดุ และควรสนับสนุนอัตราก�ำลังข้าราชการ ในด้านการเงิน การบัญชี และการพัสดุ เพื่อแก้ไขปัญหาการปฏิบัติงานที่ไม่มีผู้รับผิดชอบโดยตรง ๓) ด้านการปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ หัวหน้าส่วนราชการประจ�ำจังหวัดควรให้เจ้าหน้าที่ได้รบั การ อบรมในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานเพื่อให้การด�ำเนินงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น ๔) จังหวัดควรก�ำกับดูแลให้โครงการต่าง ๆ ในพื้นที่มีการด�ำเนินการถูกต้องตามกฎหมายและ ระเบียบของทางราชการอย่างเข้มงวด และควรมีกลไกในการติดตามประเมินผลการด�ำเนินโครงการในพื้นที่ อย่างสม�่ำเสมอเพื่อให้โครงการสามารถด�ำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง ๒.๒.๔ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๔ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการตรวจสอบภายใน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ของ อ.ค.ต.ป. กลุม่ จังหวัดคณะที่ ๔ ซึง่ รับผิดชอบสอบทานจังหวัดในกลุม่ จังหวัดภาคใต้ฝง่ั อ่าวไทย กลุม่ จังหวัด ภาคใต้ฝั่งอันดามัน และกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน จ�ำนวน ๑๔ จังหวัด มีข้อค้นพบและข้อเสนอแนะ ดังนี้ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน การจัดท�ำรายงานการตรวจสอบภายในมีข้อค้นพบและข้อเสนอแนะในประเด็นที่ส�ำคัญ ดังนี้ ๑) จากการสอบทานด้านการเงิน การบัญชี พบว่าการปฏิบัติงานในระบบ GFMIS มีหน่วยงาน ไม่เป็นไปตามแนวทางที่กระทรวงการคลังก�ำหนด ส่งผลให้รายงานล่าช้าและขาดความน่าเชื่อถือ และพบว่า บางหน่วยงานขาดการควบคุมดูแลทรัพย์สนิ ทีเ่ หมาะสม ขาดการควบคุมและติดตามเงินยืมทดลอง การเบิกจ่าย และการจัดซือ้ จัดจ้างด�ำเนินโดยไม่ถกู ต้อง เช่น จ่ายเงินก่อนการตรวจรับงาน อีกทัง้ ไม่มรี ะบบการควบคุมภายใน ด้านการเงินที่รัดกุมเพียงพอ ๒) จากการสอบทานด้านการด�ำเนินงาน พบว่าการจัดท�ำแผนงานโครงการยังไม่เป็นรูปธรรม อย่างชัดเจน และการด�ำเนินงานล่าช้ากว่าแผนเนือ่ งจากขาดการเตรียมการทีด่ ี การจัดซือ้ จัดจ้างและกระบวนการ ปฏิบัติงานที่ล่าช้าจนอาจส่งผลให้โครงการไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ และไม่คุ้มค่ากับงบประมาณที่ใช้ไป รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 51
ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๔ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ทุกจังหวัดควรมีการประเมินความเสี่ยงในการวางแผนการตรวจสอบ และจัดท�ำรายงาน ผลการตรวจสอบภายใน พร้อมทั้งจัดส่งให้ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดสอบทานอย่างครบถ้วน และผู้บริหารของ จังหวัดควรน�ำรายงานผลการตรวจสอบภายในที่ดีไปใช้ประโยชน์ในการบริหารราชการของจังหวัดต่อไป ๒) จังหวัดควรก�ำกับดูแลและควบคุมให้การปฏิบัติตามระบบ GFMIS เป็นไปตามแนวทางที่ กระทรวงการคลังก�ำหนด เพือ่ ให้มรี ายงานทางการเงินทีน่ า่ เชือ่ ถือและให้มกี ารปฏิบตั ติ ามระเบียบพัสดุ ทีถ่ กู ต้อง โปร่งใส ๓) จังหวัดควรเข้มงวดต่อการจัดท�ำแผนงานโครงการให้ชดั เจนและมีองค์ประกอบของแผนงาน อย่างสมบูรณ์ โดยก�ำหนดให้มีผู้รับผิดชอบในผลงานของโครงการที่ชัดเจนเพื่อเร่งรัดการด�ำเนินโครงการ ให้แล้วเสร็จตามแผน พร้อมทั้งให้มีการตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผลโครงการอย่างต่อเนื่อง ๒.๒.๕ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๕ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการตรวจสอบภายใน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งรับผิดชอบสอบทานจังหวัดในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ๒ กลุ่มจังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง และกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ๑ และ ๒ จ�ำนวน ๑๕ จังหวัด มีข้อค้นพบและข้อเสนอแนะ ดังนี้ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน การจัดท�ำรายงานการตรวจสอบภายในมีข้อค้นพบและข้อเสนอแนะในประเด็นที่ส�ำคัญ ดังนี้ ๑) ในภาพรวม พบว่าจังหวัดได้จัดส่งเอกสารหลักฐานครบทุกจังหวัด โดยหน่วยตรวจสอบ ภายในมีการปฏิบัติตามแผนการตรวจสอบภายในจังหวัดและมีการใช้กฎบัตรการตรวจสอบภายในตามที่ กรมบัญชีกลางก�ำหนด ทัง้ นีห้ น่วยตรวจสอบภายในจังหวัดส่วนใหญ่มกี ารปฏิบตั งิ านตรวจสอบภายในเป็นไปตาม แผนการตรวจสอบประจ�ำที่ก�ำหนดไว้ ๒) ผลการตรวจสอบด้านการเงิน การบัญชี พบว่าหน่วยรับตรวจบางหน่วยงานในทุกจังหวัด ยังจัดท�ำรายงานเงินคงเหลือประจ�ำวันที่ ไม่เป็นปัจจุบัน ขาดระบบการตรวจสอบและสอบทานยอดเงิน คงเหลือประจ�ำวันหรือจัดท�ำทะเบียนคุมทางการเงินไม่ครบถ้วน นอกจากนี้ บางหน่วยงานได้มอบหมายให้ เจ้าพนักงานธุรการเป็นผู้ปฏิบัติงานการเงินและบัญชีจึงขาดความเข้าใจในการจัดท�ำทะเบียนคุมทางการเงิน ๓) ด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ หน่วยรับตรวจบางหน่วยงานในทุกจังหวัดยังไม่สามารถ ปฏิบัติตามกฎระเบียบได้อย่างถูกต้องในเรื่องการควบคุมและการใช้ใบเสร็จรับเงิน เงินทดรองราชการ เงินยืม ราชการ การบริหารทรัพย์สิน ยานพาหนะ และเอกสารหลักฐานประกอบการเบิกจ่าย ๔) จากการสอบทานการตรวจสอบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของศูนย์ปฏิบัติการจังหวัด พบว่าบางจังหวัดไม่ได้รายงานและก�ำหนดการสอบทานการตรวจสอบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศไว้ในแผน การตรวจสอบภายในประจ�ำปี นอกจากนี้ยังพบว่าระบบฐานข้อมูลจังหวัดส่วนใหญ่ยกเว้นจังหวัดมุกดาหาร ยังมีข้อมูลไม่ครบถ้วนและไม่เป็นปัจจุบัน ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๕ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ 52 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
๑) ส�ำนักงานจังหวัดโดยศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดควรเสนอรายการปฏิบัติงานให้คณะกรรมการ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของจังหวัดได้รับทราบ และควรแต่งตั้งคณะท�ำงานพัฒนา ระบบฐานข้อมูลกลางจังหวัด จากผู้แทนของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจที่รับผิดชอบในการน�ำเข้าข้อมูลในระบบ ฐานข้อมูลกลาง และต้องเป็นผูม้ พี นื้ ฐานความรูด้ า้ นการจัดเก็บข้อมูลของหน่วยงานหรือระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อจัดท�ำแผนการจัดเก็บข้อมูลและติดตามการน�ำเข้าข้อมูลประจ�ำปีที่ชัดเจนและปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย ๒) ผูว้ า่ ราชการจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการประจ�ำจังหวัด และคลังจังหวัด ควรก�ำชับให้เจ้าหน้าที่ ด้านการเงิน การบัญชี ต้องรายงานเงินคงเหลือประจ�ำวันใช้เป็นหลักฐานตรวจสอบยอดเงินคงเหลือในบัญชี เงินสดในระบบ GFMIS อย่างเคร่งครัดและจัดท�ำทะเบียนคุมทางการเงินเพื่อการติดตาม ป้องกัน และควบคุม การปฏิบัติงานการเงิน ๓) ผู้ว่าราชการจังหวัด หัวหน้าส�ำนักงานจังหวัด และหัวหน้าส่วนราชการประจ�ำจังหวัด ต้องก�ำชับให้เจ้าหน้าที่ศึกษากฎระเบียบที่เกี่ยวข้องให้เข้าใจและปฏิบัติตามกฎระเบียบเหล่านั้นให้ครบถ้วน
๓. รายงานการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ๓.๑ รายงานข้อค้นพบของส่วนราชการ ข้อค้นพบ ๑. สภาพทั่วไป ในภาพรวมการรายงานการควบคุมภายในและการบริหาร ความเสี่ยงของส่วนราชการในสังกัดของกลุ่มกระทรวง ส่วนใหญ่ไม่พบข้อบกพร่องที่มีนัยส�ำคัญ ๒. ประเด็นข้อสังเกต ๑) ผู ้ บ ริ ห าร และผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านยั ง ไม่ ต ระหนั ก ถึ ง ประโยชน์ของระบบการควบคุมภายใน ๒) ความเสี่ยงที่พบส่วนใหญ่ เป็นปัจจัยเสี่ยงทาง ด้ า นกระบวนการบริ ห ารจั ด การ การจั ด ท� ำ รายงาน กระบวนการปฏิบตั งิ านและระบบการการควบคุมภายใน ๓) ยังไม่มีแนวทางการใช้กลไกในการควบคุมภายใน ในการบริหารความเสี่ยงและการก�ำกับ เร่งรัดการใช้ งบประมาณให้เป็นไปตามแผน ๔) มกี ารวางระบบควบคุมภายในแต่การน�ำมาปฏิบตั ิ ยังไม่เป็นไปตามเป้าหมาย หรือแนวทางที่ก�ำหนด ๕) บางหน่วยงานยังไม่มกี ารจัดวางระบบการควบคุม ภายใน หรือมีการด�ำเนินการเกีย่ วกับการควบคุมภายใน ที่ไม่มีความต่อเนื่อง
อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้าน ความมั่นคง บริหารและ เศรษฐกิจ สังคม และการ ส่วนราชการ ต่างประเทศ ไม่สังกัดฯ
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 53
ข้อค้นพบ ๖) การจัดท�ำรายงานฯ ของบางส่วนราชการ ยังไม่ ครอบคลุมกระบวนงานและกิจกรรมของส่วนงานย่อย ทั้งภารกิจหลักและภารกิจสนับสนุน ๗) ยังคงพบความเสี่ยงด้านบุคลากรเช่นเดียวกับปีที่ ผ่านมา เช่น มีจำ� นวนไม่เพียงพอกับปริมาณงาน และยัง ไม่มคี วามเชีย่ วชาญและรอบรูใ้ นสายงานอาชีพ การขาด ความช�ำนาญในระบบสารสนเทศ
อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้าน ความมั่นคง บริหารและ เศรษฐกิจ สังคม และการ ส่วนราชการ ต่างประเทศ ไม่สังกัดฯ
๓.๑.๑ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลด้านการควบคุมภายใน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ พบว่า กระทรวงที่จัดท�ำและส่งรายงานการสอบทานความก้าวหน้าด้านการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง (รอบ ๑๒ เดือน) จ�ำนวน ๙ กระทรวง ซึง่ มีความเชือ่ มัน่ อย่างพอประมาณว่ากระทรวงส่วนใหญ่ในกลุม่ กระทรวง ด้านเศรษฐกิจ มีการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการควบคุมภายในของ คตง. มีการประเมินการควบคุมภายใน และจัด ท�ำแผนการปรับปรุง โดย คตป. กระทรวง ไม่พบข้อบกพร่องหรือข้อสังเกตที่มีนัยส�ำคัญ จ�ำนวน ๗ กระทรวง และพบข้อบกพร่องหรือข้อสังเกตทีม่ นี ยั ส�ำคัญ จ�ำนวน ๒ กระทรวง ได้แก่ กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน ๑) ส่วนราชการที่พบข้อบกพร่องหรือข้อสังเกตที่มีนัยส�ำคัญ จ�ำนวน ๒ กระทรวง ได้แก่ กระทรวงอุตสาหกรรม ซึง่ มีจดุ อ่อนทีม่ นี ยั ส�ำคัญในการด�ำเนินการตามแผนการปรับปรุงเพือ่ ลดความเสีย่ ง ทีย่ งั ด�ำเนินการไม่เสร็จสิ้นในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ และผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงานยังไม่ตระหนักถึงประโยชน์ของ ระบบการควบคุมภายใน และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีจุดอ่อนที่มีนัยส�ำคัญในด้าน บุคลากรที่มีไม่เพียงพอและยังไม่มีความเชี่ยวชาญและรอบรู้ในสายงานอาชีพอย่างเพียงพอ และการจัดเก็บ ข้อมูลสารสนเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ไม่ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน ๒) ส่วนราชการโดยส่วนใหญ่มกี ารศึกษาวิเคราะห์และจัดกิจกรรมเพือ่ ควบคุมความเสีย่ งในระบบ การควบคุมภายใน ซึ่งจะแล้วเสร็จในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยปัจจัยเสี่ยงที่พบส่วนใหญ่เป็นปัจจัยเสี่ยง ทางด้านกระบวนการบริหารจัดการ การจัดท�ำรายงาน กระบวนการปฏิบัติงานและระบบการควบคุมภายใน ๓) ส่วนราชการทีพ่ บว่า ยังไม่ได้ใช้กลไกในการควบคุมภายในในการบริหารความเสีย่ งและการ ก�ำกับ เร่งรัดการใช้งบประมาณให้เป็นไปตามแผน คือ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการ สื่อสาร เนื่องจากผู้บริหารมิได้ก�ำกับดูแลอย่างใกล้ชิดและมีการจัดอัตราก�ำลังไม่เหมาะสมกับภารกิจ รวมทั้ง บุคลากรบางหน่วยงานไม่ให้ความส�ำคัญและมีส่วนร่วมในการจัดวางระบบการควบคุมภายในเท่าที่ควร จากข้อค้นพบดังกล่าว อ.ค.ต.ป. กลุม่ กระทรวงด้านด้านเศรษฐกิจ จึงมีขอ้ เสนอแนะต่อส่วนราชการ เพื่อด�ำเนินการดังนี้ 54 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
๑) ผู้บริหารทุกระดับควรให้ความส�ำคัญในการด�ำเนินการด้านการควบคุมภายในและบริหาร ความเสี่ยง รวมทั้งติดตามผลการด�ำเนินงานอย่างจริงจังและต่อเนื่อง นอกจากนี้ ควรพิจารณาปรับเกลี่ยอัตรา ก�ำลัง และใช้อัตราก�ำลังที่มีอยู่ให้เต็มประสิทธิภาพ ๒) ควรส่งเสริม ผลักดัน และพัฒนาความรูค้ วามเข้าใจให้บคุ ลากรของหน่วยงานทุกระดับอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อให้ตระหนักถึงความส�ำคัญและสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดท�ำและการประเมินผลระบบควบคุม ภายใน รวมทัง้ มีการน�ำไปใช้ในการปฏิบตั งิ านเพือ่ ให้ระบบควบคุมภายในของหน่วยงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิผล และท�ำให้การปฏิบัติงานบรรลุผลส�ำเร็จตามเป้าหมาย ๓) ควรมีการพัฒนาระบบงานและระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพ โดยเปรียบเทียบวิธีการ ปฏิบตั งิ านทีด่ ขี องส่วนราชการอืน่ และแลกเปลีย่ นเรียนรูว้ ธิ ปี ฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (Best Practices) เพือ่ น�ำมาประยุกต์ ใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะขององค์กร ๓.๑.๒ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านสังคม สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลด้านการควบคุมภายใน รอบประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ พบว่า กระทรวงทีจ่ ดั ท�ำและส่งรายงานการสอบทานความก้าวหน้าด้านการควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ ง (รอบ ๑๒ เดือน) จ�ำนวน ๖ กระทรวง ได้แก่ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงแรงงาน กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ไม่พบข้อบกพร่องหรือข้อสังเกตที่มีนัยส�ำคัญ และมีความเชื่อมั่นพอประมาณว่าหน่วยงานต่าง ๆ มีการปฏิบัติ ตามมาตรฐานการควบคุมภายในของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน และแนวทางการจัดวางระบบการควบคุม ภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน ๑) หน่วยงานส่วนใหญ่มีการวางระบบควบคุมภายในตามระเบียบ แต่การน�ำมาปฏิบัติยังไม่ได้ รับการตอบสนองให้เป็นไปตามเป้าหมายหรือแนวทางที่ก�ำหนด บางครั้งพบว่าปัญหาเกิดจากการด�ำเนินการ จากระบบ และความเข้าใจผิดในระดับปฏิบัติ เช่น การขาดการติดตามประเมินผลการด�ำเนินงานตามแผนการ ปรับปรุงระบบการควบคุมภายใน กระบวนการปฏิบตั งิ านภายในหน่วยงาน การรับ - ส่งเอกสาร การบันทึกข้อมูล ผิดพลาด หรือการจัดท�ำรายงานผลการควบคุมภายในมีความล่าช้า ไม่ทนั ต่อการรวบรวมเสนอ ค.ต.ป. เป็นต้น ๒) การจัดท�ำรายงานการควบคุมภายในของกลุ่มกระทรวงด้านสังคมในภาพรวมเป็นไปอย่าง ถูกต้อง ครบถ้วน มีการด�ำเนินการตามแผนการปรับปรุงที่ก�ำหนดไว้ต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ แต่การด�ำเนินการเพื่อก�ำหนดแนวทางปรับปรุงหรือกิจกรรมการควบคุมภายในยังมีข้อบกพร่อง จากข้อค้นพบดังกล่าว อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านสังคม จึงมีข้อเสนอแนะต่อส่วนราชการ เพื่อด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) หน่วยงานควรให้ความส�ำคัญเร่งรัดการด�ำเนินการจัดท�ำกิจกรรมตามแผนการควบคุมภายใน เพือ่ ลดความเสีย่ งทีม่ อี ยูข่ องการด�ำเนินงาน และควรมีการติดตามประเมินผลการปฏิบตั งิ านตามแผนการควบคุม ภายในตามองค์ประกอบของการควบคุมภายใน และรายงานผลให้ผู้บริหารได้รับทราบเป็นระยะ ๆ เพื่อติดตาม ความก้าวหน้าของการด�ำเนินงาน ๒) ควรพัฒนาและให้ความรู้ในเรื่องการควบคุมภายในและการประเมินความเสี่ยงแก่บุคลากร ในหน่วยงานในสังกัดอย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง โดยเฉพาะระดับหน่วยงานในภูมิภาค รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 55
๓) ควรเผยแพร่รายงานผลการประเมินการควบคุมภายใน ของหน่วยงานในระดับหน่วยงาน ย่อยและระดับองค์กร ให้บคุ ลากรได้รบั ทราบและถือปฏิบตั ติ ามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในที่ได้จดั ท�ำไว้ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ๓.๑.๓ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านความมั่นคงและการต่างประเทศ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลด้านการควบคุมภายใน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ พบว่า กระทรวงที่จัดท�ำและส่งรายงานการสอบทานความก้าวหน้าด้านการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง จ�ำนวน ๔ กระทรวง ได้แก่ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทย และ กระทรวง ยุติธรรม ไม่พบข้อบกพร่องหรือข้อสังเกตที่มีนัยส�ำคัญ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน ๑) ส่วนราชการส่วนใหญ่ได้ปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในที่ก�ำหนดไว้ และพบว่าใน กระทรวงกลาโหมที่ผลการสอบทานยังพบจุดอ่อน/ความเสี่ยงของระบบการควบคุมภายในที่ยังเหลืออยู่ ก็ได้ ด�ำเนินการตามแผนการปรับปรุงระบบการควบคุมภายในที่ได้จัดท�ำขึ้น โดยได้มีการชี้แจงสาเหตุอย่างสมเหตุ สมผล ทั้งนี้จุดอ่อนดังกล่าวมิได้ส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงานในอันที่จะด�ำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ ตามภารกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์รวมทั้งกระบวนงานหลักขององค์กร ๒) ระบบการควบคุมภายในเป็นระบบและวิธีการในด้านการบริหารจัดการองค์กรในภาพรวม ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ซึ่งช่วยลดปัญหาความเสี่ยงที่เกิดขึ้นและส่งผลให้การด�ำเนินงาน บรรลุผลส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ทตี่ งั้ ไว้ อย่างไรก็ตาม พบว่ากระทรวงยุตธิ รรมมีการจัดท�ำรายงานและวิเคราะห์ ประเมินผลการควบคุมภายในที่ยังไม่ครอบคลุมกระบวนงานและกิจกรรมของส่วนงานย่อยทั้งภารกิจหลัก และ ภารกิจสนับสนุน อันท�ำให้จดุ อ่อนและความเสีย่ งทีม่ อี ยู่ในกิจกรรมไม่ได้รบั การควบคุม ปรับปรุง และติดตามผล จึงอาจท�ำให้ไม่มนั่ ใจในความเพียงพอและเหมาะสมของระบบการควบคุมภายในองค์กรอันมีผลต่อการด�ำเนินงาน ให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้ จากข้อค้นพบดังกล่าว อ.ค.ต.ป. กลุม่ กระทรวงด้านความมัน่ คงและการต่างประเทศ จึงมีขอ้ เสนอแนะ เพื่อด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ส่วนราชการควรเน้นย�้ำให้ข้าราชการตระหนักถึงความส�ำคัญและประโยชน์ของการมีระบบ การควบคุมภายในทีด่ ีในอันทีจ่ ะช่วยสนับสนุนให้การปฏิบตั งิ านในทุกระบบงานมีการก�ำกับดูแลทีด่ ี และสามารถ บรรลุวตั ถุประสงค์ของการด�ำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลยิง่ ขึน้ ทัง้ นี้โดยอาจก�ำหนดเป็นตัวชีว้ ดั ระดับบุคคลเพื่อให้สามารถวัดผลได้ด้วย ๒) ควรมีการสร้างความรูแ้ ละความเข้าใจในแนวทางการจัดการควบคุมภายในและการประเมินผล การควบคุมภายในในทุกระดับหน่วยงานในสังกัด เพื่อให้เกิดความครบถ้วนในกระบวนงานทั้งภารกิจหลักและ ภารกิจสนับสนุน และในระดับองค์กรควรจัดท�ำรายงานการควบคุมภายในทีเ่ ป็นภาพรวม เพือ่ ให้ทราบถึงความเสีย่ ง และการควบคุมที่มีอยู่ว่าเพียงพอต่อการป้องกันหรือลดผลกระทบต่อความส�ำเร็จของการด�ำเนินงานของ ส่วนราชการเพียงใด และปรับปรุงระบบการควบคุมภายในให้เหมาะสมต่อไป ๓) ควรปรับปรุงคูม่ อื การสอบทานของ ค.ต.ป. ให้เน้นการสอบทานในเรือ่ งการบริหารความเสีย่ ง ของส่วนราชการด้วย 56 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
๓.๑.๔ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านบริหาร และส่วนราชการไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลด้านการควบคุมภายใน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ พบว่า ส่วนราชการไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือ ทบวง จ�ำนวน จ�ำนวน ๘ หน่วยงาน ได้แก่ ส�ำนัก ราชเลขาธิการ ส�ำนักพระราชวัง ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ราชบัณฑิตยสถาน ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ และส่วนราชการ สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี จ�ำนวน ๑๒ หน่วยงาน ที่จัดท�ำและส่งรายงานการสอบทานความก้าวหน้าด้าน การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ไม่พบข้อบกพร่องหรือข้อสังเกตที่มีนัยส�ำคัญและมีความเชื่อมั่น พอประมาณว่าส่วนราชการดังกล่าวมีการปฏิบัติตามมาตรฐานการควบคุมภายในของคณะกรรมการตรวจเงิน แผ่นดินและแนวทางการจัดวางระบบการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน ส่วนราชการไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือ ทบวง ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน ๑) หน่วยงานส่วนใหญ่แม้จะมีการวางระบบควบคุมภายในตามระเบียบ แต่ในบางกิจกรรม ภายในหน่วยงานยังคงมีความเสีย่ งในการด�ำเนินการและการน�ำมาปฏิบตั ยิ งั ไม่เป็นไปตามเป้าหมายหรือแนวทาง ที่ก�ำหนด ซึ่งเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นจากการด�ำเนินการจากระบบงานภายในของหน่วยงาน เช่น การเบิกจ่าย งบประมาณที่ล่าช้า การมีเจ้าหน้าที่ไม่สอดคล้องกับภาระงาน การขาดความช�ำนาญในการปฏิบัติงานระบบ สารสนเทศ เป็นต้น ๒) กิจกรรมที่ยังมีความเสี่ยงของหน่วยงานโดยส่วนใหญ่ เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นในปีที่ผ่าน ๆ มา เช่น การเปลี่ยนแปลงบุคลากร การขาดความรู้ความเข้าใจ ทักษะและความช�ำนาญของเจ้าหน้าที่ กระบวนการ ปฏิบตั งิ านภายในมีความล่าช้าด้านเอกสาร เป็นต้น อย่างไรก็ตามหน่วยงานต่าง ๆ ได้เริม่ ตระหนักถึงความส�ำคัญ ของการบริหารจัดการความเสี่ยงโดยได้จัดอบรมบุคลากร วางแนวทางแก้ไข มอบหมายผู้รับผิดชอบ และการ ติดตามประเมินผลเป็นระยะ ซึ่งเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการในการท�ำงานที่ดีขึ้น จากข้อค้นพบดังกล่าว อ.ค.ต.ป. กลุม่ กระทรวงด้านบริหารและส่วนราชการไม่สงั กัดส�ำนักนายก รัฐมนตรี กระทรวงหรือ ทบวง จึงมีข้อเสนอแนะ ดังนี้ ๑) ผู้ที่รับผิดชอบด้านการควบคุมภายในของหน่วยงานควรท�ำความเข้าใจและศึกษาแนวทาง การจัดวางระบบการควบคุมภายในและการติดตามประเมินผลการควบคุมภายในอย่างละเอียด และควรให้ ความส�ำคัญกับการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงให้แก่ ผู้รับผิดชอบภารกิจของแต่ละหน่วยงานอย่างสม�่ำเสมอ ๒) ผู้บริหารระดับสูงควรให้ความส�ำคัญกับการปรับปรุงกิจกรรมที่พบความเสี่ยงและยังไม่ได้ ด�ำเนินการให้เป็นไปตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ ง โดยเร่งรัดการด�ำเนินการ ให้เป็นไปตามแผนฯ รวมทั้งติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนฯ ของเจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานอย่าง ต่อเนื่องและสม�่ำเสมอ เพื่อให้ระบบการควบคุมภายในเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างแท้จริง
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 57
ส่วนราชการสังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน ๑) ในภาพรวมของการด�ำเนินตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของส่วนราชการที่พบ ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ ณ สิ้นสุดปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ (วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๔) โดยก�ำหนดวิธีการ/ แนวทางปฏิบัติเพื่อลดความเสี่ยงไว้ และเมื่อสิ้นสุดการด�ำเนินการตามแผนฯ ของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ปรากฏผลการด�ำเนินการได้แล้วเสร็จตามก�ำหนดรวม ๓๗๖ รายการ คิดเป็นร้อยละ ๗๘.๖๔ ๒) หลายหน่วยงานได้ด�ำเนินการปรับปรุง แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลในส่วนที่เป็นจุดอ่อน/ ความเสีย่ ง และ/หรือในส่วนทีเ่ ป็นวิธกี ารปรับปรุงการควบคุมภายในจากทีก่ ำ� หนดไว้เดิม โดยปรับปรุงเฉพาะส่วน ทีเ่ ป็นวิธกี ารปรับปรุงหรือจุดอ่อน/ความเสีย่ ง ซึง่ ส่งผลให้รายงานผลการติดตามความก้าวหน้าในการด�ำเนินการ ตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในยังไม่เป็นแนวทางที่ก�ำหนด ๓) การสอบทานการควบคุมภายในของส�ำนักนายกรัฐมนตรี ซึ่งได้รายงานว่ายังคงมีจุดอ่อน หรือความเสี่ยงที่มีนัยส�ำคัญ รวม ๔ หน่วยงาน คือ กรมประชาสัมพันธ์ ส�ำนักข่าวกรองแห่งชาติ ส�ำนักงาน สภาความมั่นคงแห่งชาติ และส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ พบว่าหน่วยงานส่วนใหญ่ มีการวางระบบควบคุมภายในตามระเบียบแต่การน�ำมาปฏิบตั ยิ งั ไม่เป็นไปตามเป้าหมายหรือแนวทางทีก่ ำ� หนด และกิจกรรมที่ยังมีความเสี่ยงของหน่วยงานโดยส่วนใหญ่เป็นเรื่องเดิมที่เกิดขึ้นในปีที่ผ่าน ๆ มา เช่น การเปลี่ยนแปลงบุคลากรท�ำให้ขาดความรู้ความเข้าใจ ทักษะและความช�ำนาญงานและอัตราก�ำลังไม่เพียงพอ นอกจากนี้ยังพบปัญหาจากการด�ำเนินการจากระบบงานภายในของหน่วยงาน รวมทั้งบุคคลากรที่ขาด ความเข้าใจที่ถูกต้องในการด�ำเนินการ และการเขียนแผนงาน/โครงการ ในระดับปฏิบัติยังขาดมาตรฐานที่ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน จากข้อค้นพบดังกล่าว อ.ค.ต.ป. กลุม่ กระทรวงด้านบริหารและส่วนราชการไม่สงั กัดส�ำนักนายก รัฐมนตรี กระทรวงหรือ ทบวง จึงมีข้อเสนอแนะ ดังนี้ ๑) ผู้รับผิดชอบและคณะท�ำงานที่ได้รับมอบหมายให้ด�ำเนินการด้านการควบคุมภายในของ หน่วยงานควรศึกษาท�ำความเข้าใจเกีย่ วกับการจัดวางระบบการควบคุมภายใน โดยการก�ำหนดประเด็นจุดอ่อน/ ความเสี่ยง และปรับปรุงการควบคุมที่ชัดเจนเป็นรูปธรรมเพื่อให้การติดตามการปฏิบัติงานการควบคุมภายใน เป็นไปอย่างถูกต้อง ๒) ผู้บริหารของหน่วยงานทุกระดับควรให้ความส�ำคัญกับการปรับปรุงการควบคุมภายใน โดยก�ำกับดูแลให้เร่งรัดด�ำเนินการปรับปรุงให้เป็นไปตามแผนฯ อย่างครบถ้วนภายในเวลาที่ก�ำหนดไว้ เพื่อให้ระบบการควบคุมภายในที่จัดท�ำไว้เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างแท้จริง รวมทั้งควรติดตามและ ประเมินผลการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของเจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานอย่างสม�่ำเสมอ และต่อเนื่อง
58 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
๓.๒ รายงานข้อค้นพบของจังหวัด ข้อค้นพบ ๑. สภาพทั่วไป ๑) ในภาพรวมการรายงานการควบคุมภายในและ บริหารความเสีย่ งของจังหวัด ส่วนใหญ่มคี วามน่าเชือ่ ถือ ได้ในระดับหนึ่ง ๒) พบว่า อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด ได้รับข้อมูลรายงาน ผลการด�ำเนินงานด้านการควบคุมภายในของทุกจังหวัด ได้ครบถ้วนตามเวลาที่ก�ำหนด ๒. ประเด็นข้อสังเกต ๑) ด้านการจัดท�ำรายงาน • หลายจังหวัดไม่ได้จดั ท�ำรายงานทีม่ คี วามเชือ่ มโยง ในลักษณะบูรณาการในภาพรวม • กิจกรรมการควบคุมยังไม่ครอบคลุมในทุกภารกิจ โดยเฉพาะภารกิจที่เป็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด ๒) ด้านการจัดท�ำแผนการปรับปรุงฯ • แผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของจังหวัด ส่วนใหญ่ยังไม่มีความเชื่อมโยงในลักษณะบูรณาการใน ภาพรวมของจังหวัด • การประเมินความเสีย่ งตามภารกิจทีย่ งั ไม่ครบถ้วน ส่งผลให้การประเมินภาพรวมของจังหวัดไม่ครอบคลุม ในทุกภารกิจโดยให้ความส�ำคัญภารกิจสนับสนุนมากกว่า ภารกิจหลัก • บางส่วนราชการไม่ได้จดั ท�ำแผนการปรับปรุงให้ ครบถ้วนทุกกิจกรรมที่ได้ระบุความเสี่ยงไว้ • บางส่วนราชการวิธกี ารจัดการความเสีย่ ง อาจจะไม่ สามารถลดความเสีย่ งทีม่ อี ยูภ่ ายในระยะเวลาทีก่ ำ� หนดได้ ๓) ด้านบุคลากรและการปฏิบัติงาน • ผู้รับผิดชอบในการจัดท�ำรายงานมีการโยกย้าย หรือเปลีย่ นแปลงบ่อย ท�ำให้การจัดท�ำรายงานไม่ตอ่ เนือ่ ง ไม่ถูกต้อง หรือส่งไม่ทันตามก�ำหนด • ผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ให้ความส�ำคัญกับการ จัดท�ำรายงานการควบคุมภายในไม่มากเท่าที่ควร • บุคลากรขาดความรู้และทักษะที่เพียงพอ และ ไม่ได้รับการพัฒนาอย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง • บุคลากรไม่เพียงพอต่อปริมาณงาน
อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๑ คณะที่ ๒ คณะที่ ๓ คณะที่ ๔ คณะที่ ๕
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 59
๓.๒.๑ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๑ สภาพทั่วไป จังหวัดในความรับผิดชอบได้จดั ส่งรายงานผลการด�ำเนินการตามแผนการปรับปรุงการควบคุม ภายในในกลุ่มจังหวัดภาคกลางและภาคตะวันออก ๕ กลุ่มจังหวัด รวม ๒๐ จังหวัด (จาก ๒๑ จังหวัด) โดยมี ๑๙ จังหวัดส่งรายงานภาพรวมจังหวัดตามที่ ค.ต.ป. ก�ำหนด และส่งรายงานเป็นรายส่วนราชการประจ�ำจังหวัด ซึ่งไม่ถูกต้องตามที่ ค.ต.ป. ก�ำหนด ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน จากการสอบทานในภาพรวมพบว่า จังหวัดส่วนใหญ่มคี วามครบถ้วนในสาระส�ำคัญและมีความ สอดคล้อง เหมาะสม สมบูรณ์และน่าเชื่อถือในระดับมาก นอกจากนี้บางจังหวัดมีรายงานบทวิเคราะห์ด้าน การควบคุมภายในให้ผบู้ ริหารทราบด้วย จึงเห็นว่าจังหวัดจัดท�ำรายงานได้ดขี นึ้ กว่าปีกอ่ น เนือ่ งจากเป็นตัวชีว้ ดั ใน ค�ำรับรองการปฏิบัติราชการ มีคู่มือที่ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๑ ได้จัดท�ำให้จังหวัดใช้เป็นแนวทางในการ จัดท�ำรายงาน และการจัดอบรมเรือ่ งการควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ งของกรมบัญชีกลาง อย่างไรก็ดี ยังคงมีบางจังหวัดที่จัดท�ำรายงานยังไม่ครอบคลุมภารกิจหลักและหรือภารกิจสนับสนุนที่ส�ำคัญของจังหวัด จากการลงพืน้ ทีเ่ พือ่ ติดตามการปฏิบตั งิ านด้านต่าง ๆ ของจังหวัดพบว่า ภารกิจหลัก/ยุทธศาสตร์ ส่วนใหญ่พบความเสี่ยงทั้งจากภายใน เช่น จ�ำนวนและความรู้ความสามารถของบุคลากร และการเปลี่ยนแปลง นโยบาย เป็นต้น และความเสี่ยงจากภายนอก เช่น ความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ ภาวะภัยพิบัติ เป็นต้น โดยส่วนราชการประจ�ำจังหวัดมีความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับการควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ งไม่เพียงพอ ท�ำให้การประเมินความเสี่ยงไม่ครอบคลุมภารกิจหลัก/ยุทธศาสตร์/สนับสนุนที่ส�ำคัญของส่วนราชการ และมี บุคลากรปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในไม่ครบถ้วนท�ำให้เกิดความเสี่ยงต่อเนื่อง จากข้อค้นพบดังกล่าว อ.ค.ต.ป. กลุม่ จังหวัดคณะที่ ๑ จึงมีขอ้ เสนอแนะให้สว่ นราชการส่วนกลาง ที่เป็นต้นสังกัดควรประมวลผลความเสี่ยงภาพรวมของทุกจังหวัดเพื่อก�ำหนดวิธีการควบคุมความเสี่ยงของ ส่วนราชการในเชิงนโยบายที่เป็นรูปธรรม ส�ำหรับความเสี่ยงจากภายนอกนั้น จังหวัดควรจัดท�ำแผนการ ประชาสัมพันธ์ที่เน้นในเรื่องการท�ำความเข้าใจกับผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่องและหลายช่องทาง หรืออาจ สร้างเครือข่ายภาคเอกชน/ท้องถิ่นในการก�ำกับดูแลแทนภาคราชการ รวมทั้งควรจัดให้มีกิจกรรมการบริหาร จัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) เรื่องการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงเพื่อเป็น แหล่งเรียนรูใ้ ห้กบั บุคลากรของจังหวัด โดยให้หวั หน้าส่วนราชการประจ�ำจังหวัดก�ำกับดูแลให้ผรู้ บั ผิดชอบจัดท�ำ รายงานการควบคุมภายในให้ครอบคลุมภารกิจหลัก/ยุทธศาสตร์/สนับสนุนทีส่ ำ� คัญของส่วนราชการ และติดตาม ให้บุคลากรปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในอย่างเคร่งครัด ๓.๒.๒ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๒ สภาพทั่วไป จากการสอบทานรายงานผลด้านการควบคุมภายใน ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๔ มีจังหวัดใน กลุม่ จังหวัดทีส่ ง่ รายงานได้ครบถ้วน รวม ๙ จังหวัด คือ ล�ำพูน ล�ำปาง แม่ฮอ่ งสอน พะเยา แพร่ น่าน พิษณุโลก เพชรบูรณ์ และอุตรดิตถ์ จังหวัดทีส่ ง่ เอกสารมาไม่เป็นไปตามทีก่ ำ� หนด มี ๒ จังหวัด คือ เชียงราย และเชียงใหม่ และจังหวัดที่ไม่ได้สง่ รายงานมี ๒ จังหวัด คือ ตากและสุโขทัย ซึ่งสรุปได้ว่าจังหวัดส่วนใหญ่สามารถด�ำเนินการ ในเรือ่ งการควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ งให้เกิดประสิทธิผลทีส่ ามารถตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ของ การควบคุมภายในได้ในระดับหนึ่งและยังต้องการการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพยิ่ง ๆ ขึ้นไปในอนาคต 60 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน จากผลการสอบทานรายงานควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ งของจังหวัดในความรับผิดชอบ ของ อ.ค.ต.ป. กลุม่ จังหวัดคณะที่ ๒ สรุปภาพรวมพบว่าปัญหาต่าง ๆ ทีก่ ลุม่ จังหวัดรายงานมาเป็นประเด็นปัญหา เดิม ๆ ที่เคยรายงานมาในปีที่แล้ว ๆ มา กล่าวคือปัญหาด้านบุคลากรที่ยังคงเป็นจุดอ่อนของกลุ่มจังหวัดซึ่งจะ ส่งผลกระทบถึงการปฏิบัติภารกิจหลักและภารกิจสนับสนุน โดยส่วนราชการส่วนใหญ่ยังคงให้ความส�ำคัญกับ การควบคุมภายในในระดับค่อนข้างน้อยและขาดการให้ความร่วมมือ รวมทั้งการก�ำหนดกิจกรรมการควบคุม ยังไม่ครอบคลุมทุกภารกิจ โดยเฉพาะภารกิจที่เป็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด จากข้อค้นพบดังกล่าว อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๒ จึงมีข้อเสนอแนะเพื่อด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) การแก้ไขปัญหาด้านบุคลากร ควรต้องด�ำเนินการอย่างจริงจังทั้งในระดับจังหวัด และระดับ ส่วนราชการต้นสังกัด ๒) ควรสร้างความตระหนักและเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่บุคลากรทุกระดับโดยเฉพาะ ระดับหัวหน้าส่วนราชการให้เห็นถึงความส�ำคัญของการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ๓) ส่วนราชการต้นสังกัดควรก�ำกับดูแลและติดตามประเมินผลการปฏิบตั งิ านของส่วนภูมภิ าค อย่างใกล้ชิด ๓.๒.๓ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๓ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลด้านการควบคุมภายใน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ของ จังหวัดที่ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๓ รับผิดชอบรวม ๑๓ จังหวัด พบว่า มีจังหวัดที่จัดส่งรายงานครบถ้วน ตามที่ก�ำหนดรวม ๙ จังหวัด และมี ๔ จังหวัดที่ไม่ได้จัดส่งรายงานตามก�ำหนด ได้แก่ จังหวัดราชบุรี จังหวัด สุพรรณบุรี จังหวัดหนองบัวล�ำภู และจังหวัดบึงกาฬ โดยมีจังหวัดที่จัดส่งรายงานผลการด�ำเนินงานให้จ�ำนวน ๑๐ จังหวัด และมี ๒ จังหวัดที่ไม่ได้จัดส่งรายงาน ได้แก่ จังหวัดหนองบัวล�ำภู และจังหวัดหนองคาย ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน ๑) รายงานประเมินผลการควบคุมภายในของจังหวัด ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ มีความสมบูรณ์กว่าการรายงานเมื่อปีที่ผ่านมา โดยมีรูปแบบเป็นไปตามแนวทางการจัดวางระบบการควบคุม ภายในและการประเมินผลการควบคุมภายในตามที่ส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินก�ำหนด ทั้งนี้การประเมิน ความเสี่ยงเพื่อจัดวางระบบการควบคุมภายในเป็นลักษณะที่แต่ละส่วนราชการส่วนภูมิภาคด�ำเนินการตาม ภารกิจทีม่ อี ยู่ในส่วนราชการเองและยังไม่มกี ารประเมินความเสีย่ งในภาพรวมของจังหวัดเพือ่ ให้เห็นความเสีย่ ง ที่อาจเป็นอุปสรรคหรือส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินงานตามแผนงานหรือโครงการที่จังหวัดวางไว้ ๒) กิจกรรมการควบคุมภายในของจังหวัด ทั้งในส่วนที่เป็นภารกิจหลักและภารกิจสนับสนุน ยังไม่มีความเชื่อมโยงในลักษณะบูรณาการในภาพรวมของจังหวัด ซึ่งยังไม่สะท้อนให้เห็นว่าการวางระบบการ ควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงที่จังหวัดก�ำหนดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ๓) ผู้บริหารของส่วนราชการส่วนภูมิภาค ยังไม่ให้ความส�ำคัญกับการควบคุมภายในและ การบริหารความเสี่ยงเท่าที่ควร โดยส่วนใหญ่ขาดการติดตามและประเมินผลความคุ้มค่าในการด�ำเนินงาน
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 61
จากข้อค้นพบดังกล่าว อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๓ จึงมีข้อเสนอแนะเพื่อด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) จังหวัดควรก�ำหนดมาตรการหรือแนวทางการประเมินความเสี่ยงในภาพรวมของจังหวัด โดยให้พจิ ารณาปัจจัยต่าง ๆ ทีเ่ ป็นความเสีย่ งเชิงยุทธศาสตร์ทอี่ าจส่งผลกระทบต่อความส�ำเร็จในการด�ำเนินงาน ตามแผนงานหรือโครงการในภาพรวมของจังหวัด ๒) จังหวัดควรมีแนวทางการติดตามและประเมินผลระบบการควบคุมภายใน เพือ่ แสดงให้เห็นว่า กิจกรรมการควบคุมทีก่ ำ� หนดขึน้ ได้มสี ว่ นช่วยให้การด�ำเนินงานตามแผนงานหรือโครงการของจังหวัดมีความคุม้ ค่า และมีผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ ๓) จังหวัดควรมีการชีแ้ จงนโยบายและมาตรการเกีย่ วกับการควบคุมภายในของจังหวัด รวมทัง้ ท�ำความเข้าใจกับผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการส่วนภูมิภาคภายในจังหวัดให้เห็นความส�ำคัญและ ประโยชน์ของการมีระบบควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ๓.๒.๔ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๔ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ งของจังหวัดใน ความรับผิดชอบ ของ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๔ จ�ำนวน ๑๔ จังหวัด สรุปภาพรวม พบว่า ได้รับรายงานจ�ำนวน ๑๑ จังหวัด ยังขาดอีก ๓ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดพัทลุง ปัตตานี และนราธิวาส ส่วนจังหวัดยะลายังส่งรายงานไม่ถูกต้อง โดยไม่ได้ส่ง รายงาน ปส. ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน ผลการสอบทานรายงานควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงของจังหวัดพบว่า การก�ำกับ ดูแลการเบิกจ่ายเงินในระบบ GFMIS ของแต่ละส่วนราชการยังไม่รัดกุมเพียงพอ บางส่วนราชการที่ระบุว่า ยังมีความเสี่ยง หรือจุดอ่อนที่ต้องปรับปรุงแก้ไขโดยระบุไว้ในแบบ ปอ.๑ หรือ ปอ.๒ แต่การจัดท�ำแผนการ ปรับปรุงแบบ ปอ.๓ ไม่ได้จดั ท�ำแผนการปรับปรุงให้ครบถ้วนทุกกิจกรรมที่ได้ระบุความเสีย่ งไว้ บางส่วนราชการ มีแผนการปรับปรุงบางกิจกรรมที่มีความเสี่ยงอยู่ และวิธีการจัดการความเสี่ยงอาจจะไม่สามารถลดความเสี่ยง ทีม่ อี ยูภ่ ายในระยะเวลาทีก่ ำ� หนดได้ และบางส่วนราชการวางแผนการบริหารจัดการไม่เป็นระบบ แผนการใช้จา่ ยเงิน ไม่สัมพันธ์กับแผนการปฏิบัติงาน ส�ำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาทุกจังหวัดยังขาดบุคลากรทางการเงินเพื่อท�ำ หน้าที่รับจ่ายเงินและบัญชีท�ำให้กิจกรรมทางการเงินเสี่ยงต่อความผิดพลาดและไม่ทันเหตุการณ์ นอกจากนี้ เจ้าหน้าทีย่ งั ขาดความรูค้ วามเข้าใจและความช�ำนาญในการใช้เครือ่ งคอมพิวเตอร์และระบบเทคโนโลยีสมัยใหม่ รวมทัง้ Hardware ทีจ่ ะสนับสนุนการปฏิบตั งิ านมีไม่เพียงพอ รวมทัง้ การติดตามประเมินผลการด�ำเนินงานและ โครงการยังไม่ได้ด�ำเนินการอย่างเป็นประจ�ำ จากข้อค้นพบดังกล่าว อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๔ จึงมีข้อเสนอแนะเพื่อด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) จังหวัดควรติดตามและทบทวนระบบงานของ GFMIS ให้มีการปฏิบัติงานที่ถูกต้องรัดกุม และเป็นไปตามแนวทางที่ก�ำหนดโดยกระทรวงการคลัง ๒) การจัดท�ำแผนการปรับปรุงแบบ ปอ.๓ ส่วนราชการควรด�ำเนินการด้วยความระมัดระวัง รอบคอบ และให้มีความครบถ้วน แผนการปรับปรุงความเสี่ยง ควรพิจารณาให้เหมาะสมกับทรัพยากรของ หน่วยงาน และระยะเวลา รวมทั้งความเป็นไปได้ในการลดความเสี่ยงให้หมดไป และแผนการบริหารจัดการ ควรจัดท�ำให้ชัดเจนและเป็นระบบ รวมทั้งให้มีแผนการใช้จา่ ยเงินที่สัมพันธ์กับแผนการปฏิบัติงาน 62 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
๓) ส�ำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด ควรเพิ่มบุคลากรทางการเงิน เพื่อลดความเสี่ยง การปฏิบัติผิดทางการเงินและเพิ่มประสิทธิภาพการด�ำเนินงาน ๔) ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ ในจังหวัดภูเก็ต ควรมีเจ้าหน้าทีเ่ พือ่ จัดการระบบพัสดุ ให้ถูกต้องตามระเบียบพัสดุ ๕) จังหวัดควรจัดท�ำแผนการปรับปรุงสารสนเทศและการสื่อสารทั้ง Hardware Software และ People Ware ให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๖) การติดตามประเมินผลการด�ำเนินงานและโครงการ ควรด�ำเนินการอย่างเป็นระบบเป็นประจ�ำ และต่อเนื่อง ๓.๒.๕ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๕ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลด้านการควบคุมภายในของจังหวัดซึ่ง อ.ค.ต.ป. คณะที่ ๕ รับผิดชอบ พบว่า การประเมินผลการควบคุมภายในเป็นไปตามวิธีการที่ก�ำหนด ระบบการควบคุมภายใน มีความเพียงพอและสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน โดยได้จัดส่งรายงานการควบคุม ภายในและการบริหารความเสี่ยงครบทั้ง ๑๕ จังหวัด และมีการสรุปข้อค้นพบที่สะท้อนให้เห็นจุดอ่อนที่มี นัยส�ำคัญทีม่ ผี ลกระทบต่อการปฏิบตั งิ านของจังหวัดทัง้ ในภารกิจหลักและภารกิจสนับสนุน ผลจากการสอบทาน อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๕ มีดังนี้ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน ๑) บางหน่วยงานวางระบบการควบคุมภายในเพียงกลุ่มบุคคลกลุ่มเดียว ยังไม่ถ่ายทอดองค์ ความรูเ้ รือ่ งการควบคุมภายในทัว่ ทัง้ ส่วนราชการ จึงยังไม่ได้วางระบบการควบคุมภายในของกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น ส่วนราชการที่มีภารกิจในบริการประชาชน บางส่วนราชการความเสี่ยงของปีที่ผ่านมายังไม่สามารถลด จุดอ่อนหรือความเสี่ยงลงได้ ๒) บางกิจกรรมยังมีการควบคุมไม่เพียงพอและเจ้าหน้าที่ไม่ปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบ และวิธกี าร ตามมาตรฐานการควบคุมภายใน ๓) บางหน่วยงานจัดวางระบบการควบคุมภายในไม่ครอบคลุมทุกภารกิจในหน่วยงาน และไม่ แจ้งเวียนระบบการควบคุมภายในให้บคุ ลากรในหน่วยงานทราบเพือ่ ถือปฏิบตั ิ ส่งผลให้ระบบการควบคุมภายใน หรือแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในที่จัดท�ำไว้ไม่มีการน�ำไปปฏิบัติหรือไม่มีการประเมินอย่างจริงจัง จากข้อค้นพบดังกล่าว อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๕ จึงมีข้อเสนอแนะเพื่อด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ควรจัดให้มีการวางระบบการควบคุมภายในของกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างทั่วถึง ส�ำนักงานตรวจเงินแผ่นดินและกรมบัญชีกลาง ควรจัดให้มีการเพิ่มพูนความรู้ด้านการวางระบบการควบคุม ภายใน เพื่อพัฒนาความรู้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานอย่างสม�่ำเสมอ และหน่วยงานต้องทบทวนการวางระบบ ควบคุมภายใน หรือก�ำหนดกิจกรรมควบคุมเพิ่มจากเดิมหรือปรับปรุงแก้ไขใหม่ ๒) จังหวัดต้องก�ำหนดให้มีการประเมินความเสี่ยงทุกภารกิจทั่วทั้งองค์กร เพื่อก�ำหนด การควบคุมที่จ�ำเป็น เกิดความคุ้มค่าและเพียงพอ และผู้บริหารทุกระดับต้องสอดส่องดูแลการปฏิบัติงานของ ผู้ใต้บังคับบัญชาในเรื่องส�ำคัญและติดตามการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ หรือวิธีการควบคุมโดยใกล้ชิด รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 63
๓) ผูว้ า่ ราชการจังหวัดต้องสัง่ การให้เจ้าหน้าทีท่ กุ คนศึกษาระเบียบฯ ให้เข้าใจถึงความส�ำคัญและ ประโยชน์ของระบบการควบคุมภายใน เพือ่ ให้เกิดกระบวนการด�ำเนินงานควบคุมภายในได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
๔. รายงานการปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการ ๔.๑ รายงานข้อค้นพบของส่วนราชการ ข้อค้นพบ ๑. สภาพทั่วไป พบว่าในภาพรวมส่วนราชการในสังกัดของกลุ่ม กระทรวงส่วนใหญ่ไม่พบสิง่ ทีเ่ ป็นเหตุให้เชือ่ ว่าการปฏิบตั ิ ราชการตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวง ต่ า ง ๆ ในกลุ ่ ม กระทรวงในส่ ว นที่ เ ป็ น สาระส� ำ คั ญ ไม่ได้ปฏิบตั ติ ามคูม่ อื การประเมินผลทีส่ ำ� นักงาน ก.พ.ร. ก�ำหนดหรือข้อตกลงในค�ำรับรองการปฏิบตั ริ าชการของ ส่วนราชการ ๒. ประเด็นข้อสังเกต ๑) มีความล่าช้าในการเจรจาตัวชี้วัดและการก�ำหนด เกณฑ์การให้คะแนนตัวชีว้ ดั ร่วมระหว่างกระทรวง (Joint KPIs) ท�ำให้ด�ำเนินการตามตัวชี้วัดล่าช้าไปด้วย ๒) บางตัวชี้วัดต้องรอผลการประเมินจากผู้ประเมิน อิสระจากภายนอก ๓) ตัวชี้วัดที่ด�ำเนินการได้คะแนนระดับน้อย ได้แก่ ตัวชี้วัดอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณเมื่อเปรียบเทียบ กับแผน ๔) บางตัวชี้วัดหน่วยงานไม่รายงานปัญหา/อุปสรรค ต่าง ๆ รวมถึงข้อเสนอแนะเพือ่ การปรับปรุงงานในปีตอ่ ไป รวมถึงไม่ได้ระบุปัจจัยสนับสนุน และอุปสรรคต่อการ ด�ำเนินงาน ๕) ขอ้ มูลบางส่วนทีส่ ว่ นราชการจ�ำเป็นต้องใช้รว่ มกัน ยังคงขาดความเป็นเอกภาพในการจัดเก็บและจัดท�ำ ระบบฐานข้อมูล
อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้าน ความมั่นคง บริหารและ เศรษฐกิจ สังคม และการ ส่วนราชการ ต่างประเทศ ไม่สังกัดฯ
64 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
๔.๑.๑ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการปฏิบตั ริ าชการตามค�ำรับรองการปฏิบตั ิ ราชการของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงภายใต้กลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึง่ เป็นการสอบทานของส่วนราชการในสังกัดทัง้ ๙ กระทรวง ปรากฏว่า ไม่พบสิง่ ทีเ่ ป็นเหตุให้เชือ่ ว่าการปฏิบตั ิ ราชการตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวงต่าง ๆ ในกลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจในส่วนที่เป็นสาระ ส�ำคัญ ไม่ได้ปฏิบัติตามคู่มือการประเมินผลที่ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ก�ำหนดหรือข้อตกลงในค�ำรับรองการปฏิบัติ ราชการของส่วนราชการ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน จากผลการสอบทานการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการใน ภาพรวม พบว่าส่วนราชการที่สามารถรายงานผลการด�ำเนินงานในแต่ละตัวชี้วัดตามค�ำรับรองฯ ได้สอดคล้อง กับนิยามและวัตถุประสงค์ มีความครบถ้วนสมบูรณ์ มีความเป็นปัจจุบัน และมีการใช้ประโยชน์ จ�ำนวน ๔ กระทรวง ได้แก่ กระทรวงการคลัง กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อย่างไรก็ตาม พบว่ามีบางกระทรวง ในมิติคุณภาพ การให้บริการ ยังไม่สามารถด�ำเนินการสอบทานได้เนื่องจากข้อจ�ำกัดอันเนื่องมาจากผลการประเมินความพึง พอใจจากผู้ประเมินอิสระภายนอกยังประมวลผลไม่แล้วเสร็จ จ�ำนวน ๓ กระทรวง ได้แก่ กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงพลังงาน และมีเพียง ๒ กระทรวง ได้แก่ กระทรวงคมนาคม ในมิติประสิทธิผลและมิติคุณภาพการให้บริการ (กรมทางหลวง ไม่มีเอกสารประกอบรายงาน) และกระทรวง อุตสาหกรรม ซึง่ ในภาพรวมยังมีหลายหน่วยงานบางตัวชีว้ ดั ไม่รายงานปัญหา/อุปสรรคต่าง ๆ รวมถึงข้อเสนอแนะ เพื่อการปรับปรุงงานในปีต่อไป นอกจากนี้ยังพบว่าบางหน่วยงานไม่ได้ระบุปัจจัยสนับสนุน และอุปสรรคต่อ การด�ำเนินงาน ซึ่งท�ำให้ผู้ประเมินไม่ทราบว่าการปฏิบัติราชการมีปัจจัยหรืออุปสรรคใดที่ส่งผลกระทบต่อ ความส�ำเร็จของการด�ำเนินได้ตามตัวชี้วัด ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ส่วนราชการควรให้ความส�ำคัญในการจัดท�ำรายงานผลการปฏิบัติราชการตามค�ำรับรอง โดยเน้นย�้ำให้ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด จัดท�ำรายงานผลการปฏิบัติราชการฯ ให้มีความครบถ้วน ครอบคลุม ตามแบบรายงานที่ก�ำหนด ซึ่งจะส่งผลให้รายงานมีความน่าเชื่อถือและเป็นประโยชน์แก่หน่วยงานที่มีหน้าที่ ในการประเมินผลและสอบทาน ๒) ส่วนราชการควรมีการติดตามความก้าวหน้าผลการด�ำเนินการเป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อสามารถประเมินสถานการณ์และสามารถแก้ไขปัญหา อุปสรรคในการด�ำเนินงานได้ทันท่วงที ๓) ส่วนราชการควรเพิม่ เติมการรายงานผลโดยการระบุรายละเอียดของกิจกรรม รวมถึงปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะของการด�ำเนินงานทีส่ อดคล้องกับผลการด�ำเนินงาน ทัง้ นีค้ วรน�ำข้อเสนอแนะส�ำหรับ การด�ำเนินงานในปีที่ผ่านมา มาพิจารณาทบทวนด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไขอย่างจริงจังและต่อเนื่อง เพื่อช่วย ให้การด�ำเนินงานตามค�ำรับรองบรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น ๔) ส่วนราชการควรมีการติดตามความก้าวหน้าการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ อย่างสม�่ำเสมอ รวมทั้งมีมาตรการอื่น ๆ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 65
๕) ส่วนราชการควรมีการเร่งรัดการด�ำเนินการจัดหาครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้างโดยเตรียมการ และจัดท�ำข้อก�ำหนด หรือเงื่อนไข หรือคุณลักษณะเฉพาะให้แล้วเสร็จ ตั้งแต่การจัดท�ำค�ำของบประมาณ และ วางแผนการจัดซื้อจัดจ้างไว้ล่วงหน้า เพื่อให้สามารถเริ่มต้นกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างได้ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ และสามารถเบิกจ่ายงบประมาณลงทุนส่วนใหญ่ได้ทันภายในปีงบประมาณ ๖) การจัดท�ำตัวชี้วัดร่วม (Joint KPI) : ระดับความส�ำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักในการ ด�ำเนินการตามแผนราชการกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกันระหว่างกระทรวง ควรสอดคล้องกับภารกิจและ งบประมาณของหน่วยงาน และมีแผนการด�ำเนินงานที่เกี่ยวข้องกันอย่างชัดเจน โดยมีการประชุมร่วมกันเพื่อ ให้ทกุ ส่วนมีสว่ นร่วมในการก�ำหนดตัวชีว้ ดั และควรแยกให้คะแนนตามระดับความรับผิดชอบของแต่ละกระทรวง ๗) การก�ำหนดตัวชี้วัดระดับกระทรวงควรเลือกตัวชี้วัดที่ทุกส่วนราชการมีความรับผิดชอบ ในการปฏิบัติงานร่วมกัน มิใช่ตัวชี้วัดงานในความรับผิดชอบของบางส่วนราชการ ๘) หน่วยงานกลางควรเร่งตรวจสอบและแจ้งผลตัวชี้วัดตามค�ำรับรองการฏิบัติราชการโดยเร็ว เพื่อจะได้น�ำมาปรับปรุงแก้ไขได้ในปีต่อไป อีกทั้งหน่วยงานกลางที่เกี่ยวข้องกับงานด้านคุณธรรมจริยธรรม ควรพิจารณานโยบายแนวทางหลักเกณฑ์ ตัวชี้วัด และอื่น ๆ เพื่อบูรณาการเป็นตัวชี้วัดเดียวกันให้ชัดเจน เพื่อลดภาระการด�ำเนินงานของหน่วยงานปฏิบัติ ๔.๑.๒ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านสังคม สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองการ ปฏิบัติราชการของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงภายใต้กลุ่มกระทรวงด้านสังคม ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งเป็นการสอบทานของส่วนราชการในสังกัดทั้ง ๖ กระทรวง ปรากฏว่า ในภาพรวมส่วนราชการทั้งหมดไม่พบ สิง่ ทีเ่ ป็น เหตุให้เชือ่ ว่าการปฏิบตั ริ าชการตามค�ำรับรองการปฏิบตั ริ าชการของกระทรวงต่าง ๆ ในกลุม่ กระทรวง ด้านสังคมในส่วนทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญ ไม่ได้ปฏิบตั ติ ามคูม่ อื การประเมินผลทีส่ ำ� นักงาน ก.พ.ร. ก�ำหนดหรือข้อตกลง ในค�ำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน จากผลการสอบทานการประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการตามค�ำรับรองการปฏิบตั ริ าชการในภาพรวม พบว่ากระทรวงแรงงานมีการจัดท�ำตัวชี้วัดในงานที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมการสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ (๒๐๑๕) อย่างไรก็ตาม กระทรวงการท่องเที่ยวฯ มีความล่าช้าในการเจรจาตัวชี้วัดระดับ กระทรวงและกรมให้ได้ข้อยุติและความชัดเจน และกระทรวงวัฒนธรรมมีความล่าช้าในการด�ำเนินงานตาม ค�ำรับรองและการรวบรวมผลการประเมินตามตัวชี้วัด โดยการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารระดับสูงและผู้รับผิดชอบ ตัวชี้วัดบ่อยครั้งท�ำให้การด�ำเนินงานตามตัวชี้วัดขาดความต่อเนื่อง นอกจากนี้พบว่าหน่วยงานที่เป็นหน่วยปฏิบัติงานเชิงนโยบายส่วนใหญ่ยังก�ำหนดตัวชี้วัดตาม ค�ำรับรองการปฏิบัติราชการเป็นตัวชี้วัดเชิงปริมาณ และในการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดของกระทรวงศึกษาธิการ ทีเ่ กีย่ วกับข้อมูลจ�ำนวนผูเ้ รียนไม่เป็นไปตามเป้าหมายบางตัวชีว้ ดั ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย หรือมีผลการด�ำเนิน งานในระดับต�่ำ ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านสังคม จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ควรก�ำหนดให้มตี วั ชีว้ ดั ในส่วนของการเตรียมการสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ รองรับความเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะเกิดขึน้ และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องมีการด�ำเนินงานทีเ่ ป็นรูปธรรม 66 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
๒) ควรก�ำหนดระยะเวลาในการเจรจาตัวชี้วัดระดับกระทรวงและระดับกรมให้ได้ข้อยุติ เร็วขึ้น เพือ่ ทีจ่ ะได้จดั ท�ำค�ำรับรองการปฏิบตั ริ าชการ และมีเวลาในการด�ำเนินงานตามค�ำรับรองฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๓) หน่วยงานที่ท�ำหน้าที่เชิงนโยบายควรทบทวน ปรับปรุง แนวทางการจัดท�ำตัวชี้วัดจาก เชิงปริมาณให้เป็นการวัดผลความส�ำเร็จเชิงนโยบายเพื่อน�ำไปสู่การปฏิบัติที่ชัดเจนมากขึ้น ๔) กระทรวงศึกษาธิการควรเร่งรัดการจัดการศึกษาให้แก่เด็กในกลุม่ ๓ - ๕ ปี ให้ครอบคลุมยิง่ ขึน้ รวมทัง้ เร่งรัดการจัดการศึกษาในช่วงมัธยมศึกษาตอนต้นให้เพิม่ สูงขึน้ พร้อมทัง้ ก�ำหนดยุทธศาสตร์และประสาน เครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชนในการแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่อง ๔.๑.๓ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านความมั่นคง และการต่างประเทศ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการปฏิบตั ริ าชการตามค�ำรับรองการปฏิบตั ิ ราชการของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงภายใต้กลุม่ กระทรวงด้านความมัน่ คงและต่างประเทศ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งเป็นการสอบทานของส่วนราชการในสังกัดทั้ง ๔ กระทรวง พบว่าในภาพรวมส่วนราชการ ทั้งหมดไม่พบสิ่งที่เป็นเหตุให้เชื่อว่าการปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวงต่าง ๆ ในกลุ่มกระทรวงด้านความมั่นคงและการต่างประเทศ ในส่วนที่เป็นสาระส�ำคัญ ไม่ได้ปฏิบัติตามคู่มือ การประเมินผลที่ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ก�ำหนดหรือข้อตกลงในค�ำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน จากผลการสอบทานการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการ ในภาพรวม พบว่าตัวชี้วัดมีความเชื่อมโยงความเกี่ยวพันธ์กับนโยบายรัฐบาล/ยุทธศาสตร์กระทรวง/กรม ท�ำให้ ตัวชีว้ ดั ช่วยสนับสนุนวิสยั ทัศน์/เป้าประสงค์ของกระทรวงได้ และรายงานผลการปฏิบตั ริ าชการ ส่วนใหญ่สามารถ รายงานได้ครบถ้วน ครอบคลุม สามารถแสดงเอกสารหลักฐานอ้างอิงถึงการด�ำเนินงานได้ครบถ้วน ชัดเจน แต่อย่างไรก็ตาม พบว่าในส่วนของการเจรจาในรายละเอียดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย น�้ำหนัก และเกณฑ์การให้ คะแนนตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวงและกลุ่มภารกิจมีความล่าช้า ในการด�ำเนินงานตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการในมิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติ ราชการ พบว่าตัวชีว้ ดั ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน/ภาพรวมของกรม ส่วนใหญ่มี ผลการด�ำเนินงานต�ำ่ กว่าเป้าหมายทีก่ ำ� หนด เนือ่ งจากการโอนเปลีย่ นแปลงงบประมาณรายจ่ายท�ำให้การเบิกจ่าย ไม่เป็นไปตามแผน รวมถึงกรณีรายการจัดจ้างที่ต้องใช้วิธี e-Auction ซึ่งต้องใช้เวลา และหากไม่ได้ผู้รับจ้าง ต้องเริม่ ด�ำเนินการใหม่ทงั้ กระบวนการ นอกจากนี้ ข้อมูลบางส่วนทีส่ ว่ นราชการจ�ำเป็นต้องใช้รว่ มกัน ยังคงขาด ความเป็นเอกภาพในการจัดเก็บและจัดท�ำระบบฐานข้อมูล ดังนัน้ อ.ค.ต.ป. กลุม่ กระทรวงด้านความมัน่ คงและการต่างประเทศ จึงเห็นควรให้มกี ารด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ควรน�ำผลส�ำเร็จในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการที่ปฏิบัติราชการก่อให้เกิดประโยชน์ เผยแพร่ให้แก่สาธารณชนได้รับทราบ เพื่อให้ทุกภาคส่วนสามารถเข้ามาแสดงความคิดเห็นและมีข้อเสนอแนะ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพต่อไป และผูบ้ ริหารของกระทรวงฯ ควรให้ความส�ำคัญและผลักดันให้สร้างจิตส�ำนึกในการ ปฏิบตั ริ าชการโดยมุง่ เน้นผลลัพธ์มากกว่าการท�ำงานให้สำ� เร็จตามแผนหรือการมุง่ แต่เพียงผลผลิต โดยติดตาม แผนการด�ำเนินงานตามค�ำรับรองฯ อย่างจริงจัง รวมทัง้ ควรก�ำหนดเปรียบเทียบ Benchmark ขีดสมรรถนะและ ผลสัมฤทธิ์ขององค์กรกับองค์กรอื่น เพื่อสร้างแรงกระตุ้นในการขับเคลื่อนองค์กร รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 67
๒) ควรด�ำเนินการให้ตรงตามปฏิทินการจัดท�ำค�ำรับรองการปฏิบัติราชการและการประเมินผล การปฏิบตั ริ าชการทีก่ ำ� หนด โดยก�ำหนดระยะเวลาในการจัดท�ำตัวชีว้ ดั ต่าง ๆ ให้มรี ะยะเวลาเพียงพอให้สว่ นราชการ มีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ และเพื่อให้ ค.ต.ป.กระทรวงมีข้อมูลเพียงพอเพื่อใช้ประกอบการสอบทาน ๓) ควรเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณ อย่างจริงจังโดยก�ำหนดแผนหรือมาตรการให้ชัดเจนและ น�ำไปสู่การปฏิบัติได้จริง ๔) ในรายงานผลการปฏิบตั ริ าชการของส่วนราชการ ควรให้ความส�ำคัญกับค�ำชีแ้ จงการปฏิบตั งิ าน ปัจจัยสนับสนุน อุปสรรคในการด�ำเนินงาน และข้อเสนอแนะในปีตอ่ ไป ซึง่ จะเป็นส่วนทีส่ ำ� คัญในการตรวจสอบผล การด�ำเนินงานเบื้องต้นได้ ๕) เห็นควรให้ความส�ำคัญในการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบและใช้ฐานข้อมูลเดียวกัน ๔.๑.๔ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านบริหาร และส่วนราชการไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการปฏิบตั ริ าชการตามค�ำรับรองการปฏิบตั ิ ราชการของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงภายใต้กลุ่มกระทรวงด้านบริหารและส่วนราชการไม่สังกัด ส�ำนักนายก รัฐมนตรี กระทรวง หรือ ทบวง ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งเป็นการสอบทานของส่วนราชการสังกัด ส�ำนักนายกรัฐมนตรี จ�ำนวน ๑๒ หน่วยงาน และส่วนราชการไม่สงั กัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี จ�ำนวน ๘ หน่วยงาน พบว่า ส่วนราชการสังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี และส่วนราชการไม่สังกัดฯ จ�ำนวน ๕ หน่วยงาน ได้แก่ ส�ำนัก พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ส�ำนักงาน กปร. ราชบัณฑิตยสถาน ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และ ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน จัดส่งเอกสารและมีประเด็นการตรวจสอบและ ประเมินผลภาคราชการครบถ้วน โดยในภาพรวมส่วนราชการทั้งหมด ไม่พบสิ่งที่เป็นเหตุให้เชื่อว่าการปฏิบัติ ราชการตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวงต่าง ๆ ในกลุ่มกระทรวงด้านบริหารและส่วนราชการ ไม่สงั กัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือ ทบวง ในส่วนทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญ ไม่ได้ปฏิบตั ติ ามคูม่ อื การประเมินผล ที่ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ก�ำหนดหรือข้อตกลงในค�ำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน จากผลการสอบทานการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการใน ภาพรวม พบว่า หน่วยงานอยู่ในกระบวนการด�ำเนินการตามแผนที่ก�ำหนด โดยผลการปฏิบัติราชการตาม ค�ำรับรองฯ ของหน่วยงานจะแสดงค่าคะแนนผลการประเมินในมิติต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม พบตัวชีว้ ดั บางตัวเช่น การวัดความพึงพอใจ การวัดความส�ำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) เป็นต้น ซึ่งหน่วยงานยังไม่มีการรายงานผล เนื่องจากต้องรอผลการวัดจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ และส�ำนักงาน กพร. เป็นต้น นอกจากนี้มีตัวชี้วัดบางตัวที่หน่วยงานได้ระดับค่าคะแนนน้อย เช่น ตัวชี้วัดด้านประสิทธิผล ทีว่ ดั ผลส�ำเร็จของการด�ำเนินงาน ตัวชีว้ ดั อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณ และตัวชีว้ ดั ทีม่ หี ลายหน่วยงานรับผิดชอบ ในเชิงบูรณาการ ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านบริหารและส่วนราชการไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือ ทบวง จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ 68 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
๑) ผูบ้ ริหารหน่วยงานควรให้ความส�ำคัญกับรายงานผลการปฏิบตั งิ านตามค�ำรับรองการปฏิบตั ิ ราชการและควรก�ำหนดแนวทางในการแก้ไข ปรับปรุงการด�ำเนินการตามตัวชี้วัดในมิติต่าง ๆ ของหน่วยงาน เพื่อให้หน่วยงานสามารถด�ำเนินการให้ถูกต้องตามแนวทางที่ก�ำหนด ๒) หน่วยงานควรเร่งด�ำเนินการในตัวชี้วัดที่ ได้คะแนนน้อยให้เป็นไปตามแผนที่ก�ำหนด โดยก�ำหนดแนวทาง วิธีการในการด�ำเนินงานและมีการติดตามผลเป็นระยะเพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพมากขึ้น ๓) ตัวชี้วัดบางตัวไม่สามารถด�ำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะ ๑ ปี เช่น ในมิติที่ ๒ ด้านการพัฒนาคุณภาพการให้บริการ ต้องรอผลการวัดจากหน่วยงานภายนอก ดังนัน้ จึงควรปรับปรุงกระบวนการ วัดผลในมิติดังกล่าวให้ทันต่อการรายงานก็จะท�ำให้การสอบทานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ๔) ตัวชี้วัดในเชิงคุณภาพของการด�ำเนินงานมีวิธีการวัดผลค่อนข้างยาก ส่วนใหญ่จะก�ำหนด เป็นการวัดร้อยละของความส�ำเร็จที่เกิดขึ้น หากหน่วยงานสามารถก�ำหนดตัวชี้วัดเชิงคุณภาพให้ เป็นรูปธรรม ที่ชัดเจนก็จะวัดผลส�ำเร็จและแสดงผลเป็นรูปธรรมมากขึ้น
๔.๒ รายงานข้อค้นพบของจังหวัด ข้อค้นพบ ๑. สภาพทั่วไป จังหวัด/ส่วนราชการสังกัดจังหวัด ในกลุ่มจังหวัด ไม่พบสิง่ ทีเ่ ป็นเหตุให้เชือ่ ว่าการปฏิบตั ริ าชการตามค�ำรับรอง การปฏิบัติราชการของจังหวัดต่าง ๆ ในกลุ่มจังหวัด ในส่วนที่เป็นสาระส�ำคัญ ไม่ได้ปฏิบัติตามคู่มือการ ประเมินผลที่ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ก�ำหนดหรือข้อตกลง ในค�ำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการปฏิบัติ ราชการของส่วนราชการ ๒. ประเด็นข้อสังเกต ๑) ตวั ชีว้ ดั อยูร่ ะหว่างด�ำเนินการ หรือไม่ทราบคะแนน เพราะต้องรอผลการประเมินจากหน่วยงานในส่วนกลาง จึงมีผลการด�ำเนินงานในระดับคะแนน ๑ หรือ N/A ๒) ขาดหลักฐานอ้างอิงที่ใช้ประกอบการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามค�ำรับรอง ๓) การด�ำเนินงานยังขาดการบูรณาการอย่างจริงจัง จึงท�ำให้การด�ำเนินงานยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ๔) ห ลายจั ง หวั ด ยั ง ขาดการระบุ ป ั จ จั ย สนั บ สนุ น ปั ญ หาอุ ป สรรคต่ อ การด� ำ เนิ น การของจั ง หวั ด และ ข้อเสนอแนะส�ำหรับการด�ำเนินงานในปีต่อไป ๕) เจ้าหน้าที่ขาดความรู้ความเข้าใจในหลักเกณฑ์ และแนวทางการประเมินผลอย่างเพียงพอ
อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๑ คณะที่ ๒ คณะที่ ๓ คณะที่ ๔ คณะที่ ๕
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 69
๔.๒.๑ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๑ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการปฏิบตั ริ าชการตามค�ำรับรองการปฏิบตั ิ ราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ในภาพรวมจังหวัดทั้งหมด ปรากฏว่าไม่พบสิ่งที่เป็นเหตุให้เชื่อว่า การปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดในส่วนที่เป็นสาระส�ำคัญ ไม่ได้ปฏิบัติตามคู่มือ การประเมินผลที่ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ก�ำหนดหรือข้อตกลงในค�ำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน จากผลการสอบทาน พบว่ารายงานผลการปฏิบตั ริ าชการมีความครบถ้วน ครอบคลุม ตามหลักเกณฑ์ และกรอบการประเมินผลทีส่ ำ� นักงาน ก.พ.ร. ก�ำหนด โดยจังหวัดมีการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบมีเจ้าหน้าที่ รับผิดชอบและมีแหล่งข้อมูลที่ชัดเจน ทั้ง ๔ มิติ ท�ำให้มีข้อมูลที่สามารถตรวจสอบได้ แต่อย่างไรก็ตามพบว่า ในหลายจังหวัดยังขาดหลักฐานอ้างอิงที่ใช้ประกอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามค�ำรับรอง และมีบาง จังหวัดที่กรอกข้อมูลผิดพลาด รวมทั้งจังหวัดไม่สามารถ ก�ำกับ ดูแลตัวชี้วัดบางตัวชี้วัดให้มีผลการด�ำเนินการ ให้เป็นไปตามที่ก�ำหนด เนื่องจากมีปัจจัยภายนอกหลายตัวที่ไม่สามารถ ก�ำกับดูแลได้ ตัวอย่างเช่น จังหวัด สระแก้ว มีตัวชี้วัดที่ ๑.๒.๖ ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการค้าชายแดน อย่างไรก็ตาม ยังคงพบปัญหาเจ้าหน้าที่มีการโยกย้ายบ่อยมาก เป็นเหตุให้เจ้าหน้าที่ที่มา ปฏิบัติงานต่อไม่สามารถปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมายได้อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจใน องค์ความรู้ และยังมีปัญหาทางด้านโครงสร้างของจังหวัดที่เกี่ยวข้องกับการผลักดันตัวชี้วัดของจังหวัดที่ หลายกระทรวงร่วมรับผิดชอบ เนือ่ งจากผูว้ า่ ราชการจังหวัดมิได้มอี ำ� นาจบังคับบัญชา โดยเฉพาะอย่างยิง่ ทีเ่ ป็น หน่วยงานส่วนกลาง นอกจากนี้ บางจังหวัดได้จัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองในรอบ ๑๒ เดือน ไม่เป็น ไปตามปฏิทินการจัดท�ำค�ำรับรองฯ ตามที่ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ก�ำหนด ท�ำให้การท�ำรายงานการสอบทานและ ประเมินผลฯ ขาดความครบถ้วน สมบูรณ์ รวมทั้งพบว่าตัวชี้วัดที่ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ก�ำหนดเป็นกรอบ ยังไม่ สะท้อนถึงประเด็นยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาจังหวัดได้อย่างแท้จริง ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๑ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) เพื่อให้การด�ำเนินงานมีความต่อเนื่องแม้มีการโยกย้ายของบุคลากร จังหวัดควรจัดหา เจ้าหน้าทีท่ รี่ บั ผิดชอบโดยตรงเข้ารับฟังค�ำชีแ้ จงเพือ่ น�ำมาถ่ายทอด ตลอดจนดูแล เร่งรัด ให้หน่วยงานในจังหวัด ปฏิบัติตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดได้อย่างจริงจัง ๒) ตัวชีว้ ดั ของจังหวัดทีห่ ลายกระทรวงร่วมรับผิดชอบ ควรทีจ่ ะต้องผลักดันแก้ไขปัญหาเพือ่ ให้ เป็นไปตามยุทธศาสตร์ของจังหวัด และเกิดประโยชน์ร่วมกัน ๓) ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของจั ง หวั ด ควรให้ ความส� ำ คั ญ และก� ำ กั บ ให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ที่ รั บ ผิ ด ชอบ ด�ำเนินการติดตามผลการด�ำเนินงานตามตัวชี้วัดของจังหวัดอย่างสม�่ำเสมอ โดยการปรับปรุงข้อมูลให้เป็น ปัจจุบัน รวมทั้งเร่งรัดให้มีการด�ำเนินการให้เป็นไปตามเป้าหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งตัวชี้วัดที่มีค่าคะแนน เท่ากับ ๑ ๔) ในการก�ำหนดกรอบและประเด็นตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ควรเปิดโอกาสให้จังหวัดได้มีการ ก�ำหนดตัวชี้วัดเองเพื่อให้ตัวชี้วัดได้สะท้อนถึงประเด็นยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาจังหวัดได้อย่างแท้จริง
70 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
๔.๒.๒ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๒ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการปฏิบตั ริ าชการตามค�ำรับรองการปฏิบตั ิ ราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ในภาพรวมจังหวัดทั้งหมด ปรากฏว่าไม่พบสิ่งที่เป็นเหตุให้เชื่อว่า การปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดในส่วนที่เป็นสาระส�ำคัญ ไม่ได้ปฏิบัติตามคู่มือ การประเมินผลที่ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ก�ำหนดหรือข้อตกลงในค�ำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน จากผลการสอบทานการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองฯ ในภาพรวม พบว่าจาก รายงานที่ได้รับจ�ำนวน ๘ จังหวัด ปรากฏว่าทุกจังหวัดมีความเข้าใจในการปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองมากขึ้น มีเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ของแต่ละตัวชี้วัด มีการจัดเก็บข้อมูลเป็นปัจจุบันและเป็นระบบ รวมทั้งตัวชี้วัดมี ความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม พบว่ามีตัวชี้วัดบางตัวไม่ทราบคะแนน เพราะต้องรอผลการประเมิน จากหน่วยงานในส่วนกลาง และการด�ำเนินงานยังขาดการบูรณาการอย่างจริงจัง จึงท�ำให้การด�ำเนินงานยังไม่มี ประสิทธิภาพเท่าที่ควร ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๒ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ควรก�ำชับให้มีการรายงานข้อมูลให้ครบถ้วน ทั้งปัจจัยสนับสนุนการด�ำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะส�ำหรับการด�ำเนินงานในปีต่อไปเพื่อผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานสามารถ น�ำไปใช้ประโยชน์ในการด�ำเนินการตามตัวชี้วัดในปีต่อไปได้ ๒) จังหวัดควรมีการเก็บข้อมูลและด�ำเนินการประเมินผลในเบื้องต้นควบคู่ไปในขณะที่รอผล การประเมินจากส่วนกลาง เพื่อเป็นเครื่องมือในการสอบทานผลการประเมินซึ่งกันและกัน ๓) ผู้บริหารระดับจังหวัดควรให้ความสนใจในการสอดส่องการด�ำเนินงานของคณะท�ำงาน ที่ตั้งขึ้น เพื่อการตามตัวชี้วัดนี้ให้ด�ำเนินงานไปตามแผนที่ก�ำหนดใช้และก�ำชับให้มีการประสานความร่วมมือ อย่างจริงจัง ๔) การก�ำหนดตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ และการท�ำงานของจังหวัด เป็นประโยชน์ ในการบริหารจัดการงานของจังหวัด ดังนัน้ ผูบ้ ริหารและเจ้าหน้าทีท่ เี่ กีย่ วข้องควรจะมีการวัดผลการปฏิบตั งิ าน ตามตัวชี้วัดต่าง ๆ เป็นประจ�ำ เพื่อจะได้ปรับปรุงการด�ำเนินงาน และแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่าง ปฏิบัติงานได้ทันที ๔.๒.๓ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๓ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการปฏิบตั ริ าชการตามค�ำรับรองการปฏิบตั ิ ราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ในภาพรวมจังหวัดทั้งหมด ปรากฏว่าไม่พบสิ่งที่เป็นเหตุให้เชื่อว่า การปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดในส่วนที่เป็นสาระส�ำคัญ ไม่ได้ปฏิบัติตามคู่มือ การประเมินผลที่ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ก�ำหนดหรือข้อตกลงในค�ำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 71
ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน จากผลการสอบทานการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการ ในภาพรวม พบว่าจังหวัดกรอกข้อมูลรายละเอียดไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ท�ำให้ขาดความน่าเชื่อถือ ซึ่งข้อมูล ดังกล่าวเป็นประโยชน์ต่อการพิจารณาความส�ำเร็จของการด�ำเนินงานของจังหวัด นอกจากนี้ ค�ำชี้แจง การปฏิบัติงาน มาตรการที่ได้ด�ำเนินการ ไม่สอดคล้องกับเกณฑ์การให้คะแนนและแนวทางการประเมินผล ซึ่งอาจมีผลมาจากผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดไม่ได้ท�ำความเข้าใจนิยามของตัวชี้วัด วิธีการจัดเก็บข้อมูลเกณฑ์การให้ คะแนนตามคู่มือการประเมินผลการปฎิบัติราชการตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด ท�ำให้จังหวัด ไม่สามารถด�ำเนินการขับเคลื่อนตัวชี้วัดให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ก�ำหนดได้ ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๓ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ควรพัฒนาระบบการติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงานของตัวชีว้ ดั จังหวัด โดยการแต่งตัง้ คณะท�ำงานขับเคลือ่ นตัวชีว้ ดั ของจังหวัดเพือ่ ติดตามผลการด�ำเนินงานตามแผน รวมทัง้ มีการประชุมเพือ่ รับฟัง ปัญหาและอุปสรรคในการด�ำเนินงานตัวชีว้ ดั จากผูร้ บั ผิดชอบโดยตรง เพือ่ ทีจ่ งั หวัดจะได้หาแนวทางในการแก้ไข และผลักดันให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ก�ำหนด ๒) จังหวัดควรเพิ่มมาตรการในการสร้างแรงจูงใจให้ข้าราชการมีขวัญและก�ำลังใจที่จะปฏิบัติ ราชการตามค�ำรับรองการปฏิบตั ริ าชการของจังหวัด โดยการน�ำผลการปฏิบตั ริ าชการตามค�ำรับรองฯ ไปประกอบ การพิจารณาตัวชี้วัดรายบุคคล (IPA) ในการปรับเงินเดือนข้าราชการ หรือพิจารณาความก้าวหน้า ทางสายงาน การเลื่อนต�ำแหน่ง ๓) จังหวัดควรท�ำแผนการติดตามประเมินผลในแต่ละตัวชี้วัด เพื่อขับเคลื่อนการด�ำเนินงาน ตัวชีว้ ดั ให้มกี ารวัดผลส�ำเร็จได้อย่างเป็นรูปธรรม ทัง้ ตัวชีว้ ดั ผลลัพธ์และตัวชีว้ ดั ผลผลิตรายกิจกรรม ตามเป้าหมาย ที่ได้ก�ำหนดไว้ในแผนฯ โดยประเมินผลตามระยะเวลาที่ก�ำหนดในแผน ๔) สร้างระบบในการติดตามเอกสารหลักฐานอ้างอิงที่ใช้ในการประกอบการประเมินผล ที่ต้อง จัดส่งภายในระยะเวลาทีก่ ำ� หนดไว้ในคูม่ อื การประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการตามค�ำรับรองการปฏิบตั ริ าชการของ จังหวัดเพราะมีผลต่อการค�ำนวณคะแนนของจังหวัด ๕) ส�ำนักงาน ก.พ.ร. และบริษัทที่ปรึกษา ควรออกตรวจติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามค�ำรับรองของจังหวัดในรอบ ๖ เดือน เพื่อจะได้รับทราบปัญหาอุปสรรคในการด�ำเนินงานของจังหวัดและ สร้างความเข้าใจในเกณฑ์การประเมินให้กับจังหวัด เพื่อให้จังหวัดสามารถขับเคลื่อนตัวชี้วัดให้เป็นไปตาม เป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ได้ ๔.๒.๔ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๔ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองฯ ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ในภาพรวมจังหวัดทัง้ หมด ปรากฏว่าไม่พบสิง่ ทีเ่ ป็นเหตุให้เชือ่ ว่าการปฏิบตั ริ าชการ ตามค�ำรับรองฯ ของจังหวัดในส่วนที่เป็นสาระส�ำคัญ ไม่ได้ปฏิบัติตามคู่มือการประเมินผลที่ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ก�ำหนดหรือข้อตกลงในค�ำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน จากผลการสอบทานการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองฯ พบว่า การประเมินผล การปฏิบัติราชการทั้ง ๔ มิติ จังหวัดได้มีการก�ำหนดผู้รับผิดชอบไว้ชัดเจน มีรายละเอียดข้อมูลการด�ำเนินงาน 72 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
เกณฑ์การให้คะแนน การค�ำนวณคะแนนจากผลการด�ำเนินงานและปัจจัยสนับสนุนการด�ำเนินงานและหลักฐาน การอ้างอิง ซึ่งการประมวลข้อมูลดังกล่าวจะน�ำไปสู่การพัฒนาระบบฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบันและน่าเชื่อถือ ต่อไปได้ แต่อย่างไรก็ตาม พบว่ายังมีหลายจังหวัดยังไม่ให้ความส�ำคัญในการวิเคราะห์ถึงปัญหาอุปสรรคและ ข้อเสนอแนะในการด�ำเนินงาน ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๔ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) จังหวัดควรให้ความส�ำคัญในการประเมินตนเองโดยแต่ะละตัวชีว้ ดั ควรวิเคราะห์ประเด็นปัจจัย สนับสนุนการด�ำเนินงาน ปัญหาอุปสรรคในการด�ำเนินงานและข้อเสนอแนะให้ครบถ้วน เพื่อจะได้น�ำข้อมูล ดังกล่าวไปเร่งรัดปรับปรุงงาน และสามารถน�ำมาก�ำหนดเป็นแนวทางในการพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลยิ่งขึ้น ๒) หลายจังหวัดยังมีปัญหาเรื่องการปรับเปลี่ยนตัวผู้บริหารหรือผู้รับผิดชอบใหม่ ซึ่งกรณีนี้ จังหวัดควรมีการวางระบบในการส่งมอบงานให้ชดั เจน รวมทัง้ วางแผนการพัฒนาความรูใ้ ห้แก่ผรู้ บั ผิดชอบงาน ใหม่อย่างเป็นระบบต่อไปด้วย ๓) หน่วยงานกลางทีเ่ ป็นเจ้าภาพตัวชีว้ ดั ควรมีการชีแ้ จงสร้างความรู้ ความเข้าใจให้แก่ผบู้ ริหาร ของจังหวัดและหรือผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดคลินิกให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำร่วมกัน ๔) ผู้บริหารของจังหวัดควรให้ความสนใจในการติดตามการด�ำเนินงานของคณะท�ำงาน/ ผู้รับผิดชอบและร่วมแก้ไขปัญหา และต้องวางระบบการบูรณาการการท�ำงานร่วมกัน (กรณีที่มีการด�ำเนินการ ที่เกี่ยวข้องกับหลายส่วนราชการ)เพื่อให้สามารถด�ำเนินการให้เป็นไปตามแผนที่ก�ำหนดไว้ ๕) หน่วยงานกลางทีเ่ ป็นเจ้าภาพตัวชีว้ ดั ควรรวบรวมตัวอย่างการจัดท�ำรายงานฯ ทีด่ ขี องจังหวัด และน�ำมาประมวลเพื่อจัดท�ำเป็นคู่มือเผยแพร่ให้จังหวัดน�ำไปประกอบการจัดท�ำรายงานต่อไปด้วย ๖) ส�ำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลางและกระทรวงมหาดไทยจะต้องเร่งรัดการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณรายจ่ายลงทุน/ภาพรวม/ตามแผนอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งน�ำปัญหาอุปสรรคของการเบิกจ่ายของ จังหวัดมาวางแนวทางในการแก้ไขปัญหาต่อไปด้วย ๗) เพื่อให้การปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดเป็นส่วนหนึ่งที่ก่อให้ เกิดผลสัมฤทธิ์ในการบริหารราชการตามแผนปฏิบตั ริ าชการประจ�ำปีของจังหวัด/กลุม่ จังหวัด จึงควรน�ำผลที่ได้ มาใช้ประกอบในการพิจารณาจัดสรรงบประมาณให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัดต่อไปด้วย ๔.๒.๕ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๕ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการปฏิบตั ริ าชการตามค�ำรับรองการปฏิบตั ิ ราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ในภาพรวมจังหวัดทัง้ หมด ปรากฏว่าไม่พบสิง่ ทีเ่ ป็นเหตุให้เชือ่ ว่าการ ปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดในส่วนที่เป็นสาระส�ำคัญ ไม่ได้ปฏิบัติตามคู่มือการ ประเมินผลที่ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ก�ำหนดหรือข้อตกลงในค�ำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน จากผลการสอบทานการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองฯ พบว่ารายงานในภาพ รวมของทุกจังหวัดมีความครบถ้วน ครอบคลุม และมีวธิ กี ารรายงานทีส่ อดคล้องกับประเด็นการประเมินผลและ ตรงตามแนวทางการรายงานผลทีก่ ำ� หนดไว้ในคูม่ อื การประเมินผลทีส่ ำ� นักงาน ก.พ.ร. ก�ำหนด และมีฐานข้อมูล รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 73
ที่เป็นปัจจุบัน มีแหล่งอ้างอิงที่สามารถสืบค้นได้ และรายงานฯ สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ ได้ แต่อย่างไรก็ตาม พบว่าบางตัวชีว้ ดั ยังขาดความครบถ้วนของข้อมูลในบางประเด็น เช่น ปัจจัยสนับสนุนต่อการด�ำเนินงาน อุปสรรค ต่อการด�ำเนินงาน ข้อเสนอแนะส�ำหรับการด�ำเนินงานในปีตอ่ ไป และหลักฐานอ้างอิง นอกจากนี้ การรายงานผล การด�ำเนินงานตามตัวชีว้ ดั บางตัวมีความคลาดเคลือ่ นและขาดการให้รายละเอียดข้อมูลด�ำเนินงานตามขัน้ ตอน ที่ก�ำหนดไว้ และยังมีตัวชี้วัดบางตัวที่ยังไม่ทราบค่าคะแนน เนื่องจากต้องรอข้อมูลจากหน่วยงานส่วนกลาง ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๕ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ผู้ว่าราชการจังหวัดควรก�ำชับให้ผู้ก�ำกับดูแลตัวชี้วัดให้ความส�ำคัญต่อการกรอกข้อมูล รายละเอียดตามหัวข้อที่ก�ำหนดในค�ำรับรองการปฏิบัติราชการให้ครบถ้วน โดยเฉพาะ - ตัวชี้วัดใดที่มีผลการด�ำเนินงานเป็นไปหรือสูงกว่าเป้าหมาย ควรระบุว่าหน่วยปฏิบัติ ใช้วิธีการ/มาตรการ/ กระบวนการ/เทคนิคใดจึงส่งผลให้การด�ำเนินงานบรรลุหรือสูงกว่าเป้าหมาย - ตัวชีว้ ดั ใดมีผลการด�ำเนินงานต�ำ่ กว่าเป้าหมาย ควรวิเคราะห์สาเหตุทที่ ำ� ให้การด�ำเนินงาน มีปัญหาอุปสรรค และระบุอุปสรรคให้ชัดเจน เพื่อเป็นข้อมูลส�ำหรับการพัฒนางานในปีต่อไป ๒) ผูร้ บั ผิดชอบตัวชีว้ ดั ควรศึกษาท�ำความเข้าใจรายละเอียดตัวชีว้ ดั สูตรการค�ำนวณ และวิธกี าร ประมวลผล ตลอดจนแนวทางในการประเมินผลจากคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อปรับปรุงการ ประเมินผลตนเองให้ถูกต้อง และควรให้ความส�ำคัญกับการสอบทานความถูกต้องของข้อมูลในแต่ละขั้นตอน ของกระบวนการจัดเก็บข้อมูล และการรายงานผลค่าคะแนนที่ได้ให้ถกู ต้องตามแนวทางการประเมินผลทีก่ ำ� หนด เพื่อให้สามารถประเมินผลตนเองได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ๓) จังหวัดควรจัดเก็บข้อมูลตามนิยามที่ ก.พ.ร. ก�ำหนด โดยใช้แนวทางการจัดเก็บข้อมูล ในลักษณะเดียวกับหน่วยงานส่วนกลางซึ่งเป็นเจ้าภาพตัวชี้วัดก�ำหนดคู่ขนานกันไป เพื่อให้สามารถสอบทาน ความถูกต้องของข้อมูลได้อีกทางหนึ่งและเพื่อให้สามารถกรอกข้อมูลโดยไม่ต้องรอหน่วยงานกลาง ทั้งนี้ ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ควรปรึกษากับหน่วยงานกลางและจังหวัดให้ได้ซึ่งข้อมูลส�ำหรับตัวชี้วัดเหล่านี้ได้รวดเร็วขึ้น เพื่อให้จังหวัดสามารถหาค่าคะแนนตัวชี้วัดเหล่านี้ได้ภายในก�ำหนดเวลาที่ต้องส่งผลการประเมินตนเอง ๔) จั ง หวั ด ควรทบทวนว่ า การเบิ ก จ่ า ยมี ป ั ญ หาอุ ป สรรคอย่ า งไร และปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขใน ปีงบประมาณต่อไปด้วย ทัง้ นี้ ในวาระการประชุมประจ�ำเดือนของจังหวัด ควรให้หวั หน้าคลังจังหวัดจัดท�ำรายงานที่ แสดงการเบิกจ่ายที่ไม่เป็นไปตามแผนมาน�ำเสนอ เพือ่ ให้หวั หน้าส่วนราชการประจ�ำจังหวัดรับทราบความคืบหน้า และเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามแผนงานที่ก�ำหนด ๕) จังหวัดควรให้ความส�ำคัญกับการจัดระบบการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานตาม ค�ำรับรองการปฏิบตั ริ าชการ และการใช้จา่ ยเงินตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมทีก่ ำ� หนดไว้โดยเฉพาะโครงการ ส�ำคัญภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ ๖) ควรพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเกีย่ วกับการจัดท�ำค�ำรับรองการปฏิบตั ริ าชการของจังหวัด ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน เพื่อเป็นฐานข้อมูลกลางในการด�ำเนินงานตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการที่ถูกต้อง ครบถ้วน และรองรับกับการเปลี่ยนแปลงผู้ก�ำกับดูแลตัวชี้วัดหรือผู้จัดเก็บข้อมูลที่อาจมีการโยกย้าย และเป็น เครื่องมือประกอบการตัดสินใจในการก�ำหนดตัวชี้วัดและเกณฑ์การให้คะแนนในปีต่อ ๆ ไป
74 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
๕. รายงานการเงิน ๕.๑ รายงานข้อค้นพบของส่วนราชการ คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มกระทรวงคณะต่าง ๆ ได้สอบทานการ ตรวจสอบและประเมินผลด้านการเงินของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงทุกกระทรวงในกลุ่มกระทรวง ซึ่ง ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงรับผิดชอบในการสอบทานการตรวจสอบการด�ำเนินงานด้านการเงินของแต่ละกระทรวง และคณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุม่ กระทรวงคณะต่าง ๆ รับผิดชอบในการสอบทาน การตรวจสอบและประเมินผลระดับกลุ่มกระทรวง รวมทั้งจัดท�ำรายงานสอบทานการตรวจสอบและประเมินผล ในภาพรวมระดับกลุ่มกระทรวง จากการตรวจสอบและประเมินผลด้านการเงินของส่วนราชการ มีข้อค้นพบและข้อเสนอแนะ ในประเด็นที่ส�ำคัญสรุปได้ดังนี้ ข้อค้นพบ
อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้าน ความมั่นคง บริหารและ เศรษฐกิจ สังคม และการ ส่วนราชการ ต่างประเทศ ไม่สังกัดฯ
๑. สภาพทั่วไป พบว่ า ในภาพรวมส่ ว นราชการในสั ง กั ด ของกลุ ่ ม กระทรวงส่วนใหญ่ไม่พบสิ่งที่เป็นเหตุให้เชื่อว่ารายงาน การสอบทานผลการด� ำ เนิ น งานด้ า นการเงิ น ของ ส่วนราชการไม่ถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญ ๒. ประเด็นข้อสังเกต ๑) บางกระทรวงยังมีปัญหากับระบบ GFMIS โดย รายงานการเงินแสดงรายการไม่ถกู ต้อง มีสาเหตุมาจาก มีข้อผิดพลาดในการบันทึกรายการระดับหน่วยเบิกจ่าย ในสังกัด และบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านบัญชีส่วนใหญ่ ขาดความรู้ความเข้าใจในระบบ ๒) อตั ราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายในภาพรวม และงบลงทุน ต�ำ่ กว่าเป้าหมายตามทีค่ ณะรัฐมนตรีกำ� หนด (ยกเว้น (ยกเว้น - การเบิกจ่ายในภาพรวม ก.การคลัง) ก.การ ท่องเที่ยวฯ ก.พัฒนา สังคมฯและ ก.ศึกษาฯ) - การเบิกจ่ายงบลงทุน (ยกเว้น (เฉพาะ ก.คมนาคม ก.ยุติธรรม) ก.เกษตรฯ)
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 75
๕.๑.๑ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการเงินของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงใน กลุม่ กระทรวงด้านเศรษฐกิจ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งเป็นการสอบทานจากรายงานทางการเงิน สิ้นสุด ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๔ ของส่วนราชการในกลุ่มกระทรวงทั้ง ๙ กระทรวง โดยพบว่าในภาพรวม ส่วนราชการไม่พบสิ่งที่เป็นเหตุให้เชื่อว่ารายงานการสอบทานผลการด�ำเนินการด้านการเงินดังกล่าวไม่ถูกต้อง ตามที่ควรในสาระส�ำคัญ ยกเว้นกระทรวงคมนาคมซึ่งมีการรายงานในข้อมูลที่ไม่ถูกต้องครบถ้วนและต้องมี การปรับปรุงแก้ไข ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน จากผลการสอบทานรายงานการเงินที่ ได้ในภาพรวม พบว่ายังคงมีปัญหาในทางปฏิบัติ ที่ได้เคยน�ำเสนอ ค.ต.ป. และคณะรัฐมนตรีมาแล้ว เช่น การบันทึกรายการคลาดเคลื่อน เจ้าหน้าที่ขาดความรู้ ความเข้าใจในระบบ เป็นต้น โดยกิจกรรมที่หน่วยงานยังไม่ได้ด�ำเนินการเท่าที่ควร ได้แก่ การวิเคราะห์รายงาน ผลการด�ำเนินงานทางด้านการเงินเพือ่ ให้ทราบถึงสถานการณ์ในปัจจุบนั และทิศทางการเปลีย่ นแปลงในอนาคต รวมทั้งความเหมาะสมของรายการค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงาน อย่างไรก็ตามการทีก่ รมบัญชีกลางได้มหี นังสือ ก�ำหนดให้การจัดท�ำงบการเงินรวมระดับกระทรวงแสดงรายการปีปัจจุบันเพียงปีเดียว และไม่ต้องแสดงตัวเลข ปีก่อนเปรียบเทียบทั้งในหน้างบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อให้สอดคล้องกับรูปแบบรายงาน การเงินของหน่วยงานภาครัฐ อาจส่งผลให้สว่ นราชการไม่สามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของผลการด�ำเนินงาน ทางการเงินของปีปัจจุบันและปีที่ผ่านมาได้ ส�ำหรับการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่าย ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ของกลุ่มกระทรวง เศรษฐกิจส่วนใหญ่มีอัตราการเบิกจ่ายในส่วนที่เป็นการเบิกจ่ายในภาพรวมและการเบิกจ่ายงบลงทุนต�่ำกว่า เป้าหมายทีค่ ณะรัฐมนตรีกำ� หนด (สิน้ ไตรมาส ๔ เบิกจ่ายร้อยละ ๙๓ และร้อยละ ๗๒ ตามล�ำดับ) ยกเว้นกระทรวง การคลังที่มีผลเบิกจ่ายในภาพรวมสูงกว่าเป้าหมายที่คณะรัฐมนตรีก�ำหนดโดยเบิกจ่ายร้อยละ ๙๘.๘๔ ของ งบประมาณที่ได้รับ และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงคมนาคมมีผลการเบิกจ่ายเงินงบลงทุน สูงกว่าเป้าหมายที่คณะรัฐมนตรีก�ำหนด ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงควรได้มีโอกาสสื่อสารปัญหาหรือข้อจ�ำกัดในการปฏิบัติดังกล่าวกับ ผูบ้ ริหารของส่วนราชการ เพือ่ แลกเปลีย่ นข้อมูลและรับฟังความคิดเห็นในอันทีจ่ ะช่วยผลักดันให้มกี ารปรับปรุง แก้ไขปัญหาหรือข้อจ�ำกัดในการปฏิบัติงานของส่วนราชการในส่วนที่จะสามารถด�ำเนินการได้ในระดับ ส่วนราชการทั้งระดับกระทรวงและกรม ๒) ส่วนราชการและกรมบัญชีกลางควรได้มีการหารือเพื่อก�ำหนดมาตรการร่วมกันกรณี การผิดพลาดทางบัญชีที่เกิดจากการบันทึกและปรับปรุงบัญชี ในระบบ GFMIS ได้ เพื่อให้ด�ำเนินการให้ แล้วเสร็จภายในเดือนเมษายน ๒๕๕๕ ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๓.๓/ว ๑๔ ลงวันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๕๕ ๓) เพื่อให้การสอบทานด้านการเงินมีประสิทธิภาพและประเมินผลมากยิ่งขึ้น ค.ต.ป. ประจ�ำ กระทรวง ควรเพิ่มเติมการวิเคราะห์รายการที่ผิดปกติและผลการด�ำเนินงานด้านการเงินตามแนวทางที่ ค.ต.ป. ก�ำหนด เพื่อให้ส่วนราชการและ ค.ต.ป. ได้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงฐานะทางการเงินที่ส�ำคัญของหน่วยงาน เพื่อสนับสนุนให้การด�ำเนินการทางด้านการเงินของส่วนราชการมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 76 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
๔) กรมบัญชีกลางควรพิจารณาให้งบการเงินรวมระดับกระทรวงและกรมมีการแสดงรายการ ของปีก่อนและปีปัจจุบันด้วย โดยให้ส่วนราชการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของผลการด�ำเนินงานทางการเงิน ในการพิจารณาจัดท�ำร่างมาตรฐานการบัญชีภาครัฐเกี่ยวกับการน�ำเสนองบการเงิน ๕) หัวหน้าส่วนราชการควรสอบทาน ควบคุมติดตาม และเร่งรัดการเบิกจ่ายอย่างสม�่ำเสมอ รวมทั้งติดตามและแก้ไขปัญหาหรือข้อจ�ำกัดของการด�ำเนินการให้ทันเหตุการณ์ เพื่อให้สามารถบริหารงาน และเบิกจ่ายเงินงบประมาณได้ตามเป้าหมาย ๕.๑.๒ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านสังคม สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการเงินของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง ภายใต้กลุ่มกระทรวงด้านสังคม ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งเป็นการสอบทานจากรายงานทาง การเงิน สิ้นสุด ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๔ ของส่วนราชการในสังกัดทั้ง ๖ กระทรวง โดยพบว่าในภาพรวม ส่วนราชการทั้งหมดไม่พบสิ่งที่เป็นเหตุให้เชื่อว่ารายงานการสอบทานผลการด�ำเนินงานด้านการเงินของ ส่วนราชการไม่ถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน จากผลการสอบทานรายงานการเงินที่ได้ในภาพรวม พบว่าการจัดท�ำงบการเงินและระบบบัญชี ของส่วนราชการตามระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) สามารถแก้ไข ปัญหาในปีทผี า่ นมาได้ระดับหนึง่ เช่น การบันทึกข้อมูลการเงินในระบบ GFMIS มีความถูกต้อง ครบถ้วนมากขึน้ แต่อย่างไรก็ตามพบว่า ในบางกระทรวงยังคงมีปัญหากับระบบ GFMIS เช่น กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวง วัฒนธรรม และกระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา ซึง่ ยังพบข้อคลาดเคลือ่ นในการบันทึกบัญชี แต่มปี ริมาณลดลง เมื่อเทียบกับปีที่ผ่าน ๆ มา อย่างไรก็ตามพบว่ารายงานการเงินของกระทรวงสาธารณสุข มีการรายงานข้อมูล วิเคราะห์สถานะการเงินของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเป็นข้อมูลส�ำคัญในการบริหารการเงินของหน่วยงานให้ มีประสิทธิภาพ เช่น การวิเคราะห์อัตราส่วน Current Ratio (การบริหารสภาพคล่อง) การวิเคราะห์อัตราส่วน Quick Ratio (การบริหารสภาพคล่อง) การวิเคราะห์อัตราส่วน Dept Ratio (ความสามารถในการช�ำระหนี้ โดยรวม) เป็นต้น ข้อมูลดังกล่าวท�ำให้ผู้บริหารหน่วยงานตระหนักถึงความส�ำคัญและแก้ไขปัญหาได้ทันที นอกจากนีพ้ บว่าการเบิกจ่ายงบประมาณในหลายกระทรวงยังต�ำ่ กว่าเป้าหมายตามทีม่ ติคณะรัฐมนตรีกำ� หนดไว้ (การเบิกจ่ายงบประมาณไตรมาสที่ ๔ ร้อยละ ๙๓) เช่น กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวง การพัฒนาสังคมฯ ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านสังคม จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ส่วนราชการควรส่งเสริมการสร้างความเข้าใจในระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการเงินการบัญชีให้มีความเชี่ยวชาญยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยงานที่มีสาขาในภูมิภาค รวมทั้งก�ำกับ ติดตามการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่อย่าง สม�่ำเสมอ ๒) ในการรายงานการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการในรอบต่อ ๆ ไป ควรก�ำหนดให้ ทุกหน่วยงานระดับกรมท�ำการรายงานข้อมูลการเงินในด้านต่าง ๆ เช่น การวิเคราะห์อัตราส่วน Current Ratio (การบริหารสภาพคล่อง) การวิเคราะห์อัตราส่วน Quick Ratio (การบริหารสภาพคล่อง) การวิเคราะห์อัตราส่วน Dept Ratio (ความสามารถในการช�ำระหนี้โดยรวม) เป็นต้น เพื่อให้ผู้บริหารหน่วยงานได้ใช้ข้อมูลดังกล่าว ส�ำหรับแก้ไขปัญหาได้ทันที รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 77
๓) ผู้บริหารในแต่ละกระทรวง ควรให้ความส�ำคัญกับมาตรการเร่งรัดติดตามการใช้จ่าย งบประมาณในแต่ละไตรมาสเพื่อให้ผลการใช้จ่ายเป็นไปตามเป้าหมายตามที่คณะรัฐมนตรีก�ำหนด โดยควร ก�ำหนดแผนการปฏิบตั งิ านการติดตามผลการเบิกจ่ายงบประมาณ และควรติดตามความก้าวหน้าของการเบิกจ่าย งบประมาณเป็นระยะ ๆ ๕.๑.๓ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านความมั่นคงและการต่างประเทศ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการเงินของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง ในกลุ่มกระทรวงด้านความมั่นคงและการต่างประเทศ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งเป็นการสอบทาน จากรายงานทางการเงิน สิ้นสุด ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๔ ของส่วนราชการในสังกัดทั้ง ๔ กระทรวง โดยไม่พบสิ่งที่เป็นเหตุให้เชื่อว่ารายงานการสอบทานการตรวจสอบการด�ำเนินงานทางการเงินดังกล่าว ไม่ถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญจากการตรวจสอบ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน จากการสอบทานรายงานผลด้านรายงานการเงิน พบว่าส่วนราชการได้ดำ� เนินการแก้ไขปรับปรุง ตามมติคณะรัฐมนตรีและข้อเสนอแนะของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงเป็นล�ำดับ ซึง่ ปัญหาทีพ่ บยังคงมีลกั ษณะเดิมอยู่ เช่น บุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านบัญชีในส่วนภูมิภาคไม่เพียงพอ การบันทึกรายการคลาดเคลื่อน เจ้าหน้าที่ ขาดความรู้ความเข้าใจในระบบ GFMIS เป็นต้น อย่างไรก็ดี ส่วนราชการควรจะมีการด�ำเนินการปรับปรุง ต่อไปอย่างเคร่งครัดและต่อเนื่องเพื่อลดปัญหาดังกล่าว ทั้งนี้ ส�ำหรับการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่าย ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ของกลุ่มกระทรวงด้านความมั่นคงและการต่างประเทศพบว่าสิ้นไตรมาสที่ ๔ การเบิกจ่ายในภาพรวมยังคงต�่ำกว่าเป้าหมายที่คณะรัฐมนตรีก�ำหนด (สิ้นไตรมาสที่ ๔ ร้อยละ ๙๓) ส�ำหรับ การเบิกจ่ายในงบลงทุนของทุกหน่วยงานเป็นไปตามเป้าหมายที่คณะรัฐมนตรีก�ำหนด (สิ้นไตรมาสที่ ๔ ร้อยละ ๗๒) ยกเว้นกระทรวงยุติธรรมซึ่งอยู่ระหว่างการเบิกจ่ายงานก่อสร้าง ครุภัณฑ์อยู่ระหว่างส่งมอบ การปรับปรุงอาคารผู้รับจ้างด�ำเนินการปรับปรุงล่าช้า มีการโอนเปลี่ยนแปลงใกล้สิ้นปีงบประมาณ ดังนัน้ อ.ค.ต.ป. กลุม่ กระทรวงด้านความมัน่ คงและการต่างประเทศ จึงเห็นควรให้มกี ารด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ส่วนราชการควรจัดกิจกรรมควบคุม ก�ำกับ ดูแล และติดตามผลการด�ำเนินงานด้านการเงิน และบัญชีอย่างจริงจังเพื่อความมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการด�ำเนินงานขององค์กรยิ่งขึ้น ๒) ควรเร่งรัดการเบิกจ่ายอย่างอย่างเคร่งครัดและสม�่ำเสมอ รวมทั้งติดตามและแก้ไขปัญหา หรือข้อจ�ำกัดจากการด�ำเนินการเพื่อให้สามารถเบิกจ่ายเงินงบประมาณเป็นไปตามเป้าหมาย ๓) พิจารณาให้ส่วนราชการในส่วนภูมิภาคมีอัตราก�ำลังปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี ให้เพียงพอและเหมาะสม โดยควรให้ความส�ำคัญในการบริหารบุคคลเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานทดแทนกันได้ ๕.๑.๔ อ.ค.ต.ป.กลุ่มกระทรวงด้านบริหาร และส่วนราชการไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการเงินของส่วนราชการสังกัดส�ำนักนายก รัฐมนตรี จ�ำนวน ๑๒ หน่วยงาน และส่วนราชการไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือ ทบวง จ�ำนวน ๘ หน่วยงาน ได้แก่ ส�ำนักราชเลขาธิการ ส�ำนักพระราชวัง ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ส�ำนักงาน 78 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่ง ชาติ ราชบัณฑิตยสถาน ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ และส�ำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งเป็นการสอบทานจากรายงานทางการเงิน สิ้นสุด ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๔ ของส่วนราชการในสังกัดพบว่าในภาพรวมส่วนราชการทัง้ หมดไม่พบสิง่ ทีเ่ ป็นเหตุให้เชือ่ ว่ารายงานการสอบทาน ผลการด�ำเนินงานด้านการเงินของส่วนราชการไม่ถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญ ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน จากผลการสอบทานรายงานการเงินที่ได้ในภาพรวม พบว่า หน่วยงานมีการจัดท�ำงบการเงิน ตามเกณฑ์คงค้างและเป็นไปตามข้อก�ำหนดในหลักการและนโยบายบัญชีภาครัฐ ดุลบัญชีมียอดปกติ ในส่วน ของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวมของส่วนราชการนัน้ ส่วนราชการไม่สงั กัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือ ทบวง มีบางส่วนราชการจัดท�ำไม่ถูกต้องตามรูปแบบที่กรมบัญชีกลางก�ำหนดและผลการเบิกจ่ายเงินไม่ เป็นไปตามแผน ส�ำหรับส่วนราชการสังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี พบว่าการเบิกจ่ายในภาพรวมมีจ�ำนวนเท่ากับ ร้อยละ ๗๑.๐๓ ของเงินงบประมาณรายจ่าย ซึง่ ต�ำ่ กว่าเป้าหมายตามมติคณะรัฐมนตรีทกี่ ำ� หนดไว้ (ณ ไตรมาสที่ ๔ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๙๓ ของวงเงินงบประมาณที่ได้รบั ) และการปฏิบตั งิ านทางด้านการเงินการคลังของหน่วยงาน ในสังกัดบางหน่วยยังไม่ถูกต้องตามระเบียบฯ ที่ก�ำหนดไว้ โดยผู้ปฏิบัติงานของบางหน่วยงานที่รับผิดชอบการ ปฏิบตั งิ านทางด้านการเงินยังขาดความรูค้ วามสามารถและทักษะในงานด้านการเงินการบัญชีหรือบางหน่วยงาน ได้มอบหมายเจ้าหน้าที่ที่มีความรู้ความสามารถไม่ตรงกับสายงานที่ต้องปฏิบัติ ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านบริหารและส่วนราชการไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ผู้บริหารหน่วยงานควรก�ำกับ ดูแล ให้การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่เป็นไปอย่างถูกต้อง ตามระเบียบกระทรวงการคลังและระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ รวมทัง้ ระเบียบอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง นอกจากนี้ควรเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามแผนการใช้จา่ ยงบประมาณของหน่วยงานและเป็นไป ตามเป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณที่กระทรวงการคลังก�ำหนด ๒) หัวหน้าส่วนราชการควรสนับสนุนเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานให้ได้รับการพัฒนาศักยภาพ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในกฎ ระเบียบต่าง ๆ ให้ชัดเจนยิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่อง ๓) ค.ต.ป. ควรก�ำหนดให้หน่วยงานผูร้ บั ผิดชอบจัดท�ำงบการเงินระดับกระทรวงต้องด�ำเนินการ วิเคราะห์งบการเงินและจัดส่งรายงานผลการวิเคราะห์พร้อมกับรายงานการเงินในภาพรวมกระทรวงให้กบั ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง เพื่อใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการสอบทาน
๕.๒ รายงานข้อค้นพบของจังหวัด คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัด คณะต่าง ๆ ได้ตรวจสอบและ ประเมินผลด้านการเงินของจังหวัด ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ (เฉพาะงบประมาณจังหวัดในฐานะ เจ้าของงบประมาณ) โดยอาศัยรายงานการเบิกจ่ายงบประมาณและรายงานการเงินของจังหวัดเป็นข้อมูลหลัก ในการสอบทาน ซึง่ จังหวัดเป็นผูร้ บั ผิดชอบในความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในรายงานคณะอนุกรรมการฯ เป็นผู้รับผิดชอบในการรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลด้านการเงินของจังหวัด จากการตรวจสอบและประเมินผลด้านการเงินของจังหวัด มีข้อค้นพบและข้อเสนอแนะ ในประเด็น ที่ส�ำคัญสรุปได้ ดังนี้ รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 79
ข้อค้นพบ
อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด ่ คณะ คณะที่ คณะที่ คณะที่ ๑ คณะที ๒ ที่ ๓ ๔ ๕
๑. สภาพทั่วไป ส่งครบ ๑) พบว่า อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด ได้รับข้อมูลรายงาน ผลการด�ำเนินงานด้านการเงินของจังหวัดในกลุ่มไม่ ขาด ขาด ขาด ทุก จ.ว. ขาด ครบถ้วน ๓ จ.ว. ๑ จ.ว. ๒ จ.ว. ๑ จ.ว. ๒) มีการวิเคราะห์งบประมาณการเงินแบบแนวดิ่ง การวิเคราะห์แบบแนวนอน พร้อมทั้งแผนภาพประกอบ โดยจัดท�ำตามหลักเกณฑ์ทางการเงิน ๒. ประเด็นปัญหา ๑) รายงานการเงิน • ข้อมูลที่ได้รับไม่ครบถ้วน • รายงานและข้อมูลที่ได้รับยังไม่ถูกต้องตามที่ ค.ต.ป. ก�ำหนดคือให้ส่งรายงานการเงินของจังหวัดใน ฐานะเจ้าของงบประมาณ ซึ่งพบว่ามีการจัดส่งรายงาน การเงินจังหวัดในภาพรวม • รูปแบบรายงานไม่เป็นรูปแบบเดียวกันหรือไม่ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ๒) ส่วนราชการประจ�ำจังหวัดจัดส่งเอกสารทางการ เงินให้สอบทานล่าช้า ๓) รายงานการเบิกจ่ายงบประมาณที่ได้รับจากกลุ่ม จังหวัด ไม่สามารถวิเคราะห์ ในภาพรวมและวิเคราะห์ ความถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทางการบัญชีได้ นอกจาก นี้งบการเงินของจังหวัดไม่มีการตรวจสอบความถูกต้อง และบางจังหวัดยังมีงบประมาณที่ติดลบ ๕.๒.๑ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๑ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการเงินของ อ.ค.ต.ป. กลุม่ จังหวัด คณะที่ ๑ รอบ ๑๒ เดือน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งเป็นการสอบทานจากรายงานทางการเงินสิ้นสุด ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๔ โดยรับผิดชอบสอบทานจังหวัดในกลุ่มจ�ำนวน ๒๑ จังหวัด ประกอบด้วย กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน ๑ และ ๒ กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง ๒ และกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก พบว่าจังหวัดส่งรายงานการเงินจ�ำนวน ๑๘ จังหวัด โดยมี ๑๓ จังหวัด จัดส่ง รายงานการเงินของจังหวัดในฐานะเจ้าของงบประมาณตามที่ ค.ต.ป. ก�ำหนด และมี ๕ จังหวัดจัดส่งรายงาน การเงินภาพรวมจังหวัดไม่ถูกต้องตามที่ ค.ต.ป. ก�ำหนด 80 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน จากการสอบทานรายงานการเงินของจังหวัดในฐานะเจ้าของงบประมาณพบว่าการจัดท�ำ รายงานการเงินของจังหวัดในฐานะเจ้าของงบประมาณในบางจังหวัดยังไม่ถูกต้องครบถ้วนตามรูปแบบที่ กรมบัญชีกลางก�ำหนด และในบางจังหวัดรายงานผลการเบิกจ่ายไม่ตรงตามรอบปีงบประมาณและรายงานผล การเบิกจ่ายโดยไม่แสดงงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรท�ำให้ไม่ทราบว่ามีการเบิกจ่ายเป็นร้อยละเท่าใดของ งบประมาณที่ได้รบั การจัดสรร รวมทัง้ ส่วนราชการประจ�ำจังหวัดส่งเอกสารให้สำ� นักงานจังหวัดไม่ทนั ตามก�ำหนด เวลา นอกจากนี้ยังพบปัญหาด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ อัตราก�ำลังของผู้ปฏิบัติงานด้านการเงิน มีจ�ำนวน ไม่เพียงพอและมีความรู้ ความสามารถไม่เพียงพอ ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๑ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ในกรณี ที่ ส� ำ นั ก งาน ก.พ.ร. มี ห นั ง สื อ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การตรวจสอบและประเมิ น ผล ภาคราชการแจ้งไปยังจังหวัด ก็ควรที่จะส�ำเนาหนังสือดังกล่าวให้ประธาน อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดได้ทราบด้วย ๒) กระทรวงมหาดไทยควรสนับสนุนอัตราก�ำลังของเจ้าหน้าที่ด้านการเงินและบัญชีของ ส�ำนักงานจังหวัดให้เพียงพอและเหมาะสมกับปริมาณงานที่รับผิดชอบ ๓) กรมบัญชีกลางควรจัดอบรมให้กบั เจ้าหน้าทีก่ ารเงินและบัญชีของส�ำนักงานจังหวัดเกีย่ วกับ การจัดท�ำรายงานการเงินและการวิเคราะห์งบการเงินตามรูปแบบที่ก�ำหนด ๔) หัวหน้าส่วนราชการประจ�ำจังหวัดควรก�ำกับดูแลให้เจ้าหน้าทีก่ ารเงินและบัญชีจดั ส่งเอกสาร ทางด้านการเงินให้สำ� นักงานจังหวัดเพือ่ บันทึกบัญชีให้ครบถ้วนและถูกต้องภายในสิน้ ปีงบประมาณของแต่ละปี ๕.๒.๒ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๒ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการเงินของ อ.ค.ต.ป. กลุม่ จังหวัดคณะที่ ๒ รอบ ๑๒ เดือน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งเป็นการสอบทานจากรายงานทางการเงินสิ้นสุด ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๔ โดยรับผิดชอบสอบทานจังหวัดในกลุ่มจ�ำนวน ๑๓ จังหวัดในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ ตอนบน ๑ และ ๒ และกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ๑ พบว่าจังหวัดส่งรายงานการเงินจ�ำนวน ๑๒ จังหวัด โดยขาดรายงานของจังหวัดตาก ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน จากการสอบทาน พบว่าจังหวัดส่วนใหญ่มีการวิเคราะห์งบประมาณการเงินแบบแนวดิ่ง (Common Size) การวิเคราะห์แบบแนวนอน (Trend Analysis) พร้อมแผนภาพประกอบ รวมทั้งจัดท�ำตาม หลักเกณฑ์ทางการเงินเพื่อให้รายงานการเงินน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น โดยบางจังหวัดได้จัดท�ำบทสรุปผู้บริหารด้วย อย่างไรก็ตามในบางจังหวัดยังมีงบประมาณติดลบ ส�ำหรับแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้ก�ำหนดให้จังหวัดจัดส่งรายงานการเงินของจังหวัดในฐานะเจ้าของงบประมาณมายัง อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด เพือ่ ท�ำการสอบทาน แต่จากการสอบทานพบว่าจังหวัดส่วนใหญ่จดั ส่งรายงานการเงินในภาพรวม ยกเว้นจังหวัด ล�ำพูน ล�ำปาง แพร่ และอุตรดิตถ์ ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๒ จึงเห็นควรให้ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ในฐานะฝ่ายเลขานุการ ค.ต.ป. มีหนังสือชี้แจงวัตถุประสงค์ของการจัดส่งรายงานการเงินของจังหวัดในฐานะ เจ้าของงบประมาณเพื่อให้จังหวัดจ�ำแนกงบประมาณของจังหวัดออกมาให้ชัดเจนต่อไป รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 81
๕.๒.๓ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๓ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการเงินของ อ.ค.ต.ป. กลุม่ จังหวัดคณะที่ ๓ รอบ ๑๒ เดือน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งเป็นการสอบทานจากรายงานทางการเงินสิ้นสุด ณ วัน ที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๔ โดยรับผิดชอบสอบทานจังหวัดในกลุ่มจ�ำนวน ๑๓ จังหวัด ในกลุ่มจังหวัดภาคกลาง ตอนล่าง ๑ และ ๒ และกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ๑ พบว่ามีการจัดส่งรายงานการเงินของ จังหวัด จ�ำนวน ๑๑ จังหวัด ยกเว้นจังหวัดหนองบัวล�ำภูและจังหวัดพิจิตร ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน จากการสอบทานพบว่าแต่ละจังหวัดมีจดั ท�ำรายงานการเบิกจ่ายงบประมาณในรูปแบบ ทีแ่ ตกต่างกัน และข้อมูลในรายงานยังไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน นอกจากนี้ จังหวัดมีการวิเคราะห์งบการเงินให้เห็นถึงสถานะ ทางการเงินของจังหวัดแต่ยังไม่มีการวิเคราะห์ให้เห็นผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ในภาพรวมของจังหวัด ส�ำหรับงบประมาณในภาพรวมจังหวัดมีอัตราการเบิกจ่ายเฉลี่ยประมาณร้อยละ ๗๒.๖๒ โดยมี จังหวัด ๕ แห่งที่มีอัตราการเบิกจ่ายต�่ำกว่าร้อยละ ๗๒.๐๐ ได้แก่ จังหวัดนครปฐม จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัด อุทัยธานี จังหวัดก�ำแพงเพชร และจังหวัดพิจิตร ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๓ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) เอกสารรายงานการเบิกจ่ายเงินงบประมาณของจังหวัด ควรมีการก�ำหนดรูปแบบ ให้เป็น มาตรฐานหรือทิศทางเดียวกัน เพือ่ ให้สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ได้ตรงตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของการ ตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ๒) จังหวัดควรมีการก�ำกับและติดตามการเร่งรัดการเบิกจ่ายเงินงบประมาณของจังหวัด ให้เป็น ไปตามเป้าหมายและมติคณะรัฐมนตรี โดยเฉพาะรายจ่ายลงทุนที่มีอัตราการเบิกจ่ายที่ต�่ำกว่าที่ก�ำหนดไว้ ๓) จังหวัดควรให้ความส�ำคัญกับการจัดท�ำรายงานการเงินให้มีความถูกต้อง ครบถ้วนและ ทันการณ์ รวมทั้งการให้ความส�ำคัญในการวิเคราะห์รายงานการเงินเพื่อให้สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ ใน การบริหารงานของจังหวัด ๕.๒.๔ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๔ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการเงินของ อ.ค.ต.ป. กลุม่ จังหวัดคณะที่ ๔ รอบ ๑๒ เดือน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งเป็นการสอบทานจากรายงานทางการเงินสิ้นสุด ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๔ โดยรับผิดชอบสอบทานจังหวัดในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ จ�ำนวน ๑๔ จังหวัด พบว่าจังหวัดจัดส่งรายงานการเงินของจังหวัดได้ครบถ้วน ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานทางด้านการเงินของจังหวัดในกลุม่ พบว่าจังหวัด ได้จัดท�ำงบแสดงฐานะการเงิน งบรายได้และค่าใช้จ่าย หมายเหตุประกอบงบการเงินตามรูปแบบที่กระทรวง การคลังก�ำหนดอย่างถูกต้อง แต่มีเพียง ๓ จังหวัดที่จัดส่งรายงานการเบิกจ่ายงบประมาณจากระบบ GFMIS อย่างไรก็ตามจังหวัดส่วนใหญ่ได้ท�ำการวิเคราะห์รายงานการเงินทั้งแบบแนวดิ่งและแนวนอน และได้แสดง รูปภาพให้เห็นการวิเคราะห์ทชี่ ดั เจนขึน้ ซึง่ เป็นประโยชน์ในการสนับสนุนการบริหารของจังหวัด แม้วา่ ตัวเลขจาก 82 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
การวิเคราะห์ในปีนยี้ งั ไม่สามารถน�ำมาใช้เป็นประโยชน์ได้ เนือ่ งจากข้อมูลรายงานไม่ถกู ต้องอย่างเห็นได้ชดั และ ไม่สามารถให้ความเชือ่ มัน่ ต่อรายงานการเงินจังหวัดได้ นอกจากนีย้ งั พบว่านโยบายบัญชีของงบการเงินจังหวัด และการจัดท�ำรายงานยังไม่เป็นไปตามหลักการบัญชีทยี่ อมรับกันโดยทัว่ ไปโดยเป็นการรวม (Combine) รายงาน ของหน่วยงานในจังหวัด แทนทีจ่ ะเป็นการจัดท�ำงบการเงินรวมโดยวีธี Consolidate ทีม่ กี ารตัดรายการระหว่างกัน ของหน่วยงานออกตามมาตรฐานการบัญชี และมีข้อสังเกตเกี่ยวกับความถูกต้องของรายงานการเงินที่จัดท�ำ โดยมีเงื่อนไข ซึ่งแสดงถึงการไม่ได้ตรวจความถูกต้องของข้อมูลของส่วนราชการจังหวัดก่อนท�ำการรวมยอด ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๔ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) จังหวัดควรให้ความสนใจในการจัดท�ำรายงานการเงินให้ถูกต้องและตรงตามเวลา รวมทั้ง จัดส่งให้ผบู้ ริหารจังหวัดและ อ.ค.ต.ป. ตามก�ำหนดเวลา เพือ่ ให้รายงานการเงินเป็นประโยชน์สำ� หรับผูใ้ ช้รายงาน ๒) นโยบายบัญชีของรายงานการเงินจังหวัดควรแก้ไขให้ถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชีและ การจัดท�ำงบการเงินรวม ๓) รายงานการเงินของส่วนราชการในจังหวัดควรมีการตรวจสอบให้ถูกต้องก่อนน�ำมาจัดท�ำ งบการเงินรวมจังหวัดเพื่อมิให้รายงานการเงินจัดท�ำโดยมีเงื่อนไข ๔) ควรน�ำแนวทางการค�ำนวณต้นทุนผลผลิตมาใช้ปฏิบัติส�ำหรับจังหวัดเพื่อให้มีความชัดเจน ของต้นทุนผลผลิตจังหวัดและเป็นข้อมูลสนับสนุนระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ (Government Evaluation System : GES) ๕) ควรน�ำงบกระแสเงินสดจังหวัดซึ่งหลักการและนโยบายบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ ๒ ได้ก�ำหนด รูปแบบไว้แล้วมาใช้ปฏิบตั สิ ำ� หรับจังหวัดเพือ่ ให้เห็นการหมุนเวียนของเงินสดของจังหวัดทีช่ ดั เจน อย่างไรก็ตาม เมือ่ ระบบ GFMIS ได้แก้ไขให้เรียบร้อยแล้ว ผูบ้ ริหารจังหวัดควรได้รบั รายงานการเงินจังหวัดทุกเดือนพร้อมด้วย รายงานการวิเคราะห์ทั้งแนวดิ่งและแนวนอน ๕.๒.๕ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๕ สภาพทั่วไป จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการเงินของ อ.ค.ต.ป. กลุม่ จังหวัดคณะที่ ๕ รอบ ๑๒ เดือน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งเป็นการสอบทานจากรายงานทางการเงินสิ้นสุด ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๔ โดยรับผิดชอบสอบทานจังหวัดในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ๒ กลุ่ม จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ๑ และ ๒ จ�ำนวน ๑๕ จังหวัด พบว่า จังหวัดจัดส่งรายงานการเงินของจังหวัดจ�ำนวน ๑๔ จังหวัด ยกเว้นจังหวัดนครพนม ประเด็นที่ได้จากการสอบทาน จากผลการสอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานทางด้านการเงินของจังหวัดในกลุ่ม พบว่า หลายจังหวัดไม่ได้จัดส่งรายงานการเบิกจ่ายงบประมาณจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบ อิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) เพื่อประกอบการสอบทาน ได้แก่ จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดยโสธร จังหวัดขอนแก่น และจังหวัดศรีสะเกษ โดยบางจังหวัดจัดท�ำเอกสารรายงานการเงินยังไม่ถกู ต้องตามรูปแบบทีก่ ระทรวงการคลัง ก�ำหนด เช่น รูปแบบงบแสดงฐานะทางการเงินยังไม่ถกู ต้อง ได้แก่ จังหวัดกาฬสินธุ์ และแสดงข้อมูลในรายงาน ที่เป็นข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง เช่น รายได้ติดลบ สินทรัพย์สุทธิติดลบ ได้แก่ จังหวัดสุรินทร์ อย่างไรก็ตามจังหวัด ได้ทำ� การวิเคราะห์รายงานการเงินทัง้ ในแนวดิง่ และแนวนอนและมีบทวิเคราะห์เสนอข้อมูลในด้านอืน่ ๆ ทีน่ า่ จะ เป็นประโยชน์และสนับสนุนการบริหารงานของจังหวัด รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 83
ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๕ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) จังหวัดควรวางแผนการจัดท�ำรายงานการเงิน รวมทัง้ ทบทวน วิเคราะห์ผลการจัดท�ำรายงาน การเงินที่ผ่านมาเพื่อปรับปรุงแก้ไขในปีต่อไปด้วย ๒) กรมบัญชีกลางควรให้ความรู้แก่จังหวัดในการจัดท�ำรายงานการเงิน รวมทั้งขยายช่องทาง ให้ความรู้หรือให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำแก่ผู้ปฏิบัติงานให้สามารถเข้าถึงข้อความรู้ในด้านการเงินและข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว อีกทั้งควรจัดท�ำรูปแบบของรายงานการเงินที่ชัดเจนเพื่อให้จังหวัดจัดท�ำรายงานการ เงินในรูปแบบเดียวกัน และให้มีชื่อหน่วยเบิกจ่ายในจังหวัดด้วย ๓) เนื่องจากงบการเงินในภาพรวมของจังหวัดเป็นผลรวมของรายการในงบทดรองของหน่วย เบิกจ่ายในสังกัดภูมิภาคของหน่วยงานภาครัฐที่อยู่ในเขตจังหวัด ดังนั้นหัวหน้าส่วนราชการของหน่วยเบิกจ่าย และผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในทุกระดับของจังหวัด ควรก�ำกับดูแลให้บันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบ GFMIS ให้ถูกต้อง ก่อนน�ำมาจัดท�ำงบการเงินรวมของจังหวัด เพื่อให้รายงานการเงินมีความถูกต้องและน่าเชื่อถือ ๔) จังหวัดควรเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์งบการเงินที่เป็นประโยชน์ เพื่อให้ผู้บริหาร สามารถน�ำไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการแก้ไขปัญหาและตัดสินใจ และสามารถวางแผนได้อย่างมีประสิทธิผล และประสิทธิภาพ ๕) ผู้บริหารระดับสูงของจังหวัดและหน่วยเบิกจ่ายควรได้รับการฝึกอบรมเรื่องการวิเคราะห์ รายงานการเงินของจังหวัดและเข้าใจความหมายของรายการต่าง ๆ ในรายงานการเงินเป็นอย่างดี จนท�ำให้ สามารถตัดสินใจและวางแผนการด�ำเนินงานต่าง ๆ ของจังหวัด ได้อย่างมีประสิทธิผล ๖. กรมบัญชีกลางควรจัดท�ำคู่มือการอ่านและวิเคราะห์รายงานการเงินของจังหวัดให้ผู้บริหาร ระดับสูง เช่น ผูว้ า่ ราชการจังหวัด รองผูว้ า่ ราชการจังหวัด และปลัดจังหวัด น�ำไปใช้ในการพิจารณาเพือ่ ประกอบ การตัดสินใจ เนือ่ งจากรายงานการเงินของจังหวัดมีความแตกต่างจากของธุรกิจและยังไม่มผี ใู้ ดได้จดั ท�ำเป็นคูม่ อื เผยแพร่
๖. รายงานการสอบทานกรณีพิเศษ ๖.๑ ส่วนราชการ ๖.๑.๑ สรุปรายชื่อโครงการที่สอบทานกรณีพิเศษในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ นี้ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงคณะต่าง ๆ ได้คัดเลือกโครงการภายใต้การ ด�ำเนินงานในหน่วยงานสังกัดกระทรวงทีร่ ับผิดชอบ ซึ่งมีความส�ำคัญตามนโยบายรัฐบาล/ยุทธศาสตร์กระทรวง และโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง รวม ๖๐ โครงการ ดังนี้
84 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง
รอบ ลักษณะของโครงการ การสอบทาน ชื่อโครงการ
นโยบาย ระหว่าง ประจ�ำ รัฐบาล/ ปฏิแผน บ ต ั ก ิ าร ปี ยุทธศาสตร์ ไทยเข้มแข็ง ปี กระทรวง
กลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจ (รวม ๓๓ โครงการ) กระทรวงการคลัง ๑. โครงการแก้ไขปัญหาหนีส้ นิ ภาคประชาชน (หนีน้ อกระบบ) (ศูนย์อำ� นวยการปฏิบัติการ แก้ไขหนี้สินภาคประชาชน) วงเงิน ๖๐.๓๒ ล้านบาท
๒. โครงการก่อสร้างอาคารทีพ่ กั อาศัยข้าราชการ ด่านศุลกากรนครพนม (กรมศุลกากร) วงเงิน ๖๐.๓๒ ล้านบาท กระทรวงเกษตร และสหกรณ์
๑. โครงการนิคมการเกษตร ปีเพาะปลูก ๒๕๕๓/๕๔ มี ๗ โครงการย่อย (ส�ำนักงาน การปฏิรปู ทีด่ นิ เพือ่ เกษตรกรรม กรมชลประทาน กรมส่งเสริมสหกรณ์ และกรมพัฒนาที่ดิน) วงเงิน ๒๘๘.๒๐ ล้านบาท *
๒. โครงการอ่างเก็บน�้ำห้วยแม่ท้อ อ.เมือง จ.ตาก (กรมชลประทาน) วงเงิน ๕๔๐ ล้านบาท *
กระทรวงคมนาคม ๑. โครงการก่อสร้างท่าเทียบเรือเชียงแสน แห่งที่ ๒ จังหวัดเชียงราย (กรมเจ้าท่า) วงเงิน ๑,๕๔๖.๔๐ ล้านบาท
๒. โครงการก่อสร้างทางหลวงสนับสนุนการขนส่ง แบบต่อเนื่องสาย อ.แม่จัน - อ.เชียงแสน จ.เชียงรายส่วนที่ ๑ จ�ำนวนเงิน ๖๓๐.๙๘ ล้านบาท และส่วนที่ ๒ วงเงิน ๕๓๖.๙๕ ล้านบาท (กรมทางหลวง) *
๓. โครงการพัฒนาทางหลวงหมายเลข ๑๒๓๒ แยกทางหลวงหมายเลข ๑ (อนุสาวรียพ์ อ่ ขุน เม็งราย) - บรรจบทางหลวงหมายเลข ๑๑๗๓ (เวียงชัย) จังหวัดเชียงราย ช่วง กม. ๐+๒๙๗ ๓+๒๖๔.๕๐๐ และช่วง กม. ๓+๓๔๐- ๑๒+๔๖๗ (กรมทางหลวง)
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 85
ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง
รอบ ลักษณะของโครงการ การสอบทาน ชื่อโครงการ
นโยบาย ระหว่าง ประจ�ำ รัฐบาล/ ปฏิแผน บ ต ั ก ิ าร ปี ยุทธศาสตร์ ไทยเข้มแข็ง ปี กระทรวง
๔. โครงการก่อสร้างทางหลวงหมายเลข ๔๑๖๙ ตอนรอบเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี (ส�ำนักก่อสร้างทางที่ ๓ กรมทางหลวง) วงเงิน ๓๔๖.๙๖ ล้านบาท *
กระทรวงพาณิชย์ ๑. โครงการพัฒนาโลจิสติกส์การค้าของ กระทรวงพาณิชย์ (ส�ำนักงานปลัดกระทรวง พาณิชย์ กรมส่งเสริมการส่งออก กรมการค้า ต่างประเทศ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และ กรมการค้าภายใน) วงเงิน ๗๗.๓๑ ล้านบาท *
๒. โครงการเสริมสร้างตลาดสินค้าอินทรีย์ (ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ และกรม การค้าต่างประเทศ) วงเงิน ๖๗.๖๐ ล้านบาท
๓. โครงการเมืองต้นแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (กรมทรัพย์สนิ ทางปัญญา) วงเงิน ๔๙ ล้านบาท *
๔. โครงการส่งเสริมการเรียนรูด้ า้ นเศรษฐกิจ สร้ า งสรรค์ ส� ำ หรั บ เด็ ก และเยาวชน (กรมทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา) วงเงิ น ๒๐ ล้านบาท *
กระทรวงทรัพยากร ๑. โครงการพั ฒ นาศู น ย์ เ ตื อ นภั ย มลพิ ษ ธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อมระดับภาค (ส�ำนักงานสิง่ แวดล้อม สิ่งแวดล้อม ภาคที่ ๑-๑๖) วงเงิน ๑๒.๑๘ ล้านบาท
๒. โครงการพั ฒ นาแหล่ ง น�้ ำ บาดาล เพื่ อ สนั บ สนุ น โครงการอั น เนื่ อ งมาจาก พระราชด� ำ ริ (กรมทรั พ ยากรน�้ ำ บาดาล) วงเงิน ๕๔ ล้านบาท
๓. โครงการอนุ รั ก ษ์ แ ละฟื ้ น ฟู แ หล่ ง น�้ ำ (พื้ น ที่ ชุ ่ ม น�้ ำ ขนาดใหญ่ ๔ โครงการ (กรมทรัพยากรน�ำ้ ) วงเงิน ๖๙๗.๐๘ ล้านบาท * 86 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง กระทรวง เทคโนโลยี สารสนเทศและ การสื่อสาร
รอบ ลักษณะของโครงการ การสอบทาน ชื่อโครงการ
๑. โครงการติดตั้งและพัฒนาหอเตือนภัย สถานี ท วนสั ญ ญาณ และหน่ ว ยรั บ ข่ า ว ในพื้ น ที่ เ สี่ ย งภั ย อุ ท กภั ย และดิ น ถล่ ม (ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร) วงเงิน ๘๕.๕ ล้านบาท *
นโยบาย ระหว่าง ประจ�ำ รัฐบาล/ ปฏิแผน บ ต ั ก ิ าร ปี ยุทธศาสตร์ ไทยเข้มแข็ง ปี กระทรวง
๒. โครงการ Digital Media Asia ๒๐๑๐ (ส�ำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ แห่งชาติ องค์การมหาชน) วงเงิน ๒.๔ ล้านบาท * กระทรวง วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
๑. โครงการพั ฒ นาสิ น ค้ า เทคโนโลยี เพื่อทดแทนการน�ำเข้าและเพิ่มศักยภาพ ในการแข่งขัน (ส�ำนักงานปลัดกระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
๒. โครงการพั ฒ นาระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการและการปฏิบัติงาน ( M I S ) ( ส� ำ นั ก ง า น ป ลั ด กร ะ ท ร ว ง ) (ไม่ระบุวงเงิน)
๓. โครงการสนับสนุนนักเรียนทุนรัฐบาลทาง ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระยะที่ ๓ และระยะที่ ๓+ (ส�ำนักงานปลัดกระทรวง) (ไม่ระบุวงเงิน)
๔. การด�ำเนินงานของกรมวิทยาศาสตร์ บริการ วงเงิน ๔๐๘.๔๒ ล้านบาท
๕. การด�ำเนินงานของส�ำนักงานปรมาณู เพื่อสันติวงเงิน ๑๓.๑๕ ล้านบาท
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 87
ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง
รอบ ลักษณะของโครงการ การสอบทาน ชื่อโครงการ
นโยบาย ระหว่าง ประจ�ำ รัฐบาล/ ปฏิแผน บ ต ั ก ิ าร ปี ยุทธศาสตร์ ไทยเข้มแข็ง ปี กระทรวง
กระทรวงพลังงาน ๑. โครงการสาธิตการใช้แก๊สซิไฟเออร์ผลิต เชื้อเพลิงแก๊สใช้ในด้านความร้อนส�ำหรับ โรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก (ระบบผลิต ก๊าซเชือ้ เพลิงชีวมวลจากเปลือกเมล็ดมะม่วง หิมพานต์) ณ โรงงานเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ อรอนงค์ อ.ภู เ พี ย ง จ.น่ า น (ส� ำ นั ก งาน นโยบายและแผนพลังงาน)
๒. โ ค ร ง ก า ร ป รั บ ป รุ ง ก ๊ า ซ ชี ว ภ า พ เพื่ อ ผลิ ต ไบโอมี เ ทน ณ โพร์ ที ฟ าร์ ม อ.ดอยหล่ม จ.เชียงใหม่ (ส�ำนักงานนโยบาย และแผนพลังงาน)
๓. การส่ ง เสริ ม เทคโนโลยี ก ๊ า ซชี ว ภาพ เพือ่ จัดการของเสียเศษอาหาร ระยะที่ ๑ - ๓ ณ ตลาดร่ ม สั ก มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ (ส�ำนักงานนโยบายและ แผนพลังงาน)
๔. โครงการอนุรกั ษ์พลังงานแบบมีสว่ นร่วม โดยโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดเล็ก ณ บริษทั ผลิตภัณฑ์ ฟ้าไทยอรฟูดส์ จ�ำกัด อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา (กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน) วงเงิน ๒๑.๗๗ ล้านบาท
๕. โครงการส่งเสริมเทคโนโลยีก๊าซชีวภาพ ส�ำหรับโรงงานอุตสาหกรรม ณ บริษัท สีมา อินเตอร์โปรดักส์ จ�ำกัด อ.เมือง จ.นครราชสีมา (ส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน) วงเงิน ๔,๑๖๐.๒๖ ล้านบาท
88 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง
กระทรวง อุตสาหกรรม
รอบ ลักษณะของโครงการ การสอบทาน ชื่อโครงการ
นโยบาย ระหว่าง ประจ�ำ รัฐบาล/ ปฏิแผน บ ต ั ก ิ าร ปี ยุทธศาสตร์ ไทยเข้มแข็ง ปี กระทรวง
๖. โครงการส่ ง เสริ ม การใช้ ห ลอดผอม เบอร์ ๕ ณ เทศบาลนครราชสีมา อ.เมือง จ.นครราชสีมา และ ณ วัดบูรณ์ อ.เมือง จ.นครราชสีมา (การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย) วงเงิน ๖๐๖ ล้านบาท
๗. โครงการเพิ่มสมรรถนะด้านการบริหาร จั ด การพลั ง งานครบวงจรในชุ ม ชนระดั บ ต�ำบล (ส�ำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์ ส� ำ นั ก งานพลั ง งานจั ง หวั ด กระทรวง พลังงาน) วงเงิน ๑๒๐ ล้านบาท
๘. โครงการขยายผลพลั ง งานทดแทน ด้ า นพลั ง น�้ ำ (โครงการไฟฟ้ า พลั ง น�้ ำ ขนาดเล็ก) ที่โครงการ ห้วยล�ำสินธุ์ จ.พัทลุง และโครงการห้วยประทาว (เขื่อนบนและ เขื่อนล่าง) จ.ชัยภูมิ (กรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน) วงเงิ น ๓,๓๕๖.๔๘ ล้านบาท
๑. โครงการรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ของ ประชาชนตามรั ฐ ธรรมนู ญ และประเมิ น สิง่ แวดล้อมระดับยุทธศาสตร์มี ๒ โครงการย่อย (กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่) วงเงิน ๓๓.๕ ล้านบาท *
๒. โครงการส่งเสริมนวัตกรรมอุตสาหกรรม และอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ (กรมส่งเสริม อุตสาหกรรม) วงเงิน ๒๕.๙๐ ล้านบาท
๓. โครงการจั ด ท� ำ ฐานข้ อ มู ล เชิ ง ลึ ก รายกลุม่ จังหวัด (ส�ำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม) วงเงิน ๙๗.๒ ล้านบาท *
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 89
ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง
รอบ ลักษณะของโครงการ การสอบทาน ชื่อโครงการ
นโยบาย ระหว่าง ประจ�ำ รัฐบาล/ ปฏิแผน บ ต ั ก ิ าร ปี ยุทธศาสตร์ ไทยเข้มแข็ง ปี กระทรวง
กลุ่มกระทรวงด้านสังคม (รวม ๑๓ โครงการ) กระทรวง การท่องเที่ยว และกีฬา
๑. โครงการส่งเสริมความเป็นศูนย์กลาง การท่องเทีย่ วเชิงการแพทย์และสุขภาพตาม แนวทางการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่าย อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย (Medical Tourism Hub)” (ส�ำนักงานปลัดกระทรวงฯ)
กระทรวง การพัฒนาสังคม และความมั่นคง ของมนุษย์
๑. โครงการส่งเสริมการมีบัตรประจ�ำตัว คนพิการ (ส�ำนักงานส่งเสริมและพัฒนา คุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ)
๒. โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการปรับ สภาพแวดล้อมทีอ่ ยูอ่ าศัยคนพิการ (ส�ำนักงาน ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ แห่งชาติ)
๓. โครงการพัฒนาระบบกระบวนการจัดการ เรียนรู้เพื่อคุณภาพชีวิตและชุมชนภายใต้ โครงการ ศูนย์ ๓ วัยสานสายใยรักแห่ง ครอบครัว (กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ)
กระทรวงแรงงาน ๑. โครงการค่าตอบแทนอาสาสมัครแรงงาน ระดับอ�ำเภอ / ต�ำบล ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๔ (กระทรวงแรงงาน)
๒. โครงการพัฒนาศักยภาพแรงงานเพื่อ รองรับการจ่ายค่าจ้างตามระดับมาตรฐาน ฝีมือแรงงาน (กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน)
กระทรวงวัฒนธรรม ๑. โครงการวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน (กรมส่งเสริมวัฒนธรรม)
๒. โครงการฟื้นฟูบูรณะโบราณสถานจาก เหตุอทุ กภัย เขตพืน้ ทีอ่ ทุ ยานประวัตศิ าสตร์ พิมาย จ.นครราชสีมา (กรมศิลปากร) 90 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง กระทรวง ศึกษาธิการ
รอบ ลักษณะของโครงการ การสอบทาน ชื่อโครงการ
นโยบาย ระหว่าง ประจ�ำ รัฐบาล/ ปฏิแผน บ ต ั ก ิ าร ปี ยุทธศาสตร์ ไทยเข้มแข็ง ปี กระทรวง
๑. โครงการสร้ า งแหล่ ง เรี ย นรู ้ ร าคาถู ก (กศน.ต�ำบล) (ส�ำนักงานปลัดกระทรวงฯ)
๒. โครงการพัฒนาโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ให้ เ ป็ น โรงเรี ย นวิ ท ยาศาสตร์ ภู มิ ภ าค เพื่ อ กระจายโอกาสส� ำ หรั บ นั ก เรี ย นผู ้ มี ความสามารถพิ เ ศษ ด้ า นคณิ ต ศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (ส�ำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน)
โครงการจัดตัง้ ศูนย์การประชุมและฝึกอบรม อาชีวศึกษาประจ�ำภูมิภาค กระทรวง สาธารณสุข
๑. โครงการโรงพยาบาลสาธารณสุขยุคใหม่ เพื่อคนไทยสุขภาพดีมีรอยยิ้ม
๒. โครงการตามแผนปฏิบตั กิ ารไทยเข้มแข็ง กระทรวงสาธารณสุข
กลุ่มกระทรวงด้านความมั่นคงและการต่างประเทศ (รวม ๑๐ โครงการ) กระทรวงกลาโหม ๑. โครงการจัดหายานยนต์ สายสพ. รยบ. ขนาด ๒ ๑/๒ ตัน (กรมสรรพาวุธทหารบก) วงเงิน ๕,๐๐๐ ล้านบาท
๒. โครงการสถานพักฟืน้ และพักผ่อนกองทัพบก สวนสนประดิพัทธ์ (กรมสวัสดิการทหารบก) วงเงิน ๓๓๙.๕๖ ล้านบาท กระทรวง การต่างประเทศ
๑. โครงการเฉลิมฉลองความสัมพันธ์กับ ประเทศต่าง ๆ วงเงิน ๔๒.๓๕ ล้านบาท ๒. โครงการเสริ ม สร้ า งองค์ ความรู ้ ด ้ า น Creative Economy กับองค์การระหว่าง ประเทศ วงเงิน ๕.๑๕ ล้านบาท
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 91
ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง กระทรวง มหาดไทย
รอบ ลักษณะของโครงการ การสอบทาน ชื่อโครงการ
นโยบาย ระหว่าง ประจ�ำ รัฐบาล/ ปฏิแผน บ ต ั ก ิ าร ปี ยุทธศาสตร์ ไทยเข้มแข็ง ปี กระทรวง
๑. โครงการหมู ่ บ ้ า นเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ต้ น แบบ เฉลิ ม พระเกี ย รติ ๘๔ พรรษา (กรมการพัฒนาชุมชน) วงเงิน ๓๐๐ ล้านบาท
๒. โครงการเร่ ง รั ด การออกโฉนดที่ ดิ น ให้ครอบคลุมทั่วประเทศ (กรมที่ดิน) วงเงิน ๖๓๒.๕๐ ล้านบาท
๓. โครงการก่อสร้างระบบป้องกันน�้ำท่วม พื้นที่ชุมชน (กรมโยธาธิการและผังเมือง) วงเงิน ๔,๒๕๘.๗๐ ล้านบาท
กระทรวงยุติธรรม ๑. โครงการส่งเสริมสิทธิและเสรีภาพใน จังหวัดชายแดนภาคใต้
๒. โครงการช่วยเหลือประชาชนในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ให้เข้าถึงสิทธิและเสรีภาพ วงเงิน ๔.๗๐ ล้านบาท
๓. โครงการพัฒ นาศูนย์ นิ ติ วิทยาศาสตร์ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ว งเงิ น ๑๔.๗๑ ล้านบาท
กลุ่มกระทรวงด้านบริหาร และส่วนราชการไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง (รวม ๔ โครงการ) ส�ำนักนายก รัฐมนตรี
๑. โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพือ่ ยกระดับ ชุมชน ๒. โครงการเพิ่ม ศัก ยภาพผู ้ ว ่ า งงานเพื่ อ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน (ต้นกล้าอาชีพ) (ส�ำนักงานปลัดฯ)
92 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
รอบ ลักษณะของโครงการ การสอบทาน
ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง
ชื่อโครงการ
ส�ำนักงานต�ำรวจ แห่งชาติ
๑. ก่ อ สร้ า งอาคารโรงพยาบาลต� ำ รวจ (อาคารบริการทางการแพทย์) สูง ๒๐ ชั้น งบประมาณ ๒,๑๕๕,๖๗๗,๐๐๐ บาท
นโยบาย ระหว่าง ประจ�ำ รัฐบาล/ ปฏิแผน บ ต ั ก ิ าร ปี ยุทธศาสตร์ ไทยเข้มแข็ง ปี กระทรวง
๒. โครงการก่ อ สร้ า งอาคารที่ พั ก อาศั ย ข้าราชการต�ำรวจ รายการอาคารทีพ่ กั อาศัย (แฟลต) ขนาด ๓๐ ครอบครัว สูง ๕ ชั้น จ�ำนวน ๑๖๓ หลัง วงเงิน ๓,๐๑๐.๐๐ ล้านบาท
หมายเหตุ * เป็นโครงการที่ด�ำเนินการล่าช้ากว่าแผน ๖.๑.๒ รายงานข้อค้นพบจากการสอบทานกรณีพิเศษของส่วนราชการ ข้อค้นพบ ๑. สภาพทั่วไป ๑) จำ� นวนโครงการที่ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงคัดเลือก สอบทาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ - โครงการที่ส�ำคัญตามนโยบายรัฐบาล - โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง ๒. ข้อสังเกตในการด�ำเนินโครงการ ๑) ความเหมาะสมของแผนงาน/โครงการ - บางโครงการไม่มีแผนการด�ำเนินงานระดับ โครงการ ๒) ความน่าเชื่อถือของข้อมูล - ขาดความชัดเจนในรายละเอียดของโครงการ - ข้อมูลที่ได้รับไม่เป็นปัจจุบัน
อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้าน ความมั่นคง บริหารและ เศรษฐกิจ สังคม และการ ส่วนราชการ ต่างประเทศ ไม่สังกัดฯ ๓๓
๑๓
๑๐
๔
๒๕ ๘
๙ ๔
๗ ๙
๒ ๒
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 93
ข้อค้นพบ ๓) การประเมินผลการด�ำเนินงาน - การด�ำเนินการไม่เป็นไปตามแผนและไม่บรรลุ วัตถุประสงค์ของโครงการ - ผลการด�ำเนินงานไม่คุ้มค่ากับงบประมาณ - ไม่มกี ารติดตามประเมินผลเมือ่ เสร็จสิน้ โครงการ - การด�ำเนินการไม่สอดคล้องกับความต้องการ และวิถีชีวิตของประชาชน - ก�ำหนดตัวชี้วัดตามเป้าหมายไม่ชัดเจน ๔) การด�ำเนินงานของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง - ค.ต.ป. แจ้งแนวทางการตรวจสอบฯ ให้แก่ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงล่าช้า - รูปแบบการรายงานผลของ ค.ต.ป. ประจ�ำ กระทรวง บางกระทรวงยังขาดความสมบูรณ์ครบถ้วน - หน่วยงานไม่เข้าใจบทบาท หน้าที่ ภารกิจของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง - การบูรณาการการตรวจสอบโครงการพิเศษ ระหว่าง ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงยังไม่สามารถด�ำเนินการ ได้อย่างจริงจัง - ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงบางส่วนไม่ได้คัดเลือก โครงการเพื่ อ สอบทานกรณี พิ เ ศษตามหลั ก เกณฑ์ ที่ ค.ต.ป. ก�ำหนด ๕) ข้อสังเกตเพิ่มเติม - ข้ อ สั ง เกตเกี่ ย วกั บ การเงิ น การบั ญ ชี และ งบประมาณ พบว่า • บางโครงการไม่ระบุจ�ำนวนเงินงบประมาณ • การเบิกจ่ายเงินงบประมาณที่ไม่เป็นไปตาม แผนและไม่สอดคล้องกับขั้นตอนและวิธีการด�ำเนินงาน • การบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS ไม่ถูกต้อง • ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านด้ า นบั ญ ชี แ ละการเงิ น มี ก าร โยกย้ายบ่อย • ผูบ้ ริหารขาดความเข้าใจและไม่ให้ความส�ำคัญ กับรายงานการเงิน
อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้าน ความมั่นคง บริหารและ เศรษฐกิจ สังคม และการ ส่วนราชการ ต่างประเทศ ไม่สังกัดฯ
94 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ข้อค้นพบ - ข้อสังเกตเกี่ยวกับบุคลากร • ขาดอัตราก�ำลังเจ้าหน้าที่ด้านการตรวจสอบ • เจ้ า หน้ า ที่ มี ข ้ อ จ� ำ กั ด ด้ า นการตรวจสอบ เทคโนโลยีสารสนเทศ - การจัด ส่งเอกสารของส่ว นราชการในสั ง กั ด ยังล่าช้า
อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้าน ความมั่นคง บริหารและ เศรษฐกิจ สังคม และการ ส่วนราชการ ต่างประเทศ ไม่สังกัดฯ
อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงในกลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจทั้ง ๙ คณะ ได้คัดเลือกโครงการเพื่อ สอบทานกรณีพิเศษ รวมทั้งสิ้น ๓๓ โครงการ ประกอบด้วยโครงการส�ำคัญตามนโยบายรัฐบาลหรือสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์กระทรวง ๒๕ โครงการ โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง ๘ โครงการ โดยสามารถ สรุปตามประเด็นการสอบทานได้ดังนี้ ๑) ความเหมาะสมของแผนงาน/โครงการ พบว่าโดยส่วนใหญ่มีความเหมาะสมและชัดเจน เนือ่ งจากมีรายละเอียดความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย แผนการด�ำเนินงาน งบประมาณ ผลผลิตและผลลัพธ์อย่างครบถ้วน ยกเว้นบางโครงการที่ไม่มีแผนการด�ำเนินงานระดับโครงการ ๒) ความน่าเชื่อถือของข้อมูล พบว่าโครงการทั้งหมดที่สอบทานมีความสมบูรณ์ครบถ้วนของ ข้อมูล โดยมีฐานข้อมูล กระบวนการจัดเก็บ การประมวลผล และการสรุปประมวลผลข้อมูลทีป่ รากฏในรายงานมี ความสอดคล้องและเป็นเหตุเป็นผลซึ่งกันและกัน ๓) การประเมินผลการด�ำเนินงาน พบว่าส่วนมากมีผลการด�ำเนินงานเป็นไปตามแผนที่ก�ำหนด บรรลุผลสัมฤทธิ์ ความมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการด�ำเนินงาน แต่มีบางโครงการที่ด�ำเนินการ ล่าช้ากว่าแผน เนื่องจากกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างล่าช้า พื้นที่ด�ำเนินงานทับซ้อนกับที่ดินของประชาชน ระบบสาธารณูปโภคกีดขวาง อากาศแปรปรวน ฝนตกหนักและน�้ำท่วม เป็นต้น ๔) ข้อสังเกตเพิ่มเติม (๑) รูปแบบการรายงานผลการสอบทานกรณีพเิ ศษของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง บางกระทรวง ยังขาดความสมบูรณ์ครบถ้วนของตารางรายละเอียดประกอบการสอบทานตามคู่มือฯ ที่ ค.ต.ป. ก�ำหนด โดยกรอกข้อมูลไม่สอดคล้องกับสาระของโครงการที่สอบทาน (๒) ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงส่วนใหญ่คดั เลือกโครงการตามหลักเกณฑ์ที่ ค.ต.ป. ก�ำหนด ยกเว้น บางโครงการที่ไม่ระบุจ�ำนวนเงินงบประมาณ
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 95
ทั้งนี้ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจ มีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะดังนี้ ๑) ค.ต.ป. ควรชี้แจงท�ำความเข้าใจให้กับ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงเกี่ยวกับการด�ำเนินงานตาม คู่มือและแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ที่ ค.ต.ป. ก�ำหนด เกี่ยวกับการกรอกข้อมูลลงใน แบบรายงานและตารางรายละเอียดประกอบการสอบทานและการคัดเลือกโครงการที่สอบทาน ๒) ฝ่ายเลขานุการ ค.ต.ป. ควรประสานแจ้งให้ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง จัดส่งรายชื่อโครงการ ทีจ่ ะสอบทานกรณีพเิ ศษพร้อมแผนด�ำเนินการสอบทานกรณีพเิ ศษทัง้ ปีตอ่ ค.ต.ป. และ อ.ค.ต.ป. กลุม่ กระทรวง เป็นการล่วงหน้า เพือ่ เตรียมความพร้อมในการสอบทานและช่วยส่งเสริมและสนับสนุนให้ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง คัดเลือกโครงการและท�ำการสอบทานได้ครบทัง้ รอบ ๖ เดือนและรอบ ๑๒ เดือน ตามแนวทางการตรวจสอบและ ประเมินผลฯ ที่ ค.ต.ป. ก�ำหนดได้อย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพมากขึน้ ๓) กรณีที่ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงเลือกสอบทานโครงการต่อเนือ่ ง ควรเน้นการสอบทานในระดับ ผลลัพธ์และผลกระทบของโครงการ เพื่อให้เห็นความก้าวหน้าของการด�ำเนินงานและผลประโยชน์ ที่ประชาชน ได้รับจากการด�ำเนินงานของภาครัฐ ๔) ฝ่ายเลขานุการ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงควรประสานจัดส่งรายงานผลการสอบทานของโครงการ ทีม่ กี ารด�ำเนินงานล่าช้าให้ผบู้ ริหารรับทราบ เพือ่ ผลักดันให้หน่วยงานเจ้าของโครงการน�ำความเห็นและข้อเสนอแนะ ของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงไปใช้ประโยชน์และเป็นกรณีศึกษา รวมทั้งเป็นบทเรียนส�ำหรับการจัดท�ำโครงการ ในลักษณะที่คล้ายคลึงกันในโอกาสต่อไป อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านสังคม ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงในกลุ่มกระทรวงด้านสังคมทั้ง ๖ คณะ ได้คัดเลือกโครงการเพื่อสอบทาน กรณีพเิ ศษ รวมทัง้ สิน้ ๑๓ โครงการ ประกอบด้วย โครงการส�ำคัญตามนโยบายรัฐบาลหรือสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ กระทรวง ๙ โครงการ โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง ๔ โครงการ โดย อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง ด้านสังคมได้สอบทานใน ๔ มิติ ได้แก่ ด้านประสิทธิผล ด้านประสิทธิภาพ ด้านความคุม้ ค่า และด้านการบริหาร จัดการ ซึ่งมีโครงการที่สามารถสอบทานได้ครบทั้ง ๔ มิติ จ�ำนวน ๔ โครงการ ได้แก่ ๑) โครงการส่งเสริมและ สนับสนุนการปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ ๒)โครงการวัฒนธรรมไทย สายใยชุมชน กระทรวงวัฒนธรรม ๓) โครงการส่งเสริมความเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์และ สุขภาพตามแนวทางการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่าย อินโดนีเซีย มาเลเซียและไทย (Medical Tourism Hub)” กระทรวงการท่ อ งเที่ ย วฯ ๔) โครงการจั ด ตั้ ง ศู น ย์ การประชุ ม และฝึ ก อบรมอาชี ว ศึ ก ษาประจ� ำ ภู มิ ภาค กระทรวงศึกษาธิการ และโครงการที่ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านสังคมไม่สามารถสอบทานได้ครบทั้ง ๔ มิติ จ�ำนวน ๙ โครงการ ซึ่งไม่สามารถสอบทานในเชิงของการประเมินผลโครงการได้ เนื่องจากบางโครงการ อยู่ระหว่างด�ำเนินการเนื่องจากโครงการอยู่การด�ำเนินการ และส่วนใหญ่การตรวจสอบของ ค.ต.ป. ประจ�ำ กระทรวงยังคงเป็นการรายงานผลการด�ำเนินโครงการของหน่วยงานผูร้ บั ตรวจมากว่าทีจ่ ะรายงานผลการประเมิน ผลการด�ำเนินโครงการ ทั้งนี้สามารถสรุปตามประเด็นการสอบทานได้ดังนี้ ๑) ด้านประสิทธิผลและประสิทธิภาพ พบว่าโครงการจัดตั้งศูนย์การประชุมและฝึกอบรมฯ ของกระทรวงศึกษาธิการมีการด�ำเนินการไม่เป็นไปตามแผนและไม่บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ เนื่องจาก ขาดความพร้อมและทรัพยากรที่จ�ำเป็นในการด�ำเนินการและปัญหาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณที่ไม่เป็นไป ตามแผนและไม่สอดคล้องกับขั้นตอนและวิธีการด�ำเนินงาน อย่างไรก็ตามพบว่าบางโครงการมีประสิทธิผลสูง กว่าเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ 96 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
๒) ด้านความคุม้ ค่า พบว่ามีหลายโครงการทีม่ คี วามคุม้ ค่าทางสังคม ท�ำให้เกิดการกระตุน้ เศรษฐกิจ และสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้นและน�ำไปสู่การพัฒนาและยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชน ต่อไป อย่างไรก็ตามบางโครงการมีผลการด�ำเนินงานไม่คมุ้ ค่ากับงบประมาณ เนือ่ งจากการด�ำเนินงานทัง้ ในเชิง ผลผลิตและผลลัพธ์ไม่เป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ ๓) ด้านการบริหารจัดการ พบว่าบางโครงการต้องอาศัยผูท้ มี่ คี วามช�ำนาญเฉพาะด้านในการด�ำเนินการ ท�ำให้ต้องใช้ระยะเวลาในการจัดหา ไม่มีการติดตามประเมินผลเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ นอกจากนี้การด�ำเนินการ ยังไม่สอดคล้องกับความต้องการและวิถีชีวิตของประชาชนอีกด้วย ในขณะที่บางโครงการมีการจัดการที่ดี โดยบริหารจัดการในรูปแบบคณะกรรมการซึง่ มีผแู้ ทนจากหลายภาคส่วนและผูท้ มี่ คี วามรูค้ วามช�ำนาญทีห่ ลากหลาย เป็นกรรมการ ก่อให้เกิดการบูรณาการทางความคิดและส่งผลให้การปฏิบัติงานมีความเข้มแข็ง ๔) ข้อสังเกตเพิ่มเติม (๑) หลายประเด็นยังพบปัญหาเช่นเดียวกับที่ผ่านมา ได้แก่ • ปัญหาการบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS ไม่ถูกต้อง ผู้ปฏิบัติงานด้านบัญชีและการเงิน มีการโยกย้ายบ่อย ผู้บริหารขาดความเข้าใจและไม่ให้ความส�ำคัญกับรายงานการเงินและผลกระทบที่จะเกิดขึ้น ต่อการบริหารจัดการของส่วนราชการ ส่งผลให้รายงานการเงินของหน่วยงาน ไม่ถูกต้อง • ขาดอัตราก�ำลังเจ้าหน้าที่ด้านการตรวจสอบ และเจ้าหน้าที่มีข้อจ�ำกัดด้านความรู้ที่ใช้ ในการตรวจสอบเทคโนโลยีสารสนเทศ และยังไม่สามารถน�ำไปถึงการตรวจสอบทีม่ งุ่ ผลสัมฤทธิข์ องการด�ำเนินงาน • การจัดส่งเอกสารรายงานผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการในสังกัดยังล่าช้า มีผลให้ ข้อมูลไม่สมบูรณ์และขาดการวิเคราะห์อย่างถี่ถ้วนก่อนส่ง ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง (๒) ค.ต.ป. แจ้งแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ให้แก่ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง ล่าช้า ท�ำให้การก�ำหนดแผนปฏิบัติงานประจ�ำปีไม่ทันต่อการสอบทาน (๓) บางหน่วยงานยังไม่เข้าใจถึงบทบาทภารกิจ และหน้าทีข่ อง ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงเท่าทีค่ วร ส่งผลให้ข้อเสนอแนะของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงยังไม่ได้ถูกน�ำไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งนี้ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านสังคม มีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะดังนี้ ๑) ส่วนราชการต้องก�ำหนดเป้าหมาย ผลผลิต ผลลัพธ์ พร้อมทัง้ ตัวชีว้ ดั ความส�ำเร็จของโครงการ ให้ชัดเจน สามารถวัดผลได้ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ หากเป็นโครงการที่ด�ำเนินการต่อเนื่องควรก�ำหนด เป้าหมายและตัวชี้วัดรายปี พร้อมทั้งวางระบบการติดตามประเมินผลโครงที่สามารถชี้ให้เห็นถึงประโยชน์และ ความคุ้มค่าของโครงการที่ประชาชนจะได้รับให้ชัดเจน ๒) ผูบ้ ริหารกระทรวงควรเร่งรัดการด�ำเนินการเพือ่ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการ ภายในกรอบระยะเวลาทีก่ ำ� หนด และก�ำชับให้การด�ำเนินงานบรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมายทีต่ งั้ ไว้ ๓) ผู้บริห ารกระทรวงควรน�ำ ข้ อ สั ง เกตของ ค.ต.ป. ประจ� ำ กระทรวงไปพิ จารณาปรับปรุง การด�ำเนินงาน และให้ความส�ำคัญกับการติดตามประเมินผลการด�ำเนินงานเพื่อน�ำไปสู่การปรับปรุงคุณภาพ การให้บริการให้สามารถสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและคุ้มค่า พร้อมทั้งเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีต่อไป ๔) ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงควรรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการในเชิงประเมินผล ควบคู่ไปกับการรายงานผลการด�ำเนินงาน เพื่อให้การตรวจสอบมีความครบถ้วนสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 97
อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านความมั่นคงและการต่างประเทศ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงในกลุม่ กระทรวงด้านความมัน่ คงและการต่างประเทศทัง้ ๔ คณะ ได้คดั เลือก โครงการเพื่อสอบทานกรณีพิเศษ รวมทั้งสิ้น ๑๐ โครงการ ประกอบด้วยโครงการส�ำคัญ ตามนโยบายรัฐบาล หรือสอดคล้องกับยุทธศาสตร์กระทรวง ๗ โครงการ โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการ ไทยเข้มแข็ง ๓ โครงการ โดยโครงการที่เลือกมาสอบทานทุกโครงการต้องมีระบบบริหารโครงการ (Project Management) ที่ดี ทั้งนี้ สามารถสรุปตามประเด็นการสอบทานได้ดังนี้ ๑) ความเหมาะสมของแผนงาน/โครงการ พบว่าโครงการที่เลือกสอบทานกรณีพิเศษ ส่วนใหญ่ มีความเหมาะสม โดยมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของกระทรวงหรือเป็นโครงการส�ำคัญตามนโยบายของ รัฐบาลที่ใช้งบประมาณสูง และมีผลกระทบต่อสังคมในวงกว้าง ๒) ความน่าเชื่อถือของข้อมูล พบว่าบางโครงการยังขาดความชัดเจนในรายละเอียดเกี่ยวกับ วัตถุประสงค์ วิธีการด�ำเนินงาน เป้าหมาย ตัวชี้วัด และผลการด�ำเนินงานเมื่อสิ้นปีงบประมาณ ในเชิงปริมาณ/ คุณภาพ โดยเฉพาะโครงการที่เป็นโครงการต่อเนื่อง ๓) การประเมินผลการด�ำเนินงาน พบว่าส่วนใหญ่การการด�ำเนินงานไม่เป็นไปตามแผน และบาง โครงการไม่มีรายงานผลความส�ำเร็จการด�ำเนินงานโดยเปรียบเทียบกับเป้าหมายของโครงการได้อย่างชัดเจน ทัง้ นีบ้ างโครงการทีด่ ำ� เนินการได้ตามแผนพบว่าไม่อาจวัดผลได้เนือ่ งจากก�ำหนดตัวชีว้ ดั ตามเป้าหมายไม่ชดั เจน ทั้งนี้ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านความมั่นคงและการต่างประเทศ มีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ดังนี้ ๑) ควรมีรายงานสรุปที่ชัดเจนในประเด็นประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการด�ำเนินงานและ ผลการใช้งบประมาณ ทั้งนี้ ค.ต.ป.ประจ�ำกระทรวงควรเสนอแนะให้ข้อสังเกตเกี่ยวกับการก�ำหนดตัวชี้วัดตาม เป้าหมายในการสอบทานระหว่างปีด้วย ๒) ค.ต.ป. ควรก�ำหนดเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกโครงการกรณีพเิ ศษให้ชดั เจน เพือ่ เป็นแนวทาง ให้ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง เช่น ระดับความส�ำคัญหรือขอบเขตผลกระทบของโครงการ ความโปร่งใสในการ ด�ำเนินการ ความจ�ำเป็นในการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณตามนโยบายรัฐบาล เป็นต้น ๓) ค.ต.ป. ประจ� ำ กระทรวงควรประเมิ น ความเหมาะสมของโครงการที่ เ ลื อ กมาสอบทาน ให้สอดคล้องกับเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกที่ ค.ต.ป. ก�ำหนด ทั้งนี้กิจกรรมของโครงการต้องสอดคล้องและ สะท้อนถึงผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของโครงการด้วย ๔) อ.ค.ต.ป. กลุม่ กระทรวงควรมีการประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันในการพิจารณาคัดเลือกโครงการกรณีพิเศษ และช่วยให้เกิดมีการรายงานผล การสอบทานที่ชัดเจนสะท้อนให้เห็นถึงความก้าวหน้าในการด�ำเนินการตามแผนในระหว่างปี และรายงานผล การสอบทานประจ�ำปีถึงผลสัมฤทธิ์ของโครงการทั้งในเชิงประสิทธิผลและประสิทธิภาพ อ.ค.ต.ป. กลุม่ กระทรวงด้านบริหาร และส่วนราชการไม่สงั กัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง
ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงและ อ.ค.ต.ป. กลุม่ กระทรวงด้านบริหาร และส่วนราชการไม่สงั กัดส�ำนักนายก รัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง ได้คดั เลือกโครงการเพือ่ สอบทานกรณีพเิ ศษ รวมทัง้ สิน้ ๔ โครงการ ประกอบด้วย โครงการส�ำคัญตามนโยบายรัฐบาลหรือสอดคล้องกับยุทธศาสตร์กระทรวง ๒ โครงการ โครงการภายใต้แผน ปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง ๒ โครงการ โดยสามารถสรุปตามประเด็นการสอบทานได้ดังนี้ 98 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
๑) ความเหมาะสมของแผนงาน/โครงการ พบว่าแผนงานโครงการมีความเหมาะสม การด�ำเนินงาน เป็นไปตามแผนทีก่ ำ� หนดไว้ มีกระบวนการด�ำเนินงานเป็นขัน้ ตอนและปฏิบตั ติ ามระเบียบ ข้อกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง ๒) ความน่าเชือ่ ถือของข้อมูล พบว่าข้อมูลทีไ่ ด้รบั ยังไม่เป็นปัจจุบนั จึงไม่สามารถวิเคราะห์ ตรวจสอบ และประเมินโครงการได้ว่าจะสามารถด�ำเนินการประสบผลส�ำเร็จตามเป้าประสงค์และแผนการด�ำเนินงาน ที่วางไว้หรือไม่ ๓) การประเมินผลการด�ำเนินงาน พบว่าโครงการต่าง ๆ สามารถด�ำเนินการได้ดว้ ยความประหยัด คุ้มค่า และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ๔) ข้อสังเกตเพิ่มเติม (๑) โครงการที่ล่าช้ากว่าแผนการด�ำเนินงานส่วนมากนั้น เนื่องมาจากได้รับผลกระทบจาก ปัญหาอุทกภัย (๒) บางโครงการเป็นโครงการที่กระจายลงพื้นที่ทั่วประเทศ ซึ่งอาจเกิดปัญหาในการควบคุม ก�ำกับดูแล เนือ่ งจากเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอ รวมทัง้ ผูค้ วบคุมงานอาจไม่มคี วามรู้ ความช�ำนาญเพียงพอ ตลอดจน การใช้รูปแบบรายงานและแผนงานเดียวกันทั้งประเทศซึ่งอาจไม่เหมาะสมกับบางพื้นที่ ทัง้ นี้ อ.ค.ต.ป. กลุม่ กระทรวงด้านบริหาร และส่วนราชการไม่สงั กัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง มีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะดังนี้ ๑) โครงการก่อสร้างอาคารโรงพยาบาลต�ำรวจ (อาคารบริการทางการแพทย์) สูง ๒๐ ชัน้ นัน้ เห็นควร ให้ส่วนราชการต้องมีการติดตาม ก�ำกับ ดูแลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ พร้อมทั้งสนับสนุนงาน ก่อสร้างให้ส�ำเร็จลุล่วงไปตามที่ก�ำหนดไว้ ๒) โครงการก่อสร้างอาคารทีพ่ กั อาศัยข้าราชการต�ำรวจ รายการอาคารทีพ่ กั อาศัย (แฟลต) ขนาด ๓๐ ครอบครัว สูง ๕ ชั้น จ�ำนวน ๑๖๓ หลัง (๑) หน่วยงานกลาง ส่วนราชการเจ้าของโครงการ และภาคเอกชน ควรจัดให้มีกระบวนการ ในการก�ำกับดูแลอย่างใกล้ชิด เน้นการสร้างความมั่นใจในประสิทธิภาพของกระบวนการก�ำกับควบคุมและ ติดตามโครงการ (๒) การท�ำสัญญาจ้างเดียวในภาพรวมและใช้รปู แบบรายงานแผนงานเดียวกันทัง้ ประเทศอาจ ไม่เหมาะสมกับบางพื้นที่ในเรื่องของข้อจ�ำกัดเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม ข้อจ�ำกัดในเรื่องของราคาวัสดุอุปกรณ์ ค่าจ้างแรงงานของแต่ละพืน้ ที่ ดังนัน้ ส่วนราชการเจ้าของโครงการจึงควรพิจารณาทบทวนระเบียบและกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง โดยรวบรวมข้อดี ข้อด้อย ปัญหา อุปสรรค ส�ำหรับการจัดจ้างโดยวิธีการท�ำสัญญาเดียวส�ำหรับ โครงการขนาดใหญ่ที่มีการด�ำเนินงานกระจายและครอบคลุมทุกพื้นที่ทั่วประเทศ ๓) ส่วนราชการควรมีระบบการติดตามประเมินผลการด�ำเนินโครงการทีม่ คี วามชัดเจนขึน้ สามารถ แสดงผลความก้าวหน้าของการด�ำเนินโครงการ และปัญหาอุปสรรคในการด�ำเนินงาน เพื่อน�ำไปปรับปรุงแผน การด�ำเนินงานให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชน มีความคุ้มค่าและเป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ๔) การด�ำเนินโครงการควรมีการวางแผนกลยุทธ์ให้ครอบคลุมทุกกิจกรรม ก�ำหนดแผนการบริหาร ความเสีย่ งทีม่ ปี ระสิทธิภาพรองรับ ด�ำเนินงานเชิงรุกภายใต้วตั ถุประสงค์ของโครงการฯ ทีก่ ำ� หนดไว้เพือ่ ให้เกิด ผลสัมฤทธิอ์ ย่างเป็นรูปธรรม และการแก้ไขปัญหาอุปสรรคควรใช้แนวทางผสมผสานทีห่ ลากหลายเพือ่ ผลักดัน ไม่ให้เกิดความล่าช้า และส่งผลกระทบต่อประชาชนผูเ้ กีย่ วข้อง รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 99
๕) ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ในฐานะฝ่ายเลขานุการ ค.ต.ป. ควรมีการชีแ้ จงและท�ำความเข้าใจกับหน่วยงาน ที่ไม่มี ค.ต.ป.กระทรวง ให้ได้รับทราบบทบาทหน้าที่ของ ค.ต.ป. และ อ.ค.ต.ป คณะต่าง ๆ เพื่อจะได้มีความรู้ ความเข้าใจในขั้นตอนและแนวทางการด�ำเนินงานและการจัดท�ำรายงานผลการด�ำเนินงาน การจัดส่งเอกสาร ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนกรอบระยะเวลาในการด�ำเนินการ เพื่อจะได้ประสานการด�ำเนินงานให้เกิดประโยชน์ต่อ การด�ำเนินงานของหน่วยงานและการสอบทานผลการปฏิบัติราชการต่อไป
๖.๒ รายงานข้อค้นพบของจังหวัด ข้อค้นพบ ๑. รายชื่อโครงการ ๑) โครงการส�ำคัญภายใต้แผนยุทธศาสตร์กลุม่ จังหวัด และจังหวัดแบบบูรณาการ • โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยว • โครงการตามนโยบายการท่องเที่ยว ๒) โครงการส�ำคัญตามนโยบายของรัฐบาล • แผนงานปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพระบบการ กระจายน�้ำ พัฒนาแหล่งน�้ำขนาดเล็ก เพื่อการเกษตร น�ำ้ เพือ่ อุตสาหกรรมและประสิทธิภาพการผลิตภาคเกษตร • แผนงาน/โครงการด้านการค้าชายแดน • โครงการรับจ�ำน�ำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต ๒๕๕๔/๒๕๕๕ • โครงการเกีย่ วกับการบริหารจัดการน�ำ้ โครงการ ขุ ด ลอกและฟื ้ น ฟู ส ภาพร่ อ งน�้ ำ ที่ ป ระสบอุ ท กภั ย : โครงการขุดลอกแม่นำ�้ ปิง ตอนที่ ๖ ล�ำน�ำ้ แม่แจ่ม อ�ำเภอ ฮอด - ล�ำน�้ำแม่กลาง อ�ำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ • โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง สาขาทรัพยากรน�้ำและการเกษตร • โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย และได้มาตรฐาน (GAP) • แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยระดับจังหวัด • โครงการตามนโยบายพลังงานและพลังงานทดแทน • การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยและ การฟื้นฟูสาธารณะ
อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๑ คณะที่ ๒ คณะที่ ๓ คณะที่ ๔ คณะที่ ๕
100 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ข้อค้นพบ ๒. ประเด็นปัญหาในภาพรวมของการด�ำเนินโครงการ ๑) ปัญหาด้านการบริหารจัดการ • ขาดความเชื่ อ มโยงและการบู ร ณาการการ ท�ำงานร่วมกันจากทุกภาคส่วน • ขาดการวางแผนนโยบายและก�ำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชีว้ ดั และทิศทางทีช่ ดั เจนและสอดคล้องกัน ๒) ปญั หาในการด�ำเนินโครงการ • ปัญหาด้านบุคลากร - ขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ หรือมีบุคลากรไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน • ปัญหาด้านการด�ำเนินการ - หน่วยงานระดับพื้นที่ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น (อปท.) ธุรกิจขนาดเล็กและชุมชน ขาดความรู้ ด้านที่จ�ำเป็น เช่น ด้านการบริหารจัดการ มาตรฐาน สินค้าเกษตร เป็นต้น - ขาดการส�ำรวจสภาพปัจจุบันของพื้นที่และ ข้อมูลที่จ�ำเป็นต่อการด�ำเนินโครงการ - ขาดระบบการมีสว่ นร่วมและรับฟังความคิดเห็น รวมถึ ง สร้ า งความรู ้ ความเข้ า ใจให้ กั บ ประชาชนผู ้ มี ส่วนได้ส่วนเสียและเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ ส่งผลให้โครงการ ไม่ตรงกับความต้องการที่แท้จริงของประชาชน - ขาดการวางระบบงานและโครงสร้างพื้นฐาน ต่าง ๆ ที่เอื้อต่อการด�ำเนินโครงการ - ความล่าช้าในการด�ำเนินโครงการ • ปัญหาเกี่ยวกับผลการด�ำเนินโครงการ - การด�ำเนินโครงการไม่คุ้มค่ากับการลงทุน เนื่องจากความยุ่งยากในการเข้าร่วมโครงการ และ เป้ า หมายไม่ ส อดคล้ อ งกั บ ตั ว ชี้ วั ด และผลประโยชน์ ที่ประชาชนจะได้รับ ส่งผลให้ไม่สามารถประเมินถึง ความคุ้มค่าและผลส�ำเร็จของโครงการได้
อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๑ คณะที่ ๒ คณะที่ ๓ คณะที่ ๔ คณะที่ ๕
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 101
ข้อค้นพบและข้อเสนอแนะของ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคณะต่าง ๆ ๖.๒.๑ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๑ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๑ ได้ตรวจสอบและประเมินผลกรณีพิเศษ โดยพิจารณาคัดเลือก โครงการส�ำหรับการด�ำเนินการประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ดังนี้ ๑) แผนงานปรับปรุงประสิทธิภาพระบบการกระจายน�ำ้ พัฒนาแหล่งน�ำ้ ขนาดเล็กเพือ่ การเกษตร น�้ำเพื่ออุตสาหกรรม และประสิทธิภาพการผลิตภาคเกษตร พบว่าการปฏิบัติงานตามแผนงาน/โครงการด้านการบริหารจัดการน�้ำของหน่วยงานต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องมีการบูรณาการยังไม่เพียงพอ ซึง่ เป็นปัญหาดัง้ เดิมและต่อเนือ่ งตลอดมา และยังไม่สามารถ แก้ไขให้ลลุ ว่ ง ไปได้ รวมทัง้ การมีสว่ นร่วมของประชาชนในการแสดงความคิดเห็นก่อนการจัดท�ำโครงการ และการบริหารจัดการ น�้ำยังมีไม่เพียงพอ ทั้งนี้ในการปฏิบัติตามแผนงาน/โครงการต่าง ๆ ที่มีการก�ำหนดเป้าหมายว่าจะมีประชาชน ได้รับประโยชน์จากการด�ำเนินการตามแผนงาน/โครงการเป็นจ�ำนวนมาก แต่โดยข้อเท็จจริงแล้วในหลายพื้นที่ ยังพบว่า แผนงาน/โครงการพัฒนาแหล่งน�้ำในหลายพื้นที่ประชาชนที่ได้รับประโยชน์ มีจ�ำนวนน้อย ไม่คุ้มค่า กับการลงทุน รวมถึงแผนงาน/โครงการด้านการพัฒนาแหล่งน�้ำที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณยังกระจายตัว ไม่ทั่วถึงเท่าที่ควร ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๑ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ (๑) จังหวัดควรให้ความส�ำคัญกับการบริหารจัดการทรัพยากรน�้ำของจังหวัด โดยจัดท�ำแผน งาน/โครงการด้านการพัฒนาแหล่งน�้ำและจัดสรรงบประมาณให้เหมาะสม เนื่องจากน�้ำเป็นปัจจัยส�ำคัญในการ ตอบสนองยุทธศาสตร์ต่าง ๆ ของจังหวัด ทั้งในด้านการเกษตร ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านการท่องเที่ยว เป็นต้น (๒) แผนงาน/โครงการด้านแหล่งน�ำ้ โดยส่วนใหญ่เป็นการด�ำเนินการเฉพาะพืน้ ทีซ่ งึ่ ยังขาดการ ศึกษาวิเคราะห์ให้เกิดการบูรณาการในภาพรวม รวมทัง้ ขาดการวิเคราะห์จำ� นวนประชาชนที่ได้รบั ประโยชน์จาก แหล่งน�้ำอย่างแท้จริง ทั้งนี้อาจก�ำหนดเป็นเงื่อนไขส�ำคัญในการพิจารณาจัดสรรงบประมาณต่อไป (๓) หน่วยงานเจ้าของโครงการควรจะต้องด�ำเนินการส่งเสริม สนับสนุนการมีส่วนร่วมของ ประชาชน โดยการจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น�้ำและเข้าไปเป็นพี่เลี้ยงในการจัดระบบการบริหารจัดการแหล่งน�้ำของกลุ่ม เพื่อให้ทุกคนได้มีส่วนรับผิดชอบ ดูแลรักษา และซ่อมบ�ำรุงแหล่งน�้ำให้ใช้ประโยชน์ ได้อย่างยั่งยืน (๔) ในการตรวจติดตามโครงการระบบส่งน�ำ้ ระบายน�ำ้ และอาคารประกอบอ่างเก็บน�ำ้ คลองใหญ่ (ระยะที่ ๑) อ�ำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ซึ่งก�ำหนดแล้วเสร็จตั้งแต่เดือนสิงหาคม ๒๕๕๒ และระยะที่ ๒ ทีก่ ำ� หนดแล้วเสร็จเดือนธันวาคม ๒๕๕๔ แต่สามารถด�ำเนินการได้ ๕๐.๔๙ % และ ๔๕.๐๒ % ตามล�ำดับ พบว่า ปัญหาอุปสรรคส่วนหนึง่ เกิดจากความล่าช้าในการจัดหาทีด่ นิ ดังนัน้ เพือ่ เป็นการแก้ไขปัญหาดังกล่าว โครงการ ชลประทานจังหวัดควรส�ำรวจความต้องการของประชาชนในพื้นที่ พร้อมทั้งจัดท�ำข้อตกลงกับเจ้าของพื้นที่ และจัดท�ำเป็นเอกสารหลักฐานที่ชัดเจนก่อนการจัดท�ำโครงการด้วย (๕) จังหวัดระยองเป็นพื้นที่ที่มีโรงงานอุตสาหกรรมจ�ำนวนมาก โครงการชลประทานจังหวัด ควรจะต้องมีระบบการจัดสรรน�้ำให้มีความสมดุลระหว่างพื้นที่โรงงานอุตสาหกรรมกับพื้นที่การเกษตรเพื่อมิให้ เกิดปัญหาความขัดแย้งกรณีโรงงานอุตสาหกรรมแย่งน�้ำเพื่อการเกษตร 102 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
(๖) ปัญหาด้านการบริหารจัดการน�้ำของประเทศไทยเป็นปัญหาส�ำคัญที่เกิดขึ้นเป็นระยะเวลา นานแล้ว และโดยที่ปัจจุบันปัญหาอุทกภัยเป็นปัญหาที่สร้างความเสียหายให้แก่ประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากอ่างเก็บน�้ำที่มีอยู่ทั้งหมดไม่สามารถกักเก็บน�้ำที่มีปริมาณมหาศาลได้ ดังนั้น จึงควรน�ำแนวคิด ในการบริหารจัดการน�้ำเพื่อสร้างความสมดุลที่เหมาะสมทั้งในช่วงที่ปริมาณน�้ำน้อยและปริมาณน�้ำมากมาใช้ ในการบริหารจัดการน�้ำของประเทศไทยอย่างเป็นระบบ ๒) แผนงาน/โครงการด้านการค้าชายแดน พบว่าจังหวัดสระแก้วมีแผนงานการจัดท�ำโครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษไทย - กัมพูชาในพื้นที่ จังหวัดสระแก้ว เพือ่ พัฒนาการค้าในภูมภิ าคตะวันออกของไทยสูป่ ระเทศแถบอินโดจีนผ่านประเทศกัมพูชา และ เป็นการพัฒนาจังหวัดสระแก้วให้เป็นศูนย์กลางการค้าชายแดนไทย - กัมพูชา ซึง่ เป็นแผนงาน ทีม่ คี วามเหมาะสม และสามารถตอบสนองยุทธศาสตร์ด้านการค้าชายแดน และจะสามารถส่งเสริมการค้า การลงทุน รวมทั้งการ ท่องเที่ยวระหว่างประเทศได้มากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามเนื่องจากสินค้าไทยเป็นที่นิยมของประชาชนกัมพูชา มากกว่าสินค้าจากประเทศอื่น ๆ เช่น จีน และเวียดนาม แม้ประเทศไทยจะประสบปัญหาความไม่สงบในพื้นที่ ชายแดนไทย - กัมพูชา ในบางช่วงเวลา แต่การค้าชายแดนของจังหวัดสระแก้วไม่ได้เกิดผลกระทบอย่างรุนแรง แผนงาน/โครงการดังกล่าว จึงด�ำเนินการได้ตามเป้าหมาย ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๑ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ (๑) การออกกฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการค้าชายแดนโดยหน่วยงานส่วนกลาง ในบางกรณี อาจไม่สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ เช่น นโยบาย Contract farming เป็นนโยบายที่กีดกันการน�ำเข้าสินค้า/วัตถุดิบ เฉพาะพื้นที่ด้วย (๒) จังหวัดควรส่งเสริมให้บคุ ลากรทีป่ ฏิบตั งิ านเกีย่ วข้องกับการค้าชายแดนได้รบั การฝึกอบรม เพิม่ เติมในด้านโลจิสติกส์ และด้านภาษา โดยประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ สถาบันการศึกษา ภาคธุรกิจเอกชน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการขยายฐานตลาดการค้าชายแดนไทย - กัมพูชามากขึ้น (๓) จังหวัดสระแก้วได้มีการก�ำหนดเป้าหมายและแนวทางการพัฒนาจังหวัดไว้ในระยะยาว ในด้านการค้าชายแดน แต่การได้รับจัดสรรงบประมาณตามแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดยังไม่สอดคล้องกับ แนวทางการพัฒนาดังกล่าวท�ำให้การพัฒนาจังหวัดขาดความต่อเนือ่ ง ดังนัน้ หน่วยงานส่วนกลางควรพิจารณา ให้ความส�ำคัญกับการจัดสรรงบประมาณลงสู่จังหวัดให้สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ส�ำคัญของจังหวัด มากยิ่งขึ้น (๔) จังหวัดสระแก้วได้มีการจัดสร้างซุ้มประตูเมือง พรมแดนคลองลึก - ปอยเปต ด่าน ตม. อรัญประเทศ ซึง่ เป็นซุม้ ประตูเมืองแห่งแรกในตลาดการค้าชายแดนในประเทศไทย โดยใช้งบประมาณของผูว้ ่า ราชการจังหวัด ท�ำให้สามารถสร้างความสนใจให้กับนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น ซึ่งในเรื่องนี้ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๑ ได้มีหนังสือแจ้งให้จังหวัดที่มีพื้นที่ติดกับชายแดนที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๑ คือ จังหวัดตราด จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้จัดท�ำซุ้มประตูเพื่อให้เป็นเอกลักษณ์ ของประเทศไทยตามแนวทางทีจ่ งั หวัดสระแก้วได้ดำ� เนินการแล้ว จึงเห็นควรทีจ่ งั หวัดดังกล่าวหรือจังหวัดอืน่ ๆ ที่มีด่านการค้าชายแดนได้น�ำแนวทางดังกล่าวไปพิจารณาด�ำเนินการตามความเหมาะสมของพี้นที่เพื่อเป็น การส่งเสริมเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน รวมทั้งการท่องเที่ยวบริเวณชายแดนของจังหวัดด้วย รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 103
๓) การสอบทานโครงการตามแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการของ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๑ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ นอกจากนี้ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๑ ได้สอบทานรายงานการประเมินประสิทธิภาพใน การบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการของผู้ตรวจราชการส�ำนักนายกรัฐมนตรี ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งได้ก�ำหนดตัวชี้วัดความส�ำเร็จและเป้าหมายในการด�ำเนินการตามแผนพัฒนาจังหวัดและ กลุ่มจังหวัด ประกอบด้วยการเบิกจ่ายงบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด การขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงโครงการ ของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด การมีส่วนร่วมของภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการด�ำเนินการตามแผนพัฒนาจังหวัดและ กลุ่มจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจ�ำปีของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด และโครงการในประเด็นยุทธศาสตร์ ส�ำคัญของแผนปฏิบัติราชการประจ�ำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัดที่ด�ำเนินการแล้วเสร็จ พบว่า (๑) การเบิกจ่ายงบประมาณของกลุ่มจังหวัดเกิดความล่าช้า เนื่องจากความไม่สะดวก ในการ ปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการบริหารงบประมาณจังหวัดและงบประมาณกลุ่มจังหวัด ประกอบ กับกลุ่มจังหวัดไม่มีระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) เป็นของตนเอง และไม่มี บุคลากรด้านงบประมาณท�ำให้ตอ้ งอาศัยการเบิกจ่ายผ่านระบบ GFMIS ของส�ำนักงานจังหวัด โดยให้เจ้าหน้าที่ ของจังหวัดด�ำเนินการแทน (๒) ขาดการสนับสนุนงบประมาณจากกระทรวง/กรม ท�ำให้การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของกลุ่ม จังหวัดและจังหวัดไม่ประสบผลส�ำเร็จและสูญเสียโอกาสในการพัฒนา เนือ่ งจากงบประมาณทีก่ ลุม่ จังหวัด/จังหวัด ได้รับจัดสรรสามารถด�ำเนินการได้เพียงส่วนน้อยเท่านั้น รวมทั้งผู้บริหารระดับสูงของจังหวัดไม่ให้ความส�ำคัญ กับการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์กลุม่ จังหวัด (ยกเว้นจังหวัดทีเ่ ป็นหัวหน้ากลุม่ ) มิได้ยดึ หลักการบูรณาการโครงการ หรือค�ำนึงถึงผลลัพธ์ หรือผลกระทบที่มีต่อกลุ่มจังหวัดอย่างจริงจัง (๓) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่สามารถสมทบงบประมาณเพื่อด�ำเนินโครงการ ตามที่ได้ ก�ำหนดไว้ในเงือ่ นไขของโครงการ ดังนัน้ จึงท�ำให้ไม่สามารถด�ำเนินโครงการได้เนือ่ งจากงบประมาณไม่เพียงพอ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๑ จึงมีความเห็นว่า การด�ำเนินการของจังหวัด/กลุ่มจังหวัดใน การบูรณาการแผนงาน/โครงการ โดยใช้หลัก Value Chain ส่วนใหญ่ยังไม่มีความครบถ้วนสมบูรณ์ เนื่องจาก แผนงาน/โครงการที่น�ำมาบูรณาการ จะมีเฉพาะแผนงาน/โครงการตามแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด (Area) เท่านั้น แต่ยังขาดแผนงาน/โครงการของกระทรวง/ส่วนราชการ (Function) และแผนงาน/โครงการขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (Local) ดังนั้น เพื่อให้การด�ำเนินการในปีต่อ ๆ ไป สามารถบูรณาการโครงการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ จึงเห็นสมควรน�ำเสนอ ก.น.จ. เพื่อก�ำชับให้ส่วนราชการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปฏิบัติ ให้เป็นไปตามมาตรา ๒๙ แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. ๒๕๕๑ รวมทัง้ จะต้องมีการอบรมสัมมนาเพือ่ ให้ความรูแ้ ละความเข้าใจเกีย่ วกับ Value Chain ให้กบั จังหวัด/ กลุ่มจังหวัดอย่างต่อเนื่องด้วย ๖.๒.๒ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๒ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๒ ได้ตรวจสอบและประเมินผลกรณีพิเศษ โดยพิจารณาคัดเลือก โครงการส�ำหรับการด�ำเนินการประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ดังนี้
104 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
๑. โครงการรับจ�ำน�ำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต ๒๕๕๔/๒๕๕๕ (๑) รับจ�ำน�ำแบบใบประทวน พบว่า การออกประทวนมีความล่าช้า โรงสีใน บางจังหวัด ปิดตัวลงเนื่องจากปัญหาด้านการด�ำเนินการและปริมาณข้าวเปลือกในพื้นที่มีน้อย เจ้าหน้าที่ตรวจวัดคุณภาพ ข้าว ความชื้น และสิ่งเจือปน มีไม่เพียงพอปริมาณข้าวที่เกษตรกรน�ำมาจ�ำน�ำกับรัฐ นอกจากนี้ ยังรวมถึง จุดรับจ�ำน�ำที่ยังน้อยเกินไป และยังมีขั้นตอนที่ยุ่งยาก ชาวนาบางคนจึงขายตรงให้กับโรงสีแทน แม้จะได้ราคา ทีต่ ำ�่ กว่าการรับจ�ำน�ำของรัฐที่ ๒-๓ พันบาท ซึง่ อาจเป็นช่องทางทีท่ ำ� ให้โรงสีดงั กล่าวน�ำข้าวทีเ่ กษตรกรขายตรง โดยไม่ผ่านโครงการฯ มาสวมสิทธิแทนเกษตรกรและได้ในราคาตามที่รัฐรับจ�ำน�ำไว้ (๒) รับจ�ำน�ำแบบยุง้ ฉาง พบว่า เกษตรกรในบางพืน้ ทีไ่ ม่นยิ มจ�ำน�ำยุง้ ฉางเนือ่ งจากความล่าช้า ประกอบกับข้าวที่อยู่ในยุ้งฉางนานวันจะยิ่งลดปริมาณลงเนื่องจากความแห้ง, ความชื้นและการถูกท�ำลายจาก สัตว์ต่าง ๆ และยังพบว่าการจ�ำน�ำยุ้งฉางยังไม่มีมาตรฐานการจัดเก็บเท่าที่ควร ข้าวที่เข้าร่วมโครงการอาจมี คุณภาพต�่ำ และมีสิ่งเจือปนสูงยากแก่การลงพื้นที่สุ่มตรวจเพราะยุ้งฉางมีการกระจายทั่วไป ๒. โครงการเกี่ยวกับการบริหารจัดการน�้ำ โครงการขุดลอกและฟื้นฟูสภาพร่องน�้ำที่ประสบ อุทกภัย : โครงการขุดลอกแม่น�้ำปิง ตอนที่ ๖ ล�ำน�้ำแม่แจ่ม อ�ำเภอฮอด - ล�ำน�้ำแม่กลาง อ�ำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า หน่วยงานเจ้าของโครงการมีการจัดเตรียมร่างขอบเขตงาน (TOR) เพื่อเตรียมพร้อม ส�ำหรับการประกวดราคาจ้างด้วยวิธกี ารทางอิเล็กทรอนิกส์ และโครงการมีความสอดคล้องและสนับสนุนนโยบาย เร่งด่วนของรัฐบาล ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๒ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) โครงการรับจ�ำน�ำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต ๒๕๕๔/๒๕๕๕ เห็นควรให้ประชาสัมพันธ์และชีแ้ จงท�ำความเข้าใจต่อเกษตรกรเพือ่ ให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ในหลักเกณฑ์การรับจ�ำน�ำ ทั้งนี้ควรก�ำหนดการรับจ�ำน�ำคุณภาพข้าวเป็นหลักและเพิ่มปริมาณจุดรับจ�ำน�ำ โดยกระจายให้ทั่วถึงทุกพื้นที่ นอกจากนี้ ควรทบทวนการรับจ�ำน�ำข้าวเปลือกแบบไม่จ�ำกัดปริมาณการรับจ�ำน�ำ ของเกษตรกรแต่ละรายและการก�ำหนดให้ใช้อัตราผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่สูงสุดมาใช้ในการค�ำนวณปริมาณผลผลิต เนื่องจากมีความเสี่ยงและเป็นการเปิดโอกาสที่จะท�ำให้เกิดการทุจริต, สวมสิทธิ์ในการรับจ�ำน�ำ ๒. โครงการเกี่ยวกับการบริหารจัดการน�้ำ โครงการขุดลอกและฟื้นฟูสภาพร่องน�้ำที่ประสบ อุทกภัย : โครงการขุดลอกแม่น�้ำปิง ตอนที่ ๖ ล�ำน�้ำแม่แจ่ม อ�ำเภอฮอด - ล�ำน�้ำแม่กลาง อ�ำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ (๑) กรมเจ้าท่าควรเร่งด�ำเนินการให้แล้วเสร็จได้ทันก่อนฤดูกาลน�้ำหลาก เพื่อความสะดวก ในการปฏิบัติงานและการตรวจรับงาน (๒) การขุดลอกและถมตลิ่งควรมีการท�ำประชาพิจารณ์ เพื่อท�ำความเข้าใจที่ตรงกัน ถึงประโยชน์ที่จะได้รับและป้องกันความเสียหายต่อทรัพย์สินของประชาชนในบริเวณริมตลิ่ง และเพื่อสร้าง ความรู้สึกการเป็นเจ้าของโครงการของประชาชนที่จะช่วยกันดูแลรักษาผลประโยชน์สาธารณะในอนาคตด้วย นอกจากนี้ เพือ่ ป้องกันการพังทลายของตลิง่ และความคงทนอย่างยัง่ ยืนของตลิง่ ควรปลูกหญ้าแฝกเพือ่ ป้องกัน ตลิ่งพัง
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 105
๖.๒.๓ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๓ ๑) โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยว ด�ำเนินการสอบทานโครงการที่ได้รบั งบประมาณจังหวัดของจังหวัด ได้แก่ จังหวัดสุพรรณบุรี จ�ำนวน ๘ โครงการ จังหวัดอุทยั ธานี จ�ำนวน ๕ โครงการ และจังหวัดหนองคาย จ�ำนวน ๕ โครงการ และโครงการ ทีไ่ ด้รบั งบประมาณของการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย จังหวัดสุพรรณบุรี จ�ำนวน ๑๐ โครงการ สรุปผลการสอบทาน ได้ดังนี้ (๑) โครงสร้างการบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยวของภาครัฐ ขาดเอกภาพ มีการท�ำงาน ที่ซ�้ำซ้อนกัน ขาดการเชื่อมโยงระหว่างภาคีที่เกี่ยวข้อง ทั้งในระดับส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น ส่งผลให้ ภาพรวมของการพัฒนาการท่องเทีย่ วยังไม่เกิดการบูรณาการร่วมกัน ทิศทางการพัฒนาจึงไม่เป็นไป ในแนวทาง เดียวกัน รวมทั้ง นโยบายระดับชาติยังไม่สามารถน�ำไปสู่การปฏิบัติในพื้นที่ได้อย่างเป็นรูปธรรม (๒) ปัญหาส�ำคัญในระดับนโยบายที่พบ คือ ขาดการวางแผนนโยบายและก�ำหนดทิศทาง การท่องเทีย่ วในภาพรวมของระดับพืน้ ทีท่ ชี่ ดั เจน ท�ำให้การท่องเทีย่ วในแต่ละพืน้ ทีม่ ลี กั ษณะเป็นการลอกเลียนแบบ พื้นที่ที่ประสบความส�ำเร็จ เช่น Home stay ตลาดน�้ำ ตลาดเก่า ฯลฯ ท�ำให้การท่องเที่ยวขาดความหลากหลาย ไม่มีการดึงจุดเด่นในพื้นที่ของตนเองมาสร้างจุดขายทางการตลาด (๓) ขาดการพัฒนาและสร้างแหล่งท่องเที่ยวใหม่ ๆ ไม่มีการจัดสร้างโครงการขนาดใหญ่ เพือ่ ดึงดูดนักท่องเทีย่ ว ยังคงพึง่ พาแหล่งท่องเทีย่ วเดิม ๆ อยู่ เช่น เชียงใหม่ พัทยา ภูเก็ต ในขณะทีแ่ หล่งท่องเทีย่ วใหม่ ที่เกิดขึ้นก็มีขนาดเล็ก ขาดการส่งเสริมด้านคุณภาพและการพัฒนาบุคคลากร (๔) ขาดการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานและสิง่ อ�ำนวยความสะดวกเพือ่ การท่องเทีย่ วการเชือ่ มโยง การเดินทางแหล่งท่องเที่ยวภายในจังหวัด ระหว่างจังหวัด และประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาค นอกจากนี้ ยังขาดโครงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวครบวงจรขนาดใหญ่ หรือศูนย์การประชุมระดับโลกเพื่อให้มีสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกในด้านการประชุมแบบครบวงจรในการสนับสนุนให้เป็นศูนย์กลางด้านการท่องเที่ยวของภูมิภาค อาเซียน (Asean Tourism Hub) (๕) หน่วยงานระดับพื้นที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ธุรกิจขนาดเล็กและชุมชน ขาดความรู้ด้านการบริหารจัดการในการพัฒนาการท่องเที่ยว โดยเฉพาะการจัดการภูมิทัศน์และการวางแผน พัฒนาการท่องเที่ยวในระดับท้องถิ่น รวมถึงความสามารถของ อปท. ในการเตรียมความพร้อมในการรองรับ นักท่องเทีย่ วยังไม่สอดคล้องกับจ�ำนวนนักท่องเทีย่ วซึง่ ส่งผลให้สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วหลายแหล่งเกิดความเสือ่ มโทรม (๖) การถ่ายโอนภารกิจส่วนใหญ่ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ให้กระทรวง การท่องเทีย่ วและกีฬาด�ำเนินการ โดยบุคลากรในกระทรวงฯ ขาดความพร้อมท�ำให้เกิดปัญหาในการประสานงาน ในระดับพื้นที่โดยเฉพาะกับภาคเอกชน เช่น การจัดเก็บข้อมูลตัวเลขสถิติการท่องเที่ยวที่มักเกิดความล่าช้า และมีตัวเลขสถิติที่แตกต่างจากเดิมที่ ท.ท.ท. เป็นผู้ด�ำเนินการไว้ ท�ำให้ข้อมูลขาดความน่าเชื่อถือในการน�ำ ข้อมูลไปใช้เพื่อพิจารณาประกอบการตัดสินใจและวิเคราะห์แผนการตลาด (๗) การพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยว ขาดการส่งเสริมด้านวิชาการและการฝึกอบรม ประชาชนและผู้ประกอบการซึ่งส่วนใหญ่เป็นธุรกิจขนาดเล็กหรือธุรกิจชุมชน ขาดความรู้และทักษะ ในด้าน การให้บริการการท่องเที่ยวที่ได้มาตรฐานโดยเฉพาะด้านสุขอนามัยและการรักษาสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ ยังขาดแคลนบุคลากรด้านการท่องเที่ยวที่มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของตลาดต่างประเทศ อย่างพอเพียง 106 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
(๘) การดูแลรักษาความปลอดภัยให้แก่นักท่องเที่ยวมีไม่เพียงพอและการจัดระเบียบ และการควบคุมมัคคุเทศก์ยังไม่ได้มาตรฐานมีการเอารัดเอาเปรียบและหลอกลวงนักท่องเที่ยวด้วยการเสนอ ขายสินค้าที่ไม่มีคุณภาพ ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๓ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานด้านการท่องเที่ยว ๑.๑) ปรับปรุงบทบาทกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ให้เป็นหน่วยงานประสานใน การขับเคลื่อนนโยบายด้านการท่องเที่ยว และจัดให้มีการบูรณาการระหว่างหน่วยงานปฏิบัติอย่างชัดเจน ๑.๒) ปรับปรุงระบบการจัดการการท่องเที่ยว ดังนี้ (๑) ในระดับประเทศ รัฐบาลควรให้การสนับสนุน และส่งเสริมด้านการลงทุน ให้แก่ภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูงเพื่อด�ำเนินการโครงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวครบวงจรขนาดใหญ่ รวมทั้ง การสนับสนุนให้ประเทศไทยเป็นศูนย์การประชุมระดับโลก (๒) ในระดับพื้นที่ ควรมีการปรับปรุงวิธีการท�ำงานเพื่อเชื่อมโยงนโยบายและ ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการท่องเทีย่ วในระดับชาติให้สะท้อนไปถึงโครงการทีจ่ ดั ท�ำในระดับพืน้ ที่ได้มากยิง่ ขึน้ โดยมีการจัดสรรงบประมาณส่วนหนึง่ ไว้ทหี่ น่วยงานในส่วนกลาง เพือ่ ใช้ในการสนับสนุนให้ทอ้ งถิน่ จัดท�ำโครงการ ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวของชาติ โดยท้องถิ่นที่ได้รับประโยชน์จะต้องจัดสรร งบประมาณมาสมทบด้วย ๒) การพัฒนาและปรับปรุงบุคลากร/เครื่องมือที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ๒.๑) สนับสนุนให้บคุ ลากรของกระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬาพัฒนา ขีดความสามารถ ในการบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยว โดยจัดให้มีหลักสูตรการฝึกอบรมที่เหมาะสม ๒.๒) ควรมีหน่วยงานกลางรับผิดชอบในการเป็นพีเ่ ลีย้ งให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ (อปท.) อาทิ องค์การบริหารการพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษเพือ่ การท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน (อพท.) โดยการสร้างเครือข่ายสถาบันและ พัฒนาแนวทางการอบรมด้านการบริหารจัดการการท่องเทีย่ วให้กบั หน่วยงานในท้องถิน่ ชุมชนและภาคเอกชน ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนพัฒนามาตรฐานคุณภาพการให้บริการด้านการท่องเที่ยว ๓) การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวขนาดใหญ่เพื่อเตรียมความพร้อมให้ประเทศไทยเป็น ศูนย์กลางด้านการท่องเที่ยวของภูมิภาค ๓.๑) สนับสนุนและส่ ง เสริ มด้านการลงทุ น ให้ แ ก่ ภาคเอกชนที่ มีศั ก ยภาพสูงเพื่อ ด�ำเนินการโครงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวครบวงจรขนาดใหญ่ ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ทันสมัยสามารถ ตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวได้ นอกจากนี้ยังควรให้การสนับสนุนให้ประเทศไทยเป็นศูนย์การ ประชุมระดับโลกที่มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกในด้านการประชุมแบบครบวงจร อาทิ สถานที่ประชุมขนาดใหญ่ โรงแรม ระบบการจราจรขนส่ง เป็นต้น ๓.๒) สนับสนุนให้มกี ารพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วใหม่ ๆ และส่งเสริมให้เป็นแหล่งท่องเทีย่ ว ที่ทันสมัย โดยเฉพาะการท่องเที่ยวในความสนใจพิเศษ (Special Interest Tourism) เช่น การท่องเที่ยว เชิงสุขภาพ เชิงผจญภัย เชิงศาสนา เพื่อการประชุมและนิทรรศการ เชิงกีฬา เชิงอนุรักษ์สังคมและสิ่งแวดล้อม เชิงอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิม เป็นต้น รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 107
๓.๓) ควรจัดระบบการท่องเที่ยวให้มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่เหมาะสมและ มีคุณภาพ เพื่อให้บริการนักท่องเที่ยว รวมทั้งควรสร้างมาตรฐานคุณภาพการให้บริการด้านการท่องเที่ยว โดยเฉพาะด้าน สุขอนามัยและการรักษาสิ่งแวดล้อม การดูแลรักษาความปลอดภัยให้แก่นักท่องเที่ยว และการจัดระเบียบและ การควบคุมมัคคุเทศก์ ๒) โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง สาขาทรัพยากรน�้ำและการเกษตร จากการสอบทาน พบว่า การด�ำเนินโครงการขาดการส�ำรวจสภาพปัจจุบนั ของพืน้ ที่ ขาดระบบ การมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนผู้มีส่วนได้เสียเพื่อรับฟังข้อคิดเห็นและท�ำความเข้าใจหรือ ข้อตกลงร่วมกันก่อนเริม่ ด�ำเนินโครงการ นอกจากนีย้ งั พบว่าการด�ำเนินโครงการขาดการบูรณาการในการท�ำงาน และนโยบายระหว่างหน่วยงาน โดยเฉพาะกรณีการถ่ายโอนโครงการจากหน่วยงานราชการให้กบั องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นเพื่อดูแลรับผิดชอบ พบว่าบางโครงการประชาชนในพื้นที่ไม่ยอมรับการถ่ายโอนฯ และกลไก การแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่ยังไม่มีความชัดเจน เนื่องจากไม่มีหน่วยงานหลักเพื่อท�ำหน้าที่แก้ไขปัญหา ระหว่างการด�ำเนินโครงการ และยังพบอีกว่าการด�ำเนินโครงการขาดการวางระบบงานที่จะเอื้อให้การลงทุน บังเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๓ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ (๑) หน่วยงานที่รับผิดชอบควรให้ความส�ำคัญกับการเตรียมความพร้อมของโครงการใน ขั้นตอนการจัดท�ำโครงการ โดยส�ำรวจตรวจสอบข้อมูลในการออกแบบโครงการให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ และควรเป็นโครงการที่เมื่อด�ำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้วสามารถใช้ประโยชน์ ได้อย่างสมบูรณ์ ตอบสนอง ความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง (๒) จัดให้ประชาชนมีสว่ นร่วมและรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนผูม้ สี ว่ นได้เสีย เพือ่ สร้าง ความเข้าใจหรือท�ำข้อตกลงร่วมกันก่อนเริ่มด�ำเนินโครงการ ทั้งนี้หน่วยงานเจ้าของโครงการจะต้องมีข้อมูล เพียงพอที่จะชี้แจงผลกระทบที่จะเกิดในพื้นที่ได้อย่างชัดเจน (๓) ควรมีกลไกการแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาความขัดแย้งและ ผลกระทบที่อาจเกิดในช่วงของการก่อสร้าง จึงเห็นสมควรให้ท้องถิ่นที่ ได้รับผลประโยชน์จากโครงการ เป็นผูร้ บั ผิดชอบหลักในการแก้ไขปัญหาในพืน้ ที่ โดยมีสำ� นักงานจังหวัดและหน่วยงานเจ้าของโครงการสนับสนุน ในกรณีที่โครงการครอบคลุมหลายท้องถิ่น จังหวัดจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบหลัก ซึ่งอาจจะเป็นจังหวัดเดียว หรือหลายจังหวัดตามเขตพื้นที่โครงการ (๔) จังหวัดควรพิจารณาก�ำหนดกลไกเพื่อสนับสนุนให้เกิดการประสานงานและการบูรณา การโครงการต่าง ๆ ในพื้นที่ให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่เหมาะสมและมีความสอดคล้องกับการใช้ประโยชน์ ของแต่ละโครงการ (๕) เห็นสมควรให้สำ� นักงบประมาณ ติดตามประเมินผลโดยสุม่ ตัวอย่างโครงการเขือ่ นต่าง ๆ ภายหลังจากมีการเปิดใช้ประโยชน์แล้วระยะหนึ่ง เพื่อประเมินผลตอบแทนและผลกระทบของโครงการ เพือ่ แสวงหารูปแบบทีเ่ ป็น Best Practice ให้กบั โครงการอืน่ ๆ และศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบการจัดเตรียม การพิจารณา การอนุมัติ และการติดตามผลโครงการชนิดนี้ในอนาคต
108 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
๖.๒.๔ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๔ ๑) โครงการตามนโยบายการท่องเที่ยว ด�ำเนินการสอบทานโครงการที่ได้รับงบประมาณจังหวัด จ�ำนวน ๑ โครงการ คือ โครงการ ปรับปรุงแหล่งท่องเทีย่ วเชิงนิเวศน์ให้ได้มาตรฐาน โครงการที่ได้รบั งบประมาณกลุม่ จังหวัด จ�ำนวน ๒ โครงการ คือ โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเทีย่ วกลุม่ อันดามัน และโครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเทีย่ วกลุม่ จังหวัด ภาคใต้ชายแดน และโครงการที่ได้รบั งบประมาณของกรมการท่องเทีย่ ว จ�ำนวน ๑ โครงการ คือ โครงการพัฒนา แหล่งท่องเที่ยวหาดปากเม็ง สรุปผลการสอบทานได้ดังนี้ (๑) ด้านการท�ำแผนงาน/โครงการ ๑.๑ ข้อเสนอโครงการยังขาดความชัดเจนในเรือ่ งความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กิจกรรมที่จะด�ำเนินการจึงไม่สามารถที่จะประเมินถึงความส�ำเร็จของโครงการ ๑.๒ ข้อมูลความพร้อมของโครงการไม่ตรงตามข้อเท็จจริงทีต่ รวจพบ เช่น เรือ่ งความพร้อม ของพื้นที่ด�ำเนินการและรูปแบบรายการ ซึ่งพบว่าโครงการไม่สามารถด�ำเนินการได้ทันที เนื่องจากต้องรอ ขออนุญาตใช้พื้นที่จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และมีการแก้ไขรูปแบบรายการส่งผลให้การด�ำเนินงานล่าช้า ๑.๓ ไม่แสดงรายละเอียดถึงวิธกี ารบริหารจัดการหรือการดูแลบ�ำรุงรักษาเมือ่ โครงการ แล้วเสร็จ เพื่อให้เกิดความยั่งยืนของโครงการ ๑.๔ การจัดท�ำโครงการด้านการท่องเทีย่ วยังขาดการบูรณาการอย่างแท้จริง ทัง้ ในระดับ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชนและประชาชน (๒) ผลการด�ำเนินงานส่วนใหญ่จะล่าช้ากว่าแผนทีก่ ำ� หนดและยังมี บางโครงการไม่สามารถ ด�ำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้ เนื่องจาก ๒.๑ สถานที่ไม่พร้อม เนื่องจากต้องขออนุญาตจากส่วนราชการเจ้าของพื้นที่ก่อนจึง จะด�ำเนินการได้ ๒.๒ ต้องมีการแก้ไขรูปแบบรายการก่อสร้าง ๒.๓ หน่วยด�ำเนินการผูร้ บั ผิดชอบโครงการ คือส�ำนักงานการท่องเทีย่ วและกีฬาจังหวัด มีบุคลากรน้อยและไม่มีเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบการเงิน การบัญชี พัสดุ ท�ำให้เกิดข้อผิดพลาดและความล่าช้า ในการปฏิบัติงาน (๓) กิจกรรมการด�ำเนินงานส่วนใหญ่ ได้แก่ การจัดฝึกอบรมสัมมนา ซึ่งผลส�ำเร็จของ งานจะก�ำหนดตัวชี้วัดแต่เพียงจ�ำนวนคนที่เข้ารับการอบรมเท่านั้น มิได้ติดตามประเมินผลตามวัตถุประสงค์ ทีก่ ำ� หนดไว้ถงึ การน�ำผลจากการจัดฝึกอบรมไปด�ำเนินการต่อไป และในส่วนของกิจกรรมการจัดสร้างสิง่ ก่อสร้าง หรือจัดซือ้ ครุภณ ั ฑ์ยงั ไม่มกี ารวางแผนในเชิงระบบกลไกการบริหารจัดการให้มปี ระสิทธิภาพ และไม่ได้พจิ ารณา ถึงความต้องการของการท่องเทีย่ วอย่างแท้จริงเมือ่ หน่วยงานหลักด�ำเนินการแล้วเสร็จมักจะถ่ายโอนภารกิจให้ กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเจ้าของพื้นที่ ซึ่งอาจท�ำให้โครงการขาดความต่อเนื่องและไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 109
ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๔ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) ด้านการจัดท�ำแผนงาน/โครงการ ๑.๑) ควรพิจารณาถึงความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์ ตัวชีว้ ดั กิจกรรมทีจ่ ะด�ำเนินการ โดยวัตถุประสงค์ที่ก�ำหนดต้องเป็นสิ่งที่สามารถเกิดขึ้นได้จริง สามารถวัดผลส�ำเร็จโดยการก�ำหนดเป็นตัวชี้วัด ที่ชัดเจนทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ และกิจกรรมที่จะด�ำเนินการควรก�ำหนดเท่าที่จ�ำเป็นและเหมาะสม และใช้จา่ ยงบประมาณอย่างคุ้มค่าและประหยัด ๑.๒) การจัดท�ำข้อเสนอโครงการควรแสดงข้อมูลสถานะความพร้อมของโครงการและ วิธกี ารบริหารจัดการหลังโครงการเสร็จ เพือ่ ประกอบการพิจารณาจัดล�ำดับความส�ำคัญในการจัดสรรงบประมาณ ๑.๓) การจัดท�ำโครงการด้านการท่องเทีย่ วซึ่งถือเป็นนโยบายส�ำคัญของรัฐบาล ดังนั้น ทัง้ ในระดับส่วนกลาง จังหวัด กลุม่ จังหวัด ส่วนท้องถิน่ ภาคเอกชน และประชาชน ควรมีการประสานงานก�ำหนด นโยบาย ทิศทางการท่องเทีย่ วของจังหวัด/กลุม่ จังหวัดให้ชดั เจนเพือ่ เชือ่ มโยงส่งต่อโครงการกันอย่างเป็นระบบ ระหว่างผูเ้ กีย่ วข้องในระดับต่าง ๆเพือ่ ให้การใช้งบประมาณเกิดประสิทธิภาพสูงสุดและโครงการอยูไ่ ด้อย่างยัง่ ยืน ๒) เพื่อมิให้การด�ำเนินงานตามโครงการเกิดความล่าช้า ควรด�ำเนินการดังนี้ ๒.๑) ก่อนที่จะเสนอโครงการเพื่อจะรับงบประมาณควรด�ำเนินการส�ำรวจความพร้อม ของพื้นที่ก่อนว่าเกี่ยวข้องกับหน่วยงานใดบ้างและด�ำเนินการขออนุญาตให้เรียบร้อยเพื่อพร้อมด�ำเนินการได้ ทันทีที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ๒.๒) ตรวจสอบรูปแบบรายการและรายละเอียดของงานที่จะด�ำเนินการว่าเพียงพอ เหมาะสมจะด�ำเนินการได้จริงหรือไม่ ๒.๓) กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬาควรพิจารณาจัดสรรอัตราก�ำลังบุคลากร ให้เหมาะสม กับปริมาณงานโดยเฉพาะเจ้าหน้าทีก่ ารเงิน บัญชีและพัสดุ และฝึกอบรมให้ความรูแ้ ก่เจ้าหน้าทีเ่ พือ่ ลดข้อผิดพลาด ในการปฏิบัติงาน ๓) โครงการจัดฝึกอบรม สัมมนา ควรมีการติดตามประเมินผลกลุ่มเป้าหมายที่ร่วมใน โครงการว่าใช้ประโยชน์จากการอบรม สัมมนาอย่างไรบ้าง และน�ำผลจากการจัดกิจกรรมต่าง ๆ และฝึกอบรม สัมมนา เช่นกิจกรรมการด�ำน�ำ้ การแข่งขันรถยนต์แรลลีเ่ พือ่ การท่องเทีย่ วเชิงนิเวศผจญภัย มาขยายผลวางแผน ร่วมกับผูป้ ระกอบการการท่องเทีย่ วของจังหวัดเพือ่ ด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ อย่างต่อเนือ่ ง และอาจจะท�ำเป็นคูม่ อื เพื่อแนะน�ำประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวของจังหวัด ทั้งนี้ส�ำหรับโครงการที่จะถ่ายโอนให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นเจ้าของพื้นที่ ส่วนราชการต้องสร้างความชัดเจนในการเตรียมความพร้อมก่อนที่จะมีการถ่ายโอน โครงการต่อไป ๒) โครงการตามนโยบายพลังงานและพลังงานทดแทน อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๔ ได้ตรวจสอบและติดตามประเมินผลกรณีพิเศษ โดยเลือก โครงการนโยบายพลังงานและพลังงานทดแทน เนือ่ งจากเป็นโครงการทีร่ ฐั บาลได้ให้ความส�ำคัญกับพลังทดแทน และจากการสุ่มสอบทานโครงการตามนโยบายพลังงานและพลังงานทดแทน ที่จังหวัดสระบุรี นครราชสีมา สงขลา และจังหวัดตรัง พบว่า 110 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
(๑) การก�ำจัดขยะแบบครบวงจรของบริษทั ทีพไี อ โพลีน จ�ำกัด ต้องใช้ตน้ ทุนในการด�ำเนินงานสูง แต่ท�ำให้ประชาชนได้รับประโยชน์มากและส่งผลให้สภาพแวดล้อมดีขึ้น ในขณะที่โครงการคัดแยกขยะของ โรงเรียนวัดโคกกรุง ซึ่งเป็นการน�ำเศษอาหาร ผัก ผลไม้ มาท�ำแก๊สชีวภาพเพื่อใช้หุงต้ม เป็นการลดมลภาวะ ช่วยประหยัดค่าแก๊สหุงต้มและลดภาวะโลกร้อน ซึ่งเป็นแบบอย่างที่ดีแก่โรงเรียนและชุมชนใกล้เคียงใน การคัดแยกขยะและใช้ประโยชน์จากขยะน�ำมาดัดแปลงเป็นสิ่งของเครื่องใช้ (Recycle) (๒) โครงการพลังงานทดแทนและการก�ำจัดขยะแบบครบวงจรของศูนย์ความเป็นเลิศ ทางชีวมวล เป็นศูนย์ตน้ แบบทางวิชาการในการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กบั นักศึกษาและชุมชน และรับด�ำเนินงาน ให้กับหน่วยงานอื่น ๆ รวมทั้งภาคเอกชน (๓) โครงการส่งเสริมการผลิตพลังงานจากขยะชุมชน พบว่าการด�ำเนินก่อสร้างระบบผลิต พลังงานจากขยะมีความล่าช้า และบางแห่งหยุดการก่อสร้างชัว่ คราว เนือ่ งจากมีการคัดค้านของชุมชนใกล้เคียง หรือมีการต่อต้านจากประชาชน (๔) โครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำชุมชนคลองล�ำขนุน ต�ำบลนาชุมเห็ด อ�ำเภอย่านตาขาว เป็นโครงการเกิดจากความต้องการของประชาชนที่จะรักษาทรัพยากรป่าไม้ซึ่งเป็นแหล่งต้นน�้ำล�ำธาร และได้ ใช้ประโยชน์จากฝายชะลอน�้ำในการผลิตไฟฟ้าซึ่งเป็นการลดการใช้พลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิล ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๔ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ (๑) ควรน�ำการก�ำจัดขยะแบบครบวงจรมาใช้กบั กรุงเทพมหานครและชุมชนเมืองขนาดใหญ่ อื่น ๆ ต่อไป ซึ่งจะสามารถแก้ไขปัญหาขยะล้นเมืองและปัญหาที่ฝังกลบได้ (๒) ควรส่งเสริมให้ครัวเรือน ชุมชนท�ำแก๊สชีวภาพให้มากขึ้น โดยเริ่มจากการปลูกฝังให้ เยาวชนในโรงเรียนให้รจู้ กั คัดแยกขยะ และแปรรูปขยะรีไซเคิล โดยรัฐบาลควรส่งเสริมสนับสนุนการใช้พลังงาน ทดแทนในรูปแบบต่าง ๆ ให้มากขึ้น ด้วยการส่งเสริมให้ทุกมหาวิทยาลัยมีศูนย์วิจัยและพัฒนาด้านพลังงาน ทดแทนและด�ำเนินงานร่วมกับชุมชนในการบริหารจัดการพลังงานชุมชนเพื่อลดปัญหาการคัดค้านของชุมชน ใกล้เคียงหรือการต่อต้านจากประชาชน ๓) การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยและการฟื้นฟูสาธารณะ อ.ค.ต.ป. กลุม่ จังหวัด คณะที่ ๔ ได้สอบทานรายงานผลการด�ำเนินการติดตามการด�ำเนินงาน ช่วยเหลือ ฟื้นฟู เยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัย การตรวจติดตามการให้ความช่วยเหลือ ผู้ประสบอุทกภัยในพื้นที่ และการสอบถามข้อมูลจังหวัดเป็นข้อมูลในการสอบทาน พบว่าการด�ำเนินโครงการ มีความล่าช้าทั้งด้านการให้ความช่วยเหลือ และการฟื้นฟู เนื่องจากการบริหารจัดการและปัญหาก�ำลังคน ที่ขาดการบูรณาการระหว่างหน่วยงานและภาคประชาชน อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๔ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ (๑) ผู้ว่าราชการจังหวัดควรก�ำกับ เร่งรัดและประสานงานติดตามสถานการณ์ ในจังหวัด อย่างใกล้ชิด เพื่อให้ท้องถิ่นด�ำเนินการประกาศแจ้งเตือนประชาชนตามอ�ำนาจหน้าที่ที่ก�ำหนด นอกจากนี้ ควรบูรณาการการท�ำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการก�ำหนดแผนการด�ำเนินการ ก�ำลังคนและ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมด้วย
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 111
(๒) จังหวัดควรมีระบบในการอพยพประชาชนและจัดตัง้ และบริหารศูนย์อพยพทีเ่ หมาะสม โดยการประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนมีความไว้วางใจระบบการอพยพออกจากพื้นที่ เพื่อให้สามารถเข้าไปให้ ความช่วยเหลือและอพยพประชาชนได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว (๓) จังหวัดและกลุ่มจังหวัดควรศึกษาคู่มือการวางระบบบริหารจัดการในภาวะวิกฤตจาก ภัยพิบัติ และทดลองปฏิบัติเพื่อเตรียมการเมื่อเกิดภัยพิบัติเกิดขึ้น (๔) ควรน�ำระบบข้อมูลส่วนบุคคลและทะเบียนราษฎร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ในการเบิกจ่ายเงิน ช่วยเหลือ และควรปรับปรุงแนวทางและหลักเกณฑ์การให้ความช่วยเหลือ เพือ่ ให้ครอบคลุมผูป้ ระสบภัยทุกกลุม่ (๕) จังหวัดและภาครัฐควรเป็นศูนย์กลางในการรับความช่วยเหลือจากคณะ/องค์กรต่าง ๆ และเป็นผู้น�ำไปส่งมอบให้กับประชาชนในพื้นที่ และควรติดตามการด�ำเนินการให้ความช่วยเหลือและฟื้นฟู อย่างใกล้ชดิ และต่อเนือ่ ง ทัง้ นีห้ น่วยงานทีร่ บั ผิดชอบควรวางผังเมืองเพือ่ เตรียมคลองส�ำหรับการระบายน�ำ้ และ พื้นที่แก้มลิงเพื่อรองรับน�้ำ ๖.๒.๕ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๕ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๕ ได้ตรวจสอบและประเมินผลกรณีพิเศษ โดยพิจารณาคัดเลือก โครงการส�ำหรับการด�ำเนินการประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ดังนี้ ๑) โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน (GAP) (๑) การก�ำหนดเป้าหมายเกษตรกร/ชนิดพืช ที่จะเข้าสู่การผลิตสินค้าเกษตร ด้านพืช ตามระบบ GAP ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังไม่สอดคล้องกันเท่าที่ควร และมีข้อจ�ำกัดในด้านงบประมาณ (๒) การคัดเลือกเกษตรกรเพื่อพัฒนาเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP ยังไม่ตรงกับ ความต้องการทีแ่ ท้จริงของเกษตรกร ส่งผลให้เกษตรกรไม่เห็นความส�ำคัญของระบบการรับรองมาตรฐาน GAP และราคาขายผลผลิตที่ได้รบั การรับรองมาตรฐาน GAP ไม่จงู ใจ นอกจากนีเ้ กษตรกรส่วนใหญ่ มีความรูไ้ ม่เพียง พอทีจ่ ะเข้ารับรอง GAP และพบว่าการบันทึกข้อมูลและจัดท�ำรายงานที่ใช้ในการตรวจสอบมีความยุง่ ยากเกินไป (๓) เจ้าหน้าที่ในพืน้ ทีย่ งั ไม่มสี ว่ นร่วมในการก�ำหนดเป้าหมายเกษตรกร/ชนิดพืช ทีจ่ ะเข้าสู่ ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP หรือถ้ามีสว่ นร่วมก็ยงั คงมีนอ้ ยราย และพบปัญหาเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอในกรณี ทีเ่ กษตรกรให้ความสนใจเข้าร่วมโครงการจ�ำนวนมาก ท�ำให้ปริมาณสินค้าเกษตรทีจ่ ะต้องท�ำการ ตรวจประเมิน มีปริมาณทีส่ งู ท�ำให้เจ้าหน้าทีต่ รวจรับรองไม่ทนั ในฤดูกาลผลิต และชนิดพืชในการตรวจรับรองมาตรฐาน GAP มีจ�ำนวนมากและพืชบางชนิดมีอายุสั้น จึงท�ำให้เจ้าหน้าที่ตรวจรับรองไม่ทันในฤดูกาลผลิต ๒) แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยระดับจังหวัด จากการสอบทานพบว่า ในบางจังหวัด ยังมีข้อมูลไม่ครบถ้วน ครอบคลุมในประเด็นส�ำคัญ ดังนั้น อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คณะที่ ๕ จึงเห็นควรให้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ ๑) โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน (GAP) (๑) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจัดท�ำข้อตกลงด้านการส่งเสริมและตรวจประเมินให้มี การด�ำเนินงานที่สอดคล้องกันและจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอ และมีการบูรณาการงบประมาณร่วมกัน 112 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
(๒) การคัดเลือกเกษตรกรควรคัดเลือกเกษตรกรที่มีผลผลิตเชิงพาณิชย์สูงและต้องการ ใช้ประโยชน์จากการรับรองมาตรฐาน GAP จริง ควรก�ำหนดโซนหรือพื้นที่ ในการผลิตอาหารปลอดภัย เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมการบริหารจัดการ และควรให้ความส�ำคัญเรื่องต้นทุนการผลิต คุณภาพการผลิต การตลาด และความปลอดภัยต่อผู้บริโภคด้วย (๓) ควรจัดล�ำดับความส�ำคัญของชนิดพืชและเกษตรกร และควรแจ้งช่วงเวลาเข้าตรวจสอบ เพื่อตรวจรับรองให้ทันกับฤดูกาลเพาะปลูกของเกษตรกร (๔) ควรให้หน่วยงานภายนอกที่มีความรู้ ความช�ำนาญ และความเชี่ยวชาญ มาร่วมหรือ ช่วยแบ่งเบาในการตรวจรับรองมาตรฐาน GAP ด้วย (๕) ควรวางกรอบแนวทางให้เจ้าหน้าที่ในพืน้ ทีม่ สี ว่ นร่วมในการก�ำหนดเป้าหมายเกษตรกร/ ชนิดพืช เพื่อให้ได้เกษตรกรที่มีความต้องการที่จะเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP อย่างแท้จริง และ ประชาสัมพันธ์ ให้เกษตรกรให้ความส�ำคัญและสนใจให้ผลผลิตผ่านการรับรอง GAP ให้มากขึ้น เนื่องจาก จะส่งผลดีต่อสุขภาพเกษตรกร และผู้บริโภคที่หันมาให้ความส�ำคัญกับผลผลิตที่ปลอดภัย ไร้สารพิษเจือปน ๒) แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยระดับจังหวัด ทุกจังหวัดควรจัดท�ำข้อมูลส�ำคัญเพิม่ เติม เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการศึกษา วิเคราะห์ และใช้ในการแก้ไขปัญหาและบรรเทา สาธารณภัยต่าง ๆ เช่น น�้ำท่วม ภัยแล้ง
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 113
บทที่ ๔ ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
บทที่ ๔
ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ จากการด�ำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ คณะต่าง ๆ ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยเป็นการรายงานผลการด�ำเนินงานในลักษณะของการติดตามความก้าวหน้าใน การด�ำเนินงานรอบ ๖ เดือน และรอบ ๑๒ เดือน ด้วยมีจดุ มุง่ หมายเพือ่ ให้ได้ทราบข้อเท็จจริงเกีย่ วกับความเสีย่ ง ผลเสียหาย และปัญหาในระหว่างการด�ำเนินงานของส่วนราชการและจังหวัด เพื่อจะได้มีมาตรการ แนวทาง ในการแก้ไขปรับปรุงให้การด�ำเนินงานของส่วนราชการและจังหวัดสัมฤทธิ์ผล ซึ่งผลจากการด�ำเนินงานของ คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ คณะต่าง ๆ พบปัญหา อุปสรรค และข้อจ�ำกัด ดังปรากฏ ในรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการในบทที่ ๓ ดังกล่าว อย่างไรก็ดี ได้มขี อ้ ค้นพบซึง่ หากมีการปรับปรุงแก้ไขให้ดขี นึ้ ก็จะท�ำให้การด�ำเนินงานของส่วนราชการ และจังหวัดมีประสิทธิภาพและบังเกิดประสิทธิผลมากขึน้ โดยมีประเด็นข้อค้นพบและข้อเสนอแนะทีส่ ำ� คัญ ดังนี้
ข้อค้นพบที่ส�ำคัญ ๑) สรุปประเด็นส�ำคัญที่ได้จากการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ๑.๑ ผูบ้ ริหารของส่วนราชการและจังหวัดควรมีบทบาทการเป็นผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลง โดยควร ให้ความส�ำคัญในการก�ำกับดูแลประเด็นการสอบทานกรณีปกติทั้ง ๕ ประเด็น ได้แก่ การตรวจราชการ การตรวจสอบภายใน การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง การปฏิบัติราชการตามค�ำรับรองการปฏิบัติ ราชการ และรายงานการเงิน ซึง่ เป็นกลไกการบริหารจัดการองค์กรให้มปี ระสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีการก�ำกับ ดูแลตนเองที่ดีได้ในที่สุด ทั้งนี้ บทบาทของผู้บริหารหน่วยงาน จะมีผลที่ส�ำคัญต่อความส�ำเร็จของนโยบายและ ยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน ๑.๒ กลไกการบูรณาการภารกิจทีจ่ ำ� เป็นต้องประสานเชือ่ มโยงกันภายในระบบราชการสมควร พัฒนาให้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น ไม่ว่ากลไกการบูรณาการระหว่างหน่วยงานส่วนกลางกับหน่วยงานส่วนภูมิภาค การบูรณาการกันระหว่างกระทรวงและกรมต่าง ๆ และการบูรณาการระหว่างจังหวัด ภาคเอกชน และภาคประชาชน ในการผลักดันแผนงานโครงการในระดับพื้นที่ให้บรรลุผล ๑.๓ ความส�ำคัญของการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการบริหารงานภาครัฐมีแนวโน้ม เพิ่มมากขึ้น ดังนั้น ในการด�ำเนินงานของภาครัฐที่มีผลกระทบต่อประชาชนควรมีการสร้างกลไกการมีส่วนร่วม ของประชาชนให้มสี ว่ นรับรู้ เข้ามามีสว่ นร่วม มีบทบาทในการตัดสินใจ และมีสว่ นรับผิดชอบต่อแผนงานโครงการ ของภาครัฐ ตัง้ แต่การวางแผนงาน/โครงการ การด�ำเนินงานตามโครงการทีก่ ำ� หนด และการติดตามและประเมิน ผลแผนงาน/โครงการ ทั้งนี้ เพื่อให้แผนงาน/โครงการของภาครัฐสามารถด�ำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งประชาชนในพื้นที่ได้อย่างแท้จริง ๑.๔ ในการสอบทานกรณีพิเศษของ ค.ต.ป. ซึ่งจะเน้นการสอบทานโครงการที่มีความส�ำคัญ ทีเ่ ป็นนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล เป็นโครงการทีม่ ผี ลต่อการใช้งบประมาณของประเทศในระดับสูงนัน้ ควรเป็น จุดเน้นทีส่ ำ� คัญของ ค.ต.ป. ทัง้ นี้ โครงการทีค่ ดั เลือกน�ำมาสอบทานควรเป็นโครงการทีม่ คี วามส�ำคัญอย่างแท้จริง เพือ่ ให้ผลที่ได้จากการสอบทานสามารถน�ำเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเป็นรายงานผลในเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ และคณะรัฐมนตรีน�ำผลการสอบทานดังกล่าวไปก�ำหนดเป็นนโยบายในการบริหารงานในระดับภาครัฐได้ต่อไป รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 117
๒) บทบาทของหัวหน้าส่วนราชการในการก�ำกับดูแลการปฏิบัติงานของส่วนราชการ จากการสอบทานในภาพรวมพบว่า หัวหน้าส่วนราชการยังให้ความส�ำคัญและก�ำกับดูแล การปฏิบัติงานของส่วนราชการตามกลไกการตรวจสอบและประเมินผลภายในของส่วนราชการในด้าน การตรวจราชการ การตรวจสอบภายใน การควบคุมภายใน การปฏิบตั ริ าชการตามค�ำรับรองการปฏิบตั ริ าชการ และรายงานการเงินให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพได้ไม่มากเท่าที่ควร แม้ว่ากลไกดังกล่าวจะมีความส�ำคัญ ทีจ่ ะท�ำให้สว่ นราชการมีการก�ำกับดูแลและควบคุมตนเองทีด่ ี และคณะรัฐมนตรีได้มมี ติเห็นชอบตามข้อเสนอแนะ ของ ค.ต.ป. แล้วก็ตาม ทั้งนี้ มติคณะรัฐมนตรีในส่วนที่เกี่ยวข้อง มีดังนี้ รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๒ • ประเด็นด้านการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ให้หัวหน้าส่วนราชการและจังหวัดก�ำหนดให้มีผู้รับผิดชอบงานด้านการควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงที่ชัดเจน โดยในส่วนของจังหวัดในระยะแรกเห็นควรมอบหมายให้คลังจังหวัดเป็น ผูด้ ำ� เนินการ เนือ่ งจากผ่านการอบรมให้ความรูใ้ นเรือ่ งนีม้ าบ้างแล้ว โดยตัง้ แต่ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ เป็นต้น ไปควรมอบหมายให้ส�ำนักงานจังหวัดเป็นผู้รับผิดชอบด�ำเนินการ รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๒ • ประเด็นการจัดท�ำแผนการตรวจสอบและประเมินผลด้านต่าง ๆ และการด�ำเนินการตามแผน ให้หัวหน้าส่วนราชการให้ความส�ำคัญและมีส่วนร่วมในการจัดท�ำแผนการตรวจสอบและ ประเมินผลด้านต่าง ๆ พร้อมทัง้ การบริหารความเสีย่ งของส่วนราชการให้ครอบคลุมในประเด็นยุทธศาสตร์ทสี่ ำ� คัญ เพือ่ ให้ผลการด�ำเนินงานที่ได้สามารถสะท้อนให้เห็นถึงผลการบริหารราชการแผ่นดินของส่วนราชการว่าเป็นไป ตามเป้าหมายและนโยบายรัฐบาล • ประเด็นด้านรายงานการเงิน ให้หัวหน้าส่วนราชการและจังหวัดก�ำกับดูแลให้ผู้ปฏิบัติงานด้านบัญชี การเงินที่ผ่าน การอบรมด้านบัญชีของระบบ GFMIS แล้ว ต้องปฏิบตั งิ านตามทีอ่ บรมมาเป็นระยะเวลา ๒ ปี จะโยกย้ายเปลีย่ นแปลง ได้กต็ อ่ เมือ่ สามารถถ่ายทอดความรูด้ า้ นบัญชีของระบบ GFMIS ให้กบั บุคลากรเพือ่ นร่วมงานทีจ่ ะได้รบั มอบหมาย ให้ปฏิบัติหน้าที่แทน เพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหาตัวเลขของรายงานการเงินของส่วนราชการที่ยังคงขาด ความน่าเชือ่ ถือ เนือ่ งจากการบันทึกรายการบัญชีผดิ พลาดเพราะขาดความรูค้ วามเข้าใจทีถ่ กู ต้องในการปฏิบตั งิ าน ด้วยเหตุของการโยกย้าย เปลี่ยนแปลงผู้ปฏิบัติงานบ่อยครั้ง รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๓ • ประเด็นการบริหารจัดการภาคราชการ - ให้หวั หน้าส่วนราชการและจังหวัดให้ความส�ำคัญกับการจัดท�ำแผนงาน/โครงการพร้อมทัง้ การก�ำหนดตัวชี้วัดที่มีความเชื่อมโยงกันเพื่อให้การปฏิบัติราชการของส่วนราชการสามารถบรรลุเป้าประสงค์ ตามแผนปฏิบัติราชการที่วางไว้
118 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
- หัวหน้าส่วนราชการต้องมีบทบาทส�ำคัญในการวางแผนร่วมกันกับหน่วยงานภายใน ของส่วนราชการที่มีภารกิจด้านการตรวจสอบ ก�ำกับ ติดตาม และประเมินผล เพื่อให้การปฏิบัติงานด้าน การตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผลของส่วนราชการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดการบูรณาการการท�ำงาน ร่วมกัน และสามารถด�ำเนินการตรวจสอบและประเมินผลได้ครอบคลุมตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ในภาพรวม ที่ก�ำหนดไว้ • ประเด็นด้านการตรวจสอบภายใน ให้หัวหน้าส่วนราชการต้องก�ำกับดูแลการปฏิบัติงานด้านตรวจสอบภายในของผู้ตรวจสอบ ภายใน โดยให้ครอบคลุมประเด็นต่าง ๆ ดังนี้ (๑) มีความเข้าใจบทบาทหน้าที่ของผู้ตรวจสอบภายในเพื่อก�ำกับดูแลการปฏิบัติงานของ ผู้ตรวจสอบภายในตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายใน (๒) มีการน�ำผลการตรวจสอบภายในมาใช้ให้เป็นประโยชน์ในการบริหารราชการ (๓) มอบหมายงานให้ผู้ตรวจสอบภายในตรงตามบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ (๔) ก�ำกับดูแลให้มีอัตราก�ำลังผู้ตรวจสอบภายในเป็นไปตามกรอบอัตราก�ำลังที่ก�ำหนด (๕) ส่งเสริมให้ผู้ตรวจสอบภายในมีการพัฒนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการตรวจสอบ ภายในอย่างต่อเนื่อง (๖) สนับสนุนให้ผู้ตรวจสอบภายในมีการตรวจสอบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) โดยมี ทรัพยากรที่เหมาะสมและเพียงพอ ทั้งในส่วนของ Hardware, Software, Peopleware • ประเด็นด้านการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง หัวหน้าส่วนราชการต้องมีบทบาทส�ำคัญในการก�ำหนดให้มีการจัดวางระบบควบคุมภายใน ทั้งองค์กร ตลอดจนติดตามผลการด�ำเนินงานตามแผนการควบคุมภายในส�ำหรับกิจกรรมการควบคุมที่ก�ำหนด พร้อมทั้งให้มีการรายงานผลการด�ำเนินการตามแผนการควบคุมภายในต่อผู้บริหารเป็นระยะ เพื่อประโยชน์ใน การก�ำกับดูแลและควบคุมความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น • ประเด็นด้านรายงานการเงิน ให้หัวหน้าส่วนราชการต้องก�ำกับดูแลให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านบัญชี การเงินของ หน่วยงานเร่งแก้ไขปรับปรุงรายการทางบัญชีทยี่ งั คงมีขอ้ ผิดพลาดคลาดเคลือ่ นให้ถกู ต้องสมบูรณ์ตามหลักเกณฑ์ ของกรมบัญชีกลาง
การสนับสนุนแนวทางหรือกลยุทธ์ด้านการท่องเที่ยวเพื่อเตรียมการรองรับเสรีทางการค้าตาม กรอบความร่วมมือของอาเซียนและความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ค.ต.ป. ได้เห็นชอบตามข้อเสนอของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา (ค.ต.ป.กก.) เกี่ยวกับแนวทางหรือกลยุทธ์ด้านการท่องเที่ยวเพื่อเตรียมการรองรับเสรี ทางการค้าตามกรอบความร่วมมือของอาเซียนและความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ดยเห็นควรให้สว่ นราชการทีเ่ กีย่ วข้องสนับสนุนแนวทางหรือกลยุทธ์ดา้ นการท่องเทีย่ วดังกล่าวให้บรรลุผลส�ำเร็จ เช่น การเผยแพร่ความรู้เพื่อเตรียมการรองรับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นทั้งในระดับบุคคลและระดับประเทศ การเตรียมความพร้อมด้านบุคลากรโดยบูรณาการกับสถาบันการศึกษา การอ�ำนวยความสะดวกด้านวีซ่า แก่นักท่องเที่ยว เป็นต้น รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 119
สรุปข้อเสนอแนะเพื่อการด�ำเนินการ จากรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการในบทที่ ๓ รวมทัง้ สรุปภาพรวมและข้อค้นพบ ที่ส�ำคัญ ดังกล่าว จึงเห็นควรให้ส่วนราชการต่าง ๆ ด�ำเนินการตามข้อเสนอแนะแนวทางการด�ำเนินการของ ค.ต.ป. และรายงานผลให้ ค.ต.ป. ทราบ โดยส่วนราชการให้รายงานต่อ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงที่รับผิดชอบ ส�ำหรับส่วนราชการไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง ให้รายงานต่อ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง ด้านบริหารและส่วนราชการไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง และจังหวัดให้รายงานต่อ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดที่รับผิดชอบ โดยข้อเสนอตามประเด็นการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ มีดังนี้ ข้อค้นพบ
ข้อเสนอแนะ
หน่วยงานรับผิดชอบ
• ควรให้ความส�ำคัญในการรายงาน การประเมิ น ถึ ง ความมี ป ระสิ ทธิ ภาพ ประสิทธิผล ความคุ้มค่าในการปฏิบัติ งานตามภารกิจของกระทรวง กรม และ ผลการประเมินความคุ้มค่าหรือมูลค่า เพิ่มของโครงการภายใต้ห่วงโซ่แห่ง คุณค่าของประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัด และกลุ ่ ม จั ง หวั ด ที่ ส อดคล้ อ งกั บ ๕ ประเด็นนโยบายส�ำคัญ • ควรเร่งรัดติดตามและรายงานผล การด�ำเนินงานของหน่วยรับตรวจตาม ข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการตาม รายงานการตรวจราชการ • ควรให้ความส�ำคัญและสนับสนุน การเร่ ง รั ด การจั ด ท� ำ รายงานผลการ ตรวจราชการแบบบูรณาการของผูต้ รวจ ราชการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่ ก�ำหนด • การจั ด ท� ำ รายงานการตรวจ ราชการ ยังมีความเข้าใจที่ไม่สอดคล้อง กันเกี่ยวกับดัชนี ความเสี่ยงการตอบ สนองความต้องการของประชาชน และ การน�ำเสนอข้อมูลในรายงาน จึงควรมี การฝึกอบรมและจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติ การเรื่ อ งการวิ เ คราะห์ แ ละประเมิ น
• ปลัดกระทรวง • อธิบดี • ผู้วา่ ราชการจังหวัด
๑. การตรวจราชการ ๑.๑ ด้านการจัดท�ำรายงานการตรวจ ราชการ • รายงานการตรวจราชการแบบ บู ร ณาการของผู ้ ต รวจราชการของ ส่ ว นราชการและจั ง หวั ด ยั ง ขาดการ รายงานผลการประเมิ น ประสิ ท ธิ ภาพ ประสิ ท ธิ ผ ล และความคุ ้ ม ค่ า ในการ ปฏิ บั ติ ง านหรื อ การจั ด ท� ำ ภารกิ จ ของ หน่วยงานของรัฐออกมาให้เห็นอย่าง ชัดเจน • บางส่วนราชการให้ความส�ำคัญ ในการเร่ ง รั ด ติ ด ตามและรายงานผล การด�ำเนินงานของหน่วยรับตรวจตาม ข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการตาม รายงานการตรวจราชการไม่มากเท่าทีค่ วร
• การวิเคราะห์และประเมินความ เสี่ ย งในรายงานการตรวจราชการฯ ยังไม่สมบูรณ์ ถูกต้อง ครบถ้วน
120 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
• ปลัดกระทรวง • อธิบดี • หัวหน้าส่วนราชการ • ผู้ตรวจราชการส�ำนัก นายกรัฐมนตรี • ผู้ตรวจราชการระดับ กระทรวง และกรม • ส�ำนักงานปลัดส�ำนัก นายกรัฐมนตรี • ผู้ตรวจราชการ กระทรวง • หัวหน้าส่วนราชการ ในระดับจังหวัด (หน่วยรับตรวจ)
ข้อค้นพบ
ข้อเสนอแนะ หน่วยงานรับผิดชอบ ความเสี่ยงให้กับผู้ช่วยผู้ตรวจราชการ เจ้าหน้าที่สนับสนุนการตรวจ รวมทั้ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการในพื้นที่ เพื่อให้มีความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกัน และเจ้ า หน้ า ที่ ที่ รั บ ผิ ด ชอบในระดั บ จั ง หวั ด ได้ มี ส ่ ว นร่ ว มในการบริ ห าร ความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๑.๒ ด้ า นกลไกการจั ด ท� ำ แผนการ ตรวจราชการแบบบูรณาการฯ • ส่วนราชการยังขาดองค์ความรู้ • เสริ ม สร้ า งความรู ้ ความเข้ า ใจ เกีย่ วกับการวิเคราะห์/ประเมิน/การจัดการ เกีย่ วกับการวิเคราะห์/ประเมิน/การจัดการ กับความเสีย่ งในการด�ำเนินการตามแผนงาน/ กั บ ความเสี่ ย งให้ กั บ หน่ ว ยรั บ ตรวจ โครงการ อย่ า งทั่ ว ถึ ง เพื่ อ ด� ำ เนิ น การบริ ห าร ความเสี่ ย งร่ ว มกั น ให้ บ รรลุ ผ ล และ สามารถขับเคลื่อนการด�ำเนินการตาม แผนงาน/โครงการให้ประสบผลส�ำเร็จ • มี ความล่ า ช้ า ในการจั ด ท� ำ แผน • ควรปรั บ ระยะเวลาการจั ด ท� ำ การตรวจราชการแบบบูรณาการ แผนฯ และคู่มือการตรวจราชการใน แต่ละปีให้กระชับขึ้น เพื่อให้หน่วยรับ ตรวจมีเวลาในการศึกษาท�ำความเข้าใจ แผนฯ และคู่มือ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อ การก�ำหนดช่วงเวลาลงพืน้ ที่ให้สามารถ จัดท�ำรายงานได้ครบถ้วนมากยิ่งขึ้น ๑.๓ ด้านระบบการตรวจราชการ • หน่วยรับตรวจยังขาดความเข้าใจ • ผู ้ ต รวจราชการกระทรวงควร เกี่ยวกับแนวทางการตรวจราชการแบบ สร้ า งความเข้ า ใจกั บ หน่ ว ยรั บ ตรวจ บูรณาการ จึงไม่ให้ความส�ำคัญกับการหา เกี่ ย วกั บ แนวทางการตรวจราชการ แนวทางการจัดการกับความเสีย่ งร่วมกับ แบบบูรณาการ ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ ผู้ตรวจราชการ ก่ อ นการออกตรวจ รวมทั้ ง สร้ า ง กระบวนการมีสว่ นร่วมของหน่วยรับตรวจ ในการคัดเลือกโครงการและการบริหาร ความเสี่ยง เพื่อบรรจุในแผนการตรวจ ราชการแบบบูรณาการ
• ปลัดกระทรวง • อธิบดี
• ส�ำนักงานปลัดส�ำนัก นายกรัฐมนตรี
• ผู้ตรวจราชการ กระทรวง
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 121
ข้อค้นพบ • การคั ด เลื อ กโครงการบรรจุ ใ น แผนการตรวจราชการแบบบูรณาการยัง ขาดการปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ ทีก่ ำ� หนด และการบูรณาการโครงการภายใต้ห่วง โซ่แห่งคุณค่าของประเด็นยุทธศาสตร์ จังหวัดและกลุ่มจังหวัด
ข้อเสนอแนะ • การคัดเลือกโครงการเพื่อบรรจุ ในแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการ ควรเป็ น โครงการที่ มี ผ ลกระทบต่ อ ประชาชน/กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเป็น จ�ำนวนมาก หรือเป็นโครงการทีม่ วี งเงิน งบประมาณสูง
หน่วยงานรับผิดชอบ • ส�ำนักปลัดส�ำนัก นายกรัฐมนตรี • ผู้ตรวจราชการส�ำนัก นายกรัฐมนตรี • ผู้ตรวจราชการระดับ กระทรวง/กรม
• ก� ำ กั บ ดู แ ลการปฏิ บั ติ ง านของ ส่ ว นราชการให้ เ ป็ น ไปตามมติ ค ณะ รัฐมนตรีเมือ่ วันที่ ๒๒ มิถนุ ายน ๒๕๕๓ โดยให้หัวหน้าส่วนราชการต้องก�ำกับ ดู แ ลการปฏิ บั ติ ง านของผู ้ ต รวจสอบ ภายในให้ เ ป็ น ไปตามบทบาทหน้ า ที่ และส่งเสริม สนับสนุนให้การปฏิบัติ หน้าที่ของ ผู้ตรวจสอบภายในเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ • หน่วยงานกลางที่เกี่ยวข้องควร พิจารณาทบทวนโครงสร้างหน่วยงาน ตรวจสอบภายในเพือ่ แก้ไขปัญหาข้อจ�ำกัด ด้านอัตราก�ำลังของผู้ตรวจสอบภายใน รวมทั้ ง เสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ กั บ หน่ ว ยงานตรวจสอบภายใน โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ความรู ้ ด ้ า นการ ตรวจสอบการบริหารและการตรวจสอบ สารสนเทศ • ทบทวนการก� ำ หนดโครงสร้า ง อ�ำนาจหน้าทีแ่ ละอัตราก�ำลังของหน่วย ตรวจสอบภายในให้เหมาะสม
• ปลัดกระทรวง • อธิบดี • ผู้ว่าราชการจังหวัด
๒. การตรวจสอบภายใน • อั ต ราก� ำ ลั ง ผู ้ ต รวจสอบภายใน ไม่เพียงพอ ขาดความเป็นอิสระในการ ปฏิบัติงาน และมีการโยกย้ายสับเปลี่ยน ต�ำแหน่ง ขาดการสอนงานหรือส่งมอบงาน ซึง่ ส่งผลต่อความต่อเนือ่ งในการปฏิบตั งิ าน • ผู ้ ต รวจสอบภายในมี ข ้ อ จ� ำ กั ด เรื่องความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติ งานให้ ค รอบคลุ ม ในทุ ก ประเด็ น ของ การตรวจสอบ • พบข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน ด้านการเงิน การบัญชี การพัสดุและ การจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง ซึ่ ง สาเหตุ ม าจาก การโยกย้ า ยปรั บ เปลี่ ย นผู ้ รั บ ผิ ด ชอบ โดยขาดการสอนงานหรือส่งมอบงาน อย่างเป็นระบบท�ำให้การปฏิบัติงานขาด ความต่อเนื่องและเจ้าหน้าที่ขาดความรู้ ความเข้าใจในกฎ ระเบียบ แนวปฏิบัติ ที่เกี่ยวข้อง • โครงสร้างและกลไกการบริหารงาน ของหน่วยตรวจสอบภายใน โดยเฉพาะ ในกระทรวงขนาดเล็ ก /จั ง หวั ด ยั ง ไม่ เหมาะสม • ผู้บริหารไม่ได้ให้ความส�ำคัญและ เข้าใจในบทบาทของหน่วยตรวจสอบ ภายใน อีกทั้งไม่มีการน�ำรายงานของ ผู้ตรวจสอบภายในไปใช้ในการบริหาร จัดการ
• กลุ่มตรวจสอบภายในของส่วน ราชการ ควรวางแผนยกระดั บ การ ตรวจสอบทีม่ ากกว่าการตรวจสอบความ ถูกต้องตามระเบียบที่เกี่ยวข้อง โดยให้ ครอบคลุมการด�ำเนินงานให้มากขึ้น
122 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
• ส�ำนักงาน ก.พ. • ส�ำนักงาน ก.พ.ร. • กรมบัญชีกลาง • กระทรวงมหาดไทย
• กรมบัญชีกลาง • ส�ำนักงาน ก.พ. • ส�ำนักงาน ก.พ.ร. • กระทรวงมหาดไทย • หน่วยตรวจสอบ ภายในระดับ กระทรวง กรม และ จังหวัด
ข้อค้นพบ • ผู้บริหารไม่ได้ให้ความส�ำคัญและ เข้าใจในบทบาทของหน่วยตรวจสอบ ภายใน อีกทั้งไม่มีการน�ำรายงานของ ผู้ตรวจสอบภายในไปใช้ในการบริหาร จัดการ • บางหน่วยงานยังไม่ได้ด�ำเนินการ ตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้างด้วยระบบ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (e-Auction) ในรอบ ระหว่างปี หรือรอบ ๑๒ เดือน • ส่วนราชการประจ�ำจังหวัดน�ำเข้า ข้อมูลในระบบ POC ไม่ครบถ้วนและ เป็นปัจจุบนั ส่งผลให้ผบู้ ริหารของจังหวัด และส่วนราชการประจ�ำจังหวัดไม่นำ� ข้อมูล ในระบบ POC ไปใช้ในการบริหารและ การด�ำเนินงาน • หน่วยตรวจสอบภายในไม่ได้กำ� หนด ให้มกี ารตรวจสอบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ในแผนการตรวจสอบเนือ่ งจากผูต้ รวจสอบ ภายในในหลายจั ง หวั ด ยั ง ขาดทั ก ษะ และความเชี่ ย วชาญการตรวจสอบ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ข้อเสนอแนะ ทั้ ง นี้ ควรน� ำ ข้ อ สั ง เกตของ ค.ต.ป. ประจ� ำ กระทรวงไปแก้ ไ ขปั ญ หาและ บริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งเพื่ อ ให้ การป ฏิ บั ติ ง า น เ กิ ด ป ระสิ ทธิ ผล และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น • ควรปรั บ แผนการปฏิ บั ติ ใ ห้ สอดคล้องกับแนวทางการตรวจสอบ และประเมินผลภาคราชการของ ค.ต.ป. และจัดส่งรายงานผลการตรวจสอบการ จัดซื้อจัดจ้างด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (ถ้ามี) • ควรก� ำ กั บ ดู แ ลให้ ผู ้ ต รวจสอบ ภายในของจังหวัดด�ำเนินการตรวจสอบ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Audit) ของศูนย์ปฏิบัติการจังหวัด พร้อมทั้ง ส ่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ นา ทั ก ษ ะ แ ล ะ ความเชี่ ย วชาญการตรวจสอบด้ า น เทคโนโลยีสารสนเทศให้กบั ผูต้ รวจสอบ ภายในของจังหวัด
หน่วยงานรับผิดชอบ • หน่วยตรวจสอบ ภายในระดับ กระทรวง กรม และ จังหวัด • ปลัดกระทรวง • อธิบดี • ผู้วา่ ราชการจังหวัด
• กระทรวงมหาดไทย • ผู้วา่ ราชการจังหวัด
๓.• การควบคุมภายในและการบริหาร ความเสี่ยง • ผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงานยังไม่ • ผู ้ บ ริ ห า ร ทุ กร ะ ดั บ คว ร ใ ห ้ • ปลัดกระทรวง ตระหนั ก ถึ ง ประโยชน์ ข องระบบการ ความส�ำคัญและประโยชน์ของระบบ • อธิบดี ควบคุมภายใน การควบคุมภายในและบริหารความเสีย่ ง • ผู้ว่าราชการจังหวัด รวมทัง้ ก�ำกับ ติดตามผลการด�ำเนินงาน อย่างจริงจังและต่อเนื่อง ทั้งนี้โดยอาจ ก�ำหนดเป็นตัวชี้วัดระดับบุคคลเพื่อให้ สามารถวัดผลได้ด้วย
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 123
ข้อค้นพบ • การจัดท�ำรายงานฯ ไม่ได้จัดท�ำ รายงานฯ ในภาพรวมท�ำให้ไม่ครอบคลุม กระบวนงานและกิจกรรมของส่วนงาน ย่อยทั้งภารกิจหลักและภารกิจสนับสนุน ซึ่งท�ำให้จุดอ่อนและความเสี่ยงที่มีอยู่ใน กิจกรรมไม่ได้รับการควบคุม ปรับปรุง และติดตามผล • ความเสี่ยงด้านบุคลากรยังคงพบ เช่นกับปีทผี่ า่ นมา เช่น มีจำ� นวนบุคลากร ที่ไม่เพียงพอกับปริมาณงาน และยังไม่มี ความเชี่ ย วชาญและรอบรู ้ ใ นสายงาน อาชีพและในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การสับเปลีย่ นโยกย้ายข้าราชการ รวมทัง้ การที่ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ไม่ให้ความ ส�ำคัญกับการจัดท�ำรายงานการควบคุม ภายใน • คู ่ มื อ การสอบทานของ ค.ต.ป. เน้นการสอบทานเรือ่ งการควบคุมภายใน เป็นหลัก ซึ่งเรื่องดังกล่าวส่วนราชการ ต้ อ งปฏิ บั ติ อ ยู ่ แ ล้ ว ตามระเบี ย บของ คตง. ท�ำให้ขาดประเด็นของการบริหาร ความเสี่ยง • มี ก ารศึ ก ษาวิ เ คราะห์ แ ละจั ด กิ จ กรรมเพื่ อ ควบคุ ม ความเสี่ ย ง โดย ปัจจัยเสีย่ งทีพ่ บส่วนใหญ่เป็นปัจจัยเสีย่ ง ทางด้ า นกระบวนการบริ ห ารจั ด การ การจัดท�ำรายงาน กระบวนการปฏิบตั งิ าน และระบบการควบคุมภายใน
ข้อเสนอแนะ หน่วยงานรับผิดชอบ • ควรจั ด ท� ำ รายงานการควบคุ ม • ส�ำนักงานตรวจเงิน ภายใน ที่เป็นภาพรวม เพื่อให้ทราบ แผ่นดิน ถึงความเสี่ยงและการควบคุมที่มีอยู่ว่า • กรมบัญชีกลาง เพียงพอต่อการป้องกันหรือลดผลกระทบ ต่อความส�ำเร็จของการด�ำเนินงานของ ส่วนราชการเพียงใด • ควรจัดให้มีการเพิ่มพูนความรู้ • ปลัดกระทรวง ด้านการวางระบบการควบคุมภายใน • อธิบดี และการประเมินความเสีย่ งแก่เจ้าหน้าที่ • ผู้วา่ ราชการจังหวัด ผูป้ ฏิบตั งิ านอย่างสม�ำ่ เสมอและต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะระดับหน่วยงานในส่วนภูมภิ าค
• ควรมี ก ารจั ด ท� ำ คู ่ มื อ การสอบ ทานของ ค.ต.ป. ที่เน้นการสอบทาน ในเรื่ อ งการบริ ห ารความเสี่ ย งของ ส่ ว นราชการให้ ส อดคล้ อ งกั บ ข้ อ มู ล เอกสารในการปฏิบัติงานจริงที่ ได้รับ จากส่ ว นราชการ ในแต่ ล ะรอบของ การสอบทานด้วยเพื่อให้เป็นประโยชน์ ต่อส่วนราชการมากขึ้น • ท�ำความเข้าใจกับผู้บริหารและ เจ้ า หน้ า ที่ ข องส่ ว นราชการให้ เ ห็ น ความส�ำคัญและประโยชน์ของการมี ระบบควบคุ ม ภายในและการบริ ห าร ความเสี่ ย งสร้ า งความตระหนั ก ถึ ง ความส�ำคัญและประโยชน์ของการมี ระบบการควบคุมภายในที่ดี รวมทั้ง สร้างการมีส่วนร่วมในการจัดท�ำและ การประเมินผลระบบควบคุมภายในกับ ข้าราชการและผู้บริหารของหน่วยงาน ในทุกระดับ
124 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
• ค.ต.ป.
• ปลัดกระทรวง • อธิบดี • ผู้วา่ ราชการจังหวัด
ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ • มีการวางระบบควบคุมภายในตาม • แผนบริ ห ารความเสี่ ย งและ ระเบียบ แต่การน�ำมาปฏิบัติยังไม่ได้ การจั ดวางระบบการควบคุ ม ภายใน รับการตอบสนองให้เป็นไปตามเป้าหมาย ต้องเป็นไปในทิศทางเดียวกัน และควรมี การด�ำเนินการด้านการควบคุมภายใน และบริหารความเสีย่ งรวมทัง้ ติดตามผล การด�ำเนินงานอย่างจริงจังและต่อเนือ่ ง • ควรให้ความส�ำคัญในการเร่งรัด การด�ำเนินการจัดท�ำกิจกรรมตามแผน การควบคุมภายในและมีการติดตาม ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน รวมทั้ ง รายงานผลให้ผบู้ ริหารทราบเพือ่ ติดตาม ความก้าวหน้าของการด�ำเนินงาน • ความเสี่ ย งภายในของจั ง หวั ด ของจั ง หวั ด ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น เรื่ อ งพื้ น ฐานการปฏิบัติงาน ซึ่งส่วนราชการ ส่วนกลางจะเป็นผูส้ งั่ การให้สว่ นราชการ ประจ� ำ จั ง หวั ด ด� ำ เนิ น การ ดั ง นั้ น ส่วนราชการส่วนกลางต้นสังกัด ควรจะ ได้มีการประมวลความเสี่ยงภาพรวม ของทุ ก จั ง หวั ด เพื่ อ ก� ำ หนดวิ ธี ก าร ควบคุ ม ความเสี่ ย งของส่ ว นราชการ ที่เป็นรูปธรรม • ความเสี่ยงภายนอกของจังหวัด ส่วนใหญ่เป็นเรื่องการประชาสัมพันธ์ และการประสานความร่ ว มมื อ กั บ ประชาชน/เกษตรกร/เอกชน/ท้องถิ่น/ ผู้รับบริการ ดังนั้น จังหวัดควรจัดท�ำ แผนการประชาสัมพันธ์ที่เน้นในเรื่อง การท� ำ ความเข้ า ใจกั บ ผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อย่างต่อเนื่องและหลายช่องทาง หรือ อาจสร้างเครือข่ายภาคเอกชน/ท้องถิ่น ในการก�ำกับดูแลแทนภาคราชการ
หน่วยงานรับผิดชอบ • ปลัดกระทรวง • อธิบดี • ผู้ว่าราชการจังหวัด
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 125
ข้อค้นพบ
ข้อเสนอแนะ
หน่วยงานรับผิดชอบ
๔. การปฏิบัติราชการตามค�ำรับรอง การปฏิบัติราชการ ๔.๑ ด้ า นการจั ด ท� ำ รายงานผล การปฏิ บั ติ ร าชการตามค� ำ รั บ รอง การปฏิบัติราชการ • บางตัวชี้วัดของหน่วยงานไม่ได้ รายงานปัญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะ เพื่อการปรับปรุงงานในปีต่อไป รวมถึง ไม่ได้ระบุปัจจัยสนับสนุนและอุปสรรค ต่อการด�ำเนินงาน
• ในรายงานผลการปฏิบัติราชการ • ปลัดกระทรวง ของส่วนราชการ ควรให้ความส�ำคัญกับ • อธิบดี ค�ำชีแ้ จงการปฏิบตั งิ าน ปัจจัยสนับสนุน • ผู้วา่ ราชการจังหวัด อุปสรรคในการด�ำเนินงาน และข้อเสนอ แนะในปีต่อไป ซึ่งจะเป็นส่วนที่ส�ำคัญ ในการตรวจสอบผลการด�ำเนินงานและ ช่วยให้การด�ำเนินงานตามค�ำรับรอง บรรลุวตั ถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น โดยควรเน้นย�้ำ ให้ผรู้ บั ผิดชอบตัวชีว้ ดั จัดท�ำรายงานผล การปฏิบตั ริ าชการฯ ให้มคี วามครบถ้วน ครอบคลุม ตามแบบรายงานที่ก�ำหนด เพื่อให้รายงานมีความน่าเชื่อถือและ เป็นประโยชน์แก่หน่วยงานที่มีหน้าที่ ในการประเมินผลและสอบทาน
๔.๒ ด้ า นการขั บ เคลื่ อ นตั ว ชี้ วั ด สู ่ เป้าหมายที่ก�ำหนด • ผู้บริหารหน่วยงานไม่ได้ให้ความ • ผู้บริหารหน่วยงานควรให้ความ ส�ำคัญและก�ำกับ เร่งรัดในการด�ำเนินงาน ส�ำคัญและก�ำกับ เร่งรัดให้การด�ำเนิน ให้เป็นไปตามเป้าหมายของแต่ละตัวชีว้ ดั งานเป็นไปตามเป้าหมายของแต่ละตัว ชี้วัดอย่างสม�่ำเสมอและจริงจัง โดย ก� ำ หนดให้ มี เ จ้ า หน้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบใน การติดตาม เร่งรัดหน่วยงานภายในให้ ปฏิบตั ติ ามค�ำรับรองการปฏิบตั ริ าชการ • ระบบข้อมูลเพื่อการด�ำเนินงาน • ควรมีระบบข้อมูลการด�ำเนินงาน ตามตัวชี้วัดยังขาดความเป็นเอกภาพ ตามตัวชี้วัดที่มีประสิทธิภาพและเป็น ในการจัดเก็บและจัดท�ำระบบฐานข้อมูล ปัจจุบัน เพื่อการรายงานผลที่ครบถ้วน สมบูรณ์ และเป็นประโยชน์ในการบริหาร งานของหน่ ว ยงาน และเพื่ อ การน� ำ ผลการประเมิ น ไปใช้ ใ นการจั ด สรร แรงจูงใจให้บังเกิดผลในทางปฏิบัติ 126 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
• ปลัดกระทรวง • อธิบดี • ผู้วา่ ราชการจังหวัด
• ปลัดกระทรวง • อธิบดี • ผู้วา่ ราชการจังหวัด
ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ • ขาดการพั ฒ นาระบบข้ อ มู ล • กระทรวงมหาดไทยควรพัฒนา สารสนเทศเกี่ยวกับการจัดท�ำค�ำรับรอง ระบบข้ อ มู ล สารสนเทศเกี่ ย วกั บ การ การปฏิบัติราชการของจังหวัดให้เป็น จัดท�ำค�ำรับรองการปฏิบัติราชการของ มาตรฐานเดียวกัน จังหวัดให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน เพื่อ เป็ น ฐานข้ อ มู ล กลางรองรั บ กั บ การ เปลี่ยนแปลงผู้ก�ำกับดูแลตัวชี้วัดหรือ ผู้จัดเก็บข้อมูล รวมทั้งเป็นเครื่องมือ ประกอบการก�ำหนดตัวชี้วัดและเกณฑ์ การให้คะแนนในปีต่อ ๆ ไป • ตั ว ชี้ วั ด ที่ ด� ำ เนิ น การได้ ค ะแนน • ผู้บริหารของทุกหน่วยงานควร ระดับน้อย ได้แก่ตวั ชีว้ ดั อัตราการเบิกจ่าย เร่ ง รั ด การเบิ ก จ่ า ยงบประมาณของ งบประมาณเมื่อเปรียบเทียบกับแผน หน่วยงานในความรับผิดชอบให้เป็นไป ตามเป้าหมายที่รัฐบาลก�ำหนด รวมทั้ง ควรน�ำปัญหาอุปสรรคของการเบิกจ่าย งบประมาณของส่วนราชการและจังหวัด มาบูรณาการกับหน่วยงานกลางทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น ส�ำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และกระทรวงมหาดไทย เป็นต้น เพื่อ ก�ำหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหาใน ภาพรวมทั้งระบบต่อไป ๔.๓ ด้านบุคลากร • เจ้าหน้าที่ขาดความรู้ความเข้าใจ • ผูบ้ ริหารระดับสูงของจังหวัดควร ในหลักเกณฑ์และแนวทางการประเมิน ให้ความส�ำคัญและก�ำกับให้เจ้าหน้าที่ ผลอย่างเพียงพอ ที่ รั บ ผิ ด ชอบด� ำ เนิ น การติ ด ตามผล การด�ำเนินงานตามตัวชี้วัดของจังหวัด อย่ า งสม�่ ำ เสมอรวมทั้ ง เร่ ง รั ด ให้ มี การด�ำเนินการให้เป็นไปตามเป้าหมาย • จั ง หวั ด ควรมี การวางระบบใน การส่งมอบงานให้ชดั เจน รวมทัง้ วางแผน การพัฒนาความรูใ้ ห้แก่ผร้ ู บั ผิดชอบงานใหม่ อย่างเป็นระบบต่อไปด้วย • หน่วยงานกลางที่เป็นเจ้าภาพ ตั ว ชี้ วั ด ควรมี การชี้ แ จงสร้ า งความรู ้ ความเข้าใจให้แก่ผบู้ ริหารของจังหวัดและ หรือผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดคลินกิ ให้คำ� ปรึกษาแนะน�ำ ร่วมกัน
หน่วยงานรับผิดชอบ • กระทรวงมหาดไทย • ผู้วา่ ราชการจังหวัด
• ส�ำนักงบประมาณ • กรมบัญชีกลาง • กระทรวงมหาดไทย • ปลัดกระทรวง • อธิบดี • ผู้วา่ ราชการจังหวัด
• กระทรวงมหาดไทย • ผู้วา่ ราชการจังหวัด
• ส�ำนักงาน ก.พ.ร.
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 127
ข้อค้นพบ
ข้อเสนอแนะ
หน่วยงานรับผิดชอบ
• หัวหน้าส่วนราชการของหน่วย เบิกจ่ายและผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในทุก ระดับของจังหวัด ควรก�ำกับดูแลให้ บันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบ GFMIS ให้ ถูกต้องก่อนน�ำมาจัดท�ำงบการเงินรวม ของจังหวัดเพื่อให้รายงานการเงินมี ความถูกต้องและน่าเชื่อถือ • ส่ ว นราชการและจั ง หวั ด ควร วางแผนการจัดท�ำรายงานการเงิน รวม ทั้งทบทวนและวิเคราะห์ผลการจัดท�ำ รายงานการเงินที่ผ่านมาเพื่อปรับปรุง แก้ไขในปีต่อไปด้วย • ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ควรมีหนังสือ ซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทาง การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ และวัตถุประสงค์ของการจัดส่งรายงาน การเงิ น ของจั ง หวั ด ในฐานะเจ้ า ของ งบประมาณให้จงั หวัดต่าง ๆ ได้รบั ทราบ • ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ควรส�ำเนา หนังสือที่แจ้งไปยังจังหวัดให้ประธาน อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดทราบด้วย • เจ้ า หน้ าที่ ควรประสานงานกั บ ส�ำนักงานคลังจังหวัดในเรื่องรูปแบบ รายงานให้เป็นไปตามทีก่ รมบัญชีกลาง ก�ำหนด
• ปลัดกระทรวง • อธิบดี • ผู้ว่าราชการจังหวัด
๕. รายงานการเงิน ๕.๑ ด้านการจัดท�ำรายงานการเงิน • รายงานการเงินทีไ่ ด้รบั ยังไม่ครบถ้วน และมีความผิดพลาดไม่ถกู ต้องตามหลักการ บัญชีในหลายประเด็น เช่น ไม่ได้จัดส่ง รายงานการเบิ ก จ่ า ยงบประมาณจาก ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ แบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) และระยะ เวลาการรายงานไม่ถูกต้อง
• แนวทางการตรวจสอบและประ เมินผลฯ ก�ำหนดให้จังหวัดต้องจัดท�ำ รายงานการเงินของจังหวัดในฐานะที่ จังหวัดเป็นเจ้าของงบประมาณ และส่ง มายัง อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด เพื่อท�ำการ สอบทาน ซึ่งพบว่าในหลายจังหวัดยัง จัดท�ำรายงานการเงินไม่สอดคล้องกับ แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลฯ ที่ก�ำหนดดังกล่าว • รู ป แบบรายงานการเงิ น ของ จังหวัดไม่เป็นรูปแบบเดียวกันหรือไม่ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เช่น รายงาน การเบิกจ่ายงบประมาณ และงบแสดง ฐานะทางการเงิน • นโยบายบั ญ ชี ข องงบการเงิ น • ให้จังหวัดด�ำเนินการให้เป็นไป จังหวัด มีความแตกต่างจากหลักการ ตามที่กรมบัญชีกลางก�ำหนด บัญชีโดยทั่วไป เนื่องจากเป็นการรวม (Combine) รายงานของหน่วยงานใน จังหวัด แทนที่จะเป็นการจัดท�ำงบการ
128 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
• ส�ำนักงาน ก.พ.ร. • ผู้วา่ ราชการจังหวัด
• ผู้วา่ ราชการจังหวัด
• ผู้วา่ ราชการจังหวัด
ข้อค้นพบ เงินรวมโดยวีธี Consolidate คือมีการตัด รายการระหว่างกันของหน่วยงานออก ตามมาตรฐานการบัญชี ๕.๒ ด้านบุคลากร • เจ้าหน้าที่ขาดความรู้ความเข้าใจ ในการจั ด ท� ำ รายงานการเงิ น ในระบบ GFMIS ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ ร ายงานการเงิ น ไม่ ถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว นตามรู ป แบบที่ กรมบัญชีกลางก�ำหนด โดยยังมีความ ผิ ด พลาดและไม่ ถู ก ต้ อ งตามหลั ก การ บัญชีในหลายประเด็น เช่น มีการแสดง รายการว่างบประมาณติดลบ
ข้อเสนอแนะ
หน่วยงานรับผิดชอบ
• กรมบั ญ ชี ก ลางควรจั ด การ ฝึกอบรมให้กับเจ้าหน้าที่การเงินและ บั ญ ชี ข องส่ ว นราชการและจั ง หวั ด เกี่ยวกับการจัดท�ำรายงานการเงินและ การวิเคราะห์งบการเงินตามรูปแบบ ที่ก�ำหนด และขยายช่องทางให้ความรู้ หรือให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำแก่ผู้ปฏิบัติ งานให้สามารถเข้าถึงข้อความรู้ในด้าน การเงินและข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว • ผูบ้ ริหารระดับสูงของจังหวัดและ หน่วยเบิกจ่ายควรได้รับการฝึกอบรม เรื่องการวิเคราะห์รายงานการเงินของ จั ง หวั ด และเข้ า ใจความหมายของ รายการต่ า ง ๆ ในรายงานการเงิ น เพื่อให้สามารถตัดสินใจและวางแผน การด�ำเนินงานต่าง ๆ ของจังหวัดได้ อย่างมีประสิทธิผล โดยกรมบัญชีกลาง ควรจัดท�ำคู่มือการอ่านและวิเคราะห์ รายงานการเงินของจังหวัดให้ผู้บริหาร ดังกล่าว
• กรมบัญชีกลาง • ปลัดกระทรวง • อธิบดี • ผู้วา่ ราชการจังหวัด
• กรมบัญชีกลาง • ผู้วา่ ราชการจังหวัด
๕.๓ ด้ า นการปฏิ บั ติ ง านของส่ ว น ราชการที่เกี่ยวข้อง • ส่วนราชการประจ�ำจังหวัดจัดส่ง • หัวหน้าส่วนราชการประจ�ำจังหวัด • ผู้วา่ ราชการจังหวัด รายงานและข้อมูลทางการเงินไม่ถกู ต้อง ควรก�ำกับดูแลให้เจ้าหน้าทีก่ ารเงินและ และไม่ครบถ้วน รวมทั้งจัดส่งเอกสาร บั ญ ชี จั ด ส่ ง เอกสารทางด้ า นการเงิ น ทางการเงินให้สอบทานล่าช้า ให้ส�ำนักงานจังหวัดเพื่อบันทึกบัญชี ให้ ค รบถ้ ว นและถู ก ต้ อ งภายในสิ้ น ปีงบประมาณแต่ละปี
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 129
ข้อค้นพบ
ข้อเสนอแนะ
หน่วยงานรับผิดชอบ
๖. การสอบทานกรณีพิเศษ ๖.๑ กรณีส่วนราชการ การด�ำเนินโครงการในภาพรวม • บางโครงการยังขาดความชัดเจน ในรายละเอียดเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ วิธี การด�ำเนินงาน เป้าหมาย ตัวชี้วัด และ ผลการด�ำเนินงานเมื่อสิ้นปีงบประมาณ ในเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ โดยเฉพาะ โครงการที่เป็นโครงการต่อเนื่อง
• บางโครงการมี ก ารด� ำ เนิ น การ ล่าช้ากว่าแผนที่ก�ำหนด เนื่องมาจาก ปั ญ หากระบวนการในการด�ำเนินงาน ความไม่ เ ข้ า ใจและไม่ ย อมรั บ ของ ประชาชน และอุทกภัย เป็นต้น
• ส่วนราชการควรให้ความส�ำคัญ ในการด�ำเนินโครงการตัง้ แต่การเริม่ จัดท�ำ แผนงาน การก�ำกับดูแล การติดตาม และการประเมินผลทั้งผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ รวมทัง้ การจัดท�ำแผนบริหาร ความเสี่ยงต่าง ๆ เพื่อเตรียมการแก้ไข ปัญหาที่อาจเกิดและให้ความส�ำคัญใน การด�ำเนินงานตามแผนบริหารความเสีย่ ง นัน้ ๆ เพือ่ เร่งรัดการด�ำเนินการในโครงการ ทีล่ า่ ช้าให้บรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมาย ของโครงการภายในกรอบระยะเวลา ที่ก�ำหนดได้ • ทั้งนี้ หากเป็นโครงการต่อเนื่อง ควรที่ จ ะก� ำ หนดตั ว ชี้ วั ด รายปี แ ละ ควรเน้นการสอบทานในระดับผลลัพธ์ และผลกระทบของโครงการด้วย • ควรจั ด ส่ ง รายงานผลการสอบ ทานของโครงการที่มีการด�ำเนินงาน ล่าช้าให้ส�ำนักงบประมาณเพื่อใช้เป็น ข้อมูลประกอบการเร่งรัดการด�ำเนิน โครงการและการพิ จ ารณาค� ำ ขอ งบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีต่อไป
• ปลัดกระทรวง • อธิบดี
• ค.ต.ป. • ส�ำนักงบประมาณ • ส่วนราชการเจ้าของ โครงการ
การด�ำเนินงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ • ค.ต.ป. ประจ� ำ กระทรวงบาง • ควรมี การซั ก ซ้ อ มความเข้ า ใจ • ค.ต.ป. กระทรวงคัดเลือกโครงการไม่สอดคล้อง กับคณะกรรมการตรวจสอบฯ ในการ • อ.ค.ต.ป. กลุ่ม ด� ำ เนิ น การสอบทานกรณี พิ เ ศษตาม กระทรวง ตามหลักเกณฑ์ที่ ค.ต.ป. ก�ำหนด แนวทางทีก่ ำ� หนด รวมทัง้ ควรจัดประชุม • ค.ต.ป. ประจ�ำ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง และ ค.ต.ป. กระทรวง ประจ�ำกระทรวงเพื่อพิจารณาคัดเลือก โครงการเพื่ อ สอบทานกรณี พิเ ศษใน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ และประเมิน ความเป็ น ไปได้ ใ นการบู ร ณาการ การตรวจสอบโครงการพิเศษร่วมกัน 130 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ข้อค้นพบ • ข้อเสนอแนะของ ค.ต.ป. ประจ�ำ กระทรวงยังไม่ได้น�ำไปปฏิบัติอย่างเป็น รูปธรรมเท่าที่ควร เนื่องจากหน่วยงาน ยังไม่เข้าใจถึงบทบาทภารกิจ และหน้าที่ ของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวง
๖.๒ กรณีจังหวัด • กลไกการแก้ ไ ขปั ญ หาในระดั บ พื้นที่ยังไม่มีความชัดเจน ไม่มีหน่วย งานหลั ก เพื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ แ ก้ ไ ขปั ญ หา ระหว่างการด�ำเนินโครงการ และในการ ด�ำเนินโครงการยังขาดการวางระบบงาน ที่ จ ะเอื้ อ ให้ บั ง เกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ ประชาชน • บุคลากรไม่เพียงพอต่อการปฏิบตั งิ าน และขาดแคลนบุ ค ลากรที่ มี ค วามรู ้ ความสามารถ โดยเฉพาะหน่วยงานระดับ พืน้ ที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ (อปท.) ธุรกิจขนาดเล็กและชุมชน ขาดความรู้ ด้านทีจ่ ำ� เป็น เช่น ด้านการบริหารจัดการ
ข้อเสนอแนะ • ค.ต.ป. ควรมี ก ารชี้ แ จงและ ท�ำความเข้าใจกับหน่วยงานให้ได้รับ ทราบบทบาทหน้าที่ของ ค.ต.ป. และ อ.ค.ต.ป. คณะต่าง ๆ เพือ่ จะได้มคี วามรู้ ความเข้ า ใจในขั้ น ตอนและแนวทาง การด�ำเนินงานและการจัดท�ำรายงาน ผลการด�ำเนินงาน การจัดส่งเอกสารที่ เกี่ยวข้อง ตลอดจนกรอบระยะเวลาใน การด�ำเนินการตามแนวทางการตรวจ สอบและประเมิ น ผลภาคราชการที่ ค.ต.ป. ก�ำหนด • ผู ้ บ ริ ห ารควรน� ำ ข้ อ สั ง เกตของ ค.ต.ป. ประจ�ำกระทรวงไปพิจารณา ปรับปรุงการด�ำเนินงาน และให้ความ ส�ำคัญกับการติดตามประเมินผลการ ด� ำ เนิ น งานเพื่ อ น� ำ ไปสู ่ การปรั บ ปรุ ง คุณภาพการให้บริการให้สามารถสนอง ความต้องการของประชาชนได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและคุ้มค่า • คณะกรรมการนโยบายระดั บ ชาติควรเป็นกลไกหลักในการสั่งการ และเชื่อมโยงหน่วยงานของรัฐกับภาค เอกชน และภาคีทเี่ กีย่ วข้อง นอกจากนี้ หน่วยงานในส่วนกลางควรสนับสนุน งบประมาณและบุคลากรด�ำเนินงาน อย่างเพียงพอและเหมาะสม
หน่วยงานรับผิดชอบ • ค.ต.ป. • อ.ค.ต.ป. กลุ่ม กระทรวง • ค.ต.ป. ประจ�ำ กระทรวง
• ปลัดกระทรวง • อธิบดี
• ปลัดกระทรวง • อธิบดี • ผู้วา่ ราชการจังหวัด • ส�ำนักงบประมาณ • ส�ำนักงาน ก.พ.
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 131
ข้อค้นพบ • ขาดการวางแผนนโยบายและ ก�ำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด และทิศทางที่ชัดเจนและสอดคล้องกัน • ในการด�ำเนินโครงการมีการส�ำรวจ สภาพปัจจุบันของพื้นที่ และสร้างระบบ การมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็น จากประชาชนผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ไม่ ม าก เท่าที่ควร
• ขาดเอกภาพการท�ำงานและขาด การบูรณาการในการท�ำงานและนโยบาย ระหว่างภาคีที่เกี่ยวข้อง ทั้งในระดับส่วน กลาง ส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น ส่งผลให้ ภาพรวมยังไม่เกิดการบูรณาการร่วมกัน ทิศทางการด�ำเนินการจึงไม่เป็นไปใน แนวทางเดียวกัน รวมทั้ง นโยบายระดับ ชาติยังไม่สามารถน�ำไปสู่การปฏิบัติใน พื้นที่ได้อย่างเป็นรูปธรรม
ข้อเสนอแนะ • ในการจั ด ท� ำ โครงการควรให้ ความส� ำ คั ญ ในความสอดคล้ อ งของ เป้ า ประสงค์ ตั ว ชี้ วั ด ความส� ำ เร็ จ ผลผลิ ต ผลลั พธ์ ของโครงการ และ ความคุ ้ ม ค่ า ของโครงการทั้ ง ในมิ ติ งบประมาณ และมิตทิ างสังคมควบคูก่ นั ทั้งนี้ การพิจารณาอนุมัติโครงการ ควรให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การน� ำ ราย ละเอียดโครงการข้างต้นมาประกอบ การจัดสรรและอนุมตั งิ บประมาณ รวมทัง้ การจัดสรรงบประมาณให้มกี ารกระจายตัว และเกิดประโยชน์กับประชาชนอย่าง ทั่วถึง นอกจากนี้ส่วนราชการและจังหวัด ควรชี้แจงท�ำความเข้าใจกับประชาชน ในพื้ น ที่ แ ละผู ้ ที่ มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย ทั้ ง ก่ อ นเริ่ ม โครงการ ขณะด� ำ เนิ น โครงการ และสิ้นสุดโครงการ เพื่อให้ เกิ ด ความเข้ า ใจที่ ถู ก ต้ อ ง โปร่ ง ใส ตรวจสอบได้ • ควรสร้ า งกลไกการบู ร ณาการ ในภาพรวมและการมี ส ่ ว นร่ ว มของ ภาคประชาชน ตั้ ง แต่ การวางแผน เพื่อก�ำหนดทิศทางและนโยบายการ ด� ำ เนิ น งาน การประสานเชื่ อ มโยง โครงการ และการติดตามประเมินผล เพื่อให้การด�ำเนินโครงการสอดคล้อง กับความต้องการของประชาชนและ ปัญหาของชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน
132 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
หน่วยงานรับผิดชอบ • ปลัดกระทรวง • อธิบดี • ผู้วา่ ราชการจังหวัด • ส�ำนักงานคณะ กรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ • ส�ำนักงบประมาณ • คณะกรรมการ บริหารงานจังหวัด และกลุ่มจังหวัด แบบบูรณาการ (ก.บ.จ.)
• ปลัดกระทรวง • อธิบดี • ผู้วา่ ราชการจังหวัด
ภาคผนวก ๑ • ระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ • ระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ • ระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๒
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 135
136 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 137
138 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 139
140 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 141
142 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 143
144 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ภาคผนวก ๒ องค์ประกอบและอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบและ ประเมินผลภาคราชการ คณะต่าง ๆ • คณะอนุ ก รรมการตรวจสอบและประเมิ น ผลภาคราชการเกี่ ย วกั บ การก� ำ หนด แนวทาง วิธีการ การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ • คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการเฉพาะกิจเกีย่ วกับการก�ำหนด แนวทาง วิธกี ารการบูรณาการระบบการตรวจสอบและประเมินผลของหน่วยงานกลาง ที่อยู่ในก�ำกับของราชการฝ่ายบริหาร • คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มกระทรวง ๔ คณะ • คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัด ๕ คณะ • คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวง ๒๐ คณะ
คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ เกี่ยวกับการกำ�หนดแนวทาง วิธีการ การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ คำ�สั่ง ค.ต.ป. ที่ ๔ / ๒๕๕๓ ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๓ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖. ๑๗. ๑๘.
ศาสตราจารย์โกวิทย์ โปษยานนท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประวิตร นิลสุวรรณากุล ปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงมหาดไทย ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงบประมาณ เลขาธิการ ก.พ. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เลขาธิการ ก.พ.ร. อธิบดีกรมบัญชีกลาง ศาสตราจารย์เกียรติคุณเกษรี ณรงค์เดช รองศาสตราจารย์ครรชิต มาลัยวงศ์ นายบุญญรักษ์ นิงสานนท์ ศาสตราจารย์ปกรณ์ อดุลพันธุ์ นายวัฒนา รัตนวิจิตร นายสารสิน วีระผล นายอรัญ ธรรมโน นางสุพรรณี ไพรัชเวทย์ รองเลขาธิการ ก.พ.ร. ๑๙. นางสาวศรีประภา ถมกระจ่าง ผู้เชี่ยวชาญส�ำนักงานเลขานุการ ค.ต.ป. ส�ำนักงาน ก.พ.ร.
ประธานอนุกรรมการ รองประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและ เลขานุการ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 147
อ�ำนาจหน้าที่ ๑. ก�ำหนดแนวทาง วิธกี าร การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ รวมถึงประเด็นหัวข้อการตรวจสอบ และประเมินผล ๒. ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลในระดับกระทรวง และจังหวัดของคณะอนุกรรมการตามข้อ ๑๓ (๗) แห่งระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๓. ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการ ๔. จัดท�ำรายงานผลการติดตามและประเมินผลภาคราชการฉบับสมบูรณ์ เพื่อเสนอคณะกรรมการ ตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการให้ความเห็นชอบก่อนที่จะเสนอนายกรัฐมนตรีและ คณะรัฐมนตรีต่อไป ๕. แต่งตั้งคณะท�ำงานเพื่อด�ำเนินการตามค�ำสั่งนี้ ๖. ก�ำหนดให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานใดของรัฐจัดส่งเอกสารข้อมูลชี้แจงข้อเท็จจริง และด�ำเนินการอื่น ๆ แก่คณะอนุกรรมการ อนุกรรมการหรือผู้ได้รับมอบหมายตามค�ำสั่งนี้ ๗. ปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการมอบหมาย
148 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการเฉพาะกิจ เกี่ยวกับการกำ�หนดแนวทาง วิธีการการบูรณาการระบบการตรวจสอบและประเมินผล ของหน่วยงานกลางที่อยู่ในกำ�กับของราชการฝ่ายบริหาร คำ�สั่ง ค.ต.ป. ที่ ๕ / ๒๕๕๓ ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๓ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖. ๑๗.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประวิตร นิลสุวรรณากุล รองศาสตราจารย์กมเลศน์ สันติเวชชกุล รองศาสตราจารย์ครรชิต มาลัยวงศ์ ว่าที่ร้อยตรี เจริญศักดิ์ เอกสมาธิกุล รองศาสตราจารย์ปกรณ์ ปรียากร ศาสตราจารย์ปกรณ์ อดุลพันธุ์ นายสันติ สาทิพย์พงษ์ ผู้แทนกระทรวงการคลัง ผู้แทนส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี ผู้แทนส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ผู้แทนส�ำนักงบประมาณ ผู้แทนส�ำนักงาน ก.พ. ผู้แทนส�ำนักงาน ก.พ.ร. ผู้แทนกรมบัญชีกลาง ผู้แทนส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ นางสาวศรีประภา ถมกระจ่าง ผู้เชี่ยวชาญส�ำนักงานเลขานุการ ค.ต.ป. ส�ำนักงาน ก.พ.ร. เจ้าหน้าที่กรมบัญชีกลาง
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและ เลขานุการ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 149
อ�ำนาจหน้าที่ ๑. ศึกษา วิเคราะห์ และก�ำหนดแนวทาง วิธีการการบูรณาการระบบการตรวจสอบและประเมินผล ของหน่วยงานกลางที่อยู่ในก�ำกับของราชการฝ่ายบริหาร ๒. ส่งเสริม และผลักดันให้หน่วยงานกลาง รวมทัง้ ส่วนราชการต่าง ๆ สามารถด�ำเนินการตามแนวทาง วิธีการการบูรณาการระบบการตรวจสอบและประเมินผลของหน่วยงานกลางที่อยู่ในก�ำกับของ ราชการฝ่ายบริหารได้ ๓. ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของคณะอนุกรรมการในเรื่องการบูรณาการ ระบบการตรวจสอบและประเมินผลของหน่วยงานกลางที่อยู่ในก�ำกับของราชการฝ่ายบริหาร ๔. ก�ำหนดให้สว่ นราชการ และหน่วยงานอืน่ ของรัฐทีอ่ ยู่ในก�ำกับของราชการฝ่ายบริหารจัดส่งเอกสาร ข้อมูล ชี้แจงข้อเท็จจริง และด�ำเนินการอื่น ๆ แก่คณะอนุกรรมการและผู้ได้รับแต่งตั้งหรือได้รับ มอบหมายตามค�ำสั่งนี้ ๕. แต่งตั้งคณะท�ำงาน ที่ปรึกษา เพื่อช่วยการปฏิบัติหน้าที่ได้ตามความเหมาะสม ๖. ปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการมอบหมาย
150 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัด คำ�สั่ง ค.ต.ป. ที่ ๓/๒๕๕๓ ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๓ • คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัดคณะที่ ๑ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕.
๖.
ศาสตราจารย์เกียรติคุณเกษรี ณรงค์เดช นายไพโรจน์ สุจินดา นายมนตรี เจนวิทย์การ นายวชิระ เพ่งผล ผู้ตรวจราชการส�ำนักนายกรัฐมนตรี นางนพรัตน์ พรหมนารท นักบัญชีช�ำนาญการพิเศษ กลุ่มก�ำกับและพัฒนาการตรวจสอบ ๑ กรมบัญชีกลาง นางชื่นชีวัน ลิมป์ธีระกุล นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช�ำนาญการพิเศษ ผู้อ�ำนวยการส่วนแผนและข้อมูลการตรวจราชการ ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ
• คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัดคณะที่ ๒ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖.
ศาตราจารย์ปกรณ์ อดุลพันธุ์ พลเอกวิชา เตชะวณิชย์ นางสาวสุพัตรา สังข์มงคล นายทินกร ภูวะปัจฉิม ผู้ตรวจราชการส�ำนักนายกรัฐมนตรี นางสาวลดาวัลย์ ค�ำภา รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นางประภาศรี บุญวิเศษ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักตรวจราชการ ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 151
• คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัดคณะที่ ๓ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕.
๖.
นายบุญญรักษ์ นิงสานนท์ นายกิตติ อิทธิวิทย์ รองศาสตราจารย์วัฒนา วงศ์เกียรติรัตน์ นางปราณี สริวัฒน์ ผู้ตรวจราชการส�ำนักนายกรัฐมนตรี นางสาวเกศริน ภัทรเปรมเจริญ นักบัญชีช�ำนาญการพิเศษ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มงานนโยบายและประเมินผล กรมบัญชีกลาง นางสาวพิชญา เปลื้องหน่าย นักวิชาการตรวจสอบภายในช�ำนาญการพิเศษ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ
• คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัดคณะที่ ๔ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕.
๖.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประวิตร นิลสุวรรณากุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์พูลศรี กนกวิจิตร นางสาวทัศนีย์ ดุสิตสุทธิรัตน์ นางนิตยา วงศ์เดอรี ผู้ตรวจราชการส�ำนักนายกรัฐมนตรี นางปรียา บูรณะอนุสรณ์ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มการจัดการงบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด และบูรณาการ งบประมาณในการบริหารราชการในต่างประเทศ ส�ำนักงบประมาณ นางสาวมะลิ ยู้บุญยงค์ นักวิชาการตรวจสอบภายในช�ำนาญการพิเศษ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
152 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ
อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ
• คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัดคณะที่ ๕ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖.
รองศาสตราจารย์ครรชิต มาลัยวงศ์ นางรัศมี วิศทเวทย์ นายประวิตร์ ปุษยะนาวิน นายกมล สุขสมบูรณ์ ผู้ตรวจราชการส�ำนักนายกรัฐมนตรี นางสาวสุรุ่งลักษณ์ เมฆะอ�ำนวยชัย ผู้เชี่ยวชาญส�ำนักงานเลขานุการ ก.น.จ. ส�ำนักงาน ก.พ.ร. นายพีระ ทองโพธิ์ ผู้อ�ำนวยการส่วนตรวจสอบและพัฒนาขีดสมรรถนะและ ศักยภาพของหน่วยงาน ส�ำนักตรวจราชการ ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ
อ�ำนาจหน้าที่ ๑. ก�ำหนดนโยบายด้านตรวจสอบและประเมินผลของกลุม่ จังหวัดและจังหวัดให้สอดคล้องกับนโยบาย และแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลในภาคราชการทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการก�ำหนด รวมทั้งก�ำหนดประเด็นหัวข้อการตรวจสอบและประเมินผลของกลุ่มจังหวัด และจังหวัดตามที่เห็นสมควร ๒. สอบทาน ส่งเสริม และเสนอแนะมาตรการ เพื่อให้แต่ละกลุ่มจังหวัดและจังหวัดด�ำเนินการ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ และหลักการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี ๓. จัดท�ำรายงานผลการติดตามและประเมินผลตามที่คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการก�ำหนด ๔. ปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการมอบหมาย
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 153
จังหวัดในความรับผิดชอบของ คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัด • คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัดคณะที่ ๑ ๑. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน ๑ ได้แก่ (๑) จังหวัดนนทบุรี (๒) จังหวัดปทุมธานี (๓) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (๔) จังหวัดสระบุรี ๒. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน ๒ ได้แก่ (๑) จังหวัดชัยนาท (๒) จังหวัดลพบุรี (๓) จังหวัดสิงห์บุรี (๔) จังหวัดอ่างทอง ๓. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง ได้แก่ (๑) จังหวัดฉะเชิงเทรา (๒) จังหวัดปราจีนบุรี (๓) จังหวัดสระแก้ว (๔) จังหวัดนครนายก (๕) จังหวัดสมุทรปราการ ๔. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง ๒ ได้แก่ (๑) จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (๒) จังหวัดเพชรบุรี (๓) จังหวัดสมุทรสงคราม (๔) จังหวัดสมุทรสาคร ๕. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก ได้แก่ (๑) จังหวัดจันทบุรี (๒) จังหวัดชลบุรี (๓) จังหวัดระยอง (๔) จังหวัดตราด 154 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
• คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัดคณะที่ ๒ ๑. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๑ ได้แก่ (๑) จังหวัดเชียงใหม่ (๒) จังหวัดล�ำพูน (๓) จังหวัดล�ำปาง (๔) จังหวัดแม่ฮ่องสอน ๒. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ ได้แก่ (๑) จังหวัดเชียงราย (๒) จังหวัดพะเยา (๓) จังหวัดแพร่ (๔) จังหวัดน่าน ๓. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ๑ ได้แก่ (๑) จังหวัดพิษณุโลก (๒) จังหวัดตาก (๓) จังหวัดเพชรบูรณ์ (๔) จังหวัดสุโขทัย (๕) จังหวัดอุตรดิตถ์
• คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัดคณะที่ ๓ ๑. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง ๑ ได้แก่ (๑) จังหวัดนครปฐม (๒) จังหวัดกาญจนบุรี (๓) จังหวัดราชบุรี (๔) จังหวัดสุพรรณบุรี ๒. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ๑ ได้แก่ (๑) จังหวัดอุทัยธานี (๒) จังหวัดหนองบัวล�ำภู (๓) จังหวัดหนองคาย (๔) จังหวัดเลย (๕) จังหวัดบึงกาฬ ๓. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ๒ ได้แก่ (๑) จังหวัดนครสวรรค์ (๒) จังหวัดอุทัยธานี (๓) จังหวัดก�ำแพงเพชร (๔) จังหวัดพิจิตร รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 155
• คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัดคณะที่ ๔ ๑. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ได้แก่ (๑) จังหวัดสุราษฎร์ธานี (๒) จังหวัดชุมพร (๓) จังหวัดนครศรีธรรมราช (๔) จังหวัดพัทลุง ๒. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน ได้แก่ (๑) จังหวัดภูเก็ต (๒) จังหวัดระนอง (๓) จังหวัดพังงา (๔) จังหวัดกระบี่ (๕) จังหวัดตรัง ๓. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน ได้แก่ (๑) จังหวัดสงขลา (๒) จังหวัดปัตตานี (๓) จังหวัดยะลา (๔) จังหวัดนราธิวาส (๕) จังหวัดสตูล
• คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มจังหวัดคณะที่ ๕ ๑. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ๒ ได้แก่ (๑) จังหวัดนครพนม (๒) จังหวัดมุกดาหาร (๓) จังหวัดสกลนคร ๒. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ได้แก่ (๑) จังหวัดร้อยเอ็ด (๒) จังหวัดขอนแก่น (๓) จังหวัดมหาสารคาม (๔) จังหวัดกาฬสินธุ์ ๓. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ๑ ได้แก่ (๑) จังหวัดอ�ำนาจเจริญ (๒) จังหวัดศรีสะเกษ (๓) จังหวัดยโสธร (๔) จังหวัดอุบลราชธานี ๔. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ๒ ได้แก่ (๑) จังหวัดสุรินทร์ (๒) จังหวัดนครราชสีมา (๓) จังหวัดชัยภูมิ (๔) จังหวัดบุรีรัมย์ 156 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มกระทรวง คำ�สั่ง ค.ต.ป. ที่ ๒/๒๕๕๓ ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๓ • คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖.
นายอรัญ ธรรมโน นายชัยณรงค์ อินทรมีทรัพย์ นางอรดี รุ่งเรืองโรจน์ นายปรเมธี วิมลศิริ รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นางสาวนลินี จันสว่าง ผู้อ�ำนวยการส�ำนักพัฒนาโครงสร้างระบบราชการ ส�ำนักงาน ก.พ.ร. นางสุรีพร ศิริขันตยกุล ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านพัฒนาระบบงานตรวจสอบภายใน กรมบัญชีกลาง
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ
• คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มกระทรวงด้านสังคม ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖.
นายวัฒนา รัตนวิจิตร นางดวงกมล นิธิอุทัย พลโทพลสัณห์ สุทธิรักษ์ นางสุวรรณี ค�ำมั่น รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นายสุมิต แสนกุลศิริศักดิ์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักประเมินผล ส�ำนักงบประมาณ นางสาวนัยนา คงสาหร่าย นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช�ำนาญการพิเศษ ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 157
• คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มกระทรวงด้านความมั่นคงและ การต่างประเทศ ๑. ๒. ๓. ๔.
๕. ๖.
นายสารสิน วีระผล นายวิชิต ญาณอมร นายวีระนนท์ ฟูตระกูล นางสาวเยาวพร ปิยมาพรชัย ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักพัฒนาระเบียบราชการส่วนภูมภิ าคและความสัมพันธ์ กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส�ำนักงาน ก.พ.ร. นางสาวผจงจิตต์ รัตโนทยานนท์ นักทรัพยากรบุคคลเชี่ยวชาญ ส�ำนักงาน ก.พ. นางสาวน�้ำเพชร วงษ์ประทีป นักบัญชีช�ำนาญการ กรมบัญชีกลาง
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ
อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ
• คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุม่ กระทรวงด้านบริหารและส่วนราชการ ไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖.
ศาสตราจารย์โกวิทย์ โปษยานนท์ นายวิสุทธิ์ มนตริวัต นางสาวสุธีพร ดวงโต นายเพิ่มศักดิ์ สัจจะเวทะ ที่ปรึกษาส�ำนักงบประมาณ ส�ำนักงบประมาณ นางประภาศรี บุญวิเศษ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักตรวจราชการ ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี นางวัลนา ภู่ส�ำลี นักวิชาการบัญชีช�ำนาญการ กรมบัญชีกลาง
158 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ อนุกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ
อ�ำนาจหน้าที่ ๑. ก�ำหนดนโยบายด้านการตรวจสอบและประเมินผลของกลุ่มกระทรวง กระทรวงหรือส่วนราชการ ไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง ให้สอดคล้องกับนโยบายและแนวทาง การตรวจสอบและประเมินผลในภาคราชการที่คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาค ราชการก�ำหนด รวมทัง้ ก�ำหนดประเด็นหัวข้อการตรวจสอบและประเมินผลในระดับกลุม่ กระทรวง กระทรวงหรือส่วนราชการไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง ตามที่เห็นสมควร ๒. สอบทานส่วนราชการไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง ๓. รวบรวม วิเคราะห์และสรุปผลเป็นภาพรวมของกลุ่มกระทรวงจากรายงานการตรวจสอบและ ประเมินผลภาคราชการของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวง หรือผลการ สอบทานส่วนราชการไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง ๔. จัดท�ำรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการตามที่คณะกรรมการตรวจสอบและ ประเมินผลภาคราชการก�ำหนด ๕. ปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการมอบหมาย
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 159
ส่วนราชการในความรับผิดชอบของ คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มกระทรวง • คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ กลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙.
กระทรวงการคลัง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงพลังงาน กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
• คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ กลุ่มกระทรวงด้านสังคม ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖.
กระทรวงแรงงาน กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
• คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ กลุ่มกระทรวงด้านความมั่นคงและ การต่างประเทศ ๑. ๒. ๓. ๔.
กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงยุติธรรม
160 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
• คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ กลุม่ กระทรวงด้านบริหารและส่วนราชการ ไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง ๑. หน่วยงานสังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี (๑) ส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (๒) ส�ำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (๓) ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (๔) ส�ำนักข่าวกรองแห่งชาติ (๕) ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี (๖) กรมประชาสัมพันธ์ (๗) ส�ำนักงาน ก.พ. (๘) ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๙) ส�ำนักงาน ก.พ.ร. (๑๐) ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (๑๑) ส�ำนักงบประมาณ (๑๒) ส�ำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ๒. หน่วยงานไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง (๑) ส�ำนักราชเลขาธิการ (๒) ส�ำนักพระราชวัง (๓) ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ (๔) ส�ำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (๕) ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (๖) ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติิ (๗) ราชบัณฑิตยสถาน (๘) ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 161
รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการประจำ�กระทรวง • คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี ๑. ศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร ประธานกรรมการ ๒. นางสาวเพ็ญศรี สรณารักษ์ กรรมการ ๓. นายเชาว์ อรรถมานะ กรรมการ ๔. รองศาสตราจารย์จารุพร ไวยนันท์ กรรมการ ๕. นายสุทธิศักดิ์ เอี่ยมประสิทธิ์ กรรมการ ๖. นายวิสุทธิ์ นิรัตติวงศกรณ์ กรรมการและเลขานุการ ผู้ตรวจราชการส�ำนักนายกรัฐมนตรี ๗. นางอรอุไร เงินรูปงาม กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ผู้ตรวจสอบภายในกระทรวง ๘. ว่าที่ร้อยตรีไชยวุฒิ วุฑฒิรักษ์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช�ำนาญการพิเศษ
• คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงกลาโหม ๑. พลเรือเอก ประเสริฐ บุญทรง ร.น. ๒. พลเอก ธีรรัตน์ พุธานานนท์ ๓. พลอากาศโท สมนึก พาลีบัตร์ ๔. พลเอก บัณฑิต เนียมทันต์ ๕. นางภัทรียา เบญจพลชัย ๖. พลตรี วีรศักดิ์ มูลกัน ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานตรวจสอบภายในกลาโหม ๗. พันเอก ณัฐวุฒิ สุขเกษม ผู้อ�ำนวยการกองตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ส�ำนักงานตรวจสอบภายในกลาโหม ๘. นาวาอากาศเอกหญิง กรรณิการ์ เทียนแก้ว รองผู้อ�ำนวยการกองตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ส�ำนักงานตรวจสอบภายในกลาโหม 162 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
• คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงการคลัง ๑. นายสมชัย ฤชุพันธุ์ ๒. นายวีระชัย ตันติกุล ๓. นายสันติ วิลาสศักดานนท์ ๔. นายดุสิต นนทะนาคร ๕. นางลีนา เจริญศรี ๖. นายสมชัย อภิวัฒนพร หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงการคลัง ๗. นางสาวอร่าม คุปตเมธี ผู้ตรวจสอบภายในกระทรวง ๘. นางศิริลักษณ์ กาญจนโยธิน นักวิชาการตรวจสอบภายในช�ำนาญการพิเศษ
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
• คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงการต่างประเทศ ๑. นายสวนิต คงสิริ ประธานกรรมการ ๒. นางเพลินพิศ โพธิกานนท์ กรรมการ ๓. นางบุษบา บุนนาค กรรมการ ๔. นางอมรา อินทวงศ์ กรรมการ ๕. นางนวลพรรณ มหาคุณ กรรมการ ๖. นายสุรพิทย์ กีรติบุตร กรรมการและเลขานุการ รองปลัดกระทรวงการต่างประเทศ (ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้าผู้ตรวจราชการ) ๗. นายจุมพล มนัสช่วง กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ เอกอัครราชทูตประจ�ำกระทรวง (ก�ำกับดูแลกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร) ๘. นางวัชรา มณีปกรณ์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ หัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายใน
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 163
• คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ๑. นายสีมา สีมานันท์ ประธานกรรมการ ๒. นายสมชาย ประเสริฐศิริพันธ์ กรรมการ ๓. นายนรวัฒน์ สุวรรณ กรรมการ ๔. นายเสรี วังส์ไพจิตร กรรมการ ๕. นางอรสา คุณวัฒน์ กรรมการ ๖. นางดุลยรัตน์ นิธิกฤตานุสรณ์ กรรมการและเลขานุการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช�ำนาญการพิเศษ ๗. นางชัชวรรณ แก้วเรียน กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ นักประชาสัมพันธ์ช�ำนาญการพิเศษ ๘. นายรณกฤต อุดมสุขโกศล กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช�ำนาญการ
• คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ ๑. นางประทิน บริบูรณ์นางกูล ประธานกรรมการ ๒. นางพูนสุข โชติกวณิชย์ กรรมการ ๓. นางสาวกันยา วงศ์อภัย กรรมการ ๔. นางอัญชลี มีมุข กรรมการ ๕. นายสัมพันธ์ สุวรรณทับ กรรมการและเลขานุการ ผู้อำ�นวยการสำ�นักตรวจและประเมินผล กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ๖. นางนาฎยา ทินกร ณ อยุธยา ผู้ตรวจสอบภายในกระทรวง ๗. นางประภาวดี สิงหวิชัย กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ นักสังคมสงเคราะห์ชำ�นาญการ
164 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
• คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๑. นายประสงค์ วรรณเขจร ประธานกรรมการ ๒. นายธงไชย เพ็ชรรัตน์ กรรมการ ๓. นายชัยวัฒน์ ปรีชาวิทย์ กรรมการ ๔. นายชนวน รัตนวราหะ กรรมการ ๕. นายชัยรัตน์ ชุมศรี กรรมการ ๖. นางสาวรานี นิติธรรม กรรมการและเลขานุการ ผู้อำ�นวยการสำ�นักตรวจสอบภายใน ๗. นายสุรพงษ์ เจียสกุล กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ผู้อำ�นวยการสำ�นักพัฒนาระบบบริหาร ๘. นายอุดม ภัคมงคล กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ผู้อำ�นวยการสำ�นักตรวจราชการ
• คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงคมนาคม ๑. นายสถิตย์ ลิ่มพงศ์พันธุ์ ๒. ศาสตราจารย์วรภัทร โตธนะเกษม ๓. นายสุพจน์ คำ�ภีระ ๔. นายบรรเจิด อภินิเวศ ๕. นายเอนก อัมระปาล ๖. นางสาวนวพร วิทยานันท์ หัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ๗. นางสาวเพ็ญศรี ลิ้มชนะกุล นักวิชาการเงินและบัญชีชำ�นาญการพิเศษ ๘. นายก้องเกียรติ เกิดศรีพันธุ์ นักวิชาการตรวจสอบภายในชำ�นาญการพิเศษ
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 165
• คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๑. นายสุรินทร์ เศรษฐมานิต ประธานกรรมการ ๒. นายประจญ เจริญศรี กรรมการ ๓. นายสมศักดิ์ โพธิสัตย์ กรรมการ ๔. นางวจี รามณรงค์ กรรมการ ๕. นายสุนทร อรุณานนท์ชัย กรรมการ ๖. นางอุดมวรรณ ก้าวสัมพันธ์ กรรมการและเลขานุการ หัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ๗. นายวรพล จันทร์งาม กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักตรวจและประเมินผล ๘. นายสมเดช ชุนถนอม กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
• คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ๑. ศาสตราจารย์สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ประธานกรรมการ ๒. นายสิริวัฒน์ พรหมบุรี กรรมการ ๓. รองศาสตราจารย์อธิคม ฤกษบุตร กรรมการ ๔. นางอรพรรณ สุวรรณรัตน์ กรรมการ ๕. นายชยางกูร ภมรมาศ กรรมการ ๖. นางสาวอุบล โรจน์รัชนีกร กรรมการและเลขานุการ นักวิชาการตรวจสอบภายในเชี่ยวชาญ ผู้อำ�นวยการกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ๗. นางสาวเต็มดวง นิมิตรพันธ์ นักวิชาการตรวจสอบภายในชำ�นาญการพิเศษ ๘. นางสาวพิยะดา สุดกังวาล นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการพิเศษ ผู้อำ�นวยการกลุ่มงานติดตามและประเมินผล
166 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
• คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงพลังงาน ๑. นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ ๒. นายปราโมทย์ เอี่ยมศิริ ๓. นายเจริญ ประจ�ำแท่น ๔. นายสนิท อักษรแก้ว ๕. นายนเรศ สัตยารักษ์ ๖. นายอ�ำนวย ทองสถิตย์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงพลังงาน ๗. นางอิ่มเอม พุกกะเวส หัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายใน ๘. นายประเทือง ชะอุ่ม ผู้อ�ำนวยการกองตรวจและประเมินผล
• คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงพาณิชย์ ๑. นางสาวพจนีย์ ธนวรานิช ๒. รองศาสตราจารย์ ดร.จีรเดช อู่สวัสดิ์ ๓. นายพิษณุ เหรียญมหาสาร ๔. รองศาสตราจารย์ ฐิติพันธุ์ เชื้อบุญชัย ๕. นายอิสระ ว่องกุศลกิจ ๖. นางศิรินาถ เซ็นนันท์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักพัฒนาระบบบริหาร ๗. นางสาวนาตยา ดาวเรือง นักวิชาการตรวจสอบภายในช�ำนาญการพิเศษ รักษาการในต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการส�ำนักตรวจสอบภายใน ๘. นางชไมพร ล้วนเส้ง นักวิชาการพาณิชย์ช�ำนาญการ
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 167
• คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงมหาดไทย ๑. นายโกเมศ แดงทองดี ๒. นายวรเกียรติ สมสร้อย ๓. นายนิคม เกิดขันหมาก ๔. นายทรงพล ทิมาศาสตร์ ๕. นายสุชาติ สหัสโชติ ๖. นางนภา ศกุนตนาค ผู้ตรวจสอบภายในกระทรวงมหาดไทย ๗. นางสาวมะลิ ยู้บุญยงค์ นักวิชาการตรวจสอบภายในช�ำนาญการพิเศษ ๘. นางสาวพิชญา เปลื้องหน่าย นักวิชาการตรวจสอบภายในช�ำนาญการพิเศษ
• คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงยุติธรรม ๑. นายสุเมธ อุปนิสากร ๒. นายมติ ตั้งพานิช ๓. นายภุมรัตน ทักษาดิพงศ์ ๔. นายปิยพันธ์ุ นิมมานเหมินท์ ๕. นายเสกสรร รอยลาภเจริญพร ๖. นางสาวสวาสดิ์ อินทวังโส หัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ๗. นางสาวเพชรา ภาคีมนต์ หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ๘. นายประสิทธิ์ ทักษะกรวงศ์ หัวหน้าส�ำนักผู้ตรวจราชการ กระทรวงยุติธรรม
168 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
• คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงแรงงาน ๑. ศาสตราจารย์ ดร.โกเมน ภัทรภิรมย์ ๒. นายโกวิท ตันติวงค์ ๓. นายสุดจิต นิมิตกุล ๔. นายสหาย ทรัพย์สุนทรกุล ๕. นางพูนผล บุญไทย ผู้อำ�นวยการกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ๖. นางจุฑารัตน์ จันทร์วิกูล ผู้อำ�นวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ๗. นางสาวรัชนี ศรีชนะชัยโชค ผู้ตรวจสอบภายในกระทรวง
• คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงวัฒนธรรม ๑. นายพะนอม แก้วกำ�เนิด ๒. นายสิริชัยชาญ ฟักจำ�รูญ ๓. นายกล้า สมตระกูล ๔. นายสุรอรรถ ทองนิรมล ๕. นายสมโภชน์ นพคุณ ๖. นางจันทิมา จริยเมโธ หัวหน้าผู้ตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ๗. นางอรอนงค์ ไกยูรวงศ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการพิเศษ ๘. นางวรรณวิภา จาปะสุข นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการพิเศษ ผู้อำ�นวยการกองตรวจและประเมินผล
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 169
• ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖.
คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายสันทัด สมชีวิตา ประธานกรรมการ นายเขมทัต สุคนธสิงห์ กรรมการ นายอิทธิ พิชเยนทรโยธิน กรรมการ นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล กรรมการ นางนงลักษณ์ ปานเกิดดี กรรมการ นางอรุณี พงษ์มะลิวัลย์ กรรมการและเลขานุการ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ๗. นางสาวอาภาภรณ์ เล้าวัฒกีพงศ์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ นักวิชาการตรวจสอบภายในชำ�นาญการพิเศษ • ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖.
คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงศึกษาธิการ นายกมล จันทิมา ประธานกรรมการ นางมัณฑนา ศังขะกฤษณ์ กรรมการ นายบุญลือ ทองอยู่ กรรมการ นางสาวมัณฑนา ปิยะมาดา กรรมการ นายสมเชาว์ เกษประทุม กรรมการ กรรมการและเลขานุการ นางนันทา อนะมาน หัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง ๗. นายเชิดศักดิ์ ศรีศักดิ์วิชัย กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ๘. นายสมศักดิ์ เลิศปรีชาสกุล • ๑. ๒. ๓. ๔.
คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงสาธารณสุข นายพายัพ พยอมยนต์ ประธานกรรมการ นายยุทธ โพธารามิก กรรมการ นายชำ�นาญ ภู่เอี่ยม กรรมการ นายโสภณ เมฆธน กรรมการและเลขานุการ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข ๕. นายปภัสสร เจียมบุญศรี กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ๖. นางพรทิพย์ วงศ์รัตนพงษ์ หัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง 170 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
• ๑. ๒. ๓. ๔.
คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงอุตสาหกรรม นายสุพัฒน์ ลิมปาภรณ์ ประธานกรรมการ นายวัลลภ วรรธนวศิน กรรมการ นายสุชาติ พิศิษฐวานิช กรรมการ นายอุดม วงศ์วิวัฒน์ไชย กรรมการและเลขานุการ หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงอุตสาหกรรม ๕. นางสาวทัศนียา ลัธธนันท์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ผู้ตรวจสอบภายในกระทรวง ๖. นางพรทิพย์ เฟื่องอารมย์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
อ�ำนาจหน้าที่ ๑. ก�ำกับดูแลระบบการตรวจสอบและประเมินผลของกระทรวงและหน่วยงานในสังกัดให้เป็นตาม มาตรฐานที่คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการก�ำหนด ๒. สอบทาน ติดตาม และประเมินผลการปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานราชการ และเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหา ๓. สอบทานรายงานผลการด�ำเนินงานและรายงานผลสถานะทางการเงินของกระทรวงและหน่วยงาน ในสังกัด ๔. รายงานผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงให้รฐั มนตรี พร้อมทัง้ ส่งส�ำเนาให้ปลัดกระทรวงและคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการทราบ ทุกหกเดือน เว้นแต่มีเรื่องจ�ำเป็นเร่งด่วนให้ รายงานทันที ๕. เรียกให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคลอื่นใดมาชี้แจงหรือแสดงความคิดเห็นหรือเรียกเอกสารหลักฐาน ต่าง ๆ เพื่อประกอบการพิจารณา ๖. ปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการมอบหมาย
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 171
ภาคผนวก ๓ รายชื่อฝ่ายสนับสนุนคณะกรรมการตรวจสอบ และประเมินผล คณะต่าง ๆ
รายชื่อฝ่ายสนับสนุนคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผล คณะต่าง ๆ คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ๑. นางสาวศรีประภา ถมกระจ่าง ๔. นางวาสนา จัตุพร ๒. นางเยาวลักษณ์ ตั้งบุญญะศิริ ๕. นายอภิศักดิ์ หัตถะแสน ๓. นางสาวเพ็ญนภา ปานชื่น ๖. นางสาวสุธาทิพย์ ปานแม้น คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการเกี่ยวกับการก�ำหนดแนวทางฯ ๑. นางเยาวลักษณ์ ตั้งบุญญะศิริ ๔. นายอภิศักดิ์ หัตถะแสน ๒. นางสาวเพ็ญนภา ปานชื่น ๕. นางสาวสุธาทิพย์ ปานแม้น ๓. นางวาสนา จัตุพร คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจ ๑. นางนันท์ชญาน์ จิรากร ๕. นายปิยะ ไวจงเจริญ ๒. นางสาวภารณี วัฒนา ๖. นางสาวน�้ำเพชร วงศ์ประทีป ๓. นางสาววิมลมาส ประยงค์ทรัพย์ ๗. นางสาวสุภาพร สิรวณิชย์ ๔. นายธีระพงษ์ มาลัยทอง คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุ่มกระทรวงด้านสังคม ๑. นางรุ่งนภา เพ็ชรพรหมศร ๓. นายกฤตยา ศรีสุข ๒. นางสาวศรี ศรีงาม คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกลุม่ กระทรวงด้านความมัน่ คงและการต่างประเทศ ๑. นายทวีศักดิ์ วาณิชย์เจริญ ๒. นางสาววนิดา สุวรรณประภา
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 175
คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ กลุ่มกระทรวงด้านบริหารและส่วนราชการไม่สังกัดกระทรวงหรือทบวง ๑. นายกฤตยา ศรีสุข ๓. นางสาวบุษรัตน์ วารีรักษ์ ๒. นางกาญจนา กิ้มนวล คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๑ ๑. นางอารีย์ ทีฆะพันธุ์ ๔. นายจิรายุทธ ชมพจนานันท์ ๒. นางสุพัตรา ดวงภุมเมศ ๕. นางสาวศศิวิมล กัวสุวรรณ์ ๓. นางสาวประสานสุข รอดสุวรรณ คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๒ ๑. นายจิระศักดิ์ เขียนนิล ๓. นางวรารัตน์ ม่วงปาน ๒. นางสาวสุธาสินี กุศลสร้าง คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๓ ๑. นางสาวปาริชาติ อมรเลิศวิมาน ๒. นางสาวมานิตา เฉลิมทรงศักดิ์ คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๔ ๑. นายจิระศักดิ์ เขียนนิล ๓. นางสาวทัศนีย์ ทองจุ่น ๒. นางสาวสุโลจนี ศรีแกล้ว คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ กลุ่มจังหวัดคณะที่ ๕ ๑. นายอนุ แย้มแสง ๓. นางสาวปัญจพาณ์ ดีขจรเดช ๒. นายสิริชัย ค�ำชมภู
176 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี ๑. นางสุจิตร โชติพณิช ๕. นางเพ็ญภา กาญจนพัฒนกุล ๒. นางอุไรวรรณ เจียกุลธร ๖. นายชัยณรงค์ โพธิ์สวรรค์ ๗. นางสาวปิยะวรรณ นาอุดม ๓. นางเพลินพิศ โพธิสัตย์ ๔. นางสาวสุจิตรา อนุนันตกุล คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงกลาโหม ๑. พันโท สมรัชต สัมมาคาม ๓. นาวาโทหญิง ทิพวัลย์ มณีโชติรัตน์ ๒. ว่าที่พันโท ฉัตรชัย แย้มวิบูลย์ ๔. ว่าที่ร้อยตรีหญิง นิตยา สงกา คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงการคลัง ๑. นางสิริกานต์ มหาลี้ตระกูล ๓. นางสาววรรณพร สงึมรัมย์ ๒. นางนงนุช คุณรัตนไตร คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงการต่างประเทศ ๑. นางอัญญาพร เลิศพงศาภรณ์ ๓. นางชลธิฌา เจริญรัตน์ ๒. นางสาวเนตรชนก เกษโรจน์ ๔. นางสาวกาญจนา สุทธิชยาพิพัฒน์ คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ๑. นางสาวธัญชนิต ค�ำเลิศ คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๑. นางมนทกานติ์ จุลพรหม ๔. นางสาวจิรนันท์ ยอดด�ำ ๒. นางสาวหทัยรัตน์ ช่อชัยพฤกษ์ ๕. นางสาวนฤมล อดิเรกโชติกุล ๓. นางอิศราพร จิตต์อุไร ๖. นางจิรนันท์ พงศ์ส�ำราญ
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 177
คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงคมนาคม ๑. นางดวงใจ อนุสรณ์ชัย ๒. นางกชกร กมลแมน คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๑. นางสาวศศิธร ศรีทอง ๓. นางสาวสมพร มูลกิติ ๒. นางสาวเจนจิรา อินชุ่ม ๔. นางสาวมยุรี กาญจนาคม คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ๑. นางสาวปัทมาวดี พงษ์สวัสดิ์ ๒. นางสาวฐิติมา วงษ์รอด คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงพลังงาน ๑. นางมยุเรศ เชยปรีชา ๒. นายกฤชชัย อุทิศผล คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงพาณิชย์ ๑. นายสมพร ธรรมบูชิต ๒. นางสุนิดา นพคุณ คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงมหาดไทย ๑. นางสาวณัฐพร แตงอยู่สุข ๒. นางสาวกาหลง เพ็ญขันธ์ คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงยุติธรรม ๑. นางสาวสุวลักษณ์ สุทัศน์ ณ อยุธยา ๓. นางสาวมณีรัตน์ คูศรีเทพประทาน ๒. นางสาวอมรรัตน์ ทนทอง ๔. นางอรชา อยู่แจ้ง คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงวัฒนธรรม ๑. นางคมสิริ โสภา ๓. นางวรวรรณ ฤทธิเดชะ ๒. นางกรรณิกา หาญเวช 178 | คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.)
คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงศึกษาธิการ ๑. นางนงนภัส ล�้ำภักดี ๓. นางสาวภัทราภรณ์ พัตรสงวน ๒. นางสาวรุ้งทิพย์ เมืองโครต คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ๑. นางสาวเพชรชรักษ์ สุดสาย คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงแรงงาน ๑. นางลักขณา บุญสนอง ๓. นางสาวปราณี ธีระวิทย์ ๒. นางถวิล เพิ่มเพียรสิน คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑. นางสาวศศิชา อมแย้ม ๔. นางสาวจินดา นริศรานุกูล ๒. นางบรรจงจิตร พานิชย์พัฒนานนท์ ๕. นางจุฑาทิพ เหล่าวิศาลสุวรรณ ๓. นางอัจฉรา คงใหญ่ ๖. นางสาวเสาวนีย์ พรสุขเพิ่มพูน คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงสาธารณสุข ๑. นางอาภรณ์ วิเชียร ๓. นางสุนีย์ สว่างศรี ๒. นายยุทธนา พูนพานิช คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำกระทรวงอุตสาหกรรม ๑. นางสาวพรศิริ ค้าเจริญ ๒. นางสาวรุ่งทิพย์ เบี้ยวเก็บ
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 179
ภาคผนวก ๔ แผ่นบันทึกข้อมูลรายงานผลการตรวจสอบและ ประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ คณะต่าง ๆ
รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ | 183