Webmastr e-Magazine Vol. 1

Page 1



สวัสดี ครับ เพื่ อนสมาชิ กสมาคมผู ดูแลเว็ บ ไเมื่อวันที่ 16 – 17 สิงหาคมที่ผานมา กรรมการบริหารสมาคมผูดูแลเว็บไทยไดจัดประชุมสัญจร ขึ้นเพื่อระดมสมองกันวาสมาคมฯ ควรจะทําโครงการอะไรใหแกสมาชิกและแกสังคมบาง ซึ่งเรา ไดโครงการดีๆ ออกมามากมาย ตอจากนี้ไปสมาชิกทุกทานจะไดเริ่มเห็นโครงการตางๆ ถูก เปดตัวออกมาเรื่อยๆ ครับ หัวขอหนึ่งที่กรรมการใหความสําคัญอยางมากก็คือ เรื่องสิทธิประโยชนของสมาชิก ซึ่งถือเปน คําถามคลาสสิกที่กรรมการทุกชุดตางก็พยายามหาคําตอบใหไดวา “เปนสมาชิกสมาคมผูดูแล เว็บไทยแลวไดอะไร?” ที่ผานมา ประโยชนของการเปนสมาชิกก็คือการ “ไดเปน” สมาชิก นั่นคือไดมีสวนในการ สนับสนุนสมาคมฯ ทําใหสมาคมฯ สามารถทําโครงการดีๆ ออกมาสูสังคมได ไมวาจะเปนการ รวมมือกับสํานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งเพื่อประชาสัมพันธการเลือกตั้งวุฒิสมาชิกเมื่อป ที่แลว การทําเว็บไซตคลังปญญาไทยเพื่อใหเปนแหลงความรูที่มีคุณคาแกเยาวชนและบุคคล ทั่วไป หรือโครงการ INET Young Webmaster Camp ซึ่งเปนคายอบรมนิสิตนักศึกษาใหเติบโต ไปเปนเว็บมาสเตอรที่ดี ที่ปนี้จัดเปนครั้งที่ 6 แลว แตเชื่อไหมครับวาที่ผานมา สมาคมฯ มีสมาชิกนอยนิดเหลือเกิน นอยขนาดที่วาคาธรรมเนียม สมาชิกไมพอจายเงินเดือนใหเจาหนาที่ของสมาคมเลยดวยซ้ํา (สวนกรรมการไมไดเบี้ยประชุม นะครั บ ทุ กท านอาสาเข ามาช วยงานสมาคมฯ ด วย “ใจ” จริ งๆ) การที่ สมาคมฯ สามารถ ดําเนินงานมาจนถึงทุกวันนี้ไดก็ดวยการขอทุนจากภาครัฐเพื่อใชทําโครงการดีๆ เพื่อสังคม หรือขอการสนับสนุนจากภาคเอกชนเพื่อจัดกิจกรรมตางๆ ใหกับคนในวงการเว็บ แตในยุคที่ บานเมืองยังมีความสับสนวุนวายอยู ก็ไมใชเรื่องงายเลยครับที่จะหาเงินทุนจากภายนอกเขามา หลอเลี้ยงสมาคมฯ ยอนกลับมาที่เรื่องสิทธิประโยชนของสมาชิก กรรมการเชื่อวาที่สมาคมฯ มีจํานวนสมาชิกนอย มาก สวนหนึ่งคงเปนเพราะไมรูวาเปนสมาชิกแลวไดอะไรที่นอกเหนือจากการ “ไดเปน” สมาชิก นี่จึงเปนที่มาวาทําไมงานจิบกาแฟคนทําเว็บถึงตองจํากัดเฉพาะสมาชิกเทานั้น เหตุผลหนึ่งคือ เพื่ อทํ าให งานนี้ เป นสิ ทธิ ประโยชน ของสมาชิ ก อี กเหตุ ผลหนึ่ งก็ เพื่ อประหยัดค าขนมและ เครื่องดื่มที่สมาคมฯ จัดเลี้ยงใหครับ


สิทธิประโยชนตอมาที่สมาคมฯ มีใหก็คือ Webmastr e-Magazine ที่ทานกําลังอานอยูนี้ สมาคมฯ ไดจัดทําอีแมกกาซีนที่ รวบรวมบทความสาระความรูสําหรับคนทําเว็บใหอานกันไดฟรีๆ ซึ่งจะสงใหทานทางอีเมลทุกเดือน นอกจากนี้ยังมีสวน ของ Membr News หรือขาวประชาสัมพันธที่สมาชิกทุกทานสามารถฝากขาวเขามาไดดวยครับยังมีสิทธิประโยชนอื่นๆ อีกหลายอยางที่สมาคมฯ กําลังริเริ่มที่จะผลักดันออกมา ซึ่งจะแจงใหสมาชิกทุกทานทราบตอไปครับ เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม ผมมีโอกาสไปรวมงาน BarCamp Bangkok ซึ่งเปนงานสัมมนานอกกรอบที่กลุม Geek ชวยกันจัด ขึ้นมา งานนี้ผมไดเจอนองในวงการเว็บคนหนึ่งที่เขามาคุยดวย และบอกวาอยากอาสาเขามาชวยงานสมาคมฯ มาก แตติด ที่วาเขาคิดวาจะตองเปนเจาของเว็บไซตที่มีโดเมนเนมเปนของตัวเองกอนถึงจะสมัครเปนสมาชิกสมาคมฯ และเขามา ชวยงานได โดยที่เขาเปนเพียงบล็อกเกอรที่ไปใชพื้นที่ของเว็บไซต Blog Provider อยู จึงไมไดมีโดเมนเนมของตัวเอง ผมจึ ง อธิ บ ายไปว า ตามข อ บั ง คั บ ของสมาคมฯ แล ว ไม จํ า เป น จะต อ งเป น เจ า ของเว็ บ ไซต ที่ มี โดเมนเนมเปนของตัวเองก็ได เพราะในคุณสมบัติ ข อ ง ผู ส มั ค ร ส ม า ชิ ก ส ม า ค ม ฯ (http://www.webmaster.or.th/member) ข อ 2.1 ระบุ ว า “ต อ งมี เ ว็ บ ไซต เ ป น ของตนเอง แต ไ ม จําเปนตองจดทะเบียนโดเมน” นั่นแปลวาแคเปน เจาของบล็อกที่ใชพื้นที่ของ Blog Provider ก็ถือวาเปนเจาของเว็บไซตแลว มีฐานะเปนผูดูแลเว็บ(บล็อก) ของตัวเองอยู สามารถสมัครเปน “สมาชิกวิสามัญ” ได และ เมื่อไปดูขอบังคับของสมาคมฯ (http://www.webmaster.or.th/about/regulation) ในหมวดที่ 3 ขอ 6.2 ขอยอยที่ 2 ระบุวา “บุคคลทั่วไป รวมทั้งนิสิตนักศึกษาที่มีความสนใจเขารวมกิจกรรมของสมาคม” ก็สามารถเปนสมาชิกวิสามัญไดเชนกัน จึง สรุปไดวาทางสมาคมฯ เปดกวางและตอนรับผูที่สนใจจะเปนสมาชิกทุกทานครับ หลังจากที่ตอบขอสงสัยเรื่องการเปนสมาชิกแลว ผมก็บอกกับนองคนนั้นวาถามีอะไรที่พอจะชวยสมาคมฯ ได หรือคิดวา สมาคมฯ ควรจะทําอะไร ก็สามารถเสนอเขามาไดเลย ซึ่งผมก็อยากเรียนใหสมาชิกทุกทานทราบเชนกันครับวา สมาคม ผูดูแลเว็บไทย คงจะเปนเพียงแคชื่อถาหากคนในวงการเว็บไมชวยกันสนับสนุนผลักดันใหสมาคมฯ เปนองคกรที่เปนเสา หลักของวงการเว็บไทย ถาหากทานใดมีขอเสนอแนะวาสมาคมฯ ควรจะทําอะไร หรืออยากอาสาเขามาเปนคณะทํางานในโครงการตางๆ ก็สง อีเมลมาที่ support(@)webmaster.or.th ไดเลยครับ เรากําลังรอความรวมมือจากคุณอยู และหากทานมีบทความดีๆ ที่ อยากแบงปนใหเพื่อนวงการเว็บดวยกัน หรือตองการประชาสัมพันธขาวสาร หรือติชม Webmastr e-Magazine สามารถ สงอีเมลมาไดที่ editor(@)webmaster.or.th

อภิศิลป ตรุงกานนท รองเลขาธิการสมาคมผูดูแลเว็บไทย



โปรโมชั่นลดกระหน่ํา จดโดเมน .in.th กับ DotArai ลดสุดๆ หยุดไมอยูกับโปรโมชั่นลดกระหน่ําหั่นราคา กระจุยกับโดเมน .in.th เพียง 199 บาทตอป เริ่มดี เดยวันที่ 9 กันยายนนี้ จนถึง 30 พฤศจิกายน 2551 ชื่อเกๆ มากมายรอคุณอยู จดกอนมีสิทธิ์กอนสนใจ อานรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.DotArai.co.th/promotion/ หรือสอบถามไดที่ โทร.0 2564 8038 อีเมล support(@)DotArai.co.th

งานประชุมประจําปและจิบกาแฟคนทําเว็บ สมาคมผูดูแลเว็บไทย ขอเชิญสมาชิกทุกทานเขารวมงานประชุมใหญ สามัญประจําป และรวมเสวนาในงานจิบกาแฟคนทําเว็บซึ่งจะจัดขึ้น ภายในวันเดียวกัน ที่ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาคารพญาไท อาคาร SM Tower ชั้น 17 (BTS สนามเปา) วันเสารที่ 27 กันยายน 2551 เวลา 13.00 – 17.00 น.งานจิบกาแฟคนทําเว็บเดือนนี้พบกับ หัวขอ “Barcamper-Generated Content สุดยอดเนื้อหาจากงาน บารแคมป” พบกับ 4 วิทยากรสุดเจงที่จะมาบรรยายใน 4 เรื่องเด็ด Mashup Application, How to manage web project, How to manage SMF community และ How to strategically differentiate your Web 2.0 idea from others

สนุก! เปดตัว บันทึกออนไลนรูปแบบใหม “สนุก! บล็อกเกอร” พรอมพัฒนาสารบัญเว็บไทย 2.0 ตอกย้ําตําแหนงเว็บไซตอันดับหนึ่งของไทย สนุกดอทคอม เว็บไซตยอดนิยมอันดับหนึ่งของไทย เกาะติดกระแสการเขียนบันทึกออนไลนที่กําลังมาแรง เปดตัว สนุก! บล็อก เกอร บันทึกออนไลนรูปแบบใหม ที่ผูใชสามารถบันทึกความทรงจํา ประสบการณชีวิต และเรื่องราวตางๆ เพื่อแบงปนกับ เพื่อนๆ ผานเว็บไซต http://blogger.sanook.com ที่ใชงานงาย ไมจํากัดพื้นที่ในการอัพเดตและมีของตกแตงมากมาย นอกจากนี้ ลาสุด สนุก! ไดพัฒนาสารบัญเว็บไทย 2.0 ดวยการเพิ่มฟเจอรใหม ใหโหวตเว็บไซตที่ชื่นชอบและแสดงความ คิดเห็นในรูปแบบการสื่อสารสองทาง (interactive) ตามแบบฉบับของ web 2.0 โดยมุงเนนจะเปนศูนยรวมเว็บไซตไทยที่ใหญ ที่สุด มีการจัดหมวดหมูเว็บไซตอยางเปนระบบทําใหคนหาไดงาย พรอมทั้งแสดงอันดับเว็บไซตยอดนิยมในแตละวัน และคําที่มี การใชคนหามากที่สุดไวดวย

Diary60.com ขอเวลานาทีเดียว เว็บไซตใหมไอเดียดีจากสมาชิกที่มาพรอมกับ สโลแกน “ขอเวลานาทีเดียว” ดวยแนวคิดการ ผสมไดอารี่เขากับพอดคาสต กลายเปนการบอก เลาเรื่องราวชีวิตประจําวันผานไฟลเสียงดวยเวลา เพียง 60 วินาที โดยมีเนื้อหาหลักเกี่ยวกับวงการ เว็บไซต ไอที และความบันเทิงทั่วไป รับฟงเปน ประจําไดที่ http://www.diary60.com/

5

การสัมมนาเชิงวิชาการ “How To Optimize IT Solution For Your Business” โครงการบัณฑิตศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ขอเชิญผูสนใจเขารวมงานสัมมนาเชิงวิชาการ BizIT 2008 ซึ่งจัดขึ้นเปนประจําทุกป โดยในปนี้จัดในวันพุธที่ 15 และพฤหัสบดีที่ 16 ตุลาคม 2551 เวลา 9.00 – 16.00 น. ณ อาคารสารนิเทศ 50 ป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มีหัวขอที่นาสนใจไดแก Web 2.0: Build RIAs for your Business, Service Oriented Architecture (SOA) for Developers, Build Your Business with Open Source Model เปนตน ผูสนใจลงทะเบียนเขา รวมงานฟรีที่ http://bizit.cpe.ku.ac.th สมาชิกที่ตองการลงขาวประชาสัมพันธงานกิจกรรม สัมมนา หนังสือออกใหม หรือเว็บไซตใหม สงรายละเอียดพรอมกับชือ่ สมาชิกมาไดที่ editor(@)webmaster.or.th


ผานไปสดๆรอนๆ กับงานเปดตัว โครงการกาวสูวิชาชีพเว็บมาสเตอร ครั้งที่ 6 หรือ INET Young Webmaster Camp เมื่อวันอาทิตย 7 กันยายนที่ผานมา ณ อุทยานการเรียนรู TK PARK มีนองๆ นักศึกษาที่สมัครเขามาลุนชิงที่นั่งรอบ โควตาเขารวมงานกันลนหอง ภายในงานมีการเสวนาเรื่อง “สัมผัสประสบการณคนเปนเว็บมาสเตอร” โดย คุณปอนด DekD.com และ คุณฮันท Diaryis.com นอกจากนี้นองๆ ยังไดความรูเรื่อง “ความมหัศจรรย ของเว็บไซต 2.0” จากคุณบอย Macroart กูรูดานเว็บ 2.0 อีกดวย รายชื่อผูชนะการแขงขันชิงที่นั่งโควตา ไดแก Web Design 1. นภัส นาคสุวรรณ 2. พรพงษ แรมลี Web Programing 1. ธีรานิตย พงคทองเมือง 2. ศรัญู หลามุงคุณ Web Marketing 1. ชุติมา สีเหลืองสวัสดิ์ 2. กัมปนาท เขมดํารง Web Content 1. จีรทินันท รันทม 2. ยรรยง พรรัตนวนารมย

6


ผานไปแลวกับงานจิบกาแฟคนทําเว็บครั้งที่ 10 “ทําเว็บอยางไร(ไม)ใหติดคุก กรณีศึกษา พ.ร.บ.คอมพิวเตอร” เมื่อ วันเสารที่ 23 สิงหาคม 2551 มีผูเขารวมงาน(ที่ไมอยากติดคุก) รวมเสวนากันถึง 70 ทาน งานนี้ไดทั้งสาระ ความรู และแนวทาง ปฏิบัติเพื่อดูแลเว็บใหมีความเสี่ยงที่จะถูกดําเนินคดีนอยที่สุด ดูควันหลงของงานไดที่ http://www.webmaster.or.th/project/jibcafe/laws-computer

1

4 1. คุณฮันท ศิระ สัจจินานนท Diaryis.com 2. คุณไปป ลภากร หัสดิเสวี Tarad.com 3. คุณปุก ศิริพร สุวรรณพิทักษ 212cafe.com 4. ปายชื่อกิ๊บเก5นาสะสม (สังเกตดีๆ เปนรูปกุญแจมือ USB) 5. ผูรวมเสวนา(ที่ไมอยากติดคุก)คับคั่งจริงๆ

7

2

3

5


เมื่อวันที่ 16 – 17 สิงหาคม 2551 สมาคมผูดูแลเว็บไทย ไดจัดการประชุมสัญจรของกรรมการบริหารสมาคมผูดูแลเว็บ ไทยขึ้นที่ศูนยฝกอบรมบางปะกง การไฟฟาฝายผลิต เพื่อสรุปรายชื่อโครงการที่สมาคมฯ จะทําภายในหนึ่งปตอจากนี้ งานนี้ไดขอ สรุปวาสมาคมฯ จะมีโครงการดีๆ เพื่อตอบสนองใหกับสมาชิกบุคคล สมาชิกองคกร และตอสังคม

1

2

3

4

1. พ.ต.อ.ญาณพล ยั่งยืน นายกสมาคม กับลีลาสบายๆ 2. อ.อาณัติ รัตนถิรกุล กรรมการ คุณเพ็ญศรี อรุณวัฒนามงคล กรรมการ และคุณศิริพร สุวรรณพิทักษ อนุกรรมการ

5

3. คุณวันฉัตร ผดุงรัตน อุปนายก และคุณนิรันดร ทนงศักดิ์มนตรี กรรมการ

4. อ.อุดม ไพรเกษตร อุปนายก 5. หัวขอโครงการที่กรรมการและอนุกรรมการทุกทานชวยกันเสนอ

8


งานสัมมนานอกกรอบที่จัดโดยกลุม Geek เมื่อวันที่ 30 – 31 สิงหาคม 2551 งานนี้มีเหลาเซียนคอมพิวเตอรมารวมตัว กันเกือบ 500 คน เพื่อรวมกันนําเสนอและเสวนาในทุกเรื่องทั้งดานไอทีและที่ไมเกี่ยวกับไอทีเลย งานนี้มีสปอนเซอรรวม สนับสนุนกันลนหลาม ไมเวนแมแต Mozilla ที่เปนเจาภาพเลี้ยงอาหารค่ําวันเสาร ดูบรรยากาศของงานและดาวนโหลดสไลดจาก ในงานไดที่ http://www.barcampbangkok.org/

คุณภาวุธ พงษวิทยภานุ จาก Tarad.com นําเสนอ หัวขอ E-commerce 2.5

คุณอัครวุฒิ ตําราเรียง จาก Marvelic งานนี้สง ลูกนองมาพูดเรื่อง CMS

อดีตนักเรียน โอลิมปก คอมพิวเตอรก็ มากันหลายคน

Satoko สาวญี่ปุนสุดฮอตที่มาบรรยาย ในหัวขอ How to date a Japanese

9

ผูรวมงาน ชวยกันเสนอ หัวขอที่อยาก พูดและรวม โหวตหัวขอที่ อยากฟง

ทั้งหนุมไทยหนุมฝรั่งมาฟง Satoko พูด กันลนหอง


ซัน ไมโครซิสเต็มส จัดงาน MySQL Day ขึ้นเมื่อวันศุกรที่ 22 สิงหาคม 2551 เพื่อแนะนําระบบฐานขอมูลโอเพนซอรส และพบปะกับชุมชนผูใช MySQL ในประเทศไทย งานนี้ David Axmark ผูรวมกอตั้ง MySQL ก็มารวมพูดในงานดวย

เอกสารแจกฟรี ใหผูเขารวมงาน

Dolphin มาสคอทนารักๆ ของ MySQL

10

พิธีเปดงาน ดวยการแจก ตุกตา Dolphin ให ผูรวมงาน

คุณปรเมศวร มินศิริ อดีตนายก สมาคมผูดูแลเว็บไทย ก็มารวมงาน นี้ และถายรูปคูกับ David Axmark


11


รักษา Brand บนเน็ตดวยการ “ตอบ” ซิคเว เบรกเก ไดเริ่มไอเดีย “My Mistake Story” ในองคกรดีแทค โดยใหผูบริหารระดับสูง เขียนเรื่องความผิดพลาดของตนเอง แลวใหพนักงานนับพันคนไดอาน โดยเริ่มจากตัวคุณซิคเวเอง แลวสงไปยังคุณธนา และผูบริหารคนอื่นๆ โดยมีจุดประสงคเพื่อให พนักงานดีแทคไดกลาคิดกลาทํา ไมกลัวความผิดพลาด (จนเกินไปนัก) มันขึ้นอยูกับองคกรแตละองคกรดวย วาตองการเปน innovative organization หรือโดยธรรมชาติของธุรกิจ ไมไดตองการ ความคิดสรางสรรคจากพนักงานแตอยางใด มีใครหลายๆ คน เคยพูดเอาไววา คนที่ไมเคยทําผิดก็คือคนที่ไมทําอะไรเลย แตนอกจากการไมกลัวความผิดพลาดแลว อีก ปจจัยหนึ่งที่สําคัญก็คือ การยอมรับความผิดพลาดนั้นๆ ปญหาขององคกรหลายๆ ที่อยางหนึ่งคือ บริษัทมักรักษา “หนา” มากกวาที่จะรักษา “แบรนด” ของตัวเองเอาไว ลูกนอง แกปญหานอกเหนือจากที่เบื้องบนเขียนมาใหไมได กลัวเบื้องบนจะรูถึงความผิดพลาด ลูกคา หรือผูรับบริหาร จึงมักไดรับคําตอบสอง อยาง นั่นคือ “ไมรู” กับ “ไมได” หัวหนา หรือเจานาย มักจะชอบกลายเปนพระเครื่องศักดิ์สิทธิ์ ผิดไมได และชอบลูกนองที่เปนผูตามกราบ ไหว ไมตองการใหลูกนองทําผิดพลาด เพราะมันกระทบถึงที่นั่งของตัวเอง เจาของ หรือผูบริหารระดับสูง ตองการใหบริษัทมีภาพ winner แบบบริสุทธิ์ ไมมีอะไรดางพรอย เพราะคิดวา จะทําใหบริษัทมีความนาเชื่อถือไดอยางสูง เมื่อมีขอผิดพลาด จึงตองกลบขาว หรือยืน กระตายขาเดียวปฏิเสธ เพื่อใหลูกคามองวาบริษัทมีประสิทธิภาพเยี่ยมยอด การที่เปนบริษัทที่ไมเคยทําอะไรผิด เปนบริษัทที่ดีที่สุด ผูผลิตเปนใหญกวาผูบริโภค นั่นอาจจะเวิรคสําหรับสมัยกอน แตสมัยนี้ คูแขงการคาที่มากขึ้น เฉพาะใน US สินคาใหมมากกวา 17,000 แบรนด ผุดขึ้นบนชั้นวางของในซุปเปอรมารเก็ตทุกๆ ป การโฆษณา แบบเดิมๆ ก็ทําไดยากขึ้น และแพงขึ้น ลูกคามีตัวเลือกมากขึ้น (มากกก) และดวยพลังของอินเทอรเน็ต ดานดีของมันคือ 12


ใครทําอะไรเอาไวแยๆ หรือพลาดๆ ก็ไมสามารถปดปากสื่อ ใหญๆ แบบเดิมๆ แลวก็จบได และอินเทอรเน็ตทําใหความ จริงในเรื่องๆ หนึ่งมีหลายมิติ (ในที่นี้เราไมนับมิติที่หลอกลวง ก็แลวกัน)

อ า นอยา งเดีย วไมอ อกความเห็ น ที่ป า นนี้จ ะเอาเรื่อ ง ขอผิดพลาดโดยที่ไมมีคําอธิบายจากเรา ไปถึงไหนตอไหน ถา มันจะแพรก ระจาย ก็ใ หคํา ชี้แจงของเราแพรก ระจายไป ดวย

ธรรมชาติ ข องข อมู ล บนอิน เทอร เน็ ต คื อ real-time (หรือ almost real-time), fast, collaborative, independent, individual ขอผิดพลาดที่เพิ่งเกิดขึ้นเมื่อ 5 นาทีที่แลว อาจจะ ขึ้นไปอยูบนเว็บไซต และมีคนนับรอยนับพัน มาดูเรียบรอย แลว

2. ตอบอยางจริงใจ ยอมรับในจุดที่บกพรอง อยา พยายามหลับหูหลับตาทําใหลูกคากลายเปนคนผิด เพราะนั่น ไมไดแปลวาเราตอสูกับลูกคาคนนั้นเทานั้น แตหมายถึงเรา อาจจะเปนศัตรูกับลูกคา และวาที่ลูกคา แถวๆ นั้นทั้งหมด เพราะเรากําลังสงแมสเสจวา ใครมาวารานของฉัน เว็บของ ฉัน ฉันจะโจมตีกลับใหหมด ซึ่งอาจจะทําใหลูกคาขยาด ไม กลาเขียนความคิดเห็นในทางลบกับเราอีก และไมใชบริการ ของเราอีกตอไป

ถาเราตองการปดขาว เราไมสามารถที่จะปดเว็บทุก เว็บที่เผยแพรได ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นในยุคไอที จึงเปนสิ่ง ที่เผยแพรไดเร็ว และกวางขวาง การโกหก หรือปดบังตอ ผูบริโภค กลายเปนเรื่องที่หลอกตัวเองไปวันๆ วาจะทําได หมดจด “หนา” ที่รักษามา ก็จะพังเอาไดงายๆ และถา”หนา” พัง ก็อยาคิดวา “แบรนด” จะยังอยูสบายดี หลายๆ ที่รูสึกตอตานอินเทอรเน็ต และยังใชการ ควบคุมสื่อแบบเดิมๆ และหวังวายังจะไดผลแบบเดิมๆ อยู โดยที่ไมรับรูวา เกมไดเปลี่ยนไปแลว(จาาา) แทนที่จะมัวปดหู ปดตาตัวเอง คิดวาขอมูลในอินเทอรเน็ตมีแตหลอกลวง และ ไมกระทบธุรกิจจริงๆ ไดหรอกนั้น มันถึงเวลาแลวที่ควรจะ เปลี่ยนทัศนคติตรงนี้สักที อยาดูถูกเสียงบนอินเทอรเน็ตวา เปนเสียงเล็กๆ อยาคิดวาลูกคา (หรือผูใช หรือผูบริโภค หรือ whatever) ของเราใชเน็ตไมเปน อยาพยายามหนีขอมูลโจมตี ไมวาจริงหรือไมจริง ขอให “deal” กับมัน อยางจริงใจ และไม เกรียน 1. การตอบสนองในอินเทอรเน็ตอยางฉับไว เปน หลักการขอแรกที่ควรทํา อยาปลอยไวนาน เพราะจะยิ่งบาน ปลาย ถามีกระทูโจมตีธุรกิจของเรากระทูหนึ่ง ผานไปรอย กวาความคิดเห็นแลวเราเพิ่งเขาไปตอบ เราก็อยาหวังวาทั้ง รอยความเห็นนั่นจะกลับมาดูที่เราตอบ นี่ยังไมรวมพวกที่

13

3. ตอบอยางคนออนนอม สุภาพ ถึงแมลูกคาจะผิด ก็อยาพูดจาเหมือนเอาไมหนาสามไปตีเขา อันนี้สามัญสํานึก อยูแลว นอกจากอยากจะทะเลาะสิบทิศ อยาลืมวา ในโลก ปจจุบัน ลูกคามักจะเลือกไดเกือบจะเสมอ วาจะใหเงินกับใคร คุณอาจจะคิดไดวา ลูกคาของคุณมีมากพออยูแลว และคุณไม มีเวลาจะมาทําดีกับพวกมองโลกในแงราย เขาใจผิด ถาคุณ ไมตองการมีธุร กิ จ ที่โ ตไปมากกว า นี้ ไมต อ งการว า ที่ลูก ค า มากกวาที่เปนอยู ไมตองการชื่อเสียงที่ดีไปกวานี้ อันนี้ก็ แลวแตคุณ แตถาคุณยังอยากใหธุรกิจดําเนินไปดวยปญหาที่ นอยลงหนึ่งอยาง คุณควรทรีตลูกคา และวาที่ลูกคา ราวกับ เพื่อนของคุณเอง ความคุนเคย การใหมิตรภาพ จะทําให คนเรามองกันในแงดี และปรารถนาดีตอกันไดงายกวาการไม รูจักกันเลย 4. ถาธุรกิจของคุณไมมีคาพอ ลูกคาจะไมพูดถึงเลย ถาคุณกูเกิ้ลดูแลวพบวา เจอชื่อธุรกิจของคุณแคในเว็บของ คุณกับเว็บที่คุณไปจายเงินโฆษณาเอาไว นั่นเปนสัญญาณที่ อาจจะบอกวา ธุรกิจของคุณไมไดอยูในสายตาของผูบริโภค แตถาลูกคาพูดถึง ไมวาจะแงดีหรือแงราย นั่นคือ ธุรกิจของ คุณ มีคาพอที่บางคนจะเสียเวลามาพูดถึง การที่มีคนพูดถึง เราในเน็ต นั่นคือเราไดรับความสนใจ และการที่


มีคนมาดูเรื่องของเรามากๆ มันหมายถึงโอกาสทอง ที่เราไม ตองเสียเงินโฆษณาที่ไหน และทุกคนที่นั่น รอฟงคําตอบ ความ คิดเห็นจากคุณอยู เพราะในความเปนจริง คุณไมคอยมีโอกาส ที่จะรบกวนคนหลายๆ คนในเวลาเดียวกันใหมาฟงเรื่องธุรกิจ ของคุณหรอก ตอใหคุณปลอยสปอตโฆษณานาทีละแสนบน โทรทัศน ถาเขาไมสนใจคุณ เขาก็เปลี่ยนชองไป ไมใหโอกาส คุณไดสงสารหรอก 5. ปลอยวาง พวกคิดในแงรายแบบไมสรางสรรค พวกติเพื่อทําลาย ติแลวก็ไมบอกวาทําไมควรจะติ นาจะแกไข อยางไร ติดแลวสะบัดบั้นทายหนี ติเปน absolute answer (ใน กรณีท่ีธุรกิจของคุณไมไดเลวแบบไมรูจะแนะนําใหดีขึ้นยังไง จริงๆ) แตใหความสําคัญกับการติแบบสรางสรรค ติเพื่อกอ อยาตอตานการติทุกรูปแบบ เพราะนั่นจะทําใหเราไมโต และ อยาลืมวา ลูกคาเลือกได วาเขาจะจายเงินใหใคร การรักษาแบรนดบนเน็ต ไมไดทํายาก และสนุกใน การทําดวย เพราะคุณจะไดฟงความเห็นที่จริงใจ ไมตองกลั่น ออกมาจากความเกรงใจแลวบิดเบือน ทําใหคุณไดพบ พูดคุย กับลูกคา และวาที่ลูกคาของคุณโดยตรง ขอใหคุณใสใจเสียง บนเน็ตหนอย ขยันเขามาดูฟดแบคสักนิด แลวคุณจะพบวา ยัง มีโอกาสอีกมากมาย ที่ทําใหคุณสามารถเดินหนาตอไปไดอยาง ดี ดวยการ “ตอบ” ลูกคาอยางฉับไว ชัดเจน สุภาพ แคนี้ นี่เอง แหละ

14


Your domain name is your brand! สวัสดีคะ และแลวโอลิมปก 2008 ก็กําลังจะปดฉากลง พรอมกับรางวัลสองเหรียญทองและสองเหรียญเงินจากนักกีฬาไทย ตองขอแสดง ความยินดีกับนักกีฬาทั้งสี่ทาน และขอเปนกําลังใจใหกับนักกีฬาที่เขารวมการแขงขันทุกทาน ขอใหพยายามกันตอไปสําหรับโอลิมปก คราวหนาคะ ขวัญหลงจากกีฬาโอลิมปกครั้งนี้ไทยรัฐไซเบอรเน็ตมีการนําเสนอขอมูลที่เกี่ยวกับโดเมนเนมวา ชื่อนักกีฬาจีนที่ไดเหรียญทอง จากโอลิมปกครั้งนี้ไดถูกฉกไปจดทะเบียนแลวกวา 10 ชื่อ ทําใหทางรัฐบาลจีนออกกฏหามใชชื่อนักกีฬาเหรียญทองไปจดทะเบียนชื่อ โดเมนหรือชื่อเว็บไซต นอกจากนักกีฬาจะนําไปใชเอง ซึ่งกฏนี้ใชไดเฉพาะกับโดเมนภายใต .cn เทานั้น และไดออกประกาศขอความ รวมมือใหนําชื่อโดเมนคืนใหกับนักกีฬาอีกดวย (เนื้อหาเต็มอานไดที่ http://www.thairath.co.th/news.php?section=cybernet&content =101675) นักกีฬาเหรียญทองคงมีคนอยากรูประวัติ และเรื่องราวของพวกเคา ถานักกีฬามีโอกาสเขียน blog ของตัวเองหรือคนใกลชิดทํา เว็บใหคงจะเปนประโยชนและมีคนเขามาอานกันเยอะทีเดียว หรือแมแตจะแคเอาภาพและประวัติคราวๆ มาลงไวบนเว็บที่ใชชื่อนักกีฬา เปนชื่อเว็บไซต และติดโฆษณาหรือทํา Affiliate หารายไดจากอุปกรณกีฬา คํานวนคราวๆ แค traffic ก็เปนที่ดึงดูดใหหลายๆคนอยากได ชื่อโดเมนของนักกีฬาเหลานี้กันแลว ความคิดเรื่องการทํารายไดจากเว็บในปจจุบันเปนเรื่องที่ไดรับความสนใจอยางกวางขวาง การเขียน blog ทุกวันนี้นอกจากจะ เปนการเผยแพรขอมูลขาวสารแลว สวนใหญไดมีการพวงเอาการหารายไดไวดวย การทําใหเว็บไซตติดอันดับเพื่อใหไดมาซึ่ง traffic หรือ จํานวนผูเยี่ยมชมเว็บไซตมากๆ จึงเปนเปาหมายที่หลายๆคนใหความสําคัญอยางมาก วันกอนไดอานขาวบนกรุงเทพธุรกิจ

15


(http://www.bangkokbiznews.com/2008/08/18/news_286128.php) เกี่ยวกับ 4 ขอคิดกอนเขียน blog ซึ่งมี blogger คือ คุณหมอ Arnold Kim ผูกอตั้ง MacRumors.com เขียนแนะนํา blogger มือใหมไวบน blog ของเคาที่ normalkid.com 4 ขอสรุปสั้นๆ ดังนี้ 1. เลือกเขียนเรืองที่ตัวเองสนใจ 2. เลือกเขียนเรื่องที่คนอื่นสนใจ 3. จดโดเมนเปนของตัวเองมาใช 4. เริ่มเขียน คุณหมอเขียนประโยคที่โดนใจมากๆในขอ 3 วา “Your domain name is your brand” โดเมนเนมคือแบรนดของคุณ คุณควร ที่จะจดทะเบียนโดเมนเนมตั้งแตเริ่มคิดวาจะเขียน blog (http://normalkid.com/2008/07/) จะวาไปชื่อโดเมนสมัยนี้ราคานอยมากเมื่อเทียบกับตนทุนอื่นๆ การลงทุนดวยการจดทะเบียนชื่อดีดีไวจึงเปนสิ่งกระทําไดและ พึงกระทํา แตกอนนี้คนสวนใหญจะจดทะเบียนโดเมนตามชื่อหนวยงานหรือผลิตภัณฑ แตสมัยนี้เมื่อโดเมนมีการจดทะเบียนไปเยอะแลว ทําใหการจะคิดชื่อผลิตภัณฑหรือตั้งชื่อบริษัทใหมๆ เจาของจะตองตรวจสอบกอนวาชื่อโดเมนยังวางอยูหรือไม ถาวางแลวทําการจด ทะเบียนโดเมนกอน แลวจึงประกาศชื่อผลิตภัณฑหรือไปจดทะเบียนชื่อบริษัท คุณหมอไดเขียนบทความกอนหนานี้บน blog ของเคาวา ตัวเคาเองมีไอเดียเกี่ยวกับการทําเว็บหลายเรื่อง บางไอเดียที่เคาคิด วาจะเปนไปได เคาจะรีบจดชื่อโดเมนสําหรับโปรเจ็กตนั้นไวเลย เมื่อเริ่มทําเว็บนั้นจริงๆ ก็จะไดใชชื่อโดเมนนั้นไดเลย สําหรับเว็บ MacRumors.com (เว็บขาวลือเกี่ยวกับผลิตภัณฑ Macintosh) นั้นทํารายไดใหกับเคามาก จนเคาสามารถลาออกจากงานประจํามาทํา blog อยางจริงจังไดเลยทีเดียว คนไทยเรายังมีคนที่เห็นความสําคัญของชื่อโดเมนกันนอยมาก หลายคนไมเขาใจวาชื่อเว็บไซตเปนสวนหนึ่งที่จะดึงดูดใหคน สนใจเขามาชมเว็บของพวกเขาได จึงเปนเรื่องที่นาเสียดายวาชื่อดีดีจะตกไปอยูในมือของชาวตางชาติเปนสวนใหญ แตยังถือวาคนไทย เราโชคดีที่ยังมีโดเมน .th ซึ่งยังพอมีชื่อดีดีวางใหเลือกใชกันอยู อยางเชน olympic.in.th ก็ยังวางอยู ใครสนใจสามารถจดทะเบียนผาน เว็บ register.dotarai.com ไดเลยคะ มีความสุขทุกทาน … สวัสดีคะ

16


เทคนิคการสรางเว็บบอรดของคุณ ใหมีคนเขาเยอะ (Community Building) ตอนนี้หันไปดูตรงไหน ก็จะเห็นวาตอนนี้มีเว็บ Community หรือ Forum ของเว็บไซตตางๆ มากมายหลายแหง ทั้งที่เปนใน รูปแบบ Horizontal Community อยาง Pantip.com ที่มีหองตางๆ มากมาย หรือเว็บบอรดตางในรูปแบบ Vertical Community ซึ่งตอนนี้ ตางเกิดขึ้นมามากมาย เชน Smart-mobile.com เว็บเกี่ยวกับ PDA Phone, SiamBrandName.com เว็บบอรดสินคาแบรนดเนมแพงๆ มือสอง, หรือ ThaiThinkPad.com เว็บกลุมคนใช Notebook ของ ThinkPad ฯลฯ ซึ่งจากตัวอยางที่ยกมาทั้งหมดเหลานี้ เปนเว็บที่ใช ประสบความสําเร็จในแงจํานวนคนที่เขามาใชเปนจํานวนมาก และเปนเว็บที่โดงดังในเฉพาะดานของแตละเรื่อง และประสบความสําเร็จได ไมยาก วันนี้ลองมาวิเคราะหความสําเร็จของเว็บตางๆ เหลานั้น ดวยวิธีที่คุณเองก็สามารถทําไดเอง “ไมยาก” เริ่มตนสรางเว็บไซตดวยเว็บบอรด การสรางเว็บบอรดมีหลายวิธี สําหรับทานที่สนใจ เดี๋ยวนี้การสรางเว็บไซต หรือเว็บบอรดทําไดไมยากเลย ซึ่งเดี๋ยวนี้มีระบบ OpenSource ตางๆ มากมาย ยกตัวอยางเชน SMF หรือ Simple Machine Forum (www.simplemachines.org), vBulletin (www.vbulletin.com), PHPbb (www.phpbb.com) , Invision Power Board - IPB (www.invisionpower.com) ซึ่งมีสวนใหญจะเปน ระบบที่ฟรี เพียงแคเรามี Hosting หรือ Server และติดตั้งเขากับระบบ Database เพียงเทานี้เว็บบอรดก็พรอมที่จะใหบริการแลว แตคุณ จะตองติดตั้งกอน หรือ อยางทานที่ใชบริการเว็บไซตรานคาฟรี อยาง www.TARADquickweb.com เพียงแคสมัคร ก็สามารถสรางและมี เว็บบอรดภายในรานคาของคุณไดไมยาก ปจจัยอะไรที่ทําใหเว็บบอรดของคุณ คนเขาเยอะๆ

17


1. เลือกสรางเว็บบอรดที่เจาะกลุมเปาหมายเฉพาะ (Vertical Community) อยางเว็บไซตที่ผมยกตัวอยางมาตอนตน เชนเว็บบอรดดานโทรศัพทมือถือ Nokia หรือ เว็บบอรดเฉพาะคนรักแผนเสียง เปนตน เพราะหากคุณสรางเว็บบอรดที่เปนในเชิงกวางๆ ก็จะไมใครที่เขามาที่เว็บไซตของคุณ แตหากคุณเจาะกลุมเปาหมายที่เฉพาะ และที่ยังไม เคยมีใครทํามากอน 2. อยาแตกหองในเว็บบอรดมากเกินไป หลายๆ คนที่เพิ่งเริ่มตนเปดเว็บไซต บางทีใจรอน ไปแบงหองออกมาหลายๆ หองมากเกินไป ซึ่งผลออกมาคือ จะทําใหคนไมเขา ไปหองใดหองหนึ่ง และจะเกิดการกระจายของคนที่เขามาใชบริการ และเว็บบอรดของคุณก็จะไมมีโฟกัส และคนก็จะเขามานอย เพราะมี หลายหองเกินไป ดังนั้นตอนเริ่มตนพยายามเปดหองใหนอยๆ แลวคอยๆ กระจายหองออกมา ทีหลังจากมีคนเขามามากเพียงพอ และเริ่ม เห็นถึงความตองการในการแยกและแบงหองใหเปนสัดสวน 3. สราง Content หรือเนื้อหาใหมากที่สุดในเว็บบอรดของคุณในชวงตน ซึ่งวิธีการสรางเว็บบอรดในชวงแรกของคุณมีหลายวิธีที่จะทําใหมีขอมูล หรือกระทูเยอะ เชน พยายามชักชวนเพื่อนๆ พี่ๆ นองมา ชวยตั้งกระทูใหมีขอมูลใหเยอะที่สุด หรือ เปนหนามาเอง เขามาลงประกาศเอง ตั้งเอง-ตอบเอง เพื่อสรางความหลากหลายใหมากที่สุด เพราะหากไมมีกระทูมาก คนก็ไมเขามาเชนกัน 4. PR โปรโมทดึงคนที่ตรงกลุมเปาหมายใหเขามาที่เว็บไซต ชวงนี้เปนชวงที่ตองสรางจํานวนเขามาที่เว็บไซตใหมากที่สุด เพราะนี้จะเปนกลุมคนที่จะสราง Traffic ใหเกิดขึนอยางตอเนื่อง ตลอดไป ดังนั้นหากคนที่ตรงกับกลุมเปาหมายของเว็บไซตหรือเว็บบอรดของคุณไมรู หรือไมเขามา โอกาสที่จะประสบความสําเร็จก็คง เปนไปไดยาก ซึ่งวิธีการ PR หรือ โปรโมทก็มีหลายวิธีทางออนไลน ลองไปศึกษาเพิ่มเติมใน www.pawoot.com/startup นะครับ

การดูแลรักษาใหเว็บบอรดของคุณเติบโตอยางสม่ําเสมอ - เขามาเว็บบอรดเปนประจํา และคอยตอบทุกๆ คําถามที่มีคนถามเขามา อยาปลอยใหกระทูไมมีคนตอบ พยายามเสนอหนาตัวเองออกไปหาคนที่เขามาที่เว็บไซตใหได มากที่สุด และพยายามหาคําตอบมาตอบใหได หรือหากตอบไมไดก็ตองพยายามไปหาคนอื่นมาตอบใหได เพราะหากมีกระทูที่ตั้งไว แตไมมี คนตอบ มันก็เริ่มสอใหเห็นถึงแสงริบหรี่ของเว็บบอรดแหงนี้แลวครับ - หาบทความหรือ content อะไรใหมๆ มาลงเสมอ พยายามหมั่นหาขอมูลอะไรใหมๆ มาลง และมาเพิ่มในเว็บบอรดใหกับสมาชิกของคุณอยูเรื่อย เพราะขอมูลเหลานี้จะชวยทําใหคนมักจะเขา มาอาน หรือมาดูเปนประจํา - จัดการพบปะหรือ meeting ของสมาชิกในบอรด วิธีนี้เปนวิธีการที่จะชวยกระฉับความสัมพันธของคนในเว็บบอรดของคุณ แนนแฟนมากขึ้น และยังชวยทําใหเว็บบอรดของคุณมี

18


กระทูใหมๆ เพิ่มขึ้นมาหลังงาน meeting เพราะจะมีการ post ภาพ และสรุปงาน พูดคุยกันสนุกมากขึ้นในระหวางสมาชิกของคุณ ซึ่ง รูปแบบของงาน Meeting อาจจะเปนนัดพบปะ ทานขาว ทานกาแฟ งายๆ ตามรานตางๆ การแกปญหาในเว็บบอรด - หากมีการดากัน หรือกระทบกระทั่งกัน ใหสรางหองใหมใหเคาไปทะเลาะกันสองคน (ยายกระทูไปหองใหมเลย) เพราะสวนใหญการทะเลาะมักจะลุกลาม และมีคนอื่นๆ เขามารวม และแจมดวย ซึ่งการแยกไปแบบนี้จะชวยทําใหการทะเลาะ เปนที่เปนทาง และลดการยุแหยลงไปได - หากมีสมาชิกเขามาปวน หรือ โพสอะไร ประหลาดๆ ใหใชวิธีการแบน (ban) ชื่อสมาชิก หรือขอมูลที่เกี่ยวของของ คนๆ นั้นเชน ip, name เปนตน เพื่อปองกันการเขามาโจมตีเว็บบอรด - บังคับใหคนที่เขามา ลงทะเบียน หากจะลงกระทูหรือ ตอบอะไรก็ตาม ก็ตองลงทะเบียนเทานั้น นี้จะเปนวิธีที่ชวยลดปญหาตางๆ ไปไดมากเลยทีเดียว - ติดตั้งตัวปองกันการ Spam เว็บบอรด เดี๋ยวนี้หากเว็บบอรดเริ่มมีคนเขามา ก็จะเริ่มมีคนมา Spam เว็บบอรด หรือมันคือ การเขามาลงประกาศกระทูอะไรก็ไมรู ที่พยายามจะ โฆษณาเว็บไซตของตัวเอง หรือเปนการยิงลิงคเว็บไซตเขามาในเว็บบอรดของคุณ เพื่อผลทาง Search Engine Marketing ซึ่งหลายครั้งมัก เปนโปรแกรม หรือมีการยิงเขามาผานระบบอัตโนมัติ ซึ่งการปองกันคือการ ติดตั้งตัวอักษร (Capcha) เพื่อใหคนที่มาลงประกาศหรือตอบ กระทูตอง กรองตัวเลข หรือตัวอักษรที่เห็นลงไปในชอง เพื่อยืนยันวาคุณเปนคนจริงๆ ไมใชระบบยิงเขามา ทั้งหมดนี้เปนทิปและเทคนิคบางสวนที่จะชวยสรางใหเว็บบอรดของคุณมีเขามาใชบริการเพิ่มมากขึ้น และสามารถสรางจุดที่โดด เดน และสามารถสรางคนเขามาที่เว็บบอรดของคุณไดอยางตอเนื่องและประสบความสําเร็จ

19


เทคนิคการสรางเว็บใหเปนที่รูจักดวย Yahoo! รูรอบ วันนี้ผมมีเทคนิคในการทําเว็บไซตของคุณไดเปนที่รูจักไดอยางงายๆ ครับ ใครที่มีเว็บไซตของตัวเองพลาดไมไดครับ! บทความนี้ตอนแรกผมตั้งใจจะเขียนใน blog ของ Yahoo! รูรอบ ซึ่งผมดูแลอยู แตก็ติดที่วามันเปนเทคนิคที่ผมคิดวามันไมควรจะ เปนเทคนิคที่ประกาศอยางเปนทางการเทาไหร เพราะเปาหมายของ Yahoo! รูรอบคือ เปนสวนหนึ่งของสังคมแหงความรูในประเทศไทย แต เทคนิคนี้มันเปนอีกแบบ เหมาะสําหรับคนที่ตองการสรางเว็บไซตใหเปนที่รูจักมากกวา ซึ่งมันเปนเพียงผลพลอยไดของการที่เขาไปที่ Yahoo! รูรอบเทานั้น ครั้นผมจะไมเขียนเลยก็ไมไดเพราะฝรั่งมันก็เขียนกันใหอานทั้งโลกแลวละครับ ก็เลยเอามาแชรกันที่นี่ละกัน…. หลายๆ คนคงคุนเคยกับคําวา “แปลงทรัพยสินเปนทุน” ใชไหมครับ แตในโลกออนไลน เรา “แปลงแทรฟฟคเปนทุน” ครับ ซึ่ง หมายถึง ถาหากคุณมีคนเขามาเยี่ยมชมและใชงานเว็บไซตของคุณในจํานวนมาก พูดงายๆ วาคุณสามารถสรางเว็บใหดังไดดวย Yahoo! รู รอบก็คงไมผิด แลวจะใช Yahoo! รูรอบมาทําใหเว็บดังขึ้นไดยังไง? อาจจะดูกําปนทุบดิน แตมันงายกวาที่คิด… ขั้นตอนในการทําใหเว็บคุณดังมากขึ้นก็คือ เพียงคุณเขามาใชงาน Yahoo! รูรอบ ดวย การตอบคําถามใหกับสมาชิกคนอื่นๆ โดยที่การตอบของคุณจะตองตอบแลวตรงประเด็น แกไขปญหาใหคนชางสงสัยใน Yahoo! รูรอบไดโดย ไมขัดกับขอควรปฏิบัติในชุมชน Yahoo! รูรอบ (ไมงั้นคําตอบคุณโดนทีมงานลบแนนอน) เสร็จแลวคุณก็สรางลิงกไวในหนาโปรไฟลของคุณเพื่อใหคนที่อยูใน Yahoo! รูรอบสามารถตามไปเยี่ยมชมเว็บไซตของคุณได ซึ่งการ ตอบคําถามใหผูอื่นนี้ถาคุณตอบในสิ่งที่คุณรูและเชี่ยวชาญอยูแลว และคุณมีเว็บไซตทางดานนี้อยูแลว คนใน Yahoo! รูรอบก็จะคลิกไปที่ เว็บไซตของคุณแนนอนครับ

20


ตัวอยาง 1. คุณกุกไกเปนเจาของรานเบเกอรี่แหงหนึ่ง คุณกุกไกมีความรูความเขาใจในการทําขนมอรอยๆ มาก และคุณกุกไกก็เลยสราง เว็บไซต Kookkaibakery.com ขึ้นมา (เว็บไมมีอยูจริงนะครับ ผมเมคขึ้นมา) 2. คุณกุกไกอยากจะใหคนรูจักรานกุกไกเบเกอรี่ของตัวเอง ซึ่งก็คือเพิ่มแทรฟฟคใหเว็บ Kookkaibakery.com นั่นเอง คุณกุกไกก็ เลยเขามาที่ Yahoo! รูรอบ เจอเจาตัวแยมสเตอรทําหนาทะเลนอยู ก็เลยเลนกับเจาแยมสเตอรสักหนอย 3. คุณกุกไกไมกลาตอบเรื่องอื่นๆ เพราะคิดวาตัวเองไมถนัดดานอื่น แตถาดานการทําขนม ดานสูตรอาหาร ฉันไมแพใครแนนอน คุณกุกไกเลยเลือกหมวด “อาหารและเครื่องดื่ม” 4. คุณกุกไกเขามาตอบคําถามของเพื่อนๆ ใน Yahoo! รูรอบประมาณอาทิตยละ 1-2 ชั่วโมงซึ่งถือวาไมเสียเวลาเทาไหรเลย และ ปรากฏวาคําตอบของคุณกุกไกไดรับความนิยมสูง มีคนคลิกเขาไปดูในหนาโปรไฟลของคุณกุกไกวันนึงๆ หลายคนทีเดียว และในหนาโปร ไฟลของคุณกุกไก คุณกุกไกก็ใส Kookkaibakery.com เอาไว ซึ่งถือวาเปนโปรไฟล ไมไดเปนการโฆษณาอะไร 5. จํานวนของคนที่ชอบคําตอบของคุณกุกไกเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และคนก็เขาเว็บของคุณกุกไกมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะคนรูสึกวาคุณ กุกไกรูจริง และไมไดสักแตวาเขามาโฆษณามั่วๆ ทาง Yahoo! รูรอบเองก็ไดพัฒนาใหชุมชนของคําถามและคําตอบนี้ดีขึ้นไปดวย เพราะคน ที่อยากไดสูตรอาหารดีๆ ก็จะเขามาหาไดที่ Yahoo! รูรอบในหมวด “อาหารและเครื่องดื่ม” ได สรุป จากตัวอยางดานนี้ผม ผมพยายามจะบอกวา เราจําเปนตองสราง “แทรฟฟคที่แทจริง” ใหได คนจะเขามาที่เว็บไซตเรา ใหเขาเขา มาดวยความตองการจริงๆ เถอะครับ ไมใชเพียงทํา SEO (Search Engine Optimization) ปนใหอันดับผลการคนหาใน Search Engine สูงขึ้นไปเพียงอยางเดียวเทานั้น ซึ่ง Yahoo! รูรอบเปนหนึ่งในทางเลือกในการสรางแทรฟฟคที่แทจริง อันเปนการเพิ่มมูลคาใหกับเว็บไซต ของคุณดวยครับ

21


Knowledge Sharing 2.0 หลากหลายรูปแบบการแบงปนความรู (Wikipedia vs Yahoo! Answers vs Google Knol) ในสมัยกอน รูปแบบของการแบงปนความรูแกกันถูกจํากัดอยูในวงแคบๆ พอแมสอนการบานลูก ครูสอนหนังสือนักเรียน เพื่อนติว หนังสือใหเพื่อน หรือกวางออกมาหนอยก็คือนักเขียนเขียนหนังสือขายใหคนอาน การแบงปนความรูสวนใหญเปนแบบทางเดียว พอแมสอนการบานลูก แตลูกไมไดสอนอะไรใหพอแม ครูสอนหนังสือนักเรียน แต นักเรียนไมไดสอนหนังสือใหครู นักเขียนเขียนใหอาน แตคนอานก็ไมไดแบงปนอะไรกลับมาใหนักเขียน แตก็มีบางที่เปนการแบงปนแบบ หลายทาง เชน เพื่อนติวหนังสือใหเพื่อน เพื่อนคนนึงอาจจะเปนคนนําในการติว และเพื่อนอีกคนก็อาจจะถามคําถามที่ตัวเองสงสัยขึ้นมา ซึ่ง เพื่อนที่เปนคนติวอาจจะตอบไมได แตก็อาจจะมีเพื่อนคนอื่นๆ ที่ชวยตอบใหได หรือการเรียนการสอนในหองเรียนสมัยใหมที่เนนนักเรียนเปนศูนยกลาง ครูอาจจะไมใชผูถายทอดความรูเพียงฝายเดียว ไมใชเอา แตเขียนกระดานหรือปงแผนใส แตครูเปนเสมือน Facilitator ที่คอยกระตุนใหนักเรียนถายทอดความรูของตัวเองใหเพื่อนๆ ฟง โดยครูเปน แคคนคอยไกดใหอยูในแนวทางที่ถูกตอง อยางไรก็ตาม การแบงปนความรูแบบหลายทางก็ยังจํากัดอยูแคในวงแคบๆ เทานั้น ภายในกลุมเพื่อนไมกี่คนหรือในหองเรียน เล็กๆ เพราะถาคนเยอะขึ้นเมื่อไรก็จะเกิดความโกลาหลขึ้นทันที ตางคนตางพูดจนไมรูจะฟงใคร หรือมีเวลาจํากัดที่ใหพูดกันทุกคนไมได ไม งั้นไมจบเรื่อง แตพอมาถึงยุคของ Web 2.0 ยุคที่ใครๆ ก็เปนผูสรางเนื้อหาได ยุคที่คอมพิวเตอรมีประสิทธิภาพสูงมากและมีตนทุนตอหนวยแทบ จะเปนศูนย ชวยใหขอจํากัดดานขนาดของการแบงปนความรูแบบหลายทางลดลง ถาคุณอยากแบงปนความรู คุณก็แคเขียนบล็อก และเปด ใหผูอานแสดงความคิดเห็นเขามาได ซึ่งก็จะชวยเสริมความรูที่คุณนําเสนอใหมีความแข็งแรงมากขึ้น

22


แตนอกจากบล็อกแลวก็ยังมีรูปแบบการแบงปนความรูแบบหลายทางอื่นๆ อีก ในที่นี้จะขอกลาวถึงเว็บไซตยักษใหญ 3 แหงที่มี รูปแบบที่แตกตางกัน ไดแก Wikipedia, Yahoo! Answers และ Google Knol Wikipedia Wikipedia เปนสารานุกรมออนไลนที่ทุกคนนาจะรูจักกันดีอยูแลว ซึ่งทําใหครูในยุคปจจุบันไมสามารถสั่งการบานแบบครูในยุค กอน ที่ใหนักเรียนไปคนหนังสือในหองสมุดแลวเขียนเปนรายงานมาสง เพราะนักเรียนสมัยนี้เขา Wikipedia แลวก็อปแปะมาทั้งดุน Wikipedia เปนเครื่องมือที่ดีมากสําหรับคนที่กําลังหาขอมูลเกี่ยวกับเรื่องอะไรก็ตาม เพียงแคพิมพคียเวิรดเขาไปก็มีขอมูลสรุปและ รายละเอียดใหอานอยางครบถวน แถมมีลิงกอางอิงที่ใหตามไปอานตอไดอีก การที่ Wikipedia มีขอมูลจํานวนมหาศาลไดนั้นเกิดจากการรวมแรงรวมใจของผูคนทั่วโลกที่ชวยกันเขียนเนื้อหาใสเขาไป ใครถนัด เรื่องอะไรก็เขียนเรื่องนั้น มนุษยเราทุกคนอยางนอยก็ตองมีสักเรื่องที่ถนัดและสามารถแบงปนใหคนอื่นไดอยูบาง

จุดเดนของ Wikipedia อยูที่ทุกคนสามารถเขาไปแกไขขอมูลที่คนอื่นเขียนไวไดหมด โดยที่ระบบของ Wikipedia จะเก็บขอมูลไว เปนเวอรชั่น ถาเกิดมีมือดีมาลบขอมูลทิ้งไปก็สามารถนําเวอรชั่นกอนหนาที่จะถูกลบกลับคืนมาได หรือถาใครใสขอมูลที่ไมถูกตองเขาไป คนที่เขามาเห็นก็สามารถแกไขใหถูกตองได นี่เปนเสนหอยางหนึ่งของ Wikipedia ที่ทําใหขอมูลมีแนวโนมที่จะถูกตอง พอจะเชื่อถือได แต Wikipedia ก็ยังมีจุดออนอยู นั่นก็คือความถูกตองและเชื่อถือไดจะเกิดกับขอมูลที่ไดรับความนิยมสูงเทานั้น เพราะจะมีคนคอย เขามาอานอยูตลอดเวลา แตกับขอมูลที่ไดรับความนิยมนอย โดยเฉพาะพวกที่อยูในสวนหาง The Long Tail เมื่อไมคอยมีคนเขามาดู ถา ใครใสขอมูลผิดๆ ลงไป มันก็จะผิดอยูอยางนั้นโดยไมไดรับการแกไข

23


จุดออนอีกอยางหนึ่งก็คือเรื่องของแรงจูงใจในการเขียนขอมูลใหกับ Wikipedia เนื่องจากผูที่เขียนขอมูลลง Wikipedia นั้นไมได อะไรเลย ไมไดเงินคาเขียน ไมไดชื่อเสียง แถมพอเขียนไปแลว วันดีคืนดีดันมีคนมาแกไขหมดเลย ทําใหรูสึกวาที่เขียนไปนี่เสียเวลาจริงๆ พาลทําใหไมอยากเขียนซะงั้น ขอเปนผูอานอยางเดียวดีกวา ดวยจุดออนเหลานี้ ทําใหเว็บหลายแหงที่นําหลักการรวมถึงซอฟตแวรแบบ Wikipedia ไปใชในเว็บตัวเอง มักจะไมประสบ ความสําเร็จ ไมมีคนเขามาเขียนจนทําใหเจาของเว็บตองเขียนเอง อาจจะเรียกไดวาเว็บที่ใชแนวคิดนี้ไดประสบความสําเร็จมีเพียงแหงเดียว ในโลก นั่นคือ Wikipedia.org Yahoo! Answers Yahoo! Answers หรือชื่อในภาษาไทยคือ Yahoo! รูรอบ บริการจาก Yahoo! ที่ออกแนวเว็บบอรด คือใหคนตั้งคําถามได และเปด ใหคนอื่นมาตอบคําถาม ซึ่งเหมาะสําหรับคนที่พยายามหาคําตอบจากแหลงตางๆ แลวไมพบ หรือไมชอบการคนหาคําตอบดวยตัวเองแต ยินดีรอใหคนอื่นมาตอบให สิ่งที่ทําให Yahoo! รูรอบ แตกตางออกไปจากเว็บบอรดทั่วๆ ไปก็คือระบบการใหคะแนน โดยถาใครที่ตอบคําถามไดดีจนเจาของ คําถามอานแลวพอใจกับคําตอบ เจาของคําถามจะเลือกคําตอบนั้นเปนคําตอบที่ดีที่สุด ผูตอบคําถามก็จะไดรับคะแนนที่เปนความภาคภูมิใจ อยางหนึ่ง

ดวยกลไกแบบนี้ ทําใหเกิดวัฎจักรการชวยเหลือกันขึ้นมา ทุกคนจะพยายามตอบคําถามใหดีที่สุดเพื่อใหไดรับคะแนนจากเจาของ คําถาม เจาของคําถามก็พอใจที่ไดรับคําตอบที่ตัวเองตองการ เกิดเปนกระบวนการแบงปนความรูที่มีความนาเชื่อถือ เพราะทุกคนที่อยูใน ชุมชนตางก็มีตัวตนกันหมด นอกจากนี้ กลไกคะแนนยังชวยใหคนอื่นๆ เขาถึงคําตอบที่ถูกตองไดงายโดยไมตองเสียเวลาลองผิดลองถูกกับคําตอบทั้งหมด เชน ถามีคนตั้งคําถามเรื่องปญหาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร มีหลายคนเขามาชวยกันใหคําตอบ เจาของคําถามก็จะทดลองแกปญหาโดยอาศัย คําตอบตางๆ จนเมื่อเจอคําตอบที่ชวยแกปญหาได เขาก็จะเลือกคําตอบนั้นเปนคําตอบที่ดีที่สุด ตอมาเมื่อมีคนอื่นที่ประสบปญหาแบบ เดียวกันเขามาคนหาคําตอบ เขาก็จะใชคําตอบที่ดีที่สุดชวยแกปญหาของเขาไดทันที ซึ่งกลไกนี้คลายๆ กับ Pantip.com ในบริการ Technical Xchange ที่ใหคนรวมกันโหวต It’s work! ใหแกคําตอบที่ใชการไดจริง แตจุดออนของ Yahoo! รูรอบ ก็คือมีความเปนไปไดที่จะมีการโกงคะแนน หรือหากลวิธีที่จะเพิ่มคะแนนใหตัวเอง ซึ่งทําใหความ ศักดิ์สิทธิ์ของระบบคะแนนลดลง ถาคนโกงมีคะแนนมากกวาคนที่ต้งั ใจตอบคําถาม ระบบคะแนนก็จะลมเหลวทันที

24


Google Knol Google Knol เปนบริการของยักษใหญ Google ที่ถูกวางใหเปนคูแขงกับ Wikipedia สิ่งที่ Google Knol ทําไดปดจุดออนทุกอยาง ที่ Wikipedia มีอยู ถาคุณแบงปนความรูใน Wikipedia คุณจะไมไดอะไรเลย ถาคุณแบงปนความรูใน Yahoo! รูรอบ คุณจะไดคะแนนที่เปน ความภาคภูมิใจ แตถาคุณเขียนบทความลง Google Knol คุณจะไดทั้งชื่อเสียงเพราะรูปและประวัติยอของคุณจะถูกเผยแพรไปพรอมกับ บทความ และยังไดเงินจากการติดโฆษณา Google AdSense ดวย Google Knol ใหทั้งเครดิตและใหสิทธิ์แกเจาของบทความในการบริหารจัดการกับบทความของตัวเอง เจาของบทความมีสิทธิ์ เหนือกวาคนอื่นๆ ซึ่งตางจาก Wikipedia ที่ทุกคนจะแกไขอะไรก็ได การที่คนอื่นไมสามารถแกไขบทความของตัวเองได อาจทําใหบทความ มีขอผิดพลาดเกิดขึ้น แตดวยภาพลักษณของ Google Knol ที่เปนศูนยรวมของผูเชี่ยวชาญ (Specialist) จากสาขาตางๆ ผูเชี่ยวชาญแตละ คนตางก็ลงรูปและประวัติของตัวเองเอาไว ทุกคนที่เขียนบทความจึงตองตระหนักถึงความถูกตองของบทความ ไมเชนนั้นอาจสงผลถึง ชื่อเสียงของตัวเองได

อยางไรก็ตาม Google Knol เปดชองใหทุกคนสามารถแกไขขอผิดพลาดของบทความ หรือเขียนเนื้อหาตอยอดบทความของคน อื่นได โดยที่การแกไขจะถูกสงไปใหเจาของบทความพิจารณากอน ถาเจาของเห็นดวยกับการแกไขนั้นก็จะเผยแพรบทความฉบับแกไขขึ้น ไปแทน และชื่อของผูแกไขก็จะถูกแสดงในบทความในฐานะ Contributor แนนอนวาบทความก็จะถูกเก็บเปนเวอรชั่นไวเชนเดียวกับ Wikipedia เพื่อใหเจาของสามารถยอนกลับไปใชบทความกอนหนาได แตถามีคนสงบทความฉบับแกไขไปใหเจาของบทความแลว แตเจาของไมยอมรับขอผิดพลาดของตัวเอง และไมยอมนําฉบับแกไข ขึ้นแทนละ? ถาเปนแบบนี้ ผูที่เขียนฉบับแกไขก็สามารถไปสรางบทความใหมในเรื่องเดียวกัน และเขียนบทความใหมที่ถูกตองเปนของ ตัวเองได ผูอานจะพบบทความในเรื่องเดียวกันสองบทความ และจะเปนผูพิจารณาเองวาบทความไหนถูกตองที่สุด ดวยความที่ Google Knol เพิ่งเปดใหบริการไดไมนาน จึงยังไมมีใครรูวามีจุดออนอะไรอยูบาง ถาเกิดวันหนึ่งที่ Google Knol ไดรับความนิยมมากขึ้น มีผูเขียนบทความมากขึ้น มีจํานวนบทความมากขึ้น และมีบทความในเรื่องเดียวกันแตถูก

25


เขียนแยกโดยผูเขียนหลายคน แบบนี้ Google Knol จะทําอยางไรเพื่อแนะนําผูอานวาบทความไหนถูกตองที่สุด หรือวาผูอานตองเสียเวลา อานทุกบทความเพื่อจะตัดสินวาควรจะเชื่อถือบทความไหนกันแน สรุป จากการวิเคราะห จะเห็นไดวารูปแบบการแบงปนความรูทุกแบบตางก็ตองเผชิญกับความทาทายที่เหมือนกันคือ จะทําอยางไรใหขอมูล ถูกตองมากที่สุด? จะทําอยางไรใหผูอานเขาถึงขอมูลที่ถูกตองที่สุดไดทันทีโดยไมเสียเวลาไปกับขอมูลที่ผิด? และจะสรางแรงจูงใจอยางไร ใหมีผูเขียนเขามาแบงปนความรูใหมๆ ที่เกิดขึ้นอยูตลอดเวลา? ในอนาคตเราอาจจะไดเห็นการแบงปนความรูในรูปแบบอื่นที่สามารถเอาชนะความทาทายเหลานี้ได ซึ่งวันนั้นมนุษยชาติเราก็จะมีระบบอับ ดุลอัจฉริยะที่สามารถตอบไดทุกคําถามจริงๆ

26


27


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.