โครงการออกแบบพัฒนาสินค้าและบรรจุภัณฑ์โอทอป ของฝากจากเมืองกาญจน์ แคปหมูไร้มันรัตนา
ARIT3314 การออกแบบกราฟิ กสาหรับ บรรจุภัณฑ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันเกษม
คานา โครงการออกแบบพัฒนาสินค้าและบรรจุภัณฑ์โอทอป ของฝากจากเมืองกาญจน์ แคปหมูไร้มันรัตนา เพื่อ สรุปผลการออกแบบบรรจุภัณฑ์ จึงได้จัดทาการออกแบบและทารูปเล่มกระบวนการทั้งหมดเพื่อรวบรวม การศึกษาที่ได้ค้นคว้าและได้ปฏิบัติ รายงานนีเ้ ป็นส่วนหนึ่งของวิชา ARTI3314
การออกแบบกราฟิก
สาหรับบรรจุภัณณฑ์ หากผิดพลาดประการใด ขออภัย ณ ที่นี้ด้วย
ธมกร ฉวีนาค 19 กันยายน พ.ศ.2555 ผู้จัดทา
ส.1 สื บ ค้ น : R1.RESEARCH 1.ศึกษาวิเคราะห์สินค้าและบรรจุภัณฑ์ 1.1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสินค้า ชื่อสินค้า : แคปหมูไร้มันรัตนา ประเภท : อาหาร สาถานะ : ใช้บริโภค วัสดุหลัก : หนังหมู สี : เหลือง
ขนาด/มิติ : 7.7cm.
ผู้ผลิต : กลุ่มผลิตแคปหมูรัตนา ที่อยู/่ โทรศัพท์ : 236 ห้วยสะพาน หมู่ 2 ตาบลหนองโรง อาเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี 71140 ติดต่อคุณ : รัตนา วันนา โทร : 08-1757-1603 , 03-457-3944 Homepage : วัสดุอุปกรณ์ร่วมในตัวสินค้า/ส่วนผสม หนังหมู 95% ซอสปรุงรส 2.5% เกลือ 2.2% น้าตาล 0.3% สี : เหลือง
ขนาด/มิต :
ธรรมชาติการวางขาย/รูปแบบการขาย : 1.2 โครงสร้างหลักของบรรจุภัณฑ์ที่ใช้
เทคนิคการบรรจุ : นาไปใส่ถุงพลาสติกแล้วปิดปากถุง ใช้เทคนิค/วิธีการ/การบรรจุสินค้า : ใส่ถุงพลาสติกใสแล้วปิดปากถุงด้วยความร้อน บรรจุภัณฑ์ขั้นแรกใช้วัสดุ : พลาสติกใส บรรจุภัณฑ์ขั้น 2 ใช้วัสดุ : บรรจุภัณฑ์ขั้น 3 ใช้วัสดุ : ขนาด/มิติ : กว้าง11cm.สูง18cm. สีของวัสดุบรรจุภัณฑ์ : สีใส การขึ้นรูปทรง : วัสดุตกแต่ง : ระบบการพิมพ์ที่ใช้ : พิมพ์ด้วยระบบออฟเซ็ท Affset สี/จานวนสีที่พิมพ์ : ส้ม เขียวอ่อน เขียวเข้ม น้าเงิน ขาว เหลืองอ่อน ชมพู ดา เหลือง /9สี
1.3 การออกแบบกราฟฟิก ภาพประกอบ : แบนๆไม่มีมิติ ลวดลาย : vectorต่างๆ ข้อความ : เหลือง กรอบ อร่อย ของฝากจากเมืองกาญจน์ โลโก้ชื่อสินค้า : รัตนา ่ ผู ้ผลิต : รัตนา โลโก ้ชือ
การวิเคราะห์ข้อมูลผลิตภัณฑ์ด้วยการมอง (Product Visual Analysis) ชื่อผลิตภัณฑ์ แคปหมูไร้มัน ตรายี่ห้อรัตนา
ภาพที่ 1. ภาพแสดงโครงสร้าง และส่วนประกอบทางกราฟิกของผลิตภัณฑ์สินค้าแคปหมู ยี่ห้อรัตนา ที่มา : ธมกร ฉวีนาค,2555 URL.https://lh4.googleusercontent.com/QYO1cvxX_qo/UAa8iXBkFuI/AAAAAAAAAEM/xlsbHzfCYZM/s720/%25E0%25B9%2581%25E 0%25B8%2584%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8 %25B9%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%2599 %25E0%25B8%25B2%2520copy.jpg เข้าถึงเมื่อ 18 กรกฎาคม 2555 เข้าถึงได้จากที่อยูห่ น้าเว็บไซต์ www.picasaweb.google.com https://picasaweb.google.com/108849565966283933047/July182012#5766503671376647 906
ผลการวิเคราะห์ ก.โครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ปัจจุบัน หมายเลข 1 คือ ถุงพลาสติก 1.1 ถุงพลาสติก : ชนิด IPP 1.2 ขนาด มิติ ความกว้าง : กว้าง11cm. สูง18cm. 1.3 สีของวัสดุบรรจุภัณฑ์ : สีใส 1.4 ราคา : กิโลกรัมละ 90 หมายเลข 2 คือ ตัวผลิตภัณฑ์ แคปหมูไร้มันรัตนา 1.1 วัสดุหลัก : หนังหมู 1.2 ขนาด/มิติ : เป็นเกรียวขดงอ 1.3 สี : เหลือง หมายเลข 3 คือ ใช้เครื่องซีลปิดปากถุงด้วยความร้อน ข. กราฟิกทีป่ รากฏบนตัวบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ปจั จุบัน หมายเลข 4 : โลโก้ผผู้ ลิต ตัวอักษรภาษาไทย ฟอนต์บางลีโ่ ฆษณา http://www.f0nt.com/release/blk-bangli-ko-sa-na/ หมายเลข 5 : ภาพประกอบรูปหมูยิ้ม หมายเลข 6 : จุดเด่นของตัวสินค้าแคปหมู หมายเลข 7 : ราคาและน้าหนัก หมายเลข 8 : ชื้อสินค้าแคปหมูไร้มัน
หมายเลข 9 : ตานานของแคปหมู หมายเลข 10 : มาตรฐาน อย. 71-2-021249-2-0001 หมายเลข 11 : วันที่ผลิต และวันหมดอายุ หมายเลข 12 : ข้อมูลที่อยู่และเบอร์ติดต่อของผูผ้ ลิต หมายเลข 13 : ข้อความประจาจังหวัดของตัวสินค้า หมายเลข 14 : ข้อความชักชวน เหลือง กรอบ อร่อย หมายเลข 15 : ตราสัญลักษณ์โครงการ หมายเลข 16 : ส่วนประกอบผลิตภัณฑ์แคปหมูไร้มัน หนังหมู 95% ซอสปรุงรส 2.5% เกลือ 2.2% น้าตาล 0.3% ปัญหาที่พบคือ จุดบอดทางการมองเห็น-การสือ่ สาร ได้แก่ 1.1. ภาพประกอบยังดูไม่มมี ิติ 1.2. ตัวฉลากยังไม่น่าดึงดูดพอ 1.3.การจัดวางสินค้าไม่สามารถวางซ้อนชั้นกันได้ ข้อเสียจากภาพรวมของผลิตภัณฑ์ ได้แก่ 1.1. ตัวบรรจุภัณฑ์ยงั ไม่มีดึงดูดและยังไม่มีจุดเด่นพอ 1.2. ด้านหลังของบรรจุภัณฑ์ ไม่มีคาขยายความที่ละเอียดมากขึ้นของตัวสินค้า
ภาพที่
2.
ภาพแสดงตัวบรรจุภัณฑ์ที่วาง
จาหน่ายในปัจจุบัน ที่มา : ธมกร ฉวีนาค, 2555
ภาพที่ 3. ภาพผู้ประกอบการและสอบถามความ ต้องการในการออกแบบพัฒนา ที่มา : ธมกร ฉวีนาค,2555
ภาพที่ 4. การขายสินค้าของผูป้ ระกอบการ โดยใช้เสียงและรอยยิ้มเรียกลูกค้า ที่มา : ธมกร ฉวีนาค,2555
ภาพที่ 5. ภาพแสดงความเป็นมาของตัวแคปหมูไร้มัน รัตนา ที่มา : ธมกร ฉวีนาค,2555
ส.2 สมมติ ฐ าน : R.2 RESUME แนวคิดการออกแบบพัฒนาบรรจุภณ ั ฑ์ แคปหมูไร้มนั รัตนา 1.การสร้างแบรนให้ชัดเจนและผูบ้ ริโภคจดจาได้ - ตัวฉลากสินค้า ตัวMascosหมูยงั ไม่โดดเด่นพอ และสีสนั ของพื้นก็เรียบง่ายเกินไป ตัวอักษรโดดเด่น
Sketch แบบร่างตัวฉลากสินค้า
ตัวฉลากที่ทาเสร็จแล้วด้วยโปรแกรม Illustrator
2.ออกแบบบรรจุภัณฑ์กล่องเพื่อสร้างรูปลักษณ์ให้แก่สินค้ามากขึ้น - จากของเดิมนั้นตัวบรรจุภัณฑ์แคปหมูไร้มันรัตนา มีเพียงแค่ถุงพลาสติกชนิด IPP แบบใสทีซ่ ิลปากถุง ด้วยความร้อน ตัวก้นถุงไม่มีถาดลองเพื่อรับน้าหนัก ก้นถุงยังคงไม่เป็นทรง ยากแก่การจัดตั้งเรียงหน้าร้าน ไม่สามารถจัดวางได้หลายชั้น จึงได้จัดทากล่องเพื่อใส่ตัวบรรจุภัณฑ์เดิม ด้านหน้าของตัวกล่องเปิดให้เห็น ตัวสินค้าด้านใน และที่สาคัญสามารถจัดเรียงหน้าร้านได้อย่างง่ายได้ และยังวางซ้อนเป็นชั้นๆได้
\
Sketch แบบร่ างกล่องบรรจุภณั ฑ์
โมเดลจาลองกล่องบรรจุภัณฑ์
ตัวถาดรองแคปหมูไร้มันรัตนา
ตัวถุงพลาสติก IPP
ตัวถุงและตัวถาดรอง
ด้านหน้าเจาะให้เห็นตัวสินค้าด้านในปิดด้วยแผ่นพลาสติกใส P.V.C
ตัวกล่องและตัวถุงแคปหมูไร้มันรัตนา
ตัวบรรจุภัณฑ์ที่ติดฉลากเรียบร้อยแล้ว แบบต่อมา เนื่องจากได้ไปสอบถามจากผูป้ ระกอบการแล้ว คุณรัตนาต้องการแบบใดก็ได้แค่ตอ้ งการ ตัวรัตนา ให้เป็ นแบบเดิม เพื่อให้ลกู ค้าจดจาได้ เราจึงคิดที่จะเปลี่ยนมาเป็ นถุงซิ ปล๊อก เมื่อเวลาทีเ่ ราแกะถุงแล้ว รับประทานไม่หมด เราก็ยงั มีตวั ซิ ปตัวนี้ลอ๊ กไม่ให้ตวั แคปหมูช้ืนได้
ถุงซิปล๊อกแบบตั้งได้หน้าใส
ด้านหลังเป็นฟรอย
PACK PATTERN 1
FRONT
BACK
PACK PATTERN 2
FRONT
BACK
ส.3 สรุ ป : R.3 RESULT ผลงานการออกแบบ
ที่มา: ธมกร ฉวีนาค,2555
Concept : บรรจุภัณฑ์นี้ยังคงความเป็นรัตนาเดิมด้วยฟอนต์รัตนาจะต้องโดดเด่นทัง้ ด้านหน้าและหลัง และสีของพื้นหลังยังคงการไล่สี เหลือง,ส้ม,แดง เพื่อผูบ้ ริโภคยังคงจาสินค้าได้จากสีพื้นหลังของบรรจุ ภัณฑ์ของเดิม ส่วนตัวพื้นหลังสีฟ้านั้นลองเปลี่ยนสีเพิม่ ความสดใสและลวดลายดูเพือ่ ไม่จาเจจากสีเดิมๆ สิ่งสาคัญคือซองซิปที่ไม่ว่าจะหยิบแคปหมูมารับประทานตอนไหนเมื่อรับประทานไม่หมด สามารถถนอมอาหารให้คงความกรอบได้นานมากกว่าถุงบรรจุภัณฑ์เดิมที่ฉีกรับประทาน
ของตัวนี้
จัดทาโดย
นางสาว ธมกร ฉวีนาค รหัสนักศษา 5311310303 หมู่เรียน ศศ.บ.531(4)/13A กลุ่มเรียน 102 ( อังคาร 8.30-12.30 น.) วิชา ARTI3314 การออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชามนุษยศาสตร์ สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์) Blogger : http://thamakorn-arti3314.blogspot.com/