ARCHITECTURE DESIGN | THESIS | 2020
CENTER
THANACHIT POYEAM 593200188-7
ศูนย์การเรียนรู้แมคคาเดเมีย ชุมชนนาแห้ว จังหวัดเลย
นายธนชิต
พลเยี่ยม
วิทยานิพนธ์ปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2563
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
Mr.THANACHIT PONYEAM
A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS FOR THE DEGREE OF BACHELOR OF ARCHITECTURE DEPARTMENT OF ARCHITECTURE, FACULTY OF ARCHITECTURE, KHON KAEN UNIVERSITY 2020
ชื่อวิทยานิพนธ์ ชื่อผู้จัดทำ� อาจารย์ที่ปรึกษา ภาควิชา ปีการศึกษา
: : : : :
ศูนย์การเรียนรู้แมคคาเดเมียชุมชนนาแห้ว จังหวัดเลย นายธนชิต พลเยี่ยม อาจารย์ ดร.จันทนีย์ จิรัณธนัฐ สถาปัตยกรรม 2563
บทคัดย่อ นาแห้ว เป็น อำ�เภอเล็ก ๆในจั ง หวั ด เลยที่ มีวิ สั ย ทั ศ น์ ก้า วไกลและสอดคล้ อ งกั บ วิถีชีวิตที่สนับสนุนเกษตรกร ควบคู่กับการรักษาผืนป่า จะเห็นได้จากโครงการต่างๆ อาทิเช่นโครงการนาแห้วโมเดลที่เป็นแบบแผนที่ให้คนอยู่ร่วมกับป่าและยังมีวิสัยทัศน์ เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง ชุมชนพึ่งตนเองและมีเป้าหมาย คือ ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชน พึ่งตนเองได้ครอบครัวมีคุณภาพที่ดี กลุ่มแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรบ่อเหมืองน้อย หมู่บ้านที่มีการปลูกพืชแมค คาเดเมียและมีผลผลิตทางการเกษตรที่ดีและยังมีกลุ่มวิสาหากิจชุมชนแปรรูป แมค คาเดเมียส่งออกเป็นสินค้าของตัวเองและยังสามารถสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน สร้างงาน และสร้างวิถีชีวิตใหม่ร่วมกับการอยู่อาศัยในเขตอนุรักษ์ป่าไม้อีกด้วย โครงการศูนย์แมคคาเดเมียชุมชนนาแห้ว มีทั้งหมด 3 ไซต์ ตั้งอยู่ในตำ�บลแสง ภา อำ�เภอนาแห้ว จังหวัดเลย ทั้ง 3 ที่นั้นเชื่อมกันด้วยกิจกรรมที่สอดคล้องกับแมค คาเดเมียในทุกมิติ ตั้งแต่การปลูกถึงการแปรรูปออกมาเป็นผลผลิต โดยชาวบ้านเป็น คนดำ�เนินกิจกรรมต่างๆด้วยตนเอง เป็นการสร้างพื้นที่ท่องเทียวเชิงเกษตร เรียนรู้วิถี ชีวิตเที่เกี่ยวโยงกับแมคคาเดเมีย พืชที่ขึ้นชื่อว่า ราชาแห่งถั่ว อย่าง แมคคาเดเมีย
กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เสร็จสมบูรณ์เป็นอย่างดีได้ด้วยความช่วยเหลือ และการให้ คำ�ปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษา ได้แก่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อาจารย์ ดร.จันทนีย์ จิรั ณธนัฐ และคณะอาจารย์ที่เป็นคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ทุกท่าน คำ�แนะนำ�ในทุก ขั้นตอนที่ได้ทำ� การศึกษารายวิชาวิทยานิพนธ์ การวางแผนการศึกษา กระบวนการ ออกแบบผลงานทางสถาปัตยกรรม และการนำ�เสนอผลงานการออกแบบที่ถูกต้องตาม หลักวิชา ตลอดจนการเขียนรายงานและรูปเล่มวิทยานิพนธ์เพื่อนำ�เสนอผลงานการ ออกแบบทางสถาปัตยกรรม การตรวจสอบ แก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ของงานทุกอย่าง รวมทั้งวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ขอขอบคุณคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อันเป็นสถาน ศึกษาที่ประสิทธิประสาทวิชาความรู้ ขอกราบขอบพระคุณคณาจารย์ประจำ�คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นทุกท่านที่ได้ให้การสั่งสอนรายวิชาที่เป็น พื้นฐานในการศึกษาและการออกแบบงานทางสถาปัตยกรรม ให้คำ�แนะนำ� และข้อคิด เห็นอันเป็นประโยชน์ต่อการทำ�วิทยานิพนธ์ ขอขอบคุณเจ้าหน้าที่และบุคลากรคณะคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ทุกท่านที่ได้ให้ความช่วยเหลือและอำ�นวยความสะดวกในด้าน ต่างๆ ขอขอบคุ ณ เพื่ อ นนั ก ศึ ก ษาคณะคณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ ม หาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่นทุกท่านที่ให้คำ�แนะนำ� ช่วยเหลือและเป็นกำ�ลังใจในการศึกษาตลอดมา ขอขอบคุณคุณแม่ พี่เมย์ พี่เจ ครอบครัวพลเยี่ยม ที่คอยสนับสนุนทั้งทรัพย์สิน ที่ใช้ในการทำ�ธีสีส คอยถามไถ่รับฟังเวลาเหนื่อยหรือท้อใจ ขอขอบคุณ น้องโบว์ น้องรหัสสุดน่ารักคนเดียวของพี่ ที่ช่วยตัดโมเดลและซื้อ ขนมให้ น้องตั้ม น้องแอ๋ม น้องโกดัก น้องฟ้า น้องเฟิร์ส ที่ช่วยตัดโมเดล แฮรี่ที่ช่วยขน โฟมจากหอสมุด ขอบคุณมุกกิที่ใจดีขนโฟมให้ หมู ตี้ อัน แสน บิ๊ก นัท มัดมุก เฟีย ใหญ่ โต ปอย บุศ และเพื่อนๆ สตู 5/ริม สตูนี้สนุกมากๆ ขอบขอบคุณแสน ที่คอยช่วยตัดต่อวีดีโอแม้จะเดือดและดึกแค่ไหนก็มาช่วย สุดท้ายผลอันจะเป็นประโยชน์ ความดีความงามทั้งปวง ที่เกิดขึ้นจากการ ศึกษาวิทยานิพนธ์นี้ ขอมอบแด่คุณพ่อและคุณแม่ที่เคารพยิ่งและหากมีข้อบกพร่องด้วย ประการใดๆ ผู้วิจัยขอน้อมรับไว้ด้วยความขอบคุณยิ่ง
CONTENTS
INTRODUCTION
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
ที่มาและความสำ�คัญ
THEORY & CASE STUDY 5 THEORY
PROGRAM 26 USERS
40 42 44 46
MACADAMIA ความเป็นมาของโครงการ วัตถุประสงค์ของโครงการ วัตถุประสงค์ของการศึกษา นโยบายที่เกี่ยวข้อง
7 CASE STUDY 8 DATAI HOTEL 10 The Brick Wall
32 AREA REQUIREMENTS 32 ORGANIZATION CHART 33 SITE ANALYSIS
10 DOMINUS WINER 11
34
ขอบเขตของการศึกษา SITE LOCATION” ขั้นตอนการดำ�เนินงาน
11 12 18
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ Pre-Thesis
19 20
4 5 6 ARCHITECTURAL DESIGN
SUMMARY
APPENDIX
FUNCTIONAL DIAGRAM
62 บทสรุ ป ของโครงการ
BIBLIOGRAPHY
CONCEPTUAL DESIGN PRELIM 1 PRELIM 2
64 ข้ อ เสนอแนะ 66 90 110
TABLE OF CONTENT
FINAL
1
INTRODUCTION
แมคคาเดเมีย KING OF NUTS
ถั่วแมคคาเดเมียเป็นถั่วที่แพงที่สุดในโลก ซึ่งราคาสามารถสูงถึง 1000 -1500 บาท กิโลกรัม ซึ่งสูงกว่าสอง-สามเท่าของถั่วชนิดอื่น ๆ เช่น อัลมอนด์ หรือ พิทาชิโอ้ แมคคาเดเมียเป็นพืชเคี้ยวมันที่มีคุณภาพสูงเนื่องจากมีรสชาติที่เข้มข้น เนยถั่วแมคคาเดเมียเป็นขนมที่ได้รับความนิยมในอเมริกาและมีความต้องการ มากในจีนอีกด้วย
ทำ�ไมถั่วแมคคาเดเมีย จึงมีราคาแพงกันล่ะ? เหตุผลหลักคือกระบวนการเก็บเกี่ยวที่ล่าช้าในขณะที่มีต้นแมคคาเดเมียกว่าสิบ ชนิด แต่มีเพียง 2 ชนิดเท่านั้นที่สามารถนำ�มารับประทานได้และยังใช้เวลากว่า 7 - 10 ปี กว่าจะเริ่มให้ผลผลิต แมคคาเดเมียจะสามารเก็บเกี่ยวได้เพียง 5-6 ครั้งต่อปี โดยทั่วไปแล้วจะใช้วิธีการเก็บผลด้วยมือเปลือกแข็งหนาของแมคคาเด เมียมักจะถูกกะเทาะออกก่อนการขายซึ่งมันเป็นเรื่องที่ยุ่งยากมากเลยทีเดียว แมคคาเดเมีย เป็นไม้ยืนต้นที่ต้องปลูกเฉพาะพื้นที่สูงจากระดับน้ำ�ทะเลตั้งแต่ 700 เมตรขึ้นไป และสภาพอากาศเย็นตลอดทั้งปี
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
แมคคาเดเมีย มีปริมาณไขมันสูงถึง 20.9 Vกรัมต่อแมคคาเดเมีย 454 กรัม ซึ่งมากกว่าถั่วชนิดอื่นๆและเป็นเหตุผลว่าทำ� ไมคน เคยคิ ด ว่ า ถั่ ว แมคคาเดเมี ย นั้ น ไม่ ดี ต่ อ สุ ข ภาพแต่ ค วามเป็ น จริ ง ไขมันส่วนใหญ่นั้นปลอดสารคลอเรสเตอรอล 100% และมี กรด palmitoleic ซึ่งสามารถปรับปรุงการเผาผลาญและช่วย รักษาระดับอินซูลินในร่างกายอีกด้วย แมคคาเดเมียแต่ละเมล็ด จะประกอบด้วยน้ำ� มัน 80% และน้ำ� ตาล 4% ปริมาณไขมัน สูง และน้ำ � ตาลต่ำ� ทำ � ให้ แ มคคาเเมี ย เหมาะสำ � หรั บ การรั บ ประทาน เพื่ อ สุ ข ภาพและโปรแกรมลดน้ำ � หนั ก รวมถึ ง อาหารที่ ล ดการ ทานคาร์โบไฮเดรตในขณะที่เน้นการทานไขมันที่ดี
INTRODUCTION
INTRODUCTION
STATEMENT OF THE PROBLEMS
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
ที่มาและความสำ�คัญ
แมคคาเดเมี ย มี ส ารอาหารที่ มี คุ ณ ค่ า ต่ อ ร่ า งกายมี คุ ณ ค่ า ทาง โภชนาการสู ง ช่ ว ยให้ คุ ณ มี สุ ข ภาพที่ ดี อ ย่ า งยื น ยาวและ ช่วยลดอัตราเสียงของการเกิดโรคต่างๆมีระดับ flavonoids สูงช่วยปกป้องร่างกายจากสารพิษทางสิ่งแวดล้อมลดอัตตรา เ สี่ ย ง ข อ ง โ ร ค ม ะ เ ร็ ง เ ต้ า น ม ม ะ เ ร็ ง ป า ก ม ด ลู ก แ ล ะ ม ะ เ ร็ ง กระเพาะอาหารมีเส้นใยอาหารประมาณ 7% เส้นใยอาหารเหล่า นี้สามารถลดอาการหิวและช่วยย่อยอาหารลดอาการท้องผูกและ โรคที่เกี่ยวข้องอื่นๆเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหารได้
สิ น ค้ า แ ล ะ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ คุ ณ ภาพที่ เ กิ ด จากแมค คาเดเมีย ที่่เป็นอาหาร และ สิ น ค้ า บริ โ ภคและอุ ป โภค เช่น น้ำ�มันแมคคาเดเมีย เค้ก ขนมคุกกี้ถ่านไร้ควัน จากกะลาแมคคาและยั ง มี การพัฒนา นำ�มาออกแบบ เป็ น วั ส ดุ ก่ อ สร้ า งรี ไ ซเคิ ล จากแมคคาเดเมียอีกด้วย
INTRODUCTION - STATEMENT OF THE PROBLEMS
มีการศึกษาและวิจัยในการ พั ฒ นาเกี ย วกั บ กะลาของ แมคคาเดเมีย ที่มีคุณภาพ ทั้ ง เป็ น เชื้ อ เพลิ ง ที่ ดี แ ละ สามารถนำ�มาแปรรูปในรูป แบบของวั ส ดุ รี ไ ซเคิ ล อี ก ด้วย และยังมีการศึกษา และวิจัยต่อไป
5
STATEMENT OF THE PROBLEMS
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
พื้นที่ปลูกแมคคาเดเมีย
แมคคาเดเมี ย ถู ก ค้ น พบในภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ของ ออสเตรเลีย ชาวอะบอริจิน เรียกต้นไม้ชนิดนี้ว่า”KindalKindal”แต่ในที่สุดอาณานิคมของอังกฤษก็เปลี่ยนชื่อเป็น “macadamia nuts”แม้จะมีต้นกำ� เนิดในประเทศออสเตรเลีย แต่แมค คาเดเมียก็ถูกนำ�มาพัฒนาเพื่อปลูกในเชิงพาณิชย์เป็นครั้งแรกใน ฮาวายฮาวายมีสภาพภูมิอากาศที่สมบูรณ์แบบสำ�หรับแมคคาเด เมียเพราะต้องการฝนมากมีดินที่อุดมสมบูรณ์และอากาศที่อบอุ่น ในการเจริ ญ เติ บ โตซึ่ ง หมายความว่ า ภู มิ ภ าคที่ ไ ม่ เ ป็ น ไป ตามข้ อ กำ � หนดเหล่ า นี้ จ ะต้ อ งนำ � เข้ า ถั่ ว แมคคาเดเมี ย จาก ฮาวาย แอฟริกาใต้ ละตินอเมริกา หรือออสเตรเลีย เท่านั้น
ปั จ จุ บั น มี แ หล่ ง ปลู ก แมคคาเดเมี ย เพื่ อ การค้ า อยู่ ใ นหลาย จังหวัดทั้งทางภาคเหนือและภาคอีสานตอนบนของไทยปัจจุบัน ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกแมคคาเดเมียจำ�นวนมากอยู่ในสามจังหวัด ได้แก่ เชียงราย ตาก และ จังหวัดเลยซึ่งให้ผลผลิตแมคคาเดเมีย เพื่อจำ�หน่ายในประเทศกว่า800 - 1,200 ตัน ต่อปีแมคคาเด เมี ย แต่ ล ะสายพั น ธุ์ ส ามารถเจริ ญ เติ บ โตได้ ดี ใ นระดั บ ความสู ง ที่ แตกต่างกันดังนั้นพื้นที่ปลูกแมคคาเดเมียจึงมีอยู่ค่อนข้างจำ�กัด แ ม ค ค า เ ด เ มี ย จึ ง มี ค ว า ม สำ � คั ญ เ พ ร า ะ เ ป็ น พื ช เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ที่ถูก นำ � เข้ ามาปลู กทดแทนการปลู กฝิ่ นของชาวเขาและทดแทน พื้นที่ป่าที่ถูกทำ�ลายไปในอดีตได้เป็นอย่างดี
7
INTRODUCTION - STATEMENT OF THE PROBLEMS
พื้นที่ปลูกแมคคาเดเมียในประเทศไทย
STATEMENT OF THE PROBLEMS
ความเป็นมาของ โครงการ ประเทศไทยในอดี ต มี ป่ า ไม้ ป กคลุ ม อย่ า งอุ ด ม สมบูรณ์ แต่การเพิ่มขึ้นของจำ�นวนประชากร ประกอบกั บ การเปลี่ ย นแปลงทางเศรษฐกิ จ ทำ�ให้มีความต้องการใช้ทัพยากรป่าไม้พื้นที่เพื่อ ทำ�การเกษตรมากขึ้น เป็นเหตุให้มีการบุกรุก พื้นที่ป่าในพื้นที่ต้นน้ำ�และพื้นที่สูงรวมทั้งไฟป่าที่ เกิดจากการเผาป่าทำ�ไร่การเตรียมพื้นที่ทำ�การ เกษตรบนพื้นที่สูงและใช้สารเคมีจะส่งผลอย่าง รุนแรงต่อพื้นที่ต้นน้ำ�และพื้นที่ตอนล่างของลุ่ม น้ำ�ก่อให้เกิดความเสียหายทางตรงแลทางอ้อม ดังจะเห็นได้ว่าในฤดูฝนเมื่อเกิดฝนตกหนักมัก จะมี น้ำ � ป่ า ไหลหลากลงมาและมี ดิ น ถล่ ม เป็ น ประจำ�
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
จั ง หวั ด เลยเป็ น อี ก หนึ่ ง จั ง หวั ด ที่ มี พื้ น ที่ ป่ า และ เขตภูเขาสูง เป็นจังหวัดที่อุดมสมบูรณ์ไป ด้ ว ยทรั พ ยากรป่ า ไม้ แ ละเป็ น เขตอุ ท ยานแห่ ง ชาติ และเกิดปัญหาการบุกรุกป่า และลุกล้ำ� เขตอนุ รั ก ษ์ เ พื่ อ ทำ � การเกษตรของชาวบ้ า น จึ ง เกิ ด โครงการต่ า งๆที่ เ ข้ า มาเพื่ อ แก้ ปั ญ หานี้
ชุ ม ชนบ้ า นบ่ อ เหมื อ ง น้ อ ย ตำ � บลแสงภา อำ � เภอนาแห้ ว จั ง หวั ด เลย
หมู่ บ้ า นที่ มี ก ารปลู ก พื ช แมคคาเดเมี ย และมี ผลผลิ ต ทางการเกษตรที่ ดี แ ละยั ง มี ก ลุ่ ม วิ ส า หากิ จ ชุ ม ชนแปรรู ป แมคคาเดเมี ย ส่ ง ออกเป็ น สินค้าของตัวเองและยังสามารถสร้างรายได้ให้ แก่ชุมชนสร้างงาน และสร้างวิถีชีวิตใหม่ร่วม กั บ การอยู่ อ าศั ย ในเขตอนุ รั ก ษ์ ป่ า ไม้ อี ก ด้ ว ย
9
INTRODUCTION - STATEMENT OF THE PROBLEMS
หนึ่งในสองหมู่บ้านในเขตอุทยานแห่งชาติภูสวน ทราย หมู่บ้านจัดสรร ตามแนวชายแดนไทยลาว อยู่ในเขตข้อพิพาทของพื้นที่เขตแดน ไทย-ลาว(สมรภูมิบ้านร่มเกล้า)หลักจากการสู้ รบจบลงมีการก่อตั้งหมู่บ้านจัดสรร(เมืองหน้า ด่ า น)เพื่ อ รั ก ษาอาณาเขตด้ ว ยการสร้ า งบ้ า น จัดสรร 75 หลังคาและให้พื้นที่ทำ�กินครอบครัว ละ 10 ไร่เพื่อลดปัญหาต่างๆเมื่อก่อตั้งหมู่บ้าน ขึ้นจึงมีการนำ�พืชที่เหมาะแก่การปลูกในป่าและ เหมาะสมกับพื้นที่ ยังสามารถผลิตผลผลิตและ สร้างรายได้แก่ชุมชนได้ นั่นคือ แมคคาเดเมีย
STATEMENT OF THE PROBLEMS
วัตถุประสงค์โครงการ 1.เพื่อส่งเสริมศักยภาพการท่องเที่ยวและสร้าง กิจกรรมใหม่ในช่วงนอกฤดูการท่องเที่ยวของ ชุมชนนาแห้ว 2.เพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาพื้นถิ่นวิถีชีวิตที่อยู่ร่วม กับธรรมชาติ 3.ให้เป็นบริการที่มีมาตรฐานและอำ�นวยความ สะดวกแก่นักท่องเที่ยว
วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาการออกแบบอาคารให้สอดคล้องกับ บริบททางกายภาพ 2. เพื่อศึกษาการออกแบบอาคารบนพื้นที่ลาดชัน
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
3. เพื่อศึกษาการใช้วัสดุจากการเกษตรสู่กระบวน การแปรรูปในงานสถาปัตยกรรม
ขอบเขตของโครงการ
โครงการศูนย์การเรียนรแมคคาเดเมียชุมชนนาแห้ว จังหวัดเลย เป็นศูนย์ให้ความรู้และแหล่งแปรรูป และจำ�หน่ายแมคคาเดเมีย โดยเป็นพื้นที่อบรมเกี่ยวกับกระบวนการต่างเกี่ยวกับแมคคาเดเมียให้ บุคคลทั่วไปและเกษตรกรที่สนใจ เพื่อเป็นการพัฒนาองค์และเผยแพร่ความรู้ทางการเกษตร ภายใน โครงการจะเน้นสร้างประสบการณ์และความรู้กับผู้เข้าชม ผ่านกิจกรรมที่ทำ�ร่วมกันระหว่าคนใน ชุมชนและนักท่องเที่ยว โดยมีส่วนประกอบสำ�คัญดังนี้ 4.1.3องค์ประกอบสนับสนุน - ที่จอดรถ - ส่วนงานระบบโครงการ - ส่วนโรงปุ๋ยหมัก - โรงอาหาร
INTRODUCTION - STATEMENT OF THE PROBLEMS
4.1 ขอบเขตในด้านองค์ประกอบของโครงการ 4.1.1องค์ประกอบหลัก - ส่วนนิทรรศการ - ส่วนนิทรรศการชั่วคราว - ส่วนบรรยายและฝึกอบรม กิจกรรม Workshop - ส่วนแปรรูปและส่งออก - ร้านอาหาร ร้านกาแฟ - ร้านผลิตภัณฑ์ 4.1.2องค์ประกอบรอง (2.1) ส่วนบริหารโครงการ - ฝ่ายบริหารทั่วไป - ฝ่ายพัฒนาการเรียนรู้ - ฝ่ายแปรรูปและส่งออก - ฝ่ายพาณิชยกรรม - ฝ่ายอาคารสถานที่
11
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
SITE LOCATION
13
INTRODUCTION - SITE LOCATION
SITE LOCATION
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
นาแห้วเป็นอำ�เภอเล็กๆในจังหวัดเลยที่มีวิสัยทัศน์ก้าวไกล และสอดคล้องกับวิถีชีวิตที่สนับสนุนเกษตรกร ควบคู่ กับการรักษาผืนป่า จะเห็นได้จากโครงการต่างๆ อาทิเช่น โครงการนาแห้ ว โมเดลที่ เ ป็ น แบบแผนที่ ใ ห้ ค นอยู่ ร่ ว มกั บ ป่าและยังมีวิสัยทัศน์ เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง ชุมชนพึ่ง ตนเองและมีเป้าหมาย คือ ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชน พึ่งตนเองได้ครอบครัวมีคุณภาพที่ดี
INTRODUCTION - SITE LOCATION
ก ลุ่ ม แ ป ร รู ป ผ ล ผ ลิ ต ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร บ่ อ เ ห มื อ ง น้ อ ย ห มู่ บ้ า น ที่ มี ก า ร ป ลู ก พื ช แ ม ค ค า เ ด เ มี ย แ ล ะ มี ผ ล ผ ลิ ต ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร ที่ ดี แ ล ะ ยั ง มี ก ลุ่ ม วิ ส า ห า กิ จ ชุ ม ช น แปรรู ป แมคคาเดเมี ย ส่ ง ออกเป็ น สิ น ค้ า ของตั ว เองและยั ง สามารถสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน สร้างงาน และสร้างวิถี ชี วิ ตใหม่ ร่ว มกั บ การอยู่ อ าศั ย ในเขตอนุ รั กษ์ ป่ าไม้ อี กด้ ว ย
15
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
SITE LOCATION
โครงการศูนย์แมคคาเดเมียชุมชนนาแห้ว มีทั้งหมด 3 ไซต์ ตั้งอยู่ในตำ�บลแสงภา อำ�เภอนาแห้ว จังหวัดเลย ทั้ง 3 ที่ นั้นเชื่อมกันด้วยกิจกรรมที่สอดคล้องกับแมคคาเดเมียใน ทุกมิติ ตั้งแต่การปลูกถึงการแปรรูปออกมาเป็นผลผลิต โดยชาวบ้ า นเป็ น คนดำ � เนิ น กิ จ กรรมต่ า งๆด้ ว ยตนเอง
แปรงปลูกแมคคาเดเมียรุ่นแรกของพื้นที่ มีอายุ ราว 30 ปี ที่ยังให้ผลผลิตที่มี คุณภาพสูงและยังเป็นแปรงที่ก่อให้ผเกิด กิจกรรม ในกระกวนการเก็บและแปรรูป ในกลุ่ ม วิ ส าหกิ จ บ้ า นบ่ อ เหมื อ งน้ อ ย พื้นที่สวน ทั้งหมด 4 ไร่ พื้นที่ โครงการ 1 ไร่
จุดชมวิวภูหัวฮ่อม จุดกางเต็นท์ของ อุทยานภูสวนทราย มองเห็นทั้งตำ�บล แสงภา และรอยต่อระหว่างประเทศไทยลาว จุดสูงสุดและตรงกลางระหว่าง 2 ไซต์ พื้นที่ 50 ตรม.
ที่ตั้งหลักของโครง เป็นประตูสู่ชุมชนแสง ภา อยู่ตำ�แหน่งของศูนย์กลางของชุมชน เข้าถึงง่าย ติดกับโรงเรียน มีจุดบริการ ชุมชน
INTRODUCTION - SITE LOCATION
พื้นที่ 6 ไร่
17
SITE LOCATION
ขั้นตอนและวิธีดำ�เนินการ
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
วิธีการดำ�เนินงานแบ่งเป็นขั้นตอน ดังนี้ 5.1 การหาข้อมูลศึกษาจากการสอบถาม ความสำ�คัญและความต้องการของรูปแบบโครงการจาก 5.1.1 ข้อมูลปฐมภูมิ จากการสอบถามขอเอกสาร สัมภาษณ์บุคคลที่มีส่วนสำ�คัญต่อรูปแบบและ ลักษณะโครงการ 5.1.2 ข้อมูลทุติยภูมิ จากแผนพัฒนา สถิติ แผนยุธศาสตร์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จังหวัด บุรีรัมย์ งานวิจัยที่ได้ทำ�การตีพิมพ์เผยแพร่ และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 5.2 ขั้นรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล กำ�หนดองค์ประกอบต่าง ๆ ของโครงการจากการเปรียบเทียบศึกษา 5.3 ขั้นสรุปโครงการ กำ�หนดพื้นที่ใช้สอบ จำ�นวนเจ้าหน้าที่ จำ�นวนผู้ใช้โครงการ เพื่อเป็นโปรแกรม กำ�หนดความต้องการโครงการและการออกแบบทางสถาปัตยกรรม 5.4 ขั้นวิเคราะห์ที่ตั้ง 5.5 ขั้นกำ�หนดแนวความคิดในการออกแบบ การพัฒนารายละเอียดทางสถาปัตยกรรม
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ประโยชน์ของโครงการ เป็นสถานที่รวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับแมคคาเดเมียและพัฒนาชุมชนท่อง เที่ยวโดยใช้ความเกื้อกูลกันระหว่างโครงการและชุมชนเกษตรกรรม
INTRODUCTION - SITE LOCATION
2. ประโยชน์ของการศึกษาโครงการได้ศึกษาการใช้วัสดุท้องถิ่นในการออกแบบงานสถาปัตยกรรม ได้ ศึกษาการวางผังและออกแบบอาคารเขตร้อนชื้นแลกลมกลืนกับชุมชนเกษตรกรรม ได้ศึกษาการนำ�พลังงานทดแทน มาใช้ในงานสถาปัตยกรรม
19
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
PRE-THESIS PRESENTATION
21
INTRODUCTION - SITE LOCATION
2
THEORY & CASE STUDY
การเชื่อมโยงข้อมูลเหล่านี้เข้าด้วยกันกับผลลัพธ์ของการวิเคราะห์จะช่วยให้เรา พัฒนาความคิดที่นำ�ไปสู่การสร้างแนวความคิดทางการออกแบบที่เป็นรูปธรรม ค้นหา “แรงบันดาลใจ” หรือความคิดที่จุดประกายขึ้นเมื่อกระบวนการ เมื่อทำ�งานไปเรื่อยๆความต้องการอื่นๆและลำ�ดับขั้นตอนของการออกแบบจะ ค่อยๆประกอบกันขึ้นเป็นแนวความคิดผลก็คืองานออกแบบพัฒนาคู่กันไปกับ กระบวนที่แปรเปลี่ยนไปนั่นเอง
ประสบการณ์
ส่วนบุคคลและการรับรู้คือตัวตัดสินในการสร้างมโนคติ ใน การทำ�งานทุกชิ้นเราจะได้ขัดเกลาเครื่องมืออันจำ�เป็นสำ�หรับงานออกแบบและได้ พัฒนาสัมผัสไปสู่ทางที่ถูกต้อง การทำ� งานกับปากกา คอมพิวเตอร์ หรือหุ่น จำ�ลอง เป็นเพี้ยงส่วนย่อยที่จะนำ�ไปสู่จุดมุ่งหมายใหญ่เท่านั้นรางวัลที่สำ�คัญที่สุด ของการลับฝีมืออยู่ตลอดเวลาคือระดับสติปัญญา เราจะได้สัมผัสกับความคิด สร้างสรรค์แขนงใหม่ๆ และพัฒนาคลังความรู้ทางสถาปัตยกรรมให้หลากหลาย หนังสือพื้นฐานการออกแบบ
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
DATAI HOTEL (1991-1993)
DOMINUT WINERY (1995-1997)
THEORY & CASE STUDY
การศึกษางานสถาปัตยกรรมที่เกิดขึ้นจริงนั้น เป็นการสร้างประสบการณ์ของที่ว่างในงาน สถาปั ต ยกรรมการศึ ก ษาแบบอาคารอย่ า ง ถ่องแท้ รูปลักษณ์ภายนอกของอาคาร เป็น หนทางที่ ทำ � ให้ เ ราเริ่ ม คุ้ น เคยกั บ ความคิ ด และระเบี ย บวิ ธี คิ ด ได้ เ ป็ น อย่ า งดี จึ ง เป็ น เรื่ อ ง สำ�คัญที่จะเข้าไปเยี่ยมชมอาคารสักหลังและ สั ม ผั ส ประสบการณ์ ข องที่ ว่ า งและสั ง เกต อาคารจากสภาพแวดล้อมรอบๆ ในทุกด้าน เพื่ อ ให้ เ รี ย นรู้ แ ละเข้ า ใจกระบวนทั ศ น์ ใ นการ ออกแบบ และใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการ ออกแบบโครงการของตน
ในที่นี้ได้ยกตัวอย่างและกรณีศึกษาที่ผู้เรียน สนใจและเป็นประโยชน์กับการออกแบบต่อไป
พื้นฐานการออกแบบ
THEORY & CASE STUDY
THE BRICK WALL (2015-2017)
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
THEORY แนวคิ ด และทฤษฎี ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในการ ออกแบบ
โครงการศูนย์แมคคาเดเมียชุมชนนาแห้ว จังหวัด เลย เป็นโครงการที่จัดทำ�ขึ้นเพื่อสร้างพื้นทการ เรียนรู้เรื่องการอยู่ร่วมกับธรรมชาติ กาประกอบ อาชี พ เกษตรบนพื้ น ที่ สู ง แปรรู ป และส่ ง ออกแมค คาเดเมีย รวมถึงมีพื้นที่ส่งเสริมกิจกรรมการท่อง เที่ยวในชุมชน จึงต้องอาศัยหลักการและแนวคิด ที่มีความเกี่ยวข้องกับโครงการ ในด้านกาจัดการ รูปแบบการท่องเที่ยวซึ่งจะมีผลต่อการออกแบบ พื้นที่ใช้สอยของโครงการโดยมีประเด็นการศึกษา ดังต่อไปนี้
การศึ ก ษาแนวคิ ด เกี่ ย วกั บ การท่ อ ง เที่ยวแบบเนิบช้า
Leo Babauta นักเขียนชาวอเมริกันกล่าวว่า การใช้ชีวิตที่ย้อนกลับไปสู่ความเรียบง่าย เบรก ตัวเองออกจากความเร่งรีบ ถอยห่างจากระบบ อุตสาหกรรมและโลก ทุนนิยม หันมาพึ่งพิงสิ่ง ใกล้ ตั ว เพื่ อ ตั ว เองและสิ่ ง แวดล้ อ มไปพร้ อ มๆกั น ซึ่งเหมารวมทุกอิริยาบทของชีวิต เปลี่ยนมากิน อาหารที่ใส่ใจสุขภาพ เรียนรู้ที่จะพึ่งตัวเอง อย่าง การปลูกผักกินเองหรือกรเดินทางท่องเที่ยวเพื่อ เรียนรู้วัฒนธรรมท้องถิ่นและเขายังได้กล่าว ใน หนังสือThePower of Less ว่าหากจะใช้ชิวิต แบบ Slow Lifeให้ถึงแก่นจริงๆนั้น คุณต้อง ปฏิบัติตามหลัก 10 ประการ 1. จัดลำ�ดับความสำ�คัญ เลือกทำ�สิ่งที่สำ�คัญก่อน 2. อยู่กับปัจจุบัน มีสติกับสิ่งที่เป็นอยู่ 3. เลิกจ้องหน้าจอบ้าง งดออนไลน์ 4. ใส่ใจคนรอบข้าง ให้เวลาเขามากขึ้น 5. ซึมซับธรรมชาติ กิจกรรมกลางแจ้ง 6. กินให้ช้าลง ละเลียดความอร่อยจากอาหาร 7. ขับรถให้ช้าลง 8. ปรับมุมมอง มองหาสิ่งที่สวยงาม 9. ทำ�ทีละอย่าง ค่อยเป็นค่อยไป 10. หายใจลึกๆ ทำ�ใจนิ่งๆ
การท่ อ งเที่ ย วที่ เ น้ น ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ เ ป็ น ราย บุคคลและสนใจให้ใช้เวลาในระยะเวลาที่เหมาะสม พอที่จะได้เรียนรู้และเกิดความเข้าใจในลักษณะของ สังคม วัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น นั้ น ๆผ่ า นการทำ � กิ จ กรรมต่ า งๆที่ ม าจากคนใน ชุมชนเองในทุกส่วนของกิจกรรมที่เกิดขึ้น เช่น พักในที่พักของชาวบ้าน ทานอาหารท้องถิ่นใช้ ยานพาหนะเคารพจารี ต และปฏิ บั ติ ต นให้ เ ป็ น เหมือนหนึ่งในคนในชุมชน
-
การออกแบบพื้นที่สำ�หรับทำ�กิจกรรมของ นักท่องเที่ยวและเจ้าบ้านที่มีความเป็นธรรม ชาติไมปรุงแต่ง ออกแบบที่พักที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับที่พัก แบบชาวบ้าน วัสดุต่างๆที่ใช้ในการออกแบบนั้นมาจากวัสดุ ที่หาได้จากท้องถิ่น
- THEORY
-
THEORY & CASE STUDY
แนวทางการนำ�ไปใช้ออกแบบ
27
THEORY การศึ ก ษาแนวคิ ด เกี่ ย วกั บ การท่ อ ง เที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism)
การจัดการโครงสร้างขั้นพื้นฐาน ทางด้านการ บริ ก ารการท่ อ งเที่ ย วการอำ � นวยความสะดวก แก่นักท่องเที่ยวทั้งทางด้านกายภาพหรือภูมิทัศน์ การให้ข้อมูลเพื่อทาความเข้าใจกับนักท่องเที่ยว คุ ณ ภาพในการให้ บ ริ ก ารแก่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วทาง ด้านกายภาพ ที่พักอาศัยมีโฮมสเตย์ รีสอร์ทซึ่ง ผู้ประกอบ การซึ่งเป็นคนในหมู่บ้าน ในเรื่องของ แนวทางควรจะเป็นในเรื่องของมาตรฐานของที่พัก การขยายพื้น ที่ในการจอดรถการฝึกอบรมให้ ความรู้ความเข้าใจแก่คนในชุมชน การแบ่งหน้าที่ กันทำ� ความชัดเจน ของหน้าที่ การร่วมกลุ่มผู้ ประกอบการ ที่พักกิจกรรมต่างๆ ส่วนมาก ต้องการไปยังแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจ ค่าครอง ชีพถูก การให้บริการได้มาตรฐาน มีความสะดวก สบายและปลอดภัยในการ ท่องเที่ยว ฉะนั้นการ ส่งเสริมในเรื่องของมาตรฐานทางการท่องเที่ยว ก็เป็นสิ่งที่ควรทำ� และมีแนวร่าง ที่ออกมาชัดเจน อาจเป็ น แผนงานของแต่ ล ะปี ที่ ชุ ม ชนควรปฏิ บั ติ การเอาใจใส่นักท่องเที่ยว การให้บริการ การให้ ความรู้ความสำ�คัญเกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยว รวม ไปถึงการเอาใจใส่ดูแล จำ�นวนและพฤติกรรมของ นักท่องเที่ยว และการบริการแก่นักท่องเที่ยว
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
(มัชฌิมา อุดมศิลป์, 2556)
สิ่งที่จะทาให้คนสนใจในการท่องเที่ยวเชิงนิเวศจา เป็นต้องอาศัยแรงจูงใจในการดึงดูดนักท่องเที่ยว การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน กับนักท่องเที่ยว เพื่อสร้างกิจกรรมที่มีความหลากหลายและดึงดูด นักท่องเที่ยว
แนวทางการนำ�ไปใช้ออกแบบ
- ออกแบบอาคารโดยคำ�นึงถึงธรรมชาติ บริบท - ออกแบบพื้นที่เรียนรู้และอยู่กับธรรมชาติอย่าง ยั่งยืน
ก า ร ศึ ก ษ า แ น ว คิ ด เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ออกแบบสถาปั ต ยกรรมบนพื้ น ที่ ภูเขาสูง
ความรู้เบื้องต้นในการปรับระดับสภาพที่ดิน หรือ สภาพภูมิประเทศเป็นพื้นฐานของการเกิดกิจกรรม ทั้งภายในและภายนอกอาคารทั้งหมดสภาพที่ดิน มีผลต่อการระบายน้าในพื้นที่ สภาพภูมิอากาศ แสงแดด ลม ฯลฯ ดังนั้นการปรับระดับพื้นที่จึง เป็นปัจจัยสาคัญในการออกแบบ ในทางการ บริหารทรัพยากรอาคาร ควรมีความรู้เบื้องต้น ในความหมายของระดับพื้นที่ที่สื่อในงานแบบภูมิ สถาปัตยกรรม สามารถอ่านแบบ และเข้าใจได้พอ สังเขป
- การสับหว่าง เพื่อไม่ให้อาคารบังวิว หรือ สูงต่ำ� เพื่อมองข้ามได้ หรือเพื่อบังมุมมองกัน - การเล่นระดับของอาคารเพื่อความน่าสนใจของ space ภายในอาคาร และระหว่างอาคาร - การใช้อัตลักษณ์ของพื้นที่ ในการออกแบบ เพื่อ สร้าง sense of place เช่น วางร้านอาหาร หรือห้องชุดที่แพงที่สุด ไว้บนเนินผา
29
THEORY & CASE STUDY
แนวทางการนำ�ไปใช้ออกแบบ
- THEORY
เส้นระดับ (Contour Lines) เส้นระดับ คือเส้นที่ ลากโยงจุดที่มีค่าระดับเท่ากันในแบบผัง(plan) ผัง ที่ กำ � หนดเส้ น ระดั บ ทั้ ง เส้ น เดิ ม และเส้ น ที่ อ อกแบบ ปรับระดับแล้ว ทำ�ให้ทราบถึงจุดที่จะมีการเปลี่ยน ค่าระดับจากพื้นดินเดิมการเขียนตัวเลขกำ�กับเส้น Contour ควรใช้วิธีวิธีหนึ่งเพียงอย่างเดียวทั้ง งาน ซึ่งโดยทั่วไปจะนิยมวิธีเขียนตัวเลขเหนือเส้น และบนเส้ น โดยเว้ น ระยะเส้ น ให้ อ่ า นตั ว เลขได้ โ ดย ง่าย ควรเขียนเป็นเลขที่ลงตัว
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
THEORY การศึ ก ษาลั ก ษณะการปลู ก ป่ า ที่ อิ ง ตามลักษณะของป่าธรรมชาติ บน พื้นที่ภูเขาสูง
โครงการสร้างป่าสร้างรายได้ กำ�หนดโครงสร้าง ให้ปลูกป่าไม้เป็นไม้ประธาน และปลูกไม้เกษตรเป็น พืชควบในลักษณะ 4 ชั้นเรือนยอดซึ่งเป็นสภาพ ตามโครงสร้างใกล้เคียงป่าธรรมชาติ ได้แก่เรือน ยอดชั้นบน เรือนยอดชั้นรอง เรือนยอดชั้นไม้ พุ่ม และเรือนยอดชั้นผิวดิน ป่าธรรมชาติมีความ หลากหลายและความอุ ด มสมบู ร ณ์ ข องพั น ธุ์ ไ ม้ การปกคลุมของเรือนยอดกระกระจายแต่ละเรือน ยอด ไม่พันธุ์ไม้แตกต่างกันไปในแค่ละชนิดป่า ดัง ภาพประกอบ
แนวทางการนำ�ไปใช้ออกแบบ
- การวางพื้นที่สำ�หรับเป็นพื้นที่แปลงเพาะปลูก - การถอดลักษณะพื้นที่ที่มีเอกลักษณ์ของสวน แมคคาเดเมียมาใช้ในงาน
1. ความเป็นเอกภาพ (unity) หมายถึง การจัดวางรูปแบบของนิทรรศการ อันได้แก่ สิ่งแสดง ต่างๆ แผนภูมิ แผนภาพ และสื่อต่าง ๆ ให้อยู่ในหน่วยเดียวกัน เป็นหมวดหมู่ 2. ความสมดุล (balancing) หมายถึง การจัดวัสดุสิ่งของในนิทรรศการที่มองดู แล้วให้ ความรู้สึกสมดุล คือไม่เอียง หรือหนักไปด้านใด ด้านหนึ่งเกินไป 3. การเน้น (emphasis) การจัด นิ ท รรศการผู้ อ อกแบบจะต้ อ งให้ ค วามสำ � คั ญ ใน การเน้นความรู้สึกอันได้แก่ จุดเน้นหรือจุดสนใจ จุดรอง 4. ความแตกต่าง (contrast) เป็นการจัด ที่มีความประสงค์ ให้มีการขัดแย้ง เพื่อแก้ปัญหา ความซ้ำ�ซาก ความจำ�เจ หรือเบื่อหน่าย จากการจัดลักษณะทำ�นองเดียวกันหมด ไม่มี ลักษณะตื่นเต้นแอบแฝงอยู่ ดังนั้นการออกแบบ โดยอาศัยหลักความแตกต่างโดยการทำ�ให้มีบาง ส่วนหรือหลายส่วนทำ�ให้เกิดความขัดแย้งกัน จะ เป็นเส้นที่ตัดกัน ผิวเรียบ นุ่มนวล ตัดด้วย ผิว ขรุขระ 5. ความกลมกลืน (harmony) ความ กลมกลืนในที่นี้หมายถึงการพิจารณาในส่วนรวม ทั้งหมด แม้จะมีบางอย่างที่แตกต่างกันก็ตาม แ ต่ เ มื่ อ ม อ ง ดู แ ล้ ว ใ ห้ ค ว า ม รู้ สึ ก ผ ส ม ผ ส า น กลมกลืนเข้ากันได้ 6.ความเรียบง่าย (simplicity) เป็นสิ่ง สำ�คัญในการจัดนิทรรศการ เพราะสิ่งแสดงต่าง ๆไม่ ว่ า จะเป็ น ภาพหรื อ อั ก ษรที่ สื่ อ ความหมาย ชัดเจนจะช่วยให้ผู้ชมเกิดความเข้าใจได้ไวขึ้น 7. ความสมบูรณ์ขั้นสำ� เร็จ (finish) เป็นการสำ�รวจขั้นสุดท้ายที่จะสรุปการออก แบบ อันมีผลโดยตรงต่อส่วนรวมทั้งหมด 31
- THEORY
การออกแบบนิทรรศการมีหลักการเช่นเดียวกับ งานศิลปะทั่วไป แต่ที่สำ�คัญคือต้อง เหมาะสมใน ด้านรูปแบบ เนื้อหากับงานที่จัดขึ้น ซึ่งพยุง ศักดิ์ ประจุศิลป์ (2531 : 27-29) ได้ให้ หลัก การในการออกแบบนิทรรศการไว้ดังนี้
THEORY & CASE STUDY
หลักการออกแบบนิทรรศการ
CASE STUDY DATAI HOTEL (1991-1993)
LOCATION : Pulau Langkawi, Malaysia ARCHITECTS: Kerry Hill Architects, Singgapore
ก า ร ศึ ก ษ า โ ค ร ง ก า ร บ น พื้ น ที่ ล า ด ชั้ น (CONTOUR) แนวทางการนำ�ไปใช้ออกแบบ
ออกแบบบนพื้นที่ภูเขา การออกแบบอาคารบนพื้นที่ลาดชัน และวางผัง ให้ล้อตามระดับดิน มีความสัมพันธ์กับบริบท มุมมองธรรมชาติ
การวางผังอาคาร
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
การออกแบบกลุ่ ม อาคารและการวางผั ง อาคารและเชื่อมอาคารด้วยทางเดิน
วัสดุท้องถิ่นตามธรรมชาติ ใช้ หิ น เป็ น ฐานอาคารปล่ อ ยให้ ไ ม้ ธ รรมชาติ เลื้อยได้ตกแต่งทางเดิน หน้าตากรอบอาคาร จากไม้ที่หาได้จากชุมชนโดยรอบ ให้ความรู้สึก กลมกลืนกัน
The Brick Wall (2015-2017) LOCATION ARCHITECTS
: Yangzhou, China : Neri & Hu
ก า ร ศึ ก ษ า โ ค ร ง ก า ร ที่ ใ ช้ วั ส ดุ พื้ น ถิ่ น (MATERIAL) แนวทางการนำ�ไปใช้ออกแบบ
รีโนเวท การใช้อาคารเดิมที่มีอยู่และนำ�มาปรับเปลี่ยน แปลงโฉมให้มีหน้าตาหรือพื้นที่การใช้งานที่ เพียงพอโดยอิงจากแนวความคิดบริบทเดิม
วัสดุท้องถิ่นตามธรรมชาติ
การวางผังและวางอาคารแนวนอน อิงตาม บริบทและใช้สีธรรมชาติของวัสดุ และสีเทาเพื่อ เพิ่มความกลมกลืนของโรงแรม
33
THEORY & CASE STUDY
อิงบริบท
- CASE STUDY
การนำ�วัสดุท้องถิ่นมาใช้ และเป็นองค์ประกอบ ที่สำ�คัญของงาน ใช้ในหลายๆองค์ประกอบ ของงานทำ�ให้เรื่องของวัสดุนั้นมีความสำ�คัญ ขึ้นมาและเกิดคุณค่าและความงาม
CASE STUDY DOMINUS WINERY
(1995-1997) LOCATION : Californai , USA ARCHITECTS : Jacques Herzog & Pierre de meuron
การศึ ก ษาโครงการเพื่ อ ศึ ก ษาโครงสร้ า ง (STRUCTURE) แนวทางการนำ�ไปใช้ออกแบบ
สภาพอากาศ การใช้ วั ส ดุ ที่ นำ � มาเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของอาคาร คำ�นึงถึงสภาพแวดล้อมทั้ง สภาพภูมิอากาศ และภูมิประเทศ
แสง
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
การออกแบบที่คำ�นึงถึงการระบายอากาศ และ การใช้ประโยชน์จากแสงธรรมชาติเกิด เป็น ลวดลายที่เกิดตามธรรมชาติของวัสดุที่นำ�มา ใช้ในการออกแบบ
ระบบโครงสร้าง การออกแบบอาคารแบ่งโซน โดยใช้ระบบ Geometric และการออกแบบ Open Plan
35
THEORY & CASE STUDY
- CASE STUDY
3
PROGRAM
งานออกแบบแต่ ล ะชิ้ น เกิ ด ขึ้ น ในบริ บ ทเฉพาะไม่ ว่ า จะเป็ น จากบนพื้ น ที่ ก่ อ สร้ า งและ สภาพแวดล้อมหรือจากบริบทเชิงสังคมวัฒนธรรม ในหลายๆครั้งการศึกษาที่ตั้งโครงการ และสภาพแวดล้อมอย่างเข้มข้นนั้นมีประโยชน์อย่างยิ่งยวดในการค้นหามโนคติการออกแบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อที่ตั้งมีภูมิประเทศที่โดดเด่นเป็นพิเศษ ควรให้เวลาในการสังเกตสภาพ แวดล้อมอย่างพอเหมาะ การพิจารณาสถานที่ ช่วยให้เราเข้าใจกฎเกณฑ์ที่ไม่ได้ถูกเขียนไว้ของสถานภาพท่อง ที่ ระบบ ความผูกพน และความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบนั้นหลอมรวมและยึดติดกัน เป็นโครงสร้างที่สามารถนำ�มาใช้ในงานออกแบบได้ สภาพภูมิประเทศ ของขอบเขตที่ดินจะเป็นตัวตัดสินว่าการออกแบบจะถูกนำ�มา บูรณาการกับภูมิทัศน์ เนื่องด้วยมีความเกี่ยวข้องกับพื้นที่ระหว่างที่ว่างภายในและภายนอก และยังมีผลกับการวางผังอาคาร เช่น พื้นที่ลาดชันที่มีความต่างระดับกัน และเมื่อที่ดินมา ความลาดเอียงมาก สถาปนิกต้องคำ�นึงถึงโครงสร้างที่จะเลือกใช้ในงานออกแบบเพื่อตอบ สนองต่องานออกแบบและภูมิทัศน์ สภาพภูมิอากาศ เป็นอีกวิธีที่จะนำ� ไปสู่การพัฒนางานออกแบบได้ การใช้ดวง อาทิตย์เป็นตัวตัดสินการจัดกลุ่มและการวางทิศทางอาคารเพื่อให้มีพลังงานแสงอาทิตย์เข้ามา เก็บไว้ใช้ในอาคาร นอกจากนี้ กระบวนการก่อสร้าง วัสดุและรูปทรงทางสถาปัตยกรรมสามารถได้รับ การออกแบบให้ปรับเข้ากับสภาพอากาศทั้งรูปแบบการระบายอากาศทางขวาง(Cross-ventilation)หรือการวางอาคารให้แสงกระทบเปลือกอาคารมาก ที่สุดเพื่อให้ความร้อนเข้าอาคาร ในเขตภูมิอากาศหนาวเย็น กระบวนการที่กำ�ลังจะถูกกล่าวถึงต่อไปนี้ ถูกนำ�เสนอในฐานะเครื่องมือและวิธีการเข้า สู่การออกแบบ เพื่อช่วยให้นักศึกษาเข้าใจการใช้สอยและนำ�ความเข้าใจนี้ไปใช้ในงานออกแบบ ของตนเอง ในทางทฤษฎี ไม่มีความจำ� เป็นในการใช้เป็นกระบวนการเหล่านี้เพื่อสร้างงาน ออกแบบที่ใช้งานได้ นั่นจึงกลายเป็นคำ�ว่า เครื่องมือ และเป็นแค่ตัวช่วยหนึ่งในการออกแบบ เท่านั้น
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
PROGRAM
PROGRAM
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
USERS
41
PROGRAM - USERS
AREA REQUIREMENTS พื้ น ที่ ก ารใช้ ส อยในส่ ว นของ กิจกรรม การเรียนรู้ภาคปฏิบัติ (work shop ) มีพื้นที่อย่าง น้อย 2,762 ตารางเมตร ซึ่ง คิดเป็น ร้อยละ 40 ของพื้นที่ ทั้งหมดในโครงการ
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
พื้ น ที่ ก ารใช้ ส อยในส่ ว นของ นิทรรศการต่างๆ และเป็นพื้นที่ ของการเรียนรู้ มีพื้นที่อย่าง น้อย 2,125 ตารางเมตร ซึ่ง คิดเป็น ร้อยละ 31 ของพื้นที่ ทั้งหมดในโครงการ
พื้ น ที่ ก ารใช้ ส อยในส่ ว นร้ า นค้ า และเป็ น พื้ น ที่ ข องกระบวนการ แปรรูปของชาวบ้าน มีพื้นที่ อย่างน้อย 425 ตารางเมตร ซึ่งคิดเป็น ร้อยละ 6 ของพื้นที่ ทั้งหมดในโครงการ
พื้ น ที่ ก ารใช้ ส อยในผู้ บ ริ ห าร โครงการ มีพื้นที่อย่างน้อย 258 ตารางเมตร ซึ่งคิดเป็น ร้อยละ 4 ของพื้นที่ทั้งหมด ในโครงการ
พื้ น ที่ ก ารใช้ ส อยในส่ ว นของที่ จอดรถมีพื้นที่อย่างน้อย 484 ตารางเมตร ซึ่งคิดเป็น ร้อยละ 14 ของพื้นที่ทั้งหมดในโครงการ
43
PROGRAM -
พื้นที่การใช้สอยในส่วนของพื้นที่ สนับสนุนโครงการ มีพื้นที่อย่าง น้อย 2,762 ตารางเมตร ซึ่ง คิดเป็น ร้อยละ 5 ของพื้นที่ ทั้งหมดในโครงการ
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
ORGANIZATION CHART
45
PROGRAM -
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
SITE ANALYSIS
47
PROGRAM - SITE ANALYSIS
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
SITE ANALYSIS
49
PROGRAM - SITE ANALYSIS
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
SITE ANALYSIS
51
PROGRAM - SITE ANALYSIS
SITE ANALYSIS
SITE 1
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
พื้นที่ 6.5 ไร เปรียบประตู่สู่แสงภา
ถนนล้อม 4 ด้าน เส้นหลักคือทิศเหนือ
วิวทางเข้าด้านหน้าไซต์
ระดับความชันของพื้นที่
การระบายน้ำ�ตามธรรมชาติ
นำ�ข้อมูลมาทับกันเพื่อวางโซนนิ่ง
PROGRAM - SITE ANALYSIS
เส้นแบ่งระดับความลาดชันของไซต์
53
SITE ANALYSIS
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
SITE 2
จุดชมวิวภูหัวฮ่อม
ลานกางเต็นท์
ที่จอดรถนักท่องเที่ยว
จุดชมวิว
PROGRAM - SITE ANALYSIS
อาคารบริการนักท่องเทียวของอุทยาน
ตำ�แหน่งจุดชมวิวที่จะออกแบบ
55
SITE ANALYSIS
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
SITE 3
สวนแมคคาเดเมียบ้านบ่อเหมืองน้อย ขนาดพื้นที่ 27 ไร่
ระดับความลาดชันของพื้นที่สวน
PROGRAM - SITE ANALYSIS
อาคารกิจกรรมเดิม และทางเข้า
ตำ�แหน่งของกริดจ้นแมคคาเดเมีย
57
4
ARCHITECTURE DESIGN
การรับรู้นั้นเป็นผลผลิตของสัมผัสทั้งห้าของมนุษย์ อันได้แก่ การมองเห็น การ ได้ยิน การแตะต้อง การรับรู้รส และการได้กลิ่น ความเข้มข้น ของประสาทสัมผัส เหล่านี้แตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ซึ่งประสาทสัมผัสทั้งห้านี้สามารถผลิตความ รู้สึกทางการสัมผัสอย่าง สมบูรณ์ได้ต่อเมื่อมันทำ�งานร่วมกัน เช่น เมื่อภาพของ พื้นผิวอัน ขรุขระของแผ่นไม้กระดานทำ�ให้เรารับรู้ว่าความหนาของลายไม้นั้น ส่ง ผลต่อความรู้สึกอย่างไร และเนื้อไม้นั้นจะมีกลิ่นเช่นไร กลิ่น กายสัมผัส และรส เป็นสัมผัสโดยตรงนั้นเกิดขึ้นอย่างใกล้ชิด ต่อวัตถุใด ๆ สัมผัสทั้งสามรูปแบบนี้ไม่ต้องการแสงและมักจะมีให้เรา สัมผัสได้ตลอด กาย สัมผัสนั้นจำ�เป็นต่อความรู้สึกสบายในที่ว่าง เพราะการสัมผัสกับกรอบของที่ว่าง นั้นเกิดขึ้นผ่านผิวหนัง เสียงและภาพทำ�งานเชื่อมโยงกับระบบประสาทและส่งต่อข้อมูลเกี่ยวกับ ทิศทาง ต่าง ๆ ต่อสภาพแวดล้อมของมนุษย์ ดังนั้นการรับรู้ทางภาพนั้น เจาะจงมากกว่า เมื่อประกอบไปด้วยสัญญาณทางเสียงที่เฉพาะ เมื่อเทียบกับที่ว่างที่มีเสียงแบบ กระจัดกระจาย สัญญาณภาพจะฉาย ภาพสองมิติของสิ่งแวดล้อมลงบนเรตินา ผ่านกระจกตาของเรา และด้วยความช่วยเหลือของโครงสร้างประสาทในสมอง และ ประสบการณ์ส่วนบุคคล ภาพดังกล่าวจะถูกรับรู้ในฐานะที่ว่างซับซ้อน ที่ ประกอบขึ้นมาจากหลาย ๆ ส่วน การตืีความสัญญาณทางภาพนั้น แตกต่างกัน ไปตามประสบการณ์ส่วนบุคคล
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
PRELIM 1
PRELIM 2
FINAL
ARCHITECTURE DESIGN
21 12 2020 - 22 01 2021
23 01 2021 - 05 03 2021
ARCHITECTURE DEISIGN
06 03 2021 - 02 04 2021
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
FUNCTIONAL DIAGRAM
ACTIVITY ON SITE 1 แสงภา พื้นที่ 6 ไร่ วางโปรแกรมให้เป็นไซต์หลัก ของโครงการ เนื่องจากตำ�แหน่งที่เข้าถึงง่ายและ เป็นศูนย์กลางของเว้งชุมชน และการเข้าถึงด้วย ยานพาหนะที่ง่ายกว่า กิจกรรมหลักๆคือ พื้นที่เรียนรู้ Workshop การแปรรูปแมคคาเดเมีย ร้านอาหาร แหล่งรวม ผลผลิตก่อนแปรรูป ที่ซื้อขายสินค้า
SITE 2 จุดชมวิวภูหัวฮ่อม เป็นพื้นที่ใน เขตอุทยานภูสวนทราย เป็นพื้นที่ ลานกางเต็ น ท์ แ ละชมทะเลหมอกที่ สวยงาม ถือเป็น Landmark ของ ที่นี้ และเป็นทางผ่านไปยังอีกไซต์
SITE 3 สวนแมคคาเมัย บ้านบ่อเหมืองน้อย อายุราว 30 ปี สวนแปรงแรกของ ชุ ม ชนและให้ ผ ลผลิ ต ที่ ดี ใ ห้ แ ก่ ช าว บ้านได้เก็บเกี่ยวผลแมคคาเดเมีย ออกแบบเป็ น พื้ น ที่ ทำ � กิ จ กรรมเก็ บ แมคคาเดเมีย คาเฟ่ จุด Ovsevation สวนแมคคาเดเมียกลางเว้ง หุบเขา 63
ARCHITECTURE DESIGN - FUNCTIONAL DIAGRAM
ออกแบบให้เป็นที่พักรถ ห้องน้ำ�และ จุดชมวิวใหม่ เเพื่อตอบรับกับจำ� นวนนักท่องเที่ยวที่มากขึ้น
CONCEPTUAL DESIGN
กดอาคาร
เบาบาง
สะท้อน
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
“ความกลืมกลืน” พูดถึงในหลากหลายมิติ กลมกลืน ในมุมมอง จากบริบทสู่อาคาร วิธีการที่ใช้ในการก่อสร้างและการรับรู้ เมื่อ มาถึง โดยที่จะเล่าเรื่องของวิถีชุมชนผ่าน “แมคคาเดเมีย”
ARCHITECTURE DESIGN - CONCEPTUAL DESIGN
SITE 1
SITE 2
SITE 3
65
PRELIM 1
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
21 12 2020 - 22 01 2021
VIDEO PRESENTATION
“คำ�ถามที่ยาก จะนำ�พา คำ�ตอบที่หลากหลาย”
ARCHITECTURE DESIGN - PRELIME 1
แบบที่ 1 เน้นการวิเคราะห์ที่ตั้งและการวาง Approch ทิศทางของงานและการวาง แนวความคิดในการ ออกแบบ เป็นการรวบรวมข้อมูลที่มากมาย ขมวดออก มาสู่งานออกแบบ ซึ่ง การตั้งคำ�ถามที่ดีจะนำ�พาเรา ค้นหาคำ�ตอบที่ซ้อนอยู่ให้เจอ
67
PRELIM 1
CONCEPTUAL DIAGRAM MAIN SITE (1)
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
CONCEPTUAL DIAGRAM MAIN SITE (1)
ออกแบบให้เป็นสวนแมคคาเดเมีย และวางแนวลำ�ต้น แมคคาเดเมียตามทิศทางของวิวชุมชน บริบทภูเขา จากนั้นค่อยๆวางอาคารแทรกตามสวนแมคคาเดเมีย
69
ARCHITECTURE DESIGN - PRELIM 1 -
CONCEPTUAL DIAGRAM MAIN SITE (1)
PRELIM 1
DESIGN PROCESS
LAY OUT PLAN
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
SECTION
ARCHITECTURE DESIGN - PRELIM 1 -
DESIGN PROCESS
PERSPECTIVE มุมมองจากจุดที่สูงที่สุดของไซต์ เห็นอาคารบ้างส่วนที่ ลอยแทรกระหว่างทิวต้นแมคคาเดเมีย ส่วนอื่นๆกดลง ตามระดับความชันของไซต์
PERSPECTIVE มุมมองจากจุดจอดรถเมื่อมองย้อนขึ้นไป จะค่อยๆมอง เห็นอาคารที่ฝังอยู่กับดินและแทรกกับต้นแมคคาเดเมีย
71
PRELIM 1
DESIGN PROCESS
LEVEL 4 FLOOR PLAN
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
LEVEL 3 FLOOR PLAN
ARCHITECTURE DESIGN - PRELIM 1 -
DESIGN PROCESS
PERSPECTIVE ออกแบบให้ Roof desk ของแต่ละ Level สามารถ ใช้งานได้และมีการเจาะช่องเพื่อให้ต้นแมคคาเดเมียได้ เติบโตขึ้น และเปิดช่องแสงธรรมชาติเข้าอาคารอีกด้วย
PERSPECTIVE แสงที่ ส่ อ งผ่ า นใบของต้ น แมคคาเดเมี ย ที่ ทึ บ นั้ น พาด ผ่านลงบนผนังของอาคาร จะเห็นเป็น เงาตกกระทบ เชื่อมต่อพื้นที่ภายในและนอก
73
PRELIM 1
DESIGN PROCESS
LEVEL 2 FLOOR PLAN
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
LEVEL 1 FLOOR PLAN
ARCHITECTURE DESIGN - PRELIM 1 -
DESIGN PROCESS
PERSPECTIVE มองจากด้านล่างของไซต์ ตรงทางเข้า จะเห็นอาคาร ของโครงการและกิจกรรมต่างๆที่ดำ�เนินอยู่ แทรกกับ สวนแมคคาเดเมีย
PERSPECTIVE ทางสัญจร เป็นแกนหลักของอาคาร ให้พื้นที่ต่างๆได้ เกาะอยู่ ระหว่างทาง ทางเดิน ออกแบบให้ไม่มีหลังคา เพื่อให้โอกาสเหล่าใบและร่มของต้นแมคคาเดเมียได้ปก คลุมทางเดินแทนหลังคา
75
PRELIM 1
CONCEPTUAL DIAGRAM SITE (2)
CONCEPTUAL DIAGRAM SITE (2)
จุ ด ช ม วิ ว ภู หั ว ฮ่ อ ม ตั้งคำ�ถามกันหลายคำ�ถามเพื่อ จะออกแบบจุดชม วิวกันไปในทางไหน เพื่อให้คุ้มค่าและเข้ากับโครงการ ทั้งหมดและยังต้องสวยพอที่จะเป็น Landmark ของที่นี่
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
ออกแบบโดย สร้างทางเลือกของการชมวิวที่มีหลาย ทางและต้องการยื่นที่ชมวิวออกไปประมาณ 10 เมตร โดยต้องการให้ความรู้สึกเพื่อไปยืนและรู้สึกลอบกลาง ทะเลหมอก
CONCEPTUAL DIAGRAM SITE (2) ARCHITECTURE DESIGN - PRELIM 1 -
PERSPECTIVE จุดชมวิวไคว้กันหัน 2 มุม และเชื่อกันด้วยบันไดตรงกลาง
77
PRELIM 1
DESIGN PROCESS
LAY OUT PLAN
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
SECTION
PERSPECTIVE
ARCHITECTURE DESIGN - PRELIM 1 -
DESIGN PROCESS
PERSPECTIVE
79
PRELIM 1
CONCEPTUAL DIAGRAM SITE (3)
CONCEPTUAL DIAGRAM SITE (3)
ส ว น แ ม ค ค า เ ด เ มี ย แมคคาเดเมีย บ้านบ่อเหมืองน้อย อายุราว 30 ปี เนื่องจากลำ�ต้นที่สูงโปร่ง ใบหนาทึบ พื้นที่ใต้ร่ม มีแสง รำ�ไร และมีแนวแถวของลำ�ต้นที่ชัดเจน
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
ออกแบบโดย ใช้พื้นที่อาคารเดิมเพื่อเป็นพื้นที่ เอนกประสงค์ ก่ อ นจะออกเดิ น เก็ บ ผลแมคคาเดเมี ย ด้วยมือ ตามต้นของมันและนำ� มารวมกัน ก่อนจะ กะเทาะเปลือก ออกแบบให้เป็นอาคาร 2 ชั้น แนวยาว ล้อตามแนวของลำ�ต้น ผนังกระจกสะท้อนและพราง อาคารกับบริบท
CONCEPTUAL DIAGRAM SITE (3)
LAY OUT PLAN
ARCHITECTURE DESIGN - PRELIM 1 -
ออกแบบทางเดินลัดเลาะตามต้นแมคคาเดเมีย ค่อยๆเดิน แล้วเจออาคาร
81
PRELIM 1
DESIGN PROCESS
SECTION
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
ระหว่างทางเดิน มีจุดชมวิว เพื่อหยุดพักเหนื่อยตอน เดินเก็บแมคคาเดเมีย
ARCHITECTURE DESIGN - PRELIM 1 -
DESIGN PROCESS
PERSPECTIVE ภายในอาคาร เมองออกไปชมวิวต้นแมคคาเดเมีย
PERSPECTIVE มีทางเดินยื้นออกมาเพื่อมองย้อนกลับไปยังอาคารที่สะท้อน แมคคาเดเมีย
83
PRELIM 1
MODEL
MODEL
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
โมเดลการเชื่อมต่อระหว่าง 3 ไซต์ กับตัวบริบทชุมชน
85
ARCHITECTURE DESIGN - PRELIM 1 -
MODEL
PRELIM 1
MODEL
SITE 1
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
MAIN BUILDING
RESTAURANT
ARCHITECTURE DESIGN - PRELIM 1 -
MODEL
MAIN ENTRANCE
87
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
PRELIM 1 MODEL
SITE 2
ARCHITECTURE DESIGN - PRELIM 1 -
MODEL
SITE 3
89
PRELIM 2
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
23 01 2021 - 05 03 2021
VIDEO PRESENTATION
“คำ�ตอบ ไม่จำ�เป็นต้อง ถูกต้องเสมอไป”
ARCHITECTURE DESIGN - PRELIM 2
แบบครั้งที่ 2 เป็นการพัฒนาแบบจากครั้งที่ 1 แก้ปัญหา ต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้น พัฒนาในส่วนที่ดีแล้วให้ชัดเจนขึ้น และทบทวนกับคำ�ถามที่ตั้งไว้ คำ�ตอบที่หาอยู่นั้นเจอหรือ ยัง ตอบกับคำ�ถามที่ตั้งไว้หรือเปล่า ซึ่งคำ�ตอบนั้นอาจจะ ไม่เหมือนที่คิดไว้และไม่จำ�เป็นว่าต้องถูกเสมอไป
91
PRELIM 2
CONCEPTUAL DIAGRAM SITE (1)
CONCEPTUAL DIAGRAM SITE (1)
แบ่งโซนออก 3 โซน
แบ่งอาคารตาม Level
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
เชื่อมทางเดิน
กดอาคารลงตาม Contour
ได้อาคารทางตามทิศทางของวิว
ISOMETRIC RESTAURANT
ARCHITECTURE DESIGN - PRELIM 2 - SITE 1 - DESIGN PROCESS
ISOMETRIC PLAN MAIN BUILDING
ISOMETRIC OVSERVATION
93
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
PRELIM 2 DESIGN PROCESS
95
ARCHITECTURE DESIGN - PRELIM 2 - SITE 1 - DESIGN PROCESS
PRELIM 2
DESIGN PROCESS
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
ISOMETRIC RESTAURANT
ISOMETRIC OVSERVATION
97
ARCHITECTURE DESIGN - PRELIM 2 -
SITE 1 - DESIGN PROCESS
PRELIM 2
CONCEPTUAL DIAGRAM SITE (2)
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
CONCEPTUAL DIAGRAM SITE (2)
99
ARCHITECTURE DESIGN - PRELIM 2 -
SITE 2 - DESIGN PROCESS
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
PRELIM 2 DESIGN PROCESS
ARCHITECTURE DESIGN - PRELIM 2 - SITE 2 - DESIGN PROCESS
PERSPECTIVE จุดชมวิวทะเลหมอกภูหัวฮ่อม
101
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
PRELIM 2 DESIGN PROCESS
103
ARCHITECTURE DESIGN - PRELIM 2 -
SITE 3 - DESIGN PROCESS
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
PRELIM 2 MODEL
MODEL SITE 1
105
ARCHITECTURE DESIGN - PRELIM 2 -
MODEL
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
PRELIM 2 MODEL
SITE 2
ARCHITECTURE DESIGN - PRELIM 2 -
MODEL
SITE 3
107
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
PRELIM 2 PLATE PRESENTATION
109
ARCHITECTURE DESIGN -
FINAL
06 03 2021 - 02 04 2021
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
VIDEO PRESENTATION
“การได้พยายามหาคำ�ตอบ ”
ARCHITECTURE DESIGN - FINAL
แบบครั้งที่ 3 หรือแบบครั้งสุดท้าย เน้นการขมวดข้อมูล ทั้งหมด ตั้งแต่ พรีธีสีส จนการพัฒนาแบบร่างแต่ละรอบ ปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขและพั ฒ นาแบบให้ ง านออกมาตอบโจทย์ และสมบูรณ์ยิ่งขึ้น เป็นการสรุปขั้นสุดท้ายของงานเพื่อ ประโยชน์สูงสุด แต่สิ่งที่มีค่ากว่างานไฟนอลคือ ระหว่าง ทางเราได้พยายามตั้งคำ�ถามและหาคำ�ตอบ ถึงจะถูกจะ ผิดไปบ้าง อย่างน้อยก็ได้ทดลองค้นหามัน “คำ�ตอบ”
111
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
FINAL DESIGN PROCESS
113
ARCHITECTURE DESIGN - FINAL - SITE 1
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
FINAL DESIGN PROCESS
115
ARCHITECTURE DESIGN - FINAL - SITE 1
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
FINAL DESIGN PROCESS
117
ARCHITECTURE DESIGN - FINAL - SITE 1
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
FINAL DESIGN PROCESS
119
ARCHITECTURE DESIGN - FINAL - SITE 2
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
FINAL DESIGN PROCESS
121
ARCHITECTURE DESIGN - FINAL - SITE 3
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
FINAL MODEL
MODEL SITE 1
123
ARCHITECTURE DESIGN - FINAL - MODEL
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
FINAL MODEL
SITE 2
ARCHITECTURE DESIGN - FINAL - MODEL
SITE 3
125
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
FINAL PLATE PRESENTATION
127
ARCHITECTURE DESIGN -
5
SUMMARY
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
SUMMARY บทสรุปของโครงการ กลุ่มแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรบ่อเหมืองน้อย หมู่บ้านที่มีการปลูกพืชแมคคาเดเมียและ มีผลผลิตทางการเกษตรที่ดีและยังมีกลุ่มวิสาหากิจชุมชนแปรรูปแมคคาเดเมียส่งออกเป็นสินค้าของ ตัวเองและยังสามารถสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน สร้างงาน และสร้างวิถีชีวิตใหม่ร่วมกับการอยู่อาศัย ในเขตอนุรักษ์ป่าไม้อีกด้วย โครงการศูนย์แมคคาเดเมียชุมชนนาแห้ว มีทั้งหมด 3 ไซต์ ตั้งอยู่ในตำ�บลแสงภา อำ�เภอ นาแห้ว จังหวัดเลย ทั้ง 3 ที่นั้นเชื่อมกันด้วยกิจกรรมที่สอดคล้องกับแมคคาเดเมียในทุกมิติ ตั้งแต่ การปลูกถึงการแปรรูปออกมาเป็นผลผลิต โดยชาวบ้านเป็นคนดำ�เนินกิจกรรมต่างๆด้วยตนเอง เพื่อเป็นพื้นที่แหล่งเรียนรู้ กรรมวิธีการเพาะปลูก กระบวนการแปรรูปสินค้าแมคคาเดเมีย และการ ศึกษาทดลอง กะลาแมคคาเดเมีย สู่งานออกแบบ โดยผ่านกิจกรรมการ Workshop ที่ชาวบ้าน ชุมชนนาแห้ว กับนักท่องเที่ยวได้ทำ�ร่วมกัน ประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการตั้งโครงการศูนย์แมคคาเดเมียชุมชนนาแห้ว คือสามารถทำ�ให้นัก ท่องเที่ยวที่เข้ามาเที่ยวในโครงการ ได้ตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากรณ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงเห็นความส้าคัญของการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น และยังก่อให้เกิดรายได้แก่ชุมชนนาแห้ว
บทสรุปของโครงการ
SUMMARY
เนื่องจากการออกแบบโครงการนี้ อยู่ภายใต้เงื่อนไขและข้อจ้ากัดทางกฎหมาย ของพื้นที่ ที่มีลักษณะจำ� เพาะ รวมถึงข้อจ้ากัดที่เกิดจากผลกระทบของปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ รวมถึง โครงการเป็นพื้นที่สาธารณะที่อาคารต้องการความมั่นคงแข็งแรง ทำ�ให้โครงการ มีลักษณะที่เป็นลุ่ม อาคารขนาดใหญ่ ใช้วัสดุที่ไม่ได้มาจากธรรมชาติ ซึ่งขัดต่อสภาพบริบทเดิมของชุมชนซึ่งมีลักษณะ เป็นชุมชน มีพื้นที่เกษตรกรรมและ ธรรมชาติ หากโครงการสามารถใช้วัสดุที่มาจากธรรมชาติ จะ ท้าให้โครงการดูกลมกลืนกับบริบทของพื้นที่โดยรอบ รวมถึงเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
APPENDIX
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
BIBLIOGRAPHY บรรณานุกรม
สำ�นักสถิติพยากรณ์และสำ�นักงานสถิติแห่งชาติ. (2560). การสำ�รวจพฤติกรรม การเดินทางการท่องเที่ยวของชาวไทย พ.ศ. 2560 (ในรอบปี2559), 169.
ปียรัตน์ ประมุขชัย. (2548). กลยุทธ์การจัดนิทรรศการ,
ÍÒ¨ÒÃÂì ÍÃÔÂÒ ÍÃسԹ·ì, ¡ÒÃÍ͡Ẻ¡èÍÊÃéÒ§ÀÙÁÔʶһѵ¡ÃÃÁ 2 Landscape Architectural Construction II : Contour / Grading https://macloeithailand.com/ https://sites.google.com/site/extension5701222068/kar-phlit- maekh-kha-de-meiy https://www.nationtv.tv/main/content/378749688/?fbclid=IwAR1t
APPENDIX
BrQ6fzY4O9e1v4Yju6A3AaUFV93hs4UmAAPCkidmMtRzWTZLUI oFfBQ https://www.nationtv.tv/main/content/378749688/?fbclid=I wAR1tBrQ6fzY4O9e1v4Yju6A3AaUFV93hs4UmAAPCkidmMtRzWT ZLUIoFfBQ
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
ลงพื้นที่กะสาวๆ แม่นึกว่าธีสีสทำ�เป็นกลุ่ม
APPENDIX
ไม่เหมือนไปทำ�งาน ใช่ เราไปเที่ยว
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
พี่นิก เทรนเนอร์ส่วนตัว พร้อมพักงานหนีไปฟิตเนสด้วยกัน
APPENDIX
ต้าวเฟียเพื่อนยาก กูรักมึงที่สุดเลยเพื่อน
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
APPENDIX
ขอบคุณที่เป็นเรื่องราวดี ของการเรียน สถ.มข.
NAHAEO MACADAMIA LEARNING CENTER
ชื่อ เกิด ที่อยู่ปัจจุบัน E-mail
นายธนชิต พลเยี่ยม 2 พฤษภาคม 2540 72 หมู่ 5 บ้านดงนาคำ� ตำ�บลหนองนาง อำ�เภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย 43110 Thanachitpo@kkumail.com
การศึกษา พ.ศ.2553 สำ�เร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนวัดใหม่ อมตรส พ.ศ.2559 สำ�เร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนมัธยมวัด มกุฎกษัตริย์ พ.ศ.2559 เข้าศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขา สถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ.2564 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี จาก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น
APPENDIX