สารบัญ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ผลิตสื่อภาพยนตร์สั้น การดําเนินประชุมคณะทํางาน และการลงทะเบียน พิธีเปิดโครงการ การบรรยาย “เทคนิคพื้นฐานภาพยนตร์” การบรรยาย “การสร้างภาพยนตร์” การบรรยาย “การเขียนบทภาพยนตร์” บรรยาย “การเตรียมการถ่ายทํา” การบรรยาย “การกํากับภาพ” การบรรยาย “เทคนิคการสร้างภาพยนตร์” บรรยาย “การตัดต่อ” การถ่ายทําภาพยนตร์สั้นของนักเรียน “การอภิปรายการถ่ายทําภาพยนตร์สั้น” พิธีปิดโครงการและมอบวุฒบิ ัตร การเผยแพร่ข่าวประชาสัมพันธ์ ภาพคณะทํางาน คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานโครงการฯ
หน้า 1 หน้า 3 หน้า 4 หน้า 5 หน้า 7 หน้า 8 หน้า 10 หน้า 11 หน้า 12 หน้า 13 หน้า 14 หน้า 14 หน้า 15 หน้า 16 หน้า 19 หน้า 23
โครงการอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร ผลิ ต สื่ อ ภาพยนตร์สั้น กําหนดจัดงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64 ปีการศึกษา 2557 ในระดับโรงเรียน ระดับ เขตพื้นที่การศึกษา ระดับภาค และระดับชาติ เพื่อให้ ครูและนักเรียนได้แสดงศักยภาพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทั้ ง ท า ง ด้ า น วิ ช า ก า ร วิ ช า ชี พ ด น ต รี กี ฬ า ศิ ล ปหั ต ถกรรม วั ฒ นธรรมไทย และมี โ อกาสร่ ว ม กิจกรรมประกวด/แข่งขันในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยศู น ย์ ส ารนิ เ ทศการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน สํ า นั ก อํ า นวยการ รั บ ผิ ด ชอบจั ด กิ จ กรรม การประกวด ภาพยนตร์ สั้ น (กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ สั ง คมศึ ก ษา ศาสนา และวัฒนธรรม) งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ผลิตสื่อภาพยนตร์สั้น มีการ ระดับชาติ ครั้งที่ 64 ปีการศึกษา 2557 ระหว่างวันที่ อบรมฯ โดยนักเรียนและครู ที่ชนะการประกวดภาพยนตร์สั้นเป็น 17-19 กุมภาพันธ์ 2558 ณ อิมแพค เมืองทองธานี ตั ว แทนระดั บ ภาค ลํ า ดั บ ที่ 1-3 ในแต่ ล ะระดั บ ชั้ น 4 ระดั บ คื อ จังหวัดนนทบุรี ประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ขยายโอกาส และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคละ 12 ทีม รวม 48 ทีม จํานวน 336 คน
ดั ง นั้ น เพื่ อ ยกระดั บ การเรี ย นรู้ แ ละพั ฒ นา คุณภาพผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถในการใช้หลัก วิชาการทางด้านเทคโนโลยี สร้างสรรค์ และควบคุม กระบวนการผลิตสื่อการเรียนรู้ในรูปแบบภาพยนตร์สั้น ตลอดจนสามารถนําความรู้มาใช้ประโยชน์ในการเรียน การสอน การแข่งขัน รวมถึงมีเจตคติที่ดีและมองเห็น แนวทางในการประกอบอาชี พ รองรั บ การก้ า วสู่ ประชาคมอาเซียนต่อไป ศูนย์สารนิเทศการศึกษาขั้น พื้ น ฐาน สํ า นั ก อํ า นวยการ สํ า นั ก คณะกรรมการ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน จึ ง จั ด ให้ มี โ ครงการอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร ผลิ ต สื่ อ ภาพยนตร์ สั้ น และการประกวด ภาพยนตร์สั้น งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ 64 ปีการศึกษา 2557
1
2
การดําเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการ ผลิตสื่อ ภาพยนตร์สั้น ดําเนินการ 4 วัน โดยแบ่งกิจกรรม การอบรมฯ ตามกําหนดการ หมายเลข โดยขอสรุป การอบรมฯ ในแต่ละวัน ดังนี้
วันที่ 6 มกราคม 2558 (วันแรก) ภาคเช้า 1. คณะกรรมการฯ ตามคําสั่ง ที่ ศธ 04001/ว 1662 ลงวัน 29 ธันวาคม 2557 เรื่อง โครงการอบรม เชิงปฏิบตั กิ าร ผลิตสือ่ ภาพยนตร์สนั้ งานศิลปหัตถกรรม นั ก เรี ย น ระดั บ ชาติ ครั้ ง ที่ 64 ปี ก ารศึ ก ษา 2557 ประชุมเพื่อเตรียมการอบรมฯ โดยมอบหมายให้แต่ละ คนดําเนินการและรับผิดชอบเพื่อให้การอบรมฯ เป็นไป ด้วยความเรียบร้อย และมีประสิทธิภาพ 2. รับลงทะเบียนผู้เข้าการอบรมฯ โดยแบ่งเป็น ระดั บ ประถม โรงเรี ย นขยายโอกาส ระดั บ มั ธ ยม ตอนต้ น และมั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย มี โ รงเรี ย น
จํานวน 47 โรงเรียน (ขาด 1 โรงเรียนไม่มาอบรมฯ)
สรุปประเด็นการอภิปราย : การทําหนังสั้น คนทําหนังสั้น ต้องเข้าใจประเด็นในการเล่าเรื่องราวที่จะนําเสนอได้ การเล่าเรื่อง ให้คนอื่นฟัง สนใจฟังและติดตามอย่างต่อเนื่อง แสดงให้เห็นว่า เป็น เรื่องที่น่าสนใจ นํามาเป็นบทหนังได้ การทําเสียงและดนตรีประกอบหนัง ได้นําเทคนิคการทําเสียง ประกอบการแสดงภาพยนตร์เพื่อให้เสมือนจริง มากกว่าใช้เสียงจริง จากการแสดง
ภาคบ่าย
1. ปฐมนิเทศ โดย นางจารุภา สังขารมย์ นัก ประชาสัมพันธ์ชํานาญการพิเศษ ทําหน้าที่ อํานวยการ ศูนย์สารนิเทศการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ. 2. การอภิปราย หัวข้อ ทักษะแห่งอนาคตใหม่ การเรียนรู้ โดย คุณชาติชาย เกษนัส สมาคมผู้กํากับ ภาพยนตร์ไทย
3
นายสนิ ท แย้ ม เกสร ผู้ อํ า นวยการสํ า นั ก งานอํ า นวยการ สํ า นั ก คณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน เป็ น ประธานพิ ธี เ ปิ ด โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการผลิตสื่อภาพยนตร์สั้น โดยมีนางสาว เพ็ญแข เติมภิญโญ นักประชาสัมพันธ์ชํานาญการ ศูนย์สารนิเทศ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ. ประธานกล่าวเปิด สรุปได้ดังนี้ “ขอแสดงความยินดีกับนักเรียนทุกคน และเป็นสุดยอดที่ได้ เข้ า มาถึ ง ระดั บ นี้ ซึ่ ง ทุ ก คนได้ มี ก ารฝึ ก ซ้ อ ม เรี ย นรู้ จนเกิ ด ความสามารถในการเข้ า แข่ ง ขั น ตั้ ง แต่ ร ะดั บ เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ระดับภาคจนมาถึงระดับประเทศ ไม่ว่าการแข่งขันอะไร ทุกวิชาต้อง มีการเรียนรู้ทั้งนั้น แม้แต่ การแข่งขันการร้องเพลง สพฐ.ได้เชิญ กรรมการมืออาชีพมาเป็นกรรมการ เพื่อเกิดความยุติธรรม ความมุ่ง หมายของ สพฐ.ต้องการให้นักเรียนที่ได้เข้ามาแข่งขัน ได้มีเวที ได้มี โอกาส ได้ประสบการณ์ เกิดการพัฒนา เกิดการเรียนรู้ วันนี้เป็น วันที่ 7 มกราคม 2558 (วันที่สอง) โอกาสดี ที่ ทุ ก คนได้ เ ข้ า โครงการอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร ผลิ ต สื่ อ ภาพยนตร์สั้น ซึ่งการแข่งขันประเภทอื่นไม่มีการจัดอบรมอย่างนี้ ภาคเช้า 1.พิ ธี เ ปิ ด และบรรยายพิ เ ศษ โดย นายสนิ ท การดําเนินการจัดทําหนังสั้น สิ่งที่ควรคํานึง คือ ลิข สิท ธิ์ ต้องให้ แย้ ม เกสร ผู้ อํ า นวยการสํ า นั ก งานอํ า นวยการ เครดิตเจ้าของลิขสิทธิ์ ควรศึกษาให้ดีว่าสิ่งที่นํามาประกอบสื่อนั้น ถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่ มีข้อสงสัยให้ถามวิทยากรที่มาถ่ายทอด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ความรู้ และ 4 วัน ในการอบรมฯ จะได้รับวุฒิบัตรผ่านการอบรมฯ ตามหลักสูตรการผลิตสื่อภาพยนตร์สั้น เป็น 4 วันแห่งคุณค่า และ วันที่ 17-19 กุมภาพันธ์ 2558 ณ เมืองทองธานี จะได้เห็นผลงาน ของนักเรียนทุกคน ทุกทีม ในการแข่งขันต่อไป”
4
การบรรยาย “เทคนิ ค พื้ น ฐาน ภาพยนตร์”
วิทยากร จากสมาคมผู้กํากับภาพยนตร์ไทยผู้ กํากับจากประกอบด้วย - มรว.เฉลิมชาตรี ยุคล - คุณพัฒนะ จิรวงศ์ - คุณมานุสส วรสิงห์
- คุณภราดร เวชอุทัย ประเด็นในการบรรยายของคณะวิทยากร การดําเนินเรื่อง : การนําเค้าโครงเรื่องเดิม ดําเนินเรื่อง ควรมีเค้าโครงเดิมแต่สามารถสอดแทรก การทําหนังสัน้ : ต้องลองทํา การลองถูกลอง ผิดจะทําให้นักเรียนได้วิธีการทําหนังสั้น การทําหนัง : เป็นการเล่าเรื่อง การเล่าเรื่องด้วยภาพ วิธีเบื้องต้น : ดั่ง คําว่า “เราไม่สามารถหยุดการสื่อสารได้” 5
หนังที่ดคี วรเป็นอย่างไร : การเริ่มจากที่เรียบง่าย คิดและ วิธีการที่ง่าย การเล่าเรื่องให้เพื่อนฟังและเพื่อนสนใจและติดตาม หลังจากนัน้ เราก็ขยายเรือ่ งออกมาจากการเล่าเรือ่ ง การทําหนังทีด่ ี ต้องหาความรูเ้ ยอะ ๆ ในเรือ่ งนัน้ ๆ มาก ๆ การจินตนาการเรื่อง อะไรก็ต้องหาความรู้ หารายละเอียดให้มากขึ้น คิดและขยาย รายละเอียด โดยจดความคิดลงในสมุด ดั่งคําว่า“สมุดเป็นสอง สมอง เป็นหนึ่ง” วิธีการมีหลากหลาย ไม่มีใครสามารถสอนได้ ต้องคิดและ วิเคราะห์งานแต่ละชิ้นในการดําเนินการ ในแต่ละขั้นตอน แต่ละคน มีวิธีการที่แตกต่างกัน การเล่าเรื่องที่ต้องการจะทําหนังสั้น เราต้อง ขยันเล่าเรื่องให้ผู้อื่นได้รับฟัง และสังเกตพฤติการณ์ของคนฟังว่าเป็น อย่างไรบ้าง อุปกรณ์ในการทําหนัง : ไม่จําเป็นต้องใช้ของแพง สามารถ ใช้ของธรรมชาติ อาทิ การทําควันหมอก ใช้กากมะพร้าวจุดไฟให้ เกิดควันและตีควันให้กระจาย การทําผีหน้าเขียว ให้ใช้กระดาษ แก้วสีเขียวครอบไฟส่อง หน้าคนแสดงจะเป็นสีเขียว การทําภาพหนัง ต้องจินตนาการให้ตรงกับความต้องการ ภาพในขณะนั้น เช่น หนังผี หนังรัก หนังสามัคคี การทําหนังสามัคคี ต้องรู้ว่าความสามัคคีคอื อะไร พลัง คืออะไร ทุกอย่างต้องเรียนรู้ การเริ่มต้นที่ดแี ละสร้างประสบการณ์ของผู้ทํา การใส่เสียงหนังสัน้ การใส่เสียงจากการอัดเสียงและนําไป หนังมือใหม่ คือ การลอกเลียนแบบ เช่น คนที่รู้สึก ตัดต่อจะดีกว่าเสียงจากกล้อง ง่วง ร้องไห้ เศร้า ฯลฯ เขามีท่าทางอย่างไร เมื่อ การใส่เสียงระหว่าการถ่ายทําจะทําง่ายมากกว่า โดยใช้ไมค์ ถ่ายภาพอิริยาบถต่าง ๆ ผ่านกล้อง ต้องรู้ว่าขณะถ่าย ช่วยเสริมในระหว่างการถ่ายทํา ทํานั้นต้องการให้เกิดภาพความรูสึกอย่างไร ได้ การใช้ดนตรีประกอบ จะช่วยทําให้หนังแสดงความรูส้ กึ ได้ดขี นึ้ รายละเอียดอะไรบ้าง ตามความต้องการ รมว.เฉลิมชาตรี สรุปภาคเช้า การถ่ายภาพใกล้ : แสดงถึงการแสดงอารมณ์ การทําหนังไม่ยาก สื่อตามที่ต้องการ รู้สกึ ว่าใช่คือใช่ ถ้า การถ่ายไกล : เป็นการแสดงให้เห็นอิริยาบถ รู้สึกไม่ใช่คนดูก็รู้สึกไม่ใช่ สังเกต ดู มุมกว้าง ภาพที่ออกมาสวยหรือไม่ การเล่าเรื่องได้ดี ได้สนุก หนังออกมาก็ดี การเล่าเรื่องด้วยภาพ : ใคร ทําอะไร ที่ไหน และสนุก อย่างไร คุณสันติ แต้พานิช สรุปภาคเช้า การเล่าหนัง 1 เรื่อง : ให้ลองเล่าเรื่องให้ การทําหนังสั้น ต้องไม่กลัวในการทํา ให้ลงมือทําไปก่อน ไม่มี เพื่อนฟัง อะไรที่เราไม่เล่าออกมาแสดงว่าไม่สําคัญ ไม่ ผิด ไม่มีถูก แต่เป็นสิ่งที่ทําให้เราเกิดการเรียนรู้ในการทําหนังสั้น ต้องเอามาใส่ในเรื่อง ภาพยนตร์สมจริง : หนังจะสมจริงหรือไม่ก็ ได้ แต่ถ้าเหมาะสมเมื่อคนดูงานของเราสนุกกับหนัง ของเรา ทําไมหนังสั้นต้องกําหนดเวลา 7 นาที : หนังสั้นนิยมใช้เวลา 5 นาที หรือ 7 นาที แต่ส่วนใหญ่ จะนิยม 7 นาที เพราะจะได้เนื้อหาสาระมากกว่า 5 นาที 6
ภาคบ่าย เวลา 13.00 น. การบรรยาย “การสร้างภาพยนตร์” ทีมวิทยากรได้ยกตัวอย่างการจัดทําหนังผี มาเป็นกรณี ตัวอย่าง การทํ า หนั ง ผี : มี แ ก่ น หรื อ ประเด็ น ของเรื่ อ ง อะไรบ้างการ การใส่ เ สียง ทํ า ไมหนั ง ผี ต้อ งมี เ สี ย งหมา หอน : การใช้ เ สี ย งหมาหอน เหมื อ นเป็ น สั ญ ญาณ สร้างจินตนาให้การดูเกิดอารมณ์ตาม ทําอย่างไรทําหนังให้คนอยากดูหนังเรา : เรา ต้องทําหนังเรามีความน่าสนใจ ทําหนังเหมือนคนเล่า เรื่อง ทําอย่างไรให้คนกลัวผีไปดูหนังผี คนทําหนัง ผู้กํากับ : ไม่ต้องเก่งทุกอย่าง แต่ ต้องรู้ ว่ารายละเอียดของหนั งเราต้องการอะไร และ สามารถทอดถ่ายความต้องการสิ่งที่ต้องการให้ทีมงาน ได้ การจบหนั งควรจบแบบไหน : จบสมบู ร ณ์ หรือว่าจบปลายเปิด หนังจบที่สมบูรณ์ รู้ว่าตัวละครเจอชะตากรรม อะไร
หนังจบปลายเปิด เป็นการจบให้คนดูเดาเหตุการณ์เอาเอง จบ แบบไหนดีกว่ากันไม่สามารถบอกได้ ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของ เรื่องที่ต้องการจบ เรื่องความสามัคคี ทําอย่างไรถึงน่าสนใจ : ความสามัคคี คือ โจทย์ ต้องดูเป็นแนวไหน การตั้งชื่อหนัง ควรตั้งชื่อก่อนหรือทําหนังก่อน : ก่อน หรือหลังก็ได้ เขียนบทอย่างไรที่น่าสนใจ : การทําหนัง ไม่มีสูตรสําเร็จ แต่คิดว่าเราจะทําเรื่องอะไร สนใจเรื่องอะไร ไม่ต้องว่าทําอย่างไรกรรการหรือคนดูชอบ หรือทํา เพื่อให้ชนะการประกวด การทํากิจกรรมร่วม ที ม วิ ท ยากร ให้ ผู้ เ ข้ า อบรมฯ ได้ มี ส่ ว นร่ ว มในการจั ด ทํ า กิจกรรม โดยให้...นักเรียนหญิง ชาย มาเล่าเรื่องในการสร้างหนังสั้น คนละเรื่องหน้าห้องประชุม และเลือก 1 เรื่อง นํามาให้นักเรียนทั้ง 5 คน เป็ น นั ก แสดง โดยในห้ อ งประชุ ม มี ส่ ว นร่ ว มในการแสดง ประกอบเรื่อง ประเด็นเรื่อง มีนักเรียนนั่งอบรมฯ ในห้องประชุม และเล่น เกมจากมือถือ เป็นเกมประเภทผี และเผลอหลับไป ในขณะที่หลับ นั้น ได้ฝันว่า กําลังนั่งประชุมอยู่ เมื่อหันมาไม่เห็นคนในห้องประชุม คนในห้องประชุมหายไปหมด และหันกลับไปหน้าเวที เห็นวิญญาณ ผีผู้หญิง อยู่บนเวที น่ากลัวมาก ตนเองตกใจมาก ท้ายสุด เพื่อนที่ นั่งอยู่ข้าง ๆ เห็นตนเองหลับอยู่จึงตบหัวปลุกให้ตื่น เมื่อตนเองตื่นก็ หันไปดูในห้องประชุม เห็นว่ายังมีคนอยู่ในห้องประชุมเต็มไปหมด เหมือนเดิม ...นี่เราฝันไปเหรอ..... ทีมวิทยากร ได้ถ่ายทําเป็นหนังสั้น และตัดต่อให้ผู้เข้าอบรมฯ ได้ชมกันในประเด็นเรื่องดังกล่าว ซึ่งทําให้นักเรียนและผู้เข้าอบรม
7
เวลา 15.00 น. การบรรยาย “การเขียนบทภาพยนตร์” การเขียนบทภาพยนตร์ : เกิดจากแรงบันดาลใจ การ เขี ย นบทแต่ ล ะครั้ ง ต้ อ งมี แ ก่ น หรื อ ประเด็ น ของเนื้ อ หาการ ค้นคว้าหาข้อมูล การกําหนดประโยคสําคัญ การเขียนเรื่องย่อ การเขียนโครงเรื่องขยาย บทภาพยนตร์ : บทภาพยนตร์ที่มีโครงเรื่องบทพูดแต่ มี ค วามสมบู ร ณ์ น้ อ ยกว่ า บทถ่ า ยทํ า เป็ น การเล่ า เรื่ อ งที่ ไ ด้ รั บ พัฒนาแล้วอย่างมีขั้นตอน การลํ า ดั บ เรื่ อ งราว ควรทํ า อย่ า งไร : การลํ า ดั บ ภาพ ขึ้นอยู่กับบทภาพยนตร์ที่กําหนดไว้ การทําหนังสั้น : ควรใช้ภาพมากกกว่าการพูด จะดีกว่า บทภาพยนตร์ : อาจปรับเปลี่ยนได้ เนื่องจากโลเคชั่น หรือสถานที่ เพราะฉะนั้นการเลือกโลเกชั่นหรือสถานที่เป็นเรื่อง สําคัญเหมือนกัน คนเขียนบท : ต้องเป็นคนช่างสังเกต ช่างจดจํา บทสารคดี และหนั ง สั้ น : มี ค วามแตกต่ า งกั น อย่า งไร สารคดี เป็นเรื่องราวความเป็นจริง เป็นเรื่องจริง ซึ่งแตกต่างกับ หนังสั้นจะเป็นเรื่องสมมุติเป็นส่วนใหญ่
8
ส รุ ป ก า ร บ ร ร ย า ย ทั้ ง ห ม ด ในวันที่สอง
หนังเราได้บอกประเด็นและสื่อกับการดูหรือไม่ หรือให้คนอื่นอ่านบทที่เขียน และเข้าใจกับที่เราต้องการ หรือไม่ คุณภรดร เวชอุรัย บริษัท ฟูลเฮ้าส์ จํากัด คุณพัฒนะ จิรวงศ์ สมาคมผู้กํากับภาพยนตร์ไทย คุณมานุสส วรสิงห์ สมาคมผู้กํากับภาพยนตร์ไทย ได้วิเคราะห์ ภาพยนตร์ สารคดี ให้ผู้เข้ารับการอบรม คณะวิทยากร ได้สุ่มถามนักเรียนระดับประถมศึกษา ระดับขยายโอกาส ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ประมาณ 10 คน กับความรู้ที่ได้รับ มาตลอด 2 วันที่ผ่านมา ในช่วงสุดท้าย วิทยากรให้การบ้านนักเรียน ให้แต่ ละทีมเขียนบทฉบับย่อ ความยาว 1-2 นาที เพื่อนําเสนอ ในวันที่ 8 มกราคม 2558
9
วั น ที่ 8 ม ก ร า ค ม 2 5 5 8 (วันที่สาม) ภาคเช้า บรรยาย “การเตรียมการถ่ายทํา” โดยคณะวิทยากร คุณวริทธิ์ จิวะสุรัตน์ บริษัท ทีเร็ค จํากัด คุณวนิดา แสงบุญเกิด คณะวิท ยากร ได้ แ นะนํ า บทบาทและหน้ าที่ ข อง กองถ่ายทําภาพยนตร์ โดยทุกคนต้องรู้หน้าที่และบทบาท ของตนเอง พร้อมมีการวางแผนในการทํางาน มีการถามนักเรียนที่ตนเองมีหน้าที่ในกองถ่ายทํา วิทยากร ให้นั กเรียนที่เขียนบท (การบ้านที่ให้ ทํา เมื่อวันที่ 7 ม.ค.58) 1 กลุ่ม ออกมานําเสนอบทของกลุ่ม ให้ที่อบรมฯได้ทราบ
10
การบรรยาย “การกํากับภาพ” โดยคณะวิทยากร คุณนิกร ศรีพงษ์วรกุล คุณศรัณย์ ศรีสิงหัย การกํ า หนดขนาดภาพในแต่ ล ะชอท : ต้ อ งสอดคล้ อ งกั บ ความหมายที่ต้องการสื่อ ภาพระยะใกล้และระยะไกล ผู้กํากับแต่ละคน อาจมีความหมายแตกต่างจากอีกคนหนึ่ง การกําหนดภาพไม่มี กฎที่ ตายตัว โดยปฏิบัติส่วนมากใช้ 3 ระยะ คือ ระยะใกล้ ระยะปานกลาง ระยะไกล โดยใช้รูปร่างของมนุษย์หรือวัตถุ สิ่งของ เป็นตัวกําหนด ภาพระยะไกลมากหรือระยะไกลสุด (Extreme Long Shot/ELS) ภาพระยะไกล (Long Shot/LS) ภาพระยะปานกลาง (Medium Shot/MS) ภาพระยะใกล้ (Close up/CU) ภาพระยะใกล้ (Extreme Close up/XCU) ภาพในแต่ละฉาก บทภาพยนตร์จะทําให้รู้ว่าต้องใช้ภาพระยะไหนบ้าง (คณะวิทยากรมีการบรรยายพร้อมภาพตัวอย่างประกอบขึ้นจอ ในการ บรรยาย) วิทยากร เปิดโอกาสให้ผู้เข้าอบรมฯ ถามปัญหา นักเรียน : ถ้าต้องการอารมณ์นักแสดงควรใช้มุมกล้องอะไร วิทยากร : ใช้ Close up/CU ในกรณีที่ต้องการแสดงสีหน้าของผู้แสดง ครู : ถ้าเราจะถ่ายภาพเก็บไว้ ทําอย่างไรไม่ให้ภาพกระโดด
วิท ยากร : การถ่ายภาพมุมกว้าง ๆ ระยะไกล หรือภาพที่โล่ง ๆ แต่ อ าจเชื่ อ มต่ อ ความหมาย ภาพต่อไปได้ ครู : มุมกล้องระยะต่ํามาก ๆ และจะเข้าไปมุม ใกล้ ครู ถาม : ต้องการภาพขนาดรถจักรยานวิ่ง ซึ่ง ได้ใช้รถยนต์ โดยอยู่หลังรถยนต์แล้วไม่สามารถ ถ่ายทํ าได้ เนื่อ งจากถนน ขรุขระ วิทยากร : ใช้มุมกล้องระยะไกล แอบมุมใดมุม หนึ่ง จะช่วยได้ การใช้มุมกล้อง และภาพนําสายตา จะทําให้สื่อ ความหมายและน่าสนใจ นอกจากนี้การใช้แสงมี การช่วยให้ภาพยนตร์ดูสื่อได้มากขึ้น ภาคบ่ าย จะเป็ น เทคนิ คการสร้ าง ภาพยนตร์ และการถ่ายทําจริง พบกันภาคบ่าย พร้อมกันเวลา 13.00 น.กับทีมงานวิทยากรอีก ครั้งก่อนไปถ่ายทําจริง สําหรับทีมนักเรียนที่ไม่มี โปรแกรมตัดต่อให้พบกับคณะวิทยากรก่อน
11
ภาคบ่าย การบรรยาย “เทคนิคการสร้างภาพยนตร์” คุณก้องเกียรติ โขมศิริ สมาคมผู้กํากับภาพยนตร์ไทย คุณคงเดช จารุรันต์รัศมี สมาคมผู้กํากับภาพยนตร์ไทย งานกํากับหนัง : เป็นการทํางานร่วมกับคนจํานวนมาก เป็นศิลปะอย่าง หนึ่งในการทําหนัง การทําหนัง : เป็นเรื่องที่เราต้องการทํา ยกตัวอย่าง เรื่องสามัคคี เรามี มุมมองในการทําหนังเรื่องนี้อย่างไร ความสามัคคี การทําภาพยนตร์ เพื่อต้องการรางวัล ไม่ควรคิด แต่ควรทําเพื่อตาม จุดมุ่งหมาย วิเคราะห์โจทย์ให้แตก ยกตัวอย่างการทําหนัง เรื่อง ความ สามั ค คี คื อ อะไร เกิ ด พลั ง อะไร การทํ า หนั ง ต้ อ งมี จุ ด เป้ า หมาย มุมมองที่มีอยู่ แตกต่างจากคนอื่นหรือไม่ การทําหนังสั้น : เข้าจุด เข้าเป้า เข้าอารมณ์ เข้าความรู้สึก ในระยะเวลา ที่กําหนด ในการทําหนังสั้น ควรทําบ่อย ๆ และให้คนรอบข้างได้ดู และ นํามาปรับ มาแก้ไขส่วนที่บกพร่อง จะทําชํานาญมากขึ้น เทคนิคต่าง ๆ ไม่ได้เป็นเรื่องที่ตายตัว แต่จะค้นพบได้ในขณะที่ทํางาน (วิทยากรนําภาพยนตร์ตัวอย่างมาให้ผู้เข้ารับการอบรมได้คิดวิเคราะห์) ทําให้ผู้เข้าอบรมฯ เข้าใจว่า การนําภาพยนตร์เรื่องเดียวกัน แต่การใส่ เสียงพูดและการใส่ Sound ความหมายก็แตกต่างกันได้
12
การตีโจทย์ : ควรคิดให้หลากหลาย ไม่ควรคิด ในแนวเดียว มุมมองที่สร้างสรรค์ เป็นเรื่องที่น่า พูด และมุมมองที่อคติไม่ควรคิด ครูถาม : กรรมการ/ผู้ตัดสิน การทําหนังสั้น เรื่ อ ง สามั ค คี การทํ า ตามนอกกรอบ แต่ กรรมการตัดสินการประกวดมีมุมมองว่าไม่ใช่ วิ ท ยากร : กรรมการ/ผู้ ตั ด สิ น แต่ ล ะคนก็ มี ความคิดเห็นไม่เหมือนกัน แต่เราทําแล้วคิดว่าดี ก็ภูมิใจแล้ว แต่สิ่งสําคัญคนดูต้องชอบด้วย ครูถาม : การทําหนังสั้นอย่างไรให้ได้รับรางวัล ในการประกวดฯ เพราะทํามา 3 ปีแล้ว ยังไม่ได้ รางวัลระดับชาติ วิทยากร : การทําหนังสั้นอย่างคิดว่าทําเพื่อได้ รางวัล แต่ทําหนังเพื่อให้คนดูมีอารมณ์คล้องตาม มีการสื่อสารที่ดี เพราะคนดูจะเป็นตัวชี้วัดใน การทําหนังเรื่องนั้นดีหรือไม่
ภาพในระหว่างถ่ายได้ เพราะจะเข้าใจในการนํา ภาพมาตัดต่อ สิ่งที่ต้องระวังในการถ่ายทํา คือ รายละเอียดเดิมต้องเหมือนเดิม เช่นการแต่ ง กายเสื้อผ้าต้องเหมือนเดิมเมื่อมีการต่อเนื่อง
ภาคเย็น บรรยาย “การตัดต่อ” คุณภราดร เวชอุรัย บริษัท ฟูลเฮ้าส์ จํากัด คุณกมลธร เอกวัฒนกิจ คุณสุชาติ แสงชู คณะวิทยากร ฉายหนังสั้น ให้ผู้เข้าอบรมดู ความยาว 17 นาที ในสมัยก่อนใช้ฟิล์มในการถ่ายทํา เมื่อมาตัดต่อจะตัดฟิล์มและ ติดสก๊อตเทปต่อฟิล์ม จึงใช้คําว่าตัดต่อจนถึงปัจจุบัน การบอกเรื่องราว จะเห็นได้ว่าภาพในเฟรมสองจะขยายบอก เรื่องราวจากเฟรมแรก การตัดต่อในบทเดียวกัน แต่การตัดต่ออาจไม่เหมือนกัน การตัด ต่อต้องดูจังหวะและอารมณ์ของบท เพราะฉะนั้นคนตัดต่อต้องอ่านบท ก่อน เพื่อจะเข้าใจบทและอารมณ์ของเรื่องราว คนที่เป็นคนตัดต่อ ถ้าอยู่ในกองถ่ายจะทําให้เห็นภาพว่าควรเพิ่ม
ในขณะที่ถ่ายทําให้ระวังเรื่องเสียง เช่น เสียงแอร์ เสียงโทรศัพท์ เสียง การทดแทนเสียง SOUND ที่หายไป : สามารถทําเสียงที่คล้ายให้มาแทนกันได้ เรื่องราวเดียวกัน ฉากเดียวกั น ความ แตกต่างจะเกิดขึ้นได้เมื่อใส่เสียงเพลงดนตรีเข้า ไปทําให้ความรู้สึกเปลี่ยนไปได้ การทํ า SOUND สามารถหาได้ ที่ เว็ บ ไซต์ ชื่ อ Royalty free music หรื อ free production music หรื อ free music for film
13
เวลา 15.30 ถึงเวลา 16.30 น. ผู้เข้าอบรมฯ ออกไปถ่ายทําภาพยนตร์สั้น ความยาวประมาณ 1-2 นาที โดยทุกทีมส่วนใหญ่ใ ห้สถานที่ โรงแรมอะเดรียติค พาเลข กรุงเทพฯ
วันที่ 9 มกราคม 2558 ภาคเช้า เริ่มโดยพิธีกร ได้ซักซ้อมความเข้าใจในการ เตรี ย มรั บ วุ ฒิ บั ต รอบรมฯ โดยมี ตั ว อย่ า งให้ นักเรียนและครูที่ต้องขึ้นรับวุฒิบัตรการอบรมฯ นอกจากนี้ ได้ชี้แจงในการเรื่องวุฒิบัตร ซึ่งมี คุณค่ามากสําหรับทุกคน ให้เก็บรักษาไว้ให้ดี และ สามารถวุฒิบัตรไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อนักเรียน และคุณครู ซึ่งสามารถนําไปต่อยอดทําวิทยฐานะได้
“การอภิปรายการถ่ายทํา ภาพยนตร์สั้น” คุณพัฒนะ จิรวงศ์ สมาคมผู้กํากับภาพยนตร์ไทย คุณวิรัตน์ เฮงคงดีสมาคมผู้กํากับภาพยนตร์ไทย คุณมานุสสวรสิงห์ สมาคมผู้กํากับภาพยนตร์ไทย คุณสิทธิพงษ์ กองทอง คุณภราดร เวชอุรัย บริษัท ฟูลเฮ้าส์ จํากัด นําภาพยนตร์สั้นแต่ละทีมผู้เข้าอบรม 47 ทีม มาฉายขึ้นจอเพื่อวิจารณ์การถ่ายทํา ข้อดี ข้อบกพร่อง ในส่วนไหนบ้างและให้ข้อเสนอแนะใน การปรับปรุงในการทําหนังสั้น ด้านเนื้อหา นักแสดง การลําดับเรื่อง เสียง 14
ภาคบ่าย พิธีปิดโครงการและมอบวุฒิบัตร
นายสนิท แย้มเกสร ผู้อํานวยการสํานักงาน อํานวยการ เป็นประธานมอบวุฒิบัตรให้กับผู้เข้า อบรมฯ จํานวน 339 คน และกล่าวปิดการประชุม สรุปได้ ดังนี้ โครงการอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร ผลิ ต สื่ อ ภาพยนตร์สั้น โดยวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถ และมากด้วยประสบการณ์ ได้มาถ่ายทอดความรู้ และเทคนิคต่าง ๆ ให้กับผู้เข้ารับการอบรมฯ ตลอด ทั้ง 4 วัน นับว่าผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ที่มี ประโยชน์ ม าก นอกจากนี้ ยั ง ได้ มี ก ารแลกเปลี่ ย น ประสบการณ์ ซึ่ ง กั น และกั น ระหว่ า งผู้ เ ข้ า รั บ การ อบรมอีกด้วย ซึ่งความรู้ที่ได้รับใน 4 วันนี้ จะเป็น การนําความรู้ไปพัฒนาในการทําภาพยนตร์สั้น ซึ่ง จะมี ก ารนํ า เสนอผลงานในงานศิ ล ปหั ต ถกรรม นักเรียน ครั้งที่ 64 ระหว่างวันที่ 17-19 กุมภาพันธ์ 2558 ณ เมื อ งทองธานี จ.นนทบุ รี ซึ่ ง ทุ ก ที ม นํ า ความรู้ที่ได้รับจากวิทยากรไปเติมเต็มและสมบูรณ์ มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ต้องการให้ทุกคนได้ขยายผล สร้างเครือข่ายการทําภาพยนตร์สั้น ซึ่งอาจตั้งเป็น ชมรมภาพยนตร์สั้นขึ้นมาก ทั้งนี้เป็นการขยายผล จากความรู้ ที่ ไ ด้ รั บ ไปให้ ผู้ ที่ ไ ม่ มี โ อกาสเข้ า มารั บ อบรม และหวังว่ าในอนาคตของนักเรียนทุกคนที่ ได้ รั บ การอบรมภาพยนตร์ สั้ น จะเป็ น บุ ค คลที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ วงการภาพยนตร์ หรื อ ใช้ ป ระกอบ อาชีพได้ต่อไป
15
การเผยแพรขาวประชาสัมพันธ
ทีมงานประชาสัมพันธ์ โครงการอบรม เชิงปฏิบัติการ ผลิตสื่อภาพยนตร์สั้น กําหนด จัดงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64 ปี การศึกษา 2557 ได้ทําข่าวประชาสัม พันธ์ เผยแพร่ข่าวสารโครงการในหลากหลายสื่อ ทั้งหนังสือพิมพ์ เว็บไซต์ และโทรทัศน์
16
หนังสือพิมพ
เว็บไซต
17
เว็บไซต
โทรทัศน ข่าวสารโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ ผลิตสือภาพยนตร์ สัน จะออกอากาศทางรายการครอบครัวข่าวเด็ก ไทยทีวีสี ช่อง 3 เวลา 05.40 น. ในวันพุธที 21 มกราคม 2558
18
ภาพคณะทํางาน
19
ภาพคณะทํางาน
20
ภาพคณะทํางาน
21
ภาพคณะทํางาน
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31