CEO INSURANCE FORUM 2019
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
คำ�นำ�
การประกันภัยเป็นเครื่องมือบริหารความเสี่ยงที่สร้างหลักประกันความมั่นคงให้กับชีวิต
สารบัญ สารจากเลขาธิการ คปภ.
4 5
และทรั พ ย์ สิ น จึ ง มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ยิ่ ง ต่ อ การพั ฒ นาระบบเศรษฐกิ จ และสั ง คมของประเทศ
กำ�หนดการการประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562 (CEO Insurance Forum 2019)
มี ภารกิจหลักในการก�ำกับดูแลและส่งเสริมพัฒนาธุรกิจประกันภัยให้ด�ำเนินอยู่ในกรอบกติกาตาม กฎหมาย ดูแลตรวจสอบให้บริษัทประกั นภั ยมีฐานะทางการเงิ นที่ ม่ันคง เป็นที่ น่าเชื่อถื อ มีการ
คำ�กล่าวรายงานการจัดงานประชุม
โดย ผู้ช่วยเลขาธิการ สายกลยุทธ์องค์กร นายสุรินทร์ ตนะศุภผล
6
ประชาชนให้ได้รับสิทธิประโยชน์จากการประกันภัยอย่างรวดเร็ว ถูกต้องและครบถ้วน จึงจ�ำเป็น
ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง ทิศทางและนโยบายในการส่งเสริมอุตสาหกรรมประกันภัย ประจำ�ปี 2562
8
ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการก� ำ กั บ และส่ ง เสริ ม การประกอบธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย (ส� ำ นั ก งาน คปภ.)
บริหารจัดการที่ดี มีคุณภาพในการให้บริการ และมีขีดความสามารถในการแข่งขัน รวมทั้งคุ้มครอง
ต้องเร่งส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของอุตสาหกรรมประกันภัยไทยให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ ที่เปลี่ยนแปลงไป จึงได้จัดงาน “การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจ�ำปี 2562” หรือ CEO Insurance Forum 2019 ขึ้ นภายใต้ ธีมงาน “การยกระดั บประกั นสุขภาพสู่อนาคต
โดย ดร. สุทธิพล ทวีชัยการ เลขาธิการคณะกรรมการกำ�กับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
ที่ ย่ั ง ยื น ” เพื่ อ เปิ ด โอกาสให้ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ด้ า นการประกั น ภั ย ได้ ร่ ว มกั น ระดมความคิ ด เห็ น
แนวทางการกำ�กับดูแลธุรกิจประกันภัยของเขตบริหารพิเศษฮ่องกง
โดย Mr. Tony Chan, Associate Director Policy and Development Division, Insurance Authority
20
ต่ อการพัฒนาระบบการประกันสุขภาพของประเทศไทย ซึ่งส�ำนักงาน คปภ. จะน�ำผล ที่ได้จากการ
สรุปเนื้อหาการประชุมกลุ่มย่อย
29 31
แลกเปลี่ ย นความรู้ และประสบการณ์ รวมทั้ ง รั บ ฟั ง ปั ญ หาและข้ อ เสนอแนะที่ เ ป็ น ประโยชน์ ประชุมมาใช้พัฒนาระบบประกันภัยไทยให้เติบโตอย่างยั่งยืน
หนังสือ CEO Insurance Forum 2019 เล่มนี้ จัดท�ำขึ้นเพื่อเป็นการเผยแพร่ข้อมูลสรุปผล
การประชุมหารือการขับเคลื่อนธุรกิจประกันภัย ประจ�ำปี 2562 ซึ่งส�ำนักงาน คปภ. หวังเป็นอย่าง ยิ่ ง ว่ า จะเป็ น บทสรุ ป ที่ เ กิ ด ประโยชน์ ต่ อ การขั บ เคลื่ อ นและพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมประกั น ภั ย ไทย ให้ก้าวไปอย่างมีคณ ุ ค่า มีการเติบโตอย่างยัง่ ยืน มีความโปร่งใส มีศก ั ยภาพและเพิม ่ ขีดความสามารถ
ในการแข่งขันเทียบเท่ามาตรฐานสากล ตลอดจนสร้างความเชื่อมัน ั ระบบประกันภัย ่ และศรัทธาให้กบ สูส ่ าธารณชนต่อไป
ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เมษายน 2562
กลุ่มย่อยที่ 1 ยกระดับการกำ�กับการประกันสุขภาพสู่อนาคตที่ยั่งยืน กลุ่มย่อยที่ 2 กรอบแนวทางการดำ�เนินการในการป้องปรามการฉ้อฉลในการประกันสุขภาพ
53
สรุปภาพรวมการประชุมกลุ่มย่อย
65
ภาคผนวกประมวลภาพบรรยากาศงาน CEO Insurance Forum 2019
70
คำ�สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทำ�งาน กลุ่มย่อยเตรียมความพร้อมการจัดประชุม ผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
76
4
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
สารจาก
ดร.สุทธิพล ทวีชัยการ
เลขาธิการคณะกรรมการกำ�กับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
CEO Insurance Forum 2019
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562 (CEO Insurance Forum 2019) วันศุกร์ที่ 29 มีนาคม 2562 ณ ห้องประชุม CRYSTAL ชั้น 3 โรงแรม ดิ แอทธินี โฮเทล กรุงเทพฯ
ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการก� ำ กั บ และส่ ง เสริ ม การประกอบธุ ร กิ จ
ประกันภัย (ส�ำนักงาน คปภ.) ได้ริเริ่มจัดงานการประชุมผู้บริหารระดับสูง ด้านการประกันภัย หรือ CEO Insurance Forum ขึ้นครั้งแรกในปี 2559 ซึ่ ง ปีน้ีจัดขึ้นต่ อเนื่องเป็นปีท่ี 4 เพื่อใช้เป็นเวที ในการสื่อสารทิ ศทางและ นโยบายในการพัฒนาอุตสาหกรรมประกันภัยไทย รวมทั้งมีการแลกเปลี่ยน ความรู้ ประสบการณ์ ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็นทีเ่ ป็นประโยชน์ อันแสดงถึง ศักยภาพและความร่วมมือกันระหว่างผูบ ้ ริหารส�ำนักงาน คปภ. ผูบ ้ ริหารบริษัทประกันภัย และภาคส่วนสมาคมที่เกี่ยวข้องกับ ธุ รกิ จประกั นภั ย ทั้ งนี้ การประชุ มผู้บริหารระดั บสูงด้ านการประกั นภั ยในปี 2561 ได้ มีการสื่อสารทิ ศทางและยุ ทธศาสตร์ การก� ำกั บดูแลธุ รกิ จประกั นภั ยยุ คดิ จิทัลสู่แนวปฏิ บัติท่ี ดีท่ี สุด รวมทั้ งได้ มีการจั ดประชุ มกลุ่มย่อยเพื่อระดมความคิ ดเห็น จ�ำนวน 3 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มที่ 1 หัวข้อ “Open Data for Industry” กลุ่มที่ 2 หัวข้อ “Enhancing Insurance Industry Conduct of Business” และกลุ่ ม ที่ 3 หั วข้ อ “Insurance Technology Assurance and Risk Management” ซึ่ งผลจาก การประชุ ม ในครั้ ง ที่ผ่านมาท�ำให้ได้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมประกันภัยไทย หลายประการและน�ำไปสูก ่ ารปรับปรุงและพัฒนากฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพื่อยกระดับมาตรฐานการก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัย สูม ่ าตรฐานสากล อาทิ การส่งเสริมการขายกรมธรรม์ประกั นภั ยผ่านทางอิ เล็ กทรอนิกส์ (Insurance Market) ที่ เข้าถึ งได้ ทางเว็ บไซต์ หรือแอพพลิเคชั่นบนมือถือ (Android และ iOS) การขึ้นทะเบียนด�ำเนินธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และการให้ ความเห็นชอบการใช้ระบบสารสนเทศของผู้ให้บริการซึ่งเป็นบุคคลภายนอก และงานที่เกี่ยวข้องแนวปฏิบัติการก�ำกับตัวแทน นายหน้าประกั นชีวิต และการน�ำระบบเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการตรวจสอบ รวมถึ งเข้าตรวจสอบบริษัทประกั นภั ยตาม IT Audit – Risk Based Supervision Framework เป็นต้น
ในปีน้ี การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจ�ำปี 2562 หรือ CEO Insurance Forum 2019 ได้จัดขึ้น
ในวันศุกร์ท่ี 29 มีนาคม 2562 ณ โรงแรม ดิ แอทธินี โฮเทล กรุงเทพฯ ภายใต้หวั ข้อ “การยกระดับประกันสุขภาพสูอ ่ นาคตทีย ่ ่ังยืน” ซึ่งเรื่องดังกล่าวถือเป็นนโยบายระดับชาติ เนื่องจากโครงสร้างประชากรของประเทศไทยมีสัดส่วนโครงสร้างของผู้สูงอายุ มากขึ้น ท�ำให้หน่วยงานภาครัฐต่างตระหนักและเตรียมแผนการด�ำเนินการที่จะรองรับภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ที่จะเพิม ่ สูงขึ้น โดยภาระค่าใช้จ่ายดังกล่าวนี้ มีผลกระทบทั้งในส่วนของประชาชนเอง และในส่วนของรัฐบาลที่ต้องรับผิดชอบ ซึ่ ง ธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย สามารถเข้ า ไปช่ ว ยบริ ห ารความเสี่ ย ง และแบ่ ง เบาภาระค่ า ใช้ จ่ า ยด้ า นสุ ข ภาพของภาครั ฐ ได้ ดั ง นั้ น ส�ำนักงาน คปภ. จึงได้จัดประชุมกลุ่มย่อยเพื่อระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มที่ 1 หัวข้อ “ยกระดับการก�ำกับการประกันสุขภาพสูอ ่ นาคตที่ย่ังยืน” และกลุ่มที่ 2 หัวข้อ “กรอบแนวทางการป้องกันและ ป้องปรามการฉ้อฉลในการประกันสุขภาพ”
ในนามของผู้จัดการประชุมผู้บริหารระดับสูงด้ านการประกั นภั ยประจ� ำปี 2562 ขอขอบพระคุณ ผู้บริหารระดับสูง
ด้านการประกันภัย ผู้แทนสมาคมที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผู้มีเกียรติทุกท่านที่ได้สละเวลาอันมีค่ามาร่วมการประชุมในครั้งนี้ และ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หลังจากงานจบแล้ว ทุกท่านได้รับความรู้ เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และแนวคิดอันเป็นประโยชน์ ในการร่วมกันพัฒนาระบบการประกันสุขภาพของไทยให้ก้าวไปอย่างมีคุณค่า และเติบโตอย่างยั่งยืนต่อไป
เวลา 08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 - 09.05 น. กล่าวรายงาน โดย ผู้ช่วยเลขาธิการ สายกลยุทธ์องค์กร (นายสุรินทร์ ตนะศุภผล) 09.05 - 09.40 น. กล่าวเปิดงานและปาฐกถาพิเศษ เรื่อง ทิศทางและนโยบายในการส่งเสริมอุตสาหกรรมประกันภัย ประจ�ำปี 2562 โดย เลขาธิการคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (ดร.สุทธิพล ทวีชัยการ) 09.40 - 10.15 น. บรรยายพิเศษ เรื่อง แนวทางการก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัย ของเขตบริหารพิเศษฮ่องกงในอนาคต โดย Associate Director Policy and Development Division, Insurance Authority (MR. Tony Chan) 10.15 - 10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.30 - 12.30 น. การประชุมกลุ่มย่อยเพื่อระดมความคิดเห็น ภายใต้หัวข้อ “การประกันสุขภาพ” • ยกระดับการก�ำกับการประกันสุขภาพสู่อนาคตที่ยั่งยืน (ประธานกลุ่มย่อย รองเลขาธิการ ด้านก�ำกับ) • กรอบแนวทางการด�ำเนินการในการป้องปรามการฉ้อฉลในการประกันสุขภาพ (ประธานกลุ่มย่อย รองเลขาธิการ ด้านตรวจสอบ และรองเลขาธิการ ด้านกฎหมาย คดีและคุ้มครองสิทธิประโยชน์) 12.30 - 13.00 น. สรุปการประชุมกลุ่มย่อย โดย เลขาธิการคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (ดร.สุทธิพล ทวีชัยการ) และรองเลขาธิการ ส�ำนักงาน คปภ. 13.00 น.
ดร.สุทธิพล ทวีชัยการ เลขาธิการ คปภ.
พักรับประทานอาหารกลางวัน
5
6
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
ก ร ะ ผ ม ใ น ฐ า น ะ ผู้ แ ท น ข อ ง
ส�ำนักงานคณะกรรมการก� ำกับและส่งเสริม
CEO Insurance Forum 2019 ก็ พ บ ว่ า มี อั ต ราที่ สู ง ขึ้ น ทุ ก ปี โดยเฉลี่ ย เพิ่ ม ขึ้ น ปีละ 8 % ซึ่งภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
การประกอบธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย ขออนุ ญ าต
นีจ ้ ะส่งผลกระทบต่อประชาชนอย่างหลีกเลีย ่ งไม่ได้
น� ำ เรี ย นถึ ง ความเป็ น มาและวั ต ถุ ป ระสงค์
ดั ง นั้ น การประกั น สุ ข ภาพจึ ง เป็ น ค� ำ ตอบหนึ่ ง
ก า ร จั ด ง า น ป ร ะ ชุ ม ผู้ บ ริ ห า ร ร ะ ดั บ สู ง ด้ านการประกั นภั ย ประจ� ำปี 2562 (CEO
ที่ เ ข้ า มาช่ ว ยบริ ห ารความเสี่ ย งให้ กั บ ประชาชน เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลได้
Insurance Forum 2019) โดยสังเขป ดังนี้
ส�ำนักงาน คปภ. ได้ริเริ่มจัดงานการ
ค ป ภ . ใ น ก า ร เ ป็ น ผู้ ก� ำ กั บ ดู แ ล แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม
ประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย
การประกอบธุรกิจประกันภัย จึงมุ่งเน้นการเสริม
มาตั้ ง แต่ ปี 2559 ซึ่ ง ในปี น้ี ไ ด้ จั ด ต่ อ เนื่ อ ง
สร้างความรูใ้ ห้กับประชาชนในเชิงรุก ไปพร้อมกับ
เป็ น ปี ท่ี 4 เพื่ อใช้ เ ป็ น เวที ใ นการสื่ อสาร
การคุ้มครองสิทธิประโยชน์ให้กับผู้เอาประกันภัย
ทิ ศ ท า ง แ ล ะ น โ ย บ า ย ร ะ ห ว่ า ง ผู้ บ ริ ห า ร
และมุง่ เสริมสร้างสภาพแวดล้อมในระบบประกันภัย
ส�ำนักงาน คปภ. ผู้บริหารบริษัทประกันชีวิต
ให้ มี ก ารพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น เพื่ อส่ ง เสริ ม ความ
ผู้ บ ริ ห ารบริ ษั ท ประกั น วิ น าศภั ย ภาคส่ ว น สมาคมที่ เกี่ ยวข้ อ งกั บธุ รกิ จประกั นภั ย และหน่วยงานภาครัฐ เพื่อแลกเปลีย ่ นความรู้ ประสบการณ์ ข้อเสนอแนะและข้อคิ ดเห็น ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ซึ่ ง แสดงถึ ง ศั ก ยภาพและ ความร่วมมือในการพัฒนาธุรกิจประกันภัยไทย
โดยในปีท่ีผ่านมา ส�ำนักงาน คปภ.
ได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จากทุ ก ภาคส่ ว นในการ ใ ห้ ข้ อ คิ ด เ ห็ น ที่ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ อ ย่ า ง ยิ่ ง อั น น� ำ ไปสู่ ก ารก� ำ หนดนโยบาย พั ฒ นา
กฎเกณฑ์ต่างๆ ให้มีความยืดหยุ่นเหมาะสม
คำ�กล่าวรายงาน
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562 (CEO Insurance Forum 2019) โดย นายสุรินทร์ ตนะศุภผล ผู้ช่วยเลขาธิการ สายกลยุทธ์องค์กร
ส� ำ หรั บ บทบาทหน้ า ที่ ข องส� ำ นั ก งาน
และสอดรั บ กั บ สถานการณ์ แ ละทิ ศ ทาง การพัฒนาอุตสาหกรรมประกันภัยไทย
ตามที่ เ ราทราบกั น ดี ว่ า ในขณะนี้
ประเทศไทยก� ำลั งเข้ า สู่ สั ง คมผู้ สู ง อายุ โดยสหประชาชาติ คาดว่าสังคมไทยจะเป็น สั ง คมผู้ สู ง อายุ โ ดยสมบู ร ณ์ (Complete Aged Society) ในปี 2565 กล่าวคืออีก 3 ปี ข้ า งหน้ า จะมี ป ระชากรสู ง อายุ ถึ ง 1 ใน 5 ของประชากรทั้ งหมด ประกอบกั บในเรื่อง
ข อ ง ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ใ น ก า ร รั ก ษ า พ ย า บ า ล
ก้าวหน้าอย่างมั่นคงให้กับระบบประกันภัยโดยรวม และเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนคนไทย
การประชุม CEO Insurance Forum 2019 ในครั้งนี้ จึงเป็นการประชุมภายใต้แนวคิด “ยกระดับการประกัน
สุขภาพสู่อนาคตที่ย่ังยืน” โดยได้รับเกียรติจาก ดร.สุทธิพล ทวีชัยการ เลขาธิการคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริม การประกอบธุรกิจประกันภัย มาเป็นประธานเปิดการประชุมและปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “ทิศทางและนโยบายในการส่งเสริม
อุ ตสาหกรรมประกั นภั ย ประจ� ำปี 2562” และได้ รับเกี ยรติ จาก Mr. Tony Chan, Associate Director Policy and Development Division, Insurance Authority (IA) มาบรรยายพิเศษ ในหัวข้อ “แนวทางการก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัย ของเขตบริหารพิเศษฮ่องกงในอนาคต”
ส� ำ หรั บ การประชุ ม กลุ่ ม ย่ อ ยเพื่ อระดมความคิ ด เห็ น ในปี น้ี มี หั ว ข้ อ ที่ น่ า สนใจ 2 เรื่ อง ที่ ส� ำ นั ก งาน คปภ.
ได้ เตรียมการเพื่อรองรับการขยายตัวของธุรกิจประกันสุขภาพมากขึ้น ได้แก่
1) ยกระดั บ การก� ำ กั บ การประกั น สุ ข ภาพสู่ อ นาคตที่ ย่ั ง ยื น เป็ น การหารื อ เกี่ ย วกั บ การปรั บ ปรุ ง สั ญ ญา
ประกั น สุขภาพมาตรฐานให้สอดคล้องกับวิวัฒนาการทางการแพทย์และกระทรวงสาธารณสุข เพื่อรองรับแผนปฏิรูป ระบบสุขภาพของภาครัฐ รวมทั้งการจัดท�ำฐานข้อมูลเกี่ยวกับการประกันสุขภาพ เพื่อใช้ประโยชน์รว ่ มกันในภาคธุรกิจ
2) กรอบแนวทางการด� ำ เนิ น การในการป้ อ งปรามการฉ้ อ ฉลในการประกั น สุ ข ภาพ เป็ น การหารื อ เกี่ ย วกั บ
พฤติกรรมต่างๆ ที่มีลักษณะเป็นการฉ้อฉลประกันสุขภาพ เพื่อก�ำหนดแนวทางมาตรการต่างๆ ที่ส�ำนักงาน คปภ. และ ภาคธุรกิจจะด�ำเนินการร่วมกัน เมื่อพบการกระท�ำที่เข้าข่ายเป็นการฉ้อฉลประกันสุขภาพ รวมถึงการจัดให้มีศูนย์กลาง ข้อมูลการฉ้อฉลประกันสุขภาพ (Fraud Database) เพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านการฉ้อฉลการประกันสุขภาพ ในภาคธุรกิจประกันภัย
โดยในช่วงท้ ายจะเป็นการสรุ ปผลการประชุ มกลุ่มย่อย โดยเลขาธิการและรองเลขาธิการ ส�ำนักงาน คปภ.
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมงานได้ทราบถึงทิศทางและนโยบายที่จะด�ำเนินการเพื่อพัฒนาภาคอุตสาหกรรมประกันภัยต่อไป
7
8
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
9
CEO Insurance Forum 2019
ทั้ ง นี้ ภารกิ จ ในปี ท่ี ผ่า นมาของส� ำ นั ก งาน คปภ. ส่ว นหนึ่ ง ใช้ เ วลากั บ การเตรี ย มความพร้ อ มเพื่ อ เข้ า รั บ การ
ประเมินภาคการเงิ น สาขาการประกั นภั ย (Financial Sector Assessment Program – FSAP) ซึ่งส�ำนักงาน คปภ.
ได้ ด�ำเนินการร่วมกับภาคธุรกิจมาโดยตลอดตั้งแต่ปี 2560 ท�ำให้ต้องมีการเร่งปรับปรุ ง ออกกฎหมาย รวมทั้งพัฒนา
ระบบงานที่ใช้ในการก�ำกับและตรวจสอบ จากความทุม ่ เทของส�ำนักงานที่รว ่ มกับภาครัฐและภาคอุตสาหกรรมประกันภัย
เริ่มเห็นผลชัดขึ้น เมื่อช่วงเดือนกุมภาพันธ์ท่ีผา่ นมา คณะผู้ประเมินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund : IMF) และธนาคารโลก (World Bank) เข้ามาประเมินภาคการเงินของไทย ซึ่งรวมถึงระบบประกันภัย
โดยครั้งนี้ถือเป็นครั้งแรกที่อุตสาหกรรมประกันภัยไทยเข้ารับการประเมินภาคการเงินอย่างเต็มรู ปแบบ ผมได้รับทราบ
ปาฐกถาพิเศษ
เรื่อง ทิศทางและนโยบายในการส่งเสริม อุตสาหกรรมประกันภัย ประจำ�ปี 2562 โดย ดร. สุทธิพล ทวีชัยการ เลขาธิการคณะกรรมการกำ�กับ และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
การประชุ ม ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ด้ า นการประกั น ภั ย ประจ� ำ ปี 2562 หรื อ CEO Insurance Forum 2019
ซึ่ ง ส�ำนักงาน คปภ. ได้มีการจัดต่อเนื่องเป็นปีท่ี 4 ภายใต้ธีม “ยกระดับประกันสุขภาพสู่อนาคตที่ย่ังยืน” ซึ่งเป็นเวที
ส�ำคัญทีใ่ ห้ผบ ู้ ริหารภาคธุรกิจประกันภัยแลกเปลีย ่ นความคิดเห็นและประสบการณ์ดา้ นการประกันภัย รวมทัง้ ให้ข้อเสนอแนะ
ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมประกันภัยไทยในอนาคต ซึ่งผมจึงขอโอกาสนีส ้ รุปผลการด�ำเนินงานที่ส�ำคัญ ในปีท่ีผา่ นมาและมอบ “ทิศทางและนโยบายในการส่งเสริมอุตสาหกรรมประกันภัย ประจ�ำปี 2562”
เมื่อปีท่ีผ่านมา ส�ำนักงาน คปภ. ได้ก�ำหนดให้ปี 2561 เป็นปีแห่ง “การยกระดับมาตรฐานการก�ำกับดูแลธุรกิจ
ผลการประเมินเบื้องต้นอย่างไม่เป็นทางการว่า ระบบการก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัยของไทยผ่านการประเมินตาม ICPs
ทุกข้อ ซึง่ มีจำ� นวนทัง้ หมด 26 ข้อ และได้คะแนนอยูใ่ นระดับดีเทียบชัน ่ ฒ ั นาแล้ว ซึง่ ต้องขอขอบคุณทุกภาคส่วน ้ ประเทศทีพ
ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ที่ ไ ด้ ร่ ว มแรงร่ ว มใจกั น ท� ำ ให้ ธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย ไทยได้ รั บ ผลการประเมิ น อยู่ ใ นระดั บ ที่ ดี ซึ่ ง เป็ น ผลดี ต่ อ
การสร้างความเชื่อมั่นให้กับระบบประกันภัยของประเทศไทย ทั้งนี้ ส�ำนักงาน คปภ. จะน�ำข้อเสนอแนะที่ได้รับจากการ ประเมินในครั้งนี้ ไปเป็นแนวทางในการพัฒนาธุรกิจประกันภัยให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากลยิ่งขึ้น
นอกจากนี้ ผลงานที่โดดเด่นของส�ำนักงาน คปภ. ที่เห็นได้อย่างชัดเจน คือ การจัดตั้ง Center of InsurTech,
Thailand หรือศูนย์ CIT ขึ้นเป็นครั้งแรก โดยเป็นศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนความรู้ในการพัฒนาอุตสาหกรรมประกันภัย และมีการบูรณาการความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรมประกันภัยและกลุม ่ Startup ซึง่ ผลพลอยได้จากการตั้งศูนย์ CIT นี้
ท�ำให้สำ� นักงาน คปภ. มีกลุม ่ เครือข่าย Startup ทีจ ่ ะมาร่วมพัฒนา InsurTech ให้กบ ั อุตสาหกรรมประกันภัยต่อไป ซึง่ จะเห็น การด�ำเนินงานที่ชัดเจนขึ้นในปีน้ี
แต่มีเพียง 3 เรื่อง ที่ส�ำนักงาน คปภ. ได้ด�ำเนินการขับเคลื่อนแล้ว แต่ยังไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ คือ
เรื่องที่หนึ่ง การลดระยะเวลาในการให้ความเห็นชอบผลิตภัณฑ์ประกันภัย เรื่องที่สอง I-SERFF และเรื่องสุดท้าย คือ เรื่อง Insurance Bureau ซึ่งในปีน้ีได้ก�ำหนดแผนการขับเคลื่อน ในเรื่องดังกล่าวไว้อย่างชัดเจน
ผลการดำ�เนินงานที่สำ�คัญ ปี 2561 ปีแห่ง “การยกระดับมาตรฐานการกำ�กับธุรกิจประกันภัยสู่มาตรฐานสากล
ประกันภัยสูม ่ าตรฐานสากล” ซึง่ ส�ำนักงานได้ด�ำเนินการตามภารกิจที่ก�ำหนดไว้คอ ่ นข้างจะครบถ้วน และมีผลงานโดดเด่น ในหลายเรื่ อง ได้ แ ก่ เรื่ องของการปรั บ ปรุ ง กฎระเบี ย บสู่ ม าตรฐานสากล อาทิ การปรั บ ปรุ ง หลั ก เกณฑ์ ก ารด� ำ รง เงินกองทุนตามระดับความเสี่ยง ระยะที่ 2 (RBC 2) การยกระดับมาตรฐานการบริหารความเสี่ยง (ERM) และ หลักเกณฑ์ การเปิดเผยข้อมูลของบริษัทประกันภัยสู่สาธารณะ (Public disclosure) เป็นต้น การน�ำ SupTech RegTech มาใช้ ในการก�ำกับดูแล อาทิ การตรวจสอบและจัดท�ำคูม ่ อ ื IT Audit และโครงการ Insurance Regulatory Sandbox การพัฒนา ตลาดและการเข้าถึง เช่น โครงการ “คปภ. เพื่อชุมชน สู่ภูมิภาค” และโครงการประกันภัยข้าวนาปี รวมถึงข้าวโพด
การปรับปรุงกฎระเบียบ สูมาตรฐานสากล
การนํา SupTech RegTech มาใช ในการกํากับดูแล
การพัฒนาและการเขาถึง
การเพิ่มประสิทธ�ภาพ การใหความเห็นชอบกรมธรรม
การยกระดับ การคุมครองผูบร�โภค
การเพิ่มประสิทธ�ภาพ การบังคับใชกฎหมาย
เลี้ยงสัตว์ผา่ นโครงการอบรมความรู้ประกันภัย (Training for the trainers) การเพิ่มประสิทธิภาพการให้ความเห็นชอบ แบบกรมธรรม์ประกันภัย เช่น การจัดท�ำผลิตภัณฑ์ประกันภัยแบบมาตรฐาน อาทิ กรมธรรม์โจรกรรม กรมธรรม์โรคมะเร็ง
และกรมธรรม์ประกั นภั ยธุ รกิ จหยุ ดชะงั ก การยกระดั บการคุ้มครองผู้บริโภค เช่น การปรับปรุ งประกาศ คปภ. เรื่อง ก� ำหนดหลั ก เกณฑ์ วิ ธี ก ารออก การเสนอขายกรมธรรม์ ป ระกั น ภั ย ของบริ ษั ท ประกั น ภั ย และการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข อง ตัวแทนประกันภัย นายหน้าประกันภัย และธนาคาร และการเพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมาย เช่น การผลักดัน กฎหมายแม่บทด้านการประกันภัย และ พ.ร.บ. การประกันภัยทางทะเล
10
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
11
CEO Insurance Forum 2019
ป จจัยที่ส งผลกระทบต อภาคธุรกิจประกันภัย และการดําเนินงานของสํานักงาน คปภ. ป 2562
ทั้ ง นี้ ด้ ว ยความร่ ว มมื อ จากทุ ก ฝ่ า ย ทั้ ง หน่ ว ยงานภาครั ฐ ภาคธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย และภาคประชาชน ท� ำ ให้
การด� ำ เนิ น งานต่ า งๆ ส� ำ เร็ จ ลุ ล่ ว งอย่ า งดี จนท� ำ ให้ ธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย เป็ น ธุ ร กิ จ ที่ มี ศั ก ยภาพและมี บ ทบาทส� ำ คั ญ
ต่ อ การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมของประเทศเพิ่ม มากขึ้ น ส่ ง ผลให้ ใ นปี 2561 ธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย มี เ บี้ ย ประกั น ภั ย
รั บ โดยตรงทั้ งสิ้ น 859,550 ล้ า นบาท ขยายตั ว ร้ อ ยละ 4.99 แบ่ ง เป็ น เบี้ ย ประกั น ภั ย รั บ โดยตรงของธุ ร กิ จ ประกั น ชี วิ ต จ� ำ นวน 627,560 ล้ า นบาท ขยายตั ว ร้ อ ยละ 4.55 ส่ ว นเบี้ ย ประกั น ภั ย รั บ โดยตรงของธุ ร กิ จ ประกั น
วิ น าศภั ย จ� ำ นวน 231,990 ล้ า นบาท ขยายตั ว ร้ อ ยละ 6.20 เมื่ อเที ย บกั บ ช่ ว งเดี ย วกั น ของปี ก่ อ น โดยมี สั ด ส่ ว น เบี้ ย ประกั นภั ยต่ อผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (Insurance Penetration) อยูท ่ ่ีร้อยละ 5.27
ปัจจัยทีส ่ ง่ ผลกระทบต่อภาคธุ รกิจประกันภัยและการด�ำเนินงานของส�ำนักงาน คปภ. ปี 2562
ก่อนที่จะฉายภาพทิศทางนโยบายที่จะขับเคลื่อนธุรกิจประกันภัยในปีน้ี ขอยกตัวอย่างปัจจัยที่สง่ ผลกระทบต่อ
1
การเขาสูสังคมผูสูงอายุ (Aging Society)
4
ความผันผวนของ ระบบเศรษฐกิจและการเง�น
2
การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอม (Climate Change)
3
ความกาวหนาของเทคโนโลยี แบบกาวกระโดด (Disruptive Technology)
6
กฎหมายคุมครองขอมูล สวนบุคคล
ภาคธุรกิจประกันภัยและการด�ำเนินงานของส�ำนักงาน คปภ. ซึ่งนับวันจะเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว รุ นแรง และขยับ เข้ามาประชิดตัวมากขึน ่ นแปลงไปแล้ว ้ เร็วขนาดไหน ไม่มใี ครสามารถบอกได้ แต่ถา้ ใครเผลอกระพริบตา สิง่ ข้างหน้าก็เปลีย
ปัจจัยที่ว่า อาทิ
1) การเข้าสูส ่ งั คมผูส ้ งู อายุ (Aging Society) ในปี พ.ศ. 2561 ประเทศไทยมีประชากรผู้สูงอายุ จ�ำนวน 11.77
ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 17.77 ของประชากรทั้งหมดทั่วประเทศและคาดการณ์ว่า ปี พ.ศ.2568 ประเทศไทยจะก้าว
เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ คือ มีสัดส่วนผู้สูงอายุ คิดเป็นร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด และคาดว่ าจะเพิ่มขึ้น
เป็นร้อยละ 25 ในปี พ.ศ.2573 ประกอบกับในปี 2561 งบประมาณค่าใช้จ่ายด้าน Healthcare ของทั้ ง 3 กองทุนใน
ระบบสาธารณสุข มีมูลค่าสูงถึง 238,077 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 8.21 ของงบประมาณทั้งหมด และคาดการณ์ว่าใน
อีก 20 ปีข้างหน้าจะเพิ่มขึ้นถึง 3 เท่า
2) การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม (Climate Change) เป็นปัจจัยที่ท่ัวโลก ให้ความส�ำคัญและจับตามอง
เนื่องจากเป็นตัวเร่งและเพิ่มความเสี่ยงให้เกิดภัยธรรมชาติต่างๆ ทั้งแผ่นดินไหว ลมพายุ น้�ำท่วม ความแห้งแล้งและ
ภั ยธรรมชาติอ่ ืนๆ รวมถึงภัยพิบัติท่ีเป็นผลมาจากน้�ำมือมนุษย์ ซึ่งปัจจุบันภัยต่างๆ เหล่านี้มีความถี่และความรุ นแรง มากขึน ่ งของประชาชนทีจ ่ ะได้รบ ั ความเสียหายและความสูญเสียต่อชีวต ิ ทรัพย์สน ิ รวมถึงความเสียหาย ้ ส่งผลต่อความเสีย ทางเศรษฐกิ จ เป็ น จ� ำ นวนมหาศาล เช่ น ในปี 2562 นครชิ ค าโก้ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากกระแสลมวนขั้ว โลก ซึ่ ง ท� ำ ให้
อากาศหนาวติดลบถึง 50 องศาเซลเซียส รวมถึงน้�ำแข็งบนยอดเขาเอเวอเรสต์ละลาย ท�ำให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บและเสีย ชี วิ ต เป็ น จ� ำ นวนมาก ซึ่ ง เป็ น ปรากฏการณ์ ท่ี ไ ม่ เ คยเกิ ด ขึ้ น มาก่ อ น ส� ำ หรั บ ประเทศไทยเองก็ เ ผชิ ญ กั บ ปั ญ หา เช่ น แผ่นดิ นไหวที่ ล�ำปาง ปัญหาฝุ่นละออง PM 2.5 ที่ จังหวั ดเชียงใหม่ มีค่า PM 2.5 สูงเป็นอั นดั บ 1 ของโลก เรื่ อ งนี้ เป็นเรื่องส�ำคัญที่เราจะท�ำอย่างไรให้ระบบประกันภัยเข้าไปมีสว ่ นช่วยในการบริหารความเสี่ยงได้ทันท่วงที
3) ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด (Disruptive Technology) ตอนนี้ไม่ใช่เรื่องไกลตัวแล้ว
ทุ ก วั น นี้ ทุ ก คนสามารถเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล และสามารถท� ำ ธุ ร กรรมได้ ต ลอดเวลา ในมุ ม ของธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย เราเห็ น การ
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีท่ีเป็นรูปธรรมมากขึ้น อาทิ บริษัท Sunday หนึ่งใน InsurTech ของไทย ที่สร้างจุดขายด้วยจัดท�ำ Application ด้วยการน�ำปัญญาประดิษฐ์ (AI) Machine Learning เข้ามาช่วยวิเคราะห์ข้อมูลแบบ Real-Time ในการ ค� ำนวณอั ตราเบี้ยประกั นภั ยทั้ งการประกั นภั ยรถและการประกั นสุขภาพ ที่ เหมาะสมตามความเสี่ยงของลูกค้ า และ ที่ประเทศสิงคโปร์ Grab ร่วมกับ ZhongAn จะสร้าง Platform เพื่อขายประกันภัยผ่าน Application ของ “Grab”
โดยร่วมเป็น Partner กับบริษัท ชับช์อินชัวรันซ์ ซึ่งจะเปิดตัวภายในปี 2563 หมดเวลานั่งดูอยูข ่ ้างสนามแล้ว ต่อจากนี้ ถึงเวลาแล้วที่จะต้องลงมาเล่นในสนามจริง
5
กติกาสากล ที่มีความเขมขนมากข�้น
4) ความผันผวนของระบบเศรษฐกิจและการเงิน ที่มีการปรับนโยบายทางด้านการเงินการคลังในประเทศ
ที่ส�ำคัญๆ สงครามการกีดกันทางการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกากับประเทศจีน ซึ่งอาจส่งผลกระทบทั้งที่เป็นโอกาสและ อุปสรรคต่ออุตสาหกรรมประกันภัย เพราะทุกวันนี้โลกการเงินเชื่อมโยง connected ถึงกันหมด ซึ่งผมมองว่าเป็นโอกาส ของอุตสาหกรรมประกันภัยที่จะน�ำเอาระบบประกันภัยไปช่วยในการบริหารความเสี่ยง
้ ในช่วง 2-3 ปีท่ผ 5) กติกาสากลทีม ่ ค ี วามเข้มข้นมากขึน ี า่ นมานี้ มาตรฐานสากล มีการปรับเปลี่ยนในหลายด้าน
เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในการด�ำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และความเสี่ยงใหม่ท่ีเกิดขึ้น ที่เห็นได้ชัด คือ
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน หรือ IFRS ฉบับที่ 9 และ 17 ซึ่งส่งผลกระทบต่อธุรกิจประกันภัยเป็นอย่างมาก เช่น ประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งได้ประเมินผลกระทบจาก IFRS 17 แล้วพบว่า มีผลต่อฐานะการเงิน ท�ำให้ต้องเตรียมการเพิ่มทุน
นอกจากนี้ มาตรฐานทางด้ า นการประกั น ภั ย ของ IAIS มี ก ารปรั บ ปรุ ง อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ล่ า สุ ด ได้ มี ก ารปรั บ ปรุ ง เรื่ อ ง
การประกันภัยต่อ คนกลางประกันภัย และพฤติกรรมทางการตลาด และในปีนจ ้ี ะมีการปรับปรุงเพิม ่ เติมในอีกหลายเรื่อง
เช่น การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน และการลงทุน ดังนั้น จึงเป็นสิ่งที่ท้ังส�ำนักงาน คปภ. และภาคธุรกิจ
ต้องเตรียมพร้อมรับมือ เพื่อให้สามารถปฏิบัติตามกติกาสากลเหล่านี้ได้
6) กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ขณะนี้ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคล พ.ศ. .... ได้ผ่าน
ความเห็ น ชอบจากสภานิ ติ บัญญั ติ แห่งชาติ แล้ ว เมื่ อ วั น ที่ 28 กุ มภาพั น ธ์ 2562 และคาดว่ า จะมี ผ ลใช้ บั ง คั บ ภายใน
ปี 2562 นี้ ก�ำหนดให้การเก็บ รวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูล และ เจ้ า ของข้ อ มู ล จะยกเลิ ก การให้ ค วามยิ น ยอมเมื่ อ ใดก็ ไ ด้ แม้ ก ฎหมายดั ง กล่ า วจะเป็ น การยกระดั บ มาตรฐานในการ คุ้มครองสิทธิความเป็นส่วนตัวของประเทศไทย ท�ำให้ประชาชนได้รับการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพมากขึ้น แต่ก็อาจจะ ส่งผลต่อภาคธุรกิจประกันภัยที่จะต้องมีการปรับเปลี่ยนกระบวนการในการด� ำเนินธุรกิจเพื่อให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ของกฎหมายดังกล่าว
12
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
CEO Insurance Forum 2019
ทิศทางนโยบายการด�ำเนินงานในปี 2562
ที่ ท� ำ หน้าที่บริหารจัดการโครงสร้างข้อมูลด้านการประกันภัยให้มีความพร้อมในการใช้งานตลอดเวลา
การเปลี่ยนแปลง” ควบคู่กับ “การก�ำกับและตรวจสอบอย่างสมดุลที่ไม่เพิ่มภาระให้กับผู้ประกอบการ” ซึ่งผมได้ก�ำหนด
ประชาชนที่มีต่อธุรกิจประกันภัย โดยน�ำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นตัวขับเคลื่อนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร
ธุรกิจประกันภัยศึกษากฎหมายข้อมูลส่วนบุคคลโดยละเอียด เพื่อจะท�ำให้เกิดความชัดเจนว่า เรื่องใดท�ำได้ เรื่องใดท�ำไม่ได้
ส�ำนักงาน คปภ. ได้ก�ำหนดให้ปี 2562 เป็นปีแห่ง “การพัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมประกันภัยให้ก้าวทันต่อ
• Fraud Database จะมี ก ารจั ด ท� ำ ฐานข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การฉ้ อ ฉลประกั น ภั ย เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการติ ด ตาม
นโยบายเชิ ง รุ ก เพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถของธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย เร่ ง สร้ า งความรู้ ค วามเข้ า ใจและความเชื่ อ มั่ น ของ
การฉ้อฉลและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านการฉ้อฉลของบริษัทประกันภัย โดยจะร่วมกับภาค
จัดการ ผ่านแนวคิด 7 ส. ประกอบด้วย
และจะสามารถด�ำเนินการออกพระราชกฤษฎีกา เพื่อก�ำหนดบางประเด็นเป็นข้อยกเว้นของกฎหมายนี้ได้หรือไม่
ส.1
สงเสร�มการนําเทคโนโลยีมาใช ในการกํากับและสงเสร�มธุรกิจประกันภัย
ส.7 สุขภาพ
แนวคิด
ส.6 สงเสร�มโครงสรางพื้นฐาน ดานกฎหมาย
ส.5
7 ส.
สงเสร�มการพัฒนาผลิตภัณฑ ประกันภัยแบบใหมๆ
ส.2
สงเสร�มการลงทุนและขยายธุรกิจ ในตางประเทศ
ส.3 สงเสร�มใหอุตสาหกรรม ประกันภัยมีเสถียรภาพ ไดรับความเช�่อมั่นจากประชาชน
ส.4 สงเสร�มและเตร�ยมความพรอมใหธุรกิจ ประกันภัยพรอมรับกติกาสากล
ส. 1 คือ ส่งเสริมการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในการก�ำกับและส่งเสริมธุ รกิจประกันภัย
• ขยายขอบเขต Insurance Regulatory Sandbox ปีน้ีส�ำนักงาน คปภ.จะปรับปรุ งประกาศ คปภ. เรื่ อ ง
แนวปฏิ บัติการเข้าร่วมใน Regulatory Sandbox จากเดิ มที่ ก�ำหนดให้ Startup หรือ Techfirm ต้ องเป็น Partner กับบริษัทประกันภัยหรือนายหน้าประกันภัย ปรับ เป็นเปิดโอกาส ให้ Startup หรือ Techfirm ท�ำงานร่วมกับส�ำนักงาน คปภ. เพื่อเป็นการเพิ่มจ� ำนวนผู้เล่ นให้มากขึ้น นอกจากนี้ จะสนับสนุนให้บริษัทประกั นภั ยมี Sandbox ของตนเอง หรือเรียกว่า Own Sandbox โดยให้ค�ำนึงถึงการคุ้มครองผู้บริโภค และการบริหารจัดการความเสี่ยงเป็นส�ำคัญ
• การพั ฒ นาระบบฐานข้ อ มู ล กลางด้ า นการประกั น ภั ย หรื อ Insurance Bureau System : IBS เพื่ อ เป็ น
ศูนย์กลางข้อมูลด้านการประกันภัย ซึ่งปีท่ีผ่านมา ธุรกิจประกันวินาศภัย ได้มีการรายงานข้อมูลเข้าสู่ระบบฐานข้อมูล ประกันวินาศภัยแล้ว และขณะนี้ก�ำลังหารือเกี่ยวกับชุดข้อมูลที่ภาคธุรกิจต้องการน�ำไปใช้ ส�ำหรับธุรกิจประกันชีวิต อยู่ระหว่างการเลือกเทคโนโลยีท่ีจะใช้ในการเชื่อมข้อมูลเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลการประกันชีวิต โดยจะใช้ Blockchain เป็ น เทคโนโลยีในการเชื่อมข้อมูลดังกล่าว รวมถึงเพื่อให้การขับเคลื่อน IBS เห็นผลชัดเจน ส�ำนักงาน คปภ. ได้มีทบทวน และปรับปรุ งคณะกรรมการขับเคลื่อนการบริหารจัดการฐานข้อมูลกลางด้านการประกันภัยชุดใหม่ จากเดิมมี 2 คณะ คือ ด้านการประกันชีวิตและด้านการประกันวินาศภัยรวมเป็นคณะเดียว โดยเลขาธิการ คปภ. เป็นประธาน และในปีน้ี ส� ำ นั ก งาน คปภ. ได้ มี ก ารปรั บ โครงสร้ า งของกลุ่ ม งานเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อสารให้ มี ก ลุ่ ม งานเฉพาะ
• พัฒนา Application “Me Claim” จากการจัดตั้งศูนย์ CIT ท�ำให้ส�ำนักงาน คปภ. มีโอกาสพบกับ InsurTech
Startup จึงได้รว ่ มกันพัฒนา Application “Me Claim” ส�ำหรับ การแจ้งเคลมประกันรถยนต์ ซึ่งเป็น Application กลาง ให้ ป ระชาชนสามารถแจ้ ง ทั้ ง บริ ษั ท ประกั น ภั ย และเจ้ า หน้ า ที่ ต� ำ รวจเมื่ อเกิ ด เหตุ ร ถชนได้ ใ น Application เดี ย ว
โดยเป็นการน�ำ InsurTech เข้ามาช่วยลดปัญหาจราจรบนท้องถนน และยังสอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐที่ต้องการ
ให้มีมาตรการช่วยแก้ปัญหาการจราจรในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมทั้งยังเป็นการเพิ่มความสะดวกสบาย
ให้กับประชาชนผู้เอาประกันภัย เรียกได้ว่า “คลิ๊กเดียว-ฉับไว-อุ่นใจ-ประกันมา” ซึ่งจะน�ำไปต่อยอดการพัฒนาระบบ E-Claim Gateway เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจั ดการค่ าสินไหมทดแทน ลดต้ นทุนให้กับภาคธุ รกิ จประกั นภั ย และ
อ�ำนวยความสะดวกให้กับประชาชนและบริษัทประกันภัย และเมื่อเร็วๆ นี้ ก็มีคณะทูตจากสถานทูตอิสราเอลเข้ามา พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นถึงการจัดงาน Cybersecurity and FinTech Deregulation เพื่อให้เกิด Joint Product ระหว่างประเทศไทยและประเทศอิสราเอล ซึ่งก�ำหนดจัดขึ้นในเดือนพฤษภาคมนี้
• ศูนย์ Center of InsurTech, Thailand (CIT) จะส่งเสริมให้มก ี ารพัฒนานวัตกรรมด้านเทคโนโลยีประกันภัยใหม่ๆ
ผ่านการจั ดประกวด RegTech Hackathon, OIC InsurTech Awards และการจั ดกิ จกรรม CIT Meet and Match ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นให้กลุ่ม Startup ได้เข้ามาน�ำเสนอผลงานด้านการประกันภัยกับบริษัทประกันภัย รวมทั้งมีการ
พัฒนาเครื่องมือที่ สนับสนุนการด�ำเนินงานของส�ำนักงาน คปภ. ภาคธุ รกิ จประกั นภั ยและให้บริการประชาชน อาทิ
จัดท�ำ Application ส�ำหรับตรวจสอบจ�ำนวนเงินเอาประกันภัยอาคารและเครื่องจักร / Application ส�ำหรับการรับเรื่อง ร้องเรียนทาง Mobile เป็นต้น
• พั ฒ นาระบบสารสนเทศสนั บ สนุ น งานด้ า นคุ้ ม ครองสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ด้ า นการประกั น ภั ย (Insured Right
Protection Management System) ประกอบด้ ว ย 3 ระบบ คื อ 1) ระบบสนั บ สนุ น งานรั บ เรื่ องร้ อ งเรี ย นด้ า น การประกั น ภั ย 2) ระบบการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทด้านการประกันภัย และ 3) ระบบอนุญาโตตุลาการ ซึ่งในปีน้ีจะเริ่ม
พัฒนาระบบรับเรื่องร้องเรียนด้านการประกันภัย เพื่อวิเคราะห์เรื่องร้องเรียนด้านการประกันภัยและสามารถน�ำข้อมูล ที่ได้มาประยุกต์ใช้ในการก�ำกับดูแลกระบวนการคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของประชาชนอย่างเป็นระบบ
ส. 2 คือ ส่งเสริมการลงทุนและขยายธุ รกิจในต่างประเทศ
• ปรั บปรุ งประกาศลงทุ น จากการที่ ภู มิ ภ าคเอเชี ย มี อั ตราการเติ บโตทางเศรษฐกิ จ ที่ รวดเร็ ว ถื อได้ ว่ า เป็ น
แรงขั บ เคลื่อนหลักของเศรษฐกิจโลก เป็นโอกาสส�ำหรับธุรกิจประกันภัยไทยในการขยายการลงทุนในภูมิภาคนี้ ในปีน้ี ส� ำ นั ก งาน คปภ. จะปรั บ ปรุ ง ประกาศว่ า ด้ ว ยการลงทุ น ฯ เพื่ อเปิ ด โอกาสให้ บ ริ ษั ท ของไทยสามารถขยายธุ ร กิ จ ไปในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งจะก่อให้เกิดผลดี ทั้งในด้านผลตอบแทนจากการลงทุน และเป็นการน�ำประสบการณ์ของธุรกิจ ประกันภัยไทยไปพัฒนาต่อยอดธุรกิจประกันภัยในต่างประเทศอีกทางหนึ่ง
13
14
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
• ASEAN Micro Insurance Product อย่ า งที่ ท ราบกั น ว่ า ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 มกราคม – 31 ธั น วาคม 2562
CEO Insurance Forum 2019
• F l o o d M o d e l ส ร้ า ง แ บ บ จ� ำ ล อ ง ก า ร
ประเทศไทยได้รับมอบให้เป็นประธานอาเซียน ซึ่งถือเป็นโอกาสที่ดีท่ีส�ำนักงาน คปภ. ได้เสนอแผนงาน ASEAN Micro
ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม เ สี่ ย ง ท า ง ด้ า น ม หั น ต ภั ย ต่ อ ธุ ร กิ จ
Insurance Product ซึ่งเป็นการพัฒนาผลิ ตภั ณฑ์ ประกั นภั ยมาตรฐานส�ำหรับประชาชนในภูมิภาคอาเซียนภายใต้
ประกันวินาศภัยในประเทศไทย (Flood Model) เพื่อน�ำไป
เงื่อนไขและเบีย ้ ประกันภัยเดียวกัน โดยอาจจะเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนได้ท่ีไหนก็ได้ในภูมภ ิ าคอาเซียน รวมทั้งพัฒนา
จั ด ท� ำ รายงานการวิ จั ย ถึ ง แนวโน้ ม ของมหั น ตภั ย ที่ จ ะ
จากกรมธรรม์ประกันอุบัติเหตุรายย่อย ซึ่งประเทศไทยได้มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง และเห็นผลชัดเจนในเรื่องของ
และส�ำนักงาน คปภ. รวมทั้งให้ส�ำนักงาน คปภ. มีข้อมูล
ช่องทาง การขายที่ประชาชนเข้าถึงสะดวกและทั่วถึง เช่น Mobile Application และช่องทางออนไลน์ เป็นต้น โดยเริม ่ ต้น
ส่ ง ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมประกันภัย ผูเ้ อาประกันภั ย
การส่งเสริมความรู้และการเข้าถึงระบบประกันภัย ซึ่งโครงการนี้จะส�ำเร็จได้ ก็ต้องอาศัยความร่วมมือของทั้งภาครัฐ
ความเสี่ ย งทางด้ า นมหั น ตภั ย ที่ ผู้ บ ริ ห ารสามารถใช้
และภาคธุรกิจประกันภัยในการขับเคลื่อนให้เกิดขึ้นต่อไป
ประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายในการก�ำกับดูแลธุรกิจ ประกันวินาศภัยของประเทศไทยให้มค ี วามเหมาะสม
• Reinsurance Hub ประเทศไทยถื อ ได้ ว่ า ตั้ ง อยู่ ใ น Strategic Location และ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ใ กล้ ชิ ด
กั บประเทศกลุ่ม CLMV ปัจจั ยเหล่ านี้ เอื้ อให้เราสามารถเป็น Reinsurance Hub ทั้ ง Inbound และ Outbound ได้
ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธก ี าร และเงื่อนไขการขอรับและออกใบอนุญาตประกอบธุรกิจประกันวินาศภัย ส�ำหรับการประกันภัยต่อ
รับมือ” ด้วยการน�ำระบบเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการตรวจสอบ และเข้าตรวจสอบบริษัทประกันภัยตาม IT Audit - Risk
ซึ่งส�ำนักงานเริ่มด�ำเนินการและมีความคืบหน้าเป็นล�ำดับ โดยคณะกรรมการ คปภ. ได้ให้ความเห็นชอบร่างกฎกระทรวง โดยตั้งเป็นสาขาของบริษัทประกันภัยต่างประเทศ เพื่อเพิ่มจ�ำนวนและดึงดูดผู้รับประกันภัยต่อต่างประเทศ ให้เข้ามา จัดตั้งในประเทศไทย และในปีน้น ี า่ จะเห็นการด�ำเนินงานที่เป็นรูปธรรมชัดเจนขึ้น
ส. 3 คือ ส่งเสริมให้อต ุ สาหกรรมประกันภัยมีเสถียรภาพ ได้รบ ั ความเชื่อมั่นจากประชาชน
• พัฒนาระบบการขอรับความเห็นชอบกรมธรรม์ประกันภัยผ่านอิเล็กทรอนิกส์ (I-SERFF) ให้เป็นไปตาม
พ.ร.บ. ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในระดับเคร่งครัด ซึ่งโครงการนี้ ส�ำนักงาน คปภ. ได้เริ่มด�ำเนินการตั้งแต่ปี 2560 โดยเริ่ม
จากการประกั น ชี วิ ต ต่ อ ด้ ว ยการประกั น วิ น าศภั ย โดยในปั จ จุ บั น บริ ษั ท ประกั น วิ น าศภั ย ยื่ นขอรั บ ความเห็ น ชอบ กรมธรรม์แบบเดิมคู่ขนานกับระบบ I-SERFF แต่ในส่วนของบริษัทประกันชีวิต ส�ำนักงาน คปภ. อยู่ระหว่างการหารือ
กั บ บริ ษั ท ผู้ พั ฒ นาระบบ เพื่ อขอทราบความต้ อ งการ ปั ญ หาและอุ ป สรรค และหาทางแก้ ไ ขปั ญ หาให้ ต รงจุ ด ซึ่ ง ส�ำนักงาน คปภ. จะผลักดันให้ระบบแล้วเสร็จในปีน้ี
• ปรับปรุ งกระบวนการให้ความเห็นชอบกรมธรรม์ประกั นภั ยให้รวดเร็วยิ่งขึ้น โดยเพิ่มประเภทผลิ ตภั ณฑ์
เป็นแบบ File & Use ให้มากขึ้น ส่งเสริมให้นักคณิตศาสตร์ประกันภัยมีบทบาทส�ำคัญ ในการรับรองการค�ำนวณอัตรา เบี้ยประกันภัย นอกจากนี้ ยังได้ก�ำหนดให้บริษัทมีการตั้งคณะกรรมการผลิตภัณฑ์ประกันภัย (Product Committee) เพื่ อพิ จ ารณาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ระกั น ภั ย ให้ เ ป็ น ไปตามแนวทางและนโยบายของบริ ษั ท ลดข้ อ ผิ ด พลาดในการออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ของบริษัท และเพิ่มกระบวนการกลั่นกรองจากบริษัทประกันภัย รวมถึงได้ปรับปรุ งกรมธรรม์ประกันภัยเดิม
ที่มีอยูใ่ ห้เป็นแบบมาตรฐาน อาทิ กรมธรรม์ประกันอัคคีภัยส�ำหรับที่อยูอ ่ าศัย กรมธรรม์ประกันภัยอุบัติเหตุส�ำหรับธุรกิจ น�ำเที่ยวและมัคคุเทศก์ กรมธรรม์ประกันภัยผู้เล่นกอล์ฟ เป็นต้น
• โครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) ส�ำนักงาน คปภ. จะศึกษา โอกาส ผลกระทบทั้งทางตรงและ
ทางอ้อมทีจ ่ ะเกิดขึน ้ รวมถึงข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย และการเพิม ่ ประสิทธิภาพความสามารถในการท�ำก�ำไรและสร้างรายได้ เพื่อพัฒนาศักยภาพของอุตสาหกรรมประกันภัยไทยจากโครงการ EEC ซึ่งผลการศึกษาจะมีเผยแพร่ให้ทราบต่อไป
• เข้าตรวจสอบแบบ Proactive ตรวจแบบให้
ค� ำแนะน�ำตามแนวทาง “ติ ดตาม เท่ าทั น ป้องกั นและ Based Supervision Framework พร้อมให้ค�ำแนะน�ำในการบริหารความเสีย ่ งด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้กับภาคธุรกิจ นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารศึ ก ษาและพั ฒ นาฐานข้ อ มู ล ทางด้ า นสถิ ติ ป ระกั น ภั ย แม้ ว่ า ชื่ อ โครงการจะเป็ น เรื่ อ งฐานข้ อ มู ล แต่แท้จริงแล้วโครงการนีจ ้ ะตอบนโยบายในหลายด้าน ทั้งด้านการจัดการข้อมูลการวิเคราะห์ให้เป็น Automated Process
สามารถวิ เคราะห์ข้อมูลในเชิงลึ ก และสอดคล้ องกั บ landscape ของธุ รกิ จที่ เปลี่ ยนแปลงไป รวมถึ งการพยากรณ์
อัตราการเติบโตของธุรกิจประกันภัย เพื่อสนับสนุนการด�ำเนินงานของส�ำนักงาน คปภ. ภาคธุรกิจ และประชาชน
• ยกระดับมาตรฐานคนกลางประกันภัยให้มีความโปร่งใส และปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด โดยออก
แนวปฏิบต ั ก ิ ารก�ำกับตัวแทนนายหน้าประกันชีวต ิ ตามประกาศเสนอขายทีม ่ ผ ี ลบังคับใช้เมื่อต้นปีทผ ่ี า่ นมา ภายใต้กรอบเดิม ที่เคยเปิดรับฟังความคิดเห็นและท�ำความเข้าใจกับภาคธุรกิจ โดยมีหลักการ 5 ด้าน ประกอบด้วย ด้านที่ 1 แนวปฏิบัติ ในการให้บริการอย่างเป็นธรรม และมีคุณภาพของบริษัทและผู้เสนอขายประกันภัย ด้านที่ 2 แนวปฏิบัติในการคัดเลือก ผู้ เ สนอขาย และช่ อ งทางการเสนอขายกรมธรรม์ ป ระกั น ภั ย ด้ า นที่ 3 แนวปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ มาตรฐานการเสนอขาย กรมธรรม์ประกั นภัย ด้ านที่ 4 แนวปฏิ บัติของธนาคารในการให้บริการนอกสถานที่ และด้ านที่ 5 แนวปฏิบัติ ในการ ให้บ ริ ก ารภายหลั ง การขาย ซึ่ ง ต้ อ งขอความร่ ว มมื อ กั บ ทุ ก ท่ า นให้ ก� ำ กั บ ตั ว แทนนายหน้ า ประกั น ชี วิ ต ในสั ง กั ด ให้ มี การด�ำเนินการตามแนวปฏิบัติอย่างเคร่งครัด
• ส่ ง เสริ ม ให้ ธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย มี ค วามมั่ น คงและมี เสถียรภาพมากขึ้น (ส่งเสริมการควบรวม) เนื่องจากสภาพ
แวดล้อมการด�ำเนินธุรกิจเปลี่ยนแปลงไป รวมถึงการแข่งขันที่รุนแรงขึ้น การมีพันธมิตรที่ดีและการรวมกิจการ เป็นอีก ทางเลือกหนึง่ จะท�ำให้บริษท ั เพิม ั มีฐานะการเงินทีเ่ ข้ ม แข็ ง ่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน การรวมกิจการจะส่งผลให้บริษท
การขยายฐานลู ก ค้ า ที่ ใหญ่และหลากหลายขึ้น รวมถึ งเสริมสร้างศักยภาพด้านช่องทางการจ�ำหน่ายและการพัฒนา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ ๆ ที่ ท� ำ ให้ ส ามารถตอบสนองความต้ อ งการของผู้ บ ริ โ ภคได้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น นอกจากนั้ น ยั ง เป็ น การเพิ่ ม
ประสิทธิภาพ และลดต้นทุนในการด�ำเนินธุรกิจ ที่ผา่ นมา ส�ำนักงาน คปภ. ได้ด�ำเนินการลดอุปสรรค และมีนโยบายใน การส่ ง เสริ ม การรวมกิ จ การในธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย มาอย่ า งต่ อ เนื่ อง อาทิ การปรั บ ปรุ งกฎหมายแม่ บ ทและลด อุ ป สรรคทางด้านภาษีท่เี กี่ยวข้องกับการรวมกิจการ อย่างไรก็ตาม อีกประเด็นทีพ ่ บ คือ การรวมกิจการระหว่างบริษท ั ประกัน ภัยมีความซับซ้อน เกี่ยวข้องกับหลายส่วนงาน ดังนั้น ส�ำนักงาน คปภ. จะเพิ่มบทบาทการเป็นผู้สนับสนุนและส่งเสริม
15
16
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562 ให้ เกิดการรวมกิจการในธุรกิจประกันภัย ด้วยการจัดท�ำแนวปฏิบัติท่ีเกี่ยวข้องกับการรวมกิจการ เพื่อเป็นคู่มือในการ ด� ำเนินงาน และสร้างความชัดเจนให้กับภาคธุ รกิ จ รวมถึ งจั ดที มสร้างความเข้าใจและอ� ำนวยความสะดวก เพื่ อให้ การรวมกิจการเป็นไปได้รวดเร็ว เรียบร้อยและไม่เกิดข้อผิดพลาดใดๆ
ส. 4 คือ ส่งเสริมและเตรียมความพร้อมให้ธุรกิจประกันภัยพร้อมรับกติกาสากล
• การบังคับใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาประกันภัย (IFRS 17) ในปีน้ี ส�ำนักงาน
คปภ. จะมีการศึกษาและประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อธุรกิจประกันภัย จากการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิ น ฉบั บ ที่ 17 เรื่ อ งสั ญ ญาประกั น ภั ย ซึ่ ง จะมี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ใ นปี 2565 อาทิ Gap and Impact Analysis แบบงบการเงิน และรายงานทางการเงิน รวมถึงกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการรายงานทางการเงิน ขณะเดียวกันก็จะ ยกระดับความรู้ให้กับเจ้าหน้าที่ของส�ำนักงาน คปภ. และภาคธุรกิจประกันภัย ควบคู่กันไป เรียกได้ว่า เรียนรู้ร่วมกัน เพื่อการลงมือปฏิบัติท่ีมีมาตรฐานอย่างเท่าเทียม
• ข้อแนะน�ำจากการประเมิน FSAP ต้องมีการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายและระเบียบต่างๆ มีหลายระดับ ส่วนที่ 1
การแก้ไขกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ ซึ่งมีกระบวนการและต้องใช้ระยะเวลาในการด�ำเนินการ เช่น การแก้บทนิยาม ผู้มีอ�ำนาจในการควบคุมกิจการ และส่วนที่ 2 การแก้ไขระดับกฎกติกา สามารถด�ำเนินการได้ทันที เช่น ขยายกรอบ การก� ำกั บดูแลเรื่อง แนวปฏิ บัติทางธุ รกิ จ (Conduct of Business) ของบริษัทประกั นภั ยและคนกลางประกั นภั ย / ก�ำหนดให้บริษัทประกันภัยรายงานการฉ้อฉลหรือการกระท�ำใดซึ่งส่งผลกระทบร้ายแรงต่อบริษัทประกันภัยในทุกกรณี และควรจั ด ท� ำ ฐานข้ อ มู ล กลางด้ า นการฉ้ อ ฉล เพื่ อ รวบรวมข้ อ มู ล จากทั้ ง ภาคธุ ร กิ จ ซึ่ ง เป็ น ประโยชน์ ต่ อ การศึ ก ษา วิเคราะห์ และคาดการณ์แนวโน้มด้านการฉ้อฉลที่อาจเกิดขึ้นได้
ส. 5 คือ ส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัยแบบใหม่ๆ
• พัฒนาผลิตภัณฑ์ท่ีรองรับสังคมผู้สูงอายุ โดยส�ำนักงาน คปภ. จะหารือร่วมกับภาคธุรกิจประกันภัยสนับสนุน
และผลักดันผลิตภัณฑ์ประกันภัยที่รองรับสังคมผู้สูงอายุใหม่ๆ อาทิ ผลิตภัณฑ์ประกันภัยแบบบ�ำนาญ แบบเงินรายงวด ตลอดชีพ และแบบประกันภัยการดูแลระยะยาว (Long Term Care Insurance) กรมธรรม์ประกันสุขภาพที่ขยายอายุ การรับประกันสุขภาพ รวมทั้งประสานความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ และสถาบันการศึกษาในการส่งเสริมความรู้
กั บ ประชาชนให้ ต ระหนั ก และสนใจที่ จ ะเลื อ กซื้ อผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ระกั น ภั ย ไว้ เ ป็ น เครื่ องมื อ ในการบริ ห ารความเสี่ ย ง เพื่อรองรับวัยเกษียณอายุ
• พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ พื ช ผลทางการเกษตรให้ ค รอบคลุ ม พื ช ผลหลากหลายประเภทมากขึ้น รวมถึ ง มี ก ารน� ำ
parametric มาใช้ในการพัฒนารูปแบบกรมธรรม์ต่อไป เช่น กรมธรรม์ประกันภัยล�ำไย
• จัดท�ำการประกันภัยประมง ซึ่งจะให้ความคุ้มครองตัวเรือทั้งกรณีเรือเสียหาย กรณี เรือจมและกู้ข้ึนมา กรณี
เรือสูญหาย/เสียหายหมด และชดเชยเจ้าของเรือหรือลูกเรือประมงกรณีเสียชีวิตหรือบาดเจ็บ
• พัฒนากรมธรรม์ประกันภัยรายย่อย เช่น การประกันภัยเคหะไมโคร ซึ่งให้ความคุ้มครองไฟไหม้ ฟ้าผ่า ระเบิด
ภั ยธรรมชาติ ได้ แก่ น้�ำท่วม แผ่นดิ นไหว ลูกเห็บ ลมพายุ ซึ่งอาจจะมีการขยายความคุ้มครองเพิ่มเติ มในกรณีท่ี เกิ ด
ภัยธรรมชาติแล้วอยูอ ่ าศัยไม่ได้ ในเบื้องต้น จะเริ่มท�ำร่วมกับการเคหะแห่งชาติ
CEO Insurance Forum 2019 ส. 6 คือ ส่งเสริมโครงสร้างพื้นฐาน ด้านกฎหมาย
ปี น้ี เ ป็ น ปี ท่ี ส� ำ นั ก งาน คปภ. จะต้ อ ง
ท�ำงานด้านกฎหมายเพิ่มมากขึ้น ตามที่ทุกท่าน
ทราบดี ว่ า ส� ำ นั ก งาน คปภ. ได้ ด� ำ เนิ น การ ปรับปรุ งกฎหมายแม่บทว่ าด้ วยการประกั นภั ย โดยแบ่งการแก้ไขเป็น ๓ กลุ่ม ขอเรียนว่า ขณะ นี้ ก ฎหมายในกลุ่ ม ที่ 1 ซึ่ ง มุ่ ง เน้ น เกี่ ย วกั บ การ คุ้ ม ครองประชาชน โดยก� ำ หนดบทบั ญ ญั ติ เกีย ่ วกับการก�ำกับดูแลตัวแทน นายหน้าประกันภัย ผู้ ประเมินวินาศภัย และปรับบทลงโทษตัวแทน และนายหน้าประกันภัย ให้เป็นล�ำดับขั้นเริม ่ จาก
เบาไปหาหนัก และเพิ่มบทลงโทษกรณีการฉ้อฉลประกันภัย กฎหมายกลุ่มที่ 1 ได้ผา่ นความเห็นชอบของสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติแล้วเมื่อวั นที่ 14 กุมภาพันธ์ ที่ ผ่านมา และจะมีผลใช้บังคั บภายใน 180 วั น นับถั ดจากวั นประกาศในราชกิ จ จานุเบกษา ในระหว่างนี้ ส�ำนักงาน คปภ. จะเร่งหารือร่วมกับภาคธุรกิจและผู้ท่ีเกี่ยวข้องเพื่อออกกฎหมายอนุบัญญัติ ต่างๆ จ�ำนวน 11 ฉบับ (ประกันชีวิต 5 ฉบับ และประกันวินาศภัย 6 ฉบับ) เพื่อรองรับการก�ำกับดูแลตัวแทน นายหน้า ประกันภัย ซึง่ มีขอ ้ ดี คือ สามารถช่วยให้บริษท ั ประกันภัยก�ำกับดูแลคนกลางประกันภัยให้มป ี ระสิทธิภาพมากขึน ้ แต่ในขณะ เดียวกันมาตรการลงโทษจากเบาไปหาหนั ก จะท� ำ ให้ ตั ว แทน นายหน้ า ประกั น ภั ย ได้ รั บ บทลงโทษที่ เ ป็ น ธรรมและ เหมาะสมกั บ การกระท� ำ ความผิ ด ที่ เ กิ ด ขึ้ น เมื่ อตั ว แทน นายหน้ า ประกั น ภั ย ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ประชาชนย่อมเกิดความเชื่อมั่นในธุรกิจประกันภัยมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลดีต่อธุรกิจในระยะยาว
ส�ำหรับร่างกฎหมายฉบับอื่นๆ ที่อยูใ่ นกระบวนการการออกกฎหมาย ได้แก่ ร่างกฎหมายแม่บท กลุ่มที่ 2 ซึ่งเป็น
บทบัญญัติเกี่ยวกับการเสริมสร้างเสถียรภาพและความมั่นคงของบริษัทประกันภัย ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล และ
อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา และร่างกฎหมายแม่บทกลุ่มที่ 3 กลุ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับ การส่งเสริมการควบโอนกิจการและความรับผิดของกรรมการและผู้มีอ�ำนาจในการจัดการในกรณีแสวงหาประโยชน์ อันมิชอบ หรือปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ อยู่ระหว่างการพิจารณาของกระทรวงการคลัง เพื่อน�ำเสนอคณะรัฐมนตรีอนุมัติ ในหลักการต่อไป และร่างพระราชบัญญัติประกันภัยทางทะเล ซึง่ อยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของส�ำนักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา ส�ำนักงาน คปภ. จะเร่งผลักดันให้กฎหมายดังกล่าว ให้ผา่ นกระบวนการในชั้นของฝ่ายนิติบัญญัติ
นอกจากนี้ ส�ำนักงาน คปภ. ได้มีการพัฒนากฎหมาย เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้ระบบประกันภัยในการบริหาร
ความเสี่ยง ได้แก่ การศึกษาแนวทางหรือมาตรการพัฒนากฎหมายส�ำหรับ การประกันภัยทางการเกษตร ปศุสัตว์ และ ประมง รวมถึ ง จั ด ท� ำ รู ป แบบการประกั น ภั ย ผลิ ต ภั ณ ฑ์ มาตรวั ด หรื อ การประเมิ น ความเสี ย หาย การประกั น ภั ย การเกษตรที่เหมาะสมของประเทศไทย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารความเสี่ยงทางการเกษตร ปศุสัตว์ และประมง
ด้ ว ยการประกั น ภั ย ต่ อ ไป ตลอดจนศึ ก ษาแนวทางการจั ด ท� ำ กฎหมายเกี่ ย วกั บ การประกั น สุ ข ภาพ เพื่ อยกระดั บ การประกันสุขภาพให้มป ี ระสิทธิภาพและมีมาตรฐานเดียวกัน รวมทั้งให้ประเทศไทยมีกฎหมายเกีย ่ วกับการประกันสุขภาพ ที่มีความเหมาะสมกับบริบทของประเทศโดยเฉพาะ
17
18
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
ส�ำนักงาน คปภ. ไม่ได้ มุ่งเน้นแต่ พัฒนากฎหมายใหม่ หรือแก้ ไขกฎหมายที่ มีอยู่เท่ านั้น แต่ ส�ำนักงาน คปภ.
CEO Insurance Forum 2019
ดังนั้น ส�ำนักงาน คปภ. จึงได้ แต่งตั้งคณะท�ำงานพัฒนาและปรับปรุงสัญญาประกันสุขภาพขึ้น ซึ่งมีเลขาธิการ
จะเน้นและให้ความส�ำคัญกับเรื่องของ Regulatory Guillotine ทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายประกันภัยที่ใช้
คปภ. เป็ น ที่ ป รึ ก ษา มี ร องเลขาธิ ก าร ด้ า นก� ำ กั บ เป็ น ประธาน และมี อ งค์ ป ระกอบคณะท� ำ งานที่ ป ระกอบด้ ว ย
ในการก�ำกับดูแล ไม่ว่าจะเป็นประกาศ คปภ. ประกาศส�ำนักงาน ค� ำสั่งนายทะเบียนต่างๆ ซึ่งมีอยู่ท้ั งหมด 361 ฉบับ
แพทย์ ผู้ เชี่ยวชาญด้ านสุขภาพ ผู้แทนจากสมาคมประกั นชีวิตไทย สมาคมประกั นวิ นาศภั ยไทย กระทรวงพาณิชย์
โดยจะมีโครงการศึกษา Regulatory Impact Assessment การวิเคราะห์ตน ้ ทุน อุปสรรค และประสิทธิภาพของกฎระเบียบ
กระทรวงสาธารณสุข และส�ำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผูบ ้ ริโภค (สคบ.) เพื่อให้สญ ั ญาประกันภัยสุขภาพภาคเอกชน
ในปัจจุ บัน เพื่อใช้ในการปรับแนวคิ ดในการก� ำกั บดูแลและเปลี่ ยนกระบวนการท� ำงานให้ สอดรับกั บสภาพแวดล้ อม
สามารถช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพของประชาชนได้อย่างยั่งยืน สอดคล้องกับวิวัฒนาการทางการแพทย์
ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป ซึ่ ง ส� ำ นั ก งานหวั ง ว่ า จะช่ ว ยให้ เ กิ ด การลดต้ น ทุ น ของภาคธุ ร กิ จ ในการปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย และ
ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป ทั น ต่ อ สภาวการณ์ ใ นปั จ จุ บั น และรองรั บ แผนปฏิ รู ป ระบบสาธารณสุ ข ของประเทศไทย รวมถึ ง
มี ก ฎระเบียบที่มีจ�ำนวนพอเหมาะ เพื่อใช้ในการก�ำกับดูแลให้เกิดประสิทธิภาพและบรรลุประสิทธิผลสูงสุด
นโยบายต่างๆ ของภาครัฐในเรื่องระบบการประกันสุขภาพ ซึ่งคณะท�ำงานดังกล่าวได้วางกรอบแนวทางการปรับปรุง
แผนพัฒนาการประกันภัย ฉบับที่ 4
สัญญาประกันสุขภาพออกเป็น 5 มิติ ประกอบด้วย มิติท่ี 1 ปรับปรุ งสัญญาประกันสุขภาพให้สอดคล้องกับ
ขณะนีก ้ ารด�ำเนินงานของส�ำนักงาน คปภ. อยูภ ่ ายใต้แผนพัฒนาการประกันภัย ฉบับที่ 3 ซึง่ จะสิน ้ สุดในปี 2563
วิวัฒนาการทางการแพทย์ มีรายการความคุ้มครองที่ปรับเปลี่ยนตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข มิติท่ี 2 พัฒนา
InsurTech นโยบายประเทศไทย 4.0 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ดังนั้น ในปีน้ี ส�ำนักงาน คปภ จึงได้ก�ำหนดให้มีการศึกษา
ผลิตภัณฑ์ประกันสุขภาพแก่ประชาชน มิติท่ี 3 ก�ำหนดให้ภาคธุรกิจมีรูปแบบการเก็บข้อมูลสถิติท่ีสอดคล้องกับรายการ
เพื่อให้ได้ขอ ้ มูลเบื้องต้นในการจัดท�ำแผนพัฒนาการประกันภัย ฉบับที่ 4 โดยจะมีการจ้างที่ปรึกษาเป็นผู้ด�ำเนินการ รวมถึง
และเป็นธรรม แก่ประชาชน มิติท่ี 4 จัดท�ำคู่มือแนวปฏิบัติเกี่ยวกับสัญญาประกันสุขภาพที่ปรับปรุงใหม่ เพื่อลดปัญหา
ในช่วงที่มก ี ารจัดท�ำแผนพัฒนาการประกันภัย ฉบับที่ 3 นั้นยังไม่มก ี ารเข้ามาของเทคโนโลยี ไม่มค ี �ำว่า Fintech
ปรับปรุงอัตราเบี้ยประกันภัยให้มีความยืดหยุ่น สะท้อนตามต้นทุนของประเภทความคุ้มครอง พร้อมเปิดเผยข้อมูลของ
สภาพแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินงานของส�ำนักงาน คปภ. และธุรกิจประกันภัยไทยในระยะ 10 ปีข้างหน้า
ความคุ้มครองที่ปรับปรุ งใหม่ เพื่อให้ภาคธุรกิจประกันภัยมีสถิติในการค�ำนวณอัตราเบี้ยประกันสุขภาพอย่างเหมาะสม
มี ก ารตั้ ง คณะท� ำ งานเพื่ อ จั ด ท� ำ แผนพั ฒ นาการประกั น ภั ย ฉบั บ ที่ 4 ขึ้ น โดยคณะท� ำ งาน ประกอบด้ ว ย ผู้ แ ทนจาก
เรื่องร้องเรียนและการชดใช้ค่าสินไหมที่ เกิ ดจากการรับประกั นสุขภาพ และมิติท่ี 5 ศึกษาแนวทางการจัดท�ำกฎหมาย
ประเทศไทย ส� ำ นั ก งาน ก.ล.ต. และสถาบั น การศึ ก ษา เพื่ อพิ จ ารณากลั่ น กรองก่ อ นเสนอคณะอนุ ก รรมการขั บ
ส� ำ นั ก งาน คปภ. สมาคมประกั น ชี วิ ต ไทย สมาคมประกั น วิ น าศภั ย ไทย ส� ำ นั ก งานเศรษฐกิ จ การคลั ง ธนาคารแห่ ง
เคลื่อนแผนพัฒนาการประกันภัย คณะกรรมการ คปภ. ตามล�ำดับ โดยในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4 มีเนื้อหา อาทิ แนวทาง ในการพัฒนาธุรกิจประกันภัยทีต ่ อบโจทย์ปจ ั จัยสภาพแวดล้อมต่างๆ ไม่วา่ จะเป็น Technology Disruption ยุทธศาสตร์ชาติ แนวทางในการส่งเสริมการพัฒนาศั ก ยภาพและขี ด ความสามารถของธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย ไทยให้ สามารถแข่งขันได้ ใน ระดั บสากล รวมถึ งอาจมีการศึกษาแนวทางการจั ดตั้งกองทุนการประกั นภั ยพิบัติ ทั้ งนี้ แผนพัฒนาธุ รกิ จประกั นภั ย
ฉบั บ ที่ 4 แตกต่ า งจาก แผนพัฒนาการประกันภัย ฉบับที่ 3 ภายใต้บริบททีเ่ ปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยี
ส. 7 คือ สุขภาพ
เรื่องสุดท้ายในวันนีท ้ ส ่ี ำ� นักงาน คปภ. ต้องการจะผลักดันเป็นอย่างมาก คือ “การยกระดับประกันสุขภาพสู่อนาคต
ที่ย่งั ยืน” ซึ่งได้ก�ำหนดขึ้นเป็นหัวข้อธีมงานของการประชุม ในวันนี้ ถือว่าเป็นนโยบายระดับชาติ ที่ต้องเร่งด�ำเนินการ
เนื่องจากปัจจุบันโครงสร้างประชากรของประเทศไทยมีสัดส่วนโครงสร้างผู้สูงอายุมากขึ้น ท�ำให้คนไทยมีอายุ
เฉลี่ยเพิ่มขึ้นเป็น 71 ปี โดยมีชว ่ งระยะเวลาท�ำงานที่สามารถสร้างรายได้ และเก็บออมเงินในช่วงอายุระหว่าง 20 – 60 ปี เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายภายหลังการเกษี ยณอายุ และในอนาคต หากคนไทยมีอายุเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยมีสาเหตุมาจาก
คนไทยใส่ใจ และรักษาสุขภาพของตนเองมากขึ้ น ประกอบกั บความก้ าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุขที่ ดีขึ้ น ท�ำให้ชวี ต ิ หลังการท�ำงานมีระยะเวลาเพิม ี ารวางแผนเก็บออมเงินอย่างเพียงพอ ้ หากประชาชนไม่มก ่ มากถึง 10 – 20 ปี ดังนัน
ต่ อ ค่ า ครองชี พ และค่ า รั ก ษาพยาบาลที่ นั บ วั น จะสู ง ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อง ท� ำ ให้ ห น่ ว ยงานภาครั ฐ รวมทั้ ง กระทรวง
สาธารณสุ ข ตระหนั ก และเตรี ย มแผนการรองรั บ ภาระค่ า ใช้ จ่ า ยในการรั ก ษาพยาบาลที่ จ ะเพิ่ม สู ง ขึ้ น ซึ่ ง ผมเห็ น ว่ า ธุรกิจประกันภัยสามารถเข้าไปบริหารความเสี่ยง และแบ่งเบาภาระของภาครัฐได้
เกีย ่ วกับการประกันสุขภาพ ซึง่ ผมได้กล่าวไปแล้วข้างต้น แต่อย่างไรก็ตาม การประกันสุขภาพมีแนวโน้มขยายตั วเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้เกิ ดความเสี่ยงเกี่ ยวกั บการฉ้อฉล
ประกั นภั ยรวมถึ งต้ นทุนค่าเบี้ยประกั นภั ยเพิ่มขึ้นเกิ นความเป็นจริง จึงเป็นอีกประเด็นหนึ่งที่ส�ำนักงาน คปภ. ต้องการ
จะหารื อ ร่ ว มกั บ ภาคธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย เกี่ ย วกั บ พฤติ ก รรมที่ มี ลั ก ษณะเป็ น การฉ้ อ ฉล เพื่ อก� ำ หนดแนวทางในการ ป้องปรามไม่ให้เกิ ดการกระท� ำที่ เป็นการฉ้อฉล รวมถึ งแนวทางในการด� ำเนินการ หากมีการกระท� ำที่ เป็นการฉ้อฉล ในการประกันสุขภาพเกิดขึน ี ารหารือต่อไปในช่วงการประชุมกลุม ่ ย่อยถัดจากนี้ ้ ซึง่ จะได้มก
จากที่กล่าวมาข้างต้น คงได้เห็นทิศทางและนโยบายในการส่งเสริมอุตสาหกรรมประกันภัย ในปี 2562 ผ่าน 7 ส.
ซึ่ ง ทุ ก ท่ า นคงเห็ น ภาพที่ ชั ด เจนมากขึ้ น เหนื อ สิ่ ง อื่ นใดการที่ ส� ำ นั ก งาน คปภ. จะเดิ น หน้ า ไปสู่ น โยบายที่ ก� ำ หนดไว้
โดยล�ำพังนั้น นับว่าเป็นงานที่ ท้าทายและมิใช่เรื่องง่าย ส�ำนักงาน คปภ. จึ งคาดหวั งว่าจะได้ เห็นภาพการมีส่วนร่วม จากทุ ก ภาคส่ ว นในการผลั ก ดั น และขั บ เคลื่ อนนโยบายส� ำ คั ญ ต่ า งๆ ที่ จ ะเป็ น ประโยชน์ ต่ อ ประชาชน และน� ำ ไปสู่ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศที่ย่ังยืนต่อไป
สุดท้ายนี้หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ส�ำนักงาน คปภ. และภาคอุตสาหกรรมประกันภัย จะก้าวข้ามความท้าทายและ
อุปสรรคต่างๆ สู่เศรษฐกิจยุคดิจิทัลอย่างมั่นคง ยั่งยืน และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศชาติและประชาชน
ขอให้ทุกท่านที่ได้มาร่วมรับทราบทิศทางและนโยบาย การด�ำเนินงานในวันนี้ จงร่วมมือกันท�ำให้ปีน้ี เป็น “ปีหมูทอง ของธุรกิจประกันภัย” เพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมประกันภัยไทยให้มีเสถียรภาพ สอดคล้องกับบริบททางเศรษฐกิจและ
สังคมที่ เปลี่ ยนไป หากเราทุกภาคส่วนมีการบู รณาการท� ำงานร่วมกั นแล้ ว ก็ จะสามารถเดิ นหน้าไปด้ วยความมุ่งมั่น
และแสดงศักยภาพของอุตสาหกรรมประกันภัยให้เป็นที่ประจักษ์ต่อไป
19
20
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
21
CEO Insurance Forum 2019 ภาพรวมตลาดประกันภัยของเขตบริหารพิเศษฮ่องกง
ในปี 2561 เบี้ยประกันภัยรวมของอุตสาหกรรมประกันภัยฮ่องกงขยายตัวสูงถึง 5 แสนล้านดอลลาร์ฮ่องกง
โดยมีผลการด�ำเนินงาน 10 ปี ย้อนหลัง ดังนี้
Long term Business - In-force premium Premiums (HKD billion)
600.0
Hong Kong Long Term Business - In Force Premium* (2009 - 2018) Include Mainland China Visitors : CAGR = 11.2% (7.9% in real rerm) Exclude Mainland China Visitors : CAGR = 7.2% (4.0% in real rerm)
Annual Nominal Growth Rate
30.0%
500.0
25.0%
400.0
20.0%
300.0
15.0
200.0
10.0%
100.0
5.0%
0.0
2009
2010
2011
2012
2013
2014
2015
2016
2017
0.0%
2018
-5.0% -10.0%
Include Mainland China Visitors
Exclude Mainland China Visitors
Annual nominal Growth rate (RHS) (Include Mainland China Visitors)
Annual real Growth rate (RHS) (Exclude Mainland China Visitors) *Based on provisional figures
Long term Business - New business
แนวทางการกำ�กับดูแลธุรกิจประกันภัย ของเขตบริหารพิเศษฮ่องกง โดย Mr. Tony Chan Associate Director Policy and Development Division, Insurance Authority
Insurance Authority (IA) หรือ หน่วยงานก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัยเขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐ
ประชาชนจี น (ฮ่ อ งกง) จั ด ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อปี 2560 (2017) โดยมี อ� ำ นาจตามกฎหมาย ท� ำ หน้ า ที่ แ ทน Office of the
Commissioner of Insurance (OCI) ซึ่งเดิมท�ำหน้าที่ก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัย Insurance Authority (IA) ท�ำหน้าที่
Premiums (HKD billion)
250.0
Hong Kong Long Term Business - New Business Premium* (2009 - 2018) Annual Nominal Growth Rate
Include Mainland China Visitors : CAGR = 10.3% (7.1% in real rerm) Exclude Mainland China Visitors : CAGR = 7.2% (4.0% in real rerm)
50.0%
200.0
40.0%
150.0
30.0%
100.0
20.0
50.0
10.0%
0.0
2009
2010
2011
2012
2013
2014
2015
2016
2017
2018
ทางการตลาดของธุรกิจประกันภัย
10.0% 20.0%
เป็ น หน่ ว ยงานอิ ส ระในการก� ำ กั บ ดู แ ลภาคการประกั น ภั ย พั ฒ นาแนวทางการก� ำ กั บ ความมั่ น คงและพฤติ ก รรม
ทางตลาดของธุรกิจประกันภัยในฮ่องกง ยกระดับความรู้ความเข้าใจด้านการประกันภัย ตลอดจนการรักษาเสถียรภาพ
0.0%
Include Mainland China Visitors
Exclude Mainland China Visitors
Annual nominal Growth rate (RHS) (Include Mainland China Visitors)
Annual real Growth rate (RHS) (Exclude Mainland China Visitors) *Based on provisional figures
30.0%
22
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
General Business – Trend of growth
23
CEO Insurance Forum 2019 General Business – Detailed breakdown
Hong Kong Long Term Business - Gross Premium* (2009 - 2018)
Premiums (HKD billion)
Annual Nominal Growth Rate
70.0
14.0%
CAGR = 6.1% (3.0% in real rerm)
45% 40%
60.0
12.0%
50.0
10.0%
40.0
8.0
30%
30.0
6.0%
25%
20.0
4.0%
20%
10.0
2.0%
0.0
0.0%
2009
2010
2011
2012
Gross Premium
2013
2014
2015
Annual nominal Growth rate (RHS)
2017
2016
2018
-2.0%
Annual real Growth rate (RHS) (Exclude Mainland China Visitors) *Based on provisional figures
35%
Personal Accident and Health business was the outperformer
15% 10% 5% 0%
Accident and Health
General Business – Detailed breakdown
5%
Accident and Health General Liability - Employees’ Compensation
5% 2%
Property Damage
9%
Motor Vehicle, Damage & Liability 41%
11%
11% 16%
General Property Liability Damage Employees’ Compensation
Motor Vehicle, Damage & Liability
General Liability Others
Pecuniary Loss
Ships, Damage & Liability
Goods in Transit
Aircraft, Damage & Liability
*Based on provisional figures
Hong Kong Long Term Business - Gross Premium* (2009 - 2018) 0.2%
2009 2018*
General Business – Underwriting performance
110.0% 100.0%
General Liability - Others
90.0%
Pecuniary Loss
80.0%
Ships, Damage & Liability
70.0%
Goods in Transit Aircraft, Damage & Liability *Based on provisional figures
Combined ratio (%)
Combined ratio 120.0%
60%
2009
2010
2011
2012
2013
Accident and Health Motor Vehicle, Damage & Liability General liability - Others
2014
2015
2016
2017
2018
Accident and Health Motor Vehicle, Damage & Liability General liability - Others *Based on provisional figures
24
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
จากภาพรวมการเติบโตของตลาดประกันภัยฮ่องกงย้อนหลัง 10 ปี ( 2552 - 2561) พบว่า ภาพรวมธุรกิจ
ประกันภัยประเภทระยะยาว (Long-Term Business) มีแนวโน้มที่จะเติบโตอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีอิทธิพลส่วนใหญ่มาจาก การเข้ามาของชาวจีนแผ่นดินใหญ่ อีกทั้งยังมีความเสี่ยงที่เพิ่มมากขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่
25
CEO Insurance Forum 2019 2. กรอบความร่วมมือระหว่างมณฑลกวางตุ้ง - ฮ่องกง – มาเก๊า (Greater Bay Area)
โครงการ The Greater Bay Area (GBA) ประกอบด้วย 11 เมือง ได้แก่ เขตบริหารพิเศษ 2 เขต (เขตบริหาร
พิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน Hong Kong Special Administrative Region of the People’s Republic of
สั ง คมสู ง อายุ และมี แ นวโน้ ม อายุ ยื น มากขึ้ น อย่ า งไรก็ ต าม ภาพรวมธุ ร กิ จ ประกั น วิ น าศภั ย (General Business)
China - HKSAR และเขตบริหารพิเศษมาเก๊าแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน Macau Special Administrative Region of
ยั ง คงซบเซาและมุ่งเน้นไปยังตลาดประกั นภัยภายในประเทศมากขึ้น ถึงแม้ตลาดประกั นภัยฮ่องกงจะเป็นตลาดที่ มี
the People’s Republic of China - MSAR) และหัวเมืองทั้งหมด 9 แห่งใน Pearl River Delta ได้แก่ กว่างโจว เซินเจิ้น จูไห่
ขนาดใหญ่ แต่ ยังมีช่องว่ างของการคุ้มครองด้ านการประกั นภั ย จากภาพรวมของตลาดประกั นภั ย IA จึ งมีการออก
ฝอซาน ฮุ่ยโจว ตงกวน จงซาน เจียงเหมิน และ จ้าวชิ่ง ซึ่งมีจ�ำนวนประชากรทั้งหมดประมาณ 69 ล้านคน มี GDP ที่ USD
นโยบายเพื่อหาแนวทางการพัฒนาตลาดธุ รกิ จประกั นภั ย การส่งเสริมการให้ความรู้ต่อสาธารณชน และการรักษา
1.5 trillion GBA มี จุ ด ประสงค์ ห ลั ก คื อ เพื่ อ เป็ น การกระชั บ ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งภาคธุ ร กิ จ และส่ ง เสริ ม การใช้
เสถียรภาพทางการตลาด
ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่าด้วยประโยชน์สูงสุด รวมไปถึงการส่งเสริมความร่วมมือทางการพัฒนาเศรษฐกิจในระดับ ภูมิภาคให้ใกล้ชิดมากยิ่งขึ้น จนกลายเป็นศูนย์กลางทางการเงิน การค้า เทคโนโลยี นวัตกรรม การขนส่ง โดยเฉพาะ
แนวทางการพัฒนาตลาดธุ รกิจประกันภัยในฮ่องกง
อย่างยิง่ ทีเ่ ป็นศูนย์กลางทางด้านโลจิสติกเพื่อการท�ำการค้าระหว่างจีน และประเทศอื่นๆ บนเส้นทาง Maritime Silk Road
1. โครงการริเริม ่ แถบเศรษฐกิจเส้นทางสายไหม (Belt and Road initiative or BRI )
โครงการริเริ่มแถบเศรษฐกิ จเส้นทางสายไหม (Belt and Road initiative or BRI) เป็นโครงการเชื่อมโยง
ประเทศต่างๆ มากกว่า 60 ประเทศจากเอเชียไปยังยุโรปผ่านภูมิภาคต่างๆ ได้แก่ อาเซียน เอเชียใต้ เอเชียกลาง เอเชีย ตะวั นตก และตะวั นออกกลาง โดยมีวัตถุประสงค์ ส�ำคั ญเพื่อช่วยเพิ่มโอกาสทางธุ รกิ จและน�ำไปสู่การเปลี่ ยนแปลง ในด้านต่างๆ ครอบคลุมด้านการคมนาคมทางอากาศรูปแบบใหม่ เส้นทางการเดินทางทางทะเลและภาคพื้นดิน ท่าเรือ
ทีเ่ พิม ่ า่ งไกล ข้อตกลงทางเศรษฐกิจและการค้า และกระแสการลงทุนทีเ่ พิม ้ ถนนและทางรถไฟทีเ่ ชื่อมต่อดินแดนทีห ่ ขึน ่ ขึ้น
BRI จะเป็นการเปิดโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ ส�ำหรับอุตสาหกรรมประกันภัย บริษท ั หลายแห่งและ/หรือเจ้าของโครงการต่างๆ
GBA นั บ เป็ น โอกาสและความท้ า ทายที่ ส� ำ คั ญ ส� ำ หรั บ อุ ต สาหกรรมประกั น ภั ย ที่ จ ะน� ำ มาซึ่ ง ความต้ อ งการ
ในการบริหารความเสี่ยงทางการเงินที่เพิ่มมากขึ้น เช่น ผลิตภัณฑ์ประกันชีวิต ผลิตภัณฑ์ประกันสุขภาพ และผลิตภัณฑ์
อื่นๆ ในการบริหารความมั่งคั่ง อีกทั้ง อุตสาหกรรมประกันภัยฮ่องกงมีประวัติอันยาวนานและมีประสบการณ์มากมาย
ทักษะและความเป็นมืออาชีพเหล่านี้จะน�ำไปสู่โอกาสในการพัฒนาตลาดธุรกิจการประกันภัยในประเทศจีนแผ่นดิน ใหญ่ รวมถึงช่วยเสริมสร้างและดึงดูดกลุ่มคนที่มีความสามารถส�ำหรับอุตสาหกรรมประกันภัย
จะต้องเผชิญกับความเสีย ่ งมากมายที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนใน BRI ซึ่งจะต้องมีการบริหารความเสีย ่ งด้วยการประกันภัย โดยฮ่องกงมีท่ี ต้ั งอยู่ในจุ ดศูนย์กลางทางยุ ทธศาสตร์ในการบริหารจั ดการความเสี่ยงและการประกั นภั ยที่ ครอบคลุม
ซึ่งคาดว่าจะสามารถสร้างเบี้ยประกันภัยเชิงพาณิชย์มูลค่ากว่า 2.8 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐภายในปี 2573
IA มุ่งมั่นที่จะสร้างความแข็งแกร่งให้กับบทบาทของฮ่องกงในฐานะศูนย์กลางความเชี่ยวชาญด้านการจัดการ
ความเสี่ยงและการประกันภัย และเพื่อส่งเสริมการประกันภัยและการประกันภัยต่อในฮ่องกง โดยได้จัดตั้งโครงการ
อ�ำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนทางการประกันภัยในเส้นทางสายไหม (Belt and Road Insurance Exchange
Facilitation - BRIEF) เพื่อให้เกิดความร่วมมือทางเศรษฐกิจในระดับพหุภาคีท่ีจะเป็นผลประโยชน์รว ่ มกันของทุกฝ่าย ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลัก คือ จัดให้มี Platform เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารทางด้านการเงินและประกันภัย เพื่อร่วมกันจัดการความเสี่ยง การสร้างพันธมิตรและเครือข่าย และจัดตั้งฮ่องกงเป็นศูนย์กลางการบริหารความเสี่ยง ระดับโลกและเป็นศูนย์กลางการประกันภัยระดับภูมิภาค
ข้อดีของฮ่องกงในการเป็นศูนย์กลางบริหารความเสี่ยงระดับโลกและศูนย์กลางการประกันภัยระดับภูมิภาค
คือ มีท่ีต้ังอยูใ่ นจุดศูนย์กลางทางยุทธศาสตร์ของเส้นทาง BRI เป็นเมืองที่มีเศรษฐกิจและมีการค้าอย่างเสรี มีบุคคลากร
ที่มีประสิทธิภาพทางด้านการเงินหลายๆ เชื้อชาติ ท�ำให้ฮ่องกงมีโอกาสทางการตลาดสูงและเป็นตัวเชื่อมระหว่างเมือง ต่ างๆ ของจี น และประเทศอื่ นๆ บนเส้นทาง BRI ได้ เป็นอย่างดี และส�ำหรับด้ านเศรษฐกิ จและการเงิ น ฮ่องกงเป็น ศูนย์กลางทางการเงินของโลกและเป็นศูนย์กลางธุรกิจเงินหยวนนอกประเทศที่ใหญ่ท่ีสุดในโลก
26
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562 3. ตราสารทีเ่ ชื่อมโยงกับการประกันภัย (Insurance Linked Securities: ILS)
ตราสารที่เชื่อมโยงกับการประกันภัย (Insurance Linked Securities: ILS) เป็นเครื่องมือในการโอนความเสี่ยง
ด้ า นการประกั น ภั ย ไปยั ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นตลาดทุ น มี จุ ด ประสงค์ เ พื่ อเพิ่ ม ทางเลื อ กเครื่ องมื อ ในการโอนความเสี่ ย ง
เพิ่มขีดความสามารถในการรับประกั นภั ยและการบริหารความเสี่ยง รวมถึ งเป็นทางเลื อกในการกระจายความเสี่ยง จากการลงทุนให้แก่นักลงทุน ซึ่งมีความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการเจริญเติบโตของธุรกิจประกันภัยในฮ่องกง โดยได้มีความ ร่วมมือกับรัฐบาล หน่วยงานก�ำกับดูแลอื่น และภาคธุรกิจในฮ่องกงเพื่อสนับสนุนให้การออกกฎหมายใหม่ท่ีก่อให้เกิด
การพัฒนาในตลาด ILS ของฮ่องกง
การขับเคลื่อนนวัตกรรมประกันภัยในยุคดิจิทัล
การพัฒนาอย่างก้ าวกระโดดของเทคโนโลยีทางการเงิ นส่งผลให้รูปแบบของธุ รกิ จประกั นภั ยเปลี่ ยนรู ปแบบ
ไปอย่างรวดเร็วในฮ่องกง ไม่วา่ จะเป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัย การบริการลูกค้าหลังการขาย การพิจารณารับประกันภัย การประเมิ น ความเสี่ ย ง รวมไปถึ ง กระบวนการเรี ย กร้ อ งค่ า สิ น ไหมทดแทน ทาง IA ได้ ส่ ง เสริ ม นวั ต กรรมเทคโนโลยี ด้านประกันภัยอย่างจริงจังด้วยโครงการ InsurTech Sandbox และ Fast Track ในช่วงปี 2017 ถึง 2018 ซึ่งเป็นการลด หลักเกณฑ์ต่างๆ ที่อาจสร้างอุปสรรคในการพัฒนาด้าน InsurTech นอกจากนั้นยังได้ริเริ่มโครงการ Insurance Fraud Prevention Claims Database (IFPCD) เป็ น การน� ำ ปั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ (AI technology) เข้ามาช่วยในการตรวจสอบ การฉ้อฉล และโครงการ Motor Insurance
Research Study
CEO Insurance Forum 2019
ในปี 2018 ที่ผา่ นมาทาง IA ได้ท�ำการศึกษาวิจัยในเรื่อง Mortality Protection Gap เพื่อขจัดปัญหาของความ
ไม่เพียงพอของความคุ้มครองจากการประกั นภั ยในความเสี่ยงต่ อการเสียชีวิต จึ งได้ มีโครงการส่งเสริมสาธารณชน ให้เกิดความตระหนักรูถ ้ ึง Mortality Protection Gap และเสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมในการปิดช่องว่างความคุ้มครอง ดังกล่าว โดยผลการศึกษาที่ส�ำคัญมีดังนี้
DLT-based Authentication System (MIDAS) ที่ น� ำ เอา Blockchain เข้ า มาช่ ว ยในเพิ่ ม ความ
น่ า เชื่ อถื อให้ กั บหนั ง สื อ ระบุ ความคุ้ มครอง
ชั่วคราว/กรมธรรม์ส�ำหรับการประกันภัยรถยนต์
(Motor insurance cover note) นอกจากนั้ น
มีแผนทีจ ่ ะยกระดับการควบคุมภายในและส่งเสริม
แนวทางปฏิ บั ติ ท่ี ดี เ พื่ อป้ อ งกั น ภั ย ทางไซเบอร์ ของบริ ษั ท ประกั น ภั ย รวมถึ ง ท� ำ งานร่ ว มกั บ หน่วยงานก�ำกับดูแลอื่นๆ
บทบาทการเป็นผูก ้ �ำกับดูแลทีส ่ ำ � คัญอื่นๆ ส่งเสริมการให้ความรูต ้ ่อสาธารณชน (Public Education)
1. การร่วมมือกับหน่วยงาน Investor and Financial Education Council (IFEC)
เพื่ อส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด องค์ ค วามรู้ ท่ี เ ป็ น ประโยชน์ ต่ อ สาธารณชน IA ได้ ร่ ว มมื อ กั บ IFEC ในการเผยแพร่
ความรู้แก่สาธารณชน โดยตัวอย่างกิจกรรมที่ท�ำร่วมกัน คือ การท�ำเอกสารเผยแพร่เรื่อง “เทคนิคการซื้อประกั น ภั ย ” การจั ด สัมมนาเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการประกันภัย และโครงการส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจในการซื้อประกันชีวิต
• การก�ำกับดูแลธุรกิจแบบรวมกลุ่ม (Group-wide supervision) โดยทาง IA ได้เสนอการพัฒนากฎหมายให้มี
ความชั ด เจนเพื่ อ ให้ อ� ำ นาจในการก� ำ กั บ กลุ่ ม ธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย ซึ่ ง ในขณะนี้ IA ก� ำ กั บ ดู แ ลกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย ที่ มี ส่ ว นแบ่งตลาดถึ งร้อยละ 40 ของการรับประกั นภั ยรายใหม่ (New Business) และ การรับประกั นภั ยจากกรมธรรม์ ประกันภัยที่ยังมีผลบังคับตามกฎหมายอยู่ (Inforce Business Premium)
• Enhancement of market conduct โดยมุ่ ง เน้ น ในการตรวจสอบพฤติ ก รรมทางการตลาดมากยิ่ ง ขึ้ น
ทั้ ง ในส่ ว นของบริษัทประกันภัย และคนกลางประกันภัย
แบบเงินรายปี เป็นต้น
2. Online Platform Virtual Insurer
ดังต่อไปนี้ The insurance Agent Registration, The Hong Kong Confederation of Insurance Brokers (CIB) และ
ในเดือนธันวาคม 2018 ที่ผ่านมา ทาง IA ได้สร้างประวัติศาสตร์ท่ีส�ำคัญแก่ภาคธุรกิจประกันภัยของฮ่องกง
ด้ ว ยการประกาศอนุ ญ าตให้ บ ริ ษั ท ประกั น ภั ย รายใหม่ ส ามารถเพิ่ ม ช่ อ งทางการจ� ำ หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ระกั น ภั ย บน Online Platform โดยไม่ผ่านคนกลางประกันภัย ภายใต้ Fast Track เพื่อเป็นการขับเคลื่อนนวัตกรรมประกันภัย
อย่างจริงจัง เกิดเป็นรูปธรรม สร้างประสบการณ์ใหม่แก่ผู้เอาประกันภัย รวมถึงเป็นการเปิดช่องทางให้ประชาชนทุกคน มีโอกาสเท่าเทียมกันในการเข้าถึงผลิตภัณฑ์ประกันภัย
• การก�ำกับคนกลางประกันภัย (Direct licensing regime of insurance intermediaries) โดย IA ตั้งเป้าที่จะ
รับหน้าที่การก�ำกับดูแลคนกลางประกันภัยโดยตรงแทน Three Self-Regulatory (SROs) ซึ่งประกอบด้วย 3 หน่วยงาน The Professional Insurance Brokers Association (PIBA) และเพื่อเป็นการเตรียมตัวรับหน้าที่ดังกล่าว IA ก�ำลัง ด�ำเนินการพัฒนากรอบการก�ำกับดูแล ก�ำหนดมาตรฐานพฤติกรรมทางการตลาด รวมถึงการสร้างระบบการขอใบอนุญาต ตัวแทน นายหน้าประกันภัย
27
28
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
29
CEO Insurance Forum 2019
ความร่วมมือระหว่างประเทศ
• International Association of Insurance
Supervisors (IAIS) : ในเดื อ นพฤศจิ ก ายน 2017 IA ได้ เ ข้ า ร่วม IAIS Annual Conference and committee meetings ณ ประเทศมาเลเซีย เพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ในการก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัย IA ได้เข้าร่วมใน Executive Committee และ Implementation and Assessment Committee นอกเหนื อ จากการร่ ว มอยู่ ใ นคณะท� ำ งาน ต่ างๆ ดั งนี้ Standards Assessment Working Group, Signatories Working Group, Capital, Solvency & Field Testing Working Group, Insurance Groups Working Group, Market Conduct Working Group และ Financial crime Task Force ซึ่ง IA มุ่งเน้นการเพิ่มบทบาทใน IAIS
เพื่อสร้างประโยชน์แก่ภูมิภาคเอเชียยิ่งขึ้น
สรุปเนื้อหา การประชุมกลุ่มย่อย งานประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจ�ำปี 2562 (CEO Insurance Forum 2019)
ขณะเดียวกัน IA ยังส่งเสริมให้ภาคธุรกิจประกันภัยพั ฒ นาสอดคล้ อ งไปกั บ เป้ า ประสงค์ ข อง IAIS ที่ ใ ห้ ค วาม
ส�ำคัญกับประเด็นที่จะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมประกันภัยอย่างมาก ได้แก่ ประเด็นดังต่อไปนี้ Close the Protection Gap, InsurTech, Cyber Security Risk, Climate change และ Financial Inclusion
• Asian Forum of Insurance Regulators (AFIR) : ในฐานะที่ Mr. John Leung ประธานเจ้าหน้าที่บริหารของ
IA ได้ รั บ เลื อ กจากสมาชิ ก ของ AFIR ให้ ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น ประธานของ AFIR ทาง IA จึ ง ให้ พั น ธะสั ญ ญาว่ า จะสร้ า ง ความสามัคคี และผสานความร่วมมือให้เกิดขึ้นในผู้ก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัยในกลุ่มประเทศเอเชีย และจะส่งเสริม ให้ภารกิจบรรลุไปในทิศทางเดียวกันกับเป้าหมายของ IAIS โดยจะผลักดันการด�ำเนินงานของ AFIR ต่อเนื่องในเรื่อง ของ Capacity Building, Information Exchange และ AFIR Meetings
กลุ่มย่อยที่ 1 ยกระดับการก�ำกับการประกันสุขภาพ สู่อนาคตที่ยั่งยืน
32
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
CEO Insurance Forum 2019
ประการที่หนึ่ง พัฒนาปรับปรุงหลักเกณฑการกํากับอัตราเบี้ยประกันภัยใหมีความยืดหยุน มีอิสระในการกําหนดอัตรา เบี้ยประกันสุขภาพใหสะทอนตามตนทุนของประเภทความคุมครอง พรอมเพิ่มความโปรงใส ในการเปดเผย ขอมูลของผลิตภัณฑประกันสุขภาพแกประชาชน เพื่อใหกลไกทางการตลาดของประกันสุขภาพ ในประเทศไทยมีประสิทธ�ภาพมากข�้น
ประการที่สอง ปรับปรุงสัญญาประกันสุขภาพ ใหมีแบบและขอความที่สอดคลองกับว�วัฒนาการทางการแพทย มีรายการความคุมครองที่ปรับเปลี่ยนตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เพื่อใหสัญญาประกันสุขภาพ มีความชัดเจน และเปนธรรมกับทุกฝายที่เกี่ยวของ
ประการที่สาม กําหนดใหภาคธุรกิจมีรูปแบบการเก็บขอมูลทางสถิติที่สอดคลองกับรายการความคุมครองที่ปรับปรุงใหม เพื่อใหภาคธุรกิจประกันภัยมีสถิติในการคํานวณอัตราเบี้ยประกันสุขภาพอยางเหมาะสมและเปนธรรม แกประชาชน
ประการที่สี่
กลุ่มย่อยที่ 1
ยกระดับการก�ำกับการประกันสุขภาพสู่อนาคตที่ยั่งยืน
สํานักงาน คปภ. จัดทําคูมือแนวปฏิบัติเกี่ยวกับสัญญาประกันสุขภาพที่ปรับปรุงใหม เพื่อใหทุกบร�ษัท ประกันภัยใชเปนแนวปฏิบัติที่เปนแนวทางเดียวกัน และลดปญหาเร�่องรองเร�ยนและการชดใชคาสินไหมทดแทน ที่เกิดจากการรับประกันสุขภาพ อันจะเปนการสงเสร�มใหประชาชนมีความเช�่อมั่นในการใชระบบประกันสุขภาพ มากยิ่งข�้น ซ�่งการดําเนินงานที่ไดดังกลาวจะเปนแนวทางในการยกระดับมาตรฐานการกํากับดูแลธุรกิจ ประกันสุขภาพใหมีความยั่งยืน และสามารถคุมครองดูแลผูทําประกันสุขภาพไดอยางมีประสิทธ�ภาพ และยุติธรรม
ทีม ่ า/หลักการและเหตุผล
เนื่องจากโครงสร้างประชากรของประเทศไทยมีสัดส่วนโครงสร้างของผู้สูงอายุมากขึ้น ท�ำให้หน่วยงานภาครัฐ
ต่างตระหนักและเตรียมแผนการด�ำเนินการที่จะรองรับภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลที่จะเพิ่มสูงขึ้น โดยภาระ ค่าใช้จ่ายดังกล่าวนี้ มีผลกระทบทั้งในส่วนของประชาชนเอง และในส่วนของรัฐบาลทีต ่ อ ้ งรับผิดชอบ ดังนั้น หน่วยงานภาค
ประการที่ห า
รัฐจึงมีความจ�ำเป็นต้องจัดให้มีมาตรการเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ ได้แก่ การมีแผนปฏิรูประบบสาธารณสุข
ศึกษาแนวทางการจัดทํากฎหมายเกี่ยวกับการประกันสุขภาพ เพื่อยกระดับการกํากับการประกันสุขภาพ ใหมีประสิทธ�ภาพและมีมาตรฐานเดียวกัน รวมทั้งใหประเทศไทยมีกฎหมายเกี่ยวกับการประกันสุขภาพ ที่มีความเหมาะสมกับบร�บทของประเทศเปนโดยเฉพาะ
ด้านการคลังสุขภาพ และระบบหลักประกันสุขภาพ ที่ประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2561 การควบคุมให้โรงพยาบาลต้องแสดงรายละเอียดประเภทการรักษาพยาบาล ยาและเวชภัณฑ์ การให้บริการทางการ แพทย์ท่ีเรียกเก็บเป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชนิดหรือประเภทของการรักษาพยาบาล ยาและ เวชภัณฑ์ การบริการทางการแพทย์ หรื อ การบริ ก ารอื่ นของสถานพยาบาล และสิ ท ธิ ของผู้ป่วย ซึ่งผู้รับอนุญาตจะ ต้องแสดงตามมาตรา 32(3) พ.ศ. 2561 รวมไปถึงนโยบายของกระทรวงพาณิชย์ท่ีได้มีมติให้เพิ่มสินค้าประเภทยาและ
เวชภัณฑ์เข้ามาอยู่ในบัญชีสินค้าควบคุม ซึ่งการด�ำเนินการดังกล่าวข้างต้น ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริ ม การประกอบธุ ร กิ จประกั นภั ย (ส�ำนักงาน คปภ.) ได้ เข้าร่วมเป็นคณะอนุกรรมการด้วย
ดั ง นั้ น เพื่ อให้ สั ญ ญาประกั น สุ ข ภาพภาคเอกชนสามารถช่ ว ยลดภาระค่ า ใช้ จ่ า ยในการดู แ ลสุ ข ภาพของ
ประชาชนได้อย่างยั่งยืน มีความสอดคล้องกับวิวัฒนาการทางการแพทย์ท่ีเปลี่ยนแปลงไป ทันต่อสภาวการณ์ในปัจจุบัน
สามารถรองรั บ กั บ แผนปฏิ รู ป ระบบสาธารณสุ ข ของประเทศไทยและนโยบายต่ า งๆ ของภาครั ฐ ในเรื่ อ งระบบการ ประกั นสุขภาพ ส�ำนักงาน คปภ. จึ งได้ จัดท� ำโครงการปรับปรุ งสัญญาประกั นสุขภาพ และพัฒนาระบบการประกั น สุขภาพไว้อีก 5 ประการ อันได้แก่
ข้อมูลประกอบ
(1) ประกาศนายทะเบียน เรื่อง หลั กเกณฑ์ การให้ความเห็นชอบกรมธรรม์ประกั นภั ยอุ บัติเหตุ และกรมธรรม์ประกั น
สุขภาพ พ.ศ. 2549 ลงวันที่ 26 กันยายน 2549 และหนังสือเวียน แนวปฏิบัติ เรื่อง สัญญาเพิ่มเติมประกันสุขภาพ ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2550
(2) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชนิดหรือประเภทของการรักษาพยาบาล ยาและเวชภั ณฑ์ การบริการทาง
(3) คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติเห็นชอบให้ ยาเวชภัณฑ์ บริการทางการแพทย์และบริการรักษาพยาบาล เป็นสินค้าและ
การแพทย์ หรือการบริการอื่นของสถานพยาบาล และสิทธิของผู้ป่วย ซึ่งผู้รับอนุญาตจะต้องแสดงตามมาตรา 32(3) พ.ศ. 2561
บริการควบคุมใหม่ปี 2562 ตามข้อเสนอของคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ (กกร.) ว่า เป็นการท�ำตามพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.2542 (ก�ำหนดให้ต้องปรับปรุงรายการสินค้าและบริการควบคุม ทุก ๆ 2 ปี)
33
34
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
CEO Insurance Forum 2019
ประเด็นหารือ
การประชุมกลุ่มย่อยนี้ จะมีการสร้างความเข้าใจ และท�ำให้
เกิดความร่วมมือกันระหว่างส�ำนักงาน คปภ. ธุรกิจประกันชีวิต ธุรกิจ ประกั น วิ น าศภั ย รวมถึ ง ผู้ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งอื่ นๆ ในการด� ำ เนิ น งาน ในเรื่องดังต่อไปนี้
1. การปรับปรุงตารางแสดงผลประโยชน์ค่ารักษาพยาบาล
ก� ำ หนดรายการผลประโยชน์ โ ดยอ้ า งอิ ง ตามประกาศ
กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชนิดหรือประเภทของการรักษาพยาบาล ยาและเวชภั ณฑ์ การบริการทางการแพทย์ หรือการบริการอื่ นของ สถานพยาบาล และสิทธิของผู้ป่วย ซึ่งผู้รับอนุญาตจะต้องแสดงตาม มาตรา 32 (3) พ.ศ. 2561 2. การปรับปรุงค�ำนิยาม เงื่อนไข ข้อยกเว้น ของสัญญาประกันสุขภาพ
ข้อสรุปและข้อเสนอแนะทีไ่ ด้จากการประชุม
- ปรับปรุงสัญญาประกันสุขภาพให้สอดคล้องกับวิวฒ ั นาการทางการแพทย์ (Day case และ ค่าธรรมเนียมการผ่าตัด)
- ปรับปรุงสัญญาประกันสุขภาพให้มีแบบและข้อความที่ชัดเจนและเป็นมาตรฐานเดียวกัน อาทิ ระยะรอคอย
(Waiting period) การต่ออายุ และสภาพที่เป็นมาก่อนการเอาประกันภัย (Pre-Existing Condition) เป็นต้น
- พัฒนาปรับปรุงสัญญาประกันสุขภาพให้มีการต่ออายุสัญญาประกันภัยแบบอัตโนมัติ
การปรับปรุงเงื่อนไขสัญญา และความคุ้มครอง สัญญาประกันสุขภาพมาตรฐาน
1. การปรับปรุงตารางแสดงผลประโยชน์ค่ารักษาพยาบาล
โดยให้ ร ายการผลประโยชน์ อิ ง กั บ ประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข เรื่ อง ชนิ ด หรื อ ประเภทของการรั ก ษา
พยาบาล ยาและเวชภั ณ ฑ์ การบริ ก ารทางการแพทย์ หรื อ การบริ ก ารอื่ นของสถานพยาบาล และสิ ท ธิ ข องผู้ ป่ ว ย ซึ่ งผู้ รั บอนุ ญาตจะต้ อ งแสดงตามมาตรา 32 (3) พ.ศ. 2561 (ลงในราชกิ จ จานุ เ บกษา เมื่ อวั น ที่ 26 มี น าคม 2562
3. การพัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติการประกันสุขภาพ
ซึ่ ง มี ผ ลบังคับ 1 ปี นับจากประกาศ คือ วันที่ 27 มีนาคม 2562)
พิจารณาก�ำหนดอัตราเบี้ยประกันสุขภาพสอดคล้องตามต้นทุน
ผลประโยชน์ท่ีเป็นมาตรฐานเดียวกัน ซึ่งจะท�ำให้ประชาชนสามารถเข้าใจความคุ้มครองของสัญญาประกันสุขภาพ
- รู ปแบบการเก็บข้อมูลทางสถิติท่ีสอดคล้องกับรายการความคุ้มครองที่ปรับปรุ งใหม่ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการ
ผลทีไ่ ด้รบ ั คือ สัญญาประกันสุขภาพมาตรฐานที่ท้ังธุรกิจประกันชีวิต และธุรกิจประกันวินาศภัย จะมีตาราง
มาตรฐานได้ภายในหน้าเดียว และมีรายละเอียดครบถ้วน รวมทั้งจะน�ำไปสู่การจัดเก็บฐานข้อมูลการประกันสุขภาพ
4. การศึกษาแนวทางการจัดท�ำกฎหมายเกีย ่ วกับการประกันสุขภาพ
บน Platform เดียวกัน ซึ่งสามารถน�ำไปต่อยอดพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันสุขภาพในอนาคตได้
ประสิทธิภาพและมีมาตรฐานเดียวกัน
2. การปรับปรุงค�ำนิยาม เงื่อนไข ข้อยกเว้น สรุปภาพรวมได้ดังนี้
- ปรับปรุงสัญญาประกันสุขภาพให้มีแบบและข้อความที่ชัดเจนและเป็นมาตรฐานเดียวกัน อาทิ ระยะรอคอย
- ศึกษาแนวทางการจัดท�ำกฎหมายเกี่ยวกับการประกันสุขภาพ เพื่อยกระดับการก�ำกับการประกันสุขภาพให้มี
- ปรับปรุงสัญญาประกันสุขภาพให้สอดคล้องกับวิวฒ ั นาการทางการแพทย์ (Day case และ ค่าธรรมเนียมการผ่าตัด)
(Waiting period) การต่ออายุ และสภาพที่เป็นมาก่อนการเอาประกันภัย (Pre-Existing Condition) เป็นต้น
- พัฒนาปรับปรุงสัญญาประกันสุขภาพให้มีการต่ออายุสัญญาประกันภัยแบบอัตโนมัติ
3. การพัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติการประกันสุขภาพ
- รู ปแบบการเก็บข้อมูลทางสถิติท่ีสอดคล้องกับรายการความคุ้มครองที่ปรับปรุ งใหม่ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการ
พิจารณาก�ำหนดอัตราเบี้ยประกันสุขภาพสอดคล้องตามต้นทุน
4. การศึกษาแนวทางการจัดท�ำกฎหมายเกีย ่ วกับการประกันสุขภาพ
- ศึกษาแนวทางการจัดท�ำกฎหมายเกี่ยวกับการประกันสุขภาพ เพื่อยกระดับการก�ำกับการประกันสุขภาพให้มี
ประสิทธิภาพและมีมาตรฐานเดียวกัน
35
36
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
CEO Insurance Forum 2019
ค�ำนิยาม : การแก้ไขส่วนใหญ่จะแก้ไขให้สอดคล้องกับถ้อยค�ำที่ก�ำหนดของแพทยสภา พ.ร.บ.สถานพยาบาล
เงื่อนไข : การแก้ไขเพื่อให้เกิดความชัดเจน ลดการตีความให้น้อยลง เข้าใจง่าย และเหมาะสมกับวิวัฒนาการ
ข้อยกเว้น : การปรับแก้ไขเพื่อให้เกิดความชัดเจน ลดข้อยกเว้นที่ซ้�ำซ้อน
กฎกระทรวง ประกาศกระทรวงสาธารณสุข และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
และเทคโนโลยีทางการแพทย์ท่ีเปลี่ยนแปลงไป หรือก�ำหนดแนวปฏิบัติท่ีเป็นอยูใ่ นปัจจุบัน
ตัวอย่าง ค�ำนิยาม เงื่อนไข ทีป ่ รับปรุง
(1) สิทธิในการขอยกเลิกกรมธรรม์ (Free Looked Period) เพื่อให้ธุรกิจประกันวินาศภัยปฏิบัติให้เหมือนธุรกิจ
ประกันชีวิต
(2) เดิม Day Case ก� ำ หนดเป็ น รายการ (21 รายการ) เปลี่ ย นเป็ น ก� ำ หนดเป็ น ค� ำ นิ ย าม การผ่ า ตั ด ใหญ่
(Day Surgery) หรือการท�ำหัตถการ (Day Procedure) ที่ไม่ต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาล
(3) สภาพทีเ่ ป็นมาก่อนการเอาประกันภัย (Pre-existing Condition) ปรับเรื่องการนับระยะเวลาส�ำหรับโรคเรื้อรัง
ให้ชัดเจน (ก่อนท�ำประกัน 5 ปี และหลังท�ำประกัน 3 ปี) ลดการตีความ และให้สอดคล้องกับแนวปฏิบัติในปัจจุบัน
ข้อสรุปและข้อเสนอแนะทีไ่ ด้จากการประชุม
(4) ระยะเวลาที่ไม่คุ้มครอง (Waiting Period) ก�ำหนดเป็น 30 วัน ทุกบริษัทต้องระบุให้ชัดเจนว่าไม่น�ำเรื่อง
1. การปรับปรุงเงื่อนไขสัญญา และความคุ้มครอง สัญญาประกันสุขภาพมาตรฐาน
Waiting Period มาใช้กรณีท่ีบาดเจ็บ หรือการป่วยเฉียบพลัน และยกเลิกหรือตัด Waiting Period 120 วัน เนื่องจาก
สาธารณสุข เรื่อง ชนิดหรือประเภทของการรักษาพยาบาล ยาและเวชภัณฑ์ การบริการทางการแพทย์ หรือการบริการอื่น
การปรับปรุ งตารางแสดงผลประโยชน์ค่ารักษาพยาบาล โดยให้รายการผลประโยชน์อิงกับประกาศกระทรวง
ของสถานพยาบาล และสิทธิของผูป ้ ว่ ย ซึง่ ผูร้ บ ั อนุญาตจะต้องแสดงตามมาตรา 32 (3) พ.ศ. 2561 (ลงในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2562 ซึ่งมีผลบังคับ 1 ปี นับจากประกาศ คือ วันที่ 27 มีนาคม 2562)
ผลทีไ่ ด้รบ ั คือ สัญญาประกันสุขภาพมาตรฐานที่ท้ังธุรกิจประกันชีวิต และธุรกิจประกันวินาศภัย จะมีตาราง
ผลประโยชน์ท่ีเป็นมาตรฐานเดียวกัน ซึ่งจะท�ำให้ประชาชน สามารถเข้าใจความคุ้มครองของสัญญาประกันสุขภาพ มาตรฐานได้ภายในหน้าเดียว และมีรายละเอียดครบถ้วน รวมทั้งจะน�ำไปสู่การจัดเก็บฐานข้อมูลการประกันสุขภาพ
บน Platform เดียวกัน ซึ่งสามารถน�ำไปต่อยอดพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันสุขภาพในอนาคตได้ 2. การปรับปรุงค�ำนิยาม เงื่อนไข ข้อยกเว้น สรุปภาพรวมได้ดังนี้
หมวด คํานิยาม
เง�่อนไข
ข อยกเว น
เกิดข้อสงสัยกับประชาชนว่า ก�ำหนดระยะเวลาที่ไม่ค้ม ุ ครองนาน 120 วัน (4 เดือน) แต่เรียกเก็บเบี้ยประกันภัยเต็มปี (5) การต่ออายุกรณีครบรอบปีกรมธรรม์ประกันภัย (Renewal) ก�ำหนดเป็นปลายปิด เพื่อสร้างความชัดเจน
โปร่งใส ท�ำให้ประชาชนเกิดความมั่นใจ ว่ากรณีบริษัทไม่ต่ออายุ มีกรณีใดบ้าง
(6) การท� ำ ให้ ก รมธรรม์ ป ระกั น ภั ย กลั บ มามี ผ ลบั ง คั บ ใหม่ (Reinstatement) เดิ ม 2 ธุ ร กิ จ ใช้ ค� ำ เดี ย วกั น
แต่ปฏิบต ั ต ิ า่ งกัน (ธุรกิจประกันชีวต ิ เมื่อต่ออายุ Reinstatement จะนับสิทธิโต้แย้ง pre-existing และ waiting period ใหม่ ส่วนธุรกิจประกันวินาศภัยไม่เริ่มนับสิทธิต่างๆ ใหม่ ) จึงปรับให้ท้ัง 2 ธุรกิจต้องมีแนวทางปฏิบัติท่ีเป็นแนวทางเดียวกัน
(7) การปรับเบี้ยประกันภัย ระบุปัจจัยที่ใช้ปรับให้ชัดเจน เพื่อให้ประชาชนทราบว่า หากต้องการ ปรับเบี้ย
ประกันภัยต้องพิจารณาทั้ง Portfolio พิจารณาจากภาพรวม Loss Ratio ของบริษัทสูงตามหลักเกณฑ์ ที่ก�ำหนดหรือไม่ ไม่ใช่ปรับเบี้ยรายบุคคล โดยพิจารณาจากการจ่ายค่าสินไหมทดแทนของแต่ละคน
หนวย : คํา/ขอ
บร�ษัทประกัน
เดิม (ป จจ�บัน)
ปรับแก ไข
เพิ่มใหม
ตัดออก
ใหม (ปรับปรุงอยู )
ว�นาศภัย
26
22
5
4
27
ช�ว�ต
20
16
7
1
27
ว�นาศภัย
21
16
1
3
19
ช�ว�ต
14
7
-
1
13
ว�นาศภัย
26
8
-
6
20
ช�ว�ต
26
5
-
6
20
3. การพัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติการประกันสุขภาพ
เพื่อให้สอดคล้องกับรายการความคุ้มครองที่ปรับปรุงใหม่ ส่งผลให้มีฐานข้อมูลการก�ำหนดอัตราเบี้ยประกัน ภั ย
ที่ ส อดคล้ อ งตามต้ น ทุ น ซึ่ ง รู ป แบบการจั ด เก็บข้อมูลการประกันสุขภาพ สามารถออกแบบให้เชื่อมต่อกับระบบการ เรียกเก็บค่ารักษาพยาบาลจากโรงพยาบาล 4. การศึกษาแนวทางการจัดท�ำกฎหมายเกีย ่ วกับการประกันสุขภาพ
ได้ ทราบความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ แนวทางการก� ำ หนดให้ ธุ ร กิ จ ประกั น ชี วิ ต และวิ น าศภั ย ขายประกั น สุ ข ภาพ
เป็นกรมธรรม์ได้ เช่นเดี ยวกั น รวมทั้ งการก� ำหนดหลั กเกณฑ์ หรือส่งเสริมให้ประชาชนมีการออม เพื่อเป็นค่ าใช้จ่าย ในการดูแลเรื่องสุขภาพได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต เนื่องจากเมื่อสูงอายุรายจ่ายเรื่องสุขภาพจะสูงมากขึ้น
37
38
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562 ผลการส�ำรวจจากแบบสอบถาม
(2) ผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 90 มีความเห็นว่า ควรให้เจ้าหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้องกับการประกันสุขภาพของบริษัท
ประกันภัย ต้องผ่านการอบรมเกี่ยวกับการประกันสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ที่ส�ำนักงาน คปภ. ก�ำหนด
การส�ำรวจความคิดเห็นในการประชุมผูบ ้ ริหารระดับสูงด้านการประกันภัย (CEO Insurance Forum)
39
CEO Insurance Forum 2019
กลุม ่ ย่อยที่ 1 ยกระดับการก�ำกับการประกันสุขภาพ
สูอ ่ นาคตที่ยง่ั ยืน เพื่อเปิดรับฟังข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะ
120
จากผู้บริหารในธุ รกิ จประกั นชีวิต ธุ รกิ จประกั นวิ น าศภั ย
94
100
และหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง แบบสอบถาม แบ่ ง ออกเป็น 4 หมวด มี ค� ำ ถามรวมทั้ ง หมด 11 ค� ำ ถาม โดยผู้ ต อบ
80
แบบสอบถามจะต้ อ งตอบค� ำ ถามผ่ า นโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ
60
ของตนเอง ผ่ า นระบบ Google Form ซึ่งสามารถบันทึก และประมวลผลได้ ทั น ที แบบสอบถามนี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์
40
เพื่อน�ำไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาระบบประกันสุขภาพ
34
มากยิง่ ขึน ้ มีความโปร่งใส สามารถตอบสนองความต้องการ ของผู้ เ อาประกั น ภั ย และสอดคล้ อ งกั บ แผนปฏิรูประบบ
0
Continue
5
4
20
ให้ผู้เอาประกั นภั ยมีความเชื่อมั่นในระบบประกันสุขภาพ
21
24
ประกันว�นาศภัย
ประกันช�ว�ต
มี จ� ำ นวนผู้ ต อบแบบสอบถามทั้ ง หมด 104 คน ประกอบด้ ว ย ธุ ร กิ จ ประกั น วิ น าศภั ย จ� ำ นวน 39 คน
ธุ ร กิ จ ประกันชีวิต จ�ำนวน 29 คน และหน่วยงานอื่น (บริษัทสอบบัญชี บริษัทที่ปรึกษา ตัวแทนสมาคมประกันชีวิต ตัวแทนสมาคมประกันวินาศภัยไทย และผู้สนใจ) จ�ำนวน 36 คน สรุปได้ดังนี้ หมวด 1 เรื่อง เพิ่มความมั่นใจให้แก่ผบ ู้ ริโภคในการประกันสุขภาพ (มีค�ำถาม 3 ข้อ) ผลส�ำรวจพบว่า
(1) ผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 100 มีความเห็นว่า ควรให้บริษัทประกันภัยเปิดเผยและอธิบายสัญญาประกัน
สุขภาพที่บริษัทเสนอขายเกี่ ยวกับเงื่ อนไข ความคุ้มครอง ข้อยกเว้น ด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย ให้ประชาชนทราบหรือ ศึกษาก่อนตัดสินใจท�ำประกันสุขภาพ
0
(3) ผู้ ต อบแบบสอบถามร้ อ ยละ 89 มี ค วามเห็ น ว่ า สมควรส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารประกั น สุ ข ภาพระยะยาว
60 20 0
29
ประกันว�นาศภัย
93
100
40
0
ไมควร
120
80
20
รวม
อื่นๆ
สามารถปรับปรุงเงื่อนไขการรับประกันภัย เช่น การให้ผู้เอาประกันภัยมีสว ่ นร่วมในการรับผิดชอบค่าใช้จ่าย
100
40
1
โดยมี เงื่อนไขรับรองการต่ออายุ (Guarantee Renewal) ควรมีเงื่อนไขที่ก�ำหนดไว้เป็นการล่วงหน้า ให้บริษัทประกันภัย
104
39
10
80
120
60
คปภ. ควร
สาธารณสุขของประเทศไทย
0
14
21 0
0 ประกันช�ว�ต
คปภ. ควร
ไมควร
15 อื่นๆ
37
23 2
ประกันว�นาศภัย
19
6 ประกันช�ว�ต
คปภ. ควร
0
0 รวม
2
14 อื่นๆ
1
11 รวม
ไมควร
สรุ ปภาพรวมแล้ว มีความเห็นว่า หากต้องการเพิ่มความมั่นใจให้แก่ผู้บริโภค จ�ำเป็นต้องปรับวิธีการอธิบาย
สัญญาประกันสุขภาพด้วยภาษาที่ง่าย เพื่อให้เข้าใจก่อนท�ำประกันสุขภาพ ผูท ้ ่ีเกี่ยวข้องต้องมีความรูก ้ ารประกันสุขภาพ อย่างถ่องแท้ และควรปรับให้เป็นสัญญาประกันสุขภาพระยะยาว
40
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562 หมวด 2 เรื่อง การเข้าถึงประกันสุขภาพ (มีค�ำถาม 3 ข้อ) ผลส�ำรวจพบว่า
(4) ผูต ้ อบแบบสอบถามร้อยละ 77 มีความเห็นว่า สัญญาประกันสุขภาพควรขยายอายุให้สามารถรับประกันภัย
41
CEO Insurance Forum 2019 (6) ผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 55 มีความเห็นว่า สัญญาประกันสุขภาพควรมีแบบที่ไม่มีการก�ำหนดเงื่อนไข
pre-existing / waiting period เพื่อให้ผู้ท่ีมีปัญหาสุขภาพบางส่วนสามารถเข้าถึงการประกันสุขภาพได้
หรือต่ออายุได้ตลอดชีวิต
120
120 100
100
81
80
80
60
60 40
29
20
10
0
ประกันว�นาศภัย
23
16
6 ประกันช�ว�ต
5
คปภ. ควร
58
13
40
23
20
2
0
รวม
อื่นๆ
13
26
ประกันว�นาศภัย
17
ประกันช�ว�ต
ที่ยังมีผลบังคับอยู่อย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลาหนึ่ง (เช่น มีผลบังคับอยู่ต่อเนื่องเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 ปี) ไปยังบริษัท ประกันภัยใหม่ ทั้งนี้ บริษัทประกันภัยใหม่จะต้องไม่น�ำเงื่อนไขที่กระทบต่อสิทธิของผู้เอาประกันภัยมาเริ่มนับใหม่ เช่น
สิทธิโต้แย้ง Pre-existing และ Waiting period
4
คปภ. ควร
ไมควร
(5) ผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 57 มีความเห็นว่า ผู้เอาประกันภัยควรจะสามารถขอโอนสัญญาประกันสุขภาพ
17
12
11 อื่นๆ
46
4 รวม
ไมควร
ทั้งนี้ สรุปภาพรวมแล้ว มีความเห็นว่า หากต้องการให้ผู้บริโภคเข้าถึงประกันสุขภาพ เห็นควรว่าต้องขยายอายุ
ให้สามารถรับประกันภัยหรือต่ออายุได้ตลอดชีวิต ส่วนความเห็นกรณีท่ีให้ผู้เอาประกันภัยโอนสัญญาประกันสุขภาพ
ที่ ท� ำ ต่ อ เนื่ อ งมาไม่ น้ อ ยกว่ า 3 ปี สามารถย้ า ยไปบริ ษั ท ประกั น ภั ย ใหม่ ไ ด้ และการปรั บ ปรุ ง สั ญ ญาประกั น สุ ข ภาพ เพื่อยืดหยุ่นกั บผู้ท่ี มีปัญหาสุขภาพ สามารถท� ำประกั นสุขภาพได้ มีจ�ำนวนผู้ตอบแบบสอบถามที่ เห็นควร มากกว่ า ไม่เห็นควรเล็กน้อย เนื่องจากผู้แสดงความคิดเห็นมีข้อกังวลถึงผลกระทบที่จะตามมา ทั้งเรื่องค่าใช้จ่ายที่เพิ่มสูงขึ้ น
อัตราเงินเฟ้อ การควบคุมมาตรฐานทางเวชปฏิบต ั ิ รวมถึงเบีย ้ ประกันภัยว่า ต้องให้มค ี วามยืดหยุน ่ สามารถปรับเปลี่ยนได้ ตามความเสี่ยงขอบการรับประกันภัย
120 100 80
60 44
60 40
19 20
20 0
ประกันว�นาศภัย
14
17
15
ประกันช�ว�ต
4
คปภ. ควร
ไมควร
10 อื่นๆ
5 รวม
42
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562 หมวด 3 เรื่อง การบริการ (มีค�ำถาม 2 ข้อ) ผลส�ำรวจพบว่า
(7) ผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 90 มีความเห็นว่า เห็นควรให้ทุกบริษัทควรมีระบบบริการสินไหมทดแทนเป็น
ระบบอิเล็กทรอนิกส์ และมีรูปแบบ platform ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน
(9) ผู้ตอบแบบสอบถามร้ อ ยละ 54 มี ความเห็ น ว่ า ควรก� ำ หนดให้ มีก ารเปิ ดเผยค่ าคอมมิ ช ชั่ น ในการขายให้
120
94
100
100
80
80
60
60
33
0
28
ประกันว�นาศภัย
20
1
6
20
1
ประกันช�ว�ต
คปภ. ควร
13
40
2
อื่นๆ
10
20
รวม
0
19
ประกันว�นาศภัย
11
18
16
ประกันช�ว�ต
5
คปภ.
10
47
5 รวม
อื่นๆ
ไมควร
(10) ผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 82 มีความเห็นว่า ควรสนับสนุนให้บริษัทเปิดเผยข้อมูลการรับประกันสุขภาพ
ในภาพรวมของบริ ษั ท เช่น สถิ ติ ก ารรั บประกั น ภั ย สถิ ติ ก ารจ่ า ยค่ า สิ น ไหมทดแทน เป็ น ต้ น ต่ อสาธารณชนเพื่ อให้ ผู้ บริโภคสามารถใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจเลือกซื้อประกันภัย
104
120
120
100
86
100
80 40
20
ควร
(8) ผู้ตอบแบบสอบถามร้ อ ยละ 100 มี ค วามเห็ น ว่ า บริ ษั ท ควรมี ร ะบบให้ ผู้ เ อาประกั น ภั ย สามารถติ ด ตาม
60
57
ไมควร
ตรวจสอบความคุ้มครอง การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนของผู้เอาประกันภัยได้ด้วยตนเอง
80
39
29
20
0
0
ประกันว�นาศภัย
60
21 0
0
ประกันช�ว�ต
คปภ. ควร
หมวดที่ 4 การขยายตลาดและความโปร่งใส เพื่อให้บริษัทสามารถก�ำกับดูแลตนเองได้ (มีคำ� ถาม 3 ข้อ) ผลส�ำรวจพบว่า ผู้ ข อเอาประกันภัยทราบ
120
40
43
CEO Insurance Forum 2019
15 อื่นๆ
0
0 รวม
ไมควร
สรุปภาพรวมได้วา่ ควรมีบริการเรื่องระบบบริการสินไหมทดแทนเป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์ ทีเ่ ป็นมาตรฐานเดียวกัน
และควรมีระบบให้ผู้เอาประกันภัยติดตาม ตรวจสอบ ความคุ้มครอง การเรียกร้อง ค่าสินไหมทดแทนได้ด้วยตนเอง
40 20 0
31
22 8
ประกันว�นาศภัย
20
7
1
ประกันช�ว�ต
คปภ. ควร
ไมควร
13 อื่นๆ
18 2 รวม
44
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
CEO Insurance Forum 2019
(11) ผู้ ต อบแบบสอบถามร้ อ ยละ 62.5 มี ค วามเห็ น ว่ า บริ ษั ท ประกั น ชี วิ ต ควรขายสั ญ ญาประกั น สุ ข ภาพ
เป็นกรมธรรม์หลักเช่นเดียวกับบริษัทประกันวินาศภัย
120 100
65
80 60
39
40
19 20
20 0
ประกันว�นาศภัย
22
16
7 ประกันช�ว�ต
คปภ. ควร
5
8
7 อื่นๆ
รวม
ไมควร
สรุปภาพรวมแล้ว เห็นควรให้บริษัทเปิดเผยข้อมูลการรับประกันสุขภาพในภาพรวมของบริษัท ส่วนการเปิดเผย
ค่าคอมมิชชั่น และการให้สัญญาประกั นสุขภาพควรให้บริษัทประกั นชีวิตขายเป็นกรมธรรม์หลั กเช่นเดี ยวกั บบริษัท ประกันวินาศภัย เห็นว่าเป็นประโยชน์กบ ั ประชาชน แต่ยงั มีขอ ้ กังวลใจในเรื่องข้อกฎหมาย และผลกระทบของการเปิดเผย ค่าคอมมิชชั่น
นอกจากนี้ ผู้ ต อบแบบสอบถามได้ ใ ห้ ข้ อ คิ ด เห็ น และข้ อ เสนอแนะอื่ นๆ อาทิ ควรให้ บ ริ ษั ท สามารถก� ำ กั บ
ดูแลตนเองได้ เปิดให้บริษัทประกันภัยได้แข่งขันกันอย่างเสรี โดยต้องมีกติกาการแข่งขันอย่างเป็นธรรม ให้มก ี ารเปิดเสรี ค่ า คอมมิชชั่น เป็นต้น
ข้อเสนอแนะทีไ่ ด้จากการประชุม
1. การจัดท�ำคู่มือประกอบการพิจารณา เพื่อก�ำหนดแนวทางปฏิบัติในเรื่องการพิจารณารับประกันภัย และ
การจ่ายสินไหมทดแทนในมีวิธีปฏิบัติท่ีเป็นแนวทางเดียวกัน
2. การจั ด ท� ำ ฐานข้ อ มู ล การประกั น สุ ข ภาพ ทุ ก บริ ษั ท ควรมี รู ป แบบการจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ระบบเดี ย วกั น
และเพื่ อเป็ น การลดต้ น ทุ น ในการพั ฒ นาระบบบริ ษั ท ประกั น ภั ย โดยอาจร่ ว มมื อ กั น จั ด ท� ำ ระบบฐานข้ อ มู ล สถิ ติ การประกั น สุ ข ภาพ (ตั้ ง เป็ น คณะท� ำ งานร่ ว มกั น ) โดยการส่ ง ข้ อ มู ล การประกั น สุ ข ภาพ ไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งก� ำ หนดให้ ส่ ง รายละเอี ย ดที่ เ ชื่ อ มโยงไปถึ ง ข้ อ มู ล ส่ ว นบุ ค คล เช่น เลขที่ ก รมธรรม์ ชื่ อ นามสกุ ล ผู้ เ อาประกั น ภั ย เพื่ อ ลดข้ อ กั ง วล ของบริษัทในการยินยอมให้เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของผู้เอาประกันภัย
3. การจั ด ตั้ ง ที ม แพทย์ ท่ี ป รึ ก ษาซึ่ ง มี ค วามเป็ น กลาง เพื่ อให้ ข้ อ คิ ด เห็ น กรณี มี ข้ อ พิ พ าทระหว่ า งบริ ษั ท
ประกั นภัย โรงพยาบาล และผู้เอาประกันภัย เช่นการตีความเรื่องความจ�ำเป็นทางการแพทย์ มาตรฐานทางการแพทย์
4. พัฒนารูปแบบสัญญาประกันสุขภาพเฉพาะ แบบที่ไม่มีการก�ำหนดเงื่อนไข pre-existing / waiting period
เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนที่มีปัญหาสุขภาพบางส่วน สามารถเข้าถึงการประกันสุขภาพได้
5. ศึกษาแนวทางการจัดท�ำกฎหมายโดยเฉพาะเกี่ยวกับประกันสุขภาพ เพื่อให้ประกันสุขภาพทั้งในส่วนของ
การประกันชีวิตและในส่วนของการประกันวินาศภัยมีมาตรฐานเดียวกัน โดยกฎหมายนี้ควรจะมีบทบาททั้งในเชิงก� ำ กั บ
และส่ง เสริมการประกันสุขภาพให้เจริญก้าวหน้า
45
๒
46
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
คำสั่งสำนักงำนคณะกรรมกำรกำกับและส่งเสริมกำรประกอบธุรกิจประกันภัย ที่ 36 /๒๕62 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงำนพัฒนำและปรับปรุงสัญญำประกันภัยสุขภำพ ............................................... ด้วยปัจจุบันเทคโนโลยีทางการแพทย์มีความเจริญก้าวหน้าเป็นอย่างมาก หลายสิ่งหลายอย่าง สามารถ นามาพัฒนา และสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อเอื้อประโยชน์ให้แก่แพทย์ และผู้ป่วยได้มากขึ้น แต่กระนั้น วิวัฒนาการของการเกิดโรคภัยใหม่ๆ ก็เป็นสิ่งที่ท้าทายทฤษฎีการแพทย์ในปัจจุบัน บริษัทประกันภัยในฐานะ ผู้รับประกันความเสี่ยงภัยในเรื่องค่ารักษาพยาบาล จาเป็นต้องพัฒนาระบบประกันสุขภาพเอกชน ให้มสี อดคล้องกับ วิวัฒนาการทางการแพทย์ที่เปลี่ยนแปลงไป และเหมาะสมกับความต้องการของประชาชน ซึง่ ในปี 2558 -2559 สานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยได้มี โครงการศึกษาวิจัยพัฒนาระบบประกัน สุขภาพ เพื่อประเมินสถานการณ์การประกันสุขภาพเอกชนในประเทศไทยในปัจจุบัน โดยได้ว่าจ้างสานักวิจัยเพื่อการ พัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.) ให้ดาเนินการศึกษาวิจัย และส่วนหนึ่งตามข้อเสนอแนะของโครงการวิจัยฯ คือ การพัฒนาระบบประกันสุขภาพเอกชนที่เหมาะสมกับความต้องการของประชาชน และต้องสอดคล้องกับระบบ ประกันสุขภาพโดยรวมของประเทศไทย เพื่อให้บริษัทประกันภัยในประเทศไทย มีสัญญาประกันภัยสุขภาพมาตรฐาน รวมทั้งเพื่อกาหนดให้มี แนวปฏิบัติเกี่ยวกับสัญญาประกันสุขภาพที่เป็นแนวทางเดียวกัน เลขาธิการจึงมีคาสั่งแต่งตั้งคณะทางานพัฒนาและ ปรับปรุงสัญญาประกันภัยสุขภาพ โดยมีองค์ประกอบและอานาจหน้าที่ ดังนี้ องค์ประกอบ 1. เลขาธิการ คปภ. 2. รองเลขาธิการด้านกากับ 3. ผู้ช่วยเลขาธิการ สายกากับผลิตภัณฑ์ประกันภัย 4. ผู้ช่วยเลขาธิการ สายกฎหมายและคดี 5. ผู้ช่วยเลขาธิการ สายคุ้มครองสิทธิประโยชน์ ๖. ผูอํานวยการฝายอาวุโส ฝายนโยบายและพัฒนาผลิตภัณฑประกันภัย ๗. ผูอํานวยการกลุมงานกํากับผลิตภัณฑประกันภัย ๘. ผูอํานวยการกลุมงานกํากับผลิตภัณฑประกันชีวิต ๙. รองศาสตราจารย นายแพทยนิพิฐ พิรเวช แพทยนักวิจัยโครงการศึกษาวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบประกันภัยสุขภาพ ๑๐. รองศาสตราจารย ดร.สุวาณี สุรเสียงสังข นักวิจัยโครงการศึกษาวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบประกันภัยสุขภาพ ๑๑. นายแพทยธรธเนศ อายานะ แพทยผูเชี่ยวชาญประกันสุขภาพ ๑๒. นายอริญชย รุงศรีสวัสดิ์ ผูเชี่ยวชาญประกันสุขภาพ ๑๓. นายศิริวัฒน ศิริเกตุ ประธานคณะอนุกรรมการสินไหมประกันชีวิต สมาคมประกันชีวิตไทย ๑๔. นางมณียา โสมะเกษตริน รองประธานคณะอนุกรรมการสินไหมประกันชีวิต สมาคมประกันชีวิตไทย
ที่ปรึกษา ประธานคณะทางาน รองประธานคณะทางาน คณะทางาน คณะทางาน คณะทางาน คณะทางาน คณะทางาน คณะทางาน คณะทางาน คณะทางาน
CEO Insurance 15. นางศิForum ริกร โรจน์2019 วิบูลย์ชัย คณะทางาน รองประธานคณะอนุกรรมการคณิตศาสตร์ประกันภัย สมาคมประกันชีวิตไทย 16. นายจรุง เชื้อจินดา คณะทางาน ผู้ช่วยผู้อานวยการ สมาคมประกันชีวิตไทย 17. นายพนัส สุขเจริญ คณะทางาน รองประธานคณะกรรมการประกันภัยอุบัติเหตุและสุขภาพ สมาคมประกันวินาศภัยไทย 18. นางสาวนภา ตรีรัตนาวงศ์ คณะทางาน ที่ปรึกษาคณะกรรมการประกันภัยอุบัติเหตุและสุขภาพ สมาคมประกันวินาศภัยไทย 19. นางอุสาห์ จันทร์งาม คณะทางาน ที่ปรึกษาคณะกรรมการประกันภัยอุบัติเหตุและสุขภาพ สมาคมประกันวินาศภัยไทย คณะทางาน 20. นางสาวกัลยา จุกหอม ผู้ช่วยผู้อานวยการบริหาร สายงานวิชาการ สมาคมประกันวินาศภัยไทย 21. นางสาวลลิษา ภัทรแสงไทย คณะทางาน ผู้เชี่ยวชาญรักษาการในตาแหน่ง หัวหน้ากลุ่มกฎหมายด้านพฤติกรรมทางการตลาด คณะทางานและ 22. นางสาวดาเนตร วันทนีย์ หัวหน้ากลุ่มพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัย เลขานุการ 23. นางปรียานุช จีระศิลป์ คณะทางานและ ผู้เชี่ยวชาญรักษาการในตาแหน่ง ผู้ช่วยเลขานุการ หัวหน้ากลุ่มนโยบายการกากับผลิตภัณฑ์ประกันภัย อำนำจหน้ำที่ ๑. พิจารณาจัดทาแบบและข้อความสัญญาประกันภัยสุขภาพมาตรฐานที่ได้ปรับปรุงให้สอดคล้องกับ วิวัฒนาการทางแพทย์ที่เปลี่ยนแปลงไป และสามารถรองรับแผนปฏิรูประบบสาธารณสุขของ ประเทศไทย ๒. พิจารณาจัดทาคู่มือแนวปฏิบัติ เพื่อใช้ประกอบกับสัญญาประกันสุขภาพมาตรฐาน ในการสร้าง ความเข้าใจที่ถูกต้อง และกาหนดแนวทางปฏิบัติในการรับประกันสุขภาพที่เป็นแนวทางเดียวกัน ๓. แต่งตั้งคณะทำงำนย่อยเพื่อช่วยเหลือและสนับสนุนกำรดำเนินกำรใดๆ ตำมกรอบอำนำจหน้ำที่ ตำมสมควร 4. ดาเนินการอื่นใดตามที่เลขาธิการคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย มอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
สั่ง ณ วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. ๒๕62
คณะทางาน คณะทางาน คณะทางาน
(นายสุทธิพล ทวีชัยการ) เลขาธิการ คณะกรรมกำรกำกับและส่งเสริมกำรประกอบธุรกิจประกันภัย
47
48
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
๙.
๑๐. ๑๑. ๑๒.
คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส2งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ที่ ๗๑/๒๕๖๒ เรื่อง แต2งตั้งคณะทำงานย2อยปรับปรุงสัญญาประกันภัยสุขภาพ ...............................................
๑๓.
ด"วยคณะทำงานพัฒนาและปรับปรุงสัญญาประกันภัยสุขภาพมีมติในการประชุม ครั้งที่ ๑/๒๕๖๒ เมื่อวันที่ ๕ กุมภาพันธM พ.ศ. ๒๕๖๒ ให"จัดตั้งคณะทำงานยRอย เพื่อให"การดำเนินงานของคณะทำงานพัฒนาและ ปรับปรุงสัญญาประกันภัยสุขภาพเปSนไปอยRางมีประสิทธิภาพและบรรลุประสิทธิผล เลขาธิการจึงมีคำสั่งแตRงตั้ง คณะทำงานยRอย โดยมีองคMประกอบและอำนาจหน"าที่ ดังนี้ องคKประกอบ ๑. รองเลขาธิการด"านกำกับ ๒. รองศาสตราจารยM นายแพทยMนิพิฐ พิรเวช แพทยMนักวิจัยโครงการศึกษาวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบประกันภัยสุขภาพ ๓. นายไพบูลยM เป\]ยมเมตตา ผู"อำนวยการฝ_าย อาวุโสฝ_ายนโยบายและพัฒนาผลิตภัณฑMประกันภัย ๔. นายศิริวัฒนM ศิริเกตุ ประธานคณะอนุกรรมการสินไหมประกันชีวิต สมาคมประกันชีวิตไทย ๕. นางมณียา โสมะเกษตริน รองประธานคณะอนุกรรมการสินไหมประกันชีวิต สมาคมประกันชีวิตไทย ๖. นายสุรศักดิ์ กลิ่นศรีสุข อนุกรรมการพิจารณารับประกันภัย สมาคมประกันชีวิตไทย ๗. นายพนัส สุขเจริญ รองประธานคณะกรรมการประกันภัยอุบัติเหตุและสุขภาพ สมาคมประกันวินาศภัยไทย ๘. นางสาวกัลยา จุกหอม ผู"ชRวยผู"อำนวยการบริหาร สายงานวิชาการ สมาคมประกันวินาศภัยไทย
ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ประธานคณะทำงาน คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
นางสาวศิวพร ผึ่งผาย
CEO Insurance Forum ผู"ชRวยผู2019 "อำนวยการฝ_ายพัฒนาผลิตภัณฑM
๑๔. ๑๕.
๑๖. ๑๗. ๑๘.
บริษัท ไทยรับประกันภัยตRอ จำกัด (มหาชน) นางสาวดาเนตร วันทนียM หัวหน"ากลุRมพัฒนาผลิตภัณฑMประกันภัย นางสาวพีรMภัสสร นาคสุข ผู"เชีย่ วชาญกลุRมกำกับผลิตภัณฑMประกันวินาศภัยสำหรับอุตสาหกรรม นางสาวเสาวนียM เหลืองระลึก ผู"เชี่ยวชาญกลุRมกำกับผลิตภัณฑMประกันวินาศภัยสำหรับบุคคล นางสาวลลิษา ภัทรแสงไทย ผู"เชี่ยวชาญรักษาการในตำแหนRง หัวหน"ากลุRมกฎหมายด"านพฤติกรรมทางการตลาด นางสาวณัฐวรรณ จันทรMแสงเพ็ชรM เจ"าหน"าที่อาวุโสกลุRมกำกับผลิตภัณฑMประกันชีวิต ๒ นางปรียานุช จีระศิลปl ผู"เชี่ยวชาญรักษาการในตำแหนRง หัวหน"ากลุRมนโยบายการกำกับผลิตภัณฑMประกันภัย นางสาวศุภลักษณM สุขะกูล ผู"เชี่ยวชาญกลุRมนโยบายกำกับผลิตภัณฑMประกันภัย นายจักริน มหัทธนะสมบูรณM เจ"าหน"าที่กลุRมกำกับผลิตภัณฑMประกันภัย นางสาวณภาภัช วุฒิพีรพร เจ"าหน"าที่กลุRมนโยบายการกำกับผลิตภัณฑMประกันภัย
คณะทำงาน
คณะทำงาน คณะทำงาน คณะทำงาน คณะทำงาน
คณะทำงาน คณะทำงานและ เลขานุการ ผู"ชRวยเลขานุการ ผู"ชRวยเลขานุการ ผู"ชRวยเลขานุการ
49
50
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
อำนาจหนMาที่ ๑. พิ จารณารายละเอี ยด เสนอความเห็ น และข" อ เสนอแนะแบบและข" อ ความสั ญ ญาประกั น ภั ย สุขภาพมาตรฐานที่คณะทำงานพัฒนาปรับปรุงสัญญาประกันภัยสุขภาพได"ปรับปรุงให"สอดคล"องกับวิวัฒนาการทาง การแพทยMที่เปลี่ยนแปลงไป สามารถรองรับนโยบายภาครัฐในเรื่องการประกันภัยสุขภาพ และแผนปฏิรูประบบ สาธารณสุขของประเทศไทย ๒. ศึกษา รวบรวม วางแผน วิเคราะหMแนวทางการจัดเก็บข"อมูลสถิติการประกันภัย สุขภาพเพื่อ ประกอบการพิจารณาปรับปรุงอัตราเบี้ยประกันภัยสุขภาพมาตรฐาน ๓. นำเสนอผลการดำเนินการตามข"อ ๑. - ๒. ตRอคณะทำงานพัฒนาปรับปรุงสัญญาประกันภัยสุขภาพ ๔. ดำเนินการอื่นใดตามที่เลขาธิการคณะกรรมการกำกับและสRงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย หรือคณะทำงานพัฒนาปรับปรุงสัญญาประกันภัยสุขภาพมอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแตRบัดนี้เปSนต"นไป สั่ง ณ วันที่ ๑๒ กุมภาพันธM พ.ศ. ๒๕๖๒
(นายสุทธิพล ทวีชัยการ) เลขาธิการ คณะกรรมการกำกับและสRงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
51
CEO Insurance Forum 2019
คำสั่งสำนักงำนคณะกรรมกำรกำกับและส่งเสริมกำรประกอบธุรกิจประกันภัย ที่ 114 /๒๕62 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงำนพัฒนำและปรับปรุงสัญญำประกันภัยสุขภำพ (เพิ่มเติม) ------------------------------------ตามที่สานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ได้มีคาสั่ง ที่ 36/2562 ลงวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2562 เรื่อง แต่งตั้งคณะทางานพัฒนาและปรับปรุงสัญญา ประกันภัยสุขภาพ นั้น เพื่อให้การพัฒนาและปรับปรุงสัญญาประกันภัยสุขภาพ มีความรอบคอบครบถ้วน และมี แนวความคิดเห็นจากมุมมองของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง อันจะส่งผลในการพิจารณาของคณะทางานมีความ สมบูรณ์ครบถ้วนมากยิ่งขึ้น เลขาธิการจึงมีคาสั่งแต่งตั้งคณะทางานเพิ่มเติม ประกอบด้วย 1. ผู้แทนจาก กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ คณะทางาน 2. ผู้แทนจาก สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค คณะทางาน 3. นายแพทย์ถาวร สกุลพาณิชย์ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข คณะทางาน ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. ๒๕62
(นายสุทธิพล ทวีชัยการ) เลขาธิการ คณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
กลุ่มย่อยที่ 2
กรอบแนวทางการด�ำเนินการ
ในการป้องปรามการฉ้อฉล ในการประกันสุขภาพ
54
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
CEO Insurance Forum 2019
1. ก� ำ หนดให้ บ ริ ษั ท ด� ำ เนิ น การจั ด ท� ำ “นโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นการฉ้ อ ฉล” ที่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง
กระบวนการและมาตรการในการบริหารความเสี่ยงด้านการฉ้อฉลเป็นลายลักษณ์อักษร พร้อมทั้งสื่อสารสาระส�ำคัญ ของนโยบายฯ ให้ทุกหน่วยงานทราบและน�ำไปปฏิบัติอย่างเคร่งครัด
2. ก�ำหนดให้บริษท ั จัดท�ำจรรยาบรรณของพนักงาน และสร้างวัฒนธรรมองค์กรทีเ่ น้นจริยธรรมและความซื่อสัตย์
โดยบริษัทต้องจัดอบรมพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความเสี่ยง ด้านการฉ้อฉลที่อาจเกิดขึ้น
3. ก�ำหนดให้บริษัทต้องด�ำเนินการตามกระบวนการบริหารความเสี่ยง ดังนี้
(1) บริษัทต้องระบุเหตุการณ์และแหล่งทีม ่ าของความเสีย ่ งด้านการฉ้อฉลภายในและการฉ้อฉลภายนอก
(2) บริษัทต้องก�ำหนดวิธีการวิเคราะห์และด�ำเนินการประเมินความเสี่ยงด้านการฉ้อฉล
(3) บริษัทต้องมีการจัดการความเสี่ยงด้านการฉ้อฉล โดยด�ำเนินมาตรการเพื่อยับยั้ง ป้องกัน ตรวจหา
รายงาน จัดการ และเยียวยาความเสียหายจากการฉ้อฉล ตามที่ก�ำหนด
(4) บริษัทต้องมีการควบคุม ติดตาม และประเมินผลการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านการฉ้อฉล
(5) บริษัทต้องจัดท�ำสรุ ปรายงานการปฏิบัติตามมาตรการบริหารความเสี่ยงด้านการฉ้อฉลเสนอต่อ
คณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
กลุ่มย่อยที่ 2
กรอบแนวทางการด�ำเนินการในการป้องปราม การฉ้อฉลในการประกันสุขภาพ ทีม ่ า/หลักการและเหตุผล
เนื่องด้วยมาตรฐานการก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัย (Insurance Core Principles: ICPs) ที่ก�ำหนดโดยสมาคม
4. บริษัทต้องจัดท�ำหลักเกณฑ์และวิธีการในการแจ้งเบาะแสการฉ้อฉลและแนวทางการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส
5. บริษัทต้ องก� ำหนดผู้มีหน้าที่ รับผิดชอบเพื่อด� ำเนินการสืบสวนสอบสวน และรายงานผลการด� ำเนินการ
ดั งกล่าวแก่คณะกรรมการตรวจสอบทราบ
6. บริษัทต้องจัดท�ำฐานข้อมูลเกี่ยวกับการฉ้อฉลทั้งภายในและภายนอก เพื่อประโยชน์ในการติดตามการฉ้อฉล
และเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านการฉ้อฉลของบริษัท
ผูก ้ �ำกับดูแลธุรกิจประกันภัยนานาชาติ (International Association of Insurance Supervisors: IAIS) ข้อ 21 การต่อต้าน การฉ้ อ ฉลในธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย ก� ำ หนดให้ ห น่ ว ยงานก� ำ กั บ ดู แ ลมี ห น้ า ที่ ก� ำ กั บ ดู แ ล ให้ บ ริ ษั ท ประกั น ภั ย และคนกลาง ประกันภัยมีมาตรการที่มีประสิทธิภาพในการยับยั้ง ป้องกัน ตรวจหา รายงาน และแก้ไขการฉ้อฉลประกันภัย โดยบริษัท
ประกันภัยและคนกลางประกันภัยจะต้องมีความรูแ ้ ละความเข้าใจเกีย ่ วกับความเสีย ่ งในธุรกิจประกันภัย และมีกระบวนการ ในการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในที่ผู้บริหารต้องเป็นผู้รับผิดชอบ
เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลดังกล่าว ส�ำนักงาน คปภ. ได้มก ี ารปรับปรุงกฎหมายแม่บทว่าด้วยการประกันภัย
ได้แก่ พระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ให้ครอบคลุมถึงกระบวนการลงโทษการกระท�ำที่เข้าข่ายเป็นการฉ้อฉลประกันภัย ซึ่งประกอบด้วย
การหลอกลวงผู้อ่ ืนเพื่อให้มีการท�ำประกันภัย การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเป็นเท็จ และการให้ เรียก รับทรัพย์สิน เพื่อให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ซึ่งร่างพระราชบัญญัติท้ังสองฉบับได้ผ่านความเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2562 และสภานิติบัญญัติแห่งชาติเห็นสมควรประกาศใช้เป็นกฎหมายแล้ว ซึ่งคาดว่าจะมีผลใช้ บังคั บ ภายในปี 2562 นี้ นอกจากนี้ ส�ำนักงาน คปภ. ได้ ออกประกาศ คปภ. ว่ า ด้ วยการก� ำหนดมาตรฐานขั้น ต่� ำ ใน การบริหารจัดการความเสีย ่ งของบริษัทประกันภัยในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการฉ้อฉลประกันภัย ซึง่ มีสาระส�ำคัญ ดังต่อไปนี้
ส� ำ หรั บ การประชุ ม ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ด้ า นการ
ประกันภัย ประจ�ำปี 2562 นี้ ส�ำนักงาน คปภ. เห็นว่า ควรมี การหารื อ เกี่ ย วกั บ การต่ อ ต้ า นการฉ้ อ ฉลในธุ ร กิ จ ประกั น สุ ข ภาพ เนื่ องจากโครงสร้ า งประชากรของประเทศไทย มี สัดส่วนโครงสร้างผู้สูงอายุมากขึ้น ท�ำให้หน่วยงานภาครัฐ ต่ า งตระหนั ก และเตรี ย มแผนการด� ำ เนิ น การที่ จ ะรองรั บ ภาระค่ าใช้ จ่ ายในการรั ก ษาพยาบาลที่ จะเพิ่ ม สู ง ขึ้ น
โดยภาระค่ า ใช้ จ่ า ยดั ง กล่ า วนี้ มี ผ ลกระทบทั้ ง ในส่ ว นของ
ประชาชนเอง และรัฐบาลที่ต้องรับผิดชอบ โดยรัฐบาลได้มี การด� ำ เนิ น การเพื่ อ ควบคุ ม ต้ น ทุ น ของการรั ก ษาพยาบาล ผ่ า นมาตรการต่ า งๆ เช่ น การควบคุ ม ให้ ส ถานพยาบาล ต้ อ งแสดงรายละเอี ย ดประเภทการรั ก ษาพยาบาล ยา
55
56
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
CEO Insurance Forum 2019
และเวชภั ณฑ์ รวมถึ ง การก� ำ หนดให้ สิ น ค้ า ประเภทยาและ เวชภัณฑ์เป็นสินค้าควบคุม เป็นต้น การประกันสุขภาพจึงเข้า มามีส่วนช่ ว ยในการลดภาระค่ า ใช้ จ่ า ยของประชาชนและ รั ฐ บาล เมื่ อประชาชนใช้ ก ารประกั น สุ ข ภาพในการบริ ห าร ความเสี่ ย งเกี่ ย วกั บ ภาระค่ า ใช้ จ่ า ยในการรั ก ษาพยาบาล เพิ่ ม มากขึ้น ธุ รกิ จเกี่ ยวกั บการประกั นสุขภาพจึ งมีแนวโน้ม
ขยายตั ว เพิ่ ม มากขึ้ น ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ความเสี่ ย งเกี่ ย วกั บ การ ฉ้อฉลประกั นสุขภาพเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย ท�ำให้ต้นทุนค่า
เบี้ยประกันภัยเพิ่มขึ้นเกิ น ความเป็ น จริ ง และส่ ง ผลกระทบ ต่ อ ประชาชนที่ เ ป็ น ผู้ เ อาประกั น ภั ย ที่ จ ะต้ อ งเป็ น ผู้ รั บ ภาระ ค่ า เบี้ ย ประกั น ภั ย ที่ เพิ่มขึ้นในที่สุด
การจั ด ประชุ ม ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ด้ า นการประกั น ภั ย ภายใต้ หั ว ข้ อ “กรอบแนวทางการด� ำ เนิ น การในการ
ป้ อ งปรามการฉ้อฉลในการประกั นสุขภาพ” ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อหารือเกี่ ยวกั บพฤติ กรรมที่ มีลักษณะเป็นการ ฉ้อฉลประกั นสุขภาพ ก� ำหนดแนวทางในการด� ำเนินการเพื่อป้องปรามไม่ให้เกิ ดการกระท� ำ ที่ เป็นการฉ้อฉลประกั น สุขภาพ รวมถึงแนวทางในการด�ำเนินการหากมีการกระท�ำที่เป็นการฉ้อฉลประกันสุขภาพเกิดขึ้น โดยการหารือในครั้งนี้
จะน�ำผลการหารือจากการประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภั ย ประจ� ำปี 2560 เมื่อวั นที่ 19 เมษายน 2560 ในหั ว ข้ อ “การพั ฒ นากฎหมายการควบคุ ม และการบริ ห ารความเสี่ ย งเกี่ ย วกั บ การฉ้ อ ฉลประกั น ภั ย ในยุ ค ดิ จิ ทั ล ” ซึ่ งมีการก�ำหนดบทบาทหน้าที่ของส�ำนักงาน คปภ. และบริษัทประกันภัยในการเพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมาย
มาประกอบการหารือในครั้งนี้ โดยส�ำนักงาน คปภ. จะด�ำเนินการรวบรวมตัวอย่างพฤติกรรมที่มีลักษณะเป็นการฉ้อฉล ประกันสุขภาพ เพื่อเป็นข้อมูลในการเผยแพร่ความรูแ ้ ก่ผท ู้ ่ีเกี่ยวข้องและประชาชน และใช้เป็นแนวทางในการป้องปราม ผู้ท่ีจะกระท�ำความผิดในเรื่องดังกล่าว รวมทั้งมีการจัดท�ำคู่มือส�ำหรับประชาชนในเรื่องการฉ้อฉลประกันสุขภาพ
ข้อสรุปและข้อเสนอแนะทีไ่ ด้จากการประชุม
1. บทบาทของส�ำนักงาน คปภ. และภาคธุรกิจประกันภัย ในการด�ำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการประกันภัย
เมื่อพบการกระท�ำทีเ่ ข้าข่ายการฉ้อฉลในการประกันสุขภาพ สามารถแยกออกเป็น 2 กรณี ได้แก่
1.1 ในกรณีท่ป ี ระชาชนทั่วไปที่ถก ู หลอกลวงให้มก ี ารท�ำประกันภัย แต่ท้ายที่สด ุ ไม่ได้มก ี ารท�ำประกันภัย
ส�ำหรับบริษัทประกันภัย นอกจากจะด�ำเนินการตามมาตรฐานขั้นต่�ำที่บริษัทต้องจัดให้มี เพื่อป้องกันปรามปราม
และถูกหลอกเอาไปซึ่งทรัพย์สิน เมื่อส�ำนักงาน คปภ. ได้รับการร้องเรียนหรือแจ้งเหตุดังกล่าวจากประชาชนหรือบริษัท
ของบริษัทประกันภัยในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการฉ้อฉลแล้ว จะด�ำเนินการจัดท�ำคู่มือในการปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับ
เอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้อง และส�ำนักงาน คปภ. จะเป็นผู้ด�ำเนินการกับผู้กระท�ำความผิด โดยร่วมกับเจ้าหน้าที่
และแก้ไขการฉ้อฉลประกันสุขภาพตามประกาศ คปภ. ว่าด้วยการก�ำหนดมาตรฐานขัน ่ ง ้ ต่�ำในการบริหารจัดการความเสีย
ประกั นภั ย ส�ำนักงาน คปภ. จะมีการขอการสนับสนุนข้อมูลจากบริษัทประกั นภั ยในกรณีท่ี บริษัทประกั นภั ยมีข้อมูล
การฉ้อฉลประกันสุขภาพด้วย
ต�ำรวจและพนักงานสอบสวนในการด�ำเนินคดีต่อไป
นอกจากนี้ เพื่อเป็นการยกระดับแนวทางการป้องปรามการฉ้อฉลประกันสุขภาพสู่อนาคตที่ย่ังยืน ส�ำนักงาน
คปภ. และภาคธุ รกิ จประกั นภั ย เห็นควรจั ดให้มีศูนย์กลางข้อมูลด้ า นการฉ้อฉลประกั นสุขภาพ เพื่ อเป็นศูนย์ ก ลาง
ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานก�ำกับดูแลและภาคธุรกิจ รวมถึงการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างภาคธุ ร กิ จ ด้วยกันเอง ซึ่งจะท�ำให้ธุรกิจประกันภัยสามารถป้องปรามการฉ้อฉลได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
อนึ่ ง เพื่ อ เป็ น การส่ ง เสริ ม และยกระดั บ การประกั น สุ ข ภาพ ให้ ป ระชาชนได้ รั บ ความคุ้ ม ครองในการรั ก ษา
1.2 ในกรณีท่ีผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ฉ้อฉลประกันสุขภาพ หรือกรณีมีการเรียก/ให้สินบน
เพื่อให้มีการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์ประกันสุขภาพ
เมื่อบริษัทประกันภัยตรวจพบเหตุท่ีเกิดขึ้น บริษัทประกันภัยมีหน้าที่ต้องด�ำเนินการในฐานะผู้เสียหาย และ
แจ้ ง ข้ อ มู ล ให้ ส� ำ นั ก งาน คปภ. ทราบ เพื่ อ ด� ำ เนิ น คดี ร่ ว มกั บ บริ ษั ท โดยแจ้ ง รายละเอี ย ดการด� ำ เนิ น การของบริ ษั ท ด�ำเนินการรวบรวมพยานหลักฐานเกี่ยวกับเรื่องที่เกิดขึ้น และในขณะเดียวกันส�ำนักงาน คปภ. ก็จะด�ำเนินการตรวจสอบ ข้อมูลจากฐานข้อมูล Fraud Database รวมถึ งประสานข้อมูลกั บบริษัทประกั นภั ยอื่ นๆ เพื่อหาความเชื่อมโยงของ
พยาบาลอย่า งมี คุ ณ ภาพ เท่ า เที ย ม และทั่ ว ถึ ง รวมทั้ ง เป็ น การลดใช้ ค่ า จ่ า ยเกี่ ย วกั บ การรั ก ษาพยาบาลของภาครั ฐ
พฤติกรรม ในกรณีท่ีอาจเข้าข่ายเป็นการด�ำเนินการในรู ปกลุ่มบุคคลและมีความเกี่ยวเนื่องกับหลายบริษัทประกันภัย
สูอ ่ นาคตอย่างยั่งยืน
หรือข้อเท็จจริงเพิ่มเติม
ส�ำนักงาน คปภ. และภาคธุรกิจประกันภัย เห็นควรให้มีการจัดท�ำกฎหมายเพื่อส่งเสริมและยกระดับการประกันสุขภาพ
ซึ่งจะด�ำเนินการคู่ขนานไปกับการรวบรวมพยานหลักฐานของบริษัทประกันภัย ซึ่งส�ำนักงาน คปภ. อาจมีการขอข้อมูล
57
58
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
CEO Insurance Forum 2019
2. จัดให้มศ ี ูนย์กลางข้อมูลการฉ้อฉลในการประกันสุขภาพ (Fraud Database)
ส�ำนักงาน คปภ. มีอ�ำนาจในการเก็บ ใช้ เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการฉ้อฉลประกันภัยต่อบริษัทประกันภั ยได้
ซึ่งในปัจจุ บันบริษัทประกั นภั ยได้ ด� ำเนินการท� ำสัญญาตั วแทนเป็นมาตรฐานเดี ยวกั น โดยก� ำหนดในสัญญาตั วแทน ให้บริษัทประกันภัยสามารถเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการฉ้อฉลประกันภัยของตัวแทนต่อบริษัทประกันภัยที่เป็นสมาชิก เพื่อให้บริษท ั สามารถตรวจสอบข้อมูลก่อนการพิจารณารับประกันภัยได้ ทัง้ นี้ ส�ำนักงาน คปภ. จะประสานงานกับหน่วยงาน
ที่ เกี่ ยวข้อง และอาศัยความร่วมมือจากสมาคมโรงพยาบาลเอกชน หรือสมาคมแพทย์ เพื่อควบคุมการกระท� ำของ บุคลากรในโรงพยาบาลที่มีสว ่ นเกี่ยวข้องกับการฉ้อฉลประกันภัยด้วย
นอกจากนี้ เพื่อเป็นการยกระดับแนวทางการป้องปรามการฉ้อฉลประกันสุขภาพสูอ ่ นาคตทีย ่ ง่ั ยืน ส�ำนักงาน คปภ.
และภาคธุรกิจประกันภัย เห็นควรจัดให้มศ ี น ู ย์กลางข้อมูลด้านการฉ้อฉลประกันสุขภาพเพื่อเป็นศูนย์กลางในการแลกเปลีย ่ น ข้อมูลระหว่างหน่วยงานก�ำกับดูแลและภาคธุรกิจประกันภัย รวมถึงการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างภาคธุรกิจประกันภัย กันเองด้วย โดยการจัดท�ำศูนย์กลางข้อมูลฯ จะเริม ่ จากการฉ้อฉลในการประกันสุขภาพก่อน และจะขยายขอบข่ายการเก็บ
รวบรวมข้อมูลไปยังการประกันภัยประเภทอื่ นๆ ภายหลัง โดยศูนย์กลางข้อมูลฯ ดังกล่าวจะไม่ได้จัดเก็บเพียงข้อมูล
ที่เป็นการฉ้อฉลที่เกิดขึ้นแล้วเท่านั้น แต่จะเป็นศูนย์กลางในการรวบรวมข้อมูลพฤติกรรม หรือเหตุการณ์ท่ีอาจเข้าข่าย หรือมีแนวโน้มทีจ ่ ะเป็นการฉ้อฉลประกันภัยด้วย ตัวอย่าง พฤติกรรมทีผ ่ เู้ อาประกันภัยมีการท�ำกรมธรรม์ประกันภัยประเภท
เดียวกันกับหลายบริษัท หรือการท�ำกรมธรรม์ประกันภัยที่มีวงเงินการจ่ายค่าสินไหมทดแทนที่ค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับ รายได้ของผูเ้ อาประกันภัย เป็นต้น โดยพฤติกรรมการฉ้อฉลในการประกันสุขภาพ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
1. การฉ้อฉลภายใน ได้แก่ การฉ้อฉลที่กระท�ำโดยพนักงานของบริษัทประกันภัย เช่น พนักงานขาย
หลอกลวงให้มีการช�ำระเบี้ยประกันสุขภาพเข้าบัญชีอ่ ืนที่ไม่ใช่บัญชีของบริษัท และไม่ด�ำเนินการให้มีการจัดท�ำสัญญา
ประกั น สุ ข ภาพเกิ ด ขึ้ น พนั ก งานบริ ษั ท ปลอมแปลงเอกสารในการใช้ สิ ท ธิ ต ามกรมธรรม์ แ ทนผู้ เ อาประกั น ภั ย โดยผู้ เ อาประกันภัยไม่ทราบ เป็นต้น
2. การฉ้อฉลภายนอก สามารถแบ่งกลุ่มบุคคลภายนอกที่อาจมีพฤติกรรมการฉ้อฉลได้ ดังนี้
2.1 การฉ้อฉลโดยผู้เอาประกั นภั ย/ผู้รับผลประโยชน์ เช่น ผู้เอาประกั นภั ยมีเจตนาท� ำให้
ตนเองเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บ เพื่อเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล โดยหวังค่าชดเชยรายวัน ผูเ้ อาประกันภัยปลอมแปลง เอกสารเพื่อเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน เป็นต้น
2.2 การฉ้ อ ฉลโดยตั ว แทน/นายหน้ า เช่น มี ก ารเก็ บเบี้ ย ประกั น ภั ยแล้ ว ไม่น� ำ ส่ง ให้ บ ริ ษั ท
ออกหลักฐานการเก็บเบี้ยแต่บริษัทไม่ได้ออกกรมธรรม์ประกันภัยให้ ปลอมแปลงลายมือชื่อในใบค�ำขอเอาประกันภัย ให้ข้อมูลของผู้เอาประกันภัยอันเป็นเท็จในกระบวนการสมัครขอเอาประกันภัย เป็นต้น
2.3 การฉ้ อ ฉลโดยกลุ่ ม บุ ค คล เช่ น นายทุ น น� ำ เอกสารของผู้ ท่ี เ สี ย ชี วิ ต ไปแล้ ว มาขอเอา
ประกันภัย นายทุนจัดท�ำประกันภัยและช�ำระเบี้ยประกันภัยให้กับผู้เอาประกันภัยที่มีปัญหาสุขภาพ และระบุให้นายทุน เป็นผู้รับผลประโยชน์ โดยไม่มีส่วนได้เสียกับผู้เอาประกันภัย เพื่อหวังเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน/ท�ำร้าย/เจตนาฆ่า เพื่อผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ และนายทุนท�ำประกันภัยให้ผู้เอาประกันภัยที่มีปัญหาเรื่องสุขภาพ เมื่อผู้เอาประกันภัย เสียชีวิต ผลประโยชน์ท่ีได้รับจะถูกแบ่งครึ่ง หรือจ่ายผลประโยชน์ให้ญาติผู้ตายตามที่ตกลง เป็นต้น
2.4 การฉ้อฉลโดยบุคลากรทางการแพทย์ เช่น ผู้เอาประกันภัยเจ็บป่วยหรือเกิดอุบัติเหตุจริง
แต่ร่วมมือกับเจ้าของสถานพยาบาลจัดท�ำใบเสร็จรับเงินและใบรับรองแพทย์หลายชุด จากนั้นมีการน�ำใบเสร็จรับเงิน และใบรับรองแพทย์ไปเบิกค่าใช้จ่ายยังบริษัทประกั นภั ยต่างๆ และผู้เอาประกั นภั ยเจ็ บป่วยหรือเกิ ดอุ บัติเหตุไม่จริง
มีการสมรูร้ ว ่ มคิดระหว่างบุคคลในสถานพยาบาล และผูเ้ อาประกันภัย โดยปลอมเอกสารของคนไข้รายอื่นมาด�ำเนินการ ปลอมลายมือแพทย์ และน�ำเอกสารที่ปลอมแปลงนั้นมาเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนกับบริษัทประกันภัย เป็นต้น
59
60
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
โดยข้อมูลส�ำหรับการจัดเก็บในศูนย์กลางข้อมูลฯ ประกอบด้วยข้อมูลขั้นต่�ำอย่างน้อย ดังนี้
1. รหัสบริษัทประกันภัย
2. รหัสตัวแทนประกันภัย/นายหน้าประกันภัย
3. เลขที่หนังสือเดินทาง/เลขประจ�ำตัวบัตรประชาชน/ใบต่างด้าว
4. ชื่อ – นามสกุล
5. สัญชาติ
6. เชื้อชาติ
7. วัน เดือน ปี เกิด
8. เพศ
9. รายได้ต่อปี
10. วันคุ้มครองตามกรมธรรม์
11. ประวัติการรักษา/ประวัติการเคลม
12. พฤติกรรมการฉ้อฉล
13. ประเภทของการฉ้อฉล
14. สถานะของการด�ำเนินการของบริษัท
15. มูลค่าความเสียหายจากการฉ้อฉล
จากที่ กล่ าวมาแล้ วข้างต้ น การจั ดท� ำศูนย์กลางข้อมูลการฉ้อฉลในการประกั นสุขภาพ (Fraud Database)
จะมี การเก็บรวบรวมข้อมูลที่เป็นการฉ้อฉล และพฤติกรรม หรือเหตุการณ์ท่ีอาจเข้าข่ายหรือมีแนวโน้มที่จะเป็นการ ฉ้อฉลในการประกันภัย โดยข้อมูลดังกล่าวจะสามารถน�ำมาใช้ด�ำเนินการในด้านต่างๆ ดังนี้
1. ใช้ ส� ำ หรั บ การรวบรวมข้ อ มู ล และด� ำ เนิ น คดี ร่ ว มกั น ระหว่ า งส� ำ นั ก งาน คปภ. และบริ ษั ท ประกั น ภั ย
โดยส�ำนักงาน คปภ. จะรวบรวมข้อมูลบุคคลและพฤติกรรมในการฉ้อฉลประกันภัยจากทุกบริษัทประกันภัย พร้อมทั้ง ร่วมด�ำเนินคดีกับบริษัทประกันภัยด้วย
2. ส�ำนักงาน คปภ. จะรวบรวมพฤติกรรม หรือเหตุการณ์ท่ีเข้าข่ายการฉ้อฉลประกันภัยจากทุกบริษัทประกันภัย
และเผยแพร่ข้อมูลพฤติกรรม หรือเหตุการณ์ดังกล่าว เพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันการฉ้อฉลประกันภัยในอนาคต
3. จากการรวบรวมพฤติกรรม หรือเหตุการณ์ท่ีอาจเข้าข่ายหรือมีแนวโน้มที่จะเป็นการฉ้อฉลในการประกันภัย
ในข้อ 2 ในอนาคตส�ำนักงาน คปภ. อาจน�ำพฤติกรรมดังกล่าวมาวิเคราะห์รว ่ มกับฐานข้อมูลกลางด้านการประกันสุขภาพ
CEO Insurance Forum 2019
(Insurance Bureau System ส�ำหรับการประกันสุขภาพ) เพื่อแสดงสัญญาณเตือนภัยเกี่ยวกับการฉ้อฉลในการประกัน สุขภาพของธุรกิจประกันภัยได้
4. ในอนาคตหากมีกฎหมายรองรับเกี่ยวกับการเผยแพร่ข้อมูลส่วนบุคคล (ส�ำหรับบุคคลที่มีพฤติกรรมฉ้อฉล
หรือเข้าข่าย หรือมีแนวโน้มที่จะฉ้อฉล) ส�ำนักงาน คปภ. อาจจัดท�ำระบบให้บริษัทประกันภัยสามารถเข้ามาตรวจสอบ รายละเอียดของบุคคลที่จะมาท�ำประกันภัยได้ โดยการตรวจสอบจะแจ้งรายละเอียดว่าบุคคลดังกล่าวเคยมีพฤติกรรม การฉ้อฉล หรือเข้าข่ายการฉ้อฉลประกันภัยหรือไม่
5. สืบเนื่องจากข้อ 4 หากมีกฎหมายรองรับเกี่ยวกับการเผยแพร่ข้อมูลส่วนบุคคล ส�ำนักงาน คปภ. จะสามารถ
แชร์ ข้ อ มู ล บุ ค คลที่ มี พ ฤติ ก รรมฉ้ อ ฉลดั ง กล่ า วไปยั ง ธุ ร กิ จ การเงิ น อื่ น (เช่ น ธนาคารแห่ ง ประเทศไทย (ธปท.) หรื อ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ (ส� ำ นั ก งาน ก.ล.ต.)) เพื่ อ เฝ้ า ระวั ง บุ ค คลดั ง กล่ า ว ในการฉ้อฉลในธุรกิจอื่นได้
อย่ า งไรก็ ดี ส� ำ นั ก งาน คปภ. และภาคธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย อาจต้ อ งพบปั ญ หาและอุ ป สรรคเกี่ ย วกั บ การเก็ บ
ใช้เปิดเผยข้อมูล เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการคุม ้ ครองข้อมูลส่วนบุคคล ซึง่ ก�ำลังจะมีผลบังคับใช้ในเวลาอันใกล้น้ี ส�ำนักงาน คปภ. จะมีการหารือกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป
้ 3. ในประเด็นสุดท้าย ส�ำนักงาน คปภ. มีแนวคิดทีจ ่ ะก�ำหนดให้มก ี ฎหมายประกันสุขภาพเกิดขึน
ซึ่ ง ปั จ จุ บั น อยู่ ร ะหว่ า งการศึ ก ษากฎหมายประกั น สุ ข ภาพในต่ า งประเทศ เพื่ อ ใช้ เ ป็ น แนวทางในการออก
กฎหมายเพื่อส่งเสริม และยกระดับการประกันสุขภาพสูอ ่ นาคตอย่างยัง่ ยืน และจัดท�ำกฎหมายประกันสุขภาพที่เหมาะสม
กั บ บริ บ ทของประเทศไทยต่ อ ไป ทั้ ง นี้ จากการศึ ก ษาข้ อ มู ล ในชั้ น ต้ น สามารถแบ่ ง ระบบประกั น สุ ข ภาพออกเป็ น 2 แบบหลั กๆ คื อ ระบบประกั นสุขภาพภาครัฐ (Public Health Insurance) และระบบประกั นสุขภาพภาคเอกชน
(Private Health Insurance)
61
62
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
CEO Insurance Forum 2019
โครงการประกันสังคม (Social Security Scheme) การประกันสุขภาพแหงชาติ (National Health Insurance) สวัสดิการของการจางงาน (Employment Medical Benefits)
การประกันสุขภาพภาครัฐ
โดยทั่ ว ไปการประกั น สุ ข ภาพของภาครั ฐ (Public Health Insurance) สามารถแบ่ง ออกได้ เ ป็ น 3 ระบบ
ตามประเภทของผู้ท่ีเข้ามาเป็นสมาชิกในโครงการ ได้แก่
- การประกันสุขภาพแห่งชาติ (National Health Insurance) เป็นการประกันสุขภาพภาคบังคับ
ซึ่ ง ครอบคลุมประชากรส่วนใหญ่ท่ี มีถ่ิ นที่ อยู่ภายในประเทศ โดยรัฐหรือหน่วยงานที่ รัฐจั ดตั้ งขึ้นเป็นผู้บริหารระบบ ประกั นภั ยนี้ โครงการประกั นสุขภาพแห่งชาติ ในประเทศอั งกฤษ ประเทศออสเตรเลี ย ประเทศนิวซีแลนด์ ใช้ภาษี
เป็ น แหล่ ง เงิ น หลั ก ของการประกั น ภั ย ส่ ว นในประเทศญี่ ปุ่ น จะใช้ แ หล่ ง เงิ น ภาษี ผ สมกั บ แหล่ ง เงิ น อื่ น เช่ น การเก็บเบี้ยประกันภัยโดยหักจากเงินเดือน และรัฐเป็นผู้บริหารระบบ ตามหลักการในระบบนี้ประชาชนทุกคนมีสิทธิ ในการใช้บริการสุขภาพเท่ากัน ไม่ว่าจะเสียภาษีเท่าใดหรือไม่เสียภาษีก็ตาม
- โครงการประกั นสังคม (Social Security Scheme) เป็นโครงการประกั นภั ยภาคบังคั บเช่นกั น โดยเป็นการบังคับส�ำหรับกลุ่มคนที่ก�ำหนดไว้โดยเฉพาะ เช่น ลูกจ้างและนายจ้าง ซึ่งการประกันภัยดังกล่าว จะคุ้มครอง
ทั้งผูท ้ �ำประกันและผูอ ้ ยูใ่ นอุปการะที่เจ็บป่วยหรือสูญเสียรายได้จากการเจ็บป่วย โดยรัฐบาลจะเป็นผูค้ ้ �ำประกันประโยชน์ พื้นฐานและมีสว ่ นร่วมโดยตรงในการเงินของโครงการ ผู้ท่ีมีสิทธิหรือผู้ท่ีกฎหมายก�ำหนดให้เข้าร่วมได้ จะเป็นผู้จ่ายเงิน
เข้ากองทุนประกันสุขภาพตามรายได้ของตน ซึง่ มักจะหักจากเงินเดือน ในอัตราทีเ่ ป็นสัดส่วนคงทีข ่ องเงินเดือน ฉะนัน ้ ม ่ี ี ้ ผูท รายได้มากก็ต้องจ่ายเงินค่าเบี้ยประกันภัยมากกว่าผู้มีรายได้น้อยกว่า แต่สิทธิในการใช้บริการเท่ากัน แต่ในบางประเทศ มีการก�ำหนดให้นายจ้างจ่ายสมทบเข้ากองทุนด้วย และรัฐบาลก็อาจจ่ายสมทบเข้ากองทุนด้วยเช่นกัน
- สวัสดิการของการจ้างงาน (Employment Medical Benefits) เป็นสิทธิประโยชน์ในการรักษา
พยาบาล โดยที่นายจ้างอาจเป็นรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรรูปแบบอื่นๆ จัดท�ำสวัสดิการให้กับลูกจ้าง เพื่อเป็นการ ชักจูงใจในการจ้างงาน
การประกันสุขภาพเอกชน
(1) การประกันสุขภาพเอกชนภาคบังคับ เป็นการประกันสุขภาพซึง่ บังคับตามบทบัญญัติของกฎหมาย
(2) การประกั น สุ ข ภาพตามกลุ่ ม การจ้ า งงานเอกชน เป็ น การประกั น สุ ข ภาพซึ่ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของเงื่ อนไข
การในจ้างงาน เช่น นายจ้างซื้อประกันสุขภาพให้กับลูกจ้าง โดยนายจ้างเป็นผู้จ่ายค่าเบี้ยประกันภัยทั้งหมดหรือสมทบ ให้บางส่วน
(3) การประกันสุขภาพเอกชนตามอัตราชุมชน เป็นการประกันสุขภาพโดยสมัครใจของบุคคลหรือกลุ่มบุคคล
โดยบริ ษั ท จะชดใช้ ค่ า สิ น ไหมทดแทนให้ แ ก่ ผู้ เ อาประกั น ภั ย ตามข้ อ ก� ำ หนดที่ ใ ช้ ใ นอั ต ราชุ ม ชน ซึ่ ง การค� ำ นวณเบี้ ย ประกันภัยจะอาศัยปัจจัยที่เกี่ยวกับอายุ สถานะทางสุขภาพ ประวัติการเรียกร้อง หรือปัจจัยอื่นๆ
(4) การประกั น สุ ข ภาพเอกชนตามอั ต ราความเสี่ ย ง คื อ การประกั น สุ ข ภาพโดยสมั ค รใจของบุ ค คลหรื อ
กลุ่ม บุคคล โดยบริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เอาประกันภัยตามอัตราความเสี่ยง
ทั้งนี้ มีหลายประเทศที่ใช้ระบบประกันสุขภาพเอกชนเป็นส่วนเสริมกับระบบประกันสุขภาพหลักของรัฐ เช่น
ประเทศอั ง กฤษ ออสเตรเลี ย เป็ น ต้ น ในขณะที่ บ างประเทศใช้ ร ะบบประกั น สุ ข ภาพเอกชนเป็ น ระบบหลั ก เช่ น สหรัฐอเมริกา ซึ่งมีสวัสดิการประกันการจ้างงานของบริษัทเอกชนจ�ำนวนมาก เป็นต้น
ในการนี้ ยังมีขอ ้ เสนอแนะอื่นจากที่ประชุม นอกเหนือจากการส่งเสริมการประกันสุขภาพแล้ว ควรมีการส่งเสริม
เรื่องสุขภาพของผูเ้ อาประกันภัยด้วย ควรเอาภาพรวมเกีย ่ วกับความต้องการความคุม ้ ครองในเรื่องของสุขภาพทั้งประเทศ
มารวมกันพิจารณา และควรพิจารณาว่า การประกันสุขภาพจะเข้าไปมีส่วนส่งเสริมในด้านใดได้บ้าง ควรมีการส่งเสริม การให้ความรู้กับผู้ท่ีเสนอขายประกันสุขภาพในเรื่องเงื่อนไขความคุ้มครอง ข้อยกเว้นเกี่ยวกับกรมธรรม์ประกันสุขภาพ ประกอบกับการตีความเงื่อนไขความคุ้มครอง และข้อยกเว้นของสัญญาประกันสุขภาพของธุรกิจประกันชีวิต และธุรกิจ ประกันวินาศภัยซึง่ มีความแตกต่างกัน ควรมีการพัฒนาระบบให้มค ี วามเชื่อมโยงกันเพื่อให้เคลมได้ทก ุ โรงพยาบาล
63
สรุปภาพรวม การประชุมกลุ่มย่อย งานประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจ�ำปี 2562 (CEO Insurance Forum 2019)
66
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
CEO Insurance Forum 2019 โดยผลการประชุมกลุ่มย่อย สามารถสรุปได้ดังนี้
ผลการประชุ ม กลุ่ ม ย่ อ ยที่ 1 หั ว ข้ อ “ยกระดั บ การก� ำ กั บ การประกั น สุ ข ภาพสู่ อ นาคตที่ ย่ั ง ยื น ” สรุ ป ได้ ว่ า
ส�ำนักงาน คปภ. และภาคธุรกิจประกันภัยจะร่วมกันด�ำเนินโครงการปรับปรุ งสัญญาประกันสุขภาพ และพัฒนาระบบ การประกั น สุ ข ภาพ ประกอบด้ ว ย 1) ปรั บ ปรุ ง สั ญ ญาประกั น สุ ข ภาพ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ วิ วั ฒ นาการทางการแพทย์ มี รายการความคุ้มครองที่ปรับเปลี่ยนตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข โดยจะปรับปรุ งค�ำนิยาม เงื่อนไข ข้อยกเว้น ของสั ญ ญาประกั น สุ ข ภาพให้ มี ถ้ อ ยค� ำ ที่ เ กิ ด ความชั ด เจน เข้ า ใจง่ า ย และสอดคล้ อ งกั บ วิ วั ฒ นาการและเทคโนโลยี ทางการแพทย์ ท่ี เ ปลี่ ย นแปลงไป อาทิ ปรั บ ค� ำ นิ ย ามกลุ่ ม อาชี พ แพทย์ ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ แพทยสภา / ปรั บ ค� ำ นิ ย าม โรงพยาบาล คลินิก ให้สอดคล้องกับ พ.ร.บ.สถานพยาบาล และค�ำนิยามอื่นๆ ปรับให้สอดคล้องกับประกาศกระทรวง สาธารณสุข และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2) การปรับปรุ งตารางแสดงผลประโยชน์ค่ารักษาพยาบาล โดยให้รายการ ผลประโยชน์ อิ ง กั บ ประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข เพื่ อให้ ป ระชาชนสามารถเข้ า ใจความคุ้ ม ครองของสั ญ ญา ประกั น สุขภาพมาตรฐานที่มีรายละเอียดครบถ้วน ซึ่งจะน�ำไปสู่การจัดเก็บฐานข้อมูลการประกันสุขภาพบน Platform
สรุปภาพรวมการประชุมกลุ่มย่อย
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจ�ำปี 2562 (CEO Insurance Forum 2019) โดย เลขาธิการคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย และรองเลขาธิการส�ำนักงาน คปภ.
ภาพรวมที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการจั ด ประชุ ม กลุ่ ม ย่ อ ย เพื่ อ ระดมความคิ ด เห็ น ภายใต้ หั ว ข้ อ “การยกระดั บ ประกั น
สุขภาพสู่อนาคตที่ ย่ังยืน” ในวั นนี้ ถื อเป็นเรื่องส�ำคั ญและเป็นนโยบายระดั บชาติ ที่ ทุกภาคส่วนต่ างให้ความส�ำคั ญ อยู่ในขณะนี้ เนื่องจากปัจจุบันโครงสร้างประชากรของประเทศไทย มีสัดส่วนโครงสร้างผู้สูงอายุมากขึ้น ท�ำให้คนไทย มีอายุเฉลีย ่ เพิม ่ ามารถสร้างรายได้ และเก็บออมเงินในช่วงอายุระหว่าง 20 – 60 ปี ้ เป็น 71 ปี โดยมีชว่ งระยะเวลาท�ำงานทีส ่ ขึน
เพื่อเป็นค่าใช้จา่ ยภายหลังการเกษียณอายุ ซึง่ คาดว่า จะมีชว่ งระยะเวลาเพิม ่ มากถึง 10 – 20 ปี และในอนาคต หากคนไทย
มี อ ายุ เ ฉลี่ ย เพิ่ ม ขึ้ น เรื่ อ ยๆ ซึ่ ง เป็ น ผลมาจากการใส่ ใ จรั ก ษาสุ ข ภาพของตนเองมากขึ้น ประกอบกั บ ความก้ า วหน้ า
ทางการแพทย์และสาธารณสุขที่ ดีข้ึน ดั งนั้น หากประชาชนไม่มีการวางแผนเก็ บออมเงิ นให้เพียงพอต่อค่าครองชี พ และค่ารักษาพยาบาลที่ นับวั นจะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จะส่งผลกระทบทั้ งในส่วนของประชาชนเองและส่วนที่ รัฐบาล
ที่ ต้องรับผิดชอบ ถึ งแม้ว่ารัฐบาลได้ มีการด� ำเนินการ เพื่อควบคุมต้ นทุนค่ ารักษาพยาบาลผ่านมาตรการต่ างๆ เช่น การควบคุมให้สถานพยาบาลต้องแสดงรายละเอียดประเภทของการรักษาพยาบาล ยา และเวชภัณฑ์ รวมถึงการก�ำหนด ให้ สิ น ค้ า ยาและเวชภั ณ ฑ์ เ ป็ น สิ น ค้ า ควบคุ ม เป็ น ต้ น ซึ่ ง ผมเห็ น ว่ า ธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย ในส่ ว นของการประกั น สุ ข ภาพ สามารถเข้าไปช่วยบริหารความเสี่ ยง และแบ่งเบาภาระค่ า ใช้จ่ า ยให้กั บประชาชนและรัฐบาลได้ แต่ อย่า งไรก็ ตาม หากการประกันสุขภาพมีแนวโน้มขยายตัวเพิม ่ งเกี่ยวกับการฉ้อฉลประกันภัยเพิม ้ จะส่งผลให้เกิดความเสีย ้ ด้วย ่ มากขึน ่ ขึน
อีกทั้งในส่วนของต้ น ทุ น ค่ า เบี้ ย ประกั น ภั ย จะเพิ่ ม ขึ้ น เกิ น ความเป็ น จริ ง หากพิ จ ารณาถึ ง กรมธรรม์ ป ระกั น สุ ข ภาพ มาตรฐาน ที่ ใ ช้อยู่ในปัจจุ บัน ที่ ส�ำนักงาน คปภ. และภาคธุ รกิ จประกั นภั ยได้ ร่วมกั นจั ดท� ำขึ้นตั้ งแต่ ปี 2549 จึ งอาจ ไม่ ส อดคล้ อ งกั บ เทคโนโลยี วิ ธี ก ารรั ก ษา และวิ วั ฒ นาการทางการแพทย์ ท่ี เ ปลี่ ย นแปลงไป รวมถึ ง ไม่ ร องรั บ กั บ
แผนปฏิรป ู ระบบสาธารณสุขของประเทศไทย และนโยบายต่างๆ ของภาครัฐในเรื่องการประกันสุขภาพ จากทีก ่ ล่าวมาข้างต้น จึงเป็นประเด็นที่ส�ำนักงาน คปภ. และภาคธุรกิจประกันภัย จะร่วมกันขับเคลื่อนและพัฒนาระบบการประกันสุขภาพ ของไทยให้ ก้ า วไปอย่ า งมี คุณค่า และเติบโตอย่างยั่งยืนต่อไป
เดียวกัน 3) พัฒนาปรับปรุ งอัตราเบี้ยประกันภัยให้มีความยืดหยุ่น สะท้อนตามต้นทุนของประเภทความคุ้มครอง และ เปิ ด เผยข้ อ มู ล ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ระกั น สุ ข ภาพแก่ ป ระชาชน รวมทั้ ง สามารถน� ำ ข้ อ มู ล ไปใช้ ใ นการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์
ประกั น สุขภาพในอนาคตได้ 5) พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลสถิติการประกันสุขภาพ เพื่อให้สอดคล้องกับรายการ ความคุ้ ม ครองที่ ป รั บ ปรุ ง ใหม่ เพื่ อให้ ภ าคธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย มี ฐ านข้ อ มู ล ในการค� ำ นวณอั ต ราเบี้ ย ประกั น สุ ข ภาพ อย่ า งเหมาะสมและเป็นธรรมแก่ประชาชน ซึ่งในขณะนี้ ส�ำนักงาน คปภ. ได้ปรับปรุ งกระบวนการให้ความเห็นชอบ กรมธรรม์ประกันภัยให้รวดเร็วยิ่งขึ้น รวมทั้งก�ำหนดให้บริษัทมีการตั้งคณะกรรมการผลิตภัณฑ์ประกันภัย (Product
Committee) เพื่ อพิ จ ารณาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ระกั น ภั ย ให้ เ ป็ น ไปตามแนวทางและนโยบายของบริ ษั ท ลดข้ อ ผิ ด พลาด ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ของบริษัท
67
68
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
นอกจากนี้ เพื่ อเป็ น การส่ ง เสริ ม
ให้การประกันสุขภาพให้เป็นนโยบายระดับ ประเทศและลดภาระการคลั ง ด้ า นสุ ข ภาพ ควรมีการศึกษาแนวทางการจัดท�ำกฎหมาย เกีย ่ วกับการประกันสุขภาพให้มค ี วามเหมาะสม กั บ บริ บ ทของประเทศไทย เพื่ อยกระดั บ การก�ำกับการประกันสุขภาพให้มป ี ระสิทธิภาพ และเป็ น มาตรฐานเดี ย วกั น ซึ่ ง ในประเทศ ฮ่องกงได้จัดท�ำกฎหมายประกันสุขภาพแล้ว โดยเริ่มใช้บังคับเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2562
รวมถึ ง ควรมี ก ารจั ด ตั้ ง ที ม แพทย์ ท่ี ป รึ ก ษา
ที่ มค ี วามเป็นกลางมาช่วยพิจารณาให้ขอ ้ คิดเห็นในกรณีมข ี อ ้ พิพาทระหว่างบริษท ั ประกันภัย โรงพยาบาลและผูเ้ อาประกันภัย เช่น การตีความเรื่องความจ�ำเป็นทางการแพทย์ มาตรฐานทางการแพทย์ เป็นต้น
ผลการประชุ มกลุ่มย่อยที่ 2 หัวข้อ “กรอบแนวทางการป้องกั นและป้องปรามการฉ้อฉลในการประกั นภั ย
สุขภาพ” สรุปได้ว่า ในปีน้ี ได้มีการก�ำหนดกรอบแนวทางการป้องกันและป้องปรามการฉ้อฉลในการประกันภัยสุขภาพ ซึ่ ง เป็ น การก� ำ กั บ ในเชิ ง ส่ ง เสริ ม ภาคธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย ออกเป็ น 3 หั ว ข้ อ ประกอบด้ ว ย 1) การก� ำ หนดบทบาทของ ส�ำนักงาน คปภ. และภาคธุรกิจประกันภัย ในการด�ำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการประกันภัย เมื่อพบการกระท�ำทีเ่ ข้าข่าย การฉ้อฉลในการประกั นสุขภาพ โดยในกรณีท่ี ประชาชนทั่วไปที่ ถูกหลอกลวงให้มีการท�ำประกั นภั ยแต่ สุดท้ ายไม่ได้
มี การท�ำประกันภัยและถูกหลอกเอาไปซึ่งทรัพย์สิน ส�ำนักงาน คปภ. จะเป็นผู้ด�ำเนินการกับผู้กระท�ำความผิด ทั้งนี้
บริษัทประกันภัยอาจให้การสนับสนุนข้อมูลแก่ส�ำนักงาน คปภ. ในกรณีดังกล่าวได้ และในกรณีท่ีผู้เอาประกันภัยหรือ ผู้รับประโยชน์ฉ้อฉลประกันสุขภาพ หรือกรณีมีการเรียก/ให้สินบนเพื่อให้มีการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์ ประกันสุขภาพ บริษัทประกันภัยมีหน้าที่ต้องด�ำเนินการในฐานะผู้เสียหาย และแจ้งข้อมูล ให้ส�ำนักงาน คปภ. ทราบ เพื่ อด� ำ เนิ น คดี ร่ ว มกั บ บริ ษั ท 2) การจั ด ให้ มี ศู น ย์ ก ลางข้ อ มู ล การฉ้ อ ฉลในการประกั น ภั ย หรื อ Fraud Database ซึ่งส�ำนักงาน คปภ. จะเป็นผู้จัดท�ำฐานข้อมูลดังกล่าวเอง ถึงแม้ว่าประกาศ คปภ. ว่าด้วยการก�ำหนดมาตรฐานขั้นต่�ำ
ในการบริหารจัดการความเสี่ยงของบริษัทประกันภัยในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการฉ้อฉล จะก�ำหนดให้บริษัทประกันภัยต้อง
จัดท�ำฐานข้อมูลเกี่ยวกับการฉ้อฉลทั้งภายในและภายนอก เพื่อประโยชน์ในการติดตามการฉ้อฉลและเพิ่มประสิทธิภาพ
การบริหารจัดการความเสี่ยงด้านการฉ้อฉลของบริษัท ซึ่งการจัดท�ำฐานข้อมูลดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ต่ออุตสาหกรรม
ประกันภัยในการน�ำข้อมูลไปวิเคราะห์ในมิติต่างๆ จึงควรมีการบูรณาการข้อมูลการฉ้อฉลด้านการประกันสุขภาพร่วมกัน กั บฐานข้อมูลด้ านการประกั นสุขภาพ และ 3) การศึกษากฎหมายประกั นสุขภาพในต่ างประเทศ เพื่อให้มีกฎหมาย ประกันสุขภาพทีเ่ หมาะสมกับกับบริบทของประเทศไทยและเป็นมาตรฐานเดียวกัน รวมทั้งยังเป็นการส่งเสริมและยกระดับ การประกันสุขภาพของประเทศไทยให้มีการเติบโตอย่างยั่งยืน
ทั้งนี้ ส�ำนักงาน คปภ. จะน�ำทุกความคิดเห็น ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะที่ได้จากการประชุมครั้งนี้ มาบูรณาการ
ร่วมกับภาคธุรกิจประกันภัย เพื่อปรับปรุ งและพัฒนาการประกันสุขภาพ ให้เกิดประสิทธิภาพและเป็นประโยชน์กับ อุตสาหกรรมประกันภัยของไทยให้มีการพัฒนาอย่างก้าวหน้าและสร้างความแข็งแกร่งให้กับอุตสาหกรรมประกันภัย เพื่อเป็นการยกระดับประกันสุขภาพสูอ ่ นาคตที่ย่ังยืนต่อไป
ภาคผนวก
ประมวลภาพบรรยากาศงาน CEO Insurance Forum 2019
70
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
CEO Insurance Forum 2019
71
72
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
CEO Insurance Forum 2019
73
ค�ำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและคณะท�ำงาน กลุ่มย่อยเตรียมความพร้อมการจัดประชุม ผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจ�ำปี 2562 งานประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจ�ำปี 2562 (CEO Insurance Forum 2019)
76
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
77
CEO Insurance Forum 2019 อำนำจหน้ำที่
คำสั่ง สำนักงำนคณะกรรมกำรกำกับและส่งเสริมกำรประกอบธุรกิจประกันภัย ที่ ๕ / ๒๕๖๑ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมกำรเตรียมควำมพร้อมจัดประชุมผู้บริหำรระดับสูงด้ำนกำรประกันภัย (CEO Insurance Forum) ........................................................... ด้วยส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำกับและส่งเสริมกำรประกอบธุรกิจประกันภัย (สำนั กงำน คปภ.) มีควำมประสงค์ที่จะจั ดให้ มีเวทีในกำรสื่ อสำรระหว่ำงผู้ บ ริ ห ำรส ำนั กงำน คปภ. ผู้ บ ริ ห ำรภำคธุร กิจ ประกัน ภั ย เกี่ยวกับนโยบำยในกำรพัฒนำระบบประกันภัย ไทย แสดงข้อคิดเห็น และแลกเปลี่ ยนควำมรู้ และประสบกำรณ์ ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง จึงได้กำหนดให้มีกำรจัดประชุมผู้บริหำรระดับสูงด้ำนกำรประกันภัย (CEO Insurance Forum) เพื่อเป็นกำรเตรียมควำมพร้อมในกำรจัดประชุมผู้บริหำรระดับสูงด้ำนกำรประกันภัย และให้กำร ดำเนินงำนเป็นไปด้วยควำมเรียบร้อย บรรลุวัตถุประสงค์ มีประสิทธิภำพและประสิทธิผล เลขำธิกำรจึงแต่งตั้ง คณะกรรมกำรเตรียมควำมพร้อมจัดประชุมผู้บริหำรระดับสูงด้ำนกำรประกันภัย โดยมีองค์ประกอบและอำนำจ หน้ำที่ ดังนี้ องค์ประกอบ (๑) เลขำธิกำร (๒) รองเลขำธิกำร ด้ำนกำกับ (๓) รองเลขำธิกำร ด้ำนกฎหมำย คดี และคุ้มครองสิทธิประโยชน์ (๔) รองเลขำธิกำร ด้ำนตรวจสอบ (๕) ผู้ช่วยเลขำธิกำร สำยพัฒนำมำตรฐำนกำรกำกับ (๖) ผู้ช่วยเลขำธิกำร สำยกำกับผลิตภัณฑ์ประกันภัย (๗) ผู้ช่วยเลขำธิกำร สำยกำกับธุรกิจและกำรลงทุน (๘) ผู้ช่วยเลขำธิกำร สำยตรวจสอบ (๙) ผู้ช่วยเลขำธิกำร สำยวิเครำะห์ธุรกิจประกันภัย (๑๐) ผู้ช่วยเลขำธิกำร สำยตรวจสอบคนกลำงประกันภัย (๑๑) ผู้ช่วยเลขำธิกำร สำยกฎหมำยและคดี (๑๒) ผู้ช่วยเลขำธิกำร สำยคุ้มครองสิทธิประโยชน์ (๑๓) ผู้ช่วยเลขำธิกำร สำยบริหำร (๑๔) ผู้ช่วยเลขำธิกำร สำยกลยุทธ์องค์กร (๑๕) ผู้ช่วยเลขำธิกำร สำยส่งเสริมและประกันภัยภูมิภำค (๑๖) ผู้อำนวยกำรฝ่ำยอำวุโส ฝ่ำยกลยุทธ์และบริหำรควำมเสี่ยง (๑๗) หัวหน้ำกลุ่มบริหำรกลยุทธ์ (๑๘) หัวหน้ำกลุ่มบริหำรควำมเสี่ยงองค์กร
ประธำนกรรมกำร รองประธำนกรรมกำร กรรมกำร กรรมกำร กรรมกำร กรรมกำร กรรมกำร กรรมกำร กรรมกำร กรรมกำร กรรมกำร กรรมกำร กรรมกำร กรรมกำร กรรมกำร เลขำนุกำร ผู้ช่วยเลขำนุกำร ผู้ช่วยเลขำนุกำร
(๑) พิจ ำรณำเสนอแนะแนวทำงกำรดำเนิ น กำรจั ด ประชุ ม ผู้ บ ริ ห ำรระดั บ สู ง ของบริ ษั ท ประกันภัย ตลอดจนรำยละเอียดกำรประชุม อำทิ กลุ่มเป้ำหมำย กำหนดกำร หัวข้อกำรประชุม สถำนที่ พิธีกำร ผู้รับผิดชอบ กำรประชำสัมพันธ์ เป็นต้น ต่อเลขำธิกำรเพื่อพิจำรณำเห็นชอบ (๒) ติดตำม และกำกับดูแลให้กำรดำเนินกำรเป็นไปตำมแนวทำงและรำยละเอียดที่วำงไว้ และเป็นไปด้วยควำมเรียบร้อย (๓) ดำเนินกำรอื่นใดตำมทีเ่ ลขำธิกำรมอบหมำย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๑๕ มกรำคม พ.ศ. ๒๕๖๑
(นำยสุทธิพล ทวีชยั กำร) เลขำธิกำร
78
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
คำสั่ง สำนักงำนคณะกรรมกำรกำกับและส่งเสริมกำรประกอบธุรกิจประกันภัย ที่ ๑๔๐ / ๒๕๖๒ เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงำนกลุ่มย่อย สำหรับเตรียมกำรจัดประชุมผู้บริหำรระดับสูงด้ำนกำรประกันภัย ประจำปี ๒๕๖๒ (CEO Insurance Forum 2019) ........................................................... ด้วยสำนักงำนคณะกรรมกำรกำกับและส่งเสริมกำรประกอบธุรกิจประกันภัย (สำนักงำน คปภ.) กำหนดจัดให้มีเวทีในกำรสื่อสำรระหว่ำงผู้บริหำรสำนักงำน คปภ. ผู้บริหำรภำคธุรกิจประกันภัย เกี่ยวกับนโยบำย ในกำรพัฒนำระบบประกันภัยไทย แสดงข้อคิดเห็น และแลกเปลี่ยนควำมรู้และประสบกำรณ์ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง จึงได้กำหนดให้มีกำรจัดประชุมผู้บริหำรระดับสูงด้ำนกำรประกันภัย ประจำปี ๒๕๖๒ (CEO Insurance Forum 2019) เพื่อเป็นกำรเตรียมควำมพร้อมในกำรจัดกำรประชุ มกลุ่มย่อย สำหรับกำรประชุ มผู้บริหำรระดับสูง ด้ำนกำรประกันภัย ประจำปี ๒๕๖๒ และให้กำรดำเนินงำนเป็นไปด้วยควำมเรียบร้อย บรรลุวัตถุประสงค์ มีประสิทธิภำพ และประสิ ทธิผล เลขำธิกำรจึงแต่งตั้งคณะทำงำนกลุ่ มย่อยส ำหรั บเตรียมกำรจั ดประชุมผู้บริ หำรระดับสู งด้ำนกำร ประกันภัย ประจำปี ๒๕๖๒ (CEO Insurance Forum 2019) โดยมีองค์ประกอบและอำนำจหน้ำที่ ดังนี้ ๑. กลุ่มย่อยที่ ๑ ยกระดับกำรกำกับกำรประกันภัยสุขภำพสู่อนำคตที่ยั่งยืน รองเลขำธิกำร ด้ำนกำกับ ผู้ช่วยเลขำธิกำร สำยพัฒนำมำตรฐำนกำรกำกับ ผู้อำนวยกำรฝ่ำยอำวุโส ฝ่ำยกำกับธุรกิจประกันภัย ผู้อำนวยกำรฝ่ำยอำวุโส ฝ่ำยนโยบำยและพัฒนำผลิตภัณฑ์ประกันภัย นำงอธิกำ ไกรอมร ผู้อำนวยกำรกลุ่มงำนกำกับผลิตภัณฑ์ประกันวินำศภัย (๖) นำงสำวสิริพักตร์ สุวรรณทัต ผู้อำนวยกำรกลุ่มงำนกำกับผลิตภัณฑ์ประกันชีวิต (๗) นำงสำวดำเนตร วันทนีย์ หัวหน้ำกลุ่มพัฒนำผลิตภัณฑ์ประกันภัย (๘) นำงสำวทัศนวรรณ เชำว์ดำรงสกุล หัวหน้ำกลุ่มกำกับผลิตภัณฑ์ประกันวินำศภัยฝ่ำยบุคคล (๙) นำงสำวเพลิน อังวัฒนกุล หัวหน้ำกลุ่มกำกับพฤติกรรมด้ำนกำรรับประกันภัย (๑๐) นำงปิยะวรรณ มิลินทำนุช ผู้เชี่ยวชำญ รักษำกำรในตำแหน่ง หัวหน้ำกลุ่มกำกับผลิตภัณฑ์ประกันชีวิต ๒
(๑๑) นำงสำวศุภลักษณ์ สุขะกูล ผู้เชี่ยวชำญ กลุ่มนโยบำยกำรกำกับผลิตภัณฑ์ประกันภัย (๑๒) นำงสำวนัฏพร กีชำนนท์ ผู้เชี่ยวชำญ กลุ่มพัฒนำผลิตภัณฑ์ประกันภัย (๑๓) นำยจักริน มหัทธนะสมบูรณ์ เจ้ำหน้ำที่ กลุ่มกำกับพฤติกรรมด้ำนกำรรับประกันภัย (๑๔) นำงสำวณภำภัช วุฒิพีรพร เจ้ำหน้ำที่ กลุ่มนโยบำยกำรกำกับผลิตภัณฑ์ประกันภัย (๑๕) นำงปรียำนุช จีระศิลป์ ผู้เชี่ยวชำญ รักษำกำรในตำแหน่ง หัวหน้ำกลุ่มนโยบำยกำรกำกับผลิตภัณฑ์ประกันภัย (๑๖) นำงนัทธฤทัย สนิทนอก ผู้เชี่ยวชำญ รักษำกำรในตำแหน่ง หัวหน้ำกลุ่มกำกับผลิตภัณฑ์ประกันวินำศภัยสำหรับอุตสำหกรรม (๑๗) นำงรุ่งนภำ หอมปำน ผู้เชี่ยวชำญ รักษำกำรในตำแหน่ง หัวหน้ำกลุ่มกำกับผลิตภัณฑ์ประกันชีวิต ๑ (๑๘) นำงสำวธีรำภรณ์ นกแก้ว ผู้เชี่ยวชำญ กลุ่มบริหำรควำมเสี่ยงองค์กร
คณะทำงำน คณะทำงำน คณะทำงำน คณะทำงำน คณะทำงำน และเลขำนุกำร ผู้ช่วยเลขำนุกำร ผู้ช่วยเลขำนุกำร ผู้ช่วยเลขำนุกำร
๒. กลุ่มย่อยที่ ๒ กรอบแนวทำงกำรป้องกันและป้องปรำมกำรฉ้อฉลในกำรประกันภัยสุขภำพ องค์ประกอบ
องค์ประกอบ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕)
79
CEO Insurance Forum 2019
ประธำนคณะทำงำน คณะทำงำน คณะทำงำน คณะทำงำน คณะทำงำน คณะทำงำน คณะทำงำน คณะทำงำน คณะทำงำน คณะทำงำน
(๑) รองเลขำธิกำร ด้ำนตรวจสอบ
ประธำนคณะทำงำน คนที่ ๑ (๒) รองเลขำธิกำร ด้ำนกฎหมำย คดีและคุ้มครองสิทธิประโยชน์ ประธำนคณะทำงำน คนที่ ๒ (๓) ผู้ช่วยเลขำธิกำร สำยกฎหมำยและคดี คณะทำงำน (๔) ผู้ช่วยเลขำธิกำร สำยตรวจสอบคนกลำงประกันภัย คณะทำงำน (๕) ผู้ช่วยเลขำธิกำร สำยคุ้มครองสิทธิประโยชน์ คณะทำงำน (๖) ผู้ช่วยเลขำธิกำร สำยวิเครำะห์ธุรกิจประกันภัย คณะทำงำน (๗) ผู้อำนวยกำรฝ่ำยอำวุโส ฝ่ำยวำงแผนและพัฒนำกฎหมำย คณะทำงำน (๘) ผู้อำนวยกำรฝ่ำยอำวุโส ฝ่ำยพัฒนำนโยบำยกำรกำกับช่องทำงกำรจำหน่ำย คณะทำงำน (๙) ผู้อำนวยกำรฝ่ำยอำวุโส ฝ่ำยตรวจสอบ ๑ คณะทำงำน (๑๐) ผู้อำนวยกำรฝ่ำยอำวุโส ฝ่ำยคุ้มครองสิทธิประโยชน์ คณะทำงำน (๑๑) นำงสำวอุบลวรรณ แสงตรง คณะทำงำน หัวหน้ำกลุ่มตรวจสอบ ๒/๒ (๑๒) นำงกัญญำ สระศรีดำ คณะทำงำน หัวหน้ำกลุ่มตรวจสอบ
80
การประชุมผู้บริหารระดับสูงด้านการประกันภัย ประจำ�ปี 2562
(๑๓) นำยจักริน จรัญรัตนศรี หัวหน้ำกลุ่มวำงแผนและพัฒนำคุ้มครองสิทธิประโยชน์ (๑๔) นำงสำวกรอุมำ กอบเกื้อชัยพงษ์ ผู้เชี่ยวชำญ รักษำกำรในตำแหน่ง หัวหน้ำกลุ่มสถิติธุรกิจประกันภัย (๑๕) นำงสำวกัญญำภัค ฉัตรเท ผู้ชำนำญงำนอำวุโส กลุ่มพัฒนำมำตรฐำนกำรจำหน่ำย (๑๖) นำงสำวสมลักษณ์ กีรติศิริกุล ผู้ชำนำญงำน กลุ่มคุ้มครองสิทธิประโยชน์ (๑๗) นำงสำวกำญจนำ สุวรรณเทพ หัวหน้ำกลุ่มคดีอำญำ (๑๘) นำงสำวหนึ่งฤทัย เฮ้งบริบูรณ์พงศ์ หัวหน้ำกลุ่มตรวจสอบ ๓/๑ (๑๙) นำงสำวอุบลรัตน์ ทองสังโคม หัวหน้ำกลุ่มบริหำรกลยุทธ์ (๒๐) นำงสำวตวงทิพำ โพธิสุนทร เจ้ำหน้ำที่อำวุโส กลุ่มวำงแผนและพัฒนำกฎหมำยด้ำนควำมมั่นคงทำงกำรเงิน
คณะทำงำน คณะทำงำน คณะทำงำน คณะทำงำน คณะทำงำน และเลขำนุกำร ผู้ช่วยเลขำนุกำร ผู้ช่วยเลขำนุกำร ผู้ช่วยเลขำนุกำร
อำนำจหน้ำที่ (๑) พิ จ ำรณำเสนอแนะแนวทำงในกำรจั ด กำรประชุ ม กลุ่ ม ย่ อ ยเพื่ อ ระดมควำมคิ ด เห็ น สำหรับกำรประชุมผู้บริหำรระดับสูงด้ำนกำรประกันภัย ประจำปี ๒๕๖๒ ตลอดจนรำยละเอียดกำรประชุม อำทิ กำหนดหัวข้อกำรประชุม จัดทำรำยละเอียด สำรัตถะและเอกสำรประกอบ ต่อคณะกรรมกำรเตรียมควำมพร้อม จัดประชุมผู้บริหำรระดับสูงด้ำนกำรประกันภัย ประจำปี ๒๕๖๒ (๒) จัดเตรียม ติดตำม และกำกับดูแลให้ กำรประชุมกลุ่มย่อยเป็นไปด้วยควำมเรียบร้อย ตำมแนวทำงและรำยละเอียดที่วำงไว้ (๓) สรุ ป ผลกำรประชุมและรำยงำนต่อ เลขำธิกำรและคณะกรรมกำรเตรียมควำมพร้อม จัดประชุมผู้บริหำรระดับสูงด้ำนกำรประกันภัย (๔) ดำเนิ น กำรอื่ นใดตำมที่ เลขำธิ ก ำรและคณะกรรมกำรเตรีย มควำมพร้ อ มจั ด ประชุ ม ผู้บริหำรระดับสูงด้ำนกำรประกันภัยมอบหมำย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๗
มีนำคม พ.ศ. ๒๕๖๒
(นำยสุทธิพล ทวีชัยกำร) เลขำธิกำร