คูม่ อื บริการประชาชน
เพือ่ ขอเพิม่ ชือ่ ในทะเบียนราษฎร์ของคนไทยทีต่ กหล่นทางทะเบียน ภายใต้บนั ทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการให้บริการตรวจสารพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ: DNA)
จัดท�ำโดย กลุ่มนักศึกษา คณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คูม่ อื บริการประชาชนฯ
34
คูม่ อื บริการประชาชน
เพือ่ ขอเพิม่ ชือ่ ในทะเบียนราษฎร์ของคนไทยทีต่ กหล่นทางทะเบียน ภายใต้บนั ทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการให้บริการตรวจสารพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ: DNA)
3
คูม่ อื บริการประชาชนฯ
สารบัญ บทน�ำ
เล่าเรื่อง เบื้องต้น
5
6
1. รายละเอียดทั่วไปส�ำหรับการขอเพิ่มชื่อในทะเบียนภายใต้บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ด้านการให้บริการตรวจสารพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) เพื่อสนับสนุนงานทะเบียนราษฎร์ 16 2. คุณสมบัติของผู้มีสิทธิขอเพิ่มชื่อในทะเบียนราษฎร์ตามหลักสายโลหิต (ตามกรณีศึกษา) 17 3. รายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงานในการเพิ่มชื่อในทะเบียนราษฎร์ 18 ประกอบด้วย ขั้นตอน ระยะเวลา หน่วยงานที่รับผิดชอบ และเอกสาร/หลักฐานที่ต้องจัดเตรียม หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข ในการยื่นค�ำขอ และในการพิจารณาอนุญาตของหน่วยงานราชการ 3.1 การพิจารณาคัดกรองตรวจสอบข้อมูล: ฝ่ายปกครอง 3.2 การด�ำเนินการตรวจพิสูจน์สารพันธุกรรม: สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ 3.3 การน�ำผลการตรวจสารพันธุกรรมประกอบการพิจารณาการขอสัญชาติไทย และการเพิ่มข้อมูลทางทะเบียนราษฎร: ฝ่ายปกครอง
แผนขั้นตอนการด�ำเนินงาน
24
ภาคผนวก 25 - ตัวอย่างเอกสารประกอบหนังสือขอความอนุเคราะห์การตรวจพิสูจน์ความสัมพันธ์ ทางพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) ต่อสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ 27 - หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 31 - รายชื่อ/ข้อมูลการติดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 32 - สื่อเพื่อการผลิต (artwork) 33 4
บทน�ำ คูม่ อื บริการประชาชนส�ำหรับการขอเพิม่ ชือ่ ในทะเบียนของคนไทยทีต่ กหล่นทางทะเบียน โดยเฉพาะ ผู้ยากไร้ มีฐานะยากจน เป็นผลิตผลของการด�ำเนินงานโครงงานกฎหมายเพื่อช่วยเหลือสังคม ตามความ มุ่งหมายอย่างแท้จริงของการเป็นนักกฎหมายของนักศึกษา คณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ในรายวิชาหลักวิชาชีพนักกฎหมาย การขอเพิม่ ชือ่ ในทะเบียนส�ำหรับคนไทยทีไ่ ม่มสี ถานะทางทะเบียนจากการทีไ่ ม่ได้แจ้งเกิดตามเวลา ทีก่ ฎหมายก�ำหนดให้ได้มสี ถานะทางทะเบียนและมีบตั รประชาชนนัน้ ในบางกรณียงั ขาดหลักฐานทัง้ พยาน เอกสารและพยานบุคคลในการเตรียมการเพื่อขอเพิ่มชื่อทางทะเบียน เช่น เอกสารทางราชการ สูติบัตร และหมอต�ำแย เป็นต้น ซึ่งนายทะเบียนอาจร้องขอให้มีการตรวจพิสูจน์ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของ บุคคลสัญชาติไทยที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนกับบุคคลอ้างอิง (ซึ่งเป็นบุคคลที่มีสัญชาติไทยตามหลักสาย โลหิต) ในขั้นตอนการเพิ่มชื่อในทะเบียนตามกรณีดังกล่าว คู่มือฉบับนี้ มีการรวบรวมขั้นตอนการด�ำเนินงานและการประสานงานระหว่างองค์กรของรัฐ ที่เกี่ยวข้องให้เกิดความชัดเจนในการปฏิบัติงานระหว่างหน่วยงานภาครัฐมากขึ้น โดยมีผลการศึกษาการ ด�ำเนินงาน ในการขอเพิ่มชื่อในทะเบียนของบุคคลที่อ้างว่ามีสัญชาติไทยซึ่งมีฐานะยากไร้ให้ได้รับการ ตรวจพิสูจน์ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมกับสถาบันนิติวิทยาศาสตร์โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายภายใต้บันทึก ข้อตกลงความร่วมมือด้านการให้บริการตรวจสารพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) เพื่อสนับสนุนงานทะเบียนราษฎร์ คู่มือฉบับนี้ เป็นประโยชน์ต่อประชาชนคนไทยที่ไม่ได้แจ้งเกิดซึ่งมีฐานะยากไร้ ให้มีความรู้ความ เข้าใจในการขอเพิ่มชื่อในทะเบียนเพื่อให้สามารถได้รับสิทธิต่างๆ ตามที่กฎหมายรัฐธรรมนูญได้บัญญัติไว้ อีกทัง้ ยังเป็นประโยชน์ในการปฏิบตั งิ านด้านทะเบียนราษฎร์ของนายทะเบียนและเจ้าหน้าทีท่ เี่ กีย่ วข้องให้ สามารถอ�ำนวยความสะดวกในการบริการประชาชนคนไทยทีป่ ระสบปัญหาไม่มสี ถานะทางทะเบียนต่อไป คณะผู้จัดท�ำ พฤศจิกายน 2559 จัดท�ำโดย กลุ่มนักศึกษา คณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
5
คูม่ อื บริการประชาชนฯ
เล่าเรือ่ ง เบือ้ งต้น
สามารถชมการ์ตูน Video Tape Recorder ผ่าน 2 ช่องทาง คือ YouTube video: https://www.youtube.com/watch?v=0swH0gHYJj0&rel=0 View Powtoon: https://www.powtoon.com/online-presentation/e94uQm6uMEZ/dna-rebondidcard-thailand/
6
้ไหมในแต่ลละปีะปีจะมี จะมีเเด็ด็กกประมาณร้ อ 40,000 ไปก รู้ไรูหมในแต่ 40,000อยละ คน ที5่ผู้ปหรื กครองไม่ ได้ไปแจ้คน งเกิดต่ท�อำปีให้ที่ผไมู่้ปมกครองไม่ ีเลข 13ได้หลั แจ้งเกิดส่งมีคนไทยจ�ำนวนกว่าล้านคนไม่มีเอกสารเกี่ยวกับการเกิด ท�ำให้ไม่มีเลข 13 หลัก ไม่มีบัตรประชาชน
มักจะเกิดจากพ่อแม่ที่ยากจน พ่อแม่ขาดความรู้ เลยขาดความเข้าใจถึงความส�ำคัญ ในการแจ้งเกิดพ่อแม่ย้ายถิ่นฐานบ่อยๆ จากการท�ำงานก่อสร้าง ติดคุก ติดเหล้าหรือ ปล่อยปละละเลย ไม่ใส่ใจ 7
คูม่ อื บริการประชาชนฯ
จะเกิดอะไรขึ้น หากคนไทยไม่มีบัตรประชาชน
เมื่อเด็กไทยเหล่านี้โตขึ้น ท�ำให้กลายเป็นคนไทยที่ตกหล่นทางทะเบียน ไม่มีบัตรประชาชน ไม่มีเลข13หลัก ท�ำให้ขาดโอกาสในการเข้าถึงการศึกษา ขาดการเข้าถึงการรักษาพยาบาล สวัสดิการสังคม การถือครองทรัพย์สิน 8
ส่งผลให้ต้องท�ำงานมีรายได้น้อยและไม่แน่นอน เช่น รับจ้างเลี้ยงควาย รับจ้างทั่วไป เป็น ขอทาน หรือถูกหลอกลวงเป็นเหยื่อขบวนการค้ามนุษย์ ลูกของผู้ไม่มีเลข13หลัก ย่อมไม่มีบัตรเช่นกัน
ในระเบียบส�ำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดท�ำทะเบียนราษฎร์ พ.ศ. 2535 ระบุว่า.... 9
คูม่ อื บริการประชาชนฯ
สามารถใช้พยานบุคคล แต่บางครั้งขาดความน่าเชื่อถือ หรือสามารถใช้ DNA ซึ่งเป็น หลักฐานที่น่าเชื่อถือมากที่สุด
แต่ขั้นตอนการตรวจ DNA จากโรงพยาบาลของรัฐที่กรมการปกครองรับรองก็มีค่าใช้จ่าย รายละ 5,000 – 7,000 บาท ซึ่งการตรวจในแต่ละเคสต้องตรวจอย่างน้อย 2 ราย ถือเป็นค่าใช้จ่ายที่สูงมากเกินกว่าผู้มีรายได้แบบหาเช้ากินค�่ำจะรองรับไหว 10
แต่ทุกปัญหามีทางออก เมื่อกรมการปกครองร่วมกับสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ ได้ท�ำ MOU ร่วมกันในการอนุเคราะห์ตรวจสอบ DNA ให้แก่ คนอนาถา
โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ติดต่ออ�ำเภอให้ช่วยประสานสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ 2. ส่งข้อมูลไป ตรวจสอบกับส�ำนักทะเบียน 3 เก็บตัวอย่าง DNA จากเคส 11
คูม่ อื บริการประชาชนฯ
4. ส่งผลตรวจ DNA ไปยังอ�ำเภอ 5. อ�ำเภอออกบัตรประชาชน หากมีข้อขัดข้องสามารถ ร้องเรียนกับยุติธรรมจังหวัด
เคสที่จะสามารถตรวจ DNA ได้ คือ 1) มีตัวเคสและคนในครอบครัวอย่างน้อย 1 คนที่มี บัตรประชาชน 2) คนในครอบครัวต้องมีความผูกพันกับเคสทางสายเลือด เช่น พ่อ แม่ พีหรือน้อง 12
ต้องเข้าทั้ง 2 กรณีเท่านั้น จึงจะสามารถตรวจหาความสัมพันธ์ทาง DNA เพื่อออก บัตรประชาชนได้
เมื่อได้บัตรประชาชนแล้ว เคสก็จะได้มาซึ่งสิทธิในด้านต่างๆ อย่างที่ประชาชนไทย พึงได้รับตามรัฐธรรมนูญ 13
คูม่ อื บริการประชาชนฯ
สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ rebondidcard.wordpress.com
ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อ�ำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ และกรมการปกครอง 14
อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. ปริญญา เทวานฤมิตรกุล
จัดท�ำโดย กลุ่มนักศึกษา คณะนิติศาสตร์ (ภาคบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 15
คูม่ อื บริการประชาชนฯ
1. รายละเอียดทั่วไปส�ำหรับการขอเพิ่มชื่อในทะเบียน
ภายใต้บันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการให้บริการตรวจสารพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) เพื่อสนับสนุนงานทะเบียนราษฎร์ ปัจจุบนั มีคนไทยจ�ำนวนมากทีย่ งั ไม่ชอื่ ทางทะเบียนเพราะ ไม่ได้แจ้งเกิดตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด เนือ่ งจากขาดความรู้ และ ปัญหาความเอาใจใส่ของพ่อแม่ทไี่ ม่ได้แจ้งเกิดในครอบครัวทีม่ ี รายได้น้อยหรือเป็นคนยากไร้ที่อาจจะย้ายแหล่งท�ำมาหากิน ไปเรื่อยๆ หรือเป็นกรณีที่เกิดมาแล้วพ่อแม่เสียชีวิตทั้งหมด รวมทั้งปัญหาที่ประชาชนบางกลุ่มยังขาดความรู้ความเข้าใจ ในขั้นตอนการด�ำเนินการขอเพิ่มชื่อในทะเบียน ไม่ทราบถึง ผลกระทบหากไม่มีสถานะทางทะเบียนตามกฎหมาย คน ไทยที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนนั้นจะขาดโอกาสในการใช้และ เข้าถึงสิทธิตามที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยได้รับรอง และคุ้มครองให้ การด�ำเนินการโครงการการตรวจสารพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) เพื่อสนับสนุนการทะเบียนราษฎร์นั้นได้มีการด�ำเนินการ มาแล้ว ในช่วงระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา ซึ่งหน่วยงานที่มี บทบาทส�ำคัญ คือ สถาบันนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ กระทรวงยุตธิ รรม เป็นหน่วยงานทีด่ ำ� เนินการตรวจพิสจู น์สารพันธุกรรม เพือ่ น�ำ ข้อมูลผลการตรวจมาประกอบการพิจารณาเรื่องสัญชาติไทย และการแก้ไขข้อมูลทางทะเบียนราษฎร์ของนายทะเบียน โครงการดังกล่าวเริม่ ด�ำเนินการมาตัง้ แต่ปี 2547 จนถึงปัจจุบนั แต่ปญ ั หาส�ำคัญ นัน้ อาจกล่าวได้วา่ มีอยูด่ ว้ ยกัน 3 ประการ คือ ปัญหาของพนักงานเจ้าหน้าทีง่ านทะเบียนราษฎร์ในการใช้ผล
16
ตรวจสารพันธุกรรมประกอบการใช้ดุลพินิจ ปัญหาการตรวจ ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) เพื่อใช้เป็นหลักฐานมี ค่าใช้จา่ ยทีส่ งู และปัญหาการประสานงานระหว่างองค์กรของ รัฐที่อาจจะต้องใช้เวลามากพอสมควร เพื่อเป็นการช่วยเหลือประชาชน กรมการปกครอง และ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงความ ร่วมมือด้านการให้บริการตรวจสารพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) เพื่อ สนับสนุนงานทะเบียนราษฎร์ เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2558 โดยเป็นการประสานความร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหาสถานะ และสิทธิของคนไทย โดยมีความมุ่งหมายที่จะช่วยเหลือคน ไทยที่ตกหล่นทางทะเบียนราษฎร์และมีฐานะยากไร้ให้ได้ รับการตรวจสารพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใน กระบวนการตรวจพิสูจน์ดังกล่าว เพื่อพิสูจน์สถานะบุคคล และการยืนยันความสัมพันธ์ทางสายโลหิต และใช้เป็นหลัก ฐานประกอบการพิจารณาการแจ้งเกิดเกินก�ำหนดหรือขอเพิม่ ชื่อในทะเบียนบ้าน ดังนั้นคู่มือบริการประชาชนฉบับนี้จึงเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วย ท�ำให้เกิดความชัดเจนในขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านระหว่างหน่วย งานภาครัฐด้านการทะเบียนราษฎร์ในการช่วยเหลือและ อ�ำนวยความสะดวกแก่คนไทยที่ตกหล่นทางทะเบียนและมี ฐานะยากไร้ให้ได้มีสถานะทางทะเบียนราษฎร์ต่อไป
2. คุณสมบัติของผู้มีสิทธิขอเพิ่มชื่อในทะเบียนราษฎร์ ตามหลักสายโลหิต (ตามกรณีศึกษา)
• พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ. 2508
มาตรา 7 บุคคลดังต่อไปนี้ย่อมได้สัญชาติไทยโดยการเกิด (1) ผู้เกิดโดยบิดาหรือมารดาเป็นผู้มีสัญชาติไทย ไม่ว่าจะ เกิดในหรือนอกราชอาณาจักรไทย (2) ผู้เกิดในราชอาณาจักรไทย ยกเว้นบุคคลตามมาตรา 7 ทวิ วรรคหนึ่ง ค� ำ ว่ า บิ ด าตาม (1) ให้ ห มายความรวมถึ ง ผู ้ ซึ่ ง ได้ รั บ การพิสูจน์ว่าเป็นบิดาของผู้เกิดตามวิธีการที่ก�ำหนดในกฎ กระทรวง แม้ผู้นั้นจะมิได้จดทะเบียนสมรสกับมารดาของผู้ เกิด และมิได้จะเบียนรับรองผู้เกิดเป็นบุตรก็ตาม กฎหมายว่าด้วยสัญชาติได้บญั ญัตไิ ว้ใน มาตรา 7 วรรคหนึง่ ประกอบ มาตรา 7 วรรคท้าย แห่งพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ. 2508 นี้ เป็นหลักเกณฑ์การได้สญ ั ชาติไทยโดยสายโลหิต กล่าวคือ หากเป็นผูท้ เี่ กิดโดยมีบดิ าหรือมารดาเป็นผูม้ สี ญ ั ชาติ ไทย ไม่ว่าบิดากับมารดาจะจดทะเบียนสมรสกันหรือไม่ และ ไม่ว่าจะเกิดภายในหรือภายนอกประเทศไทย บุคคลนั้นย่อม ได้สัญชาติไทย
• พระราชบัญญัตกิ ารให้บริการด้านนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ พ.ศ. 2559
มาตรา 5 ให้สถาบันมีหน้าทีใ่ นการบริการและส่งเสริมงาน ด้านนิติวิทยาศาสตร์โดยให้รวมถึงงานดังต่อไปนี้ด้วย (2) ให้บริการด้านนิตวิ ทิ ยาศาสตร์เพือ่ คุม้ ครองสิทธิมนุษย ชน การอ�ำนวยความยุติธรรมและการทะเบียนราษฎร์ ตามที่ เจ้าหน้าที่ของรัฐหรือผู้ที่เกี่ยวข้องร้องขอ พระราชบัญญัติการให้บริกการด้านนิติวิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2559 มาตรา 5 (2) ก�ำหนดให้สถาบันนิติวิทยาศาสตร์จัดท�ำ
บริการด้านนิติวิทยาศาสตร์เพื่อคุ้มคร้องสิทธิมนุษยชน ทั้งนี้ คนไทยไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร์นั้นไม่สามารถเข้าถึง สิทธิพื้นฐานต่างๆ ตามรัฐธรรมแห่งราชอาณาจักรไทยรับรอง ไว้นั้นถือเป็นปัญหาสิทธิมนุษยชนอีกด้านหนึ่ง อีกทั้งในการ ยื่นค�ำร้องขอเพิ่มชื่อในทะเบียน หากนายทะเบียนผู้เป็นเจ้า หน้าที่รัฐร้องขอให้สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ด�ำเนินการพิสูจน์ ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมเพื่อการทะเบียนราษฎร์ สถาบัน นิติวิทยาศาสตร์ย่อมมีหน้าที่ให้บริการด้านนิติวิทยาศาสตร์ ตามค�ำร้องขอ นอกจากนีส้ ถาบันนิตวิ ทิ ยาศาสตร์และกรมการปกครองได้ มีการท�ำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการให้บริการตรวจ สารพันธุกรรม(ดีเอ็นเอ) เพื่อสนับสนุนงานทะเบียนราษฎร์ เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2558 ตามที่ได้กล่าวมาแล้วในข้อ 1. ดังนัน้ บุคคลผูม้ สี ทิ ธิขอสัญชาติไทยตามหลักสายโลหิตภาย ใต้กรอบความร่วมมือด้านการให้บริการตรวจสารพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) เพื่อสนับสนุนงานทะเบียนราษฎร์ ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. บุคคลที่อ้างว่าเป็นคนไทยที่ยังไม่เคยได้รับการแจ้งเกิด หรือยังไม่สถานะทางทะเบียน 2. ต้องมีบิดา มารดา หรือญาติร่วมสายโลหิตที่มีชื่อและ รายการบุคคลในทะเบียนบ้าน ระบุสัญชาติไทย ซึ่งสามารถ ตรวจพิสจู น์สารพันธุกรรม(ดีเอ็นเอ) เพือ่ การขอมีสญ ั ชาติไทย 3. บุคคลทีอ่ า้ งว่าเป็นคนไทยต้องเป็นผูย้ ากไร้ หมายถึง ผูม้ ี รายได้และทรัพย์สนิ น้อยไม่เพียงพอเป็นค่าใช้จา่ ยในการตรวจ พิสูจน์สารพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) 17
คูม่ อื บริการประชาชนฯ
3. รายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงาน ในการเพิ่มชื่อในทะเบียนราษฎร์
18
3. รายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงาน ในการเพิ่มชื่อในทะเบียนราษฎร์ การประสานงานระหว่างหน่วยงานของรัฐนั้นมีความ จ� ำ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ แ ต่ ล ะองค์ ก รจะต้ อ งศึ ก ษาให้ ท ราบถึ ง กระบวนการหรือขึ้นตอนการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่ต้อง มีการประสานงานกัน ซึ่งจะท�ำให้การด�ำเนินงานมีความราบ รื่น ถูกต้อง มีประสิทธิภาพ และรวดเร็ว เพื่อน�ำไปสู่การจัดท�ำ บริการสาธารณะแก่ประชาชนคนไทยให้เกิดประโยชน์สูงสุด รายละเอียดขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านของแต่ละหน่วยงาน ในการเพิม่ ชือ่ ในทะเบียนราษฎร์ ประกอบด้วย ขัน้ ตอน ระยะ เวลา หน่วยงานที่รับผิดชอบ และเอกสาร/หลักฐาน ที่ต้องจัด เตรียม หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข ในการยื่นค�ำขอ และการ พิจารณาอนุญาตของหน่วยงานราชการ
1. การพิจารณาคัดกรองตรวจสอบข้อมูลส่วนบุคคล เพื่อการเพิ่มชื่อในทะเบียนราษฎร์
• หน่วยงานที่รับผิดชอบ: ฝ่ายปกครอง ขั้นตอน วิธีการปฏิบัติ: 1. การยื่นค�ำร้องขอ: บุคคลที่อ้างว่าเป็นคนไทย ที่ยังไม่ เคยได้รับการแจ้งเกิด และยังไม่มีชื่อในทะเบียนบ้านสามารถ ยืน่ ค�ำร้องขอแจ้งเกิดหรือเพิม่ ชือ่ ในทะเบียนบ้านต่อนายอ�ำเภอ หรือนายทะเบียนท้องถิน่ แห่งท้องทีท่ ผี่ ยู้ นื่ ค�ำขอมีภมู ลิ ำ� เนาอยู่ เอกสารที่เกี่ยวข้อง: (1) ส�ำเนาบัตรประชาชนของบุคคลอ้างอิง (2) ส�ำเนาทะเบียนบ้านหรือแบบรับรองรายการทะเบียน ราษฎร์ของบุคคลอ้างอิง แบบฟอร์มที่ต้องใช้: (1) แบบฟอร์ม แผนผังความสัมพันธ์ทางครอบครัว (2) แบบฟอร์มภาพถ่ายประกอบระหว่างบุคคลอ้างอิง และบุคคลตกหล่น (3) แบบฟอร์มข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ยื่นค�ำร้อง
2. การสอบสวนและรวบรวมพยานหลักฐาน: นาย อ�ำเภอหรือนายทะเบียนจะท�ำการสอบสวนและรวบรวมพยาน หลักฐานเพื่อประกอบการพิจารณา กรณีพยานหลักฐานที่มี ไม่เพียงพอหรือไม่น่าเชื่อถือ แต่มีการอ้างพยานบุคคลที่เป็น เครือญาติซึ่งมีสัญชาติไทยและสามารถตรวจสารพันธุกรรม เพื่อยืนยันความสัมพันธ์ได้ นายอ�ำเภอหรือนายทะเบียนจะ มีค�ำสั่งให้บุคคลดังกล่าวตรวจพิสูจน์สารพันธุกรรมกับญาติ ที่เป็นบุคคลอ้างอิง (ตามระเบียบส�ำนักทะเบียนกลางว่าด้วย การจัดท�ำทะเบียนราษฎร์ พ.ศ. 2535 ข้อ 97) หมายเหตุ: ข้อ 97 บุคคลอ้างว่าเป็นคนมีสัญชาติไทยขอ เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ท.ร.14) โดยไม่มีหลักฐานเอกสารมา แสดง ให้เจ้าบ้านหรือผู้ขอเพิ่มชื่อยื่นค�ำร้องตามแบบพิมพ์ ที่ ก�ำหนดต่อนายทะเบียนอ�ำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแห่ง ท้องที่ที่ผู้ขอเพิ่มชื่อมีภูมิล�ำเนาในปัจจุบัน เมื่อนายทะเบียน ได้รับค�ำร้องแล้วให้ด�ำเนินการ ดังนี้ (1) สอบสวนเจ้าบ้าน ผู้ขอเพิ่มชื่อ บิดามารดาหรือญาติ พี่น้อง (ถ้ามี) หรือบุคคลที่น่าเชื่อถือประกอบการพิจารณา (2) ให้ตรวจสอบไปยังส�ำนักทะเบียนกลางว่าบุคคลที่ขอ เพิ่มชื่อมีชื่อและรายการบุคคลอยู่ในทะเบียนบ้านแห่งอื่นใด หรือไม่ 3. การขอตรวจพิสูจน์สารพันธุกรรมเพื่อใช้เป็นหลัก ฐานในการขอเพิ่มชื่อในทะเบียนราษฎร์: นายอ�ำเภอหรือ นายทะเบียนมีหนังสือแสดงความจ�ำนงขอความอนุเคราะห์ ตรวจสารพันธุกรรมแจ้งไปยังสถาบันนิตวิ ทิ ยาศาสตร์โดยต้อง จัดเตรียมและเอกสารและลงข้อมูลในแบบฟอร์ม รายละเอียด ตามข้อ 1. แหล่งที่มาข้อมูล: สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม
19
คูม่ อื บริการประชาชนฯ
ตารางการตรวจความสัมพันธ์ทางสายเลือดโดยการตรวจพิสูจน์สารพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) ที่พบบ่อย กลุ่มงานนิติเวชคลินิก กองนิติวิทยาศาสตร์บริการ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์
ล�ำดับ
ประเภทความสัมพันธ์
การตรวจ
1
บิดา - มารดา กับ บุตร
ตรวจได้
2
พี่-น้องร่วมมารดาเดียวกัน
ตรวจได้
3
พี่-น้องร่วมบิดาเดียวกัน (ชายกับชาย)
ตรวจได้
4
พี่-น้องร่วมบิดาเดียวกัน (หญิงกับหญิง)
ตรวจได้
5
พี่-น้องร่วมบิดาเดียวกัน (ต่างเพศ)
ตรวจไม่ได้
6
พี่-น้อง ของมารดา (ลุง/ป้า/น้า ) กับหลาน
ตรวจได้
7
พี่-น้อง (ชาย) ของบิดา (ลุง/อา) กับหลาน (หญิง)
ตรวจไม่ได้
8
พี่-น้อง (หญิง) ของบิดา (ป้า/อา) กับหลาน (ชายหญิง)
ตรวจไม่ได้
9
พี่-น้อง (ชาย) ของบิดา กับหลาน (ชาย)
ตรวจได้
10
ตา กับหลาน
ตรวจไม่ได้
11
พี่-น้อง (ชายหญิง) ของตา กับหลาน (ชายหญิง)
ตรวจไม่ได้
12
ยาย กับหลาน
ตรวจได้
13 14
พี่-น้อง (ชายหญิง) ของยาย กับหลาน (ชายหญิง) ปู่ กับหลาน (ชาย)
ตรวจได้ ตรวจได้
15
ปู่ กับหลาน (หญิง)
ตรวจไม่ได้
16
พี่-น้อง (ชาย) ของปู่ กับหลาน (ชาย)
ตรวจได้
17 18
พี่-น้อง (ชาย) ของปู่ กับหลาน (หญิง) พี-น้อง (หญิง) ของปู่ กับหลาน (ชายหญิง)
ตรวจไม่ได้ ตรวจไม่ได้
19
ย่า กับหลาน (ชาย)
ตรวจไม่ได้
20
ย่า กับหลาน (หญิง)
ตรวจได้
21
พี่-น้อง (ชายหญิง) ของย่า กับหลาน (ชายหญิง)
ตรวจไม่ได้
หมายเหตุ:
20
หมายเหตุ
- การขอรับบริการตรวจสารพันธุกรรมเพื่อการประกอบการพิจารณาแก้ไขปัญหา ข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ให้บริการเฉพาะการตรวจระหว่างบุคคลเท่านั้น - การตรวจความสัมพันธ์นอกเหนือจากกรณีที่แจ้ง กรุณาติดต่อเจ้าหน้าที่เพื่อพิจารณา เป็นรายไป
สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ท:ี่ กลุม่ นิตเิ วชคลินกิ สถาบันนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ โทร. 0-2142-3517 โทรสาร. 0-2143-911 แหล่งที่มาข้อมูล: สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม
3. รายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงาน ในการเพิ่มชื่อในทะเบียนราษฎร์
บริการประชาชน
เพือ่ ขอเพิม่ ชือ่ ในทะเบียนราษฎร์ของคนไทยทีต่ กหล่นทางทะเบียนภายใต้บนั ทึกข้อตกลง ความร่วมมือด้านการให้บริการตรวจสารพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ: DNA)
2. การด�ำเนินการตรวจพิสจู น์สารพันธุกรรม (DNA) เพื่อพิสูจน์ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม
• หน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบ: กลุ ่ ม นิ ติ เวชคลิ นิ ก กอง นิติวิทยาศาสตร์บริการ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ ขั้นตอน วิธีการปฏิบัติ: 1. การขอรับบริการตรวจสารพันธุกรรม: 1.1 หน่ ว ยงานราชการที่ มี สิ ท ธิ ข อรั บ บริ ก าร: ส�ำนักงานเขต ที่ว่าการอ�ำเภอ ศาล มูลนิธิฯ ยุติธรรมจังหวัด ฯลฯ 1.2 วิธีการปฏิบัติ: จัดส่งหนังสือแสดงความจ�ำนง ขอความอนุ เ คราะห์ ต รวจสารพั น ธุ ก รรมมายั ง สถาบั น นิติวิทยาศาสตร์ โดยต้องระบุข้อมูล ชื่อ - นามสกุล และความ สัมพันธ์ทางสายโลหิตของผู้ขอรับการตรวจ 1.3 เอกสารที่เกี่ยวข้อง: (1) ส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชนหรือส�ำเนา หนังสือเดินทาง กรณีชาวต่างประเทศ หรือส�ำเนาสูติบัตร กรณีเด็กหรือเยาวชนที่ยังไม่มีบัตรประจ�ำตัวประชาชน (ของ บุคคลอ้างอิง) (2) ส�ำเนาทะเบียนบ้านหรือแบบรับรองรายการ ทะเบียนราษฎร (ของบุคคลอ้างอิง)
(3) ส� ำ เนาเอกสารข้ อ มู ล ที่ ยื น ยั น ว่ า ผ่ า นการ พิจารณาจากหน่วยงานทางปกครองท้องที่แล้ว เช่น ส�ำเนา บันทึกค�ำร้องเกี่ยวกับงานทะเบียนราษฎร ส�ำเนาบันทึกการ สอบข้อเท็จจริง (4) ภาพถ่ายปัจจุบันของผู้ร้องขอรับการตรวจซึ่ง ต้องมีการลงนามรับรองโดยหัวหน้าส่วนราชการหรือเจ้าหน้าที่ ผู้มีอ�ำนาจ (ตามตัวอย่างภาพประกอบโดยสามารถเลือกใช้ แบบใดแบบหนึ่ง) (5) แผนผังเครือญาติแสดงความสัมพันธ์ของผูข้ อรับ การตรวจ (ถ้ามี) (6) หมายเลขโทรศัพท์ของผู้ขอรับการตรวจหรือ ผู้เกี่ยวข้อง 2. การคัดกรองประวัติผู้ร้องขอ: เจ้าหน้าที่จะติดต่อยังผู้รับบริการหรือผู้เกี่ยวข้อง เพื่อ สอบถามข้อมูลและคัดกรองประวัติผู้ร้องเพิ่มเติม เพื่อน�ำมา ประกอบการพิจารณาตามขัน้ ตอนของสถาบันนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ 3. การอนุมัติให้เข้ารับการตรวจสารพันธุกรรม: 3.1 กรณีได้รับการอนุมัติ: ให้เข้ารับการตรวจสาร พันธุกรรมโดยผูอ้ ำ� นวยการสถาบันนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ เจ้าหน้าที่ จะติดต่อไปยังผู้รับบริการเพื่อนัดหมายการเข้ารับการตรวจ สารพันธุกรรม ทุกขั้นตอนจะไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น
21
คูม่ อื บริการประชาชนฯ 3.2 กรณีไม่ได้รับการอนุมัต:ิ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ จะมีหนังสือราชการแจ้งขัดข้องไปยังหน่วยงานที่ร้องขอ 4. เอกสารที่ต้องจัดเตรียมในวันเข้ารับการตรวจ: 4.1 บัตรประจ�ำตัวประชาชนฉบับจริง 4.2 สูตบิ ตั รฉบับจริง ในกรณีเด็กหรือเยาวชนทีย่ งั ไม่มี บัตรประจ�ำตัวประชาชนและต้องมีบดิ า-มารดา หรือผูป้ กครอง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ มาพร้อมกันด้วย 4.3 ทะเบียนบ้านหรือแบบรับรองรายการทะเบียน ราษฎร ฉบับจริง 4.4 ญาติหรือเจ้าหน้าทีท่ เี่ กีย่ วข้อง ซึง่ ถูกอ้างเป็นพยาน ต้องน�ำบัตรประชาชน หรือบัตรประจ�ำตัวข้าราชการ ฉบับ จริง มาแสดงด้วย 5. ขั้นตอนการจัดเก็บสารพันธุกรรม ประกอบด้วย: 5.1 การลงทะเบียนผู้เข้ารับบริการ การจัดท�ำข้อมูล ประวัติรายบุคคลของผู้เข้ารับการตรวจ 5.2 การลงนามยินยอมให้ตรวจสารพันธุกรรม โดย แพทย์หรือพยาบาลวิชาชีพอธิบายถึงรายละเอียดการตรวจ สารพันธุกรรม ในกรณีที่ผู้เข้ารับการตรวจสารพันธุกรรมเป็น เยาวชนอายุตำ�่ กว่า 20 ปี ต้องให้บดิ า - มารดา หรือผูป้ กครอง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือผู้ที่มีอ�ำนาจปกครองตามกฎหมาย ลงนามยินยอม 5.3 การพิมพ์ลายนิ้วมือ เพื่อประกอบข้อมูลประวัติ รายบุคคล 5.4 การถ่ายภาพของผูเ้ ข้าตรวจ โดยช่างภาพการแพทย์ หรือผู้ได้รับการฝึกอบรมการถ่ายภาพ เพื่อยืนยันบุคคลผู้เข้า รับการจัดเก็บสารพันธุกรรมและประกอบรายงานผลการจัด เก็บสารพันธุกรรม
5.5 วิธีการจัดเก็บสารพันธุกรรม: โดยการใช้ไม้พัน ส�ำลีสะอาด หรือ Foam Tips ป้ายบริเวณกระพุ้งแก้มเพื่อจัด เก็บเยื้อบุกระพุ้งแก้มแล้วจัดเก็บในภาชนะบรรจุ ปิดผนึกให้ เรียบร้อยพร้อมทัง้ ให้ผเู้ ข้ารับการตรวจลงนามก�ำกับบนภาชนะ บรรจุ ในกรณีที่ไม่สามารถจัดเก็บตัวอย่างสารพันธุกรรมจาก เยือ้ บุกระพุง้ แก้มได้เจ้าหน้าทีจ่ ะด�ำเนินการเก็บสารพันธุกรรม โดยการเจาะเลือด 6. การรายงานผลทางห้องปฏิบัติการ: 6.1 ติดตามและรวบรวมผลการตรวจจากห้องปฏิบตั กิ าร 6.2 เสนอรายงานผลการตรวจประกอบด้วย (1) หนังสือแจ้งผลการตรวจ (2) รายงานการจัดเก็บตัวอย่างเพื่อตรวจพิสูจน์ และภาพประกอบรายงานการตรวจพิสูจน์ (ภาพถ่ายบุคคลผู้ เข้ารับการตรวจ) (3) รายงานผลการตรวจพิ สู จ น์ ส ารพั น ธุ ก รรม ,กราฟผลการวิเคราะห์รูปแบบสารพันธุกรรมและภาพถ่าย ประกอบรายงานผลการตรวจพิสูจน์สารพันธุกรรม (ภาพถ่าย ตัวอย่างที่ได้ท�ำการตรวจพิสูจน์ • ผู ้ มี อ� ำ นาจลงนามรั บ รอง: ผู ้ อ� ำ นวยการสถาบั น นิติวิทยาศาสตร์เป็นผู้พิจารณาและลงนาม • ระยะเวลาด�ำเนินการ: รวมทั้งสิ้นประมาณ 30 - 45 วันท�ำการ • การแจ้งผลการตรวจสอบ: สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ จะจัดท�ำหนังสือแจ้งผลการตรวจกลับไปยังหน่วยงานทีร่ อ้ งขอ เป็นเอกสารลับและจัดส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียน แหล่งที่มาข้อมูล: สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม
เจ้าหน้าที่ยินดีให้บริการด้วย ความเต็มใจครับ/ค่ะ
22
3. รายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงาน ในการเพิ่มชื่อในทะเบียนราษฎร์ 3. การน�ำผลการตรวจสารพันธุกรรมประกอบการ พิจารณาการเพิ่มข้อมูลทางทะเบียนราษฎร์
• หน่วยงานที่รับผิดชอบ: ฝ่ายปกครอง ขั้นตอน วิธีการปฏิบัติ: 1. การพิจารณาผลการตรวจสารพันธุกรรม: เมื่อ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ มีหนังสือแจ้งผลการตรวจกลับไปยัง หน่วยงานที่ร้องขอเป็นเอกสารลับและจัดส่งทางไปรษณีย์ลง ทะเบียน เมื่อนายอ�ำเภอหรือนายทะเบียน ได้รับเอกสารดัง กล่าวแล้ว ผลการพิจารณาผู้ยื่นค�ำร้องขอ กับบุคคลผู้อ้างอิง รูปแบบผลการตรวจและการแปลความหมาย แยกเป็นกรณี ได้ดังต่อไปนี้ 1.1 กรณีเป็นตรวจความสัมพันธ์ บิดา มารดา บุตร - ถ้าใช่ ผลการตรวจจะระบุข้อความ ดังนี้ กรณี 1: เชื่อได้ว่า.......มีความสัมพันธ์...... กรณี 2: น่าเชื่อได้ว่า........มีความสัมพันธ์...... - ถ้าไม่ใช่ ผลการตรวจจะระบุข้อความ ดังนี้ : พบว่า......ไม่มีความสัมพันธ์........... - กรณีไม่สามารถสรุปได้ ผลการตรวจจะระบ ข้อความ ดังนี้: ไม่สามารถยืนยันในทางสถิติ ได้ว่า.......มีความสัมพันธ์........ 1.2 กรณีเป็นผลการตรวจพีน่ อ้ งและเครือญาติรว่ มสาย พันธ์มารดาเดียวกัน - ถ้าใช่ ผลการตรวจจะระบุข้อความ ดังนี้: พบว่าชื่อบุคคลผู้ยื่นค�ำร้องขอและ ชื่อบุคคล ผู้อ้างอิงมีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตที่สืบทอด มาจากมารดาหรือยายคนเดียวกัน - ถ้าไม่ใช่ ผลการตรวจจะระบุข้อความ ดังนี้: พบว่า ชื่อบุคคลผู้ยื่นค�ำร้องขอและ ชื่อบุคคล ผู้อ้างอิงไม่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตที่สืบทอด มาจากมารดาหรือยายคนเดียวกัน - กรณีไม่สามารถสรุปได้ ผลการตรวจจะระบุ ข้อความ ดังนี้: ไม่สามารถสรุปได้ว่า ชื่อบุคคล ผู้ยื่นค�ำร้องขอและ ชื่อบุคคลผู้อ้างอิงมีความ สัมพันธ์ทางสายโลหิตทีส่ บื ทอดมาจากมารดาหรือ ยายคนเดียวกัน 1.3 กรณีเป็นผลการตรวจพี่ชายน้องชายและเครือ ญาติร่วมสายพันธ์บิดาเดียวกัน - ถ้าใช่ ผลการตรวจจะระบุข้อความ ดังนี้ : พบว่าชื่อบุคคลผู้ยื่นค�ำร้องขอและ ชื่อบุคคล ผูอ้ า้ งอิงมีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตทีส่ บื ทอดมา
จากบิดาหรือปู่คนเดียวกัน - ถ้าไม่ใช่ ผลการตรวจจะระบุข้อความ ดังนี้ : พบว่า ชื่อบุคคลผู้ยื่นค�ำร้องขอและ ชื่อบุคคล ผู้อ้างอิงไม่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตที่สืบทอด มาจากบิดาหรือปู่คนเดียวกัน - กรณีไม่สามารถสรุปได้ ผลการตรวจจะระบุ ข้อความ ดังนี:้ ไม่สามารถสรุปได้วา่ ชือ่ บุคคลผูย้ นื่ ค�ำร้องขอและชื่อบุคคลผู้อ้างอิงมีความสัมพันธ์ ทางสายโลหิตที่สืบทอดมาจากบิดาหรือปู่ คนเดียวกัน 2. นายทะเบียนเพิม่ ชือ่ ในทะเบียนราษฎร์ตามระเบียบ ส�ำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดท�ำทะเบียนราษฎร์ พ.ศ. 2535 ข้อ 97: (4) เมื่อนายอ�ำเภอพิจารณาอนุมัติแล้ว ให้นายทะเบียน ด�ำเนินการเพิ่มชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านและ ส�ำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน พร้อมทั้งหมายเหตุในช่อง ย้ายเข้ามาจากว่า “ค�ำร้องที่… ลงวันที่… หรือ หนังสือ… ลง วันที่…” แล้วแต่กรณี แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและ วันเดือนปีก�ำกับไว้ (5) ก�ำหนดเลขประจ�ำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุมัติ ให้เพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านตามแบบพิมพ์ที่ก�ำหนดใน ข้อ 134 (22) (6) รายงานตามระเบียบที่ก�ำหนดในข้อ 132 (5) การเพิม่ ชือ่ ตามวรรคหนึง่ ถ้าบุคคลทีจ่ ะขอเพิม่ ชือ่ เข้าใน ทะเบียนบ้านมีอายุต�่ำกว่า ๗ ปีบริบูรณ์ในวันที่ยื่นค�ำร้อง ให้ นายทะเบียนอ�ำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นเป็นผู้พิจารณา อนุญาต เว้นแต่จะมีเหตุอนั ควรสงสัยเรือ่ งสัญชาติของบุคคลที่ จะขอเพิม่ ชือ่ ให้นายทะเบียนรวบรวมหลักฐานเสนอขอความ เห็นชอบจากนายอ�ำเภอท้องที่ก่อนพิจารณาอนุญาต หมายเหตุ: ข้อ 132 แบบพิมพ์และแบบรายงานการ ทะเบียนราษฎรที่ส�ำนักทะเบียนอ�ำเภอหรือส�ำนักทะเบียน ท้องถิ่นต้องส่งเมื่อได้ด�ำเนินการในแต่ละกรณีไปแล้ว มีดังนี้ (5) แบบรายงานการเพิม่ ชือ่ บุคคลในทะเบียนบ้าน (ท.ร. 14) ตามแบบ ท.ร. 98 ก. ตอนที่ 1 ข้อ 134 แบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรให้ใช้แบบพิมพ์ ต่างๆ ท้ายระเบียบนี้ดังนี้ (22) ท.ร. 98 ก. เป็นแบบการให้เลขประจ�ำตัวประชาชน ใช้ส�ำหรับบุคคลสัญชาติไทยที่ได้รับการเพิ่มชื่อในทะเบียน บ้าน (ท.ร. 14) แหล่งที่มาข้อมูล: สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม
23
คูม่ อื บริการประชาชนฯ
แผนขั้นตอนการด�ำเนินงานของแต่ละหน่วยงานในการเพิ่มชื่อในทะเบียนราษฎร์ 1. บุ ค คลที่ อ ้ า งว่ า เป็ น คนไทยและ ไม่มีสถานะทางทะเบียนกับคนไทย ผู้เป็นบุคคลอ้างอิงว่ามีความสัมพันธ์ ทางสายโลหิตพร้อมด้วยเจ้าบ้าน ยื่น ค�ำร้องขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านต่อ นายทะเบียนผู้มีอ�ำนาจ ณ ที่ว่าการ อ�ำเภอหรือส�ำนักงานเขต ทีผ่ ยู้ นื่ ค�ำร้อง มีภูมิล�ำเนาอยู่
2. นายทะเบียนสอบสวนเจ้าบ้าน ผู ้ ข อเพิ่ ม ชื่ อ บิ ด ามารดาหรื อ ญาติ พี่ น้อง (ถ้ามี) หรือบุคคลที่น่าเชื่อถือ ประกอบการพิ จ ารณาและรวบรวม พยานเอกสารต่างๆ เพื่อการพิสูจน์ ว่าผู้ยื่นค�ำร้องมีสัญชาติไทยโดยสาย โลหิต
3. นายทะเบียนตรวจสอบไปยังส�ำนัก ทะเบียนกลางว่าบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อ มีชอื่ และรายการบุคคลอยูใ่ นทะเบียน บ้านแห่งอื่นใดหรือไม่
4. กรณี ที่ ส� ำ นั ก ทะเบี ย นกลาง ยืนยันว่าผู้ยื่นค�ำร้องนั้นยังไม่มีชื่อ และรายการบุ ค คลอยู ่ ใ นทะเบี ย น บ้านแห่งอื่นอยู่แล้ว นายทะเบียนจะ ด�ำเนินการดังต่อไปนี้
5. พิ สู จ น์ ค วามสั ม พั น ธ์ ท างสาย โลหิตของผูย้ นื่ ค�ำร้องและบุคคลอ้างอิง โดยการตรวจพิสูจน์สารพันธุกรรม (DNA) โดยโรงพยาบาลของรัฐหรือ หน่วยงานของรัฐอื่นที่รับผิดชอบ 24
10. กรณี ที่ ส� ำ นั ก ทะเบี ย นกลาง ยืนยันว่าผู้ยื่นค�ำร้องนั้นยังไม่มีชื่อ และรายการบุ ค คลอยู ่ ใ นทะเบี ย น บ้านแห่งอื่นอยู่แล้ว จะด�ำเนินการ ดังต่อไปน่ี้
9. สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ตรวจสอบ ไป ส�ำนักทะเบียนกลางว่าบุคคลที่ขอ เพิ่มชื่อมีชื่อและรายการบุคคลอยู่ใน ทะเบียนบ้านแห่งอื่นใดหรือไม่
8 . ผู ้ อ� ำ น ว ย ก า ร ส ถ า บั น นิติวิทยาศาสตร์พิจารณาอนุมัติค�ำขอ ความอนุเคราะห์ดังกล่าว 7. เอกสารประกอบค� ำ ขอความ อนุเคราะห์ดังนี้
1) หนังสือค�ำขอความอนุเคราะห์ 2) แผนผังความสัมพันธ์โดยสายโลหิต 3) แบบฟอร์มภาพถ่ายประกอบของ ผู้ยื่นค�ำร้องและบุคคลอ้างอิง 4) แบบฟอร์มข้อมูลส่วนบุคคลของ ผู้ยื่นค�ำร้องและบุคคลอ้างอิง 5) ส�ำเนาบัตรประชาชนของบุคคล อ้างอิงพร้อมรับรองส�ำเนาถูกต้อง 6) ส�ำเนาทะเบียนของบุคคลอ้างอิง พร้อมรับรองส�ำเนาถูกต้อง
6. กรณีที่ผู้ร้องเป็นผู้มีฐานะยากไร้ นายทะเบี ย นสามารถขอความ อนุเคราะห์ให้กลุ่มงานนิติเวชคลินิก กองนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ สถาบันนิตวิ ทิ ยา ศาตร์ ด�ำเนินการตรวจพิสูจน์สาร พันธุกรรมโดยไม่มีค่าใช้จ่าย โดยมี เอกสารประกอบค�ำร้องขอดังนี
11. กลุ่มงานนิติเวชคลินิกนัดหมาย ผู ้ ยื่ น ค� ำ ร้ อ งและบุ ค คลอ้ างเพื่ อ เก็ บ ตั ว อย่ า งเยื่ อ กระพุ ้ ง แก้ ม เพื่ อ ตรวจ พิ สู จ น์ ห าความสั ม พั น ธ์ โ ดยใช้ รู ป แบบของสารพันธุกรรม
12. ขั้นตอนการตรวจพิสูจน์ • ซักถามประวัติของผู้ยื่นค�ำร้อง และบุคคลอ้างอิง • ถ่ายภาพ • เก็บตัวอย่างเยี่อกระพุ้งแก้ม
13. ผลการตรวจพิสูจน์ถูกส่งไปยังที่ ว่าการอ�ำเภอ/ส�ำนักงานเขต
14. นายทะเบียนผูม้ อี ำ� นาจพิจารณา ผลการตรวจประกอบการพิ จ ารณา อนุมัติเพิ่มชื่อผู้ยื่นค�ำร้องในทะเบียน บ้ า นและออกหมายเลขประจ� ำ ตั ว ประชาชน
ก า ร ด� ำ เ นิ น ก า ร โ ด ย ส ถ า บั น นิติวิทยาศาสตร์ การด�ำเนินการโดยส�ำนักทะเบียนกลาง การด�ำเนินการโดยที่ว่าการอ�ำเภอ/ ส�ำนักงานเขต
ภาคผนวก
25
คูม่ อื บริการประชาชนฯ
ตัวอย่างเอกสารประกอบหนังสือขอความอนุเคราะห์ การตรวจพิสูจน์ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) ต่อสถาบันนิติวิทยาศาสตร์
26
27
คูม่ อื บริการประชาชนฯ
28
29
คูม่ อื บริการประชาชนฯ
MY FAMILY TREE
ตัวอย่างแผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ทางสายเลือดของครอบครัว
30
หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องมีดังนี้ 1. พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ. 2508
มาตรา 7 บุคคลดังต่อไปนีย้ อ่ มได้สญ ั ชาติไทยโดยการเกิด (1) ผู้เกิดโดยบิดาหรือมารดาเป็นผู้มีสัญชาติไทย ไม่ว่าจะ เกิดในหรือนอกราชอาณาจักรไทย ค� ำ ว่ า บิ ด าตาม (๑) ให้ ห มายความรวมถึ ง ผู ้ ซึ่ ง ได้ รั บ การพิสูจน์ว่าเป็นบิดาของผู้เกิดตามวิธีการที่ก�ำหนดในกฎ กระทรวง แม้ผนู้ นั้ จะมิได้จดทะเบียนสมรสกับมารดาของผูเ้ กิด และมิได้จดทะเบียนรับรองผู้เกิดเป็นบุตรก็ตาม
2. พระราชบัญญัตกิ ารทะเบียนราษฎร์ พ.ศ. 2534
มาตรา 7 บุคคลดังต่อไปนีย้ อ่ มได้สญ ั ชาติไทยโดยการเกิด (1) ผู้เกิดโดยบิดาหรือมารดาเป็นผู้มีสัญชาติไทย ไม่ว่าจะ เกิดในหรือนอกราชอาณาจักรไทย ค� ำ ว่ า บิ ด าตาม (๑) ให้ ห มายความรวมถึ ง ผู ้ ซึ่ ง ได้ รั บ การพิสูจน์ว่าเป็นบิดาของผู้เกิดตามวิธีการที่ก�ำหนดในกฎ กระทรวง แม้ผนู้ นั้ จะมิได้จดทะเบียนสมรสกับมารดาของผูเ้ กิด และมิได้จดทะเบียนรับรองผู้เกิดเป็นบุตรก็ตาม
3 . พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ร ใ ห ้ บ ริ ก า ร ด ้ า น นิติวิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2559
มาตรา 5 ให้สถาบันมีหน้าที่ในการให้บริการและส่งเสริม งานด้านนิติวิทยาศาสตร์โดยให้รวมถึงงานดังต่อไปนี้ด้วย (2) ให้บริการด้านนิติวิทยาศาสตร์เพื่อการคุ้มครองสิทธิ มนุษยชนการอ�ำนวยความยุติธรรมและการทะเบียนราษฎร ตามที่เจ้าหน้าที่ของรัฐหรือผู้ที่เกี่ยวข้องร้องขอ
4. ระเบียบส�ำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดท�ำ ทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2535 ออกโดยอาศัยอ�ำนาจ พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร์ พ.ศ.2534
ข้อ 97 บุคคลอ้างว่าเป็นคนมีสัญชาติไทยขอเพิ่มชื่อใน ทะเบียนบ้าน (ท.ร. 14) โดยไม่มีหลักฐานเอกสารมาแสดง ให้ เจ้าบ้านหรือผูข้ อเพิม่ ชือ่ ยืน่ ค�ำร้องตามแบบพิมพ์ ทีก่ ำ� หนดต่อ นายทะเบียนอ�ำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิน่ แห่งท้องทีท่ ผี่ ขู้ อ เพิ่มชื่อมีภูมิล�ำเนาในปัจจุบัน เมื่อนายทะเบียนได้รับค�ำร้อง แล้วให้ด�ำเนินการ ดังนี้ (1) สอบสวนเจ้าบ้าน ผู้ขอเพิ่มชื่อ บิดามารดาหรือญาติพี่ น้อง (ถ้ามี) หรือบุคคลที่น่าเชื่อถือประกอบการพิจารณา (2) ให้ตรวจสอบไปยังส�ำนักทะเบียนกลางว่าบุคคลที่ขอ เพิ่มชื่อมีชื่อและรายการบุคคลอยู่ในทะเบียนบ้านแห่งอื่นใด หรือไม่ (3) รวบรวมหลักฐานทั้งหมดพร้อมความเห็นเสนอไปยัง นายอ�ำเภอแห่งท้องที่ (4) เมื่อนายอ�ำเภอพิจารณาอนุมัติแล้ว ให้นายทะเบียน ด�ำเนินการเพิ่มชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านและ
. . 2508 1.
7
3.
(1)
5
( ) (2)
. . 2534 2.
4.
. . 2535 . .2534
7 (1) ( )
ส�ำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน พร้อมทั้งหมายเหตุในช่อง ย้ายเข้ามาจากว่า “ค�ำร้องที่… ลงวันที่… หรือ หนังสือ… ลง วันที่…” แล้วแต่กรณีแล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและ วันเดือนปีก�ำกับไว้ (5) ก�ำหนดเลขประจ�ำตัวประชาชนให้แก่ผู้ได้รับอนุมัติให้ เพิม่ ชือ่ ในทะเบียนบ้านตามแบบพิมพ์ทกี่ ำ� หนดในข้อ 134 (22) (6) รายงานตามระเบียบที่ก�ำหนดในข้อ ๑๓๒ (๕) การเพิ่มชื่อตามวรรคหนึ่ง ถ้าบุคคลที่จะขอเพิ่มชื่อเข้าใน ทะเบียนบ้านมีอายุต�่ำกว่า ๗ ปี บริบูรณ์ในวันที่ยื่นค�ำร้อง ให้ นายทะเบียนอ�ำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นเป็นผู้พิจารณา อนุญาต เว้นแต่จะมีเหตุอันควรสงสัยเรื่องสัญชาติของบุคคล ทีจ่ ะขอเพิม่ ชือ่ ให้นายทะเบียนรวบรวมหลักฐานเสนอขอความ เห็นชอบจากนายอ�ำเภอท้องที่ก่อนพิจารณาอนุญาต ข้อ 132 แบบพิมพ์และแบบรายงานการทะเบียนราษฎร ที่ส�ำนักทะเบียนอ�ำเภอหรือส�ำนักทะเบียนท้องถิ่นต้องส่งเมื่อ ได้ด�ำเนินการในแต่ละกรณีไปแล้ว มีดังนี้ (5) แบบรายงานการเพิ่มชื่อบุคคลในทะเบียนบ้าน (ท.ร. 14) ตามแบบ ท.ร. 98 ก. ตอนที่ 1 ข้อ 134 แบบพิมพ์การทะเบียนราษฎรให้ใช้แบบพิมพ์ ต่างๆ ท้ายระเบียบนี้ดังนี้ (22) ท.ร. 98 ก. เป็นแบบการให้เลขประจ�ำตัวประชาชน ใช้ส�ำหรับบุคคลสัญชาติไทยที่ได้รับการเพิ่มชื่อในทะเบียน บ้าน (ท.ร.14) 31
คูม่ อื บริการประชาชนฯ
รายชื่อ/ข้อมูลการติดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • ส�ำนักบริหารการทะเบียน ส่วนการทะเบียน • สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม
สถานที่ติดต่อ: ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ อาคาร รัฐประศาสนภักดี (อาคารบี) ชั้น 9 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวง ทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท์ 0-2142-3571 โทรสาร 0-2143-9114
32
ราษฎร์ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
สถานที่ติดต่อ: เลขที่ 59 หมู่ 11 ต�ำบลบึงทองหลาง อ�ำเภอล�ำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12150 โทรศัพท์ 0-2791-7324 โทรสาร 0-2906-9217
สื่อบริการประชาชน X-stand/Roll up
คู่มือ
โบรชัวร์
คู่มือ
โบรชัวร์ X-stand/Roll up 33
คูม่ อื บริการประชาชนฯ
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม: ปั จ จุ บั น ยั ง มี ค นไทยที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ แจ้ ง เกิดอยู่เป็นจ�ำนวนมากตามต�ำบลพื้นที่ ห่างไกล อาจด้วยระยะทางหรือความ รู ้ ค วามเข้ า ใจในสิ ท ธิ ที่ สู ญ หายไปจาก การไม่มีชื่อในทะเบียนบ้านควรมีการ ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ความเข้าใจ ถึงสิทธิและเสรีภาพที่ประชาชนขาด หายไปในกรณีทไี่ ม่ได้แจ้งเกิดรวมไปถึง รณรงค์ให้คนไทยที่ไม่ได้แจ้งเกิดเข้ามา ยื่นค�ำร้องเพื่อเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต และของคน ไทยให้ได้รับสิทธิตามรัฐธรรมนูญอย่าง เท่าเทียมด้านของผู้ให้บริการ เจ้าหน้าที่ ฝ่ายปกครอง ในฐานะผู้ใช้กฎหมาย ต้อง ส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ทราบ เรื่อง การคืน สถานะให้บุคคลที่ตกหล่นทางทะเบียน ราษฎร์ เพือ่ น�ำไปปฏิบตั เิ ข้าสูข่ นั้ ตอนและ กระบวนการต่อไป นอกจากนี้ จากการลงพื้นที่ปฏิบัติ งานร่วมกับประชาชนพบว่า ประชาชน ที่ตกหล่นทางทะเบียนส่วนใหญ่มีฐานะ ยากจน และอยู่ตา่ งจังหวัดห่างไกล เมื่อ ท�ำการยืน่ ค�ำร้องต่อนายทะเบียนอ�ำเภอ/ ท้องถิ่นเพื่อเพิ่มชื่อเข้าในทะเบียนบ้าน แล้ว ในขั้นตอนของการเดินทางมาจัด เก็บตัวอย่างสารพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ: DNA) เพื่ อ ตรวจหาความสั ม พั น ธ์ ณ
สถาบั น นิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ นั้ น แม้ ว ่ า สถาบันฯ บริการตรวจโดยไม่คิดค่าใช้ จ่าย แต่การเดินทางมายังสถาบันฯ ก็มี ค่าใช้จ่ายจ�ำนวนไม่น้อย และต้องสละ เวลาท�ำกิจการงานไม่ต�่ำกว่า 1-2 วัน ท�ำให้ขาดรายได้ การเดินทางดังกล่าว ของประชาชนจึงถือเป็นเรื่องใหญ่ ดัง นั้น เพื่อเป็นการช่วยเหลือประชาชนที่ ด้อยโอกาส และช่วยลดปัญหาสังคมที่ จะตามมา รวมทัง้ เพือ่ ให้ประชาชนได้เข้า ถึงโอกาสในการท�ำบัตรประชาชนเพือ่ รับ สิทธิต่างๆ ที่ตนพึงได้รับตามรัฐธรรมนูญ จึงมีข้อเสนอแนะดังนี้ 1. หน่ ว ยงานที่ รั บ ยื่ น ค� ำ ร้ อ งทาง ทะเบียนควรประสานงานร่วมกับสถาบัน นิติวิทยาศาสตร์ เพื่อจัดบริการส�ำหรับ ประชาชนในการเดินทางมายังสถาบัน นิติวิทยาศาสตร์เพื่อจัดเก็บตัวอย่างสาร พันธุกรรม (ดีเอ็นเอ: DNA) ด้วยรถยนต์ ของส่วนราชการ พร้อมทั้งบริการอาหาร ส�ำหรับประชาชนในระหว่างเดินทาง โดย ไม่คิดค่าใช้จ่าย แต่คิดเป็นค่าธรรมเนียม ในการปฏิบตั งิ านของส่วนราชการจ�ำนวน เล็กน้อยเพื่อการบริการประชาชน ทั้งนี้ ส่วนราชาการอาจจัดสรรเป็นงบประมาณ ประจ�ำปีเพื่อบริการประชาชนในกรณี การเดินทางดังกล่าว หรือ
2. หน่ ว ยงานที่ รั บ ยื่ น ค� ำ ร้ อ งทาง ทะเบียน แจ้งให้สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ ส่ ง เจ้ า หน้ า ที่ ม าจั ด เก็ บ ตั ว อย่ า งสาร พั น ธุ ก รรม (ดี เ อ็ น เอ: DNA) ให้ แ ก่ ประชาชนที่ยื่นค�ำร้อง ณ หน่วยงานที่รับ ยื่นค�ำร้องทางทะเบียนนั้นๆ หรือ 3. สถาบันนิติวิทยาศาสตร์จัดอบรม ให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่ รับยื่นค�ำร้องทางทะเบียนนั้นๆ เพื่อให้ สามารถจัดเก็บตัวอย่างสารพันธุกรรม (ดี เ อ็ น เอ: DNA) จากประชาชนที่ ยื่ น ค�ำร้องตามหลักวิชาที่ถูกต้อง เช่น การ เก็บจากเยื่อกระพุ้งแก้ม เส้นผม เกล็ด เลื อ ด ฯลฯ แล้ ว จั ด ส่ ง มายั ง สถาบั น นิติวิทยาศาสตร์ หรือ 4. หากกรณีข้างต้น เป็นเรื่องยาก และไม่สามารถท�ำได้ หน่วยงานที่รับยื่น ค�ำร้องทางทะเบียน ควรให้ค�ำแนะน�ำ แก่ประชาชนในการเดินทางมายังสถาบัน นิติวิทยาศาสตร์ด้วยตนเอง เช่น ระดับ ราคาค่ า ใช้ จ ่ า ยในการเดิ น ทางด้ ว ยรถ โดยสารประเภทต่างๆ อาทิ รถไฟ รถตู้ รถบัส ฯลฯ ตลอดจนค่าใช้จ่ายในการ นั่งรถโดยสารประจ�ำทางมายังสถาบัน นิติวิทยาศาสตร์โดยละเอียด
ติดต่อขอรับสื่อเพื่อการผลิต (artworrk)
34
email: rwine.th@gmail.com website: rebondidcard.wordpress.com id line: rabbitpaws
37
“ที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักศึกษาจะเรียน จบได้ ต่ อ เมื่ อ ได้ ท� ำ ‘โครงงานกฎหมายบริก ารสั งคม’ เป็ น เวลา หนึ่งเทอม เป้าหมายคือเพื่อให้นักศึกษากฎหมายของธรรมศาสตร์ ได้เข้าใจ และเรียนรู้ปัญหากฎหมายในชีวิตจริงๆ ไม่ใช่เก่งแต่ในห้องเรียน และเรี ย นรู ้ ก ารใช้ ก ฎหมายในการแก้ ป ั ญ หาให้ ป ระชาชน ไม่ ใช่ เก่งแต่มาตรา หรือรู้แต่ในต�ำรากฎหมาย แต่เอามาใช้สร้างความ ยุติธรรมไม่เป็น ที่ส�ำคัญที่สุดคือนักศึกษาได้เรียนรู้ถึงความสุขที่เกิดจากการ ช่วยคน เรียนรู้ถึงความสุขจากการท�ำเพื่อผู้อื่น การท�ำเพื่อประชาชน การท�ำเพื่อผู้อื่นนี้เอง คือ สิ่งที่ในหลวง รัชกาลที่ ๙ ได้ทรงท�ำมาตลอดพระชนม์ชีพของท่าน และเป็น สิ่งที่เราทั้งหลาย ควรท�ำตามพระองค์ท่าน” ผศ.ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล
ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่: rebondidcard.wordpress.com