คู่มือ

Page 1

บทที่ 1 การจัดการบัญชีสมาชิก 1. การสร้างบัญชีผู้ใช้ (User) 1.1 Login เพื่อเข้าสู่หน้าการจัดการระบบ (Back End) 1.

2. 3.

4.

รูปที่ 1.1 วิธีการเข้าสู่เว็บไซด์ ศวฝ.

1) 2) 3) 4)

เข้าไปที่ www.deqp.go.th เลือกที่รู้จักหน่วยงาน เว็บไซด์ภายใน ศูนย์วิจยั และฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม (คลิกเลือก)

1


1.2 การเข้าสู่หน้าจอเข้าสู่ระบบ

รูปที่ 1.2 ลิงค์เข้าสู่ระบบ ศวฝ.

 ในช่อง Address bar พิมพ์คาว่า “administrator” www.deqp.go.th/website/20/administrator/

ต่อท้าย

ดังนี้

รูปที่ 1.3 รูปหน้าเว็บไซด์เข้าสู้ระบบ (Login) ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม

1) เข้าสู่หน้าจอเข้าสู่ระบบ 2) ใส่ชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่านของตนเอง 3) คลิกปุ่ม”เข้าสู่ระบบ” 4) เมื่อทาการเข้าสู่ระบบเรียบร้อยแล้ว จะเข้าสู่หน้าหลักของ Back End ซึ่งมีเมนูในการจัดการต่างๆ ดังนี้

2


1

2 4

3

รูปที่ 1.4 Main Menu

(1) Mainmanu  เมนูเว็บ นี้จะจัดเกี่ยวกับผู้ใช้งาน ไฟล์ รูปภาพ การตั้งค่าต่างๆของเว็บไซต์ (ไม่แนะนาให้แก้ค่าคอนฟิคเว็บไซต์)  เมนู ใช้จัดการเมนูต่างๆ ของหน้า Front End เช่น TopMenu MainMenu การแสดงผลเมนูต่างๆ เป็นต้น  บทความ ใช้จัดการบทความ สร้าง-แก้ไข เพิ่ม-ลบ เผยแพร่ ย้ายบทความ และมีถังขยะเพื่อย้อนเข้าไปดูบทความที่เคยถูกลบได้  คอมโพเน้นท์ เป็นส่วนที่เก็บฟังก์ชั่นเสริมที่เราใส่เข้าไปเพื่อเพิ่ม ความสามารถของเว็บไซต์ เช่น poll Ebook เป็นต้น  ส่วนขยาย ใช้ เพิ่ม-ลบ แก้ไข ฟังก์ชั่น การทางานต่างๆ ทั้งคอมโพเน้นท์ที่ เราสามารถเพิ่มใหม่ หรือเดิมที่มีบนเว็บไซต์อยู่แล้ว เช่น โมดูลการเข้าสู่ ระบบของ User การแสดงผลต่างๆของเมนู เช่น การแสดงเป็นตาราง แสดงเป็นภาพ สามารถเปิดปิดการทางานได้ที่นี่  ช่วยเหลือ เป็นฟังก์ชั่นอื่นๆ ที่เมื่อใช้งานแล้วจะไม่ค่อยกระทบกันเว็บไซต์ เช่น การส่งจดหมายให้ทุกคน (Mass Mail) หรือกล่องข้อความส่วนบุคคล (inbox) ใช้งานภายในเว็บไซต์ ศวฝ. เท่านั้น

(2) เมนูอื่นๆ  สถานะการแสดงภาษา ซึ่งสามารถเปลี่ยนภาษาได้โดยไปที่เมนูการจัดการ ภาษา 3


 แสดงตัวอย่าง ซึ่งจะแสดงหน้าเว็บไซด์ศูนย์วิจยั และฝึกอบรมด้าน สิ่งแวดล้อม  จานวนผู้ใช้งานที่ออนไลน์ แสดงสถานออนไลน์ของสมาชิก ณ.เวลาที่เรา เข้าใช้งานในระบบ  ออกจากระบบ

(3) Control Panel  เป็นเมนูลัดที่ใช้งานกันบ่อย บางฟังก์ชัน อาจไม่มีในบาง Class ของ User เช่น การแก้ไขค่าคอนฟิคหลักจะมีเฉพาะผู้ดูแลระบบเท่านั้น  การจัดการภาษา จะเปลี่ยนภาษาทั้งหมดของเว็บไซต์ เฉพาะที่เป็นเมนู ต่างๆ จะไม่เปลี่ยนภาษาของบทความที่เคยเพิ่มไว้แล้ว

(4) สถิติเว็บ  Logged in users จะแสดงผู้ที่กาลังเข้าใช้งานระบบนี้ โดยจะแสดงชื่อ บัญชีและ Class ของผู้ใช้นั้นๆ  Popular แสดงยอดคลิก (Hit Rate) ของบทความนั้น แสดงถึงความ น่าสนใจของบทความ  Recent Added Articles จะแสดงบทความที่เพิ่มเข้าเว็บไซต์ล่าสุด 10 บทความ เพื่อให้ง่ายต่อการค้นหาบทความใหม่  Menu Stat จะแสดงผลเหมือน การจัดการเมนูแต่บาง Class จะเข้าการ จัดการเมนูไม่ได้ ก็สามารถใช้ในส่วนนี้เพื่อดูว่าเมนูใดมีเมนูย่อยเท่าใด

4


บทที่ 2 การจัดการสมาชิก 2. การจัดการสมาชิก 2.1 การสร้างสมาชิกขึ้นใหม่

รูปที่ 2.1 แผงควบคุมหลัก

****กรณีสาหรับสมาชิกให้ใช้เลือกที่การจัดการสมาชิก**** 1) ให้เลือกที่เมนูการจัดการสมาชิก 2) เมื่อเข้าสู่หน้าจอนี้แล้วให้เลือกสร้างใหม่ ดังนี้ (ตามรูป)

1.

รูปที่ 2.2 การจัดการผู้ใช้

5


3) กรอกข้อมูลรายละเอียดของสมาชิกให้ครบถ้วน ชื่อ, ชื่อผู้ใช้, อีเมล์, รหัสผ่าน และเลือก ระดับชั้นการบริหารระบบเว็บไซต์ ตามหน้าที่ความ รับผิดชอบของสมาชิกแต่ละคนให้เหมาะสม

รูปที่ 2.3 หน้าจอการสร้างบัญชีผู้ใช้ใหม่

4) เลือกบันทึก หลังจากนั้นออกจากระบบ และเข้าสู่ระบบใหม่อีกครั้งเพื่อ ทดสอบบัญชีสมาชิก โดยใช้ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านที่สร้างใหม่ 5) หากสามารถเข้าสู้ระบบได้ปกติ แสดงว่าสร้างบัญชีผู้ใช้งานสาเร็จ โดย ระบบจะแสดงชื่อผู้ใช้งาน ณ เมนูสถิติในส่วนของรายชื่อผู้ที่อยู่ในระบบ

รูปที่ 2.4 เมนูหลักของสมาชิก

****หน้าจอดังกล่าวจะเป็นหน้าจอหลักซึ่งจะรวมเมนูการใช้งานตามแต่ระดับชั้นการบริหาร เว็บไซต์ หน้าตาอาจต่างกันไปแล้วแต่ระดับชั้นที่กาหนดในขั้นตอนการสร้างบัญชีผู้ใช้งาน****

6


2.2 การแก้ไขข้อมูลสมาชิก การลบ 1) เลือกเมนูการจัดการสมาชิก

3 . 2 .

รูปที่ 2.5 แสดงการแก้ไข ลบ บัญชีสมาชิกในระบบ

2) คลิกในช่องสีเ่ หลี่ยมหน้าชื่อบัญชีที่เราต้องการแก้ไข และเลือก Edit ที่เมนูปฏิบัติการ (หรือ ต้องการลบเลือกเมนู Delete) 3) ให้ตรวจสอบชื่อผู้ใช้ว่าตรงกับชื่อบัญชีที่เราต้องการแก้ไขหรือไม่ และทาการแก้ไข รายละเอียด รวมทั้งสามารถเปลี่ยนแปลงรหัสผ่านผู้ใช้งานได้ในขั้นตอนนี้

รูปที่ 2.6 แสดงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงข้อมูลรายละเอียดของบัญชีสมาชิกในระบบ

4) เมื่อแก้ไขข้อมูลรายละเอียด หรือรหัสผ่านเรียบร้อยแล้ว เลือกบันทึก

7


บทที่ 3การจัดการแกลลอรี่รูปภาพ 3.1 การจัดการหมวดหมู่รูปภาพ 1) เลือกเมนู คอมโพเน้นท์ >> JoomGallery >> Category Management จากนั้นจะปรากฏหน้าจอ

2 . 1 .

รูปที่ 3.1 การจัดการรูปภาพ

รูปที่ 3.2 การจัดการรูปภาพ

2) กดปุ่ม “New” เพื่อสร้าง หมวดหมู่รูปภาพ จะปรากฏหน้าจอ

8


รูปที่ 3.3 การย้ายรูปภาพ

 Title – ใส่ชื่อหมวดหมู่รูปภาพ  Access – ให้เลือก Public  Publish – เลือก “ใช่” 3) กดปุ่ม Save

9


3.2 การเพิ่มรูปภาพ 1) เลือก เมนู Picture Upload จากนั้นจะปรากฏหน้าจอ

รูปภาพที่ 3.4 การเพิ่มรูปภาพ

 Select Image – เลือกไฟล์รูปภาพที่ต้องการใส่  Gallery photos will be assigned to – เลือกหมวดหมูข่ องรูปภาพ  Generic Title – ใส่ชื่อรูปภาพ 2)

กดปุ่ม “Upload”

10


บทที่ 4 การจัดการบทความเป็นการบริหารจัดการข้อมูลข่าวสาร บทความที่เราจะเผยแพร่บท Webทาให้มีขั้นตอนดังนี้ 4.1 การเผยแพร่และงดเผยแพร่เลือกเมนู บทความ >> การจัดการบทความ

รูปที่ 4.1 แสดงรายการบทความ

หน้าจอนี้จะเป็นหน้าจอแสดงรายชื่อบทความที่อยูใ่ นระบบ โดยเราสามารถ เลือกที่จะเพิ่มหรือ แก้ไขบทความได้จากหน้านี้

11


4.2 การเพิ่มบทความ

3

1 2 รูปที่ 4.2 สร้างบทความ

        

จากหน้าจอ ทางด้านบนเลือก ปุ่ม “สร้างใหม่” ที่หมายเลข 1 จากนั้นจะปรากฏหน้าจอหน้าจอการเพิ่มการบทความ ในกรอบหมายเลข ( 1) จากรูป ให้เลือกใส่ค่าดังต่อไปนี้ ชื่อเรื่อง – ให้ใส่ชื่อข่าวหรือบทความ เผยแพร่ – เลือก “ ใช่ ” เพื่อแสดงบทความหรือข่าวนี้แก่ผู้ใช้ เป็นการเลือกที่จะแสดงหรือไม่แสดงบทความหรือข่าวสารนี้แก่ผู้ใช้ หน้าแรก – เลือก “ไม่” Section – เลือกหมวดหมู่หลักของบทความ Category – เลือกหมวดหมู่ย่อยของบทความ

12


1. ใส่เนื้อหาของบทความ ในกรอบหมายเลข (2) โดยเราสามารถกาหนดขนาดหรือสีของตัวอักษร ได้จาก  ตัวหนา  สีของตัวอักษร  แทรกรูปภาพ 2. ถ้าต้องการเพิ่มรูปภาพให้เลือก กดปุ่ม โดยจะปรากฏหน้าจอ

รูปที่ 4.3 อัพโหลดรูปภาพ

3. หน้าจอสาหรับ เลือกรูปภาพเพื่อแสดงในบทความ 3.1 กดปุ่ม “เลือกไฟล์”  ทาการเลือกไฟล์รูปภาพที่ต้องการเพิ่ม 3.2 กดปุ่ม “ บันทึกไฟล์ไว้บนเซฟเวอร์ “ จากนั้นจะปรากฏหน้าจอ

รูปที่ 4.4 หน้าต่างการจัดการรูปภาพ

4 เราสามารถปรับขนาดของรูปภาพได้โดยแก้ไขที่ช่อง ความกว้าง, ความสูง

5 เมื่อทาการปรับแก้ไขขนาดเรียบร้อยแล้วให้กดปุ่ม “ตกลง “

13


6 ถ้าต้องการเพิ่มลิ้งค์ เพื่อที่ให้ผู้ใช้สามารถกดไปยัง หน้าอื่น หรือ เว็บไซต์อื่นได้ให้ พิมพ์ข้อความที่ต้องการ ลิ๊งค์จากนั้นเลือกข้อความ กดปุ่ม จะปรากฏ หน้าจอ

รูปที่ 4.5 การเชื่อมโยงรูปภาพ

7 ใส่ link ในช่อง “ที่อยู่อ้างอิงออนไลน์” จากนั้นกดปุ่ม “ตกลง” 8 ถ้าต้องการที่จะเพิ่ม ลิ๊งค์ไฟล์ข้อมูลให้ผู้ใช้ดาวน์โหลด ให้พิมพ์ข้อความที่ต้องการ ลิ๊งค์จากนั้นเลือกข้อความนั้น กดปุ่ม จะปรากฏหน้าจอ

รูปที่ 4.6 การเชื่อมโยงเว็บ

9 เลือกแท็ป “อัพโหลดไฟล์” 10 จากนั้นเลือก กดปุ่ม “Browse” เลือกไฟล์ที่ต้องการ 11 กดปุ่ม “ บันทึกไฟล์ไว้บนเซิฟเวอร์ ” 12 เมื่อทาการใส่รายละเอียดบทความเรียบร้อยแล้ว จากนั้น ให้ใส่ข้อมูลใน หมายเลข 3 ในรูป (2.2) 12.1 ระดับการเข้าถึง – เลือกเป็น “เผยแพร่” 12.2 วันที่สร้าง – เลือกเป็นวันปัจจุบัน 12.3 เริ่มเผยแพร่ – เลือกวันเริม่ ต้นที่จะให้ผู้ใช้เห็นบทความ 14


12.4 การเผยแพร่เสร็จสิ้น – เลือกวันที่สิ้นสุดการแสดงบทความ ถ้าไม่ต้องการกาหนดก็ ไม่ต้องระบุ 13 กดปุ่ม “ บันทึก ” ทางด้านบน 4.3 แก้ไขบทความ

รูปที่ 4.7 การแก้ไขบทความ

1. เปิดหน้าจอ 2. เลือกชื่อเรื่องที่ต้องการแก้ไข 4.4 ลบบทความ 1. เลือก checkbox หน้าบทความที่ต้องการลบ 2. กดปุ่ม “รีไซเคิล” ทางด้านบน

15


4.5 การย้ายบทความ 1. เมื่อเราต้องการย้ายบทความไปไว้ที่ Section อื่น ก็ให้เข้ามาที่หน้าการจัดการ บทความ แล้วค้นหาบทความที่ต้องการย้ายแล้วทาการคลิกที่ช่องสี่เหลี่ยมเล็กๆหน้า บทความ เมื่อคลิกแล้วจะมีสัญลักษณ์เครื่องหมาย √ หน้าบทความที่เลือกแล้วคลิกที่ปุ่ม

2 . 1 .

ย้าย รูปที่ 4.8 การย้ายบทความ

2. เมื่อคลิกที่ปุ่มย้ายแล้วจะปรากฏหน้าจะให้เลือกว่าต้องการย้ายบทความไปไว้ที่ section/categoryไหน เมื่อเลือกที่ต้องการเสร็จแล้วให้กดที่บันทึก เป็นอันเสร็จสมบูรณ์สาหรับ ขั้นตอนการย้ายบทความ

16


บทที่ 5 การจัดการรูปภาพ 5. การจัดการรูปภาพ 1. เลือกเมนู Picture Management จะปรากฏหน้าจอ

รูปภาพที่ 5.1 การจัดการรูปภาพ

2. หน้าจอจะแสดงรายชื่อของรูปภาพทั้งหมด แก้ไขรูปภาพ 1. คลิ๊กเลือก title ของรูปภาพที่ต้องการแก้ไข ลบรูปภาพ 1. เลือก checkbox หน้ารูปภาพที่ต้องการลบ กดปุ่ม “Remove” ทางด้านบน

17


บทที่ 6 การจัดการเมนูเว็บไซด์ 6. การจัดการเมนูเว็บไซต์ 1. เลือกเมนู เมนู >> website menu จะปรากฏหน้าจอ

รูปที่ 6.1 การจัดการเมนูเว็บไซด์

2. กดปุ่ม “สร้างใหม่” ทางด้านบน จากนั้นจะปรากฏหน้าจอ

18


รูปที่ 6.2 รายการเมนู

หน้าจอดังกล่าวจะเป็นการเลือกประเภทเมนู

 บทความ บทความ - โครงร่างบทความมาตรฐาน – เมื่อต้องการให้เมนูชี้ไปที่บทความ Category – โครงร่าง Category มาตรฐาน – เมื่อต้องการให้เมนูชี้ไปที่ หมวดหมู่ ย่อย Section – โครงร่าง Section มาตรฐาน – เมื่อต้องการให้เมนูชี้ไปที่ หมวดหมู่หลัก

19


2. จะปรากฏหน้าจอ

รูปที่ 6.3 โครงร่าง Category

ชื่อเรื่อง – ใส่ชื่อเมนู

การแสดงใน – เลือก “Website Menu”

รูปแบบรายการ – เลือกเมนูหลัก เมื่อต้องการสร้างเมนูย่อย

เผยแพร่ – เลือก “ใช่”

เมื่อคลิ๊กจะเปิดใน – เลือกลักษณะของการเปิดหน้าจอ

พารามิเตอร์ เลือกรายละเอียดของเมนู เช่น ชื่อบทความ, ชื่อหมวดหมู่ หรือ ชือ่ หมวดหมู่ย่อย เป็นต้น

3. กดปุ่ม บันทึก

20


บทที่ 7 การจัดการหน้าแรก 7. การจัดการหน้าแรก ตัวอย่างหน้าจอแรกของแต่ละหน่วยงาน ซึ่งแต่ละหน่วยงานสามารถเลือกหมวดหมู่ ของข้อมูลมาจัดทาขึ้นเว็บไซต์ในหน้าแรกด้วยตนเองง่ายๆดังนี้

บริเวณที่จะแสดงหน้ าแรก

รูปที่ 7.1 การจัดการหน้าแรก

รูปที่ 7.2 การจัดการหน้าแรก

21


1. เข้าไปที่เมนูด้านบน เลือกที่ บทความ >>การจัดการ category

รูปที่ 7.3 เมนูการจัดการบทความ

2. เลือกคลิ๊กที่ category ข้อมูลทีส่ นใจจะให้แสดงในหน้าแรกของเว็บไซต์ เช่น เอกสารเผยแพร่ แล้วคลิ๊กที่ชื่อเพื่อเข้าไปแก้ไขรายละเอียด

รูปที่ 7.4 หน้าต่างการจัดการบทความ

3. จะปรากฏหน้าจอแก้ไขข้อมูล category ให้เลือก แสดงในหน้าแรก เป็น ใช่ แล้ว กด บันทึก

รูปที่ 7.5 การแก้ไขบทความ 22


4. เมื่อบันทึกเสร็จ ลองเข้าดูที่หน้าแรกของเว็บไซต์ จะปรากฏ category ที่เลือก แสดงออกมา

รูปที่ 7.6 การแสดงบทความ

23


บทที่ 8 เทคนิคการสร้าง ebook 8. เทคนิคการสร้าง ebook การสร้าง ebook โดยวิธีงา่ ยๆ และนาขึ้นเว็บไซต์ของตนเองนั้น ทาได้โดย 1. ไปที่เว็บไซต์ http://issuu.com/ เลือกปุ่ม login ด้านขวามือมุมบน แล้วกรอก username เป็น social@deqp.go.th ใช้ password เป็น 41014686

รูปที่ 8.1 การสร้าง e-book

2. จะพบหน้าจอต้อนรับ ให้คลิ๊ก upload document ด้านขวามือมุมบน

รูปที่ 8.2 วิธีอับโหลด e-book 24


3. กดปุ่ม upload a file เพื่อนาเข้าไฟล์ที่ละไฟล์หรือ เลือก upload many files เพื่อ เลือก upload ไฟล์หลายๆไฟล์พร้อมกัน โดยกด browse เลือก ไฟล์ ที่ต้องการ แล้วกรอก ข้อมูล ตามคาแนะนา

รูปที่ 8.3 การอับโหลดไฟล์

4. ช่อง Browse ให้ แนบไฟล์ที่ต้องการทา ebook โดยขนาดต้องไม่เกิน 100 mb หรือ ไม่ เกิน 500 หน้า ดังนี้ - Title

ชื่อเรื่อง

- Description

คาอธิบาย

- Web name

ชื่อเว็บไซต์

- Keywords คาสาคัญ - Info Links - Types

link ข้อมูลเพิ่มเติม ชนิดของเอกสาร

แล้วกด ปุ่ม upload file จะขึ้นหน้าจอ loading รอจนกว่าเรียบร้อย

25


รูปที่ 8.4 การประมวลผลไฟล์

5. กดปุ่มด้านซ้าย ถ้าเอกสารถูกแปลงแล้วจะขึ้นที่ Published (1) ตัวเลขในวงเล็บบอกถึง จานวนเอกสารที่สมบูรณ์

รูปที่ 8.5 รูปแบบ e-book

6. การนาเอกสารไปใช้ ให้กดตรงเอกสารที่ต้องการ แล้วกด open จะขึ้นหน้าจอ ebook คล้ายหนังสือ

26


รูปที่ 8.6 การนา e-book ไปใช้

รูป 8.7 การวางโค๊ตเพื่อนาไปเผยแพร่

7. ให้กดที่ embed แล้วจะขึ้นหน้าจอให้ copy code ไปใส่ในส่วนการจัดการเนื้อหาของเรา เอง โดยนาไปวางใน content ที่ต้องการ

27


รูปที่ 8.8 การวางรหัส HTML

8. ไปที่เนื้อหาที่ต้องการ แล้วกดที่ ดูรหัส html แล้ว post embed ที่ copy มาลงในช่อง เนื้อความ แล้วบันทึกตามปรกติ จะปรากฏเนื้อหา ebook ที่ต้องการ

รูปที่ 8.9 รูป e-book บนหน้าแรก

28


บทที่ 9 การนาเข้าไฟล์วีดีโอ 9. เทคนิคการนาเข้าไฟล์วีดีโอ ในการนาเข้าข้อมูล Multimedia ของ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมนั้น แนะนาให้ upload ข้อมูลขึ้น server โดยใช้เว็บไซต์ youtube.com เป็นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ ดังนี้ 1. ไปที่ www.youtube.com เลือก sign in ด้วย username : social@deqp.go.th ใช้ password 41014686

รูปที่ 9.1 การเข้าใช้งานเว็บไซด์ Youtube

2. กดปุ่ม upload แล้วเลือก upload video

รูปที่ 9.2 การอับโหลดไฟล์Vedio

29


3. เสร็จแล้วกดปุ่ม mychanel จะแสดงวีดีโอทั้งหมดที่ถูกนาเข้า

รูปที่ 9.3 แสดงการนาเข้าวีดีโอทั้งหมด

รูปที่ 9.4 การcopy เพื่อนาไปเผยแพร่

4. คลิกขวาที่ภาพ แล้วเลือกที่ copy embed html

30


รูปที่ 9.5 การคลิกดูรหัส HTML

เปิดหน้าจอบริหารจัดการข้อมูล คลิกดูรหัส html แล้ววาง embed code ที่ copy มา แล้ว บันทึกข้อมูล

31


บทที่ 10 การเข้าใช้งานเว็บไซด์ ศวฝ. 11. การเข้าใช้งานเว็บไซต์ ศวฝ.(ERTC)

รูปที่ 10.1 แสดงการเข้าใช้งานเมนูเว็บไซต์ภายใน สส.

ใช้ mouse คลิกหรือนาไปวางที่เมนู “รู้จักหน่วยงาน” เลือก “เว็บไซต์ภายใน” และเลือก “ศูนย์วิจยั และฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม” จะเข้าสู่หน้าเว็บไซต์ของ ศวฝ.

32


1 2

3

5 4 รูปที่ 10..2 แสดงหน้าเว็บไซต์ ศวฝ.

รายละเอียดหน้าเว็บไซต์ ศวฝ. 1. Top Menu ของ สส. องค์ประกอบเหมือนเว็บไซต์ของ สส. ทั้งหมด ไม่สามารถแก้ไขได้ 2. Main Menu เมนูหลักของ ศวฝ. สามารถเพิ่มลดเมนูนี้ได้ เป็นเมนูจัดเก็บเอกสาร สื่อ สิ่งพิมพ์ แยกแต่ละส่วนฯ/ฝ่ายฯ เพื่อให้เข้าถึงง่าย 3. ข่าววน คือ ข่าวสาร/ข่าวประชาสัมพันธ์ของ ศวฝ. โดยจะวิ่งวน 5 ข่าว ต้องสร้างบทความ เพิ่มในหมวดข่าวสาร/ข่าวประชาสัมพันธ์ จึงจะปรากฏในข่าววนนี้ 4. ข่าวสาร/ข่าวประชาสัมพันธ์ที่เกิน 5 ข่าวจากข้อ 3 จะแสดงเป็นตาราง โดยข่าวที่เพิ่มใหม่ นั้นจะอยู่ใน ข่าววน เมื่อมีบทความใหม่เข้ามาแทรกเรื่อยๆ บทความที่เก่ากว่าจะถูกดันลงมายังส่วนนี้ 5. ส่วนแสดงเนื้อหาของบทความ เมื่อคลิกเพื่ออ่านบทความ เนื้อหาของบทความนั้นๆจะ แสดงในส่วนนี้

33


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.